The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

90

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5

เรือ่ ง วินัย และความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย

รายวชิ า ลูกเสือ กศน. รหสั วิชา สค12025 ระดับ ประถมศกึ ษา

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพัฒนาสังคม เวลา 4 ชวั่ โมง

ครผู สู้ อน....................................................... รปู แบบการสอนพบกลมุ่ /ค้นคว้าด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เก่ยี วกับภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ และการประกอบอาชีพ เพือ่ ความมั่นคงของชาติ
1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องท้องถ่นิ และ

ประเทศไทย
1.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชีวิตตามวิถปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบอ้ื งตน้ กฎระเบียบของชุมชน

สังคม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม

2. ตวั ชี้วัด
2.1 อธบิ ายวินยั และความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยได้อย่างถูกต้อง
2.2 ปฏบิ ัตติ นตามวินัย และความเป็นระเบียบเรยี บร้อยได้อย่างถกู ต้อง

3. สาระสาคญั ของเน้ือหา
3.1 วนิ ัยมคี วามจาเป็นอย่างไร
3.2 ประเภทของวินัย
3.3 สัญญาณมือรปู แถวต่าง ๆ
3.4 สญั ญาณมือในการเรียกแถวของลกู เสือสากล
3.5. ผลกระทบจากการขาดวินัยและขาดความเป็นระเบยี บเรียบร้อย
3.6 แนวทางการเสริมสรา้ งวนิ ัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อย

91

4. เป้าหมายการเรียนรู้ (ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั )
4.1 อธิบายประเภทของวินัยไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
4.2 จาแนกลักษณะของสญั ญาณมือรปู แถวตา่ ง ๆไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
4.3 จาแนกลักษณะสญั ญาณมอื ในการเรียกแถวของลูกเสือสากล
4.4 อธบิ ายผลกระทบจากการขาดวินัยและขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยได้อย่างถูกต้อง
4.5 อธบิ ายแนวทางการเสรมิ สร้างวินยั และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยไดอ้ ย่างถกู ต้อง
4.6 ปฏบิ ตั ิตามวนิ ัยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

5. ขนั้ จดั กระบวนการเรียนรู้
ขน้ั ที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความตอ้ งการในการเรยี นรู้
1) ครูและผเู้ รียนร่วมกันกาหนดสภาพความจาเป็นท่ีต้องเรยี นร้ใู นเร่อื งต่อไปน้ี
(1) วินยั มคี วามจาเปน็ อย่างไร
(2) ประเภทของวินัย
(3) สญั ญาณมอื รปู แถวต่าง ๆ
(4) สัญญาณมอื ในการเรียกแถวของลูกเสือสากล
2) ครใู หผ้ เู้ รยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพ่ือทบทวนความรูเ้ ดมิ
ขัน้ ที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรยี นรู้
1) ครแู จกใบความรู้ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง
2) ครแู ละผู้เรยี นร่วมแสดงความคิดเหน็ เร่ือง วินัยมคี วามจาเป็นอย่างไร ประเภทของวนิ ยั

สัญญาณมือรปู แถวตา่ ง ๆ สญั ญาณมือในการเรียกแถวของลกู เสือสากลและผลกระทบจากการขาดวนิ ยั และ
ขาดความเป็นระเบยี บเรียบร้อย แนวทางการเสริมสรา้ งวนิ ัยและความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย

3) ครูให้ผู้เรียนดูคลิปจาก YouTube เรื่อง “ระเบียบแถว (สัญญาณมือการเรียกแถว

ลูกเสือสากล) มาให้ผู้เรยี นดแู ลว้ ถามคาถามในประเด็นดังนี้

92

https://www.youtube.com/watch?v=kmODT7k4fmg&t=1s

ลกู เสอื สากล) 1. ผเู้ รยี นได้อะไรบ้างจากการดู YouTube เรอื่ ง ระเบียบแถว (สญั ญาณมือการเรยี กแถว
2. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ นาเสนอ และจดบนั ทกึ

ขน้ั ที่ 3 ปฏบิ ตั แิ ละนาไปประยุกตใ์ ช้
1) ครแู บง่ กลุ่มผู้เรียนเปน็ 4 กลุ่ม ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาใบงาน เรื่อง วนิ ยั และความเปน็ ระเบียบ

เรยี บร้อย และมอบหมายให้ผู้เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอสัญญาณมือหน้าช้ันเรียน ดังนี้
กลมุ่ ท่ี 1 หน้ากระดานแถวเดยี ว - แถวตอน
กลมุ่ ที่ 2 แถวหน้ากระดานตอนหมปู่ ิดระยะ – แถวหนา้ กระดานตอนหมู่เปิดระยะ
กลมุ่ ท่ี 3 แถวครึง่ วงกลมหรือรูปเกือกม้า – แถวรัศมีหรือล้อเกวยี น
กลมุ่ ที่ 4 แถวสีเ่ หล่ียมเปิด - หมแู่ ถวตอนเรียงสอง

3) ครใู หผ้ ู้เรียนทุกคนทาใบงาน
3) ครูใหผ้ ้เู รียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเพอื่ เกบ็ คะแนน
ขนั้ ที่ 4 ประเมินผลการเรยี นรู้
1) ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2) ครูสังเกตจากการนาเสนอผเู้ รียน

93

3) บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
4) ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่อื การเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลงั เรียน
3. วีดีทัศน์ / วิดิโอ
4. อินเตอร์เน็ต

แบบทดสอบก่อนเรียน

เรอ่ื ง วินัยและความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย

คาชแ้ี จง : จงกากบาท X เลอื กข้อทท่ี ่านคิดวา่ ถูกต้องท่ีสุด
1. เคร่อื งแบบลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ ใชห้ มวกประเภทใด

94

ก. หมวกปีก
ข. หมวกเบเรต่ ์
ค. หมวกสามเหลี่ยม
ง. หมวกทรงหม้อตาล
2. เสื้อคอพับสกี ากขี องลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ มดี มุ เหนือเข็มขดั กเ่ี ม็ด
ก. 4 เมด็
ข. 5 เม็ด
ค. 6 เมด็
ง. 7 เมด็
3. ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ใช้พู่สอี ะไร
ก. สีแดง
ข. สีเขยี ว
ค. สีเลือดหมู
ง. สอี ะไรกไ็ ด้
4. การเคารพในท่าอาวธุ ท่ีถกู ตอ้ งปฏิบตั ิอย่างไร
ก. ใช้มอื ซา้ ยวันทยาวุธ
ข. ใชม้ ือขวาวันทยาวธุ
ค. ยนื ตรงเฉย ๆ ไมต่ ้องทาอะไร
ง. จะทาอย่างไรก็ได้ใหร้ ้วู ่าวนั ทยาวุธ
5. การทาความเคารพด้วยทา่ วันทยหตั ถ์ควรปฏบิ ัติอยา่ งไร
ก. ใช้มือขวาวนั ทยหตั ถ์น้วิ ชี้ชิดคว้ิ
ข. ใช้มอื ซา้ ยวันทยหัตถ์นิ้วชี้ชิดคิว้
ค. ใช้มอื ขวาวันทยหัตถน์ ิว้ กลางชดิ ค้ิว
ง. ใช้มอื ซ้ายวันทยหตั ถ์น้วิ กลางชิดค้วิ
6. ไม้งา่ มเป็นอาวุธประจากายของลกู เสอื สามญั รุน่ ใหญม่ วี ิธกี ารเลือกใช้อย่างไร
ก. ให้ผบู้ งั คบั บญั ชาเปน็ ผ้กู าหนด
ข. ใหไ้ มง้ า่ มมีขนาดความยาว 150 เซนติเมตร
ค. ใหไ้ ม้ง่ามมขี นาดความยาว 160 เซนตเิ มตร
ง. ให้มคี วามยาวตามความเหมาะสมกบั คนใช้

7. บริการ เป็นคตพิ จน์ของลูกเสอื ในข้อใด

95

ก. ลกู เสือสารอง
ข. ลูกเสือสามญั
ค. ลูกเสือวสิ ามญั
ง. ลูกเสือสามญั ร่นุ ใหญ่
8. การทาความเคารพดว้ ยทา่ มอื เปลา่ ทามมุ ก่ีองศา
ก. ทามมุ 30 องศา
ข. ทามมุ 35 องศา
ค. ทามมุ 40 องศา
ง. ทามมุ 45 องศา
9. คตพิ จน์ หมายถึงอะไร
ก. ถอ้ ยคาหรือข้อความทเ่ี ปน็ คติ
ข. ถ้อยคาทมี่ าจากสัจจะเป็นสาคัญ
ค. ถอ้ ยคาทม่ี าจากผู้มอี ายุน้อยกวา่
ง. ถ้อยคาที่เตรียมพรอ้ มทงั้ ร่างกายและจิตใจ
10. คตพิ จนข์ องลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ คอื ข้อใด
ก. บรกิ าร
ข. มองไกล
ค. ทาดที ส่ี ดุ
ง. จงเตรยี มพรอ้ ม

เฉลย 1) ข 2) ข 3) ค 4) ก 5) ข 6) ก 7) ค 8) ก 9) ก 10) ข

ชือ่ .......................................นามสกลุ ................................................ระดบั ..............................

96

ใบความรู้ เร่ือง วินัยและความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย

วนิ ยั มคี วามจาเป็นอย่างไร
การประกอบกิจกรรมทุกอยา่ งหรือการฝึกอบรมทุกประเภทท่ีทากับคนหมู่มาก ถ้าขาดวินัยเสยี แล้วก็

เท่ากับเป็นการล้มเหลวทุกส่ิงทุกอย่างโดยสิ้นเชิง ลูกเสือที่มีระเบียบวินัย เชื่อฟังปฏิบัติตามคาส่ัง
ผู้บังคับบัญชา ย่อมที่จะเป็นพลเมืองดีในอนาคต ลูกเสือท่ีได้รับการฝึกอบรมอย่างดีสามารถเป็นผู้นาได้
เพราะว่าเป็นคนท่ีรักษาสัตย์ ประพฤติตนตากฎกติกา เป็นคนมีน้าใจเมตตาอารี เสียสละ สิ่งเหล่านี้ย่อมติด
ตัวไปเป็นนิสัยเกิดข้ึนในตัวเองตลอดเวลา วินัยจึงเป็นสิ่งจาเป็นมากในกองลูกเสือ คนท่ีมีคุณภาพควรได้รับ
การฝึกฝนให้มีระเบียบวินัย ทาให้รู้จักการทาตนเป็นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของผู้ท่ีเป็นหัวหน้า หรือทาตนใน
ฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาเป็นแบบอย่างท่ีดีได้ ซึ่งจะนาประโยชน์มาให้ตนทั้งในด้านส่วนตัวและหน้าท่ีการงาน
วินัยมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่สร้างและส่งเสริม เยาวชนจะได้เป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ ต้ังแต่ยังอยู่ในเยาว์วัย
เมือ่ เติบใหญจ่ ะเปน็ กาลงั สาคัญช่วยพัฒนาประเทศชาติให้เจรญิ รุ่งเรืองสืบไป

ประเภทของวินยั
วินยั มี 2 ประการ
ก. วนิ ัยภายนอก ซ่ึงเกิดจากการใหก้ ระทาหรืองดเว้นการกระทาในการฝึกอบรมต้องเข้มงวดตาม

