The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

240

ภายใน เชน่ สมอง ตบั กลา้ มเนอื้ ทาให้ผิวหนังขาดเลือดและขาดน้าไปเลี้ยงผิวหนัง จึงไม่สามารถระบายความ
รอ้ น ออกจากรา่ งกายได้

ขนั้ ตอนการช่วยเหลือเบ้ืองตน้
นาผูท้ ่ีมีอาการเข้าในท่รี ม่ นอนราบ ยกเท้าสงู เพื่อเพม่ิ การไหลเวยี นเลือด ถอดเส้ือผ้า ใชผ้ า้ ชุบน้า
ประคบบรเิ วณใบหน้า ขอ้ พบั ขาหนีบ เชด็ ตัวเพื่อระบายความร้อน และถ้ารู้สึกตัวดีให้ค่อย ๆ จิบนา้ เยน็ เพ่ือ
ลดอุณหภูมริ ่างกายให้เรว็ ทส่ี ุด และรบี นาสง่ โรงพยาบาล

เลอื ดกาเดาไหล
สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเป็นหวดั การสงั่ นา้ มกู การติดเชอื้ ในชอ่ งจมกู หรือความหนาว

เย็นของอากาศ
ขน้ั ตอนการชว่ ยเหลอื เบือ้ งต้น
1. ใหผ้ ้ปู ่วยนง่ั นิ่ง ๆ เอนตัวไปขา้ งหนา้ เลก็ น้อย
2. ใช้มอื บบี ปลายจมูก และให้หายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว้ 10 นาที ให้คลายมือออกถา้ เลือด

ยงั ไหลต่อใหบ้ ีบตอ่ อกี 10 นาทถี ้าเลือดไม่หยดุ ใน 20 นาทีให้รบี นาส่ง โรงพยาบาล
3. ถา้ มเี ลือดออกมาก ใหผ้ ู้ป่วยบว้ นเลือดหรือนา้ ลายลงในอ่าง หรอื ภาชนะทีร่ องรบั
4. เมื่อเลือดหยุดแล้ว ใชผ้ า้ สะอาดเชด็ บริเวณจมูกและปาก ข้อหา้ ม ห้ามส่งั น้ามูกหรือลว้ งแคะ ขย้ี

จมกู เพราะจะทาให้อาการแย่ลง

การหมดสติ
เป็นภาวะท่ีรา่ งกายไม่มีการตอบสนองต่อส่งิ กระตุ้น สาเหตุเนอื่ งจากสมองได้รับการกระทบกระเทือน

บรเิ วณศรี ษะ ซึ่งเป็นบรเิ วณที่มเี สน้ เลอื ดใกล้ผิวชัน้ นอก มาทาใหเ้ ลือดไหลออกมาก แต่มีบางกรณีไม่มีเลือดไหล
ออกมาภายนอก ทาให้ผู้บาดเจบ็ หมดสติ หากไมไ่ ด้รบั การช่วยเหลอื อาจทาให้เสียชวี ิต-จงึ ต้องประเมิน
สถานการณ์และการบาดเจ็บ เพอื่ ให้การช่วยเหลือเบ้ืองตน้ และนาส่งโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา

ขั้นตอนการช่วยเหลอื ผู้หมดสติ
1.สารวจสถานการณ์ บรเิ วณที่เกดิ เหตุอยา่ งรวดเรว็ ถา้ สถานการณป์ ลอดภยั ใหต้ ะโกนเรียกผูห้ มดสติ
2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มอื ทั้ง 2 ขา้ งตบไหล่ เรยี ก พร้อมสงั เกต การตอบสนอง (การลืมตา ขยบั
ตัว และพูด) และดูการเคล่อื นไหวของทรวงอก หน้าท้อง ถา้ พบว่า ยงั หายใจอยู่ใหร้ บี ให้การช่วยเหลือ และขอ
ความชว่ ยเหลือ โดยการโทรเรยี กรถพยาบาล 1669 แตห่ ากไม่ตอบสนอง หนา้ อกหน้าท้องไมก่ ระเพื่อมขนึ้ ลง
แสดงวา่ หมดสตแิ ละไมห่ ายใจตอ้ ง ชว่ ยเหลอื โดยการป๊ัมหัวใจ และการผายปอด

241

ใบความรูท้ ี่ 3
วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณีสตั ว์ แมง หรอื แมลงทีม่ ีพิษกดั ต่อย

สนุ ัข/แมว โรคพิษสุนขั บา้ หรือโรคกลัวน้า
เปน็ โรคติดต่อรา้ ยแรงทเี่ กิดจากเชื้อเรบีส์ไวรัส โรคนเ้ี กิดได้ในสตั ว์เลย้ี งลกู ดว้ ยนมทกุ ชนดิ ดังนั้น เม่ือ

ถูกสุนัขกัดจะต้องปฏิบัตติ ามข้ันตอน ดงั น้ี
1. ชาระล้างบาดแผล ดว้ ยการฟอกแผลด้วยนา้ สะอาดและสบ่หู ลายครง้ั ใหส้ ะอาดโดยการถูเบา ๆ

เทา่ น้นั หากแผลลึกให้ล้างจนถงึ กน้ แผล แลว้ ซบั แผลใหแ้ ห้งดว้ ยผ้าก๊อซ หรือผ้าท่สี ะอาด (ในกรณนี า้ ลายสุนัข
เขา้ ตา ใหใ้ ช้น้าสะอาดลา้ งตาเท่านั้น แต่ลา้ งหลาย ๆ ครัง้ )

2. พบแพทยเ์ พื่อดแู ลแผล และฉดี วัคซีนป้องกนั โรคพิษสุนัขบ้าหรอื โรคกลัวนา้ ข้อสังเกต สาหรบั สัตว์
ท่ีเป็นโรคพษิ สนุ ัขบา้ จะมพี ฤตกิ รรมเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม เช่น สตั ว์ทมี่ นี ิสัยดรุ ้ายจะกลายเป็นสตั ว์ท่เี ช่อื ง
สตั ว์ท่เี ช่อื งจะกลายเปน็ สตั ว์ดรุ า้ ย ตื่นเต้น กระวนกระวาย สุดทา้ ยจะเปน็ อมั พาต และตายในท่ีสดุ

งมู พี ิษ/งูไม่มีพิษ
พษิ จากการถูกงูกัดงูในประเทศไทยแบง่ เป็นงูมีพิษและไมม่ ีพษิ ซ่งึ จะมีลักษณะบาดแผลต่างกันคืองูพิษ

มเี ขยี้ วอยดู่ า้ นหนา้ ของขากรรไกรบนและมีฟัน สว่ นงูไมม่ ีพิษ มแี ตร่ อยฟันไมม่ รี อยเข้ียว
ขน้ั ตอนการช่วยเหลือเบื้องต้น
การปฐมพยาบาล เป็นสิง่ ทตี่ อ้ งกระทาหลังถกู งูกัดทันทกี ่อนท่จี ะนาสง่ โรงพยาบาล การปฐมพยาบาลผู้

ทถ่ี ูกงูกัด มดี งั น้ี
1. รบี นาผปู้ ่วยสง่ โรงพยาบาล ระหว่างนาส่งอาจใช้เชือก ผ้า หรอื สายยาง รัดแขนหรือขาระหวา่ งแผลงกู ดั กบั
หัวใจเหนือรอยเข้ียว ประมาณ 2 - 4 น้วิ เพื่อป้องกนั พษิ งู ถกู กดั ซึมเข้าร่างกายโดยเร็ว ในปัจจุบนั นักวชิ าการ
บางทา่ นไมแ่ นะนาใหร้ บี ทาการใชเ้ ชอื กรดั และขนั ชะเนาะ เนอื่ งจากอาจทาใหเ้ กดิ ผลเสีย คอื การชว่ ยเหลอื
ลา่ ชา้ ขึ้น และเส่ยี งต่อการขาดเลอื ดบริเวณแขนหรือขา ทาใหพ้ ษิ ทาลายเน้ือเย่ือมากขึ้นดังนนั้ ถ้ารัดควรคานึงถึง
ความเส่ยี ง ของการรดั ด้วย โดยคลายเชอื กทุก ๆ 15 นาที นานครัง้ ละ 30-60 วินาทีจนกวา่ จะถงึ โรงพยาบาล
ในกรณที ี่ถกู งูมพี ิษต่อเลอื ดกัด ไม่ควรรดั เพราะจะทาให้แผลที่บวมอยู่แล้ว เสยี่ งต่อการเกดิ เนือ้ ตาย และการ
บวมอาจกดเบียดเสน้ ประสาทและเสน้ เลือดได้

2. ควรล้างบาดแผลใหส้ ะอาด อยา่ ใชไ้ ฟหรือเหล็กร้อนจีท้ ีแ่ ผลงูกัด และอย่าใช้มีดกรดี แผลเป็นอนั ขาด
เพราะอาจทาใหเ้ ลอื ดออกมาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ถา้ ถกู งูที่มีพิษตอ่ เลือดกัด หรืออาจกัดถกู เส้นเอ็นหรอื
เส้นประสาท รวมทัง้ ทาใหเ้ กิดการติดเชื้อได้ รวมท้งั ไมแ่ นะนาให้ใชป้ ากดดู พษิ จากแผลงูกัด เพราะพิษอาจเขา้
ทางเยอื่ บปุ ากไดโ้ ดยเฉพาะอย่างยิง่ ถา้ มบี าดแผล ถา้ รสู้ ึกปวดแผลใหร้ บั ประทานพาราเซตามอล หา้ มให้
แอสไพริน เพราะอาจทาให้ เลอื ดออกง่ายข้ึน

242

3. เคล่อื นไหวแขน หรือขาส่วนท่ถี ูกงูกดั ให้น้อยทส่ี ุด ควรจัดตาแหน่งของส่วนที่ถูกงูกัดใหอ้ ยู่ในระดับ
ตา่ กว่าหวั ใจ เช่น หอ้ ยมอื หรือเทา้ ส่วนทีถ่ กู งูกดั ลงตา่ ระหว่างเดนิ ทางไปยังสถานพยาบาลอยา่ ให้ผู้ปว่ ยเดิน
หรอื ขยับสว่ นท่ีถูกกัด เน่ืองจากการขยับตวั จะทาให้กล้ามเน้ือมีการยืดและหดตวั พิษงเู ขา้ สกู่ ระแสเลือดเร็วขน้ึ

4. ควรตรวจสอบว่างอู ะไรกัด และถา้ เป็นได้ควรจบั หรือตงี ูท่ีกดั และนาส่งไปยงั สถานพยาบาลด้วย
5. อย่าให้ผู้ป่วยดืม่ แอลกอฮอล์ หรือยาดองเหล้า หรือรับประทานยากระตุ้น ประสาท รวมทัง้ ชา
กาแฟ
6. ถ้าผูป้ ่วยหยดุ หายใจจากงทู ี่มพี ิษต่อประสาท ใหท้ าการเป่าปากช่วยหายใจไปตลอดทางจนกว่าจะ
ถงึ สถานพยาบาลที่ใกล้บา้ นท่ีสดุ ข้อหา้ ม ห้ามรับประทานยาและเคร่ืองดื่มกระตนุ้ หัวใจ ข้อสงั เกต ปลอบโยน
ใหก้ าลังใจอยา่ ใหต้ ื่นเต้นตกใจซ่ึงจะทาใหห้ วั ใจสบู ฉดี โลหติ มากย่งิ ขนึ้ พษิ งูแพร่กระจายไดเ้ รว็ ข้นึ ควรนางูที่กดั
ไปพบแพทย์เพ่ือสะดวกต่อการวินจิ ฉยั และรกั ษา

แมงป่อง/ตะขาบ ผูท้ ถ่ี กู แมงป่องต่อยหรือตะขาบกัด
เมอื่ ถูกแมงป่องต่อยจะมีอาการปวดแสบ ปวดร้อนอย่างรนุ แรงบรเิ วณทีถ่ ูกตอ่ ย สาหรบั ผู้ทถี่ กู ตะขาบ

กัด เขยี้ วตะขาบจะฝงั ลงในเน้ือ ทาให้มองเหน็ เป็น 2 จุด อยู่ดา้ นข้าง เมื่อถูกตะขาบกดั จะมีอาการบวมแดงและ
ปวด บางราย อาจมีไข้ ปวดศีรษะ คลน่ื ไส้ อาเจียน

ขน้ั ตอนการชว่ ยเหลอื เบือ้ งตน้
1.ใชส้ ายรัดหรอื ขันชะเนาะเหนือบรเิ วณท่ีถูกกัด หรอื เหนือบาดแผล เพอื่ ป้องกันมิให้พิษแพร่กระจาย
ออกไป
2. พยายามทาใหเ้ ลอื ดไหลออกจากบาดแผลใหม้ ากทสี่ ดุ อาจทาได้หลายวธิ ี เช่น เอามือบีบ เอาวตั ถุท่ี
มรี ูกดให้แผลอยตู่ รงกลางรูพอดี เลอื ดจะได้พาเอาพิษออกมาดว้ ย
3. ใชแ้ อมโมเนยี หอมหรอื ทิงเจอรไ์ อโอดี ทาบริเวณแผลให้ทวั่
4. ถ้ามีอาการบวมอกั เสบและปวดมาก ให้ใช้ก้อนนา้ แข็งประคบบรเิ วณแผล เพอ่ื ชว่ ยบรรเทาอาการ
ความเจ็บปวดด้วย
5. ถา้ อาการยังไม่ทุเลาลง ตอ้ งนาตวั สง่ โรงพยาบาล เพ่ือให้แพทย์ตรวจรักษาต่อไป

ผงึ้ ต่อ แตน ผ้งึ ต่อ แตน
แมลงเหลา่ นีม้ ีพิษต่อคน เม่ือถูกแมลงเหล่านี้ต่อย โดยเฉพาะผง้ึ มันฝังเหล็กในเข้าไปในบรเิ วณท่ตี ่อย

