The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

แผนการจัดการเรียนรู้ ลูกเสือ กศน. สค12025

190

เข็มทิศแบบซลิ วา
เขม็ ทศิ ซิลวา (Silva) ชนดิ 360 องศา เป็นเขม็ ทศิ สาหรับลกู เสือ ที่ทาในประเทศสวเี ดน
ทวั่ โลกนยิ มใช้มาก แม้แตส่ หรัฐอเมริกาก็สร้างเองไม่ได้ เพราะสงวนลิขสิทธิ์ เป็นเขม็ ทศิ ใชท้ าแผนที่
และหาทศิ ทางเดินได้ด้วย

191

ใบความรู้ท่ี 2 เรอ่ื งวิธกี ารใช้เข็มทิศและการหาทศิ

1. เขม็ ทิศซิลวา
เป็นของประเทศสวเี ดน เปน็ เขม็ ทศิ ที่ไดร้ บั ความนยิ มใช้ในวงการลูกเสือ สามารถใชง้ านได้

ง่าย พกพาสะดวกซึง่ มสี ว่ นประกอบ ดงั น้ี แว่นขยาย เข็มทิศช้ีทาง แผน่ ฐานของเข็มทิศ เขม็ ทศิ
และกา้ งปลา ตลบั เขม็ ทิศหมุนบอกองศา สเกลวดั ความยาว
2. มมุ ที่ใชเ้ ขม็ ทิศ

มุมอะซิมทุ คือ มุมในแนวราบหรือแนวระดับท่ีวัดจากแนวทางทศิ เหนอื ไปตามทางเดิน
ของเขม็ นาฬกิ า มคี ่าไม่เกนิ 360 องศา
เชน่ ทิศทาง ก ทามุมอะซิมุท 45 องศา กับแนวทิศเหนอื

ทิศทาง ข ทามุมอะซมุท 225 องศา กบั แนวทางทศิ เหนือ
มุมแบรงิ่ คอื มมุ ท่ีนแนวราบหรอื แนวระดบั ท่วี ดั จากแนวทางทิศเหนอื หรือทิศใตไ้ ปทาง
ทิศตะวนั ตก หรอื ทศิ ตะวันออกมีค่าไมเ่ กิน 90 องศา ดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี
ทิศทาง ก มุมแบร่ิงเทา่ กับเหนือ 45 องศาตะวนั ออก
ทิศทาง ข มมุ แบริ่ง เทา่ กับ ใต้ 45 องศา ตะวันออก
3.วิธใี ช้เขม็ ทศิ
1.วางเขม็ ทิศบนฝ่ามอื หรอื บนปกสมุดในแนวระดับโดยใหเ้ ขม็ แม่เหลก็ แกว่งไปมาอยา่ ง
อิสระ
2. หมนุ กรอบหน้าปัดของตลับเขม็ ทศิ ใหเ้ ลข 60 อย่ตู รงกบั ปลายลกู ศรชที้ ศิ ทาง
3. หมนุ ฐานเขม็ ทิศจนกว่าเข็มแม่เหลก็ สีแดงภายในตลบั เข็มทศิ ช้ีตรงกับตวั อักษร N

ทิศเหนือ บนกรอบหน้าปัด
4. เมอ่ื ลูกศรช้ที ิศทางไปทางทิศใด กเ็ ดนิ ตามไปทางทศิ น้นั ในการเดนิ ทางไปตามทศิ ทาง

ที่ลกู ศรแดงชีน้ น้ั ให้สงั เกตและมองหาจุดเดน่ ในภมู ปิ ระเทศ แล้วจึงเดนิ ไปยังส่งิ น้นั กรณีที่

192

ต้องการหาจดุ ค่าของอะซิมทุ จากตาบลท่เี รายืนอยไู่ ปยงั ตาบลที่เราจะเดินไปข้างหนา้ ให้ปฏบิ ัติ
ดงั นี้

1 . วางเขม็ ทิศฝ่ามือหรอื บนสมดุ ปกแขง็ ในแนวระดับ
2. หนั ลูกศรใหช้ ้ที ิศทางไปยังจุดหรือตาแหน่งที่เราจะเดินทาง
3. หมุนกรอบหน้าปดั ของเขม็ ทิศไปจนกว่าตวั อกั ษร N จะอยู่ตรงปลายเข็มแม่เหล็กสีแดง
4. ตวั เลขบนกรอบหน้าปดั ที่อยู่ตรงปลายลูกศรชที้ ศิ ทาง คือ คา่ ของมมุ ท่ีเราต้องการทราบ

ขอ้ ควรระวงั ในการใช้เข็มทิศ
1.จับถือด้วยความระมดั ระวัง เพราะหน้าปัดและเข็มบอบบางอ่อนไหวได้ง่าย
2. อย่าทาเขม็ ทิศตก เพราะแรงกระทบกระเทอื นอาจทาให้เสยี หายได้
3. อย่าอ่านเขม็ ทิศใกลส้ ง่ิ ท่ีเป็นแมเ่ หล็กหรือวงจรไฟฟา้
4. อยา่ ใช้เขม็ ศิ ท่ีเปียกนา้ เพราะจะทาใหข้ นึ้ สนิม
5. อยา่ วางเข็มทิศไว้ใกล้ความร้อน เพราะจะทาให้เขม็ ทิศบดิ งอได้

การหาทศิ โดยใชเ้ ข็มทศิ

ทศิ เหนือเป็นเพียงทิศหนงึ่ ของทิศทั้งหลาย ปกติเรามักจะสมมุติทศิ เหนือเป็นจุดเรม่ิ ต้นก็
เพือ่ ความสะดวกที่หน้าปดั เขม็ ทศิ นอกจากจะมเี คร่ืองหมายแสดงทศิ แล้ว ยังมตี วั เลขเพิ่มจานวน
ไปตามเข็มนาฬิกา เรม่ิ 0 ทท่ี ิศเหนือแลว้ หมุนตามเขม็ นาฬิกากลบั ไปท่ีทศิ เหนือมเี ลข 370 เป็น
ตัวเลขบอกองศา ฉะนัน้ ทศิ ตะวนั ออกจึงเปน็ 90 องศา ทศิ ใต้180 องศา ตะวนั ตก 270 องศา
เมอื่ เราหาทิศได้ เรากจ็ ะทราบทศิ อ่นื ๆได้ โดยหันหนา้ ไปทางทศิ เหนือ ขา้ งหลังคือทิศใต้ ขวามอื
คอื ทิศตะวันออก ชา้ ยมือคือตะวนั ตก