ลักษณะ หรอื กจิ การแต่ละประเภท เพอื่ ท่ีจะใหป้ ฏบิ ตั จิ นเกิดลักษณะนสิ ยั วนิ ยั ภายนอกไม่ย่ังยืนอยู่ได้นาน
หากว่าผทู้ ไี่ ม่พอใจก็อาจละเลย หรือวางเฉย เมอื่ ไม่มีการกาหนดไว้ หรือไมม่ ใี ครรู้เห็น

ข. วนิ ยั ภายใน เป็นทีพ่ ึงประสงคเ์ พราะเปน็ วนิ ยั ทจี่ ะปฏิบัตดิ ้วยความเต็มใจ เพราะเห็นคณุ คา่ การ
ฝึกอบรมจึงต้องเน้นหนักในการสรา้ งวินยั ภายใน ดว้ ยการกวดขนั การประพฤติปฏิบตั ิอย่างจรงิ จงั และต่อเนื่อง
วินยั ภายในเปน็ สิ่งที่ตอ้ งการให้มอี ย่ใู นทุกตัวตน

วนิ ยั ทีด่ ีเกิดจากความรกั ความเลอ่ื มใสศรัทธา เดก็ ๆ ยอ่ มเชื่อฟังและเคารพเลือ่ มใสผู้ที่ฉลาดกว่าตน
มอี ายมุ ากกวา่ ตน รปู รา่ งใหญก่ วา่ ตน ผ้กู ากบั ลกู เสือจึงเปน็ กุญแจดอกสาคัญในการสรา้ งสมวินัยให้เกดิ ขึ้นใน
ตัวเด็ก ผกู้ ากบั ลูกเสือจงึ ต้องวางตวั ใหด้ ีที่สดุ มบี คุ ลกิ ภาพที่นา่ นับถือ ยมิ้ แย้มแจ่มใสพูดจากชัดถ้อยชดั คา
เดก็ ก็จะเกิดความสนใจ รักใคร่นบั ถอื นิยมชมชอบและเลื่อมใสศรทั ธา เดก็ กจ็ ะให้ความรว่ มมือในอนั ทจี่ ะ
ปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ซงึ่ ผลทส่ี ดุ การปฏบิ ตั ิตามคาสั่งหรือปฏบิ ัตติ ัวใหอ้ ยู่ในระเบยี บวนิ ยั ของลกู เสือก็
จะดูเปน็ ของง่าย และผู้กากบั ลูกเสอื ก็ควรจะกวดขันในเร่ืองวินยั และการเช่ือฟังปฏบิ ัตติ ามคาส่ังด้วยความ
รวดเร็ว

97

และเครง่ ครัดแม้ในเรอ่ื งเล็กน้อย กไ็ มค่ วรปล่อยเลยไป

สัญญาณมือรูปแถวตา่ ง ๆ

1. หน้ากระดานแถวเดยี ว
ผ้เู รียกแถวยืนอยู่ในท่าตรง มือแบทง้ั สองขา้ ง เหยียดตรงเสมอแนวไหล่ หนั ฝ่ามือไปขา้ งหน้าแล้ว

เรียก “กอง” ให้รองนายหมู่ ๆ ที่ 3 และนายหมู่ ๆ ที่ 4 ระยะเคียง 1 ก้าว เป็นหลักอยู่ตรงหน้าห่าง
จากผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว หมู่ต่อ ๆ ไปคือ หมู่ที่ 1 และหมู่ท่ี 2 อยู่ทางซ้ายมือของผู้เรียก ลูกเสือทุก
คนสะบัดหนา้ ไปทางซ้าย ถือรองนายหมู่ที่ 3 เป็นหลัก จัดแถวหน้ากระดานชาเลืองดูอกคนที่ 3 เป็นหลัก
หมู่ที่ 5 และหมู่ท่ี 6 อยู่ทางขวามือผู้เรียกลูกเสือทุกคนสะบัดหน้าไปทางขวา ถือนายหมู่ที่ 4 เป็นหลัก
จดั แถวหน้ากระดาน ชาเลอื งดหู น้าอกคนท่ี 3 เป็นหลกั

การเข้าแถว ให้ลูกเสือทุกคน เว้นคนอยูซ่ ้ายสุดของแถว) ยกมอื ซ้ายข้ึนเท้าตะโพกให้ฝา่ มือพักอยู่
บนตะโพก น้ิวมือเหยียดชิดและช้ีลงพื้น น้ิวกลางอยู่ประมาณแนวตะเข็บกางเกง ศอกอยู่เสมอแนวลาตัว
การจัดแถวใช้แขนขวาจดปลายศอกซ้าย เป็นการจัดระยะเคียงระหวา่ งบุคคล ส่วนระยะเคียงระหว่างหมหู่ ่าง
1 ช่วงแขนหรือประมาณ 1 ก้าว ผู้เรียกแถวตรวจการจัดแถวแลว้ ส่ัง “น่ิง” ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร้อม
กบั สะบัดหนา้ กลบั มาอยใู่ นท่าตรงและนงิ่

2. แถวตอน
ผเู้ รียกแถวยนื อย่ใู นทา่ ตรง มือแบทั้งสองข้างเหยียดตรงไปขา้ งหนา้ ขนานกับพื้น หันฝ่ามือเข้าหา

กนั และขนานกัน เรียก “กอง” ให้ลูกเสือทุกหมู่มาเข้าแถวหน้าผู้เรียก นายหมู่อยู่หน้าลูกหมู่เรียงกันต่อไป
ให้นายหมู่หมู่ท่ี 3 และนายหมู่ที่ 4 เปน็ หมู่หลัก อยู่ตรงหน้าผู้เรียก ห่างจากผเู้ รียกประมาณ 6 ก้าว หมู่

98

ตอ่ ๆ ไป คอื หมทู่ ี่ 1 และหมูท่ ี่ 2 อยู่ทางซา้ ยมือของผู้เรียก นายหมู่สะบดั หน้าไปทางซา้ ย ถือนายหมู่ที่
3 เป็นหลัก หมู่ท่ี 5 และหมู่ที่ 6 อยู่ทางขวามอื ของผู้เรียก นายหมสู่ ะบดั หนา้ ไปทางขวา ถือนายหมู่ท่ี 4
เป็นหลัก นอกน้ันลูกเสือทุกคนจัดให้ระยะต่อระหว่างบุคคลของแต่ละหมู่ประมาณ 1 ช่วงแขน หรือ
ประมาณ 1 กา้ ว และให้ตรงคอคนหนา้

การเขา้ แถว ให้ลูกเสอื ทุกคน (เวน้ คนอยู่ซ้ายสดุ ของแถว) ยกมือซ้ายข้ึนเทา้ ตะโพก (เหมือนดงั
หนา้ กระดานแถวเด่ยี ว) เป็นการจดั ระยะเคยี งระหว่างบุคคล ผู้เรยี กแถวตรวจการจดั แถวแล้วส่ัง “น่ิง”
ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร้อมกบั สะบัดหนา้ มาอยู่ในท่าตรงและนง่ิ

3. แถวหน้ากระดานตอนหมปู่ ดิ ระยะ
ผู้เรียกแถวยืนอย่ใู นทา่ ตรง มือกาทั้งสองข้าง เหยยี ดตรงไปข้างหนา้ ขนานกับพ้นื งอข้อศอกข้นึ

เป็นมุมฉาก หนั หนา้ มือเขา้ หากนั แล้วเรยี ก “กอง” ใหล้ กู เสอื หมทู่ ี่ 1 มาเข้าแถวหนา้ ผู้เรียกนายหมู่อยู่
ขวามอื ลกู หมู่อยซู่ า้ ยมอื เข้าแถวเป็นแถวหนา้ กระดาน โดยให้ก่ึงกลางของหมู่อยู่
ตรงหน้าผู้เรียก ห่างจากผู้เรียกประมาณ 6 กา้ ว หมู่ต่อ ๆ ไป เข้าแถวหนา้ กระดานเช่นเดียวกนั แต่อยตู่ ่อ
หลังจากหมูแ่ รกตามลาดับ ระยะต่อระหว่างหมหู่ ่างประมาณ 1 ช่วงแขน หรอื ประมาณ 1 ก้าว

การเขา้ แถวใหล้ ูกเสือทุกคน (เว้นคนอยซู่ า้ ยสดุ ของแถว) ยกมือซา้ ยขนึ้ เทา้ ตะโพก สะบัดหนา้ ไป
ทางขวา เปน็ การจัดระยะเคียงระหวา่ งบคุ คล ผู้เรียกแถวตรวจจดั แถวแลว้ สั่ง “น่ิง” ลกู เสือทุกคนลดแขน
ลงพร้อมกบั สะบดั หน้ามาอยทู่ ่าตรงและน่ิง

99

4. แถวหน้ากระดานตอนหมู่เปดิ ระยะ
ผเู้ รยี กแถวยนื อยใู่ นท่าตรง มอื กาทง้ั สองข้าง งอข้อศอกเปน็ มมุ ฉาก แขนท่อนบนแบะออกจน

เปน็ แนวเดียวกับไหล่ หนั หน้าแขนไปข้างหน้าเรียก “กอง” ให้ลกู เสือทุกคนมาเข้าแถวเหมอื นแถวหนา้
กระดานปิดระยะ แต่ระยะต่อของทกุ หมขู่ ยายออกไปทางด้านหลงั หา่ งประมาณ 3 ช่วงแขน หรือ
ประมาณ 3 ก้าว

การจัดแถวและการส่ัง “น่งิ ” ปฏิบัติเหมอื นแถวหน้ากระดานตอนหมู่ปิดระยะ

5. แถวครึ่งวงกลมหรือรูปเกือกมา้
ผู้เรยี กยืนอยู่ในท่าตรง มือแบท้งั สองขา้ งเหยียดตรงลงข้างล่าง คว่าฝา่ มือเขา้ หาตัว โบกผ่าน

ลาตัวประสานกนั ดา้ นหนา้ ชา้ ๆ เป็นรปู ครึ่งวงกลม เรียก “กอง” ให้ลกู เสือหมทู่ ่ี 1 ยืนด้านซา้ ยมือของ
ผู้เรียก โดยนายหมู่ท่ี 1 ยนื อยแู่ นวเดียวกบั ผู้เรียก ห่างจากผ้เู รียกพอสมควร กบั แถวท่จี ะทาเปน็ รปู ครึง่
วงกลม หมทู่ ่ี 2 และหมู่ต่อ ๆ ไป อยู่ด้านซ้ายของหมู่แรกตามลาดับ จนคนสุดทา้ ยของหมู่สดุ ทา้ ยหรือรอง
นายหมู่ของหมู่สดุ ท้ายยนื อยเู่ ปน็ เสน้ ตรงเดยี วกันกบั ผู้เรียก และนายหมู่ ๆ แรก ถือผู้เรียกเปน็ จดุ ศูนย์กลาง

ระยะเคียงระหวา่ งบุคคล ระหว่างหมแู่ ละการตรวจแถวและสั่ง “น่งิ ” เหมือนหน้ากระดานแถว
เดย่ี ว

6. แถวรัศมีหรือล้อเกวียน
ผเู้ รียกยืนอยใู่ นท่าตรง มือขวาแบควา่ กางนิ้วออกทุกนิ้ว ชูแขนไปขา้ งหนา้ ทามมุ ประมาณ 45