และปล่อยสารพษิ จากตอ่ มพิษออกมา ผถู้ กู แมลงต่อย สว่ นมากมีอาการเฉพาะที่ คือ บริเวณที่ถกู ต่อยจะปวด
บวม แดง แสบ รอ้ น แต่บางคนแพ้มาก ทาให้อาการหายใจลาบาก หัวใจเตน้ ผดิ ปกติ หอบ คล่ืนไส้ อาเจยี น
เจบ็ หนา้ อก มีไข้ และชัก ความรุนแรงขึ้นอยู่กับภมู ิไวของแต่ละคน และจานวนครง้ั ท่ีถูกตอ่ ย

ขนั้ ตอนการชว่ ยเหลือเบื้องตน้
1. รบี เอาเหล็กในออกโดยระวังไมใ่ ห้ถุงนา้ พษิ ที่อยู่ในเหล็กในแตก อาจทา โดยใชใ้ บมีดขูดออก หรือใช้
สก็อตเทปปิดทาบบริเวณทถี่ ูกตอ่ ย แล้วดงึ ออกเหล็กในจะติดออกมาดว้ ย

243

2. ประคบบรเิ วณท่ีถูกต่อยด้วยความเย็นเพ่ือลดอาการปวด
3. ทาครีมลดอาการบวมแดง หรอื น้ายาท่มี ีฤทธ์เิ ปน็ ดา่ งอ่อน ๆ ปิดแผล เช่น แอมโมเนยี น้าปูนใส
4. ถา้ มีอาการแพเ้ ฉพาะท่ี เชน่ บวม คนั หรือเปน็ ลมพิษให้รับประทาน ยาแก้แพ้
5. ในกรณีทม่ี บี วมตามหน้าและคอ ซ่ึงทาให้หายใจไม่สะดวกตอ้ งรีบนาสง่ โรงพยาบาลเพ่ือรบั การ
รักษาขั้นต่อไป

ใบความรู้ที่ 4
วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณหี มดสตจิ ากการถกู ทาร้ายรา่ งกาย การหมดสติ

เป็นภาวะที่ร่างกายไมม่ ีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น สาเหตุ เน่ืองจากสมองได้รับการกระทบกระเทือน
จากการถูกทาร้ายร่างกายบริเวณศีรษะ ซ่ึงเป็นบริเวณที่มีเส้นเลือดใกล้ผิวชั้นนอก มาทาให้เลือดไหลออกมาก
แต่มีบางกรณีไม่มีเลือดไหลออกมาภายนอก ทาให้ผู้บาดเจ็บหมดสติ หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจทาให้
เสียชีวิต จึงต้องประเมิน สถานการณ์และการบาดเจ็บ เพ่ือให้การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและนาส่งโรงพยาบาล
เพอื่ รบั การรกั ษา

ขน้ั ตอนการช่วยเหลือผ้หู มดสติ
1. สารวจสถานการณ์บรเิ วณท่เี กดิ เหตุอยา่ งรวดเร็ว ถา้ สถานการณ์ปลอดภัย ให้ตะโกนเรียกผหู้ มดสติ
2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือทั้ง 2 ข้างตบไหล่ เรยี กพร้อมสังเกต การตอบสนอง (การลืมตา ขยับ
ตัว และพูด) และดูการเคลื่อนไหวของทรวงอก หน้าท้อง ถ้าพบว่ายังหายใจอยู่ให้รีบให้การช่วยเหลือ และขอ
ความช่วยเหลือโดยการโทรเรียก รถพยาบาล 1669 แต่หากไม่ตอบสนอง หน้าอกหน้าท้องไม่กระเพื่อมข้ึนลง
แสดงว่าผู้ถูกทาร้าย หมดสติและไม่หายใจ ต้องช่วยเหลือผู้หมดสติ โดยการทา CPR (Cardiopulmonary
Resuscitation) โดยเร็วทันทีให้แก่ผู้บาดเจ็บ ซง่ึ จะช่วยใหเ้ ลือดไดร้ ับออกซิเจนเพ่ิมมากขึ้น และมีการไหลเวยี น
เข้าสู่สมองและอวัยวะสาคัญอื่น ๆ ก่อนที่จะถึงมือแพทย์ผู้เช่ียวชาญ ท้ังน้ี ในกรณีท่ีศีรษะ ลาคอหรือหลังของ
ผู้บาดเจ็บได้รับการบาดเจ็บด้วย ผู้ให้การปฐมพยาบาล จะต้องระมัดระวังไม่ให้ศีรษะ ลาคอหรือหลังของ
ผู้บาดเจ็บมีการเคล่ือนไหว ซึ่งท าได้ โดยดึงขากรรไกรล่างหรือคางของผู้บาดเจ็บไปข้างหน้าเพ่ือเปิดทางให้
อากาศเดินทางเขา้ ได้สะดวก

244

ใบงานท่ี 1
เรือ่ งการปฐมพยาบาล
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนมี้ าพอสังเขป
1 ) การปฐมพยาบาลหมายถึงอะไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
2) หลกั สาคัญในการปฐมพยาบาลคืออะไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
3) ถา้ พบผูบ้ าดเจ็บถูกนา้ รอ้ นลวกท่ีแขนควรปฐมพยาบาลอย่างไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
4) ถ้าพบผบู้ าดเจ็บเลอื ดไหลที่แขน นกั ศกึ ษาจะปฐมพยาบาลอย่างไร

245
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
5 ) ถ้านกั ศกึ ษาพบไฟกาลังลุกไหม้ที่เสอื้ ผา้ ผบู้ าดเจบ็ สวมอยูค่ วรทาอยา่ งไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

ช่อื - สกุล................................................................ กศน.ตาบล........................................

ใบงานที่ 2
เรื่องวิธีการปฐมพยาบาลกรณตี า่ ง ๆ
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้มาพอสังเขป

1 ) อบุ ัตเิ หตหุ มายถงึ อะไร
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................
2) หลักสาคัญวิธีการปฐมพยาบาลกรณตี ่าง ๆ หมายถึงอะไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
3) ถา้ นกั ศึกษาพบผจู้ มน้าจะมวี ธิ กี ารปฐมพยาบาลช่วยชวี ติ ใหร้ อดไดอ้ ยา่ งไร

246
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
4) ถ้าพบผบู้ าดเจบ็ เลือดไหลทีศ่ ีรษะ นักศึกษาควรจะปฐมพยาบาลอยา่ งไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
5 ) กรณีตกจากทีส่ ูงนกั ศึกษาจะมวี ิธีการปฐมพยาบาลอย่างไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

ชอื่ - สกลุ ................................................................ กศน.ตาบล........................................

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เรื่อง วิธีการปฐมพยาบาลกรณีต่าง ๆ

คาช้ีแจง : จงกากบาท X เลือกข้อทท่ี า่ นคดิ ว่าถกู ต้องทสี่ ุด
1. ส่ิงใดไม่ควรทาเมือ่ กระดกู หกั
ก. เขา้ เฝอื ก
ข. ใหอ้ ยู่น่ิงๆ
ค. ใชไ้ มเ้ ข้าเฝือก
ง. ขยับสว่ นที่หัก
2. เหตุใดเลอื ดจึงหยดุ ไหล

247

ก. แผลหดตวั
ข. เส้นเลือดฝอยหดตวั
ค. เลอื ดมคี วามเหนยี ว
ง. เลอื ดไหลจนหมดแล้ว
3. เม่อื เลอื ดไหลหยุดแล้วควรทาอยา่ งไร
ก. ปล่อยแผลใหแ้ หง้ เอง
ข. ใช้ผา้ สะอาดพันแผล
ค. ไปซื้อยามารับประทานเอง
ง. เขี่ยแผลเพื่อใหเ้ ชื้อโรคหลดุ ออก
4. ทา่ นง่ั ในการปฐมพยาบาลเมือ่ เลือดกาเดาไหลคือแบบใด
ก. น่ังยอง ๆ
ข. นั่งให้ตัวตั้งตรง
ค. นง่ั โน้มตวั ไปดา้ นหน้า
ง. นั่งโนม้ ตัวไปดา้ นหลัง
5. ผ้าทใ่ี ชก้ ดบาดแผลควรเปน็ อยา่ งไร
ก. สะอาด
ข. ผืนใหญ่
ค. เป็นผ้าฝา้ ย
ง. มสี สี ว่างตา

248

6. การปฐมพยาบาลเมอื่ โดนน้ารอ้ นลวกควรทาอย่างไร
ก. แช่สว่ นน้ันในนา้ เย็น
ข. แช่ส่วนน้นั ในน้าอนุ่
ค. ลา้ งสว่ นน้ันในนา้ เย็น
ง. ลา้ งสว่ นนนั้ ในน้าอุ่น

7. ข้อใดคือวิธีการลดความเจ็บปวดจากแผลนา้ รอ้ นลวก
ก. ใช้มอื ลบู
ข. ใช้มอื ตีเบาๆ
ค. .ใชผ้ ้าปิดไว้
ง. ใชน้ ้าประปาไหลผ่านแผล

8. สิ่งใดท่ที ำให้หลอดเลือดแข็งตวั
ก. นา้ แข็ง
ข. น้าสะอาด
ค. ผ้าสะอาด
ง. มือท่ีกดแผล

9. สงิ่ ใดตอ่ ไปน้ีที่ใชร้ ักษาแผลนา้ รอ้ นลวก
ก. ใบตะไคร้
ข. น้ามะพร้าว
ค. เปลือกส้มโอ
ง. ต้นวา่ นหางจระเข้

10. เมอ่ื มบี าดแผลท่ีแขนเราควรทาอยา่ งไร
ก. กอดอกไว้
ข. ยกแขนข้ึน
ค. แกวง่ แขน
ง. วางแขนไว้ตามปกติ

เฉลย 1) ง 2) ก 3 )ข 4) ค 5) ก 6) ก 7) ง 8) ก 9) ง 10) ง

ช่อื .............. ....................................นามสกุล........... .......................................ช้ัน.................................

249

บนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาที่พบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
วิธแี ก้ปัญหา
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..................................................ผบู้ นั ทึก
(..................................................)
วันท่ี............................................

ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหาร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

250

ลงชอื่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 14

เร่อื ง การวัดสญั ญาณชพี และการประเมนิ เบือ้ งตน้

รายวชิ า ลกู เสือ รหสั วิชา สค 12025 ระดบั ประถมศึกษา

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพัฒนาสังคม เวลา 2 ชว่ั โมง

ครผู ้สู อน.................................................. รูปแบบการสอนพบกลมุ่ /ค้นคว้าดว้ ยตนเอง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกย่ี วกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวิต และการประกอบอาชีพ เพอ่ื ความม่ันคงของชาติ
1.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี องทอ้ งถ่นิ และ

ประเทศไทย
1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย กฎหมายเบือ้ งตน้ กฎระเบียบของชุมชน

สังคม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพฒั นาตนเอง

ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม

2. ตัวชี้วัด
อธิบายการวัดสัญญาณชพี และการประเมนิ เบื้องต้น

3. สาระสาคญั ของเนอ้ื หา
การวดั สญั ญาณชีพและการประเมนิ เบ้ืองต้น

251

4. เปา้ หมายการเรยี นรู้ (ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง)
4.1 วิธีการปฐมพยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ทางน้า ตกจากท่ีสูง หกล้ม ท่ีมีอาการ

กระดกู หัก ขอ้ เคล็ด ขอ้ เคลื่อน
4.2 การประเมินอาการเบื้องต้น หรือตัดสินใจใช้วิธีการ ช่วยชีวิตข้ันพื้นฐานอย่างถูกวิธี ถูกต้อง และ

รวดเร็ว เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซอ้ นหรอื เกดิ อาการทรดุ ลงถึงขน้ั อันตรายถึงแก่ชีวติ
4.3 ควรมีความรู้ ความสามารถ เก่ียวกบั การประเมินอาการเบ้ืองตน้ หรือตัดสินใจใช้วิธีการ ช่วยชีวิต

ข้ันพื้นฐานอย่างถูกวิธี ถูกต้อง และรวดเร็ว เพ่ือป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือ เกิดอาการทรุดลงถึงข้ัน
อนั ตรายถงึ แกช่ ีวิต

5. ขน้ั จดั กระบวนการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้
1) ครูและผเู้ รียนรว่ มกันกาหนดสภาพความจาเปน็ ที่ตอ้ งเรียนร้ใู นเรอื่ งต่อไปน้ี
(1) ความหมาย ความสาคัญ
(2) หลกั การ วัดสัญญาณชพี และการประเมินอาการเบ้ืองต้น

2) ครูและผู้เรยี นทาความเข้าใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นร้ใู หผ้ ู้เรยี นซักถาม
แลกเปล่ยี นเรียนรู้ เชือ่ มโยงความรใู้ หม่

3) ครใู หผ้ ้เู รยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรียนรู้

1) ครแู ละผเู้ รียนร่วมแสดงความคิดเห็นเร่ือง ความหมายของการวดั สัญญาณชพี
วัตถุประสงค์ของการวดั สญั ญาณชีพ ข้อบ่งช่ขี องการวัดสญั ญาญชพี ความสาคัญของการวัดสัญญาณชพี
หลักการของการวัดสัญญาณชพี

- ครยู กตัวอยา่ งรปู แบบและกระบวน การวัดสัญญาณชีพยอดความรู้
- ครูยกตัวอยา่ งรูปแบบและกระบวนวตั ถปุ ระสงคข์ องการวัดสัญญาณชีพหลักการและความรู้
การจัดทาสารสนเทศเผยแพร่ โดยศึกษาเพิ่มเติมจากใบความรวู้ ธิ ีการวดั สญั ญาณชพี และวตั ถุประสงค์ของการ
วดั สัญญาณชพี
2) ครูให้ผู้เรียนดูคลิปวีดีโอใน YouTube เรอื่ ง การวัดสญั ญาณชพี เบ้ืองต้น จากน้ันสุ่มถาม
ผเู้ รยี นถึงความสาคัญของการวัดสัญญาณชพี

