The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

4 สามารถพึ่งตนเองได้ 40

5 เตม็ ใจและสามารถช่วยเหลือชมุ ชน และ ....................................................................................
บาเพ็ญประโยชน์ต่อผูอ้ ่ืนได้ ....................................................................................
ทกุ เม่ือ ....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................

ช่อื - สกุล............................................................................ กศน.ตาบล...................................

แบบทดสอบหลังเรยี น

คาชีแ้ จง จงทาเครอ่ื งหมาย × หนา้ ขอ้ ท่ถี ูกตอ้ งทสี่ ดุ
1. การลูกเสือ หมายถึงข้อใด

ก. ผูท้ สี่ มัครเปน็ ลกู เสือ
ข. ผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสือ
ค. การพัฒนาผูใ้ หญ่ให้เปน็ พลเมืองดี
ง. กจิ การทน่ี าอุดมการณ์ของการลูกเสือมาพัฒนาเดก็ และเยาวชน

2. กองลูกเสือกองแรกของโลกต้งั ข้ึนทปี่ ระเทศใด
ก. ประเทศรสั เซีย
ข. ประเทศอังกฤษ
ค. ประเทศฝรงั่ เศส
ง. ประเทศฮอลันดา

41

3. ประมุขของคณะลกู เสอื แห่งชาติ หมายถึงข้อใด
ก. พระมหากษัตรยิ ์
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ผวู้ ่าราชการจังหวัด
ง. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

4. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้องเก่ียวกบั หลักการของลูกเสือ
ก. มีหน้าท่ตี ่อศาสนาท่ีตนเคารพนบั ถือ
ข. มคี วามรบั ผิดชอบในการพฒั นาตนเอง
ค. มีความจงรกั ภกั ดีต่อชาตบิ า้ นเมือง
ง. ถกู ทุกข้อ

5. ขอ้ ใดคือการพฒั นาทางกาย
ก. การพฒั นาเจตคติ
ข. การควบคุมอารมณ์
ค. การพัฒนาความสามารถในการแสวงหาความรู้
ง. การพัฒนารา่ งกายใหส้ มบรู ณ์ แข็งแรง

6. ขอ้ ใดไม่ใชก่ ารพฒั นาทางจิตใจ
ก. การพฒั นาเจตคติทด่ี ี
ข. การพฒั นาความสามารถในการควบคุมความรูส้ กึ
ค. การพัฒนาสขุ ภาพจิตของตนเองให้อยู่ในสถานการณ์ทเ่ี ปน็ ปกติ
ง. การพฒั นาความรสู้ ึกทด่ี ี หรือการมองโลกในแง่ดี

7. การบารงุ รักษาทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เป็นการการพัฒนาสัมพันธภาพต่อเร่อื งใด
ก. สมั พันธภาพพลเมืองดี
ข. สมั พันธภาพต่อค่านิยมพนื้ ฐาน
ค. สัมพนั ธภาพตอ่ สิ่งแวดล้อม

42

ง. สัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล

8. ผู้ทเี่ ข้าแถวต่อควิ ผู้อน่ื หมายถงึ ข้อใด
ก. ผู้มีวนิ ยั
ข. ผูม้ จี ิตบรกิ าร
ค. ผ้มู ีความประพฤติดี
ง. ผ้มู คี วามเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย

9. ผ้ปู ฏิบตั ติ นไม่ตรงต่อเวลา มคี วามเก่ยี วข้องกับเร่ืองใด
ก. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
ข. ขาดความอดทน
ค. ขาดวินัย
ง. ไม่ยอมเสยี สละ

10. บุคคลใดได้ชื่อว่าเป็นพลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย
ก. รบั ผิดชอบตอ่ หน้าทกี่ ารงาน
ข. ตดิ ตามข่าวสารบ้านเมือง
ค. ป้องกนั มิให้ผใู้ ดละเมิดสิทธิ์ของตน
ง. เคารพกฎหมายบา้ นเมือง
--------------------------------------------------------------------

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1. ง 2.ข 3.ก 4.ง 5.ง 6.ข 7.ค 8.ก 9.ค 10. ง

บันทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................

43

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปญั หาที่พบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................. ............................................................................................
วิธีแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงชอื่ ..................................................ผู้บนั ทกึ
(..................................................)
วนั ที่............................................

ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ าร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................ ..................................

ลงชือ่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ

44

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

เรอ่ื ง การลูกเสอื ไทย

รายวิชา ลูกเสือ กศน. รหสั วิชา สค12025 ระดับ ประถมศกึ ษา

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 สาระการพฒั นาสังคม เวลา 4 ชว่ั โมง

ครผู ู้สอน......................................... รปู แบบการสอนพบกลมุ่ /ค้นควา้ ดว้ ยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกย่ี วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรับใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต และการประกอบอาชพี เพื่อความมั่นคงของชาติ
1.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณขี องท้องถ่นิ และ

ประเทศไทย
1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ิตตามวิถีประชาธิปไตย กฎหมายเบือ้ งตน้ กฎระเบยี บของชมุ ชน

สังคม และประเทศ
1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน สังคม

2. ตัวชี้วัด
2.1 อธบิ ายประวัตลิ กู เสือไทย
2.2 อธบิ ายความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกับคณะลูกเสือแห่งชาติ

3. สาระสาคัญของเน้อื หา
3.1 ประวตั ลิ กู เสือไทย
3.2 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ยี วกบั คณะลกู เสอื แห่งชาติ

4. เป้าหมายการเรยี นรู้ (ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั )
4.1 รู้และเขา้ ใจเก่ยี วกับพระราชประวตั ขิ องพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวและเข้าใจ

เก่ียวกบั การกาเนดิ ลูกเสือไทย
4.2 เข้าใจเก่ยี วกับความรู้ท่วั ไปของคณะลูกเสือแหง่ ชาติ

5. ข้ันจัดกระบวนการเรยี นรู้
ข้นั ที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความตอ้ งการในการเรียนรู้

45
1) ครแู ละผูเ้ รยี นร่วมกันกาหนดสภาพความจาเป็นท่ีตอ้ งเรียนรูใ้ นเรื่องต่อไปนี้

(1) พระราชประวัตขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู วั
(2) กาเนิดลกู เสือไทย
(3) ความรทู้ ่วั เก่ียวกับคณะลกู เสือแหง่ ชาติ
(4) การบรหิ ารงานของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ
(5) สภาลูกเสือไทย
(6) คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแห่งชาติ
(7) คณะกรรมการลูกเสอื จังหวัด
(8) คณะกรรมการลูกเสอื เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
2. ครแู ละผเู้ รียนทาความเข้าใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รยี นซกั ถาม
แลกเปล่ียนเรียนรู้ เช่ือมโยงความรู้ใหม่
3. ครใู ห้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน
ขัน้ ที่ 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้
1) ครใู หผ้ ู้เรียนดคู ลิปจาก YouTube เร่ือง “ประวตั ลิ ูกเสือไทย”และ“วตั ถปุ ระสงคข์ อง
คณะลูกเสอื แห่งชาติ” ในลิงค์ YouTube

https://www.youtube.com/watch?v=4ZVD0MnnvRA

2) ครใู ห้ผูเ้ รยี นรว่ มแสดงความคดิ เห็นเรื่อง พระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ
เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว กาเนิดลูกเสือไทย ความร้ทู ั่วไปเกย่ี วกับคณะลกู เสอื แห่งชาติ

ขัน้ ที่ 3 ปฏบิ ตั ิและนาไปประยกุ ต์ใช้
1) ครูแบง่ ผ้เู รยี นออกเป็น 4 กลมุ่ และให้ศึกษาใบความรู้ ดงั นี้

46

กลมุ่ ที่ 1 ศึกษาใบความรทู้ ่ี 1 เรื่อง ประวตั ิลูกเสือไทย
กลมุ่ ที่ 2 ศึกษาใบความรู้ท่ี 2 เรือ่ ง ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกบั คณะลูกเสือแหง่ ชาติ
กลุม่ ท่ี 3 ศกึ ษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวตั ลิ ูกเสอื ไทย
กลุ่มท่ี 4 ศึกษาใบความร้ทู ี่ 2 เร่ือง ความร้ทู ่วั ไปเกี่ยวกบั คณะลูกเสอื แห่งชาติ
2) ครใู หแ้ ตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการศึกษาใบความรู้หน้าช้นั เรียน
3) ครมู อบหมายให้ผ้เู รียนทกุ คนทาใบงาน เรื่อง ประวตั ลิ กู เสอื ไทยและคณะลูกเสือแหง่ ชาติ
4) ครใู หผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน
5) ครูมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาความรู้เพ่ิมเติมเรื่อง ลูกเสือไทย จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น
ห้องสมดุ ประชาชน เว็บไซต์ YouTube
ขนั้ ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้
1) ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2) ประเมินจากใบงาน
3) ครสู งั เกตจากการนาเสนอผู้เรียน
4) บันทกึ หลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5) แบบทดสอบหลังเรยี น

สอ่ื การเรียนรู้
7. ใบความรู้
8. ใบงาน
9. แบบทดสอบ
10.วีดที ศั น์
11.อนิ เตอร์เน็ต

47

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรอ่ื ง การลกู เสือไทยและคณะลูกเสือไทย

คาชแ้ี จง จงทาเครือ่ งหมาย ( x ) กากบาทหนา้ ตวั เลือกท่ีทา่ นคดิ วา่ ถกู ต้องทส่ี ุด

1. ใครเปน็ ผสู้ ถาปนาลกู เสอื แหง่ ชาติ 6. ประมขุ ของคณะลกู เสือแหง่ ชาติคือขอ้ ใด
ก. รชั การท่ี 4
ข. รชั การท่ี 5 ก. ปลัดกระทรวง
ค. รัชการที่ 6 ข. รฐั มนตรีว่าการกระทรวง
ง. รัชการที่ 7 ค. นายกรฐั มนตรี
ง. พระมหากษัตรยิ ์
2. วนั สถาปนา ลกู เสอื ไทยตรงกบั วันท่ีเทา่ ใด
ก. 1 กรกฎาคม 2454 7. ข้อใดหมายถึงลูกเสือผหู้ ญงิ
ข. 2 กรกฎาคม 2454
ค. 3 กรกฎาคม 2454 ก. อาสาผู้หญงิ
ง. 4 กรกฎาคม 2454 ข. ลูกเสอื นักเรยี นหญงิ
ค. เนตรนารี
3. การใชก้ องพลสมัครข้ึนกองหนึ่งมชี ่ือว่ากองอะไร ง. ลกู เสอื ไทย

ก. กองร้อยอาสาสมคั ร 8. ลกู เสอื ชาวบ้านเรม่ิ ต้นเม่ือปี พ.ศ.ใด

48

ข. กองลูกเสือ ก. 2514
ค. กองเสอื ปา่ ข. 2515
ง. กองพนั ทหารราบ ค. 2516
ง. 2517
4. “คตพิ จน”์ ของลูกเสือแหง่ ชาตคิ อื ขอ้ ใด
9. ผู้ใดไม่ได้เป็นสภาลกู เสือไทย
ก. มองไกล
ข. อดทน อดกล้ัน ก. นายกรฐั มนตรี
ค. ความสามัคคี ข. รองนายกรัฐมนตรี
ง. เสยี ชพี อย่าเสยี สัตย์ ค. รัฐมนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ง. ประธานสภา
5. ใครไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ ลูกเสอื ไทยคนแรก
10. ใครเปน็ ประธานคณะกรรมการลกู เสือจงั หวดั
ก. นายชัพน์ บุญนาค
ข. นายชยั บุญนาค ก. ผวู้ ่าราชการจงั หวดั
ค. นายไชยา บญุ นาค ข. ผอ.สานกั งานเขต
ง. นายบนั บุญนาค ค.ผอ.กศน.จังหวัด
ง. ผอ.โรงเรยี น

เฉลย 1) ข 2) ก 3) ค 4) ง 5) ก 6) ง 7) ค 8) ก 9) ง 10) ก
ช่ือ - สกลุ .............................................................................. กศน.ตาบล.................................................

ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง ประวตั ิลูกเสือไทย

พระราชประวัติของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือพระบาทสมเด็จพระ
รามาธบิ ดี
ศรีสินทรมหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เปน็ พระมหากษัตริย์ไทย รชั กาลท่ี 6 ในราชวงศ์จักรี พระราช
สมภพ เมื่อวันเสาร์ท่ี 1 มกราคม 2423 ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 5 และสมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผ่องศรี (สมเดจ็ พระศรพี ัชรินทราบรมราชินนี าถ) เมื่อทรงพระเยาว์

49

ทรงพระนามว่า “สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอเจา้ ฟ้ามหาวชิราวุธ” ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับสถาปนา เปน็ สมเดจ็ พระ
บรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ดารงตาแหน่งรัชทายาท เสด็จข้นึ ครองราชย์ เม่ือวันที่ 23 ตุลาคม 2453
มีพระราชลัญจกรประจารัชกาล เป็นรูปวชิราวุธ ยอดมีรัศมีประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า ซึ่งต้ังอยู่เหนือต่ัง มี
ฉตั รกลีบบัวตั้งอยู่สองข้าง เป็นสัญลักษณ์พระนามาภิไธย “วชิราวธุ ” หมายถึง อาวุธของพระอนิ ทร์ และเสด็จ
สวรรคต เม่ือวันที่ 26 พฤศจิกายน 2468 ประชวรด้วยพระโรคพระโลหิตเป็นพิษในพระอุทร พระชนมายุ 45
พรรษา ทรงอยู่ในพระราชสมบัติ 15 ปี ทรงมีพระราชธิดาพระองค์เดียว ทรงพระนามว่า“เจ้าฟ้าเพชร
รตั นราชสุดาสริ โิ สภาพัณณวดี”

สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอเจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ ทรงไดร้ บั การศกึ ษาทางอกั ษรศาสตร์และศิลปศาสตร์ จาก
สมเด็จพระราชบิดา และนานาอาจารย์ผู้สันทัดแต่ละวิชา เมื่อปี พ.ศ. 2436 พระชนมายุ 13 พรรษา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชบิดา ได้โปรดให้พระองค์ออกไปศึกษาวิชาการหลายแขนง
ณ ประเทศอังกฤษ สาขาประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และวรรณคดี ที่มหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด
และศกึ ษาวิชาการทหาร ทีโ่ รงเรยี นทหารบกแซนด์ เฮสิ ต์ และไดเ้ สดจ็ นวิ ัตพิ ระนคร เม่อื ปี พ.ศ. 2445

กาเนดิ ลูกเสอื ไทย

ปี พ.ศ. 2442 ขณะท่ีสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ นั้น
ได้ทรงทราบเรื่องการสู้รบเพื่อรักษาเมืองมาฟิคิง (Mafeking) ของลอร์ด เบเดน โพเอลล์หรือ บี.พี. ได้ต้ังกอง
ทหารเด็กเป็นหน่วยสอดแนมชว่ ยรบในการรบกับ พวกบัวร์(Boer) ซึ่งเป็นชาวฮอลันดาและฝร่ังเศส จนประสบ
ความสาเร็จ ปี พ.ศ. 2450 พระองค์ทรงทราบว่า บี.พี. ได้ต้ังกองลูกเสือท่ีประเทศอังกฤษข้ึน เป็นครั้งแรกของ
โลก ปี พ.ศ. 2454 หลังจากพระองค์ท่านได้เสด็จข้ึนครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ
พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรงมีพระราชปรารภว่า

“...มีพลเรือน บางคนที่เป็นข้าราชการแลมิได้เป็นข้าราชการ มีความปรารถนาจะได้รับความ ฝึกหัด
อย่างทหาร แต่ยังมิได้มีโอกาสฝึกหัด เพราะติดน่าที่ราชการเสียบ้าง หรือเพราะติดธุระ อื่นเสียบ้าง การฝึกหัด
เปน็ ทหารน้นั ยอ่ มมคี ุณ เป็นประโยชน์แกบ่ ้านเมืองอยหู่ ลายอย่าง ท่ีเปน็ ขอ้ ใหญ่ ขอ้ สาคญั ก็คอื กระทาให้บคุ คล
ซึ่งได้รับความฝึกฝนเช่นนั้นเป็นราษฎรดีขึ้น กล่าวคือ ทาให้กาลังกายแลความคิดแก่กล้าในทางเป็นประโยชน์
ด้วยเป็นธรรมดาของคน ถ้าไม่มีผู้ใดฤๅ สิ่งใดบังคับให้ใช้กาลัง แลความคิดของตนแล้วก็มักจะกลายเป็นคน
ออ่ นแอไป

หน้า 2

อกี ประการหนึ่ง การฝกึ หดั เปน็ ทหารนนั้ ทาให้คนรวู้ ินยั คือ ฝึกหัดตนใหอ้ ยู่ ในบังคับบัญชาของผูท้ เี่ ป็น
หัวหน้า ฤานายเหนือตนซง่ึ จะนาประโยชนม์ าให้แก่ตนเป็นอันมาก เพราะว่ารู้จกั น้าใจผู้น้อยทง้ั เป็นทางส่ังสอน

50

อย่างหน่ึง ให้คนมีความยาเกรงต้ังอยู่ในพระราช กาหนดกฎหมายของประเทศบ้านเมือง ทั้งจะปลุกใจคนให้มี
ความรู้ รกั พระเจา้ แผ่นดิน ชาติ และศาสนา จนจะยอมสละชวี ิตถวายพระเจ้าแผ่นดิน ฤๅเพื่อป้องกันรักษาชาติ
สาสนาของตนได้ การฝึกหดั ข้าราชการพลเรือนในท่าทหารที่กลา่ วน้ี ไมใ่ ช่เป็นของที่ทรง พระราชดาริเริ่มจะชัด
ขึ้น ได้ทรงทดลองจัดนับว่าเป็นการสาเร็จมาแล้ว แลได้ทรงสังเกตผู้ที่ ได้รับความฝึกสอนเช่นน้ีใช้ได้ดีกว่าคน
ธรรมดา ด้วยเหตุที่กล่าวมาน้ี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ต้ังกองพลสมัครขึ้นกองหนึง่ ให้ชื่อว่า “กองเสือ
ป่า” ซึ่งเป็นนามเรียกผู้สอดแนม ในการสงครามในประเทศสยามมาแต่โบราณ ภายหลังท่ีพระองค์ทรงต้ังกอง
เสือป่าได้ 2 เดือน จึงมีพระราชปรารภที่จะต้ังกองลูกเสือข้ึน ซ่ึงได้ปรากฏอยู่ในคาปรารภของข้อบังคับลักษณะ
ปกครองลูกเสอื ฉบับแรก ซึ่งประกาศ ใช้เม่ือวันท่ี 1 กรกฎาคม 2454 ดังนี้ “พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา
วชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรง ดารงพระยศเป็นนายกองใหญ่ในกองเสือป่า ทรงพระราชดารวิ ่า กอง
เสือป่าได้ตั้งขึ้นเป็นหลักฐานแล้ว พอจะเป็นท่ีหวังได้ว่าจะเป็นผลดีตามพระราชประสงค์ แต่ผู้ที่จะเป็นเสือป่า
ต้องเป็นผู้ที่นับว่าเป็นผู้ใหญ่แล้ว ฝ่ายเด็กชายที่ยังอยู่ในปฐมวัย ก็เป็นผู้ที่สมควรจะได้รับการฝึกฝน ท้ังในส่วน
ร่างกายและในส่วนใจให้มีความรใู้ นทางเสือปา่ เพื่อวา่ เมื่อเติบใหญ่ขนึ้ แล้วจะได้ ร้จู ักหน้าที่ ซ่ึงผู้ชายไทยทุกคน
ควรจะประพฤติให้เป็นประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง อันเป็นท่ีเกิดเมืองนอนของตน และการฝึกฝนปลุกใจให้คิด
ถูกเชน่ นี้ต้องเร่มิ ฝึกฝนเสียเมื่อยังเยาวอ์ ยู่ เปรียบเสมือนไม้ทย่ี ังอ่อนจะดดั ไปเปน็ รปู อย่างไรกเ็ ป็นไปไดง้ ่ายและ
งดงาม แต่ถ้ารอไว้จนแก่เสียแล้ว เม่ือจะดัดก็ต้องเข้าไฟ และมักจะหักได้ในขณะที่ดัด ดังน้ีฉันใด สันดานคนก็
ฉนั นน้ั ”

พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ังกองลูกเสือขึ้น ตามโรงเรียน และสถานที่อันสมควร
โดยปรารถนาท่ีจะให้เด็กไทยได้ศึกษา และจดจาข้อสาคัญ 3 ประการ คือ 1) เพ่ือปลูกฝังความจงรักภักดีต่อผู้
ทรงดารงรัฐสีมาอาณาจักร โดยต้องตาม นิติธรรมประเพณี 2) เพ่ือปลูกฝังความรักชาติบ้านเมือง การนับถือ
ศาสนาพุทธ 3) เพื่อปลกู ฝังความสามัคคีในหมู่คณะ และไม่ทาลายซึง่ กันและกัน โดยมีพระราชประสงค์อยา่ งยิ่ง
เพื่อพัฒนาเยาวชนใหเ้ ปน็ กาลังสร้างความมัน่ คงใหแ้ ก่ชาติบ้านเมอื ง ทรงดารวิ ่า “การใด ๆ ที่ได้จดั ขน้ึ แลว้ และ
ซึ่งจะได้จัดขึ้นต่อไปก็ล้วนทาไปด้วยความมุ่งหมาย ท่ีจะให้เป็นประโยชน์ นาความเจริญมาสู่ชาติอย่างน้อยก็
เพียงไม่ให้อายเพ่ือนบ้าน ในการต้ังลูกเสือก็เพ่ือให้คนไทยรักชาติบ้านเมือง เป็นผู้นับถือศาสนาและมีความ
สามคั คีไมท่ าลายซง่ึ กนั และกัน เป็นรากฐานแหง่ ความม่นั คงของประเทศชาติ ทรงให้ทีม่ าของชื่อ ลูกเสอื ไวว้ ่า

“ลูกเสือ บ่ใช่เสือสัตว์ไพร เรายืมมาใช้ด้วยใจกล้าหาญปานกัน ใจกล้ามิใช่กล้าอธรรม์ เช่นเสืออรัญ
สัญชาติชนคนพาล ใจกลา้ ตอ้ งกลา้ อยา่ งทหาร กล้ากอปรกจิ การแกช่ าติประเทศเขตคน”

51

หนา้ 3

สถาปนาคณะลูกเสือไทย

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2454 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาคณะลูกเสือไทย
ขึ้น โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราข้อบังคับคณะลูกเสือ และจัดต้ังสภากรรมการลูกเสือข้ึน โดย
พระองค์ทรงดารงตาแหน่งสภานายก และตั้งกองลูกเสือกองแรกของประเทศไทย ท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง
(โรงเรียนวชิราวธุ )
ทรงพระราชทานคติพจน์ ให้แก่คณะลูกเสือแห่งชาติว่า “เสียชีพ อย่าเสียสัตย์” พระองค์ทรงได้เอาเป็นพระ
ราชธุระในการอบรมสั่งสอนตลอดจนการดาเนินงานท่ัว ๆ ไปของกองลูกเสือน้ีโดยตรง ทั้งน้ีเพื่อทรงหวังจะให้
เป็นแบบอย่างสาหรับโรงเรียนอื่น ๆ หรือสถานท่ีต่าง ๆ ที่มีความประสงค์จะตั้งกองลูกเสือขึ้น จะได้ยึดเป็น
แบบอยา่ งต่อไป กองลูกเสือกองนี้จึงได้นามวา่ “กองลูกเสือกรุงเทพท่ี 1” ซ่ึงผู้ที่ได้รับการยกย่องเป็นลูกเสือคน
แรกคือ นายชัพน์ บุนนาค เพราะสามารถกล่าวคาปฏิญาณของลูกเสือ ต่อหน้าพระพักตร์ได้เป็นคนแรก จึงมี
พระบรมราชโองการว่า “อ้ายชัพน์ เอ็งเป็นลูกเสือแล้ว” ซ่ึงต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น นายลิขิต
สารสนอง