การหาทศิ โดยไม่ใช้เข็มทิศ

1. สังเกตดวงอาทิตย์ ในเวลากลางวันใหส้ ังเกตดวงอาทติ ย์ ขึ้น-ตก ตามฤดกู าล

2. สงั เกตดวงจันทร์ ในเวลากลางคืนใหส้ ังเกตดวงจนั ทร์ ด้านท่ีสว่างจะหนั ไปทางทศิ

ตะวันตก ด้านเว้าแหวง่ จะหันไปทางทศิ ตะวนั ตก

3. สงั เกตลม ใช้หญ้าแห้งหรือฝุ่นโยนไปในอากาศ จะทราบว่าลมพดั มาจาก

ทศิ ทางใด

4. สงั เกตเถาวัลย์ เถาวัลย์ท่พี ันต้นไมจ้ ะชูยอดไปทางทศิ ตะวนั ออกเสมอ เราก็จะหา

5. สังเกตต้นไม้ 193
6. สงั เกตดาว
ทิศอ่นื ได้
เม่ือดวงอาทิตย์ลบั ขอบฟ้าไปแล้ว ให้เอาแกม้ แนบต้นไม้ดูดา้ นทอ่ี ุ่นๆ
จะเป็นทิศตะวันตก
ดาวเคราะหเ์ ป็นดาวพเนจรขน้ึ ไม่ประจาท่ีจึงไมน่ ิยมสังเกตดาวใน
การหาทิศ

ทิศ และเขม็ ทิศ

ทิศ มี 4 ทศิ ได้แก่ ทศิ เหนือ ทิศใต้ ทศิ ตะวันออกและทศิ ตะวนั ตก จากนใ้ี นระหวา่ งทิศใหญ่

ท้ัง 4 ทิศ นีย้ ังมที ศิ ท่คี วรรู้จกั อีก ได้แก่

ทศิ ตะวันออกเฉียงเหนอื อย่รู ะหว่าง ทศิ ตะวันออกกับทศิ เหนือ โดยทามมุ 45 องศา กับทิศ

ตะวนั ออก

ทศิ ตะวันออกเฉยี งใต้ อยู่ระหว่าง ทิศตะวันออกกบั ทิศใต้ โดยทามุม 45 องศา กับทศิ ตะวันออก

ทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื อยู่ระหว่าง ทศิ ตะวนั ตกกบั ทศิ เหนอื โดยทามมุ 45 องศา กบั ทศิ ตะวันตก
ทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้ อยู่ระหวา่ ง ทศิ ตะวันตกกับทิศใต้ โดยทามุม 45 องศา กบั ทิศตะวันตก

ทิศท้งั แปด

ทิศเหนอื หมายถึง อดุ ร

ทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนอื หมายถงึ อีสาน

ทศิ ตะวนั ออก หมายถงึ บูรพา

ทิศตะวันออกเฉยี งใต้ หมายถึง อาคเนย์

ทศิ ใต้ หมายถึง ทักษณิ

ทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้ หมายถงึ หรดี

ทิศตะวันตก หมายถงึ ประจมิ

ทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื หมายถึง พายพั

194

ใบงานที่ 1

เรื่องวิธกี ารใชแ้ ผนที่ - เข็มทิศ

กิจกรรมที่ 1 จากการดคู ลิปวดิ โี อ เรอื่ ง การใช้แผนท่ีและเขม็ ทิศ”และ“สว่ นประกอบของเข็มทิศ Silva”
ให้ผู้เรยี นสรุปเนื้อหาตามความเขา้ ใจ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 ใหอ้ ธบิ ายความหมายของเขม็ ทิศ มาพอสังเขป
..............................................................................................................................................................................

195

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

กิจกรรมท่ี 3 ให้อธิบายประโยชน์ของการรู้จักทิศ และข้อควรระวังในการใช้เข็ม ทิศ มาพอสังเขป
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ช่อื ...........................................นามสกลุ ..................................ระดบั .........................................

แบบทดสอบหลังเรียน

เรอื่ ง วิธีการใชแ้ ผนท่ี - เขม็ ทิศ
คาชี้แจง : จงกากบาท X เลือกขอ้ ที่ทา่ นคิดวา่ ถกู ต้องที่สดุ

1. ผู้ใดใช้เข็มทิศไดถ้ ูกวิธี
ก. สมศกั ด์ิ ยนื ข้างๆเสาไฟฟา้
ข. สมชาย วางบนพ้ืนราบเพื่อหาทศิ
ค. สมชัย ถอื ไว้เพราะอ่านองศาได้ง่าย
ง. สมศรี ไปลา้ งนา้ เม่ือเลิกใช้งาน

2. ข้อใด ไมใ่ ช่ องค์ประกอบของแผนที่
ก. ภูมปิ ระเทศ
ข. ทิศทาง

196

ค. สัญลกั ษณ์
ง. มาตราส่วน
3. เข็มทิศชนิดใดทนี่ ยิ มใชใ้ นวงการลกู เสอื
ก. เข็มทิศสากล
ข. เข็มทิศสมุทร
ค. เข็มทศิ จาาลอง
ง. เข็มทศิ ซิลวา
4. การทาแผนทใี่ ชห้ ลักการในขอ้ ใด
ก. การสรา้ งแบบ
ข. การจาลอง
ค. การสมดุล
ง. การทดแทน
5. เหตุใดขณะใช้เขม็ ทศิ จงึ ต้องถือเข็มทิศด้วยความระมดั ระวงั
ก. หนา้ ปัดหลวม
ข. ป้องกันน้าเขา้ หนา้ ปดั
ค. หน้าปดั และเข็มทศิ บอบบาง
ง. ไมม่ รี ะบบป้องกนั การส่ันสะเทือน
6. สนี า้ ตาลในแผนทใี่ ช้แทนส่ิงใด
ก. ท่ีสูง หรือภูเขาสูง
ข. ทรี่ าบสูง
ค. แหล่งน้า
ง. ท่ีราบลุ่ม หรอื ปา่ ไม้