252

https://www.youtube.com/watch?v=VIJGGaEORvA&ab_channel=WajanakornPiriyanawin

3) ครแู บง่ กลุ่มผเู้ รยี นเป็น 2 กลุ่ม แจกวัสดอุ ปุ กรณ์ทเี่ กีย่ วข้องแลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มสาธติ การวดั
สญั ญาณชีพและมอบหมายให้อธิบายวตั ถุประสงค์ของการวัดสญั ญาณชีพ ข้อบ่งช้ขี องการวดั สัญญาณชพี การ
รวมกล่มุ เพื่อต่อยอดความรู้ การจัดทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้หวั ขอ้ การวัดสญั ญาณชพี และการประเมนิ
อาการเบื้องตน้

4) ครใู หผ้ เู้ รียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 - 2
ข้ันท่ี 3 ปฏิบตั แิ ละนาไปประยุกต์ใช้

1) ผู้เรียนร่วมการสรุปวัตถปุ ระสงคแ์ ละข้อบ่งชี้ของการวดั สญั ญาณชพี และการประเมนิ
สภาพผ้ปู ่วยเบอ้ื งตน้ บนกระดาษบรูฟ๊

2) ผูเ้ รียน 2 กลุ่มนาเสนอและสาธิตวธิ ีการวดั สญั ญาณชีพ และการประเมินสภาพผู้ป่วย
เบอื้ งต้น เพอ่ื ต่อยอดความรู้ การจัดทาสารสนเทศเผยแพรค่ วามรหู้ วั ขอ้ หวั ข้อการวดั สญั ญาณชีพและการ
ประเมนิ สภาพผู้ปว่ ยเบื้องต้น

3) ครูและผู้เรียนสรุปเนื้อหาที่นาเสนอรว่ มกนั
4) ครูให้ผู้เรียนทาใบงาน
ขน้ั ท่ี 4 ประเมินผลการเรียนรู้
1) ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2) ประเมินจากใบงาน
3) ครสู ังเกตจากการนาเสนอผเู้ รียน
4) บนั ทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
5) ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่ือการเรียนรู้
1. กระดาษบรู๊ฟ / ปากกาเคมี / กระดาษหนา้ สอง (Reuse)/
2. อปุ กรณท์ างการแพทยท์ เี่ ก่ียวข้อง เชน่ ปรอทวดั ไข้ เครื่องมอื วดั ความดันโลหติ ฯลฯ

253

3. ใบความรู้
4. ใบงาน
5. คลิปวดี โี อ
6. หนงั สอื เรยี นวชิ า ลูกเสือ กศน.

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรื่อง การวดั สัญญาณชีพ

คาชี้แจง : จงกากบาท X เลือกข้อท่ีทา่ นคดิ วา่ ถูกต้องท่ีสุด

254

1. ในการแลกเปลีย่ นก๊าซในระบบหายใจ จะต้องอาศยั การทางานของอวยั ใดเพื่อใหเ้ กดิ การแลกเปล่ยี น
กา๊ ซ

ก. ปอด
ข. ถุงลม
ค. คอหอย
ง. หลอดลม
2. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามสาคญั ของระบบหายใจ
ก. ควบคมุ ปรมิ าณนา้ และเกลอื แร่ในร่างกาย
ข. ควบคุมความสมดุลของกรดและด่างในเลอื ด
ค. กาจัดสิ่งแปลกปลอมท่ีปะปนมากบั อากาศขณะหายใจเข้า
ง. เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์
3. ข้อใดกลา่ วถงึ กระบวนการหายใจได้อยา่ งถูกต้อง
ก. จมกู -> หลอดลม -> ปอด
ข. จมูก -> คอหอย -> หลอดลม -> ปอด
ค. จมกู -> หลอดลม -> ปอด -> ขวั้ ปอด
ง. จมกู -> คอหอย -> หลอดลม -> ขว้ั ปอด -> ปอด
4. ข้อใดกล่าวถึงกระบังลมได้อยา่ งถูกต้องท่สี ดุ
ก. กระบงั ลมช่วยเพิม่ พน้ื ที่ของชอ่ งอก
ข. กระบงั ลมมีลกั ษณะคงที่ตลอดเวลา
ค. เมอ่ื หายใจออกกระบังลมจะยกสงู ข้ึน กระดูกซ่ีโครงละเคลื่อนตา่ ลง
ง. เม่ือหายใจเข้ากล้ามเน้ือกระบงั ลมจะหดตวั ลง กระดูกซี่โครงจะเคล่ือนตา่ ลง
5. โรคใดไมเ่ กย่ี วข้องกบั ระบบหายใจ
ก. วณั โรค
ข. โรคหอบหดื
ค. โรคปอดอักเสบ
ง. โรคหลอดเลือดหวั ใจตีบ
6. ขอ้ ใดกลา่ วถึงระบบไหลเวียนโลหิตไม่ถูกต้อง
ก. เปน็ เสมอื นระบบการขนส่งของร่างกาย
ข. เป็นระบบทีม่ กี ารกาจดั ของเสยี ออกจากร่างกาย
ค. เป็นระบบทีม่ ีการขนสง่ น้าและเกลือแรต่ ่าง ๆ ไปสูเ่ ซลล์
ง. เป็นระบบที่มกี ารควบคุมปริมาณก๊าซออกซิเจนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

255

7. อวยั วะใดทาหนา้ ทเี่ สมือนปม๊ั สบู ฉดี เลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ก. ปอด
ข. เลอื ด
ค. หัวใจ
ง. หลอดเลอื ด

8. ข้อใดกล่าวถงึ กระบวนการทางานของระบบไหลเวยี นโลหิตไดอ้ ย่างถกู ต้อง
ก. เลือดดาไหลเข้าสูห่ วั ใจห้องบนซา้ ย
ข. เลอื ดแดงไหลออกจากหัวใจห้องล่างขวา
ค. เลือดดาไหลออกจากหวั ใจห้องล่างขวาเพื่อไปฟอกทป่ี อด
ง. เลอื ดแดงไหลออกจากหัวใจห้องลา่ งขวาเพอื่ สง่ ไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

9. ในการตรวจวัดสญั ญาณชพี ประกอบไปดว้ ยการตรวจดังต่อไปนี้ ยกเวน้ ข้อใด
ก. ตรวจเลือด
ข. ความดันโลหติ
ค. อัตราการหายใจ
ง. อณุ หภูมริ ่างกาย

10. บคุ คลในข้อใดมีการเสรมิ สร้างการทางานของระบบไหลเวยี นโลหิตไดอ้ ย่างเหมาะสม
ก. กาย ชอบทาอาหารประเภทต้มรบั ประทาน
ข. นอ็ ต หลกี เลย่ี งการสบู บุหรี่ และเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ทุกชนิด
ค. แป้ง ควบคมุ น้าหนักตวั โดยการรบั ประทานอาหารเสรมิ เป็นประจา
ง. ออย มกั ไปเทย่ี วตามสถานท่ีทอ่ งเท่ยี วตามธรรมชาติเป็นประจา เพื่อเป็นการผอ่ นคลาย

เฉลย 1) ก 2) ค 3) ก 4) ก 5)ง 6) ข 7) ค 8) ค 9) ก 10) ง

ชอ่ื ..................................................นามสกุล..................................................ชั้น.................................

256

ใบความรู้ที่ 1
การวดั สญั ญาณชพี และการประเมินเบือ้ งตน้
สญั ญาณชีพเปน็ ส่ิงทบ่ี ่งบอกความมีชวี ติ ของบุคคล ถา้ สัญญาณชีพปกติ จะบ่งบอก ถึงภาวะรา่ งกาย
ปกติ ถ้าสัญญาณชพี มีการเปลี่ยนแปลง สามารถบอกได้ถงึ การเปล่ียนแปลง ในการ ทาหน้าที่ของร่างกาย
ความรนุ แรงของการเจ็บป่วย และความรบี ด่วนท่ีต้องการรักษา
สญั ญาณชพี หมายถงึ ส่ิงท่ีแสดงให้ทราบถงึ การมีชวี ติ สามารถสังเกตและ ตรวจพบได้จากชพี จร
อตั ราการหายใจ อุณหภูมิรา่ งกาย และความดันโลหติ ซึ่งเกิดจากการ ทางานของอวยั วะของร่างกายท่ีสาคญั
มากต่อชวี ิต ได้แก่ หวั ใจ ปอด และสมอง รวมถึงการ ทางานของระบบไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจ
วัตถุประสงคข์ องการวัดสัญญาณชีพ
1.เพือ่ ประเมินระดับอุณหภมู ิของรา่ งกาย อัตราการเต้น ลักษณะชีพจรการหายใจ และความดนั โลหติ
2. เพอ่ื สังเกตอาการทั่วไปของผปู้ ่วย และเป็นการประเมินสภาพผปู้ ่วยเบ้อื งต้น
ขอ้ บ่งชข้ี องการวัดสัญญาณชีพ
1. เม่อื แรกรับผ้ปู ่วยไวใ้ นโรงพยาบาล
2. วัดตามระเบียบแบบแผนท่ีปฏบิ ัติของโรงพยาบาลหรอื ตามแผนการรักษาของแพทย์
3. กอ่ นและหลังการผา่ ตดั
4. กอ่ นและหลงั การตรวจวนิ ิจฉัยโรคท่ีต้องใส่เคร่ืองมือตรวจเข้าไปภายในร่างกาย
5. กอ่ นและหลังใชย้ าบางชนิดทีม่ ผี ลตอ่ หวั ใจและหลอดเลือด 107
6. เม่ือสภาวะท่ัวไปของร่างกายผูป้ ่วยมกี ารเปลย่ี นแปลง เช่น ความรสู้ กึ ตวั ลดลง หรอื ความ
รุนแรงของอาการปวดเพ่ิมขนึ้
7. ก่อนและหลังการให้การพยาบาลทม่ี ีผลต่อสัญญาณชพี สัญญาณชีพ ประกอบด้วย ชีพจร
อัตราการหายใจ อุณหภูมริ า่ งกายและความดนั โลหติ มีรายละเอยี ดดังนี้
7.1 ชีพจรเป็นการหดและขยายตัวของผนงั หลอดเลือด ซง่ึ เกิดจากการบีบตวั ของหวั ใจ
จังหวะการเตน้ ของเส้นเลือดจะสมั พันธก์ ับการเต้นของหัวใจ การวัดอตั ราการเตน้ ของ
หัวใจ วดั นับจากการใช้นวิ้ กลางและนว้ิ ช้ีคล าการเตน้ ของหลอดเลือดแดงตรง
ด้านหน้า ของขอ้ มือ (ด้านหวั แมม่ ือ) ที่อยู่ตา่
7.2
7.3 กวา่ ฐานของนิ้วหัวแม่มือ ประมาณ 60–100 คร้งั ต่อนาที

257

7.2 อัตราการหายใจ การหายใจเปน็ การนาเอาออกซเิ จนเขา้ สูร่ า่ งกายและนาคารบ์ อนได
ออกไซดอ์ อกจากรา่ งกาย การวดั อตั ราการหายใจดจู ากการขยายตัวของชอ่ งอก ประมาณ 12 – 20 คร้ังต่อ
นาที

7.3 อณุ หภมู ริ า่ งกายเปน็ ระดับความร้อนของรา่ งกาย ซ่ึงเกดิ จากความสมดุล ของการสรา้ ง
ความรอ้ นของรา่ งกายและการสญู เสียความร้อนของร่างกาย มีหนว่ ยเปน็ องศาเซลเซียส (°C) หรอื องศาฟาเรน
ไฮต์ (°F) ซงึ่ จะไม่คอ่ ยเปล่ียนแปลงมากนักถงึ แม้อุณหภมู ิ ภายนอกอาจจะเปลีย่ นแปลง ค่าปกติประมาณ 37
องศาเซลเซยี ส +/- 0.5 องศาเซลเซียส

7.4 ความดันโลหิต เป็นแรงดนั ของเลือดท่ีไปกระทบกับผนังเส้นเลอื ดแดง มหี น่วยเป็น
มิลลิเมตรปรอท (มม.ปรอท หรือ mm.Hg.) ความดนั โลหิตใช้ตรวจวดั จากเครอื่ งวดั คนปกตจิ ะมีความดนั โลหติ
ประมาณ 90/60 - 120/80 มิลลิเมตรปรอท

ใบความร้ทู ี่ 2
การวัดสัญญาณชีพ ทกั ษะพื้นฐานทค่ี ุณควรรู้

สญั ญาณชีพ (Vital signs) หมายถึง คา่ ความดนั โลหิต (Blood pressure) อณุ หภูมิ (Temperature)
ชพี จร (Pulse) และการหายใจ (Respiration) ใช้ตัวย่อคาว่า T,P,R และ BP สัญญาณชีพเป็นสิ่งบง่ ชี้การ
ทางานของร่างกาย ถา้ เปล่ยี นแปลงไปแสดงถงึ ภาวะสขุ ภาพมกี ารเปล่ยี นแปลง

สญั ญาณชีพมชี ว่ งของค่าปกติทีก่ าหนดไว้ แต่ในการประเมินชีพจรและความดนั เลอื ดซ่ึงเป็นสญั ญาณ
ชพี ทเี่ ปลยี่ นแปลงเร็ว โดยทีแ่ ตล่ ะคนมีคา่ ท่ีเป็นปกติแตกต่างกนั จงึ ต้องเปรียบเทียบกับค่าปกติของแต่ละคน
ด้วย สัญญาณชีพประกอบด้วย

1. ความดันโลหติ (Blood pressure) คอื แรงหรือความดันของเลือดทส่ี ่งออกจากหวั ใจห้องลา่ งซ้าย
เข้าสู่ระบบหลอดเลือดแดง ประกอบด้วย 2 คา่ คือ

1. Systolic blood pressure (SBP) เปน็ ความดันของเลือดสูงสุดขณะหัวใจห้องล่างบีบตวั
2. Diastolic blood pressure (DBP) เป็นความดันเลือดท่ตี า่ สดุ ขณะหวั ใจห้องลา่ งคลายตัว
ค่าความดันโลหติ ในผ้สู ูงอายุข้นึ อยแู่ ตล่ ะบุคคล และเปลีย่ นแปลงได้จากกิจกรรม อิริยาบถในขณะ
นั้นสามารถสรปุ สาระสาคัญได้ดังนี้
1. คา่ ความดันโลหติ ปกติของผู้สูงอายุ โดยทั่วไป ถือว่าค่าความดันตวั บนไม่เกนิ 140 มิลลิเมตร
ปรอท และคา่ ความดนั ตัวลา่ งไม่เกิน 90 มิลลิเมตรปรอท
2. ความดนั โลหติ ที่ “อยู่ในเกณฑ์ปกติ” คอื ตา่ กว่า 130/85 มม.ปรอท
3. ความดันโลหติ สงู เลก็ น้อย แตย่ งั อยใู่ นเกณฑป์ กติ คือ 130-139 / 85-89 มม.ปรอท
4. ความดันโลหิตสูงเม่ือ ความดันโลหิตตวั บนมากกว่า (หรือเทา่ กับ) 140 และตัวล่างมากกว่า (หรือ
เท่ากบั ) 90 มม.ปรอท