วนั ท่ี 3 สิงหาคม 2454 พระองคท์ รงให้มพี ธิ ีเข้าประจากองลูกเสือขึ้นเป็น ครงั้ แรก โดยให้ลูกเสือหลวง
ท่ีสอบไล่ได้แล้วนั้น เข้ากระทาพิธีประจากองต่อหน้าพระท่ีน่ัง ณ พระท่ีน่ังอภิเษกดุสิต ในพิธีน้ีทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้กองลูกเสือต่าง ๆ ที่มีอยู่ในกรุงเทพฯ ในเวลานั้น เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เพ่ือฝึกพิธีเข้า
ประจากอง วันที่ 2 กันยายน 2454 ได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้กองลูกเสือ กรุงเทพท่ี 1 เข้าฝ้าทูล
ละอองธุลีพระบาท ณ สโมสรสนามเสอื ป่า และไดส้ อบซ้อมวิชาลูกเสอื ตาม แบบที่ทรงพระราชนิพนธ์ไว้สาหรับ
สง่ั สอนเสือป่าและลูกเสือ และได้ทรงพระราชทานนาม กองลูกเสือมหาดเล็กหลวง ซึ่งเป็นกองแรกในประเทศไทยน้ี
ว่า “กองลกู เสือหลวง”

ในปี พ.ศ.2457 เมื่อลกู เสือได้ทาพิธีเข้าประจากองกนั บา้ งแล้ว จึงทรงพระราชทาน ธงประจากอง เพ่ือ
รกั ษาไว้ต่างพระองค์ กองลูกเสือหลวง ได้รับพระราชทานธงประจากองเป็น กองแรก และได้ทรงพระราชทาน
ให้กับกองลูกเสือต่าง ๆ ในโอกาสอันสมควร เช่น การเสด็จ หัวเมืองต่าง ๆ เป็นต้น ธงท่ีพระราชทานให้กอง
ลูกเสือนี้มีรูปร่าง ลักษณะท่ีแตกต่างกันไป สุดแต่จะทรงคิดข้ึนพระราชทานให้ตามความเหมาะสมของแต่ละ
มณฑล

วันที่ 1 เมษายน 2457 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชกาหนด เครอื่ งแต่งตัวลูกเสือ
ให้เหมาะสมกับสมัย และในวันท่ี 10 เมษายน 2459 ได้ทรงมีประกาศ พระราชทานพระบรมราชานุญาติให้
ลูกเสือมณฑลปัตตานีใช้หมวกกลมแบบมลายูด้วยเหตุผลว่า เนื่องจากลูกเสือในมณฑลปัตตานีเป็นบุตรหลาน
ชาวมลายู ซ่ึงนับถือศาสนาอิสลาม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาติให้กอง
ลูกเสือมณฑลปัตตานี ใช้หมวกสักหลาด หรือหมวกกามะหย่ีสีดา ชนิดกลม แบบหมวกมลายูเป็นกรณีพิเศษ
ดว้ ยพระปรีชาญาณ และพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อย่หู วั ท่ีว่า พลเมืองทุกเพศ ทกุ วัย
ยอ่ มเป็นทรัพยากรสาคัญของชาติ เม่ือชาติพินาศล่มจม ใครเล่า จะอยไู่ ด้

52

ด้วยเหตุนี้หลังจากได้ทรงสถาปนาการลูกเสือขึ้นเป็นหลักฐานแล้ว จึงได้ทรงเตรียมการท่ีจะสถาปนา
“เนตรนารี” หรือที่เรียกกันว่า “ลูกเสือหญิง” สาหรับเด็กหญิงด้วย เพ่ือคู่กับ “ลูกเสือ” ซ่ึงได้ต้ังขึ้นเรียบร้อย
แล้ว สาหรับเด็กชาย จึงทรงมีพระราชประสงค์ท่ีจะให้มีการ ฝึกฝนในแบบเดียวกันเพ่ือความสมบูรณ์แห่ง
ทรัพยากรดังกล่าว พระองค์จึงทรงมอบให้พระยาไพศาลศิลปศาสตร์ ไปร่างกฎระเบียบไว้ ซ่ึงการร่าง
กฎระเบียบตา่ ง ๆ ไดด้ าเนนิ การเสรจ็ เรยี บรอ้ ย แต่ยังไมท่ ันประกาศใช้ พระองคไ์ ด้เสด็จสวรรคตก่อน

ใบความรู้ที่ 2
เร่อื ง ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกบั คณะลูกเสือแหง่ ชาติ

คณะลูกเสือแห่งชาติ คณะลูกเสือแห่งชาติประกอบด้วย บรรดาลูกเสือทั้งปวงและบุคลากรทางการ
ลูกเสอื โดยมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ของคณะลกู เสอื แห่งชาติ

ลูกเสอื หมายความว่า เด็กและเยาวชนทั้งชายและหญิง ท่ีสมัครเข้าเป็นลูกเสอื ท้ังในสถานศึกษาและ
นอกสถานศึกษา สว่ นลกู เสอื ท่เี ปน็ หญิง ให้เรียกวา่ “เนตรนารี”

บรรดาลูกเสือท้ังปวง หมายถึง ลูกเสือในโรงเรียน ลูกเสือนอกโรงเรียน ลูกเสือหลักสูตรพิเศษ ลูกเสือ
ชาวบา้ น

ลูกเสือในโรงเรียน หมายถึง เยาวชนที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือในกองลูกเสือโรงเรียน ได้แก่ลูกเสือสารอง
ลูกเสอื สามญั ลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ และลกู เสอื วสิ ามัญ

ลูกเสือนอกโรงเรยี น หมายถึง เยาวชนท่ีไม่ได้สมัครเข้าเป็นลูกเสือในกองลูกเสือ โรงเรียน แต่สมัครใจ
เข้ารว่ มกิจกรรมกบั ลูกเสือในโรงเรียน และลกู เสอื หลกั สูตรพเิ ศษ

ลูกเสือหลักสูตรพิเศษ หมายถึง ลูกเสือที่สมัครเข้ารับการอบรมในหลักสูตรพิเศษ ต่าง ๆ เช่น ลูกเสือ
ชอ่ สะอาด ลูกเสือป่าไม้ลกู เสอื จราจร ลูกเสอื ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ลูกเสอื อาสา กกต. ลูกเสอื ไซเบอร์
ลกู เสอื อนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ฯลฯ

ลูกเสือชาวบ้าน หมายถึง กลุ่มชาวบ้านท่ีมารวมกันเพ่ือทาประโยชน์ให้แก่สังคม ผ่านกระบวนการ
ลกู เสือ โดยท่ีมีการทางานหรือการเข้าค่ายต่าง ๆ คลา้ ยกบั ลูกเสือในโรงเรียน ลูกเสอื ชาวบ้านเริม่ ต้นมาตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2514 โดยตารวจตระเวนชายแดน ได้ฝกึ อบรมให้ชาวบ้านรู้จักดูแลความปลอดภยั ในหมบู่ ้าน การป้องกัน
ตนเอง ตลอดจนการสอดแนมรักษา ความปลอดภยั ตามแนวชายแดน

53
บุคลากรทางการลูกเสือ หมายความว่า ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ
อาสาสมัครลูกเสือ และเจ้าหน้าทล่ี ูกเสือ

หนา้ 2

สภาลูกเสือไทย
ประกอบดว้ ยคณะบุคคล ดังต่อไปน้ี
1. นายกรัฐมนตรีเปน็ สภานายก
2. รองนายกรฐั มนตรีเปน็ อปุ นายก
3. กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ผู้
บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการ
ตารวจแห่งชาติ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เลขาธิการ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย อธิบดี
กรมการปกครอง อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการจังหวัด
และ ผอู้ านวยการศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารลูกเสอื ชาวบา้ น

4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินแปดสิบคน ซ่ึงพระมหากษัตริย์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
แต่งต้ังตามพระราชอัธยาศัย ให้เลขาธิการสานักงานลูกเสือแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ รอง
เลขาธิการและผู้ชว่ ยเลขาธิการสานกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ เปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ สภาลูกเสอื ไทย อาจมสี ภานายก
กติ ติมศกั ดิ์ อปุ นายกกติ ติมศักดิ์ และ กรรมการกติ ตมิ ศกั ดิ์ ซ่งึ จะได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ อีกครัง้
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง่ ชาติ

54

เป็นองค์กรบรหิ ารของคณะลูกเสอื แห่งชาตปิ ระกอบดว้ ยคณะบคุ คล ดงั ต่อไปนี้
1. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็น ประธานกรรมการ
2. กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และปลัดกระทรวง มหาดไทย เป็นรอง
ประธาน เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย เลขาธิการสานักงาน
ส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ผอู้ านวยการสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศกึ ษาเอกชน และ ผู้อานวยการศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารลูกเสอื ชาวบา้ น
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินสิบห้าคน ซึ่งสภานายกสภาลูกเสือ ไทยแต่งตั้งโดยคาแนะนา
ของกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ตาม 1 และ 2 ซึ่งในจานวนน้ี ต้องมาจากภาคเอกชนไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึง
ให้เลขาธิการสานักงานลูกเสือแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธิการและผู้ช่วยเลขาธิการ
สานักงานลูกเสือแห่งชาติ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เลขาธิการสานักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้รับผิดชอบการ
บริหารงาน ของสานักงานลูกเสือแห่งชาติ และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างในสานักงาน โดย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แต่งตั้งรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการคนหน่ึงทาหน้าท่ี เลขาธิการ
สานักงานลกู เสือแห่งชาติและแต่งต้ังผูบ้ ริหารระดับสูงอื่นในกระทรวงศึกษาธิการ ทาหน้าท่ีรองเลขาธิการและ
ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารตามจานวนทีเ่ หมาะสม

หน้า 3

คณะกรรมการลกู เสอื จังหวดั
ประกอบด้วยคณะบคุ คล ดังต่อไปน้ี
1. ผวู้ ่าราชการจังหวัด เปน็ ประธานกรรมการ
2. กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ รองผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นรองประธาน กรรมการ ปลัดจังหวดั นายกเหล่า

กาชาดจังหวัด ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัด นายอาเภอ นายกเทศมนตรี นายก
สมาคมการศึกษาเอกชนจงั หวดั และ ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา

3. กรรมการประเภทผู้แทนจานวนห้าคน ได้แก่ ผู้แทนสถาบันอุดมศึกษา ผู้แทนสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ผู้แทนค่ายลูกเสือจังหวดั ผ้แู ทนสมาคมหรอื สโมสรลูกเสอื และผู้แทนจากลกู เสือชาวบา้ น ซง่ึ เลอื กกันเองกลุ่มละหนึ่งคน

4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินสิบคน ซึ่งประธานกรรมการแต่งต้ัง โดยคาแนะนาของกรรมการ
ลูกเสือจังหวัดตามข้อ 2) และ 3) ในจานวนนี้จะต้องแต่งตั้งจาก ภาคเอกชนไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง ให้ผู้อานวยการ

55

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเขต 1 เป็นกรรมการและเลขานุการ ให้ผู้อานวยการศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
เป็นกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
คณะกรรมการลูกเสือเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

คณะกรรมการลูกเสือเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ประกอบดว้ ยคณะบคุ คล ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา เปน็ ประธานกรรมการ
2. กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ผู้กากับการสถานีตารวจภูธรของทุกอาเภอ ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือผู้
กากบั การสถานีตารวจนครบาลของทุกสถานใี นเขตพ้นื ที่การศึกษา ของกรุงเทพมหานคร
3. กรรมการประเภทผู้แทน ได้แก ่ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ี
การศึกษา ผู้แทนสถานศึกษาเอกชน ผู้แทนสถานศึกษา อาชีวศึกษา ผู้แทนสถาบันอุดมศึกษา ผู้แทนศูนย์บริการ
การศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอ ผู้แทน ค่ายลูกเสอื และผแู้ ทนสมาคมหรอื สโมสรลกู เสือ ซึง่ เลือกกันเองกลมุ่ ละหนงึ่ คน
4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินเจ็ดคน ซ่ึงประธานกรรมการแต่งต้ัง โดยคาแนะนาของกรรมการ
ลูกเสือเขตพ้ืนท่ีตามข้อ 2) และ 3) ในจานวนน้ีจะต้องแต่งต้ังจาก ภาคเอกชนไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง ให้รองผู้อานวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาท่ีได้รับมอบหมายเป็นกรรมการ และเลขานุการและให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาแตง่ ตัง้ ข้าราชการในสานกั งาน เขตพ้ืนที่การศกึ ษาอีกไม่เกินสองคน เปน็ ผู้ชว่ ยเลขานุการ

แผนภูมิแสดงการบริหารงานของคณะลกู เสือแห่งชาติ

คาช้ีแจง ใบงานเรอ่ื ง ประวัติลูกเสือไทยและคณะลูกเสอื แห่งชาติ

ใบงาน
ใหผ้ เู้ รยี นอธบิ ายความหมายของภาพเกี่ยวกับลูกเสือไทยท่ีกาหนดให้มาพอสังเขป

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

56

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………

ช่ือ – สกลุ ........................................................................ กศน.ตาบล..........................................