7. ข้อใดหมายถงึ ทิศเหนือทง้ั หมด
ก. พายพั NW 315 องศา
ข. ประจมิ W 207 องศา
ค. อดุ ร N 0 องศา หรือ 360 องศา
ง. ทักษณิ S 180 องศา

8.ข้อใด ไมใ่ ช่ ส่วนประกอบของเข็มทิศ
ก. เขม็ ชที้ ศิ ทาง

197

ข. แผน่ ฐาน
ค. แว่นขยาย
ง. ปรอท
9.เขม็ ทศิ ซิลวา ถูกค้นคดิ ขน้ึ ในประเทศใด
ก. องั กฤษ
ข. สวีเดน
ค. ฝร่ังเศส
ง. สหรัฐอเมรกิ า
10.ข้อควรระวงั ในการใชเ้ ข็มทิศชลิ วา ควรคานึงถงึ ระยะความปลอดภยั ข้อใด
ก. สายไฟแรงสูง
ข. สายโทรศัพท์ โทรเลข
ค. รถยนต์
ง. ถูกทกุ ข้อ

เฉลย 1) ข 2) ก 3) ง 4) ข 5) ค 6) ก 7) ค 8) ง 9) ข 10) ง

ชอ่ื .................................................นามสกลุ ................................................ระดบั ......................................

บนั ทกึ หลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

198

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ ......................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาที่พบ
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
วธิ แี ก้ปัญหา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .............................................................

ลงชอ่ื ..................................................ผ้บู นั ทึก
(..................................................)
วันท่ี............................................

ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหาร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
................................................................................................................................................ ..............................

ลงชือ่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ

199

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11

เรอ่ื ง ทักษะลูกเสือ (เง่ือนเชอื ก)

รายวิชา ลูกเสือ กศน. รหสั วิชา สค12025 ระดับ ประถมศกึ ษา

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพัฒนาสังคม เวลา 4 ชว่ั โมง

ครผู สู้ อน...................................................................... รูปแบบการสอนพบกลุ่ม/ค้นควา้ ด้วยตนเอง

**********************************************

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
1.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรบั ใช้ในการดาเนินชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพื่อความมั่นคงของชาติ
1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของทอ้ งถนิ่ และ

ประเทศไทย
1.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนนิ ชีวติ ตามวิถปี ระชาธิปไตย กฎหมายเบ้ืองตน้ กฎระเบยี บของชุมชน

สงั คม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพฒั นาชมุ ชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมลู ในการพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน สังคม

2. ตวั ช้ีวดั
อธบิ ายความสาคัญของเงื่อนเชือก

3. สาระสาคัญของเนื้อหา
3.1 ความหมายของเงื่อนเชอื ก
3.2 ความสาคญั ของเงอ่ื นเชอื ก
3.3 การผูกเงอื่ นเชือก

4. เปา้ หมายการเรียนรู้ (ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง)
4.1 อธบิ ายความหมายของเงอ่ื นเชอื กได้
4.2 อธิบายความสาคญั ของเง่อื นเชือกได้
4.3 ปฏิบตั ิการผกู เงือ่ นเชือกได้

200
5. ขั้นจัดกระบวนการเรยี นรู้

ข้ันท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้
1) ครูและผู้เรียนร่วมกนั กาหนดสภาพความจาเป็นท่ีตอ้ งเรียนรูใ้ นเรอื่ งต่อไปน้ี
(1) ความหมายของเง่ือนเชือก
(2) ความสาคญั ของเง่ือนเชือก
(3) การผกู เงอ่ื นเชือก
2) ครแู ละผู้เรียนทาความเขา้ ใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรู้ใหผ้ เู้ รยี นซกั ถาม

แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เช่ือมโยงความรู้ใหม่
3) ครูใหผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ข้นั ที่ 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรียนรู้
1) ครแู ละผู้เรียนรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เร่ือง เงื่อนเชือก ความรู้ท่วั เกี่ยวกบั เง่ือนเชือก
2) ครใู หผ้ ู้เรียนดูคลปิ จาก YouTube เรื่อง เง่อื นเชือก มาให้ผเู้ รยี นดแู ลว้ ถามคาถามใน

ประเดน็ ดังน้ี
(1) ผูเ้ รยี นไดอ้ ะไรบ้างจากการดู YouTube เร่ือง เงื่อนเชอื ก
(2) ใหผ้ ูเ้ รยี นอธิบายเกยี่ วกับหวั ขอ้ “ทาไมต้องเรยี นวิชาเงือ่ นเชอื ก”
(3) ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มนาเสนอ และจดบนั ทกึ

https://www.youtube.com/watch?v=RwOPU7wojSU

ขน้ั ที่ 3 ปฏบิ ัติและนาไปประยุกตใ์ ช้
1) ครแู บง่ กลุม่ ผู้เรียนเปน็ 4 กลมุ่ และมอบหมายให้ผเู้ รียนศึกษาใบความรูเ้ กยี่ วกบั เงื่อนเชือก
2) ครแู จกเชือกใหผ้ ูเ้ รียนแตล่ ะกลุ่ม และให้สมาชิกกลุ่มชว่ ยกนั ผูกเงื่อนเชือกตามท่ีกาหนด
3) ครแู ละผู้เรยี นสรุปเน้ือหาท่ีนาเสนอรว่ มกัน

201

ขัน้ ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1) ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2) ประเมนิ จากใบงาน
3) ครสู ังเกตจากการนาเสนอผู้เรยี น
4) บนั ทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
5) ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่ือการเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. แบบทดสอบ
4. วีดีทศั น์
5. อินเตอรเ์ นต็

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

เร่ือง เงื่อนเชอื ก
คาชี้แจง : จงกากบาท X เลอื กขอ้ ท่ที ่านคิดวา่ ถกู ตอ้ งทสี่ ดุ

1. เง่อื นทใ่ี ชใ้ นการตอ่ เชอื กท่ีมีขนาดเทา่ กนั คอื ข้อใด 6. เชอื กเสน้ ใหญ่ควรเก็บไว้อยา่ งไร

ก. เงอื่ นพิรอด ก. พนั ทบไปทบมา

ข. เงือ่ นขดั สมาธิ ข. พันเป็นขดแล้วเก็บ

ค. เงื่อนบ่วงสายธนู ค. ผูกไวข้ ้างบันได

ง. เงอื่ นกระหวัดไม้ ง. ทง้ิ ไวบ้ นพ้นื

2. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะของเงอื่ นพิรอด 7. การเก็บเชอื กมปี ระโยชนอ์ ย่างไร?