องศา ใหม้ องเหน็ ได้ แล้วเรยี ก “กอง” ให้ลกู เสือทกุ หมู่มาเข้าแถวเปน็ รูปแถวตอนหน้าผูเ้ รยี ก ห่างจาก
ผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว เป็นรูปรศั มี โดยใหห้ มู่ที่ 1 อยู่ดา้ นหนา้ ทางซ้ายมือผู้เรยี กประมาณ 45 องศา
หม่ทู ่ี 2 และหมู่ตอ่ ๆ ไป อยดู่ ้านซา้ ยของหมทู่ ี่ 1 ตามลาดับ ถือผเู้ รียกเป็นจดุ ศูนย์กลาง ระยะต่อของแต่
ละคนในหมหู่ ่างประมาณ 1 ชว่ งแขน ระยะเคยี งระหว่างนายหมตู่ อ่ นายหมู่ห่างพอสมควร และนายหมู่ ๆ
สุดท้ายจะอยูด่ า้ นหนา้ ขวามือของผเู้ รียกประมาณ 45 องศา

100

7. แถวสี่เหล่ียมเปิด
ผเู้ รยี กแถวยนื อยใู่ นท่าตรง งอข้อศอกทั้งสองข้างข้นึ แบฝ่ามือหงายไปข้างหน้า ใหฝ้ ่ามอื ขวาทับ

หลงั มือซ้ายเสมอระดบั ตา แลว้ เรียก “กอง” ใหล้ กู เสือหมทู่ ่ี 1 มาเข้าแถวหน้ากระดานทางซ้ายมือของ
ผ้เู รยี ก ใหน้ ายหมู่อยเู่ สมอกับผเู้ รยี ก ติดตามดว้ ยหมทู่ ี่ 2 สว่ นหมทู่ ่ี 3 และหมู่ที่ 4 ใหม้ าเขา้ แถวหนา้
กระดานตรงหน้าผเู้ รียกใหต้ ่อจากหมู่ท่ี 2 ตามลาดับ โดยให้ระยะเคียงระหว่างหมทู่ ่ี 3 และหมู่ที่ 4 อยู่
ตรงกบั ผูเ้ รยี ก ทามุมฉากกับแถวของหมทู่ ่ี 1 และหมู่ท่ี 2 และใหห้ มู่ท่ี 5 และหมู่ ที่ 6 เขา้ แถวหน้า
กระดานทางขวามอื ผเู้ รียก โดยต่อจากหมทู่ ี่ 4 ตามลาดบั และให้หมูท่ ี่ 5 และหมู่ท่ี 6 เป็นแถวหน้า
กระดานเป็นมุมฉากกับแถวของหม่ทู ี่ 3 และหมทู่ ี่ 4 และรองนายหมูท่ ี่ 6 อย่เู สมอกับผเู้ รียก ทกุ หมหู่ นั
หน้าเขา้ หากัน

101
การเข้าแถว การจดั ระยะเคียงและการตรวจการจัดแถวแลว้ สง่ั “น่งิ ” เหมอื นหนา้ กระดาน
แถวเดีย่ ว

8. หมู่แถวตอนเรียงสอง
ผเู้ รยี กยืนอย่ใู นท่าตรง ชูแขนทัง้ สองข้างไปขา้ งหน้าเหยยี ดตรงเสมอไหล่ หันหลังมือเข้าหากัน ทา

ช้า ๆ แลว้ เรียก “กอง” ให้ลูกเสือหมู่ท่ี 1 และหมทู่ ่ี 4 เปน็ หลัก วิ่งมาเขา้ แถวตอนตรงหน้าผเู้ รียกและ
ให้นายหมู่ทั้งสองเป็นหลัก อยู่หา่ งจากผ้เู รียกประมาณ 6 ก้าว ให้หมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 3 มาเข้าแถวตอน
ตอ่ จากหมูท่ ี่ 1 ตามลาดบั และหมทู่ ี่ 5 และหมทู่ ่ี 6 มาเข้าแถวตอนต่อจากหมู่ท่ี 4 ตามลาดบั

การเข้าแถว ให้จัดระยะเคียงระหว่างหมู่ห่างประมาณ 3 ช่วงแขน หรือประมาณ 3 ก้าว
ระยะต่อระหว่างบุคคลในหมหู่ ่าง 1 ชว่ งแขน ระยะระหว่างหมู่ให้เว้นระยะพองาม คือ ให้เกนิ กว่า 1 ช่วง
แขนบา้ งเล็กน้อย แตล่ ะแถวใหจ้ ัดแถวตรงคอคนหน้า ผู้เรยี กแถวตรวจการจดั แถวแล้วสัง่ “น่งิ ”

การใช้สัญญาณมือส่งั แถว “ตรง” “นงิ่ ” หรือ “พัก”
ก. ผกู้ ากับลกู เสอื อาจใชค้ าสงั่ วาจาหรือดว้ ยท่าทางกไ็ ด้ คอื ใช้แขนขวา มือกากระตกุ หรอื สปริง
แขนเข้าหาตวั โดยใหก้ ามืออยู่เสมอหัวเข็มขัด แทนคาสั่ง “ตรง” หรือ “นงิ่ ”

102

ข. มอื กา สลัดหรอื สปรงิ แขนขวาออกไปจากลาตัวทางขวา แทนคาสงั่ “ตามระเบียบ พกั ”
ค. เพื่อให้เกดิ ความพร้อมเพรยี งและมรี ะเบียบ ก่อนจะใช้สญั ญาณมอื สงั่ แถว ควรใชเ้ สยี งเรยี ก
เตือนดว้ ยคาวา่ “กอง” (ถ้าเป็นลูกเสอื สารองเรียก “แพ็ค”) แล้วจงึ ใชส้ ญั ญาณมือสงั่ แถว
หมายเหตุ
1. การส่งั แถว “แยก” เมื่อจบการฝึกตอนหนงึ่ เพ่ือจะไปฝกึ ตอ่ ในวิชาอื่น หรอื เพื่อยา้ ยสถานท่ี
ฝกึ ใหส้ ่ังลูกเสอื อยใู่ น “ทา่ ตรง” กอ่ นแล้วสัง่ วา่ “กอง...แยก” เม่ือลกู เสือได้รับคาส่ังให้ทกุ คนทาขวาหัน
เดินแยกออกไปทางขวามือของตนตามลาพัง
2. เมื่อเสรจ็ สิน้ การฝกึ อบรมในวนั นั้น ๆ แล้ว ให้สัง่ ลูกเสืออยใู่ นทา่ ตรงก่อนแลว้ ส่งั ว่า “กอง เลิก”
เม่อื ลูกเสือได้รับคาสง่ั ให้ทุกคนทา วันทยหัตถ์ หรือทา “วนั ทยาวุธ” ตามลาพงั ตนเอง และกลา่ วถ้อยคาวา่
“ขอบคุณครบั คะ่ ” แลว้ เอามอื ลงและทาขวาหนั เดินออกไปทางขวามือของตน

103

ผลกระทบจากการขาดวนิ ยั และขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย

ส่ิงท่จี ะช่วยทาใหล้ ูกเสอื ได้มีระเบียบวินัยทด่ี ี ไดแ้ ก่
1. การใช้คาส่ังใหป้ ฏิบตั ิอย่างง่าย ๆ เป็นคาสัง่ ตรง ๆ มีจุดหมายท่ีแน่นอน ไม่ใช่เปน็ คาส่ังท่เี กดิ จาก

การขม่ ขู่
2. พธิ ีการตา่ ง ๆ เพราะในพธิ ีการตา่ ง ๆ ทาใหล้ ูกเสืออยู่ในอาการสารวม
3. การตรวจในการเปิดประชุมกองและปิดประชุมกอง หรือการตรวจการอยู่ค่ายพักแรมในตอนเชา้

เปน็ การชว่ ยให้ลกู เสอื ไดร้ ักษามาตรฐานและระเบียบวินัยของกองลูกเสือให้มรี ะดับดีขึ้น
4. เครือ่ งแบบมคี วามหมายสาหรบั ชอ่ื เสียงของขบวนการกองลกู เสอื บุคคลภายนอก เขาจะมองและ

ตัดสนิ เราด้วยสง่ิ ทเี่ ขาเห็นเท่าน้นั ผู้แตง่ เครอื่ งแบบจะต้องสารวมกริ ิยาวาจา ไม่กระทาการใดทจี่ ะทาให้เสื่อม
เสีย

5. การอยู่คา่ ยพกั แรมต้องทางานรว่ มกนั อย่างมีประสิทธภิ าพ
6. การเดนิ ทางไกล ได้รับความเหน็ดเหนือ่ ย ต้องอดทน เห็นใจซ่ึงกันและกนั
7. ระเบียบแถว เปน็ วธิ กี ารฝึกทีจ่ ะต้องใหป้ ฏิบตั ติ ามคาบอกคาสัง่
8. สิง่ แวดลอ้ มท่ีมองเห็นเปน็ แบบอย่างท่ีจะกระทาตาม
9. ตัวอย่างที่ดีของผู้กากับเป็นเร่ืองสาคัญที่สดุ ทีล่ ูกเสือจะเกิดศรัทธายดึ ถือ
เป็นแบบอยา่ ง

แนวทางการเสริมสร้างวินยั และความเป็นระเบยี บเรียบร้อย
1. สร้างวินัยด้วยการทาให้เป็นพฤติกรรมเคยชินสร้างวินัยด้วยการทาให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน วิธีฝึก
วนิ ัยท่ดี ีท่ีสุดต้องอาศัยธรรมชาติของมนษุ ย์ที่ดาเนินชีวิตกันดว้ ยความเคยชินเป็นสว่ นใหญ่ แล้วก็ยึดม่นั ในความ
พึงพอใจในพฤติกรรมท่ีเคยชินนั้น การฝึกคนต้องใช้ความสามารถและต้องมีระบบต้องสอดคล้องกับธรรมชาติ
ให้เกิดพฤตกิ รรมเคยชิน ถือวา่ ต้องสร้างวนิ ยั ใหเ้ ปน็ พฤติกรรมเคยชนิ
2. การสรา้ งวินยั โดยใชป้ ัจจัยอ่ืนช่วยเสริมวนิ ยั จะทาใหเ้ กิดความสขุ และประพฤตปิ ฏบิ ัติด้วยความพึง
พอใจ โดยใช้ปัจจยั อย่างอน่ื มาช่วยอีกก็ได้ เชน่ มีกลั ยาณมิตร วนิ ยั กเ็ กดิ ได้ง่าย มีศรัทธาและความรักเปน็
องค์ประกอบเสริม ในการสร้างวนิ ยั จากพฤตกิ รรมทเ่ี คยชนิ คอื

2.1 เป็นต้นแบบที่ดีของพฤตกิ รรม (ศีล)
2.2 มีความรัก ทาให้เกิดความอบอุน่ มีความเปน็ กันเองพรอ้ มศรัทธาและความสุข (จติ ใจ)
2.3 มีเหตุมผี ล เขา้ ใจเหตผุ ลและเหน็ คณุ คา่ ในส่งิ ที่ทา (ปัญญา)
2.4 สร้างวินัยด้วยแรงหนุนของสภาพจิตใจ คือ การต้ังเป็นอุดมคติในจิตใจทาให้ใจมีความฝักใฝ่
มุ่งม่นั อย่างแรง มีเป้าหมายอยา่ งแรง เป็นอดุ มคติ ใฝต่ ง้ั ใจจรงิ ปฏิบตั ิตามวินยั มคี วามภมู ใิ จรักษาวินัย