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอ่ื ง การลกู เสือไทยและคณะลูกเสอื ไทย

คาช้แี จง จงทาเครอ่ื งหมาย ( x ) กากบาทหน้าตัวเลือกที่ทา่ นคดิ วา่ ถกู ตอ้ งท่ีสุด

57

1. ใครเป็นผ้สู ถาปนาลกู เสอื แห่งชาติ 6. ประมขุ ของคณะลูกเสอื แหง่ ชาตคิ ือขอ้ ใด
ก. รัชการท่ี 4
ข. รัชการท่ี 5 ก. ปลัดกระทรวง
ค. รัชการที่ 6 ข. รฐั มนตรีว่าการกระทรวง
ง. รัชการท่ี 7 ค. นายกรฐั มนตรี
ง. พระมหากษตั ริย์
2. วันสถาปนา ลกู เสอื ไทยตรงกบั วนั ทเี่ ท่าใด
ก. 1 กรกฎาคม 2454 7. ข้อใดหมายถึงลกู เสือผหู้ ญิง
ข. 2 กรกฎาคม 2454
ค. 3 กรกฎาคม 2454 ก. อาสาผู้หญงิ
ง. 4 กรกฎาคม 2454 ข. ลกู เสือนักเรยี นหญงิ
ค. เนตรนารี
3. การใช้กองพลสมัครขนึ้ กองหน่ึงมีชือ่ วา่ กองอะไร ง. ลกู เสอื ไทย

ก. กองร้อยอาสาสมคั ร 8. ลูกเสือชาวบา้ นเรมิ่ ต้นเม่อื ปี พ.ศ.ใด
ข. กองลูกเสอื ก. 2514
ค. กองเสือปา่ ข. 2515
ง. กองพนั ทหารราบ ค. 2516
ง. 2517
4. “คติพจน”์ ของลูกเสอื แห่งชาติคอื ข้อใด
9. ผู้ใดไม่ไดเ้ ป็นสภาลูกเสอื ไทย
ก. มองไกล
ข. อดทน อดกลัน้ ก. นายกรัฐมนตรี
ค. ความสามัคคี ข. รองนายกรฐั มนตรี
ง. เสียชีพอยา่ เสยี สตั ย์ ค. รฐั มนตรีกระทรวงศึกษาธิการ
ง. ประธานสภา
5. ใครได้รบั การยกยอ่ งเป็นลูกเสอื ไทยคนแรก
10. ใครเป็นประธานคณะกรรมการลกู เสือจังหวัด
ก. นายชัพน์ บญุ นาค
ข. นายชยั บุญนาค ก. ผู้วา่ ราชการจังหวดั
ค. นายไชยา บุญนาค ข. ผอ.สานกั งานเขต
ง. นายบัน บุญนาค ค.ผอ.กศน.จงั หวดั
ง. ผอ.โรงเรยี น

เฉลย 1) ข 2) ก 3) ค 4) ง 5) ก 6) ง 7) ค 8) ก 9) ง 10) ก

ชอ่ื - สกุล.............................................................................. กศน.ตาบล.................................................

58

บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาที่พบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................... ....................................
.................................................................................. ............................................................................................
วธิ ีแก้ปัญหา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงชื่อ..................................................ผ้บู ันทกึ
(..................................................)
วันท.่ี ...........................................

ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ าร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
................................................................................................................................................ ..............................

ลงชือ่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ

59

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

เรอื่ ง การลกู เสือโลก

รายวชิ า ลกู เสือ กศน. รหัสวชิ า สค12025 ระดบั ประถมศึกษา

ภาคเรียนท่ี 2ปีการศึกษา 2563 สาระการพัฒนาสังคม เวลา 4 ชัว่ โมง

ครูผูส้ อน.............................................. รูปแบบการสอนพบกล่มุ /ค้นคว้าด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกย่ี วกบั ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรบั ใชใ้ นการดาเนินชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพื่อความมน่ั คงของชาติ
1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถน่ิ และ

ประเทศไทย
1.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชวี ิตตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎหมายเบอ้ื งตน้ กฎระเบียบของชุมชน

สงั คม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชุมชน สังคม

2. ตัวช้ีวัด
2.1 อธบิ ายประวัติผู้ให้กาเนิดลูกเสอื โลก
2.2 อธบิ ายความสาคัญขององค์การลูกเสือโลก

3. สาระสาคญั ของเนื้อหา
3.1 ประวตั ิผู้ให้กาเนดิ ลูกเสอื โลก
3.2 องค์การลูกเสือโลก

4. เปา้ หมายการเรียนรู้ (ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวงั )
4.1 รู้และเข้าใจเก่ยี วกับประวัติผใู้ หก้ าเนิดลูกเสือโลก

60

4.2 รู้เข้าใจเกย่ี วกบั ความสาคัญขององค์การลกู เสือโลก

5. ข้นั จดั กระบวนการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 1 กาหนดสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรู้
1) ครแู ละผู้เรียนร่วมกันกาหนดสภาพความจาเป็นท่ีต้องเรียนรใู้ นเรือ่ งต่อไปน้ี
(1) ประวตั ิผใู้ ห้กาเนิดลกู เสือโลก
(2) องค์การลูกเสอื โลก
2) ครแู ละผู้เรยี นทาความเขา้ ใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนร้ใู หผ้ ูเ้ รยี นซกั ถาม

แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เชอื่ มโยงความรใู้ หม่
3. ครใู ห้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

ขั้นท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรยี นรู้
1) ครูและผู้เรยี นรว่ มแสดงความคิดเหน็ เรื่อง การเกิดลูกเสือโลกและประวตั ิผู้ให้กาเนิดลูกเสือ

โลก
2) ครูแบ่งกลุม่ ผเู้ รยี นออกเป็น 4 กลมุ่ และให้ผูเ้ รยี นดูคลิปจาก YouTube เรือ่ ง “ประวตั ิ

การกาเนดิ ลูกเสือโลก”และ“องค์การลูกเสอื โลก” ในเว็บไซต์ YouTube

61

https://www.youtube.com/watch?v=d_ZVr7SdiKQ

3) ครใู หผ้ ู้เรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกนั อภิปรายในหวั ข้อ “ผู้เรียนไดอ้ ะไรบ้างจากการดู YouTube
เรือ่ ง ประวัตกิ ารกาเนิดลูกเสือโลก และองค์การลูกเสือโลก”

4) ครูแจกกระดาษบรู๊ฟและให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอธิบายเกี่ยวกับหัวข้อ “ทาไมถึงต้องมี

องค์การลูกเสอื โลก”พร้อมนาเสนอผลการอภปิ รายหน้าชนั้ เรียน

ขั้นท่ี 3 ปฏิบัติและนาไปประยกุ ตใ์ ช้
1) ครใู หผ้ ูเ้ รยี นศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวตั ิผใู้ หก้ าเนิดลกู เสอื โลก และใบความรทู้ ่ี 2

เรอ่ื ง องคก์ ารลูกเสอื โลก
2) หลังจากศึกษาใบความร้แู ล้ว ครูเปิดคลิปให้ผเู้ รียนดแู ละรอ้ งเพลงตาม

https://www.youtube.com/watch?v=JB5rIqlNpZc&ab_channel=BoyScoutOnline

3) ครใู ห้ผเู้ รียนทาใบงาน และทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
4) ครูมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาความรู้เพ่ิมเติมเรื่อง ลูกเสือไทย จากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น
ห้องสมดุ ประชาชน เว็บไซต์ YouTube

ขั้นที่ 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้

62

4.1 แบบทดสอบก่อนเรียน
4.2 ประเมนิ จากใบงาน
4.3 ครสู งั เกตจากการนาเสนอผู้เรยี น
4.4 บันทึกหลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.5 แบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. แบบทดสอบ
4. วีดที ศั น์
5. อนิ เตอรเ์ น็ต

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรื่อง การลูกเสอื โลก

คาช้แี จง ใหผ้ ูเ้ รยี นทาเครื่องหมาย x (กากบาท) หน้าตวั เลือกท่ีคดิ ว่าถูกตอ้ งท่ีสดุ

1. กองลูกเสือกองแรกของโลกตัง้ ขนึ้ ที่ประเทศใด
ก. ประเทศอังกฤษ
ข. ประเทศรสั เซีย
ค. ประเทศฝร่ังเศส
ง. ประเทศฮอลนั ดา

2. บรรดาลูกเสอื ท้ังปวงหมายถึงข้อใด
ก.ลูกเสือชาวบา้ น/ลกู เสือไซเบอร์
ข. ลกู เสือในโรงเรยี น/ลกู เสอื ลูกเสอื จราจรารอง/
ค. ลูกเสอื หลักสตู รพิเศษ/ลูกเสือป่าไม้/ลกู เสือสามัญ
ง. ลกู เสอื ในโรงเรียน/ลูกเสือหลักสูตรพเิ ศษ/ลูกเสือชาวบ้าน/ลูกเสอื นอกโรงเรยี น

3. ใครเปน็ ผใู้ หก้ าเนิดลูกเสือโลก
ก. ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ หรอื บ.ี พ.ี
ข. โอ บารม์ า

63

ค. เปรมเปร์
ง. ควนี วคิ ตอเรยี
4. บ.ี พ.ี ไดเ้ ขียนหนังสอื สาหรับเด็กชายเล่มแรกชื่อวา่ อะไร
ก. Girt Guide
ข. Victorian Order
ค. Aids To Scouting
ง. Scouting For Boy
5. ปี พ.ศ. ถือเป็นจดุ กาเนิดลูกเสือโลก
ก. 2440
ข. 2442
ค. 2450
ง. 2452
6. เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์จะมอบให้แก่ใคร
ก.ผู้ทเี่ ป็นลกู เสือทุกนาย
ข. ลูกเสือทชี่ ่วยส่วนรวม
ค. ลกู เสอื ท่ีเรียนหนงั สือเก่ง
ง. ผูผ้ ่านการอบรมผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสอื ช้ันสูง

7. ในช่วงวัยเดด็ บ.ี พี. มคี วามสนใจเรียนในเรื่องใด
ก. เรขาคณิต
ข. สงั คมศกึ ษา
ค. ศิลปศกึ ษา
ง. วทิ ยาศาสตร์

8. เพราะเหตใุ ด ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ จงึ ไดร้ ับฉายาว่า”อิมปชิ า”
ก.เรียนหนังสือเก่ง
ข. ชอบศึกษาวิชาเรขาคณิต
ค. ปฏบิ ตั ิหน้าทดี่ ว้ ยความเข้มแขง็
ง. มีประสบการณ์ในเร่ืองการสอดแนมในเวลากลางคืนเปน็ อย่างดี

9. องคก์ ารลูกเสือโลกมีก่อี งค์กรหลัก
ก. 2 องค์กร

64

ข. 3 องค์กร
ค. 4 องค์กร
ง. 5 องค์กร
10. สานักงานขององค์การลูกเสอื โลกต้งั อยู่ท่ีใด
ก. เคนยา
ข. อียปิ ต์
ค. อังกฤษ
ง. มาเลเซยี