258
5. ก่อนท่จี ะวนิ จิ ฉัยวา่ ผปู้ ว่ ยมคี วามดนั โลหิตสงู แพทย์จะต้องวดั ซา้ หลาย ๆ ครงั้ หลงั จากให้ผปู้ ่วย
พกั แลว้ วัดซา้ จนกว่าจะแนใ่ จวา่ สูงจริง และเทคนิคการวดั ความดนั โลหิตตอ้ งกระทาให้ถกู ตอ้ งครบถว้ น
6. ความดันโลหิตเป็นคา่ ไมค่ งท่ี มีการเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลาทกุ วนิ าที การวัดซ้าในเวลาท่ี
ใกล้เคียงกันอาจได้คนละคา่ แต่กจ็ ะไมค่ วรจะแตกตา่ งกันนัก
7. ความดันโลหติ ขน้ึ กบั ท่าของผู้ถูกวัดดว้ ย ท่านอนความดนั โลหติ มักจะสงู กวา่ ท่ายืน
นอกจากนน้ั ยงั ขึน้ กับส่ิงกระตุ้นตา่ ง ๆ เช่น อาหาร บุหรี่ อากาศ กิจกรรมที่กระทาอยู่ในขณะนั้น
รวมท้ังสภาพจิตใจด้วย
วธิ กี ารวัดความดนั โลหติ (เครอื่ งวัดแบบอตั โนมัติ)
1. ประเมนิ สภาพผู้ป่วยและแจง้ ให้ทราบว่าจะวัดอุณหภูมิร่างกายให้บอกวัตถปุ ระสงค์และแจ้ง
รายละเอยี ดการวดั
2. เตรยี มความพรอ้ มจัดท่าให้ผู้ปว่ ยสุขสบาย หากมกี จิ กรรมก่อนการวดั ให้พักอย่างน้อย 15 – 30
นาที
3. นาเครอื่ งวัดความดันวางในแนวระดับเดยี วกบั หวั ใจ
4. นาผา้ พนั แขน (cuff) พันท่ีตน้ แขนเหนือข้อพับแขนประมาณ 2 นิ้ว โดยพนั ไมแ่ นน่ จนเกนิ ไป

วางแขนใหน้ ิ่งและกดปุ่มเปิดเคร่อื ง (start) รอเคร่ืองอา่ นผล

259

สามารถอา่ นคา่ ความดนั โลหติ ตามทห่ี น้าจอแสดงผลตามภาพ
2. อุณหภูมิ (Temperature) ใช้เทอรโ์ มมิเตอรส์ าหรบั อุณหภูมริ ่างกาย ในผู้ใหญ่นิยมวดั ทางปากซึ่ง
เป็นวธิ ที ส่ี ะดวกและแม่นยาดีพอ ถ้าวดั ทางปากไมไ่ ด้ เชน่ ผปู้ ่วยไม่รู้สึกตัว ผู้สงู อายทุ ่มี ีอาการเกร็งสั่น แนะนา
ใหว้ ดั ทางรกั แร้

วิธกี ารวัดอณุ หภูมริ า่ งกาย (เทอรโ์ มมเิ ตอร์แบบธรรมดา)
1. ประเมินสภาพผปู้ ่วยและแจ้งให้ทราบว่าจะวัดอุณหภมู ริ ่างกายใหบ้ อกวตั ถุประสงค์และแจง้
รายละเอยี ดการวดั
2. เตรยี มความพร้อมของอุปกรณแ์ ละจัดท่าให้ผู้ปว่ ยสขุ สบาย
3. กอ่ นวัดใหส้ ลดั ปรอทให้ลงไปอยู่ในกระเปาะ

260

4. กรณีวดั ทางปากนาเทอร์โมมเิ ตอรว์ างไวใ้ ตล้ ิ้นผูป้ ว่ ยแล้วให้ผู้ป่วยอมไว้นานอย่างนอ้ ย 2 นาที
คา่ ทีไ่ ด้จากปรอทเป็นค่าอุณหภมู ริ า่ งกาย

5. กรณวี ดั ทางรกั แรส้ อดไว้บรเิ วณกึ่งกลางรักแร้ ถา้ รักแรเ้ ปียกเหง่ือใหเ้ ช็ดใหแ้ หง้ และหนีบไว้นาน
อย่างน้อย 3-5 นาที คา่ ทไ่ี ด้ทางรกั แรจ้ ะต้องบวกเพิ่ม 0.5°C ถึงจะไดเ้ ปน็ ค่าอณุ หภูมิรา่ งกาย

วิธีการวดั อุณหภูมริ ่างกาย (เทอร์โมมเิ ตอร์แบบดจิ ิตอล)
1. ประเมนิ สภาพผู้ป่วยและแจ้งใหท้ ราบว่าจะวัดอุณหภูมิร่างกายใหบ้ อกวัตถุประสงคแ์ ละแจ้ง
รายละเอยี ดการวดั
2. เตรียมความพร้อมของอปุ กรณแ์ ละจัดทา่ ให้ผปู้ ่วยสขุ สบาย
3. กดปุม่ เปดิ และสอดเทอร์โมมเิ ตอรบ์ รเิ วณกึง่ กลางรกั แร้
4. รอใหเ้ ครอ่ื งอ่านอณุ หภูมิรา่ งกาย จะมีเสียงเตือนเม่อื เทอร์มิเตอร์อา่ นคา่ ได้แล้ว
5. นาเทอร์โมมิเตอร์ขึ้นมาอา่ นคา่ ตามเคร่ืองท่แี สดงจะเป็นค่าของอุณหภูมิรา่ งกาย
3. ชีพจร (Pulse) ชพี จรเป็นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึง่ เกดิ จากการบีบตวั ของหวั ใจห้องลา่ ง
ดา้ นซา้ ย ทาให้ผนงั ของหลอดเลอื ดแดงขยายออกเปน็ จังหวะ เป็นผลให้สามารถจับชีพจรได้ตลอดเวลา ใน
ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุอัตราการเตน้ ของชีพจร 60-100 (เฉลย่ี 80 ครงั้ /นาที)

วธิ ีการวดั ชีพจร
1. ประเมนิ สภาพผู้ปว่ ยและแจ้งให้ทราบวา่ จะวัดชพี จรให้บอกวตั ถุประสงค์และรายละเอียดการวดั
2. เตรียมความพร้อมจดั ทา่ ให้ผ้ปู ่วยสขุ สบาย หากมีกจิ กรรมก่อนการวดั ให้พกั อย่างน้อย 15 – 30
นาทใี ช้นิ้วช้ี นิ้วกลางคลาที่หลอดเลอื ด โดยปกติจดุ ที่ใชค้ ลาชีพจรอยู่ทีบ่ รเิ วณขอ้ มอื ดา้ นหน้าทีร่ อ่ งด้าน
นว้ิ หัวแม่มือ หรือคลาชีพจรอย่ทู บ่ี รเิ วณขอ้ ศอกด้านน้วิ ก้อย เปน็ จุดทส่ี ะดวกเพราะเป็นที่ท่จี บั ไดง้ ่ายและไม่
รบกวนผู้ปว่ ย
3. การนับชีพจรให้นับจังหวะการเต้นของหลอดเลือดท่ีกระทบนิ้วในเวลา 1 นาที จะได้ค่าของชีพจร

261

4. การหายใจ (Respiration) เป็นการแสดงการสดู ออกซเิ จนเข้าส่รู ่างกาย โดยผา่ นจมกู หลอดลม
และปอด ท่เี รียกว่า การหายใจเขา้ และเปน็ การแสดงการปล่อยคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากรา่ งกายโดยผ่าน
ปอด หลอดลม และจมกู ท่เี รียกวา่ การหายใจออก การตรวจนับการหายใจเป็นการสงั เกตว่ามีการหายใจท่ี
ผิดปกตหิ รอื ไม่ ในจงั หวะและจานวนครัง้ ตอ่ นาที

วิธกี ารวัดการหายใจ
1. เตรียมความพร้อมใหผ้ ูส้ งู อายุนอนหงายหรือนอนตะแคงหรอื นัง่ ในท่าท่สี บาย หากมีกิจกรรม
ก่อนการวดั ให้พักอย่างนอ้ ย 15 – 30 นาที
2. สังเกตการณห์ ายใจเขา้ โดยดูหน้าอกท่ีพองขนึ้ และการหายใจออกโดยดูหนา้ อกท่ียบุ ลง นับเป็น
การหายใจ 1 คร้ัง
3. นับจานวนครัง้ การหายใจใน 1 นาที จะได้คา่ ของการหายใจ
ข้อควรระวงั ผู้ดูแลต้องสงั เกตโดยไมใ่ หผ้ สู้ ูงอายุรู้ตวั เพราะอาจทาให้ขัดเขินหายใจเร็วขึน้ หรอื ช้า
ลงได้

ใบงานท่ี 1
เร่อื ง การวัดสัญญาณชีพ
กจิ กรรมที่ 1 ให้อธิบายความหมายของ สญั ญาณชพี มาพอสงั เขป
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................... ................................
..........................................................................................................................................................................
กิจกรรมท่ี 2 ใหอ้ ธบิ ายความสาคญั ของ “การวัดสญั ญาณชีพ” มาพอสงั เขป

262
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................. ............
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. .............
กิจกรรมท่ี 3 ใหอ้ ธิบายขอ้ บ่งชขี้ อง “การวดั สญั ญาณชพี ” มาพอสงั เขป
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................ ............................................................................ ..
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
........................................................................................... ............................................................................ ...

ช่ือ...........................................นามสกลุ ..................................ช้ัน.................................

แบบทดสอบหลังเรยี น
เร่อื ง การวดั สัญญาณชพี

คาช้ีแจง : จงกากบาท X เลือกข้อทที่ า่ นคิดว่าถูกต้องท่ีสดุ
1. ในการแลกเปลี่ยนก๊าซในระบบหายใจ จะต้องอาศัยการทางานของอวยั ใดเพ่ือใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ น
กา๊ ซ
ก. ปอด
ข. ถุงลม

263

ค. คอหอย
ง. หลอดลม
2. ขอ้ ใดไม่ใช่ความสาคัญของระบบหายใจ
ก. ควบคมุ ปรมิ าณนา้ และเกลือแร่ในร่างกาย
ข. ควบคมุ ความสมดุลของกรดและดา่ งในเลือด
ค. กาจัดส่งิ แปลกปลอมที่ปะปนมากับอากาศขณะหายใจเขา้
ง. เปน็ การแลกเปล่ยี นกา๊ ซออกซเิ จนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
3. ข้อใดกล่าวถงึ กระบวนการหายใจได้อย่างถูกต้อง
ก. จมูก -> หลอดลม -> ปอด
ข. จมูก -> คอหอย -> หลอดลม -> ปอด
ค. จมูก -> หลอดลม -> ปอด -> ข้ัวปอด
ง. จมกู -> คอหอย -> หลอดลม -> ข้ัวปอด -> ปอด
4. ขอ้ ใดกล่าวถึงกระบงั ลมได้อย่างถูกต้องทส่ี ุด
ก. กระบังลมชว่ ยเพม่ิ พืน้ ที่ของชอ่ งอก
ข. กระบังลมมลี ักษณะคงท่ีตลอดเวลา
ค. เมอ่ื หายใจออกกระบังลมจะยกสงู ขน้ึ กระดูกซีโ่ ครงละเคล่ือนตา่ ลง
ง. เมื่อหายใจเข้ากลา้ มเนื้อกระบงั ลมจะหดตวั ลง กระดูกซ่ีโครงจะเคล่ือนตา่ ลง
5. โรคใดไม่เกี่ยวขอ้ งกบั ระบบหายใจ
ก. วณั โรค
ข. โรคหอบหืด
ค. โรคปอดอักเสบ
ง. โรคหลอดเลอื ดหวั ใจตีบ
6. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ระบบไหลเวยี นโลหิตไมถ่ ูกต้อง
ก. เปน็ เสมือนระบบการขนส่งของร่างกาย
ข. เป็นระบบทม่ี ีการกาจดั ของเสียออกจากร่างกาย
ค. เปน็ ระบบที่มกี ารขนสง่ นา้ และเกลือแรต่ ่าง ๆ ไปสู่เซลล์
ง. เป็นระบบที่มกี ารควบคุมปรมิ าณกา๊ ซออกซิเจนและก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์

7. อวัยวะใดทาหนา้ ทเี่ สมือนป๊ัมสบู ฉดี เลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ก. ปอด
ข. เลอื ด

264

ค. หัวใจ
ง. หลอดเลือด
8. ข้อใดกล่าวถงึ กระบวนการทางานของระบบไหลเวียนโลหติ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
ก. เลอื ดดาไหลเขา้ ส่หู ัวใจห้องบนซ้าย
ข. เลือดแดงไหลออกจากหัวใจห้องล่างขวา
ค. เลือดดาไหลออกจากหัวใจห้องล่างขวาเพ่ือไปฟอกทป่ี อด
ง. เลือดแดงไหลออกจากหัวใจห้องล่างขวาเพอ่ื ส่งไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
9. ในการตรวจวัดสญั ญาณชีพประกอบไปด้วยการตรวจดงั ต่อไปนี้ ยกเวน้ ข้อใด
ก. ตรวจเลือด
ข. ความดนั โลหิต
ค. อัตราการหายใจ
ง. อุณหภูมริ า่ งกาย
10. บคุ คลในข้อใดมีการเสรมิ สรา้ งการทางานของระบบไหลเวยี นโลหติ ได้อย่างเหมาะสม
ก. กาย ชอบทาอาหารประเภทตม้ รับประทาน
ข. น็อต หลีกเลี่ยงการสบู บุหร่ี และเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ทุกชนดิ
ค. แปง้ ควบคุมนา้ หนกั ตัวโดยการรับประทานอาหารเสริมเปน็ ประจา
ง. ออย มกั ไปเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวตามธรรมชาติเป็นประจา เพื่อเปน็ การผ่อนคลาย

เฉลย 1) ก 2) ค 3) ก 4) ก 5)ง 6) ข 7) ค 8) ค 9) ก 10) ง

ช่ือ..................................................นามสกลุ ..................................................ชัน้ .................................