104

3. สรา้ งวนิ ยั โดยใชก้ ฎเกณฑ์บงั คบั การสร้างวินยั โดยใช้กฎหมาย หรอื กฎเกณฑบ์ งั คบั ควบคมุ โดยมีการ
ลงโทษ วิธนี ้ีกส็ ร้างวินัยได้

4. การเสริมสร้างวินัยในตนเองวินัยน้ันเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และ
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์กบั ธรรมชาติ

ใบงาน
เรื่อง วนิ ัยและความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย

คาชี้แจง ให้ผู้เรยี นอธบิ ายคาถามต่อไปน้ีมาพอสังเขป

1.วินัย หมายถึง .....................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................. .................
...............................................................................................................................................................
2. วนิ ยั มกี ี่1ประเภท จงอธบิ าย.............................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...................................................... ......................................................................................... ................
...............................................................................................................................................................
3. จงยกตัวอยา่ ง สัญญาณมือในการเรียกแถวของลูกเสือ มาอย่างน้อย 5 รปู แบบ
............................................................................................................ ...................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ ...................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
4. จงยกตัวอยา่ งผลกระทบของการขาดวินัยและความเป็นระเบียบเรยี บร้อย
......................................................................................................... ......................................................
...............................................................................................................................................................
................................................................................................................................... ............................
................................................ ......................................................................................... ......................
5. จงบอกถึงแนวทางการเสริมสร้างวินัยและความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย
...............................................................................................................................................................

105

...............................................................................................................................................................
......................................................................................................... ......................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
................................................ ......................................................................................... ......................

ชื่อ......................................นามสกลุ .............................. ระดับ..............................................................

แบบทดสอบหลังเรยี น

เรอื่ ง วินยั และความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย

คาชแี้ จง : จงกากบาท X เลอื กข้อทท่ี ่านคดิ ว่าถูกต้องทสี่ ุด

1. เครื่องแบบลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ ใชห้ มวกประเภทใด
ก. หมวกปกี
ข. หมวกเบเร่ต์
ค. หมวกสามเหลีย่ ม
ง. หมวกทรงหมอ้ ตาล

2. เสื้อคอพับสีกากีของลูกเสือสามัญร่นุ ใหญ่ มดี มุ เหนอื เข็มขดั ก่ีเม็ด
ก. 4 เมด็
ข. 5 เมด็
ค. 6 เมด็
ง. 7 เมด็

3. ลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ ใช้พู่สีอะไร
ก. สแี ดง
ข. สีเขียว
ค. สีเลือดหมู
ง. สีอะไรกไ็ ด้

4. การเคารพในท่าอาวุธที่ถูกต้องปฏิบตั ิอย่างไร
ก. ใชม้ อื ซ้ายวันทยาวุธ

106

ข. ใช้มอื ขวาวันทยาวธุ
ค. ยืนตรงเฉย ๆ ไม่ต้องทาอะไร
ง. จะทาอย่างไรก็ไดใ้ หร้ วู้ า่ วนั ทยาวธุ
5. การทาความเคารพด้วยทา่ วันทยหัตถ์ควรปฏิบตั อิ ย่างไร
ก. ใชม้ ือขวาวนั ทยหตั ถ์นว้ิ ชี้ชิดคิว้
ข. ใช้มือซา้ ยวันทยหัตถ์นวิ้ ชีช้ ดิ ควิ้
ค. ใชม้ อื ขวาวนั ทยหตั ถ์นิว้ กลางชิดคิ้ว
ง. ใช้มือซา้ ยวันทยหัตถ์นวิ้ กลางชิดค้ิว
6. ไมง้ ่ามเปน็ อาวธุ ประจากายของลกู เสอื สามัญรุน่ ใหญม่ วี ิธกี ารเลือกใช้อย่างไร
ก. ให้ผู้บงั คบั บญั ชาเป็นผ้กู าหนด
ข. ใหไ้ ม้ง่ามมขี นาดความยาว 150 เซนติเมตร
ค. ใหไ้ มง้ า่ มมีขนาดความยาว 160 เซนติเมตร
ง. ใหม้ คี วามยาวตามความเหมาะสมกบั คนใช้

7. บริการ เปน็ คตพิ จน์ของลูกเสือในข้อใด
ก. ลูกเสือสารอง
ข. ลกู เสือสามญั
ค. ลูกเสือวสิ ามญั
ง. ลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่

8. การทาความเคารพดว้ ยท่ามือเปลา่ ทามมุ กี่องศา
ก. ทามุม 30 องศา
ข. ทามมุ 35 องศา
ค. ทามุม 40 องศา
ง. ทามมุ 45 องศา

9. คตพิ จน์ หมายถึงอะไร
ก. ถ้อยคาหรือข้อความทเ่ี ปน็ คติ
ข. ถ้อยคาทมี่ าจากสจั จะเป็นสาคญั
ค. ถอ้ ยคาทมี่ าจากผูม้ อี ายนุ อ้ ยกว่า
ง. ถ้อยคาท่ีเตรยี มพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ

10. คตพิ จน์ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ คือข้อใด
ก. บรกิ าร

107

ข. มองไกล
ค. ทาดที ส่ี ดุ
ง. จงเตรยี มพรอ้ ม

เฉลย 1) ข 2) ข 3) ค 4) ก 5) ข 6) ก 7) ค 8) ก 9) ก 10) ข

ชอื่ .......................................นามสกลุ ................................................ระดับ..............................

บนั ทึกหลงั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

กจิ กรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปญั หาท่ีพบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
วธิ ีแกป้ ญั หา

108

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงชือ่ ..................................................ผบู้ ันทกึ
(..................................................)
วันท่.ี ...........................................

ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ าร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
................................................................................................................................................ ..............................

ลงช่ือ.......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6

เรอ่ื ง ลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา

รายวิชา ลกู เสือ กศน. รหัสวชิ า สค12025 ระดบั ประถมศกึ ษา

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพัฒนาสงั คม เวลา 4 ชว่ั โมง

ครูผสู้ อน...................................................................... รปู แบบการสอนพบกลมุ่ /คน้ คว้าด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรียนรู้

109

1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เกีย่ วกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ
ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวติ และการประกอบอาชีพ เพื่อความม่นั คงของชาติ

1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องท้องถ่นิ และ
ประเทศไทย

1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ติ ตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎหมายเบ้อื งตน้ กฎระเบียบของชุมชน
สงั คม และประเทศ

1.4 มคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะหข์ ้อมลู ในการพฒั นาตนเอง
ครอบครวั ชุมชน สงั คม

2. ตัวชี้วัด
2.1 อธบิ ายความเปน็ มา และความสาคญั ของลูกเสอื กศน.
2.2 อธบิ ายลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม
2.3 อธิบายบทบาทหนา้ ท่ีของลกู เสือ กศน. ทม่ี ีตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม

3. สาระสาคญั ของเน้อื หา
3.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของลูกเสือ กศน.
3.2 ลกู เสอื กศน. กับการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสงั คม
3.3 บทบาทหนา้ ท่ีของลกู เสอื กศน. ที่มตี อ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม

4. เปา้ หมายการเรยี นรู้ (ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั )
4.1 บอกความเป็นมา และความสาคัญของลูกเสือ กศน.
4.2 ลูกเสอื กศน. กบั การพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม
4.3 บทบาทหน้าทีข่ องลูกเสือ กศน. ท่ีมีตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม

5. ขั้นจัดกระบวนการเรยี นรู้
ขนั้ ที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความตอ้ งการในการเรยี นรู้
1) ครูและผู้เรยี นร่วมกนั กาหนดสภาพความจาเป็นที่ต้องเรียนรใู้ นเรื่องต่อไปนี้
(1) ความเปน็ มาและความสาคัญของลกู เสือ กศน.
(2) ลูกเสอื กศน. กบั การพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม
(3) บทบาทหน้าทขี่ องลูกเสอื กศน. ทมี่ ตี อ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม
2) ครูและผู้เรยี นทาความเขา้ ใจสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนซักถาม

แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เชื่อมโยงความร้ใู หม่
3) ครใู หผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

110

ข้ันท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรียนรู้
1) ครใู หผ้ ูเ้ รียนรว่ มกนั อภิปรายในหวั ข้อ “ลกู เสือ กศน. จะพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ได้

อย่างไร?”
2) ครใู หผ้ ้เู รียนศึกษาใบความรู้เร่ือง ลกู เสือ กศน. กบั การพัฒนา (ใบความรู้ท่ี 1-3)

ขนั้ ท่ี 3 ปฏบิ ตั ิและนาไปประยกุ ต์ใช้
1) ครแู บง่ กลุ่มผ้เู รียนเป็น 3 กลุ่มและมอบหมายให้ผเู้ รียนทาใบงานที่ 1-3 โดยศกึ ษา

เพิม่ เติมจากใบความรู้ ที่ 1-3
2) ครแู ละผู้เรยี นสรปุ เนื้อหาที่นาเสนอรว่ มกนั
3) ครูใหผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

ข้ันที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้
1) ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2) ประเมินจากใบงาน
3) ครูสงั เกตจากการนาเสนอผูเ้ รียน
4) บันทึกหลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
5) ทาแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. หนังสือเรียนวชิ าลูกเสือ กศน.