----------------------------------------------------
เฉลย

1.ก 6. ง
2.ง 7. ค
3.ก 8. ง
4.ง 9. ข
5.ค 10. ง

ใบความรูท้ ่ี 1
ประวตั ผิ ใู้ หก้ าเนิดลกู เสอื โลก

ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ เปน็ ผู้ใหก้ าเนิดลูกเสือโลก มีช่อื เตม็ ว่า โรเบิร์ต สติเฟสนั สไมธ์ เบเดน โพเอลล์
เรียกย่อ ๆ วา่ บ.ี พี. (B.P.) เกดิ วนั ที่ 22 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2400 ทกี่ รงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ

65

บิดาช่ือ เอช.จี.เบเดน โพเอลล์ เป็นศาสตราจารย์ สอนวิชาเรขาคณิต และธรรมชาติศึ กษา ณ
มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด มารดาช่ือ เฮนริเอทต้า เกรซ สไมธ์ เป็นธิดาของพลเรือเอก ดับบิว.ที.สไมธ์ แห่งราช
นาวอี งั กฤษ สมรสกบั นางสาวโมลาฟ เซน็ ตแ์ คลร์ เมื่ออายุได้ 55 ปี

ชวี ิตในวัยเด็ก
เม่ือ บี.พี. อายุได้ 11-12 ปี ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาชื่อ โรสฮิลล์ ในกรุงลอนดอน
ประเทศองั กฤษ เข้าเรียนในโรงเรียนมัธยมช่ือชาเตอร์เฮาส์ กรุงลอนดอนได้ 2 ปี ต่อมาโรงเรียนได้ย้ายไปตั้งอยู่
ในชนบท ณ เมืองโกคาลมิง ในแควน้ เซอร์เรย์ มีน้าไหลผ่านและมีป่าใหญ่อยู่ติดบริเวณโรงเรียน เขามักใช้เวลา
วา่ งหลบเข้าไปใชช้ วี ติ และศกึ ษาเก่ยี วกับธรรมชาตโิ ดยลาพงั
ชีวิตในวัยเด็ก บี.พี. ได้รับความรู้พิเศษจากพลเรือเอกสไมธ์ผู้เป็นตา เกี่ยวกับการว่ายน้า เล่นสเกต ข่ี
มา้ การวัดแดดและดดู าว นอกจากน้ีเขายังชอบวาดภาพ รอ้ งเพลง แสดงละคร มีความสนใจในธรรมชาติศึกษา
ศึกษาชีวิตสัตว์ ต้นไมต้ ลอดจนความรเู้ ชงิ พราน และในวันปิดภาคมกั จะทอ่ งเทยี่ วพกั แรม ไปกับพีช่ ายอีก 3 คน
ปีสุดท้ายที่เรียนอยู่ในชาเตอร์เฮาส์ บี.พี. ได้ไปสมัครสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด 2 ครั้ง
แต่สอบไม่ได้ ในปี พ.ศ. 2419 สอบเข้าโรงเรียนนายร้อยแซนด์เฮิสต์ ได้ที่ 5 ได้รับตั้งแต่เป็นนายร้อยตรีใน
กองทพั บกขององั กฤษ และถกู สง่ ไปประจาการทปี่ ระเทศอินเดยี เมอ่ื อายุ 19 ปี

ชีวิตในการรบั ราชการทหาร

66

บี.พี.รับราชการทหารในประเทศอินเดีย ประจากองทหารม้าอุสซาร์ที่ 13 เป็นเวลา 8 ปี โดยปฏิบัติ
หน้าท่ีด้วยความเข้มแข็ง และได้รับยศร้อยเอก เม่ืออายุ 26 ปี ในระหว่างนี้มีเหตุการณ์ที่แสดงลักษณะพิเศษ
หลายอย่าง เช่นได้รับรางวัลชนะเลิศในการแข่งขันกีฬาแทงหมูป่า ขณะอยู่บนหลังม้าโดยใช้หอกสั้น เมื่อ พ.ศ.
2426 และขณะที่มียศเป็นร้อยตรี ได้รับเงนิ เดือนน้อยมาก เพยี งปลี ะ 120 ปอนด์ จึงดาเนินชีวิตอย่างประหยัด
คอื งดสบู บหุ ร่ี ดื่มสุราแต่นอ้ ย หารายได้พิเศษโดยการเขียนเร่ืองและเขียนภาพลงหนงั สือพิมพ์

ชวี ิตราชการทหารของท่านส่วนใหญ่อยูใ่ นประเทศอนิ เดยี และแอฟริกา มีสิ่งที่ประทับใจ ท่ีเกีย่ วกบั
กิจการลูกเสือหลายครัง้ เช่น

ครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2431 ได้ไปปราบชนเผ่าซูลู ซึง่ มีหวั หนา้ ชื่อ ดินีส ซูลู ในแอฟริกาใตส้ าเร็จ จาก
ประสบการณน์ ี้ไดร้ ับความรู้ ซ่ึงต่อมาได้นามาใช้ในกิจการลูกเสือคือ บทเพลงอนิ กอนยามา

สร้อยคอของดนิ ิส ซลู ู ทาด้วยไมแ้ กะเปน็ ท่อนเล็กๆ ซึง่ ต่อมา บี.พ.ี ได้นามาเปน็ บดี เคร่ืองหมายวูด
แบดจ์ สาหรับผูท้ ผ่ี ่านการอบรมผู้บงั คับบัญชาลกู เสือขนั้ ความรู้ชน้ั สงู

คร้ังที่ 2 พ.ศ.2432 ทเ่ี กาะมอลต้า บ.ี พี.ไดร้ บั แตง่ ตั้งเป็นผชู้ ่วยทูตทหาร ทาหนา้ ท่เี ปน็ ทหารสบื ราชการ
ลับ

ครั้งท่ี 3 พ.ศ. 2438 ทาการรบกบั เผ่าอาซันติ ซงึ่ มีกษัตริยช์ ื่อวา่ คิงเปรมเปห์ และได้รบั ชัยชนะ
เหตกุ ารณ์ครั้งน้ี บ.ี พี. ไดป้ ระสบการณด์ ังต่อไปนี้

1) การบกุ เบิก เช่นการโคน่ ต้นไม้ การทาสะพาน การสรา้ งค่ายพัก
2) ทดลองการแต่งกายของตนเอง ใชห้ มวกปีกแบบโคบาล จนได้รบั ฉายาจากพวกพ้นื เมืองวา่
คมั ตะไค แปลวา่ คนสวมหมวกปกี กวา้ ง
3) ประเพณีการจบั มือซ้าย จากการแสดงความเปน็ มิตรของคนพ้ืนเมือง
ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2439 พวกมาตาบิลี ซึ่งเป็นเผ่าหน่ึงของซูลู เดิมอยู่ในทรานสวาล และถูกพวกบัวรข์ ับไล่
จงึ อพยพไปอยู่ในมาติบิลีแลนด์ (ปัจจุบันเรียกโรดิเซีย) พวกมาตาบิลีก่อการกบฏ รัฐบาลอังกฤษจึงส่ังทหารไป
ปราบ บี.พี. ได้ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเข้มแข็งและได้รับประสบการณ์เรื่องการสอดแนม โดยเฉพาะการ
ปฏิบัติงานตอนกลางคืน เลยได้รับฉายาว่า ” อมิ ปีซา่ ” แปลวา่ หมาป่าไมเ่ คยนอนหลบั
ครั้งท่ี 5 พ.ศ. 2442 เหตุการณ์ท่ีเมืองมาฟอีคิง หลังจากบี.พี. ได้กลับจากการปฏิบัติงานที่อินเดีย 2 ปี
บี.พี. ไดร้ ับคาสง่ั ด่วนให้เดินทางไปแอฟริกา เพื่อหาทางป้องกนั การรุกรานของพวกบวั ร์ (ชาวดทั ซท์ ี่อพยพไปอยู่
ในแอฟริกาใต้) ในทรานสวาลและออเรน้ จ์ทรีสเตท ซ่ึงจะตั้งตนเป็นเอกราช บี.พี. ได้นากองทหารไปรักษาเมือง
มาฟอีคิง ซ่ึงถูกล้อมโดยกองทหารบัวรไ์ ว้ได้ 217 วนั จึงมีกองทัพใหญ่ยกไปช่วยและทาให้พวกบัวร์ต้องล่าถอย
ไป
ในการป้องกันเมืองมาฟอีคิง บี.พี. ได้ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเข้มแข็ง อดทน ร่าเริง ไม่ย่อท้อ ใช้
สติปัญญาหาวิธีแก้ปัญหา ทากลอุบายลวงข้าศึกให้เข้าใจผิด คิดว่ามีกาลังทหารมากมาย และมีการป้องกัน
รกั ษาเมอื งอยา่ งเข้มแขง็ ตลอดจนใช้เดก็ อาสาสมัครทไ่ี ด้รบั การอบรมแลว้ ปฏิบัติหน้าที่สง่ ขา่ ว ปรากฎวา่ ทางาน
ได้ผลดี ทาให้ บี.พี. มีความประทับใจในตัวเด็กและเห็นว่า ถ้าใช้เด็กให้ถูกทางแล้ว จะเกิดประโยชน์แก่

67

ประเทศชาติอย่างมาก จึงได้ริเริ่มการลูกเสือในเวลาต่อมา จากเหตุการณืท่ีเมืองมาฟอีคิง ทาให้ บี.พี. ได้รับ
ฉายาวา่ “ผู้ปอ้ งกันมาฟอคี ิง”

การกาเนิดลกู เสอื

บี.พี. เดินทางกลับอังกฤษในฐานะวีรบุรุษ และได้รับเกียรติอย่างมาก เนื่องจากได้รับประสบการณ์จาก

เมืองมาฟอีคิง ซึ่งได้จัดให้เด็กๆ มาช่วยเหลือในการรักษาเมืองเช่น ทาหน้าที่เป็นผู้สื่อข่าวและสอดแนมของ

กองทัพรักษาความสงบภายใน รับใช้งานต่างๆเช่น อยู่ยามบนหอคอยให้สัญญาณแก่ประชาชนเมื่อพวกบัวร์

โจมตี เด็กเหล่าน้ีทาหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเข้มแข็ง ว่องไว ได้ผลดีไม่แพ้ผู้ใหญ่ ดังน้ัน บี.พี.จึงคิดต้ัง

ขบวนการลกู เสือขน้ึ

จากประสบการณ์ของท่านเมื่ออยู่ท่ีอินเดีย แอฟริกา อยู่กับพวกซูลูและคนพ้ืนเมืองเผ่าอ่ืนๆ ทาให้ บี.พี.

ได้รับการพัฒนาความคิดมาเป็นขบวนการลูกเสืออย่างรอบคอบ โดยในปี พ.ศ. 2450 บี.พี. ได้รวบรวมเด็ก

20 คน ให้ไปอยู่ที่เกาะบราวน์ซี ในช่องแคบอังกฤษ นับเป็นการพักแรมของลูกเสือครั้งแรกของโลก ในปีต่อมา

กองลูกเสอื ได้เร่ิมก่อตง้ั ขน้ึ อย่างจรงิ จังเปน็ ครั้งแรกในอังกฤษ และขยายตวั แพร่หลายอยา่ งรวดเร็ว

พ.ศ. 2451 ลอร์ด บาเดน เพาเวลล์ ได้แตง่ หนงั สือคู่มือการฝึกอบรมลูกเสือขน้ึ มาเลม่ หนึ่ง มีชอ่ื วา่

Scouting For Boys และคาว่า “Scout” จึงใช้เป็นคาเรยี กผทู้ ีเ่ ปน็ ลูกเสือซึง่ มีความหมายมาจาก

S ยอ่ มาจาก Sincerity แปลว่า ความจรงิ ใจ

C ย่อมาจาก Courtesy แปลว่า ความสภุ าพอ่อนโยน

O ย่อมาจาก Obedience แปลวา่ การเชื่อฟงั

U ยอ่ มาจาก Unity แปลวา่ ความเป็นใจเดียวกนั

T ยอ่ มาจาก Thrifty แปลวา่ ความประหยดั

ขบวนการลูกเสือได้เจรญิ ขน้ึ ตามลาดับ ทาให้ บี.พ.ี มองเหน็ การณไ์ กล ลกู เสอื จะเปน็ งานสาคญั ในชีวิต

ซึง่ จะทาประโยชนใ์ ห้แกบ่ า้ นเมอื งได้มาก โดยการอบรมเด็กๆร่นุ หลังใหเ้ ปน็ พลเมืองดีของชาติ บ.ี พี. จงึ ลาออก