265

บันทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาท่ีพบ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
วิธีแกป้ ัญหา
.............................................................................................. .................................................. ..............................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผบู้ นั ทึก
(..................................................)
วนั ที.่ ...........................................

ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหาร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................................ ..................................

ลงชอื่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ

266

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 15

เรื่อง การเดินทางไกล อยู่ค่ายพกั แรมและชีวติ ชาวคา่ ย

รายวิชา ลูกเสือกศน. รหัสวิชาสค12025 ระดับ ประถมศกึ ษา

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพฒั นาสังคม เวลา 6 ชั่วโมง

ครผู สู้ อน................................................................ รปู แบบการสอนพบกลมุ่ /ค้นคว้าด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกีย่ วกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรับใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต และการประกอบอาชีพ เพือ่ ความม่ันคงของชาติ
1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของทอ้ งถิ่น และ

ประเทศไทย
1.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชีวติ ตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎหมายเบ้ืองตน้ กฎระเบียบของชมุ ชน

สังคม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะหข์ ้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม

2. ตัวช้ีวัด
2.1 อธิบายความหมาย วตั ถุประสงค์ และหลักการของการเดินทางไกล
2.2 อธิบายและสาธิตการบรรจเุ คร่ืองหลงั สาหรับการเดินทางไกล
2.3 อธิบายความหมาย วัตถปุ ระสงค์ และหลักการของการอยู่ค่ายพักแรม
2.4 อธบิ ายและยกตวั อย่างชีวิตชาวค่าย
2.5 อธบิ ายและสาธติ วิธีการจัดค่ายพักแรม

3. สาระสาคัญของเน้ือหา
3.1 ความหมาย วัตถุประสงค์ และหลักการของการของการเดนิ ทางไกล
3.2 การบรรจุเคร่อื งหลังสาหรับการเดินทางไกล

267

3.3 ความหมาย วตั ถุประสงค์ และหลักการของการอยู่ค่ายพกั แรม
3.4 ชวี ิตชาวคา่ ย
3.5 วธิ กี ารจดั การคา่ ยพกั แรม

4. เป้าหมายการเรยี นรู้ (ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวัง)
4.1 ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ และหลักการของการเดินทางไกล
4.2 สาธิตการบรรจเุ ครอ่ื งหลงั สาหรับการเดินทางไกล
4.3 ความหมาย วตั ถุประสงค์ และหลักการของการอยู่ค่ายพักแรม
4.4 ดแู ลรักษาเคร่ืองมอื และเครื่องใช้ที่จาเปน็ สาหรับชวี ิตชาวค่าย
4.5 สาธิตวิธกี ารจัดการคา่ ยพักแรม

5. ขัน้ จดั กระบวนการเรยี นรู้
ข้นั ท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรู้
1) ครแู ละผู้เรยี นร่วมกนั กาหนดสภาพความจาเป็นที่ต้องเรียนรู้ในเรอ่ื งต่อไปนี้
(1) การเดนิ ทางไกล
(2) การอยู่ค่ายพักแรม
(3) ชีวิตชาวค่าย
(4) วธิ ีการจดั การค่ายพักแรม
2) ครูและผู้เรียนทาความเข้าใจสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรู้ให้ผ้เู รยี นซักถาม

แลกเปล่ยี นเรียนรู้ เช่ือมโยงความรใู้ หม่
3) ครใู ห้ผู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ข้นั ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรยี นรู้
1) ครแู ละผู้เรียนรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เรื่อง การเดนิ ทางไกล การอย่คู า่ ยพักแรม และชวี ิต

ชาวค่าย
2) ครูให้ผู้เรียนดูคลิปจากYouTube เร่ือง “การเดินทางไกล” เรื่อง “สาธิตการบรรจุเครื่อง

หลัง” และเรอ่ื ง “ค่ายพกั แรมในโรงเรยี นปลอดภัยได้ความสุข” มาให้ผู้เรียนดูแลว้ ถามคาถามในประเด็น

(1) ประโยชน์ของการเดนิ ทางไกลคอื อะไร

(2) การพกั แรมให้ปลอดภัยควรปฏิบัติตนอยา่ งไร

268
https://www.youtube.com/watch?v=PwRWOzpaUiQ
https://www.youtube.com/watch?v=gbxAAXxtp40

https://www.youtube.com/watch?v=frfwplBBYiU

269

3) ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็น 4 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ และร่วมกับอภิปรายใน 4 หัวข้อ
ดังนี้

กลุม่ ที่ 1 อธบิ ายความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ และหลกั การของการเดินทางไกล
กลมุ่ ที่ 2 อธิบายการบรรจเุ ครอื่ งหลังสาหรบั การเดินทางไกล
กลมุ่ ท่ี 3 อธิบายความหมาย วัตถุประสงค์ และหลักการของการอยคู่ า่ ยพักแรม
กลุ่มท่ี 4 อธบิ ายวิธีการจัดการค่ายพกั แรม
ข้ันท่ี 3 ปฏิบตั แิ ละนาไปประยุกต์ใช้
1) ผู้เรียนท้ัง 4 กลุม่ นาเสนอหัวข้อที่ไดร้ ับมอบหมายหนา้ ชั้นเรียน
2) ครแู ละผ้เู รยี นสรปุ เนื้อหาท่ีนาเสนอร่วมกนั
3) ครใู ห้ผูเ้ รียนทาใบงาน

ขัน้ ท่ี 4 ประเมินผลการเรยี นรู้
1) ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2) ประเมินจากใบงาน
3) ครูสังเกตจากการนาเสนอผู้เรยี น
4) บนั ทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
5) ทาแบบทดสอบหลังเรยี น

ส่อื การเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. วีดที ศั น์
4. หนังสือเรียนวชิ า ลูกเสือ กศน.

270

แบบทดสอบก่อนเรยี น

เร่อื ง การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม และชีวติ ชาวค่าย
คาชแ้ี จง : จงกากบาท X เลอื กขอ้ ทที่ ่านคดิ วา่ ถกู ต้องทส่ี ดุ

1. หลักของการเดนิ ทางไกล คือข้อใด
ก. ฝึกความอดทน
ข. ความมีระเบียบวนิ ัย
ค. การชว่ ยแหลือซึ่งกนั และกัน
ง. ถูกทกุ ขอ้

2. ข้อใดไม่ใชว่ ัตถุประสงค์ของการเดนิ ทางไกล
ก. เพือ่ ฝกึ ความอดทน ความมรี ะเบยี บวนิ ยั และเสรมิ สรา้ งสุขภาพอนามัยให้แก่ลกู เสอื
ข. เพือ่ ให้ลูกเสือมีเจตนารมณ์ เจตคตทิ ่ีดรี ้จู กั ช่วยตนเองและรจู้ กั ทางานร่วมกบั ผู้อน่ื
ค. เพอื่ เป็นการฝกึ ทักษะทางลูกเสอื ใหม้ ีระเบียบวนิ ยั มเี จตคติ มคี ่านยิ มท่ดี งี าม

271

ง. เพ่อื ใหม้ ีโอกาสปฏิบัตติ ามคตพิ จน์ของลูกเสือ และมีโอกาสบรกิ ารต่อชุมชนท่ีไปอยู่ค่ายพักแรม
3. วตั ถุประสงคข์ องการอยู่ค่ายพกั แรม คอื ขอ้ ใด

ก. ลกู เสอื ได้ฝึกทักษะ
ข. ลกู เสอื ได้ทากิจกรรมรว่ มกัน
ค. ลกู เสือทบทวนส่งิ ท่ีได้เรียนรูจ้ ากทฤษฎี
ง. ถูกทกุ ขอ้
4. เหตุใดไมใ่ ชห่ ลักการของการอยคู่ า่ ยพักแรม
ก. ใช้ระบบหมู่ เพ่ือฝกึ ความอดทน
ข. ยึดหลกั การมีสว่ นรว่ ม
ค. ใช้กระบวนการเรยี นรู้ท่เี น้นลกู เสือเปน็ สาคัญ
ง. ตอ้ งคานึงถึงความปลอดภัยในด้านต่าง ๆ ระหว่างการทากิจกรรม
5. เคร่ืองหลังคืออะไร
ก. ทท่ี าครัว
ข. ถงุ หรอื กระเปา๋ สาหรับใสส่ ิ่งของต่าง ๆ และใชส้ ะพายหลัง
ค. ทหี่ ุงตม้ และรับประทานอาหาร
ง. ถูกทุกขอ้

6. จากภาพท่ปี รากฏ หมายถึงข้อใด
ก. เตารางไม้
ข. เตากระป๋อง
ค. เตาแขวนหรือเตาราว
ง. เตาลอย

7. วธิ กี ารถนอมอาหารแบบใดเป็นวิธที ่ีงา่ ยและประหยัดมากทีส่ ดุ
ก. การตากแห้ง
ข. การทอด

272

ค. การผดั
ง. การรวน
8.ขอ้ ใด ไม่ใช่ วิธีการกางเตน็ ท์ 5 ชาย
ก. แก้เชือกท่ีรั้งหัวท้ายกับสมอบกออก
ข. ติดกระดุมทงั้ 2 ผนื เขา้ ด้วยกัน
ค. ตง้ั เสาเตน็ ทท์ ง้ั 2 เสา
ง. ผกู เชือกรงั้ หัวท้ายกบั สมอบก
9. จากภาพหมายถึงข้อใด
ก. เต็นท์แบบโครง
ข. เตน็ ท์แบบสามเหล่ยี ม
ค. เตน็ ทแ์ บบกระโจม
ง. เตน็ ท์แบบโดม
10. กอ่ นตั้งคา่ ยพักแรมควรพิจารณาความเหมาะสมจากสง่ิ ใด
ก. อยบู่ นท่สี งู หรือเชิงเขา
ข. ไม่ควรอยู่ใกล้สถานทที่ มี่ ีคนพลกุ พลา่ น
ค. ไมค่ วรอย่ใู กลต้ น้ ไม่ใหญ่
ง. ถูกทุกข้อ

เฉลย 1) ง 2) ค 3) ง 4) ก 5) ข 6) ค 7) ก 8) ก 9) ข 10) ง

ชอ่ื .................................................นามสกลุ ................................................ระดบั ......................................
ใบความรู้ที่ 1 เรอ่ื งการเดินทางไกล

273

ความหมายของการเดนิ ทางไกล
การเดินทางไกล หมายถึง การเดนิ ทางของลกู เสือจากกองหรอื กลมุ่ ลูกเสือ เพื่อไปทากิจกรรมทใ่ี ดท่ี

หนงึ่ โดยมผี ู้กากบั และนายหมู่ลกู เสอื เป็นผกู้ าหนดร่วมกัน เพอื่ นาลูกเสอื ไปฝึกทักษะวชิ าการลูกเสอื เพ่ิมเติม ให้
รู้จักการใชช้ ีวิตกลางแจง้ และสมั ผัสกับธรรมชาติอยา่ งใกลช้ ดิ โดยลูกเสอื ได้ใชค้ วามสามารถของตนเอง การเดนิ
ทางไกลของลูกเสอื สามารถเดินทางดว้ ยเท้า เรือ จักรยานสองลอ้ และรถยนต์
วตั ถุประสงค์ของการเดนิ ทางไกล มดี งั น้ี

1) เพื่อฝึกความอดทน ความมีระเบยี บวนิ ัยและเสริมสรา้ งสุขภาพอนามัยให้แก่ลูกเสอื
2) เพ่ือให้ลกู เสือมเี จตนารมณ์ เจตคติทด่ี ีรจู้ ักชว่ ยตนเองและรู้จักทางานรว่ มกับผู้อื่น
3) เพื่อใหม้ โี อกาสปฏิบัตติ ามคตพิ จนข์ องลูกเสือ และมโี อกาสบรกิ ารตอ่ ชมุ ชนท่ีไปอยู่ค่ายพกั แรม
4) เพ่ือเป็นการฝึกและปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ
หลกั การของการเดนิ ทางไกล
การเดินทางไกล ใช้ระบบหมู่ เพอื่ ฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมรี ะเบยี บวินัย การช่วยเหลือ
ซ่งึ กันและกนั รู้จกั การระมัดระวังตวั จากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการเตรยี มตวั ในการเดินทางในการใชช้ ีวิต
กลางแจง้
การบรรจเุ คร่อื งหลังสาหรับการเดินทางไกล
เป็นกิจกรรมหนึ่งของลกู เสอื ซึง่ ลูกเสือจะตอ้ งมีการเตรียมการเรอื่ งเคร่ืองหลงั ใหพ้ ร้อมเหมาะสม
กับเดินทางไกลไปแรมคนื ซ่ึงอุปกรณท์ จี่ ะจัดเตรยี มคืออปุ กรณ์เฉพาะบุคคลหรอื อปุ กรณ์
ประจาตัวที่จาเป็นจะตอ้ งเตรียมพรอ้ มก่อนกาหนดเดนิ ทางควรมีน้าหนักไมม่ ากนัก มีดังนี้
1) เครือ่ งแต่งกาย ได้แก่ เคร่ืองแบบลูกเสือและเคร่ืองหมายประกอบเคร่ืองแบบ
คอื หมวก ผา้ ผกู คอ เส้ือ กางเกงหรือกระโปรง เข็มขัด ถุงเท้า รองเทา้ หรือชุดลาลอง
หรือชดุ สุภาพ ชดุ กีฬา ชดุ นอน