111

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

เร่ือง ลกู เสือ กศน.กับการพัฒนา
คาช้แี จง : จงทาเคร่ืองหมายกากบาท X เลอื กข้อทท่ี า่ นคิดวา่ ถกู ต้องทส่ี ุด

1. ลกู เสอื ไทย ถือกาเนดิ โดยองค์พระมหากษัตริย์ไทย ในรัชกาลใด
ก. รชั กาลท่ี 4
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รชั กาลท่ี 6
ง. รัชกาลท่ี 7

2. คติพจน์ ลูกเสือ กศน. ตรงกับข้อใด
ก. มองไกล
ข. บรกิ าร
ค. เสียชีพอยา่ เสยี สัตย์
ง. จงทาดี จงทาดี

3. คูหาลกู เสอื วสิ ามญั หมายถงึ ข้อใด
ก. Rover Scouts
ข. Rover Den
ค. Boy Scout
ง. Scout

4. กฎของลกู เสือมีก่ขี ้อ
ก. 7 ขอ้
ข. 8 ข้อ
ค. 9 ข้อ
ง. 10 ขอ้

5. การป้องกันและช่วยเหลอื เมื่อประสบเหตุ ตรงกับขอ้ ใด
ก. ลูกเสอื กกต.
ข. ลูกเสอื ยาเสพติด
ค. ลูกเสือบรรเทาสาธารณภยั
ง. ลกู เสือจราจร

112

6. การสรา้ งความมรี ะเบยี บวินัยต่อตนเอง ร้จู กั สามัคคีในหมคู่ ณะและส่วนรวม ตรงกับข้อใด
ก. ลกู เสอื สนั ตภิ าพ
ข. ลกู เสอื ปา่ ไม้
ค. ลกู เสือช่อสะอาด
ง. ลกู เสือรัฐสภา

7. การรว่ มเฝ้าระวงั ปอ้ งกนั ขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ภัยออนไลน์ ข้อใด
ก. ลูกเสอื ไซเบอร์
ข. ลกู เสือจราจร
ค. ลูกเสอื กกต.
ง. ลูกเสอื สาหรับผู้ด้อยโอกาส

8. “บรกิ าร” ซงึ่ เปน็ เสมอื นหัวใจของลกู เสือ กศน. ข้อใดถูกตอ้ ง
ก. คติพจน์ของลกู เสือ
ข. กฎของลูกเสือ
ค. คาปฏิญาณของลกู เสือ
ง. ถกู ทกุ ขอ้

9. ลกู เสือ กศน. พึงนาคาปฏิญาณ กฎและคติพจนข์ องลกู เสือ มาเปน็ แนวทางการพัฒนาตนเองครอบครัว
ชุมชน และสงั คม ข้อใดถกู ตอ้ ง
ก. พัฒนาทางกาย
ข. พฒั นาทางสตปิ ญั ญาพัฒนาทางด้านสตปิ ัญญา
ค. พัฒนาทางจิตใจศีลธรรม
ง. ถูกทกุ ข้อ

10. การช่วยอานวยความสะดวกดา้ นการจราจร ข้อใด
ก. ลูกเสือจราจร
ข. กฎของลูกเสือ
ค. คาปฏิญาณของลูกเสือ
ง. ถกู ทุกข้อ

113

เฉลย 1) ค 2) ข 3) ข 4) ง 5) ค 6) ง 7) ก 8) ก 9) ง 10) ก

ชอ่ื .......................................นามสกลุ ................................................ระดับ..............................

ใบความรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 ลูกเสือ กศน. กบั การพัฒนา
เรอ่ื งที่ 1 ลกู เสือ กศน.

1.1 ความเปน็ มาของลกู เสือ กศน.
การลูกเสือไทย ไดถ้ ือกาเนดิ ขึ้นโดยองค์พระมหากษัตริยไ์ ทย และมคี วามเจริญรุดหน้าสบื มาก

ว่า 107 ปี
อย่างทรงคณุ ค่า ซึง่ เป็นพระราชมรดกอันลา้ ค่ายิง่ ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รัชกาลที่ 6
ไดพ้ ระราชทานไวใ้ หแ้ ก่ปวงชนชาวไทย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู
รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษากับความมั่นคง มีพระราชประสงค์เห็นคนไทยมวี ินัยรู้หนา้ ทม่ี ี
ความรบั ผดิ ชอบ สรา้ งวินยั โดยกจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี

1.2 ความสาคัญของลูกเสือ กศน.
สานกั งาน กศน. ไดต้ ระหนักและเหน็ คณุ ค่าของกจิ การลกู เสือ จงึ ได้น้อมนาพระบรมราโชบายดังกล่าว

มากาหนดเป็นนโยบายหลักสูตรและแนวทางการปฏบิ ัติ พรอ้ มท้งั สนบั สนุนการพฒั นาคุณภาพของผ้เู รยี น
กศน. โดยนากระบวนการลูกเสอื เนอื้ หาความรู้ต่าง ๆท่ีเกยี่ วข้องกับการลกู เสือเป็นหลักในการจัดกิจกรรม

114
สง่ เสรมิ ประสบการณ์ให้ผู้เรียน กศน.มที กั ษะชวี ติ สามารถดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข สามารถนา
อุดมการณ์คาปฏิญาณและกฎของลกู เสือ มาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวัน มรี ะเบยี บวินยั มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
และมีความสงา่ งามในการดารงตนใหเ้ ป็นพลเมืองดี บาเพ็ญประโยชนต์ ่อ ชุมชน สงั คม และประเทศชาตลิ ูกเสือ
กศน. เปน็ ลกู เสือท่ีอย่ใู นกองลูกเสอื วสิ ามัญของสถานศึกษา สังกดั สานักงาน กศน. จึงต้องมคี วามพร้อมในการ
ประพฤตปิ ฏิบัติตนตามคติพจนข์ องลูกเสอื

วิสามญั คือ “บรกิ าร” ลูกเสือ กศน. ตอ้ งพร้อมและพัฒนาตนเอง ทงั้ ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ดา้ น
จติ ใจ ด้านศีลธรรม และมีความพรอ้ มในการเปน็ ผู้นาในการพัฒนาครอบครัว ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ

ใบความร้แู ผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลูกเสอื กศน. กบั การพฒั นา
เรอ่ื งท่ี 2 ลกู เสอื กศน.กับการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม

ลูกเสอื กศน. เปน็ ผมู้ ีความสาคัญตอ่ การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและประเทศชาตเิ ปน็
อย่างยิง่ ดงั นั้น ลูกเสือ กศน. ทุกคนพึงนาอุดมการณ์ คาปฏญิ าณ กฎและคติพจนข์ องลกู เสือ เปน็ หลกั ในการ
พัฒนาตนเองให้เป็นพลเมืองดีในทัศนะของลูกเสือ และมจี ติ อาสาให้ “บริการ” ชว่ ยเหลอื กิจการต่าง ๆ ทมี่ ีอยู่
ในชมุ ชน สังคมและสรา้ งความสัมพันธ์อันดี กับองค์กร หรือหนว่ ยงานอน่ื ๆ
การพัฒนาตนเองในดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี
1. พฒั นาทางด้านความคิดเรื่องศาสนา ซงึ่ มวี ธิ กี ารแตกต่างกนั ไปตามศาสนาท่ีตน นบั ถือ มุ่งเนน้ ยดึ มน่ั

ในหลกั การของศาสนา เพ่ือให้บรรลผุ ลแหง่ ความจงรักภกั ดีต่อศาสนา

115
2. พัฒนาทางด้านความรสู้ กึ ด้านค่านิยม มงุ่ เน้นการเอาใจใส่ ระมดั ระวังในการเผชิญปญั หา สถานการณ์
ปจั จุบันเปน็ พิเศษ
3. พัฒนาทางด้านร่างกาย มุ่งเน้นการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสอื เพื่อให้มสี ุขภาพ แข็งแรง
4. พฒั นาทางดา้ นสตปิ ัญญา มงุ่ เนน้ การทางานอดเิ รก การฝมี ือ การรู้จกั ใชเ้ วลา ให้เป็นประโยชน์
5. พฒั นาทางดา้ นสังคม ม่งุ เน้นการปฏิบัตติ นใหอ้ ยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
6. พฒั นาทางดา้ นการสร้างสัมพันธภาพทางสงั คม มุ่งเนน้ การทางานเปน็ ระบบหมใู่ นบทบาทของผู้นาและผู้
ตาม
7. พัฒนาทางดา้ นความรับผดิ ชอบตอ่ ชุมชน มุ่งเนน้ ความสาคัญของความ รบั ผิดชอบของตนเองท่ีมีตอ่ ผู้อน่ื

ดว้ ยการบาเพญ็ ประโยชน์
8. พฒั นาทางด้านความรบั ผดิ ชอบตอ่ สิง่ แวดล้อม มุง่ เน้นความสนใจในสิง่ แวดลอ้ มและอนุรกั ษ์ธรรมชาติ

ใบความรูแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 ลกู เสือ กศน. กบั การพัฒนา
เรื่องท่ี 2 ลูกเสือ กศน.กบั การพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คม (ต่อ)

การพัฒนาชุมชน สังคม ในด้านตา่ ง ๆ เช่น
1. การเป็นพลเมืองดี และการใชส้ ิทธเิ ลือกตัง้ (ลูกเสือ กกต.)
2. การดแู ลรักษาและอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อม (ลูกเสืออนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม)

116
3. การสร้างความตระหนกั ถึงโทษและพษิ ภยั ของยาเสพตดิ (ลกู เสอื ยาเสพตดิ )
4. การปอ้ งกนั และช่วยเหลือเม่ือประสบเหตุ (ลกู เสือบรรเทาสาธารณภยั )
5. การช่วยอานวยความสะดวกด้านการจราจร (ลูกเสอื จราจร)
6. การรว่ มเฝ้าระวัง ป้องกนั ข้อมูลข่าวสารทเ่ี ป็นภยั ออนไลน์ (ลกู เสือไซเบอร)์
7. การเสรมิ สรา้ งทัศนคติ คา่ นยิ ม ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ (ลูกเสอื ชอ่ สะอาด)
8. การอนุรักษข์ นบธรรมเนยี มประเพณีไทยใหญ่ความรู้สบื ไป (ลกู เสือวัฒนธรรม)
9. การป้องกันการทารุณกรรมต่อสตั ว์ (ลูกเสือสวัสดิภาพสัตว)์
10. การช่วยดูแล ปอ้ งกันอนุรักษป์ า่ ไม้ (ลกู เสือปา่ ไม้)
11. การสร้างความมรี ะเบยี บวนิ ยั ตอ่ ตนเอง รู้จักสามคั คีในหมคู่ ณะและสว่ นรวม (ลูกเสือรฐั สภา)
12. การปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กิดความรนุ แรง ลดความเหล่ือมล้า (ลกู เสอื สนั ติภาพ)
13. การสร้างโอกาสทางเลอื กให้กับชวี ติ (ลูกเสอื สาหรบั ผดู้ ้อยโอกาส)

ลูกเสือ กศน. สามารถเขา้ รว่ มกิจกรรมดังกล่าว หรือคิดรปู แบบกิจกรรม/โครงการ ขนึ้ มาเพือ่ การ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

ใบความรแู้ ผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา
เรอื่ งที่ 3 บทบาทหน้าท่ีของลูกเสือ กศน. ทม่ี ีตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คม

ลกู เสือ กศน. มบี ทบาทหนา้ ท่ีในการพัฒนาตนเอง ซ่ึงเน้นการพฒั นาความสามารถศักยภาพ และ
สมรรถนะท่ีทนั ต่อสภาพความจาเปน็ ตามความก้าวหนา้ และการเปล่ียนแปลงของสงั คมเพ่อื ให้มีคุณภาพชีวิต

117

ทดี่ ขี น้ึ ดงั น้ัน การพัฒนาตนเอง จะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจถึงความสาคัญของการพัฒนาในด้านต่าง ๆ รู้
วิธีการวางแผนพัฒนาตนเอง ในบทบาทของผู้นาและผูต้ าม

ผ้เู รียน กศน. ทสี่ มัครเขา้ เป็นลูกเสอื กศน. เร่มิ ตน้ ด้วยการแสวงหาความรู้ทัว่ ไปที่เก่ียวกับทักษะการ
ดารงชีวิต โดยใชก้ ระบวนการคดิ เปน็ ความร้ทู ว่ั ไปทเ่ี กยี่ วกับทกั ษะลกู เสือกจิ กรรมกลางแจ้ง การคดิ วิเคราะห์
การตัดสินใจแกป้ ัญหา และเข้าพธิ ีประจากองลูกเสือวสิ ามญั โดยผ้กู ากบั กองลูกเสือวิสามัญจะเปน็ ผู้ประกอบ
พิธีประจากองให้แกล่ ูกเสือ กศน.ใหล้ กู เสือ กศน. แตง่ เครือ่ งแบบลูกเสือวิสามญั มาพร้อมกันที่คหู าลูกเสือ
วสิ ามัญ (Rover Den)หรอื สถานที่นัดหมายอนื่ ท่ีเหมาะสม เพื่อทบทวนหลักการการเป็นพลเมอื งดี