จากราชการทหาร ชวี ิตตอนนี้จึงเรียกวา่ ชีวติ ท่ีสอง ซง่ึ เป็นชีวติ ที่ใหบ้ ริการแก่ลูกเสือท่ัวโลก พ.ศ. 2454 บี.พ.ี

เดนิ ทางรอบโลก เพ่อื พบลูกเสือประเทศต่างๆ เปน็ การตั้งต้นของการลกู เสอื ทีจ่ ะเสริมความเป็นพีน่ ้องลกู เสือ

ทว่ั โลก

68

พ.ศ. 2463 ลูกเสือประเทศต่างๆทั่วโลกพบกันท่ีกรุงลอนดอน เพ่ือร่วมชุมนุมลูกเสือโลกครั้งแรก ใน
การชุมนุมคร้ังน้ี ลูกเสือทังหลายได้พร้อมใจกนั ประกาศให้ บี.พี. อยู่ในตาแหน่งประมุขคณะลูกเสือโลก เม่ือการ
ลูกเสือมีอายุครบ 21 ปี ซ่ึงเป็นการบรรลุ “นิติภาวะ” ตามกฎหมายอังกฤษและมีลูกเสือท่ัวโลกถึง 2 ล้าน
เศษ พระเจ้ายอร์ชที่ 5 ได้พระราชทานบรรดาศักด์ิให้ บี.พี. เป็นบารอน ต่อจากน้ันกิจการลูกเสือก็
เจริญก้าวหน้าโดยไม่หยุดยั้ง และมีการชุมนุมลกู เสือโลกข้ึนอกี หลายครัง้ เมื่อ บี.พี. มีอายุ 80 ปี กาลงั เริ่มลดลง
จึงกลับไปอยู่แอฟริกาอีกครั้งหนึ่งเพื่อพักผ่อนในช่วงสุดท้ายของชีวิต โดยพักอยู่ท่ีประเทศเคนยา และถึงแก่
กรรมท่ีนัน่ เมอ่ื วันท่ี 8 มกราคม พ.ศ.2484

ใบความรู้ที่ 2
เร่ือง องค์การลูกเสอื โลก

องค์การลูกเสือโลก เป็นองค์การนานาชาติท่ีไม่ใช่องค์การรัฐบาลใด เป็นองค์การอาสาสมัคร ท่ีมี
ความสาคัญในการทาหน้าท่ีรักษาและดารงไว้ซงึ่ ความเป็นเอกภาพของขบวนการลกู เสือแห่งโลก และทาหนา้ ที่
ส่งเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลก ให้มีการพัฒนาและก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องตลอดไป โดยมีธรรมนูญลูกเสือโลก
เปน็ กฎหมายสาหรบั ยดึ ถือปฏิบตั กิ ารในการดาเนนิ กิจการลูกเสอื ทั่วโลก

องค์การลกู เสือโลก ประกอบดว้ ย 3 องค์การหลัก คอื
1. สมัชชาลูกเสือโลก คือ ท่ีประชุมใหญ่ ประกอบด้วย ผู้แทนของประเทศสมาชิก ทุกประเทศมาร่วม
ประชุมกันทุก ๆ 3 ปีต่อคร้ัง ยกเว้นแต่ว่าปีใดที่สถานการณ์ของโลก มีความวุ่นวาย และมีเรื่องร้ายแรงเกิดข้ึน
หรือสถานการณ์ไม่อานวย ไม่สามารถจะจัดให้มีการประชุมสมัชชาลูกเสือโลกได้ ก็จะเว้นการประชุมเฉพาะปี
นน้ั ๆ เชน่ ในปี พ.ศ. 2484 ไม่ไดม้ กี ารประชมุ สมัชชาลูกเสือโลกตามกาหนด เนอื่ งจาก บี.พ.ี ผใู้ ห้กาเนิดลกู เสือ
โลกถึงแก่อนิจกรรม คณะลูกเสือทั่วโลกมีการไว้ทุกข์ ไว้อาลัย ให้แก่การล่วงลับของ บี.พี. และในช่วงเวลา
ระหว่างปี พ.ศ. 2484 – 2489 เป็นช่วงที่สถานการณ์ของโลก อยู่ในภาวะคับขัน และมีสงครามโลก ครั้งท่ี 2
เกดิ ขึ้น จึงไมไ่ ดจ้ ัดการประชมุ สมัชชาลูกเสือโลกขึ้นในชว่ งเวลาดงั กล่าว
2. คณะกรรมการลูกเสือโลก คือ คณะกรรมการท่ีบริหารองค์การลกู เสอื โลก มีจานวนท้ังหมด 12 คน
ซึ่งได้รับเลือกตั้งในที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ตามวิธีการ เงื่อนไข และบทบัญญัติท่ีกาหนดไว้ในธรรมนูญ
ลกู เสือโลก
3. สานักงานลูกเสือโลก คือ สานักงานเลขาธิการลูกเสือโลก มีเลขาธิการสานักงานลูกเสือโลก เป็น
ผู้บังคับบัญชา ทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานดาเนินงานการ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์การลูกเสือ

69

ของประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิกทั่วโลก เพ่ือรักษาและดารงไว้ซ่ึงความเป็นเอกภาพของขบวนการลูกเสือแห่ง
โลก ให้อย่ไู ดอ้ ยา่ งสถาพร มัน่ คงตลอดไป

ปจั จุบันองค์การลูกเสือโลก มีสมาชิกกวา่ 40 ล้านคน ใน 169 ประเทศ มสี านกั งานใหญ่ ตัง้ อยู่ท่ีกรุง
กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และยงั มสี านักงานลกู เสือภาคพน้ื อยู่ในภูมภิ าคทั่วโลก อีก 6 แห่ง คือ

1. สานกั งานลกู เสือภาคพน้ื แอฟริกา สานกั งานใหญ่ ต้ังอยู่ท่ี กรงุ ไนโรบี ประเทศเคนยา
2. สานักงานลูกเสือภาคพื้นอาหรับ สานักงานใหญ่ ตัง้ อยทู่ ี่ กรงุ ไคโร ประเทศอียิปต์
3. สานักงานลูกเสือภาคพ้นื เอเชยี -แปซฟิ กิ สานักงานใหญ่ต้ังอยู่ท่ี กรงุ มาคาติ ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์
4. สานกั งานลูกเสอื ภาคพ้ืนยเู รเชีย สานกั งานใหญ่ ตง้ั อยู่ที่ กรงุ เครฟ สาธารณรฐั ยเู ครน
5. สานักงานลกู เสือภาคพน้ื ยุโรป สานักงานใหญ่ ตงั้ อยู่ท่ี กรุงเจนวี า ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และมี
สานักงานสาขาต้ังอยู่ที่กรงุ บรัสเซลส์ ประเทศเบลเย่ียม
6. สานักงานลูกเสือภาคพน้ื อินเตอรอ์ เมริกา สานักงานใหญ่ตั้งอยูท่ ่ี กรุงปานามาซิต้ี ประเทศปานามา

ใบงาน ความหมาย
คาชีแ้ จง ให้ผู้เรยี นอธิบายความหมายของคาว่า SCOUT มาพอสงั เขป

อักษร ย่อมาจาก

70

ชอื่ - สกุล................................................................. กศน.ตาบล....................................

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอ่ื ง การลกู เสอื โลก
คาชแ้ี จง ใหผ้ เู้ รียนทาเครอ่ื งหมาย x (กากบาท) หนา้ ตัวเลอื กท่ีคิดวา่ ถูกตอ้ งทีส่ ุด
1. กองลูกเสือกองแรกของโลกตั้งข้นึ ทป่ี ระเทศใด
ก. ประเทศอังกฤษ
ข. ประเทศรัสเซีย
ค. ประเทศฝรั่งเศส
ง. ประเทศฮอลันดา
2. บรรดาลูกเสือทง้ั ปวงหมายถงึ ข้อใด
ก.ลูกเสอื ชาวบ้าน/ลูกเสือไซเบอร์
ข. ลูกเสือในโรงเรยี น/ลูกเสอื ลูกเสอื จราจรารอง/
ค. ลูกเสือหลกั สตู รพเิ ศษ/ลูกเสอื ปา่ ไม/้ ลูกเสอื สามญั
ง. ลูกเสอื ในโรงเรียน/ลูกเสือหลกั สูตรพิเศษ/ลกู เสอื ชาวบ้าน/ลกู เสอื นอกโรงเรียน
3. ใครเปน็ ผู้ให้กาเนิดลูกเสอื โลก
ก. ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ หรอื บ.ี พี.

71

ข. โอ บารม์ า
ค. เปรมเปร์
ง. ควีน วิคตอเรยี
4. บ.ี พ.ี ไดเ้ ขียนหนังสือสาหรับเด็กชายเล่มแรกชื่อวา่ อะไร
ก. Girt Guide
ข. Victorian Order
ค. Aids To Scouting
ง. Scouting For Boy
5. ปี พ.ศ. ถอื เปน็ จุดกาเนิดลกู เสอื โลก
ก. 2440
ข. 2442
ค. 2450
ง. 2452
6. เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์จะมอบใหแ้ กใ่ คร
ก.ผทู้ ี่เปน็ ลกู เสอื ทุกนาย
ข. ลูกเสือท่ีชว่ ยส่วนรวม
ค. ลกู เสอื ท่เี รยี นหนังสือเกง่
ง. ผู้ผา่ นการอบรมผู้บงั คับบัญชาลกู เสือชน้ั สงู

7. ในช่วงวัยเดด็ บ.ี พ.ี มคี วามสนใจเรียนในเร่อื งใด
ก. เรขาคณิต
ข. สังคมศกึ ษา
ค. ศิลปศกึ ษา
ง. วิทยาศาสตร์

8. เพราะเหตใุ ด ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ จึงได้รับฉายาวา่ ”อิมปชิ า”
ก.เรยี นหนังสือเก่ง
ข. ชอบศึกษาวชิ าเรขาคณิต
ค. ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ดว้ ยความเข้มแข็ง
ง. มีประสบการณ์ในเร่อื งการสอดแนมในเวลากลางคนื เป็นอยา่ งดี

9. องคก์ ารลูกเสอื โลกมีกี่องค์กรหลัก
ก. 2 องค์กร

72

ข. 3 องค์กร
ค. 4 องค์กร
ง. 5 องค์กร
10. สานักงานขององค์การลูกเสือโลกต้ังอยู่ท่ีใด
ก. เคนยา
ข. อียปิ ต์
ค. อังกฤษ
ง. มาเลเซีย

----------------------------------------------------
เฉลย

1.ก 6. ง
2.ง 7. ค
3.ก 8. ง
4.ง 9. ข
5.ค 10. ง

บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาท่ีพบ

73

......................................................................................................... .....................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................. ............................................................................................
วธิ ีแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงช่อื ..................................................ผบู้ นั ทกึ
(..................................................)
วันที.่ ...........................................

ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหาร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................ ..................................