ก. ผกู ยาก แกย้ าก ก. ยดื อายุการใช้งานของเชอื ก

ข. ผกู แนน่ แกย้ าก ข. ทาให้ผู้อ่ืนชมเชย

ค. ผูกแน่น แก้งา่ ย ค. ทาให้สวยงาม

ง. ถูกทกุ ข้อ ง. ถกู ทกุ ข้อ

3. ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของเงือ่ นพิรอด 8. เงื่อนชนิดใดใชเ้ สา

ก. ผกู กล่องของขวญั ก. เงอื่ นพริ อด

ข. ผูกเชอื กรองเทา้ ข. เงอื่ นบ่วงสายธนู

ค. ผกู ต่อเชือก ค. เงือ่ นตะกรุดเบด็

ง. ผกู ล่ามสัตว์ ง. เง่ือนเกา้ อี้

202

4 . เชือกทม่ี ีขนาดเท่ากันใช้สาหรบั ผูกเงื่อนชนิดใด 9. เงือ่ นชนดิ ใดใชใ้ นการทาเปน็ บนั ไดลิง
ก. เงื่อนขดั สมาธิ ก. เงอ่ื นพริ อด
ข. เง่อื นพิรอด ข. เงอ่ื นบ่วงสายธนู
ค. เง่อื นกระหวดั ไม้ ค. เงื่อนกระหวัดไม้
ง. เงอื่ นบว่ งสายธนู ง. เงอ่ื นตะกรดุ เบด็

5. การเก็บเชอื กในข้อใดถูกวิธี 10. ปลายเชอื กทถ่ี ูกตัด จะต้องทาอยา่ งไร
ก. กองสมุ เอาไว้ ก. ตอ้ งเอาเชอื กเล็กๆ พันหัวเชือก
ข. พนั เป็นขดแล้วจึงเกบ็ ข. ปล่อยไวเ้ พ่ือความสวยงาม
ค. ขึงไวก้ ับราวเหลก็ ค. นาไปแช่น้า
ง. ตากแดดไว้ ง. ถูกทกุ ข้อ

เฉลย 1) ก 2) ค 3) ง 4) ข 5) ข 6) ข 7) ก 8) ค 9) ง 10) ก
ชอื่ .................................................นามสกลุ ................................................ระดบั ......................................

ใบความร้เู รอ่ื ง เง่อื นเชอื ก

ความหมายของเงื่อนเชอื ก
เง่อื นเชอื ก หมายถึง การนาเชือกมาผูกกนั เป็นเงอื่ น เป็นปม สาหรบั ตอ่ เชอื กเขา้ ด้วยกัน หรอื ทาเป็น

บ่วง สาหรบั คลอ้ งหรือสวมกับเสา หรอื ใชผ้ ูกกบั วัตถุ สาหรบั ผูกให้แนน่ ใชร้ ง้ั ใหต้ ึง ไม่หลดุ ง่าย แต่สามารถแก้
ปมไดง้ า่ ย

ความสาคญั ของเงื่อนเชอื ก
กิจกรรมลูกเสือ เปน็ กจิ กรรมหน่ึงท่ีตอ้ งการให้ลกู เสอื รจู้ กั ใช้วสั ดุที่มอี ยู่ ตามธรรมชาติ เพอื่ การดารง

ความเปน็ อยู่อย่างอิสระและพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด

การผกู เง่ือนเชือก
เป็นศาสตร์และศลิ ปอ์ ยา่ งหน่ึงท่ีลูกเสอื จาเป็นต้องเรียนรู้ เม่ือเข้ารว่ มกจิ กรรมในการอยู่คา่ ยพักแรม

การสรา้ งฐานกจิ กรรมผจญภัย การตัง้ ค่ายพักแรม รวมท้งั การใชง้ านเงอ่ื นในการชว่ ยผู้เจ็บปว่ ยได้
เงอ่ื นแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภทตามลกั ษณะการผูก

203

1. เง่ือนทใ่ี ชผ้ กู ต่อเชอื กที่มีขนาดเทา่ กนั หรือผูกในเชือกเสน้ เดยี วกัน เช่น เง่ือนพริ อด เงื่อนบว่ งคน
กลาง เปน็ ตน้