ในทศั นะของลูกเสือพิจารณาคตพิ จน์ คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือทัง้ 10 ข้อ ที่จะนาส่กู ารปฏิบัติ
ตนเป็นคนดีสารวจตวั เอง และเขา้ พิธีประจากองตามลาดับ

การปฏบิ ัติตนตามคติพจน์ของลกู เสือ กศน. คอื “บริการ” ซ่ึงเปน็ เสมือนหัวใจของลูกเสือ กศน. ท่ี
จะตอ้ งยึดมน่ั ในการเสียสละด้วยการบรกิ าร แตก่ ารบริการนมี้ ไิ ดห้ มายถึงเป็นผรู้ บั ใช้หรือคนงานการบริการใน
ความหมายของการลูกเสอื นี้ เรามุง่ ทจี่ ะอบรมบ่มนสิ ัยและจิตใจใหไ้ ดร้ ู้จักเสยี สละ ได้รจู้ ักวธิ หี าความรู้และ
ประสบการณ์ทเี่ ปน็ ประโยชน์ในอนาคต และในทสี่ ุดกจ็ ะทาใหส้ ามารถประกอบอาชีพโดยปกติสขุ ในสังคม

การบรกิ าร หมายถงึ การประกอบคุณประโยชน์ให้แกม่ นุษยชาติ ด้วยการถือว่าเปน็ เกียรตปิ ระวัตสิ ูงสดุ
แหง่ ชวี ติ ของเรา ในการทรี่ ู้จักเสยี สละความสขุ ส่วนตัวเพ่อื บาเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อน่ื เพือ่ จุดม่งุ หมายให้สังคม
สามารถดารงอยูไ่ ดโ้ ดยปกติ เป็นการสอนให้ลูกเสือวสิ ามัญตงั้ ตนอยใู่ นศลี ธรรมไมเ่ อาเปรียบผูท้ ่ยี ากจนหรือ
ด้อยกว่า นอกจากนนั้ การบริการแก่ผอู้ ื่นเปรยี บเสมือนเป็นการชาระหนท้ี ่ไี ดเ้ กิดมาแลว้ อาศยั อยใู่ นโลกนี้กด็ ว้ ย
ความมงุ่ หวงั จะให้ทกุ คนเข้าใจในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกนั ในสังคม มองเหน็ ความจาเป็นของสงั คมว่าไม่มีใคร
สามารถดารงชีวติ อยู่ได้โดยลาพัง ทุกคนจาเปน็ ต้องพ่ึงพาอาศยั กนั ไม่ว่าด้านอาหารการกนิ ด้านเคร่อื งนงุ่ ห่มท่ี
อยู่อาศัย ยารักษาโรคหรืออ่ืน ๆ

ใบความรแู้ ผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 ลกู เสือ กศน. กับการพัฒนา
เรอื่ งที่ 3 บทบาทหนา้ ท่ีของลูกเสือ กศน. ที่มีต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม

118

ลูกเสือ กศน. พงึ นาคาปฏิญาณ กฎและคตพิ จน์ของลูกเสอื มาเป็นแนวทางการพฒั นาตนเอง
ครอบครวั ชุมชน และสังคม ดังนี้

1. พัฒนาทางกาย พัฒนาทางด้านรา่ งกาย มุ่งเน้นการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื เพ่อื ให้มสี ขุ ภาพแข็งแรง
2. พัฒนาทางสติปัญญาพฒั นาทางด้านสตปิ ัญญา มงุ่ เน้นการทางานอดเิ รกการฝีมอื การรจู้ ักใชเ้ วลาให้
เป็นประโยชน์
3. พัฒนาทางจติ ใจศลี ธรรม พฒั นาทางด้านความคดิ เร่ืองศาสนา ซ่ึงมวี ิธีการแตกตา่ งกันไปตามศาสนา
ท่ีตนนับถือ มงุ่ เน้นยึดมนั่ ในหลักการของศาสนา เพ่ือใหบ้ รรลผุ ลแห่งความจงรักภักดีต่อศาสนา
4. พฒั นาในเรอื่ งสรา้ งค่านยิ มและเจตคติพัฒนาทางดา้ นความรสู้ ึกดา้ นคา่ นิยมมุ่งเน้นการเอาใจใส่
ระมดั ระวังในการเผชิญปัญหา สถานการณ์ปัจจุบนั เปน็ พิเศษ
5. พฒั นาทางสัมพันธภาพระหว่างบคุ คล มุ่งเน้นการปฏิบตั ิตนให้อย่ใู นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ
6. พัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม สรา้ งสมั พนั ธภาพทางสังคม มงุ่ เน้นการทางานเป็นระบบหมู่ใน
บทบาทของผ้นู า และผ้ตู ามที่ดี
7. พฒั นาสมั พนั ธภาพต่อชุมชน มีความรับผดิ ชอบต่อชุมชน มุ่งเนน้ ความสาคัญของความรับผดิ ชอบ
ของตนเองทม่ี ตี ่อผอู้ ่ืนดว้ ยการบาเพ็ญประโยชน์
8. พัฒนาทางด้านความรบั ผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม มงุ่ เนน้ ความสนใจในส่ิงแวดล้อมและอนุรักษ์
ธรรมชาติ

119

ใบงานแผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 ลูกเสอื กศน. กับการพัฒนา
เรือ่ ง ลูกเสอื กศน. กับการพัฒนา

กิจกรรมที่ 1 ลกู เสือ กศน.
คาช้ีแจง ใหผ้ ้เู รยี นอธบิ ายความเป็นมา และความสาคญั ของลูกเสอื กศน. ดงั ต่อไปนี้
1.ความเปน็ มาของลูกเสอื กศน.
............................................................................................................................................................ ..................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................... ....................................... ..................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.ความสาคญั ของลูกเสือ กศน.
.......................................................... .............................................................................................. ......................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................... .....................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................ ..................................................

ชือ่ ...........................................นามสกุล..................................ระดบั .........................................

120

กจิ กรรมที่ 2 ลูกเสือ กศน.กับการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม

คาชี้แจง ให้ผู้เรียนยกตัวอย่างกิจกรรมของลูกเสือ กศน. กับการพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคมลงในตาราง

ต่อไปน้ี

ลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา กิจกรรมทค่ี าดว่าจะพฒั นา

ตนเอง

ครอบครัว

ชุมชนและสังคม

121

ชอ่ื ...........................................นามสกลุ ..................................ระดับ.........................................

กิจกรรมที่ 3 บทบาทหน้าทีข่ องลูกเสอื กศน.ทม่ี ตี ่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและสงั คม

คาชแี้ จง ใหผ้ ู้เรียนยกตัวอย่างกิจกรรมเกีย่ วกับบทบาทหนา้ ทขี่ องลกู เสือ กศน. ทมี่ ตี ่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน

และสงั คม ลงในตารางตอ่ ไปนี้

บทบาทหน้าท่ีของลูกเสือ กศน. ยกตัวอยา่ งที่เกี่ยวข้อง

ท่มี ีต่อตนเอง

ทม่ี ีต่อครอบครัว

ทม่ี ีต่อชุมชนและสงั คม

122

ชื่อ...........................................นามสกลุ ..................................ระดับ.........................................

แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง ลกู เสอื กศน.กบั การพัฒนา
คาชแ้ี จง : จงทาเครือ่ งหมายกากบาท X เลอื กข้อทท่ี ่านคดิ วา่ ถูกตอ้ งทสี่ ุด
1. ลกู เสือไทย ถือกาเนดิ โดยองคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ไทย ในรชั กาลใด

ก. รัชกาลที่ 4
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รชั กาลท่ี 6
ง. รชั กาลท่ี 7
2. คติพจน์ ลกู เสือ กศน. ตรงกับข้อใด
ก. มองไกล
ข. บรกิ าร
ค. เสยี ชีพอยา่ เสยี สตั ย์
ง. จงทาดี จงทาดี
3. คูหาลกู เสอื วสิ ามญั หมายถงึ ข้อใด
ก. Rover Scouts

123

ข. Rover Den
ค. Boy Scout
ง. Scout
4. กฎของลูกเสือมีกข่ี ้อ
ก. 7 ข้อ
ข. 8 ขอ้
ค. 9 ข้อ
ง. 10 ขอ้
5. การปอ้ งกันและชว่ ยเหลือเม่อื ประสบเหตุ ตรงกบั ข้อใด
ก. ลูกเสอื กกต.
ข. ลูกเสอื ยาเสพติด
ค. ลกู เสอื บรรเทาสาธารณภยั
ง. ลกู เสือจราจร

6. การสรา้ งความมรี ะเบียบวินัยต่อตนเอง รูจ้ ักสามัคคีในหมู่คณะและส่วนรวม ตรงกับข้อใด
ก. ลกู เสอื สนั ติภาพ
ข. ลูกเสอื ปา่ ไม้
ค. ลกู เสือชอ่ สะอาด
ง. ลูกเสือรัฐสภา

7. การร่วมเฝา้ ระวงั ป้องกนั ขอ้ มูลข่าวสารทเี่ ปน็ ภัยออนไลน์ ขอ้ ใด
ก. ลูกเสือไซเบอร์
ข. ลูกเสือจราจร
ค. ลูกเสือ กกต.
ง. ลูกเสือสาหรบั ผูด้ ้อยโอกาส

8. “บริการ” ซึง่ เปน็ เสมอื นหัวใจของลกู เสือ กศน. ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
ก. คติพจน์ของลกู เสือ

124

ข. กฎของลูกเสือ
ค. คาปฏิญาณของลกู เสือ
ง. ถูกทกุ ข้อ
9. ลกู เสือ กศน. พึงนาคาปฏิญาณ กฎและคติพจนข์ องลูกเสอื มาเป็นแนวทางการพัฒนาตนเองครอบครวั
ชุมชน และสงั คม ข้อใดถกู ต้อง
ก. พฒั นาทางกาย
ข. พัฒนาทางสตปิ ญั ญาพัฒนาทางด้านสตปิ ญั ญา
ค. พัฒนาทางจิตใจศลี ธรรม
ง. ถกู ทกุ ขอ้
10. การช่วยอานวยความสะดวกด้านการจราจร ข้อใด
ก. ลกู เสอื จราจร
ข. กฎของลูกเสือ
ค. คาปฏิญาณของลูกเสือ
ง. ถูกทกุ ข้อ

เฉลย 1) ค 2) ข 3) ข 4) ง 5) ค 6) ง 7) ก 8) ก 9) ง 10) ก

ช่ือ.......................................นามสกลุ ................................................ระดับ..............................

บนั ทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

125

สภาพปัญหาที่พบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................. ............................................................................................
วิธีแก้ปญั หา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงชอื่ ..................................................ผู้บันทึก
(..................................................)
วนั ที่............................................

ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ าร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
................................................................................................................................................ ..............................