ลงชอื่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ

รายวิชา ลกู เสือ กศน. แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 ระดบั ประถมศกึ ษา
เรอ่ื ง คณุ ธรรม จริยธรรมของลูกเสือ
รหสั วชิ า สค12025

74

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 สาระการพฒั นาสังคม เวลา 4 ชวั่ โมง

ครูผสู้ อน........................................................ รูปแบบการสอนพบกลุ่ม/ค้นควา้ ด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกย่ี วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต และการประกอบอาชพี เพือ่ ความมัน่ คงของชาติ
1.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณขี องท้องถน่ิ และ

ประเทศไทย
1.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนนิ ชวี ิตตามวิถปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบื้องตน้ กฎระเบียบของชุมชน

สังคม และประเทศ
1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพัฒนาชุมชน สงั คม และวิเคราะห์ข้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครวั ชมุ ชน สังคม

2. ตวั ชี้วัด
2.1 อธบิ ายคาปฏญิ าณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสอื
2.2 อธบิ ายคณุ ธรรม จริยธรรมจากคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ

3. สาระสาคัญของเนอ้ื หา
3.1 คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือ
3.2 คณุ ธรรม จริยธรรมจากคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ

4. เปา้ หมายการเรียนรู้ (ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวัง)
4.1 บอกความหมายของคาปฏญิ าณ กฎ และคติพจนข์ องลูกเสือได้
4.2. อธิบายคุณธรรม จริยธรรมจากคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสือได้

5. ขัน้ จดั กระบวนการเรยี นรู้
ขั้นที่ 1 กาหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรียนรู้
1) ครแู ละผเู้ รียนร่วมกนั กาหนดสภาพความจาเป็นท่ีต้องเรียนรู้ในเรอ่ื งต่อไปน้ี
(1) ความหมาย ความสาคัญ
(2) หลักการ กระบวนการจัดการความรู้
(3) การรวมกลมุ่ เพ่ือต่อยอดความรู้
(4) การจดั ทาสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้
2) ครแู ละผเู้ รยี นทาความเข้าใจสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรใู้ ห้ผู้เรียนซักถาม

75

แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เชื่อมโยงความรู้ใหม่
3. ครูให้ผเู้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น

ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้
1) ครูและผู้เรียนรว่ มแสดงความคดิ เห็นเรื่อง ความหมายของการจัดการเรยี นรู้วิชาลูกเสอื

กศน. ประเภทของความรู้วิชาลกู เสือ กศน. ความสาคญั ของการจดั การเรยี นรู้วิชาลกู เสอื กศน. หลกั การของ
การจดั การความรู้วิชาลกู เสือ กศน.

2) ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียนโดยถามผู้เรยี นว่า นักศึกษาเคยท่องคาปฏิญาณลกู เสือหรือไม่ เคย
เรยี นผา่ นมาหรือเปล่า ร้หู รือไม่กฎของลกู เสือมกี ่ีขอ้ และให้นกั ศึกษา ศึกษาใบความรู้ไปพร้อมกบั ครสู อน ใน
ใบความรู้ เร่ืองที่คาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จนข์ องลูกเสอื

3) ครูให้นกั ศกึ ษาคลปิ วดี โี อ เร่ือง กฎ และคาปฏญิ าณของลูกเสือ จาก YouTube และฝกึ
ท่องคาปฏญิ าณ คติพจน์ และเรียนรคู้ วามหมายของคาปฏญิ าณ คติพจนข์ องลกู เสือ

https://www.youtube.com/watch?v=Z86k7L5qqC8

4) ครแู บง่ กลุ่มผเู้ รียนเปน็ 2 กลมุ่ และมอบหมายให้ศึกษาความรจู้ ากใบความรู้ เรอ่ื ง
คณุ ธรรม จริยธรรมจากคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ และสรปุ เป็น Mind mapping ลงกระดาษบรฟู๊ /สรุป
ลงกระดาษA4 (ในกรณเี รียนออนไลน์ แลว้ ถา่ ยรปู สง่ ครู)

ข้นั ท่ี 3 ปฏิบตั ิและนาไปประยุกตใ์ ช้
1) ผเู้ รยี นทอ่ งคาปฏญิ าณ คตพิ จนข์ องลูกเสือ โดยจบั คู่กับเพอ่ื นและสลบั กนั ท่องให้ครูฟัง
2) ผเู้ รียน 2 กลุม่ นาเสนอ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ทีเ่ ขียนเป็น Mind mapping เรือ่ ง

คณุ ธรรม จรยิ ธรรมจากคาปฏิญาณและกฎของลกู เสือ
3) ครูให้ผู้เรียนทาใบงานลกู เสือชุดท่ี 1 และใบงานลูกเสือชุดท่ี 2
3) ครแู ละผ้เู รยี นสรปุ เน้ือหาที่นาเสนอรว่ มกนั ครสู ุ่มถามผู้เรยี นเป็นรายบุคคลถงึ ความหมาย

คาปฏิญาณของลูกเสอื กฎของลูกเสอื และคติพจนข์ องลกู เสอื

76

ขนั้ ที่ 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้
1) ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2) ประเมินจากใบงาน
3) ประเมนิ จากการปฏิบัตกิ จิ กรรม
4) บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5) ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

ส่อื การเรียนรู้
1. ชดุ วิชาลูกเสือ กศน. รหัสรายวชิ า สค12025
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
4. คลปิ วดี โี อ
4. แบบทดสอบกอ่ น/หลงั เรยี น
5. ส่ือเสริมการเรียนรู้อนื่ ๆ

77

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

เรือ่ ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของลกู เสือ
คาชแ้ี จง : จงกากบาท X เลือกข้อท่ีทา่ นคดิ ว่าถูกต้องทส่ี ุด
1. ข้อใดไมใ่ ช่คาปฏญิ าณของลูกเสือ

ก. ขา้ จะชว่ ยเหลือผอู้ ื่นทุกเมื่อ
ข. ขา้ จะปฏิบัตติ ามกฎของลูกเสือ
ค. ข้าจะประพฤติชอบดว้ ยกาย วาจาใจ
ง. ขา้ จะจงรักภกั ดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์
2. กฎของลกู เสอื ขอ้ ใดท่ีสามารถนามาใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้
ก. ลกู เสือมีความเมตตา กรณุ าต่อสัตว์
ข. ลูกเสือเป็นผสู้ ภุ าพเรียบรอ้ ย
ค. ลูกเสือเป็นผมู้ ัธยัสถ์
ง. ถูกทุกขอ้
3. คติพจน์ของลูกเสือท่เี ป็นการแสดงออกของความเปน็ ผ้มู ีจิตอาสา หมายถงึ ข้อใด
ก. บรกิ าร
ข. มองไกล
ค. ทาดที ่สี ดุ
ง. จงเตรยี มพรอ้ ม
4. คตพิ จนข์ องลกู เสือวิสามัญ คือข้อใด
ก. บรกิ าร

78

ข. มองไกล
ค. ทาดที ่ีสุด
ง. จงเตรยี มพรอ้ ม
5. คาปฏิญาณหมายถึงอะไร
ก. คาวิงวอนขอร้อง
ข. คามั่นสัญญา
ค. คาประกาศ
ง. คาสัตย์สาบาน
6. คุณธรรม หมายถึง
ก. สิง่ ทมี่ ีคณุ ค่า มปี ระโยชน์ เปน็ ความดีงาม
ข. ธรรมท่ีเป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
ค. กฎศีลธรรม
ง. ศีลธรรม

7. คากล่าว "ด้วยเกียรติของข้า" มคี วามหมายบง่ บอกถึงอะไร
ก. ลูกเสือมีเกียรติเช่ือถือได้
ข. ลูกเสือทุกคนเป็นคนดี
ค. อยากมีเกียรติต้องเป็นลูกเสือ
ง. ทุกคนควรเช่ือฟังลูกเสือ

8. ทาไมลกู เสือจึงควรเชื่อฟังคาสงั่ ของผูบ้ ังคับบญั ชา
ก. เพอ่ื ให้คนทว่ั ไปยกย่องลูกเสอื
ข. เพอื่ สรา้ งวินยั และความเป็นระเบยี บ
ค. เพอ่ื ทาใหไ้ ด้คะแนนความประพฤตมิ ากข้นึ
ง. เพ่ือความเป็นคนออ่ นน้อม เน่อื งจากมอี ายุมากกวา่

9. คากล่าวข้อใดสอดคลัองกับกฎข้อ 8
ก. เลิกชีวิตวุ่นวายในทุกที่
ข. ต้องมั่นใจย้ิมได้เมื่อภัยมา
ค. สู้ตรงน้ี สู้ที่น้ี สู้จนตาย
ง. เรารบจนสุดใจ ขาดด้ิน

10. ลกู เสือสมปอง ใช้จ่ายเฉพาะส่ิงท่จี าเปน็ แสดงว่าลกู เสือสมปองปฏบิ ัติตามกฎข้อใดของลูกเสือสามัญ
ก. กระทาตนให้เป็นประโยชน์

79

ข. มีความเมตตากรุณาต่อสัตว์
ค. มีเกียรติเช่ือถือได้
ง. เป็นผู้มัธยัสถ์

เฉลย 1) ค 2) ข 3) ก 4) ก 5) ข 6) ก 7) ก 8) ข 9) ข 10) ง

ชอ่ื .......................................นามสกุล................................................ระดับ..............................

ใบความรู้
เรื่องคาปฏิญาณ กฎ และคตพิ จนข์ องลกู เสอื

80

เร่ืองที่ 1 คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลกู เสือ

การอย่รู ว่ มกนั ในสงั คม จาเป็นต้องอาศัย กฎ ระเบียบ เพ่ือเป็นรากฐานในการ ดาเนินชีวติ ให้เปน็
ปกตสิ ขุ ของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ ทจ่ี ะอยูร่ ่วมกันด้วยความ ผาสุก และยง่ั ยืน

ความหมายคาปฏญิ าณของลกู เสอื
คาปฏญิ าณของลกู เสือ คือ คามั่นสัญญาทีล่ ูกเสือทุกคนต้องให้ไวแ้ กผ่ บู้ ังคับบญั ชา เปน็ ถ้อยคา
ทีก่ ล่าวออกมาด้วยความจรงิ ใจและสมคั รใจ คากลา่ วน้สี าคัญอย่างย่ิงในชวี ติ การเปน็ ลกู เสือ
เม่อื กลา่ วแล้วต้องปฏิบัตติ ามใหไ้ ด้ เป็นการส่งเสริมให้ลูกเสือรกั เกยี รตขิ องตน เพ่ือความเป็น
พลเมอื งดีของชาติ โดยอาศยั คาปฏิญาณเปน็ อดุ มการณน์ าไปปฏบิ ตั ิในชีวติ ได้

ขอ้ 1 ข้าจะจงรักภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
ชาติ ประกอบด้วย แผ่นดนิ นา่ นน้า และประชาชนพลเมอื งที่อยรู่ วมกนั โดยมี กฎหมาย

ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเปน็ หลักปฏบิ ตั ิ ลกู เสอื ทกุ คนต้องประพฤติ ปฏบิ ัตติ น
ใหเ้ ปน็ พลเมืองดีของชาติ

ศาสนา ทกุ ศาสนามีความมงุ่ หมายเดียวกนั คอื สอนใหท้ กุ คนเป็นคนดี ละเวน้ ความช่ัว ให้
กระทา

แต่ความดี ลกู เสือทกุ คนต้องมีศาสนา ลูกเสือจะนับถือศาสนาใด ๆ กไ็ ด้
พระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมขุ ของคณะลูกเสือแห่งชาติลกู เสือทกุ คน ต้องปฏิบัติตน

ตามรอยพระยุคลบาท

ขอ้ 2 ข้าจะช่วยเหลอื ผู้อนื่ ทุกเมอ่ื
ลูกเสอื ทุกคนเปน็ ผมู้ จี ิตอาสา ไม่นิ่งดูดาย เอาใจใสผ่ ้อู ่ืน มคี วามพร้อมท่จี ะเสยี สละ

เพ่ือสว่ นรวมทกุ โอกาสท่ีพึงกระทาได้ ซึ่งเป็นส่งิ หนึง่ ทีท่ าให้ลกู เสอื เป็นผูม้ เี กยี รติ และได้รับการ
ยกยอ่ งชน่ื ชมจากประชาชนท่ัวไป

81

ข้อ 3 ข้าจะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสือ
กฎของลกู เสอื เปรียบเสมอื นศีลของลูกเสอื ท่ีเป็นหลักยึดเหนี่ยวใหป้ ระพฤติ ปฏิบัตใิ นส่งิ

ดงี าม
ความหมายกฎของลูกเสอื กฎของลูกเสือ หมายถงึ ข้อปฏิบัตทิ ลี่ ูกเสือต้องยึดเป็นแนวทาง
การประพฤติ ปฏบิ ตั ติ น ในชีวติ ประจาวนั กฎของลูกเสอื มี 10 ข้อ ดังน้ี

82

ความหมายคตพิ จนข์ องลูกเสอื
คตพิ จน์ทัว่ ไปของลูกเสอื
เสียชีพอยา่ เสยี สตั ย์ หมายความว่า ให้ลกู เสอื รักษาความซ่อื สัตย์มีสจั จะย่ิงชีวิต
จะไมล่ ะความสตั ย์ถึงแม้จะถูกบบี บงั คับจนเป็นอนั ตรายถงึ กับชีวติ กต็ าม
ก็ไมย่ อมเสียสจั จะ เพอ่ื เกียรตภิ มู แิ หง่ ตน