2. เง่ือนผูกต่อกบั เชือกท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ หรือผูกกบั หว่ ง เช่น เงื่อนขัดสมาธิ
3. เงอื่ นท่ีใชผ้ ูกกบั วัตถุต่าง ๆ เพอ่ื การยดึ โยง ได้แก่ เงอ่ื นกระหวัดไม้ เงอื่ นตะกรุดเบด็
เง่อื นเชอื ก เงือ่ นเชือกยงั มีบทบาทและความสาคัญสาหรบั การดาเนินชวี ิตของคนเรา ถึงแมว้ ่า
เทคโนโลยตี ่าง ๆ จะเจรญิ เขา้ มาก็ตาม จะเห็นได้วา่ เง่อื นเชือกจะเกย่ี วข้องกับเราต้งั แต่ แรกเกดิ เม่ือเราคลอด
ออกมาหมอจะใหเ้ ชือกในการผกู สายสะดอื ตอนเด็กใช้เง่ือนเชอื กผูกทา เปลนอน ผูกสายมุ้ง ตอนโตใชเ้ งื่อน
เชือก ผกู รองเท้า ผกู เนคไท ผกู สง่ิ ของตา่ ง ๆ และยังใช้เงื่อน เชือกถักเป็นเส้ือผ้าเคร่อื งน่งุ ห่มและเครื่องใชต้ ่าง
ๆ หลายชนิด บางคร้งั เงื่อนเชือกมีความสมั พันธ์ เกยี่ วข้องกับการดาเนนิ ชีวิตของเรา เพราะฉะน้ัน ลูกเสอื
วิสามญั ควรจะตอ้ งศึกษาเรื่องเง่ือนเชือก เพ่ือจะไดน้ าไปใช้ประโยชน์ในโอกาสต่อไป
การผกู เง่ือนเชอื ก การผูกเงื่อนที่สาคญั และควรเรียนรู้ มดี งั น้ี
เงื่อนพริ อด เปน็ เงอื่ นสัญลักษณใ์ นเคร่ืองหมายลูกเสอื โลก แสดงถึงความเป็น พน่ี อ้ งกนั ของขบวนการ
ลูกเสือทั่วโลก และแทนความสามัคคขี องลูกเสือ มีขน้ั ตอนการผกู ดังนี้
ข้นั ท่ี 1 ปลายเชอื กดา้ นซ้ายทับดา้ นขวา
ขัน้ ที่ 2 - 3 ออ้ มปลายเชือกด้านซา้ ยลงใต้เสน้ เชือกด้านขวาให้ปลายเชอื กตั้งขน้ึ แลว้ รวบปลายเชือก
เขา้ หากันโดยให้ด้านขวาทบั ด้านซ้าย
ขนั้ ที่ 4 ย้อนปลายเชือกขวามือลอดใตเ้ สน้ ซ้ายมือ จดั เง่ือนให้เรยี บรอ้ ย
ประโยชน์
1) ใชต้ อ่ เชอื ก 2 เส้น มีขนาดเท่ากนั เหนียวเท่ากนั
2) ใช้ผกู ปลายเชอื กเสน้ เดียวกนั เพ่ือผูกมดั ห่อสิ่งของและวตั ถตุ า่ ง ๆ
3) ใช้ผูกเชอื กรองเท้า (ผูกเง่ือนพริ อดกระตุกปลาย 2 ขา้ ง)
4) ใช้ผกู โบว์ ผูกชายผา้ พนั แผล ผกู ชายผ้าทาสลงิ คล้องคอ
5) ใชต้ อ่ ผา้ เพอื่ ใหไ้ ด้ความยาวตามต้องการ ควรเป็นผ้าเหนียว ในกรณที ี่ไม่มี เชือก เชน่ ต่อผ้าปูทนี่ อน
เพอื่ ใช้ช่วยคนในยามฉกุ เฉินเมื่อเวลาเกิดเพลิงไหม้ ใช้ช่วยคนทต่ี ดิ อยู่ บนทสี่ ูง โดยใชผ้ ้าพันคอลูกเสือต่อกนั
เง่อื นขดั สมาธิ

ขั้นที่ 1งอเชือกเสน้ ใหญใ่ หเ้ ป็นบ่วง สอดปลายเส้นเล็กเข้าในบ่วงโดยสอดจากขา้ งล่าง
ข้ันที่ 2 ม้วนเส้นเลก็ ลงอ้อมด้านหลงั เสน้ ใหญ่ท้งั คู่
ข้ันท่ี 3 จับปลายเส้นเลก็ ขึ้นไปลอดเส้นตวั เองเป็นการขัดไว้ จัดเงอ่ื นใหแ้ น่นและ เรยี บร้อย
ประโยชน์
1) ใช้ตอ่ เชือกที่มขี นาดเดยี วกัน หรอื ขนาดต่างกัน (เสน้ เลก็ พันขดั เสน้ ใหญ่)
2) ใช้ต่อเชือกอ่อนกับเชือกแข็ง (เอาเสน้ ออ่ นพันขดั เสน้ แขง็ ) ตอ่ เชอื กที่มี ลกั ษณะค่อนขา้ ง
แข็ง เช่น เถาวลั ย์
3) ใช้ตอ่ ด้าย ต่อเส้นด้ายเสน้ ไหมทอผา้

204

4) ใช้ผกู กับขอ หรือบ่วง
เง่ือนตะกรดุ เบ็ด

วิธที ่ี 1 เม่ือสามารถทาเปน็ ห่วงสวมหัวเสาได้
ขัน้ ท่ี 1 พกั เชือกให้เป็นบ่วงสลบั กนั
ขัน้ ท่ี 2 เล่ือนบ่วงใหเ้ ขา้ ไปซ้อน (รูป ก) จนทนั กันเป็นบว่ งเดียวกัน (รปู ข) 81
ขน้ั ที่ 3 นาบ่วงจากขัน้ ท่ี 2 ข. สวมลงในเสาแลว้ ดึงปลายเชือกจดั เงื่อนให้แนน่

ประโยชน์
1) ใชผ้ กู เชอื กกับเสาหรอื สง่ิ อ่ืน ๆ จะให้ความปลอดภัยมาก ถ้าผูกกลาง ๆ ของเชือก ถา้ ใชป้ ลายเชอื ก
ผูกอาจไมแ่ น่น กระตุกบอ่ ย ๆ จะหลุดปมเชอื กจะคลาย
2) ใชท้ าบันไดเชือก บันไดลงิ
3) ใช้ในการผูกเงื่อนต่าง ๆ ท่ีผกู กับหลกั หรอื วตั ถุ
4) ใช้ในการผกู เงอื่ นกระหวัดไม้
5) ใช้ในการผกู เง่ือนแนน่ เชน่ ผกู ประกบ กากบาท
6) ใช้ในการผูกปากถุงขยะ
วธิ ีการเก็บเชอื ก มขี ้ันตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
ข้ันที่ 1 แบง่ เชือกออกเป็น 8 ส่วน ใชม้ ือซา้ ยจบั เชอื กแลว้ ทบเชือก 3 ครงั้ โดยแต่ละครง้ั ใหเ้ ชอื กยาว
เทา่ กับ 1 ใน 8 ส่วน เชือกทีเ่ หลอื อกี 5 ใน 8 สว่ น ปลอ่ ยไวส้ าหรับพัน
ขนั้ ที่ 2 เอาเชอื กทเ่ี หลอื 5 ใน 8 ส่วน พนั รอบเชือกท่ที บไว้ โดยเรม่ิ พนั ถดั จากปลายบว่ ง (ข) เขา้ มา
ประมาณ 1 น้ิว เมือ่ พันจบเหลอื ปลายเชือก ให้ สอดปลายเชอื กนัน้ เข้าในบ่วง
ข้ันท่ี 3 ดงึ บว่ ง (ข) เพ่ือรัง้ บ่วง (ก) ให้รดั ปลายเชอื กทีส่ อดไวจ้ นแน่นเป็นอนั เสร็จ