ลงชอ่ื .......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7
เร่อื ง ลูกเสอื กศน. กับจิตอาสา และการบรกิ าร

126

รายวชิ า ลกู เสือ กศน. รหัสวิชา สค12025 ระดบั ประถมศึกษา

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 สาระการพัฒนาสงั คม เวลา 4 ชว่ั โมง

ครผู สู้ อน...................................................................... รูปแบบการสอนพบกล่มุ /ค้นคว้าด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักเกี่ยวกับภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต และการประกอบอาชีพ เพอื่ ความม่นั คงของชาติ
1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณขี องทอ้ งถิน่ และ

ประเทศไทย
1.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชวี ิตตามวถิ ีประชาธิปไตย กฎหมายเบื้องต้น กฎระเบียบของชมุ ชน

สังคม และประเทศ
1.4 มคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพัฒนาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม

2. ตัวชี้วดั
2.1 อธิบายความหมายและความสาคญั ของจิตอาสาและการบริการ
2.2 อธบิ ายหลักการของจิตอาสาและการบริการ
2.3 อธิบายและนาเสนอวธิ ีการปฏิบตั ติ นในฐานะลกู เสือ กศน. เพ่ือเปน็ จติ อาสาและการบรกิ าร

3. สาระสาคญั ของเนือ้ หา
3.1.จติ อาสา และการบริการ
3.2 หลักการของจติ อาสา และ การบริการ
3.3 วธิ กี ารปฏบิ ตั ิตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพอ่ื เป็นจิตอาสา และ การบริการ

4. เปา้ หมายการเรยี นรู้ (ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง)
4.1. บอกความเปน็ มา และความสาคญั ของจติ อาสาและการบริการ
4.2 บอกหลักการของจติ อาสาและการบริการ
4.3 อธิบายและนาเสนอวธิ กี ารปฏบิ ัติตน ในฐานะลกู เสอื กศน.เพื่อเป็นจิตอาสาและการ

5. ขัน้ จดั กระบวนการเรยี นรู้
ข้นั ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรู้
1) ครแู ละผู้เรยี นรว่ มกันกาหนดสภาพความจาเปน็ ที่ตอ้ งเรียนรใู้ นเร่ืองต่อไปนี้

127

(1) ความหมายและความสาคัญของจติ อาสาและการบริการ
(2) หลักการของจติ อาสาและการบริการ
(3) วธิ กี ารปฏบิ ตั ิตนในฐานะลูกเสอื กศน. เพอ่ื เป็นจิตอาสา และการบริการ
2) ครแู ละผเู้ รยี นทาความเข้าใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรใู้ หผ้ ู้เรียนซักถาม
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เชื่อมโยงความรู้ใหม่
3. ครูให้ผูเ้ รยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ขัน้ ที่ 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้
1) ครใู ห้ผู้เรียนดคู ลปิ จาก YouTube เรอ่ื ง ตามรอยลูกเสอื กับการบริการ และให้ผเู้ รยี นร่วม
แสดงความคดิ เหน็ เรอื่ งความหมาย และความสาคญั ของจิตอาสาและการบริการ

https://www.youtube.com/watch?v=YlyR9YMQE8s&ab_channel=MixheadMusicSpace

2) ครใู ห้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ลูกเสือ กศน. กับจิตอาสา และ
การบริการ (ใบความรู้ท่ี 1-3)

ขั้นท่ี 3 ปฏบิ ัตแิ ละนาไปประยกุ ต์ใช้
1) ครแู บง่ กลมุ่ ผุ้เรียนออกเป็น 3 กล่มุ โดยให้แตล่ ะกลุ่มศึกษาเพิ่มเติม ดงั น้ี
กลุ่มท่ี 1 ใบความรู้ท่ี 1 เรื่อง จิตอาสากับการบริการ
กลุ่มท่ี 2 ใบความรู้ที่ 2 เร่ือง หลักการของจติ อาสาและการบริการ
กลมุ่ ท่ี 3 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นในฐานะลุกเสือ กศน.เพอ่ื เป็นจติ อาสา และ

การบริการ
2) ครใู หผ้ เู้ รียนแต่ละกลุ่มออกมาสรปุ ผลการศึกษาหนา้ ชน้ั เรียน
3) ครแู ละผู้เรยี นร่วมกันสรุปสาระสาคัญในแตล่ ะหวั ข้อ ท้งั สามหวั ข้อและจดลงในสมุดบันทกึ

พร้อมกับทาใบงาน
4) ครใู ห้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน

128

ขน้ั ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1) ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
2) ประเมนิ จากใบงาน
3) ครสู งั เกตจากการนาเสนอผ้เู รียน
4) บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
5) ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

สื่อการเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. คลิปวีดีโอจาก YouTube
4. หนังสอื เรียนวิชา ลูกเสอื กศน.

129

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

แผนการเรียนรูท้ ี่ 7 เร่ือง ลกู เสอื กศน.กับจิตอาสา และการบรกิ าร
คาช้แี จง : จงทาเครอื่ งหมายกากบาท X เลอื กข้อทท่ี ่านคิดวา่ ถกู ต้องท่ีสดุ

1. การพฒั นาศักยภาพของบุคคลของขบวนการลูกเสือทวั่ โลก คอื ข้อใด
ก. การพัฒนาการดา้ นร่างกาย
ข. การพัฒนาด้านร่างกายจติ ใจอารมณ์
ค. การพัฒนาทางดา้ นสังคมและส่ิงแวดลอ้ ม
ง. ถกู ทกุ ขอ้

2. กฎของลกู เสือข้อใดทีส่ ามารถนามาใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้
ก. ลูกเสือเปน็ ผมู้ ธั ยสั ถ์
ข. ลูกเสือเปน็ ผสู้ ุภาพเรียบรอ้ ย
ค. ลูกเสอื มีความเมตตา กรุณาตอ่ สัตว์
ง. ถกู ทุกขอ้

3.ความเปน็ พลเมืองดีในทศั นะของลูกเสือ คอื ข้อใด
ก. การพฒั นาความรอบรู้ทางวิชาการ
ข. การพัฒนาความรับผดิ ชอบต่อครอบครวั
ค. การพฒั นาความคดิ คดิ ดี ทาดี มีจิตสาธารณะ
ง. การพัฒนาความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

130

4.การพัฒนาสมั พันธภาพต่อสงิ่ แวดล้อม หมายถงึ ข้อใด
ก. ให้ความเหน็ ใจต่อข้อขัดแย้งทางสังคม
ข. ให้ความมั่นใจในกจิ กรรมทางวฒั นธรรม
ค. ใหค้ วามเอาใจใส่ในการเปลยี่ นแปลงของความเป็นอยู่
ง. ให้ความสนใจและร่วมมืออนุรักษท์ รัพยากรและสง่ิ แวดล้อม

5.ข้อใดแสดงให้เหน็ ถึงความสาคญั ของลกู เสือ กศน.ในการพัฒนาชุมชน
ก. เข้าร่วมกิจกรรมขับไลผ่ มู้ ีอิทธพิ ลในชุมชน
ข. เข้าร่วมกจิ กรรมตอ่ ตา้ นการใชค้ วามรนุ แรงในชมุ ชน
ค. เขา้ รว่ มกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพของคนในชุมชน
ง. เขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาสัมพนั ธภาพทางสังคมและสงิ่ แวดล้อม

6.คตพิ จน์ของลกู เสือที่เปน็ การแสดงออกของความเปน็ ผมู้ ีจิตอาสา หมายถึงข้อใด
ก. บริการ
ข. มองไกล
ค. ทาดที ี่สดุ
ง. จงเตรยี มพร้อม

7. ทาไมลูกเสือจึงควรเชือ่ ฟังคาส่ังของผู้บังคบั บัญชา
ก. เพอื่ ให้คนทว่ั ไปยกย่องลูกเสือ
ข. เพ่ือสรา้ งวินยั และความเปน็ ระเบยี บ
ค. เพื่อทาให้ได้คะแนนความประพฤติมากข้นึ
ง. เพอื่ ความเป็นคนอ่อนนอ้ ม เน่ืองจากมีอายุมากกว่า

8. คติพจน์ของลูกเสอื วสิ ามญั คือข้อใด
ก. บรกิ าร
ข. มองไกล
ค. ทาดที ี่สุด
ง. จงเตรียมพรอ้ ม

9. ข้อใดกลา่ วถึงผใู้ ห้กาเนิดลูกเสือไทย ได้อย่างถูกต้อง
ก. รัชกาลท่ี 4
ข. รชั กาลที่ 5
ค. รชั กาลท่ี 6
ง. รชั กาลที่ 7

131
10. ขอ้ ใดเป็นหลกั การสาคัญของการสรา้ งอุดมการณ์ของความเป็นพลเมืองในทัศนะของลกู เสอื

ก. การนาหลักคาสอนของทุกศาสนามาปรบั ใช้ในการพัฒนาตนเอง
ข. การนากฎหมาย ข้อบังคับ กติกาทางสงั คมมาปรบั ใชใ้ นการพัฒนาตนเอง
ค. การนาคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือเปน็ แนวทางการพัฒนาตนเอง
ง. การนาความรักความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การพัฒนาชุมชนมาปรบั ใช้ในการพฒั นาตนเอง

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

แผนการเรียนรู้ท่ี 7 เร่อื ง ลูกเสือ กศน.กบั จติ อาสา และการบริการ

1) ง 2) ข 3) ค 4) ง 5) ง
6) ก 7) ข 8) ก 9) ง 10) ง

ช่ือ.................................................นามสกุล................................................ระดบั ......................................

ใบความรู้ที่ 1
เร่อื ง จติ อาสาและการบริการ

132

ความหมายของจิตอาสา
จติ อาสา หมายถึง จิตท่ีไมน่ ่ิงดดู ายต่อสงั คม หรอื ความทกุ ข์ยากของผู้คน และ ปรารถนาเขา้ ไป

ชว่ ยดว้ ยจิตทีเ่ ป็นสขุ ท่ีไดช้ ่วยผูอ้ ืน่ เพ่อื สว่ นรวมของคนที่รจู้ ักความเสยี สละ เอาใจใส่ เปน็ ธรุ ะ ให้ความรว่ มมือ
ร่วมใจในการท าประโยชน์เพื่อส่วนรวม เพือ่ ชว่ ยกันพฒั นา คณุ ภาพชีวติ และปรารถนาเขา้ ไปชว่ ยลดปญั หาท่ี
เกดิ ข้ึนในสังคม ดว้ ยการสละเวลา การลงแรง และสร้างสรรคใ์ ห้เกิดประโยชนส์ ุขแกส่ ังคม และประเทศชาติ

ความสาคัญของจิตอาสา
จิตอาสาเป็นการตระหนักรู้ การแสดงออก ทาประโยชน์ เพือ่ สงั คม ตลอดจนชว่ ยกันดูแลรกั ษา

สิ่งแวดล้อม สาธารณะสมบัติ ให้เกิดประโยชนอ์ ย่างคมุ้ ค่า ให้ความช่วยเหลอื ผตู้ กทุกข์ได้ยาก หรอื ผู้ทรี่ ้องขอ
ความช่วยเหลอื โดยใช้คณุ ธรรมเป็นหลกั

ความหมายของการบรกิ าร
บรกิ าร หมายถึง การให้ความช่วยเหลอื หรอื การบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ ตนเอง ตอ่ ผู้อน่ื และตอ่ ชุมชน