274

2) เครื่องใช้ประจาตัว ไดแ้ ก่ สบู่ แปรงสฟี ัน ยาสีฟนั ผา้ เชด็ ตวั ผา้ ขาวมา้ ผ้าถงุ ไฟฉาย ขันน้า รองเท้าแตะ
จาน ชาม ชอ้ น ยากันยงุ ยาขัดโลหะ เชือก หรือยาง สาหรับผูกหรอื รดั อุปกรณ์เล็ก ๆ น้อย ๆ ถุงพลาสติก
สาหรับใสเ่ สอ้ื ผ้าท่ใี ช้แล้วหรือเปียกช้นื

3) ยาประจาตัว หรอื อปุ กรณ์ปฐมพยาบาล
4) อปุ กรณป์ ระกอบการเรยี นรู้ และการจดบนั ทึกกิจกรรม เชน่ สมุด ปากกา ดินสอ แผนท่ี เข็มทิศ
5) อปุ กรณ์ท่ีจาเป็นตามฤดกู าล เช่น เสื้อกันฝน เส้อื กันหนาว
6) อปุ กรณเ์ ครื่องนอน เชน่ ผา้ ห่ม ถุงนอน
7) อุปกรณท์ ี่ประจากายลูกเสือ เชน่ ไม้งา่ ม กระติกนา้ เชือกลูกเสอื
ข้อแนะนาในการบรรจเุ คร่ืองหลงั
เครอื่ งหลงั คือ ถุงหรือกระเป๋าสาหรบั ใส่ส่งิ ของต่าง ๆ และใชส้ ะพายหลงั เพื่อให้สามารถนาสิง่ ของไป
ยังสถานทตี่ า่ ง ๆ ได้อย่างสะดวก เคร่ืองหลังจึงเป็นสิ่งสาคญั และมีความจาเปน็ มากสาหรับกจิ กรรมการเดิน
ทางไกล เพราะลกู เสอื ตอ้ งใชบ้ รรจอุ ุปกรณ์ประจาตวั อปุ กรณป์ ระจาหมู่ ซึ่งตอ้ งนาไปใช้ในการอยู่ค่ายพกั แรม
การบรรจสุ ง่ิ ของลงในถุงเคร่ืองหลังหรอื กระเปา๋ มีข้อแนะนา ดังนี้
1. ควรเลือกเครื่องหลังท่ีมีขนาดพอเหมาะไม่เล็กหรอื ใหญ่จนเกนิ ไป
2. ควรบรรจุสิ่งของทมี่ นี ้าหนักมากหรือสิง่ ของท่ีใชภ้ ายหลังไวข้ ้างลา่ ง ส่วนสิง่ ของท่ใี ช้ก่อนหรือใช้
รบี ด่วน เชน่ ไฟฉาย เสือ้ กันฝน ไมข้ ดี ไฟ ฯ ให้ไวข้ า้ งบนสุดของเครือ่ งหลงั ซึ่งสามารถนาออกมาใช้ได้อย่าง
สะดวก
3. ควรบรรจสุ ่ิงของนุ่ม ๆ เชน่ ผ้าเช็ดตวั ผ้าห่ม เสอื้ ผ้าใสใ่ นเครือ่ งหลังตรงส่วนทจ่ี ะสัมผสั กบั
หลงั ของลกู เสือเพอื่ จะได้ไมเ่ จ็บหลังขณะเดินทาง
4. ส่งิ ของบางประเภท เช่น ยารกั ษาโรค ขา้ วสาร เป็นต้น ควรใส่ถุงผา้ หรือถุงพลาสติกก่อน
แล้วจึงบรรจลุ งเครอ่ื งหลัง
5. ในกรณที ี่ถุงนอน และผ้าห่มบรรจเุ ครื่องหลงั ไม่ได้ ให้ผกู ถุงนอนและผา้ หม่ นอน
ของลูกเสือไว้นอกเคร่อื งหลงั คลุมดว้ ยพลาสตกิ ใสเพื่อกนั เปียกนา้
6. เครือ่ งหลงั ท่ลี ูกเสือนาไปต้องไม่หนักจนเกนิ ไป เพราะถ้าหนกั เกนิ ไปจะทาให้ลูกเสือเหน่ือยเรว็
น้าหนักของเครื่องหลงั ควรหนักไมเ่ กิน 1 ใน 5 ของน้าหนักตัวลกู เสือ เช่น ถ้าลกู เสือหนัก 50 กโิ ลกรัม เครือ่ ง
หลังควรหนกั ไม่เกิน 10 กิโลกรัม เป็นต้น ปจั จบุ นั เครื่องหลังทใี่ ช้บรรจสุ ่งิ ของนน้ั มีหลายชนิดแล้วแต่ลกู เสือจะ
เลอื กใช้ เช่น กระเป๋า ยา่ ม หรอื เป้ ลกู เสอื ควรเลือกใช้เครื่องหลงั ที่มีลักษณะคลา้ ยเป้ เพราะมชี อ่ งสาหรบั บรรจุ
ส่ิงของหลายประเภท

275

ใบความรู้ที่ 2 เรอื่ งการอยคู่ า่ ยพักแรม

ความหมายของการอยคู่ า่ ยพกั แรม
การอยู่ค่ายพักแรมลูกเสือ คือ องคร์ วมของการเรยี นรู้ทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ โดยมีนวตั กรรม

และขบวนการถา่ ยทอด การทดสอบ การเสริมสรา้ งพฒั นาการใหแ้ กล่ กู เสือในทุกระดับ โดยการนาลูกเสอื ออก
จากท่ีตั้งปกติไปพักแรมคนื ตามคา่ ยลูกเสือตา่ ง ๆ รวมทัง้ สถานทท่ี ี่มีองค์ประกอบที่เหมาะสมกบั การจดั กิจกรรม
ลูกเสือ เช่น วนอทุ ยาน ชายทะเล เปน็ ตน้ โดยมีแผนการอยู่คา่ ยพักแรมในแต่ละครั้งสอดคลอ้ งกับการเรียนการ
สอนกิจกรรมลูกเสือในเวลาปกติ
วัตถปุ ระสงคข์ องการอยคู่ ่ายพกั แรม มีดงั นี้

1) เพื่อใหล้ ูกเสือทบทวนสิง่ ที่ได้เรยี นรู้จากทฤษฎี และการฝึกปฏิบัติ
2) เพื่อเป็นการฝึกทกั ษะทางลูกเสือ ให้มีระเบยี บวนิ ยั มเี จตคติ มคี ่านิยมทด่ี งี าม
3) เพ่ือให้ลูกเสือปฏบิ ตั ติ ามคาปฏิญาณและกฎของลกู เสอื
หลกั การของการอย่คู ่ายพกั แรม มดี งั นี้
1) ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยให้ผู้บังคับชาลกู เสอื ลกู เสือ และชมุ ชน มีส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรม
2) ใช้กระบวนการเรยี นร้ทู เ่ี น้นลูกเสอื เปน็ สาคัญ มที กั ษะในการแสวงหาความร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ใน
ชมุ ชน
3) ใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ฝึกให้คิดวิเคราะห์สรา้ งสรรค์ ที่เป็น
ประโยชน์และสัมพนั ธ์กับวิถีชวี ติ

276

4) มกี จิ กรรมวชิ าการและกจิ กรรมนนั ทนาการทีใ่ หล้ กู เสือได้รบั ความรู้ และความสนกุ สนาน ทางาน
ร่วมกนั เป็นกล่มุ เพื่อเสริมสรา้ ง ความสามัคคี มนษุ ยสมั พันธ์ ความเป็นผูน้ า

5) ต้องคานึงถึงความปลอดภัยในดา้ นต่าง ๆ ระหวา่ งการทากจิ กรรม

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องชวี ติ ชาวค่าย
ชวี ิตชาวคา่ ย

เปน็ กิจกรรมสรา้ งนสิ ัย การบาเพ็ญประโยชน์ รู้จกั การปรับตัวเขา้ หากัน และการอย่รู ่วมกนั อย่างมี
ความสขุ โดยการฝกึ ปฏิบตั ิตนดว้ ยการทางานร่วมกนั เป็นหมู่ รจู้ ักยอมรบั ในบทบาทหน้าท่ีซึ่งกนั และกนั ฝึก
การเป็นผนู้ า ผู้ตาม ฝึกให้รจู้ ักช่วยเหลือตนเอง เม่ือมีเหตุการณค์ ับขัน รจู้ กั การดารงชีพกลางแจง้ โดยไม่น่งิ เฉย
เชอื่ ฟงั กฎกตกิ าอยู่ในระเบยี บ อยา่ งเครง่ ครัด สร้างเสรมิ คุณธรรม สร้างความมวี นิ ยั ชวี ติ ชาวคา่ ย ประกอบด้วย

1. เครื่องมือ เคร่ืองใช้ ท่ีจาเป็นสาหรบั ชีวิตชาวค่าย
2. การสรา้ งครัวชาวคา่ ย
3. การสร้างเตาประเภทต่าง ๆ
4. การประกอบอาหารแบบชาวค่าย
5. การกางเตน็ ท์ และการเก็บเต็นทช์ นดิ ตา่ ง ๆ
เคร่ืองมอื และเครื่องใช้ ท่จี าเป็นสาหรับชีวติ ชาวคา่ ย
เคร่อื งมือ และเครื่องใช้ สาหรบั การอยู่ค่ายพักแรม มีหลากหลายประเภท แยกตามลักษณะของการใช้
งาน แบ่งออกเป็น ของมีคม ไดแ้ ก่ มดี ขวาน เลอื่ ย เครอื่ งมือที่ใช้ สาหรับขดุ ไดแ้ ก่ จอบ เสียม พล่ัว พล่ัว
สนาม และเคร่ืองมือท่ีใช้สาหรบั ตอก ไดแ้ ก่ คอ้ น โดย แยกเก็บตามประเภท และลักษณะการใชง้ าน เพอื่ ความ
สะดวกในการหยิบใชง้ าน และความเป็น ระเบยี บเรยี บรอ้ ย มดี คอื เครื่องมือชนิดแรก ๆ ทมี่ นุษยป์ ระดิษฐข์ ้ึน
เพ่ือใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มาอย่างยาวนาน เก่ยี วขอ้ งสัมพันธ์กันแทบทุกกจิ กรรม ในการดาเนินชีวิต มีด เป็น
เคร่อื งมอื ตดั เฉอื นชนดิ มีคม สาหรับใช้ สบั ห่นั เฉอื น ปาด บางชนิดอาจมีปลายแหลม สาหรบั กรดี หรือแทง
มักมีขนาดเหมาะสมสาหรบั จับถือด้วยมือเดียว ขวาน เป็นเคร่ืองมือท่ีทาด้วยเหลก็ มีสันหนาใหญ่ ใชใ้ นการตัด

277

ไม้ ฟนั ไม้ ผ่าไม้ ตอกไม้ รวมไปถึงการใช้เป็นอาวธุ โดยทวั่ ไปขวานจะประกอบด้วยสองส่วนหลกั คือ ส่วนหวั
และส่วนดา้ มจับ โดยขวานจะมีทัง้ แบบท่ดี า้ มยาว และแบบด้ามสั้น ข้ึนอยู่กับงานที่ใช้

การดูแลรกั ษามีดและขวาน
1. ไม่ควรวางมดี หรือขวานไว้กับพืน้ เพราะจะเปน็ อนั ตรายตอ่ ผู้อ่ืน ถา้ เผลอ ไปเหยียบ รวมทงั้ จะทาให้
คมมีดและขวานเปน็ สนมิ ได้
2. อย่าใชม้ ีดหรือขวานหนั่ ถากวตั ถุที่แขง็ เกินไป เพราะอาจทาให้หมดคม หรอื อาจบิน่ เสยี หายได้
3. ไมค่ วรเอามดี หรอื ขวานลนไฟหรือหัน่ สับสิง่ ทีก่ าลงั ร้อนเพราะจะทาให้ ทอื่ ง่าย
4. หลงั จากใชม้ ดี หรอื ขวานเสรจ็ แลว้ ตอ้ งล้างใหส้ ะอาด เช็ดใหแ้ ห้ง ทานา้ มัน แลว้ เก็บเข้าท่ใี ห้
เรียบร้อย ถา้ เป็นมีดหรอื ขวานทมี่ ีปลอก มีหนา้ กาก ควรสวมปลอกหรือ หนา้ กากก่อนแลว้ นาไปเกบ็
5. เมอ่ื คมมดี หรอื คมขวานท่ือ ควรลบั กับหนิ ลับมดี หรอื หินกากเพชร
6. ถา้ ดา้ มมีด หรือด้ามขวาน แตกรา้ ว ตอ้ งรีบซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีก่อนนาไปเก็บหรือนาไปใชง้ าน

วิธถี ือมดี และขวานใหป้ ลอดภยั
1. ตอ้ งหันดา้ นคมของมดี หรือขวานออกนอกตัว
2. เวลาแบกขวาน ต้องระวงั อยา่ ให้คมขวานห้อยลง หรอื หนั เขา้ หาตวั
3. ถา้ เปน็ ขวานขนาดเล็ก เวลาถอื ให้จับที่ตัวขวาน ปลอ่ ยด้ามขวานชล้ี งพ้ืน หนั คมขวานไปทาดา้ นหลงั
วธิ ีสง่ มีดและขวานให้ปลอดภัย
1. การสง่ มีด ผสู้ ง่ จบั สนั มดี หันคมมดี ออกนอกตัวหรอื หันด้านคมลงพ้นื ส่งด้านมดี ใหผ้ ู้จับ
2. การส่งขวาน ผสู้ ่งจับปลายด้ามขวานห้อยตัวขวานลง ใหค้ มขวานหนั ไป ด้านข้าง ผูร้ ับต้องจบั ดา้ ม
ขวานใต้มือผูส้ ง่ เลือ่ ย เปน็ เลือ่ ยสาหรบั งานไมโ้ ดยทวั่ ไป ทาด้วยโลหะแผน่ บาง มีฟนั เปน็ ซี่ ๆ โดยฟันของซ่ีเล่อื ย
มีความแตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมกบั การใช้งาน
การดูแลรักษา
1. หลังจากการใชง้ านให้คลายใบเล่ือยออกเล็กน้อย เพ่ือยืดอายุใบเล่ือยให้ ใชง้ านไดย้ าวนานขนึ้
2. ใชแ้ ปรงปดั ทาความสะอาดทกุ ส่วน ทาด้วยน้ามัน แล้วเก็บไว้ในทีเ่ ก็บ หลงั การใชง้ าน
จอบ เปน็ เคร่ืองมือขุดเดนิ ท่มี ีนา้ หนักปานกลางและมีความทนทานสูง จอบใช้ในการขุดดินแข็ง ๆ
และขุดหลมุ ให้มขี นาดกวา้ งและลกึ ได้ ลกั ษณะเด่นของจอบ คือ มีใบ ที่แบนกว้างและคม สามารถเจาะผา่ น
พนื้ ดินหรอื ก้อนดนิ ท่ีแข็ง ๆ ให้แยกขาดออกจากกัน ได้โดยงา่ ย การดแู ลรกั ษา หลังจากการใช้ทกุ คร้งั ควรลา้ ง