การรักษาเชอื ก มีแนวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี
1) ระวังรักษาเชอื กให้แห้งเสมอ อย่าให้เปยี กชื้น เพ่ือปอ้ งกันเชอ้ื รา
2) การเก็บเชือก ควรขดเก็บเป็นวง มัดให้เรียบร้อย เก็บให้ห่างไกลจากมด แมลง หนู หรอื สัตว์อน่ื ๆ
และควรแขวนไว้ ไมค่ วรวางไว้กับพนื้

205

3) อยา่ ใหเ้ ชือกผูกร้ัง เหนยี่ ว ยึดหรือลาก ฉุดของหนักเกนิ ก าลงั เชอื ก
4) ขณะใชง้ าน อย่าใหเ้ ชือกลากครูด หรอื เสยี ดสีกบั ของแข็ง จะท าใหเ้ กลยี ว ของเชอื กสึกกร่อนและ
ขาดงา่ ย
5) กอ่ นเอาเชือกผูกมัดกับต้นไม้ ก่งิ ไมห้ รือของแขง็ ควรเอากระสอบพนั รอบ ตน้ ไมห้ รือกิ่งไม้ก่อน
เชือกท่ีใช้งานเสร็จแล้วจะต้องระวังรักษา ดงั นี้
1) เชือกทเ่ี ลอะโคลนเลนหรือถูกน้าเค็ม เมื่อเสร็จงานแล้ว ตอ้ งชาระล้าง ดว้ ยนา้ จืดใหส้ ะอาด แลว้ ผง่ึ
ให้แหง้ ขดมดั เก็บไว้กับขอหรือบนที่แขวน
2) เชอื กลวดเม่ือเสรจ็ งาน ต้องรบี ทาความสะอาด ล้างด้วยนา้ จดื เชด็ ให้แหง้ แลว้ ผง่ึ แดดจนแหง้ สนิท
แลว้ เอาน้ ามันจาระบี หรือยากนั สนมิ ชโลมทาใหท้ ่ัว จึงเกบ็ ให้เรยี บรอ้ ย
3) ปลายเชือกท่ถี ูกตัด จะต้องเอาเชอื กเลก็ ๆ พันหวั เชือกเพอื่ ป้องกนั เชือกคลายเกลยี ว

206

ใบงานการลูกเสือไทย ชุดที่ 1

คาชี้แจง ใหจ้ บั คู่ขอ้ ความที่สมั พนั ธก์ บั เงื่อนเชือก

1. เงือ่ นเชือก ก. เงือ่ นผูกต่อกบั เชือกท่ีมขี นาดใหญ่กวา่ หรือผูกกบั หว่ ง

2. เงื่อนพิรอด ข. เงอื่ นทใ่ี ช้ผูกต่อเชือกที่มีขนาดเท่ากนั

3. เงอื่ นขัดสมาธ ค. ท่ใี ช้ผกู กับวัตถุตา่ ง ๆ เช่น ผูกกับเสา

4. เงอ่ื นกระหวัดไม้ ง. การน าเชือกมาผกู กนั เปน็ เง่ือน เปน็ ปม

5. เงื่อนพิรอด จ. เมอื่ เราคลอดออกมาหมอจะให้เชือกในการผูกสายสะดือ

6. ใชผ้ ูกโบว์ ผูกชายผ้าพนั แผล ฉ. แทนความสามัคคีของลูกเสือ

ผูกชายผ้าทาสลิงคลอ้ งคอ ช. เงอ่ื นพิรอด

7. เงอ่ื นเชือก ซ. เงือ่ นขดั สมาธ

8. ใช้ต่อเชือกอ่อนกับเชือกแข็ง ฌ. เงอ่ื นตะกรุดเบ็ด

9. ใช้ในการผกู เง่ือนกระหวัดไม้ ญ. เงือ่ นตะกรุดเบ็ด

10. ใช้ในการผกู เงื่อนแน่น เช่น ผูกประกบ กากบาท

กระดาษคาตอบ

1. = ……ง………. 2. = ……ข………3. = ……ก… 4. = …ค…….
5. = ……ฉ………. 6. = ……ช………7. = ……จ……. 8. = …ซ…….
9. = ……ฌ………. 10. = ……ญ……..

207

แบบทดสอบหลงั เรยี น

เรื่อง เง่อื นเชอื ก
คาชแี้ จง : จงกากบาท X เลือกขอ้ ทที่ ่านคิดวา่ ถกู ต้องท่สี ดุ

1. เงื่อนที่ใช้ในการตอ่ เชอื กท่ีมีขนาดเท่ากนั คอื ขอ้ ใด 6. เชอื กเสน้ ใหญค่ วรเก็บไว้อยา่ งไร

ก. เงื่อนพริ อด ก. พันทบไปทบมา

ข. เงือ่ นขดั สมาธิ ข. พนั เปน็ ขดแล้วเก็บ

ค. เง่ือนบว่ งสายธนู ค. ผกู ไว้ขา้ งบนั ได

ง. เง่ือนกระหวดั ไม้ ง. ทิ้งไว้บนพ้นื

2. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะของเงื่อนพริ อด 7. การเก็บเชอื กมปี ระโยชน์อยา่ งไร?

ก. ผูกยาก แก้ยาก ก. ยืดอายกุ ารใช้งานของเชือก

ข. ผกู แนน่ แก้ยาก ข. ทาให้ผอู้ นื่ ชมเชย

ค. ผกู แนน่ แก้งา่ ย ค. ทาใหส้ วยงาม

ง. ถูกทกุ ข้อ ง. ถกู ทกุ ขอ้

3. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชนข์ องเง่อื นพิรอด 8. เง่ือนชนดิ ใดใช้เสา

ก. ผกู กล่องของขวัญ ก. เง่ือนพิรอด

ข. ผูกเชือกรองเท้า ข. เงอ่ื นบ่วงสายธนู

ค. ผูกตอ่ เชอื ก ค. เงื่อนตะกรดุ เบด็

ง. ผกู ลา่ มสตั ว์ ง. เงือ่ นเกา้ อี้

4 . เชือกทม่ี ีขนาดเท่ากันใช้สาหรับผูกเง่ือนชนดิ ใด 9. เงอื่ นชนิดใดใชใ้ นการทาเปน็ บนั ไดลิง