ลกู เสือวิสามญั จะตอ้ งมคี วามเลื่อมใสศรทั ธาในคาวา่ “บริการ” และลงมือ ปฏบิ ตั ิเรื่องนี้อยา่ งจริงจงั ด้วยความ
จรงิ ใจ และมที ักษะหรอื ความสามารถในการใหบ้ รกิ ารนน้ั ด้วยความชานาญ วอ่ งไว คือไว้ใจได้ หรอื เชือ่ ถอื ได้

ความสาคญั ของการบรกิ าร ความสาคัญของการบรกิ าร เป็นหัวใจสาคัญของลกู เสือ กศน. ซ่ึงต้อง
พัฒนาจติ ใจ ให้อยู่ในศีลธรรม ไมเ่ อารดั เอาเปรยี บผทู้ ีย่ ากจนหรอื ด้อยกว่า ให้ร้จู ักการเสียสละความสขุ สว่ นตัว
เพือ่ บาเพญ็ ประโยชนแ์ ก่ผูอ้ น่ื เพอ่ื จุดมุ่งหมายให้สงั คมสามารถดารงอย่ไู ด้โดยปกติ ถือวา่ เปน็ เกียรตปิ ระวตั ิ
สูงสดุ ของชีวติ

ใบความรู้ที่ 2
เรอ่ื งหลักการของจิตอาสา และการบรกิ าร

133

หลักการของจิตอาสา
1) การกระทาของตนเอง ให้มีความรับผดิ ชอบต่อตนเอง เพอื่ ป้องกันไม่ให้ เกิดผลกระทบและความ

เสยี หายต่อส่วนรวม เชน่ การมวี นิ ยั ในตนเองการควบคุมอารมณ์และพฤติกรรม การเช่อื ฟังคาสง่ั เปน็ ต้น
2) บทบาทของตนท่ีมตี ่อสังคมในการรกั ษาประโยชน์ของสว่ นรวมเพอ่ื แก้ปัญหาสรา้ งสรรค์สงั คม ซงึ่

ถอื ว่าเป็นความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เช่น การเคารพสิทธผิ ู้อน่ื การรบั ฟง้ ความคดิ เห็นของผู้อื่น การ
ช่วยเหลอื ผู้อ่นื เป็นตน้
หลกั การของการบริการ

1) ใหบ้ ริการด้วยความสมคั รใจเต็มใจทีจ่ ะให้บรกิ าร
2) ใหบ้ ริการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ คือ มที ักษะในการบริการ เชน่ การปฐมพยาบาล เทคนคิ ในการ
ชว่ ยชีวิต เปน็ ตน้
3) ให้บริการแก่ผู้ท่ีต้องการรับบริการ เช่น คนท่ีกาลังจะจมน้า ผู้ที่ถูกทอดท้ิง คนชรา คนป่วยและ
ผูไ้ ม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เป็นตน้
4) ให้บรกิ ารด้วยความองอาจ ต้ังใจทางานให้เสร็จด้วยความม่ันใจ ด้วยความรับผิดชอบโดยใช้ความรู้
ท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง อุทิศให้แก่งานอย่างจริงจัง ในขณะนั้นรู้จักแบ่งเวลา แบ่งลักษณะงาน มี
ความมุมานะในการทางานใหเ้ ป็นผลสาเรจ็ ตาม เปา้ หมายที่กาหนดไว้

134

ใบความรทู้ ี่ 3 เร่อื ง
วธิ กี ารปฏบิ ตั ิตนในฐานะลกุ เสือ กศน.เพือ่ เปน็ จิตอาสา และการบรกิ าร

การปฏิบัตติ นในฐานะลูกเสือกศน. เพ่ือเปน็ จติ อาสาและการใหบ้ ริการต้องมีความรับผดิ ชอบต่อตนเอง
และความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ดงั น้ี

ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง เปน็ ผ้มู จี ิตสานึกในความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ซงึ่ นับวา่ เป็นพนื้ ฐานของ
ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง มดี ังน้ี

1. ต้ังใจศกึ ษาเล่าเรียนหาความรู้
2. รูจ้ ักการออกกาลังกาย เพื่อให้มสี ขุ ภาพร่างกายที่แข็งแรง
3. มคี วามประหยดั รู้จักความพอดี
4. ประพฤติตวั ใหเ้ หมาะสม ละเวน้ การกระทาท่กี ่อใหเ้ กดิ ความเสื่อมเสีย
5. ทางานท่ีรับมอบหมายให้สาเร็จ
6. มีความรับผดิ ชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได้

ความรับผิดชอบต่อสงั คม เปน็ การช่วยเหลือสงั คมไม่ทาให้ผู้อน่ื หรอื สังคมเดือดร้อน ได้รับความ
เสียหายไดแ้ ก่

1. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อครอบครัว เช่น เชือ่ ฟงั พ่อแม่ ช่วยเหลอื งานบ้านไม่ทาให้พ่อแม่เสียใจ
2. ูมคี วามรับผดิ ชอบต่อสถานศกึ ษา ครอู าจารย์ เชน่ ตง้ั ใจเล่าเรียน เชอื่ ฟัง คาสัง่ สอนของครูอาจารย์
ปฏิบัติตามกฎระเบยี บวนิ ยั ของสถานศึกษา ชว่ ยรักษาทรัพย์สมบตั ิสถานศึกษา
3. มีความรับผดิ ชอบต่อบุคคลอ่ืน เช่น ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ให้คาแนะนาไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่ืนเคารพสทิ ธิซ่งึ
กนั และกัน
4. มคี วามรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เชน่ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของสังคมปฏิบตั ติ ามกฎหมายรกั ษา
สมบัตขิ องสว่ นรวมใหค้ วามรว่ มมอื ต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี

135

ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง ลูกเสอื กศน. กบั จิตอาสา และการบริการ

คาชแี้ จง ให้ผเู้ รยี นอธิบายความหมาย และความสาคญั ของจิตอาสา และการบริการ
1.ความหมายของจิตอาสา
..................................................................................................................................................... .........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2.ความสาคัญของจิตอาสา
............................................................................................................................................................ ..................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ ..................................
..............................................................................................................................................................................
3.ความหมายของการบริการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ ..................................
..............................................................................................................................................................................
4.ความสาคญั ของการบริการ
...................................................................................................................................................... ........................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ..................
..............................................................................................................................................................................

136

ชือ่ ...........................................นามสกลุ ..................................ระดับ.........................................

ใบงานท่ี 2 เร่ือง หลกั การของจิตอาสา และการบริการ

คาช้แี จง ให้ผู้เรียนอธิบายหลกั การของจติ อาสา และการบรกิ ารมาพอสงั เขป
1.หลกั การของจิตอาสามกี ่ขี อ้ อะไรบ้าง
....................................................................................................................................................... .........
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ ........................
.................................................................................. ..............................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2. หลกั การของการบริการมกี ี่ข้อ อะไรบ้าง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ..............
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

137
ชอ่ื ...........................................นามสกลุ ..................................ระดับ.........................................

ใบงานที่ 3 เร่อื ง การปฏิบตั ติ นในฐานะทีเ่ ป็นลกู เสอื กศน. เพื่อเปน็ จติ อาสาและการใหบ้ ริการ

คาชี้แจง ให้ผู้เรียนยกตัวอย่างกิจกรรมการปฏิบัติตนในฐานะท่ีเป็นลูกเสือ กศน. เพ่ือเป็นจิตอาสาและการ

ให้บรกิ าร

ลงในตารางต่อไปนี้

การปฏิบตั ติ นเพอื่ เปน็ จิตอาสา และการบรกิ าร ยกตวั อยา่ งที่เกีย่ วข้อง

ที่มตี อ่ ตนเอง

ทม่ี ตี ่อสังคม

138

ชอ่ื ...........................................นามสกุล..................................ระดบั .........................................

แบบทดสอบหลงั เรียน

แผนการเรยี นร้ทู ี่ 7 เรอ่ื ง ลูกเสือ กศน.กับจติ อาสา และการบริการ
คาชี้แจง : จงทาเครอ่ื งหมายกากบาท X เลือกข้อทท่ี ่านคดิ วา่ ถกู ตอ้ งทีส่ ุด

1. การพัฒนาศักยภาพของบุคคลของขบวนการลกู เสือท่ัวโลก คอื ข้อใด
ก. การพฒั นาการดา้ นร่างกาย
ข. การพัฒนาด้านร่างกายจติ ใจอารมณ์
ค. การพฒั นาทางดา้ นสังคมและสงิ่ แวดล้อม
ง. ถูกทกุ ขอ้

2. กฎของลกู เสือข้อใดทส่ี ามารถนามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
ก. ลูกเสือเปน็ ผมู้ ัธยสั ถ์
ข. ลูกเสือเป็นผสู้ ุภาพเรียบรอ้ ย
ค. ลูกเสือมคี วามเมตตา กรณุ าต่อสัตว์
ง. ถูกทกุ ข้อ

139

3.ความเปน็ พลเมืองดีในทศั นะของลกู เสือ คอื ข้อใด
ก. การพฒั นาความรอบรู้ทางวิชาการ
ข. การพฒั นาความรบั ผิดชอบต่อครอบครัว
ค. การพฒั นาความคดิ คดิ ดี ทาดี มจี ติ สาธารณะ
ง. การพฒั นาความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

4.การพฒั นาสัมพนั ธภาพต่อสิง่ แวดลอ้ ม หมายถึงข้อใด
ก. ใหค้ วามเห็นใจต่อข้อขัดแย้งทางสังคม
ข. ใหค้ วามม่ันใจในกจิ กรรมทางวฒั นธรรม
ค. ให้ความเอาใจใส่ในการเปลย่ี นแปลงของความเป็นอยู่
ง. ให้ความสนใจและรว่ มมืออนุรักษ์ทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม

5.ขอ้ ใดแสดงให้เหน็ ถึงความสาคัญของลูกเสือ กศน.ในการพฒั นาชุมชน
ก. เข้าร่วมกิจกรรมขบั ไล่ผู้มีอิทธิพลในชุมชน
ข. เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านการใชค้ วามรุนแรงในชุมชน
ค. เขา้ รว่ มกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพของคนในชุมชน
ง. เขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาสมั พนั ธภาพทางสังคมและสง่ิ แวดล้อม

6.คตพิ จน์ของลกู เสือที่เปน็ การแสดงออกของความเปน็ ผมู้ ีจิตอาสา หมายถึงข้อใด
ก. บริการ
ข. มองไกล
ค. ทาดีทส่ี ุด
ง. จงเตรียมพร้อม

7. ทาไมลกู เสือจงึ ควรเชื่อฟังคาสง่ั ของผบู้ ังคับบัญชา
ก. เพอ่ื ให้คนทวั่ ไปยกย่องลูกเสือ
ข. เพอ่ื สร้างวินัยและความเปน็ ระเบยี บ
ค. เพ่ือทาให้ได้คะแนนความประพฤติมากขน้ึ
ง. เพื่อความเปน็ คนอ่อนนอ้ ม เนอ่ื งจากมีอายุมากกวา่

8. คติพจน์ของลูกเสือวสิ ามัญ คือข้อใด
ก. บรกิ าร
ข. มองไกล
ค. ทาดที ่ีสุด
ง. จงเตรยี มพร้อม


Click to View FlipBook Version