278

ทาความสะอาดด้วยนา้ เพื่อจัดดนิ ทีต่ ิดตาม ใบจอบ และคมจอบให้หมดเสยี ก่อน จากนั้นให้ใชผ้ ้าเช็ดใหแ้ ห้ง
แลว้ ทานา้ มนั กันสนมิ และเก็บเขา้ ที่ ให้เรยี บร้อย

เสียม เป็นเครอ่ื งมือขุดดิน ท่มี ีน้าหนักเบาทส่ี ุดในบรรดาเครื่องมือขดุ ดิน ทกุ ชนดิ ดว้ ยรปู ทรงที่เล็กมี
น้าหนกั เบา จงึ ไม่กนิ แรงผู้ใช้ เสยี มจงึ มีบทบาทสาคัญในงานด้าน การเกษตรทุกชนดิ จงึ พูดได้วา่ เสยี มเปน็
เครื่องมอื การเกษตรทมี่ าค่กู ับจอบ เพราะสง่ิ ทจี่ อบทาได้ เสียมก็สามารถทาได้ เช่น การขุดดนิ ขุดลอก เป็นต้น
แตส่ ิ่งทเ่ี สียมทาไดน้ ัน้ จอบไม่สามารถ ทาได้ก็ คอื การขุดหลุดท่ลี ึกและแคบ และการขุดดินในท่แี คบ ๆ
ท่ตี อ้ งใช้ความความระมัดระวังสูง เชน่ การขดุ ล้อมต้นไม้ขนาดเลก็ และการขดุ หน่อกลว้ ย เป็นต้น
การดูแลรกั ษา หลังจากการใชง้ านทกุ คร้ังควรลา้ งทาความสะอาดดว้ ยนา้ เพื่อการจัดดนิ ที่ตดิ ปลายเสียม
ให้หมดเสียก่อน จากน้นั ใช้ผ้าเชด็ ใหแ้ หง้ ทาน้ามนั กันสนมิ แลว้ นาเก็บเขา้ ทใ่ี ห้เรียบร้อย

พลั่ว เปน็ เคร่อื งมือใช้ในการตักดิน หรอื ตักทรายที่มคี วามละเอยี ดมาก หรือเปน็ ก้อนที่ไม่ใหญ่นัก
พลั่วมีน้าหนกั พอ ๆ กับเสียม แต่มใี บที่กว้างและบางกวา่ เสียมและจอบเล็กน้อย คมของพล่ัวไมไ่ ด้มีไว้ใช้ในการ
ขดุ หรือเจาะ แต่มีไวใ้ นการตักหรือโกย เศษทราย เศษดิน หรอื เศษวชั พืช ที่ได้ทาการกวาดรวม ๆ กนั ไว้เป็น
กอง ๆ เรยี บร้อยแลว้ เพ่ือตกั ไปใส่ ถงุ ปุย๋ หรอื ปงุ้ ก๋ี หรือถังขยะ เพ่ือเพ่ิมความรวดเร็วในการจัดเก็บและทา
ความสะอาด การดูแลรักษาหลงั จากการใชท้ ุกครัง้ ควรล้างทาความสะอาดดว้ ยน้า เพ่ือการจัดเศษดิน
เศษทรายท่ีตดิ ตามปลายพล่ัวใหห้ มดเสียก่อน จากน้ันก็ใช้ผา้ เช็ดใหแ้ หง้ ทานา้ มันกนั สนมิ แลว้ เก็บเข้าทใ่ี ห้
เรียบรอ้ ย

ค้อน คือเครื่องมือสาหรับตอกหรอื ทุบบนวัตถุอืน่ สาหรบั การใช้งาน เช่น การตอกตะปู การจดั ช้ินส่วน
ให้เขา้ รปู และการทุบทลายวตั ถุ ค้อนอาจได้รบั การออกแบบมา ให้ใช้งานเฉพาะทาง และมรี ูปร่างกับโครงสรา้ ง
ทห่ี ลากหลาย แต่มโี ครงสร้างพืน้ ฐานทีเ่ หมือนกนั คือ ด้ามจับและหัวคอ้ น ซึ่งน้าหนักจะค่อนไปทางหัวคอ้ น
มากกวา่ แรงที่กระทบเปา้ หมายจะมาก เท่าใด ข้นึ อยู่กบั มวลของค้อนและความเรง่ ของการตอก ดังนนั้ เม่ือ
คอ้ นยิ่งหนักมากและหวด ดว้ ยความเร่งมาก แรงที่ได้จากค้อนยิ่งมากตามไปดว้ ย

การดแู ลรักษา
1. เลือกชนิดของค้อนให้เหมาะกบั งาน
2. เมือ่ ใช้งานเสรจ็ ควรเชด็ ทาความสะอาด แล้วทานา้ มันท่ีหัวค้อนเพื่อป้องกัน สนิม
การสรา้ งครัวชาวค่าย

279

การสรา้ งครัว เป็นการกาหนดพน้ื ทส่ี าหรับใช้ในการประกอบอาหาร ตลอด ระยะเวลาในการอยู่ค่าย
พกั แรม มอี งคป์ ระกอบในการสรา้ งครัว ดงั นี้ ทท่ี าครวั ควรมเี ขตทาครวั โดยเฉพาะ โดยเลือกพ้ืนทีท่ จี่ ะเป็นเหตุ
ใหเ้ สียหาย แกพ่ น้ื ท่ีน้อยทสี่ ดุ ถา้ มหี ญ้าข้ึนอย่ตู ้องแซะหญ้าออก (ใหต้ ดิ ดนิ ประมาณ 10 ซม.) แล้วจงึ คอ่ ยต้ัง
เตาไฟ ส่วนหญ้าที่แซะออกน้ันจะตอ้ งหมน่ั รดนา้ ไว้ เม่ือการอย่คู ่ายพกั แรมได้ส้นิ สดุ ลงแลว้ กใ็ ห้ ปลกู หญ้าไวท้ ่ี
เดิม แลว้ รดน้าเพื่อให้คืนสู่สภาพเดิม ในการจัดทาเครอื่ งใช้นน้ั อะไรควรจดั ทากอ่ น อะไรควรจัดทาภายหลัง
ถือหลักว่า อนั ไหนสาคญั ที่สุดกใ็ หจ้ ัดทาก่อน แลว้ จึงค่อย ๆ จัดทาสิง่ ทม่ี คี วามสาคัญรองลงมาตามลาดับ
ต่อไปน้ี คอื คาแนะนาในการสรา้ งเครื่องใชต้ ่าง ๆ เตาไฟ มีหลายแบบ เช่น แบบขุดเปน็ ราง แบบใช้อิฐ หรือ
กอ้ นหนิ วางเปน็ สามเส้า แบบเตายืนเป็นแบบสะดวกในการทาครัว กอ่ นต้ังเตาไฟควรทาความสะอาดบริเวณ
นั้น อยา่ ใหม้ เี ช้ือไฟหรือสิ่งท่ีติดไฟง่ายอยู่ใกล้ ๆ กองฟนื ลักษณะของฟืนท่ีนามาใช้ควรเปน็ ไม้แหง้ เพื่อง่ายตอ่
การก่อไฟ ควรกองให้เปน็ ระเบยี บ อยู่ไม่ห่างจากเตาไฟ ถ้าฝนตกจะต้องมหี ลังคาคลุมดนิ สาหรบั เตายนื อาจ
เอาฟนื ไว้ใต้เตากไ็ ด้ เคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ หมอ้ กระทะ แกว้ น้า มีด เขียง ฯลฯ ท่ีเก็บมีด ท่ีเก็บกระบอกน้า ท่ีเกบ็
จาน ทเี่ กบ็ ถงั น้า ท่ีเก็บอาหาร จะตอ้ งจัดทาขน้ึ ทห่ี ุงตม้ และรบั ประทานอาหาร ควรมี หลังคามุงกันแดดกันฝน
อาจใช้โต๊ะอาหารและม้านง่ั ควรจดั ทาขึ้นตามแบบง่าย ๆ

หลุมเปียก ขุดหลมุ ขนาดใหญ่ให้ลึกพอสมควร ทป่ี ากหลุมใช้กง่ิ ไม้ ใบไม้ สานเปน็ แผงปิด แล้วเอาหญา้
โรยขา้ งบน หลุมเปยี กสาหรบั เทน้าตา่ ง ๆ ที่ไม่ใชแ้ ลว้ เชน่ น้าปน ไขมนั ซึ่งสงิ่ เหลา่ น้เี มือ่ เทลงไป ไขมันและส่งิ
ต่าง ๆ จะตดิ อยทู่ ีห่ ญา้ มีแต่น้าแท้ ๆ ไหลลงไป ในหลุม แผงท่ีปากหลุมจะต้องนาไปเผา และเปล่ียนใหม่วนั ละ
ครงั้ เป็นอย่างนอ้ ย หลุมแห้ง ขดุ เป็นอีกหลุมหน่ึง เมื่อท้ิงเศษอาหารแล้ว จะต้องเอาดนิ กลบ ถา้ เป็นกระป๋อง
ก่อนท้ิงตอ้ งทบุ ให้แบนและเผาไฟ ในกรณที ี่ค่ายนั้นมีถังสาหรบั เผาขยะหรอื เศษ อาหารโดยเฉพาะอยู่แล้ว ก็
ใหน้ า้ ขยะและเศษอาหารไปเผา ณ ทีก่ าหนดไว้

การสร้างเตาประเภทตา่ ง ๆ
เตาสาหรับหุงอาหาร เตาไฟที่ใชใ้ นการหงุ อาหารในการอยู่ค่ายพกั แรมมีอยูห่ ลายแบบ ซ่งึ จะจดั การ

สร้างไดข้ ณะอยู่ค่ายพกั แรมตามสภาพของพื้นที่ เตาไฟแบบตา่ ง ๆ ได้แก่ เตาราง เตาใช้อิฐและ หนิ เตายนื เตา

280

แขวน ในการก่อสร้างเตาแตล่ ะครงั้ ลูกเสือจะต้องทาความสะอาดรอบ ๆ บรเิ วณ ท่กี ่อสร้างเตา ให้เตียนและ
อย่าให้มีเช้ือไฟหรือวัสดุทีต่ ดิ ไฟไดง้ ่าย ๆ อยู่ใกลบ้ ริเวณน้นั

เตาสามเส้า เปน็ การน าก้อนหินสามก้อนมาวางบนพื้น จดั ระยะห่างให้พอดี กับก้นหม้อเปน็ สามมมุ ดู
ให้อากาศถา่ ยเทได้สะดวก

เตาหลุม ขุดหลุมให้มีขนาดกวา้ งพอเทา่ กับหม้อ ลึกพอประมาณ แล้วเจาะรู เพอ่ื ใสฟ่ ืนด้านหนา้
แล้วมีรูระบายอากาศ ด้านข้างเพือ่ ใหค้ วนั ออก

เตาลอย ให้ขดุ หลมุ สี่มุม แล้วน าทอ่ นไมแ้ ข็งแรงส่ีตน้ ทาเป็นเสาส่มี ุม นาไม้มา วางพาดผูกเปน็
ส่ีเหล่ียมและวางคานให้เตม็ พื้นท่ี ใชใ้ บไม้ปูให้ราบ เอาดินปูพ้ืนใหห้ นาพอสมควร อีกชั้น แล้วใช้ก้อนหนิ ทาเป็น
เตาสามเสา้ หรือเตารางแล้วแตส่ ะดวก (หากเป็นหนา้ ฤดฝู น สามารถสร้างหลังคาต่อเติมได)้

เตารางไม้ นาไม้ท่ีมีง่ามสองท่อนมาปักลงดินตรงข้ามกัน แล้วนาไมท้ อ่ นตรง วางพาดเป็นคานไวแ้ ขวน
ภาชนะ (ไม้ที่ควรใช้พาดควรเป็นไม้ดิบ ซ่ึงจะไม่ทาให้ไหม้ไดง้ ่าย)

เตาแขวน หรอื เตาราว ใช้ไม้ท่ีมงี า่ มมาปักลงดินเปน็ ระยะห่างให้พอดี แล้วหาไม้ยาวเป็นคานมาพาด
งา่ มไว้สาหรับแขวนภาชนะ

เตากระป๋อง นากระป๋องหรือถงั ขนาดเล็ก ท่ีพอดีกับหม้อหรอื ภาชนะ มาผ่าขา้ ง ออกเป็นประตลู มแลว้
เจาะรสู ่วนบนสร่ี ูเพ่อื ใหอ้ ากาศถา่ ยเท
การประกอบอาหารแบบชาวค่าย