ก. เง่ือนขัดสมาธิ ก. เง่ือนพิรอด

ข. เงอื่ นพริ อด ข. เงอื่ นบ่วงสายธนู

ค. เงื่อนกระหวดั ไม้ ค. เงอ่ื นกระหวดั ไม้

ง. เงื่อนบ่วงสายธนู ง. เงอ่ื นตะกรุดเบด็

5. การเก็บเชือกในข้อใดถกู วิธี 10. ปลายเชอื กทถ่ี กู ตัด จะตอ้ งทาอยา่ งไร

ก. กองสุมเอาไว้ ก. ตอ้ งเอาเชือกเล็กๆ พันหัวเชือก

ข. พันเปน็ ขดแลว้ จงึ เกบ็ ข. ปลอ่ ยไวเ้ พ่ือความสวยงาม

ค. ขึงไว้กับราวเหล็ก ค. นาไปแช่น้า

208

ง. ตากแดดไว้ ง. ถกู ทุกข้อ

เฉลย 1) ก 2) ค 3) ง 4) ข 5) ข 6) ข 7) ก 8) ค 9) ง 10) ก
ช่ือ.................................................นามสกุล................................................ระดบั ......................................

บันทกึ หลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาท่ีพบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
วธิ แี ก้ปญั หา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................................ผบู้ นั ทึก
(..................................................)
วนั ที่............................................

ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหาร
............................................................................................................. .................................................................

209

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(…………………………………………….)
ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอ

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12

เรื่อง ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลกู เสือ

รายวิชา ลกู เสือ กศน. รหสั วิชา สค12025 ระดับ ประถมศกึ ษา

ภาคเรยี นที่ 2ปกี ารศึกษา 2563 สาระการพฒั นาสงั คม เวลา 3 ช่ัวโมง

ครูผ้สู อน.................................................. รปู แบบการสอนพบกลมุ่ /คน้ คว้าด้วยตนเอง

**********************************************

1. สาระสาคญั

1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกยี่ วกบั ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต และการประกอบอาชีพ เพ่อื ความม่ันคงของชาติ

1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณคา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของท้องถ่นิ และ

ประเทศไทย

1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ติ ตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎหมายเบ้อื งตน้ กฎระเบียบของชมุ ชน

สังคม และประเทศ

1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพัฒนาชมุ ชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพัฒนาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม

2. ตวั ช้ีวัด
2.1 อธิบายความหมาย และความสาคัญของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วม กจิ กรรมลูกเสอื
2.2 อธบิ ายและยกตัวอยา่ งการเฝ้าระวังเบื้องต้นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือ

210

2.3 สาธติ สถานการณ์การชว่ ยเหลือเม่อื เกิดเหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื
2.4 อธบิ ายและยกตวั อยา่ งการปฏบิ ัติตนตามหลักความปลอดภัย

3. ขอบข่ายเนื้อหา
3.1 ความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสือ
3.2 การเฝ้าระวังเบื้องตน้ ในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ
3.3 การช่วยเหลอื เมื่อเกดิ เหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ
3.4 การปฏิบตั ิตนตามหลักความปลอดภยั

4. เป้าหมายการเรียนรู้ (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)
4.1 ความหมายของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสอื
4.2 ความสาคัญของความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือ
4.3 สามารถการชว่ ยเหลือเมื่อเกดิ เหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื
4.4 สามารถปฏบิ ตั ิตนตามหลักความปลอดภัย

5. ข้ันจดั กระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความตอ้ งการในการเรียนรู้
1) ครูและผู้เรียนรว่ มกันกาหนดสภาพความจาเปน็ ที่ต้องเรียนรู้ในเร่อื งต่อไปนี้
(1) ความหมาย ความสาคัญ ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสือ
(2) การเฝ้าระวังเบ้ืองต้นในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลกู เสือ
(3) การช่วยเหลอื เมือ่ เกิดเหตุความไม่ปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ
(4) การปฏิบตั ิตนตามหลักความปลอดภัย
2) ครูและผเู้ รียนทาความเข้าใจสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรู้ใหผ้ ูเ้ รยี นซกั ถาม

แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เช่ือมโยงความรใู้ หม่
3) ครูใหผ้ ู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ขัน้ ที่ 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้
1) ครูและผเู้ รียนร่วมแสดงความคิดเห็นเรอ่ื ง ความหมายความหมาย ความสาคัญ ความ

ปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ
- ครูยกตัวอยา่ ง การเฝา้ ระวังเบ้อื งต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ
- ครยู กตัวอย่างการช่วยเหลอื เมื่อเกิดเหตคุ วามไมป่ ลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรม

ลกู เสอื และการปฏิบตั ิตนตามหลกั ความปลอดภัย โดยศึกษาเพิม่ เติมจากใบความรู้
2) ครใู ห้ผเู้ รียนดูคลิปวีดโี อ เรื่อง ฐานกิจกรรมลูกเสือและนันทนาการ และรว่ มกับวิเคราะห์

ข้อคาถามต่อไปน้ี

211
(1) ฐานกจิ กรรมลกู เสือในคลิปวดี ีโอ มคี วามปลอดภัยหรือไม่ อย่างไร
(2) ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควดิ -19 หากตอ้ งเข้ารว่ มฐานกจิ กรรม
และนนั ทนาการ จะปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไร

https://www.youtube.com/watch?v=H09g6ZfTgRs&ab_channel=ReebuckRukbie%26Specialone

3) ครแู บ่งผ้เู รยี นออกเป็น 4 กลุ่ม ให้ศกึ ษาใบความรู้ต่อไปน้ี
กลมุ่ ที่ 1 ใบความรทู้ ี่ 1 เรื่อง ความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ
กลุ่มที่ 2 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การเฝา้ ระวังเบื้องตน้ ในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ
กลมุ่ ท่ี 3 ใบความรูท้ ี่ 3 เร่ือง การชว่ ยเหลือเมื่อเกดิ เหตุความไม่ปลอดภยั ในการเขา้