คตพิ จน์ของลกู เสอื แตล่ ะประเภท
ลกู เสอื สารอง “ทาดีที่สดุ ”
ลูกเสือสามญั “จงเตรียมพรอ้ ม”
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ “มองไกล”
ลูกเสือวสิ ามญั “บรกิ าร”

ความหมายคตพิ จนข์ องลูกเสือ
คติพจนข์ องลูกเสอื ประกอบด้วย 4 คตพิ จนเ์ รียงลาดับตามความงา่ ยยาก
ของการปฏิบัติ
ทาดีที่สดุ หมายความว่า ปฏบิ ัตหิ น้าท่ขี องตนอย่ใู ห้ดที ส่ี ุด
จงเตรยี มพร้อม หมายความว่า เตรียมความพรอ้ มทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ท่ีรบั ผิดชอบ
มองไกล หมายความว่า การมองให้กว้างและไกล ฉลาดท่ีจะมองเหน็ ความจริง
ของสิ่งต่าง ๆ ว่าผลจากการกระทาภารกิจของตน อาจสง่ ผลกระทบถงึ ภารกิจอื่น
บคุ คลอนื่
บรกิ าร หมายความว่า การกระทาดว้ ยความตัง้ ใจทจี่ ะให้ผูอ้ น่ื มีความสะดวก
หรือลดปญั หา หรือความทุกขห์ วงั เพียงใหผ้ รู้ บั บรกิ ารไดร้ ับส่งิ ท่ีเหมาะสมท่ีสุดเสมอ
โดยไมห่ วงั รางวลั หรือสงิ่ ตอบแทนใด ๆ

83

ใบความรู้ เร่อื ง คุณธรรม จรยิ ธรรมจากคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ

กระบวนการลูกเสือ เปน็ กจิ กรรมยึดหลกั ที่วา่ “ลูกเสือเป็นมิตรกบั ทุกคนท่ัวโลก” การอบรมบม่ นสิ ยั
ลกู เสอื ให้เป็นพลเมืองดตี ามจารตี ประเพณบี ้านเมืองและอุดมคติ ซ่งึ กาหนดวตั ถุประสงคไ์ ว้ 5 ประการ คือ

1. ให้มนี สิ ัยในการสงั เกต จดจา เชอ่ื ฟงั และพงึ่ ตนเอง
2. ใหซ้ ่ือสัตยส์ จุ รติ มีระเบยี บวินยั และเหน็ อกเห็นใจผู้อนื่
3. ให้รู้จกั บาเพ็ญตนเพ่ือสาธารณะประโยชน์
4. ใหร้ ้จู ักทาการฝมี ือ
5. ใหม้ ีการพัฒนาทางกาย จติ ใจ และศีลธรรม ท้ังน้ี โดยไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับลทั ธิ การเมืองใด ๆ

คุณธรรมจรยิ ธรรม จากคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ
การประพฤติ ปฏิบตั ติ น ใหเ้ ป็นพลเมืองดี พร้อมทจ่ี ะนาความสขุ ความเจรญิ ความม่ันคงมาสู่บคุ คล
สังคม และประเทศชาติ ดังน้ี
1. ความจงรกั ภกั ดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์บุคคลสามารถปฏิบตั ิตนให้มีความซ่ือสตั ยต์ อ่ ชาติ
รักและหวงแหน ยอมเสียสละเลือดเนือ้ และชวี ติ เพ่ือให้ชาตเิ ปน็ เอกราชสบื ไป อกี ทัง้ ทานบุ ารุงศาสนาใหม้ ัน่ คง
สถาพรสบื ไปและปฏบิ ัตติ นตามรอยพระยคุ ลบาท แห่งองค์พระมหากษัตรยิ ์ ผทู้ รงบาบัดทุกขบ์ ารุงสขุ ใหแ้ ก่
ราษฎรด้วยความเสียสละ
2. ความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี บุคคลสามารถปฏิบัติกิจการงานของตนเอง และที่ไดร้ ับมอบหมายดว้ ย
ความมานะพยายาม อุทิศกาลงั กาย กาลังใจอยา่ งเต็มความสามารถ ไม่เหน็ แก่ความเหน็ดเหนื่อย
3. ความมีระเบียบวนิ ยั บคุ คลสามารถเป็นทงั้ ผู้รูแ้ ละปฏิบตั ิตามแบบแผนที่ตนเอง ครอบครวั และ
สังคม กาหนดไว้ โดยจะปฏเิ สธกฎเกณฑห์ รือกติกาตา่ ง ๆ ของสงั คมไม่ได้
4. ความซอื่ สัตยบ์ คุ คลสามารถปฏิบัติตนทางกาย วาจา จิตใจ ทต่ี รงไปตรงมา ไม่แสดงความคดโกง
ไมห่ ลอกลวง ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ่ืน ลั่นวาจาว่าจะทางานสิง่ ใดก็ตอ้ งทาให้สาเร็จ
5. ความเสียสละ บุคคลสามารถปฏิบัติตนโดยการอุทิศกาลังกาย กาลงั ทรัพย์ กาลงั ปัญญา เพ่ือ
ชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนและสังคมดว้ ยความต้ังใจจรงิ มเี จตนาท่ีบริสุทธิ์ เปน็ ที่รกั ใคร่ ไว้วางใจ เปน็ ที่ยกยอ่ งของสงั คม

84
6. ความอดทน บุคคลสามารถปฏิบัตติ นเป็นผู้ทมี่ จี ติ ใจเข้มแข็ง ไม่ทอ้ ถอยตอ่ อุปสรรคใด ๆ มุ่งมน่ั ที่
จะทางานให้บังเกิดผลดโี ดยไม่ให้ผอู้ ืน่ เดือดร้อน มีความอดทนต่อความ ยากลาบาก อดทนตอ่ การตรากตรา
ทางาน อดทนตอ่ ความเจ็บใจ อดทนต่อกิเลส
7. การไม่ทาบาป บคุ คลสามารถละเวน้ พฤตกิ รรมท่ีชว่ั ร้ายและไมส่ ร้างความ เดือดรอ้ นให้ทั้งทางกาย
วาจา ใจ
8. ความสามคั คบี ุคคลสร้างความสามคั ครี ักใคร่ กลมเกลยี วซง่ึ นาไปสคู่ วาม สงบรม่ เยน็ ของครอบครวั
สงั คม ชมุ ชน และประเทศชาติ

ใบงานลูกเสอื ชดุ ที่ 1

คาชีแ้ จง ใหน้ ักศกึ ษาบอกรายละเอียดของลกู เสือสามัญ

1. คาปฏญิ าณของลูกเสอื มี 3 ขอ้ คือ
“ดว้ ยเกียรตขิ องข้า ขา้ สัญญาวา่
ข้อ 1 .........................................................................................
ขอ้ 2 ........................................................................................
ข้อ 3 ........................................................................................

2. กฎของลูกเสือสามัญมี ........... ข้อ ได้แก.่

85

2.1 ..............................................................................................
2.2 ..............................................................................................
2.3 ..............................................................................................
2.4 ..............................................................................................
2.5 ..............................................................................................
2.6 ..............................................................................................
2.7 ..............................................................................................
2.8 ..............................................................................................
2.9 ..............................................................................................
2.10 ..............................................................................................
3. ลูกเสือควรปฏิบตั ิตอ่ ชาติ อย่างไรบ้าง
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................

ชอ่ื ...........................................นามสกุล..................................กศน.ตาบล............................

ใบงานลกู เสอื ชดุ ท่ี 2

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้

86

1. คตพิ จน์ของลกู เสือทั่วไป มีใจความอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………

2. คตพิ จน์ของลูกเสือสามัญ มีใจความอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

3. คาปฏญิ าณ หมายความวา่ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

4. คณุ ธรรม หมายความว่าอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

5. จรยิ ธรรม หมายความว่าอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ช่อื ...........................................นามสกุล..................................กศน.ตาบล............................

แบบทดสอบหลังเรียน

เรอื่ ง คุณธรรม จริยธรรม ของลกู เสือ
คาชแ้ี จง : จงกากบาท X เลอื กข้อทที่ ่านคิดวา่ ถูกต้องท่สี ุด

1. ข้อใดไม่ใชค่ าปฏิญาณของลูกเสือ
ก. ขา้ จะช่วยเหลือผอู้ นื่ ทุกเม่ือ
ข. ขา้ จะปฏบิ ตั ติ ามกฎของลกู เสอื
ค. ข้าจะประพฤติชอบด้วยกาย วาจาใจ
ง. ขา้ จะจงรักภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

87

2. กฎของลูกเสอื ข้อใดที่สามารถนามาใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
ก. ลูกเสอื มคี วามเมตตา กรณุ าต่อสตั ว์
ข. ลูกเสอื เป็นผสู้ ุภาพเรียบร้อย
ค. ลกู เสอื เปน็ ผ้มู ัธยัสถ์
ง. ถูกทกุ ข้อ

3. คติพจน์ของลกู เสือทเ่ี ปน็ การแสดงออกของความเปน็ ผ้มู ีจติ อาสา หมายถงึ ข้อใด
ก. บริการ
ข. มองไกล
ค. ทาดที ี่สดุ
ง. จงเตรยี มพรอ้ ม

4. คติพจนข์ องลกู เสือวิสามัญ คือข้อใด
ก. บรกิ าร
ข. มองไกล
ค. ทาดีทส่ี ุด
ง. จงเตรยี มพร้อม

5. คาปฏิญาณหมายถึงอะไร
ก. คาวิงวอนขอร้อง
ข. คาม่ันสัญญา
ค. คาประกาศ
ง. คาสัตย์สาบาน

6. คณุ ธรรม หมายถึง
ก. สง่ิ ท่ีมคี ุณคา่ มีประโยชน์ เป็นความดงี าม
ข. ธรรมท่ีเป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
ค. กฎศีลธรรม
ง. ศีลธรรม

7. คากล่าว "ด้วยเกียรติของข้า" มคี วามหมายบ่งบอกถึงอะไร
ก. ลูกเสือมีเกียรติเช่ือถือได้
ข. ลูกเสือทุกคนเป็นคนดี
ค. อยากมีเกียรติต้องเป็นลูกเสือ
ง. ทุกคนควรเชื่อฟังลูกเสือ

88

8. ทาไมลูกเสอื จงึ ควรเช่อื ฟังคาส่ังของผบู้ ังคับบญั ชา
ก. เพอ่ื ให้คนทัว่ ไปยกยอ่ งลกู เสือ
ข. เพ่อื สรา้ งวินัยและความเป็นระเบียบ
ค. เพอื่ ทาใหไ้ ด้คะแนนความประพฤตมิ ากข้ึน
ง. เพ่ือความเปน็ คนอ่อนน้อม เนอ่ื งจากมีอายุมากกว่า

9. คากลา่ วข้อใดสอดคลัองกับกฎข้อ 8
ก. เลิกชีวิตวุ่นวายในทุกท่ี
ข. ต้องมั่นใจย้ิมได้เมื่อภัยมา
ค. สู้ตรงนี้ สู้ที่นี้ สู้จนตาย
ง. เรารบจนสุดใจ ขาดด้ิน

10. ลูกเสือสมปอง ใชจ้ ่ายเฉพาะส่ิงทจี่ าเป็นแสดงว่าลกู เสือสมปองปฏบิ ัติตามกฎข้อใดของลูกเสือสามัญ
ก. กระทาตนให้เป็นประโยชน์
ข. มีความเมตตากรุณาต่อสัตว์
ค. มีเกียรติเช่ือถือได้
ง. เป็นผู้มัธยัสถ์

เฉลย 1) ค 2) ข 3) ก 4) ก 5) ข 6) ก 7) ก 8) ข 9) ข 10) ง

ชื่อ.......................................นามสกุล................................................ระดับ..............................

89

บันทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปญั หาท่ีพบ
........................................................................................................... ...................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................. ............................................................................................
วิธีแก้ปัญหา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงช่อื ..................................................ผูบ้ ันทึก
(..................................................)
วนั ท.่ี ...........................................

ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหาร
................................................................................................................................................ ..............................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................ ..................................

ลงชอ่ื .......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ


Click to View FlipBook Version