การปรุงอาหารในขณะอยคู่ า่ ยพักแรมหรือเดินป่า เปน็ การปรุงอาหาร เเบบชาวคา่ ย ไมส่ ามารถเตรยี ม
เครือ่ งมอื เครื่องใช้ในการหุงต้มไดค้ รบถว้ น เช่น ใช้เตาหลุม เตาสามเสา้ เตาราง ใช้มะพร้าวอ่อนแทนหมอ้
กระบอกไม้ไผ่ ใชด้ ินพอกเผาแทนการต้ม การป้งิ เปน็ ต้น การปฏบิ ัตหิ รือประกอบอาหารบางอย่างทจ่ี าเป็นใน
ขณะท่ีอยู่ค่ายพักแรม ควรเลือกประกอบอาหารอยา่ งง่าย รวดเรว็ คงคณุ คา่ ทางอาหาร ด้วยวธิ ีการต่าง ๆ ดงั นี้
การหุงขา้ วดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ 1. การหงุ ขา้ วด้วยหม้อหู สามารถหงุ ข้าวได้ 2 แบบ คือ แบบไม่เช็ดนา้ และเชด็ นา้
การหุงข้าวไม่เช็ดน้า ขา้ ว 1 สว่ น ตอ่ น้า2 - 2.5 สว่ น วิธีหงุ

1) ซาวขา้ วใหห้ มดส่ิงสกปรก รินนา้ ท้งิ
2) ตวงนา้ ใสน่ า้ หม้อ ปิดฝาให้สนิท ตัง้ บนเตา ใส่ไฟแรงจัด
3) เม่ือน้าเดือดใช้พายกวน 1 ครัง้ พอนา้ จวนแหง้ ปดิ ฝาหม้อให้สนิท น้าถา่ น หรือฟนื ออกเหลอื เกล่ีย
ไวใ้ ห้ไฟน้อยทสี่ ดุ (การกวนคนขา้ วนเ้ี พื่อให้ได้รบั ความรอ้ นทั่วถึงกัน) 4) เอียงขา้ ง ๆ หม้อใหร้ อบ ๆ ตั้งตอ่ ไปจน
นา้ แห้งให้ขา้ วสุกและระอุดี ใชเ้ วลา ประมาณ 20 - 25 นาที
การหุงข้าวเชด็ น้าข้าว1 ส่วน ต่อ นา้ 3 ส่วน วธิ ีหุง
1) ซาวขา้ วพอหมดส่งิ สกปรก รนิ นา้ ทิ้ง
2) ตวงนา้ ใสห่ ม้อ ปิดฝาให้สนทิ ต้งั บนไฟใช้ไฟแรงจนกระท่ังข้าวเดอื ด
3) เมือ่ น้าเดือดใชพ้ ายกวนข้าว 1 ครง้ั หรือมากกวา่ เพ่ือให้ไดร้ บั ความร้อนท่วั ถึง
4) สงั เกตดูพอเม็ดข้าวบาน รินนา้ ขา้ วท้งิ เอาขนึ้ ดงบนเตา ใช้ไฟออ่ น ตะแคงหม้อ หมุนใหไ้ ด้ความร้อน
ท่วั จนนา้ แห้ง จากนั้นให้ยกลงจากเตา วิธีการแก้ข้าวแฉะ ข้าวแฉะเกิดจากปล่อยท้ิงไว้จนเม็ดขา้ วบานมาก

281

หรอื ใส่นา้ น้อยจนนา้ ข้าวข้นมาก กอ่ นจะเชด็ น้าข้าวให้ใสน่ ้าเปลา่ ลงไปให้น้าไมข่ ้น คนใหท้ ่ัวหม้อ แลว้
เช็ดนา้ ใหแ้ หง้ ปิดฝาหม้อ ใหส้ นิท แล้วหมนุ หมอ้ ไปมา และน้าหม้อข้าวไปตั้งที่เตาไฟ โดยใชไ้ ฟอ่อน ๆ วิธแี ก้
ข้าวดบิ

ใหใ้ ชน้ ้าพรมข้าวพอประมาณ คุ้ยพรมให้ทั่วหม้อ แล้วจึงนาหม้อขา้ วขน้ึ ดงใหม่ หมุนให้ท่ัว ดงให้นาน
กว่าดงข้าวธรรมดา เม่ือยกลงหา้ มเปดิ ฝาดู ควรปิดใหส้ นทิ เพอ่ื ข้าวจะไดส้ ุก ระอุดี วธิ ีแก้ข้าวไหม้ หากไดก้ ลิ่น
ขา้ วไหม้ รีบเปดิ ฝาหม้อเพอ่ื ใหไ้ อนา้ ออก และความรอ้ นในหมอ้ จะได้ ลดลงเร็ว ขณะเดยี วกันกลิ่นไหมจ้ ะได้
ออกไปดว้ ย คยุ้ ข้าวตอนบนทีไ่ มไ่ หมใ้ หส้ ุก แล้วเปิดฝาท้งิ ไว้

การประกอบอาหารด้วยวิธีต่าง ๆ
การต้ม ทาได้ 2 วธิ ี คอื
1. โดยการใส่ของท่จี ะทาให้สุกลงไปพร้อมกบั น้า แล้วนาไปตั้งไฟ เช่น การต้มไข่ ถา้ ใส่ในนา้ เดือดแล้ว
ไขจ่ ะแตกเสียกอ่ น
2. โดยการใสข่ องที่จะทาให้สุก เม่ือนา้ นนั้ เดอื ดแล้ว เชน่ การตม้ ปลากันเหม็นคาว การผัด หมายถงึ
การทาวตั ถสุ ่ิงเดียวหรือหลายสิ่ง ซึ่งต้องการใหส้ ุกสาเร็จเป็น อาหารส่ิงเดยี ว วธิ ีการผัด โดยการใช้นา้ มันหรือ
กะทิ ใส่ในภาชนะท่จี ะใช้ผัด แลว้ นาของทจี่ ะผัดรวมลงไป คนให้สกุ ท่ัวกันและปรุงรสตามชอบ
การทอด ใสน่ ้ามันลงในภาชนะที่จะใชใ้ นการทอด โดยประมาณใหท้ ว่ มของ ท่จี ะทอด ตั้งไฟให้นา้ มัน
ร้อนจดั จึงใส่ของลงไปทอด การสังเกตของ ทีท่ อดว่าสกุ หรือยงั ให้สังเกต ตามขอบของสิง่ ทที่ อด
การถนอมอาหาร
การตากแห้ง เป็นวิธีทงี่ ่ายและประหยัด มากทส่ี ุด ใช้ไดก้ บั อาหารประเภทเน้ือสัตว์ ผักและ ผลไม้ เป็น
วิธที ่ที าให้อาหารหมดความชื้นหรือมี ความชืน้ อยู่เพยี งเล็กนอ้ ย เพื่อไมใ่ หจ้ ุลนิ ทรีย์ สามารถเกาะอาศยั และ
เจริญเตบิ โตได้ทาใหอ้ าหาร ไมเ่ กิดการบูดเน่า โดยการนาน้าหรือความช้นื ออกจากอาหารใหม้ ากทีส่ ุด เช่น เนอื้
เค็ม ปลาเค็ม กล้วยตาก เป็นตน้
การรวน เปน็ วิธีการท่ีคลา้ ยกับการคว่ั แต่ต้องใส่น้ามัน นิยมใช้ประกอบอาหารประเภท เน้ือสตั ว์
และปรุงรสใหเ้ ค็มมากขึ้น เพื่อใหส้ ามารถ เกบ็ ไวร้ ับประทานไดน้ าน เชน่ ไกร่ วน เป็ดรวน และ ปลาหมกึ รวน

282

ใบความรู้ท่ี 4 เร่อื งวิธกี ารจัดการคา่ ยพักแรม
วธิ ีการจดั การค่ายพกั แรม

การจดั การคา่ ยพักแรม เปน็ การจัดวางผังการอยู่คา่ ยพักแรม ลกู เสอื จะต้อง สารวจ คาดคะเนความ
เหมาะสมของพ้นื ที่ แหลง่ น้า เส้นทางคมนาคม เพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความผดิ พลาด ในการเลือกสถานท่ีต้ังค่ายและกาง
เตน็ ท์ กอ่ นทจี่ ะไปต้งั คา่ ยพักแรมน้ัน ควรจะได้มกี ารศึกษาลักษณะพ้นื ท่ีภูมปิ ระเทศให้ดเี สียกอ่ น โดยพจิ ารณา
ความเหมาะสมจากส่ิงต่อไปนี้

1. อยู่บนท่สี งู หรอื เชิงเขา เวลาฝนตกมที างระบายน้าออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ไม่มีนา้ ขังในบรเิ วณค่าย
หรอื มฉิ ะน้ันควรตงั้ ค่ายบรเิ วณที่เนื้อดนิ เป็นดนิ ปนทราย เพอื่ ให้ นา้ ดูดซมึ ได้โดยรวดเรว็

2. ไม่ควรอยู่ใกลส้ ถานที่ที่มีคนพลุกพลา่ น เช่น สถานที่ตากอากาศ
3. ไมค่ วรอยใู่ กลถ้ นนหรือทางรถไฟ เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุกบั ลูกเสือได้
4. ไมค่ วรอยูใ่ กลต้ น้ ไม่ใหญ่ เพราะเมอื่ เกดิ ลมพายอุ าจหกั โคน่ ลงมาทาให้ เกิดอันตรายได้
5. สถานทต่ี ั้งคา่ ย ควรมีน้าด่มื นา้ ใชเ้ พยี งพอ แต่ไม่ควรอยูใ่ กล้แม่นา้ ลาคลอง หนองหรือบึง เพราะ
อาจเกิดอบุ ัติเหตุกบั ลกู เสือได้
6. สถานทตี่ งั้ คา่ ย ไม่ควรอยไู่ กลจากตลาดมากนัก ทั้งน้ี เพ่ือสะดวกแก่ การไปซ้ือกบั ข้าว และไม่ควร
อยู่ไกลจากสถานีอนามัยมากนัก เพ่ือวา่ เกดิ การเจบ็ ป่วยหรือเกดิ อุบัติเหตรุ ้ายแรง จะได้ช่วยเหลือไดท้ นั ท่วงที
7. ควรอยู่ในสถานที่ทป่ี ลอดภัยจากผกู้ อ่ การร้าย

การวางผงั คา่ ยพักแรม
การวางผงั ค่ายพักแรมคือ การกาหนดตาแหน่งท่ีจะสรา้ งเต็นท์ สขุ าภิบาล ครัว ราวตากผ้า ขึ้นอย่กู บั

ความต้องการ และความเหมาะสมของสถานทนี่ ้ัน ๆ

การสขุ าภิบาลในคา่ ยพกั แรม
ในการเข้าคา่ ยพกั แรม ควรมกี ารขดุ หลุม เพื่อเปน็ การสุขาภิบาล ควรมีทัง้ หลมุ แหง้ และหลุมเปียกใน

การขุดหลมุ มีขนาดลึกพอสมควร ท่ปี ากหลมุ ใหใ้ ช้กิ่งไม้ ใบไม้ สานเป็นแผงปิดปากหลุม เพื่อสาหรับเทน้าที่ไม่
ใช้ในหลมุ เปยี ก เมื่อมีเศษอาหารตดิ บนฝาปิด ให้นาฝาปดิ ไปเคาะทิง้ เศษอาหารในหลมุ แห้งและควร
เปลย่ี นใบไม้ทุก ๆ วนั

283

ใบงาน เรอื่ งการเดนิ ทางไกล

คาชีแ้ จง 1.1 ใหผ้ ูเ้ รียนอธิบาย ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ และหลกั การของการเดินทางไกล ดงั ตอ่ ไปนี้
1) ความหมายของการเดนิ ทางไกล
2) วัตถปุ ระสงค์ของการเดินทางไกล
3) หลักการของการเดินทางไกล

1) ความหมายของการเดินทางไกล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2) วตั ถปุ ระสงคข์ องการเดนิ ทางไกล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3) หลักการของการเดนิ ทางไกล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

284

คาชี้แจง 1.2 ให้ผเู้ รียนระบุการเตรยี มอปุ กรณส์ ่วนตวั สาหรับการบรรจุเครอ่ื งหลังในการเดินทางไกล
ลงในตารางต่อไปนี้

ประเด็น อุปกรณท์ ี่ต้องเตรียม

การเตรียมอุปกรณ์ประจาตัวสาหรับ ……………………………………………………………………………………….........
การบรรจุเคร่อื งหลังในการเดิน ……………………………………………………………………………………….........
ทางไกล ……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........

285
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........

ช่อื - สกลุ ..........................................................กศน.ตาบล.................................

ใบงานที่ 2 เรอ่ื งการอยคู่ ่ายพกั แรม
คาช้ีแจง ให้ผู้เรยี นอธบิ าย ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ และหลกั การของการอยู่คา่ ยพักแรม ดังต่อไปน้ี

1) ความหมายของการอยู่คา่ ยพกั แรม
2) วตั ถปุ ระสงคข์ องการอยู่ค่ายพกั แรม
3) หลกั การของการอยูค่ ่ายพักแรม
1) ความหมายของการอยู่ค่ายพักแรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

286
2) วัตถปุ ระสงค์ของการอยู่ค่ายพกั แรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3) หลักการของการอยูค่ า่ ยพักแรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 3 เรือ่ งการอยคู่ ่ายพักแรม
คาช้ีแจง ให้ผ้เู รยี นอธิบาย ความหมาย วัตถุประสงค์ และหลกั การของการอยู่ค่ายพักแรม ดงั ตอ่ ไปนี้

1) ความหมายของการอยู่ค่ายพกั แรม
2) วตั ถปุ ระสงคข์ องการอย่คู ่ายพักแรม

287

3) หลักการของการอยู่คา่ ยพักแรม

1) ความหมายของการอยู่ค่ายพกั แรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2) วัตถุประสงค์ของการอยู่ค่ายพกั แรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3) หลักการของการอยูค่ ่ายพักแรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

288

คาช้ีแจง ให้ผู้เรยี นยกตวั อยา่ งอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นชีวติ ชาวคา่ ย ตามประดงั ต่อไปนี้

กจิ กรรมชวี ิตชาวคา่ ย ยกตวั อยา่ งอปุ กรณท์ ่ใี ช้ในชีวติ ชาวค่าย
การประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย ……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........

การกางเตน็ ท์และการเกบ็ เตน็ ท์ ……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........
……………………………………………………………………………………….........

289

คาชแ้ี จง ให้ผูเ้ รียนตอบคาถาม ดงั ต่อไปนี้

1) ค่ายพักแรม หมายความว่าอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2) อธบิ ายการทาหลุมเปยี กในค่ายพักแรมมาพอเขา้ ใจ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version