รว่ มกิจกรรมลกู เสือ
กลมุ่ ที่ 4 ใบความรูท้ ่ี 4 เร่ือง การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ความปลอดภัย

4) ครูใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกลุ่ม สรุปองค์ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศึกษาใบความรู้ เสนอหนา้ ช้นั เรียน
ข้ันที่ 3 ปฏิบตั ิและนาไปประยุกตใ์ ช้

1) ครูใหผ้ ้เู รยี นร่วมกันสรปุ เก่ียวกับการความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลกู เสือ
2) ครูและผเู้ รยี นสรปุ เน้ือหาท่ีนาเสนอร่วมกัน
3) ครมู อบหมายให้ผู้เรียนทกุ คน ทาใบงานท่ี 1 – 4
ขน้ั ท่ี 4 ประเมินผลการเรยี นรู้
1) ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2) ประเมินจากใบงาน
3) บันทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
4) ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

212

ส่อื การเรยี นรู้
1. ชุดวชิ าลูกเสอื กศน. รหัสรายวชิ า สค12025
2. สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา
3. สอ่ื เสรมิ การเรยี นร้อู ื่น ๆ
4. ใบความรู้
5. ใบงาน
6. เวบ็ ไซต์ YouTube

แบบทดสอบก่อนเรียน
เร่ือง ความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกิจกรรมลกู เสือ
คาช้ีแจง : จงกากบาท X เลอื กข้อที่ท่านคดิ วา่ ถูกต้องที่สุด

213

1. ข้อใดตรงกับความหมายของความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือที่ถูกต้อง
ก. มะนาว หลุดพ้นจากการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ
ข. เพชร เดินปา่ หยอกล้อกบั หมู่ของตนเองอย่างสนกุ สนาน
ค. สมหมาย ป่วยเป็นหวัดแตร่ ว่ มเดินทางไกลกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมอ่นื
ง. เชีย่ วชาญ เดินทางไกลโดยไม่ได้รบั อันตรายจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ

2. ขอ้ ใดตรงกับความหมายของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือท่ีถูกต้อง
ก. เตรยี มอุปกรณ์ เคร่ืองใชป้ ระจาตัวและเตรียมพาหนะในการเดินทางใหพ้ ร้อม
ข. ไมค่ วรศึกษาเสน้ ทางเดนิ ทางไกลล่วงหน้า เพราะจะทาให้ไม่ต่ืนเตน้
ค. เตรยี มอปุ กรณ์ที่จะใช้ในการปรุงอาหารไปให้มากท่สี ุด
ง. ถูกทง้ั 3 ข้อ

3. ข้อใดตรงกับความหมายของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสือทถ่ี ูกตอ้ ง
ก. เพื่อใหเ้ กิดความสวยงาม
ข. เพื่อให้เกดิ ความคล่องตัว
ค. เพอ่ื ให้เป็นไปตามระเบยี บ
ง. เพื่อความเป็นอันหน่ึงอนั เดียวกัน

4. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นใหก้ บั ผู้มีแผลบวมชา้ คือขอ้ ใด
ก. ใชส้ มุนไพรที่มมี าทา
ข. ใชผ้ ้าห่อถงุ นา้ แข็งประคบ
ค. ใช้ผ้าหอ่ ถุงนา้ ร้อนประคบ
ง. ใชย้ านวดทาบรเิ วณที่ฟกช้าและบวม

5. ความหมายของการปฐมพยาบาลคอื ข้อใด
ก. การช่วยให้คนเจ็บมกี าลงั ใจดขี น้ึ
ข. การช่วยใหผ้ ู้บาดเจบ็ มสี ุขภาพแข็งแรง
ค. การเตรียมอุปกรณ์ชว่ ยเหลือผูบ้ าดเจบ็
ง. การช่วยบรรเทาเบือ้ งต้นแกผ่ ูไ้ ด้รับบาดเจบ็

214

6. ขอ้ ใดคือองค์ประกอบของสญั ญาณชีพ
ก. ม่านตา อตั ราการหายใจ อุณหภมู ริ า่ งกาย ความดนั โลหิต
ข. ชพี จร อตั ราการหายใจ อุณหภมู ิร่างกาย ม่านตา
ค. ชพี จร อัตราการหายใจ อุณหภูมริ ่างกาย ความดันโลหิต
ง. ชีพจร อัตราการหายใจ ม่านตา ความดนั โลหิต

7. กจิ กรรมใดที่ปลอดภัยทส่ี ุด
ก. การรว่ มกิจกรรมบุกเบิกและเดนิ ทางไกล
ข. วาดภาพกิจกรรมยามวา่ ง
ค. การสร้างค่ายพกั แรม
ง. การประกอบอาหารชาวค่าย

8. กจิ กรรมลูกเสือทีเ่ สยี่ งต่อความไม่ปลอดภยั มากทสี่ ดุ คือข้อใด
ก. การขีจ่ กั รยานตามทางของชมุ ชน
ข. การเดินทางไกล ตามรางรถไฟท่ีส้นั และตัดตรง
ค. การเดินทางไกลตามภูมิประเทศที่พืน้ ธรรมชาติ
ง. การหาก RC ทเ่ี ป็นสัญลักษณข์ องลูกเสอื ประเภทอ่นื ๆ

9. อณุ หภมู ิปกติของคนท่ัวไป คือข้อใด
ก. 35 องศาเซลเซียส
ข. 36 องศาเซลเซยี ส
ค. 37 องศาเซลเซยี ส
ง. 38 องศาเซลเซียส

10. สงิ่ ทท่ี าใหล้ กู เสือ กศน. รสู้ กึ ปลอดภยั ในการอยู่คา่ ยพกั แรม คือข้อใด
ก. มาตรการทเี่ ปน็ มาตรฐาน
ข. ต้องมีเกมใบ้และรอบกองไฟ
ค. ควรมกี ารเปิดประชุมกองทุกวนั
ง. ให้มเี วรยามรกั ษาความปลอดภยั

เฉลย 1.ง 2.ก 3.ข 4.ง 5.ข 6.ค 7.ข 8.ข 9.ง 10. ก

215

ใบความรทู้ ่ี 1
ความปลอดภัยในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือ

ความหมายของความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสอื
ความปลอดภยั หมายถึง การทร่ี ่างกายปราศจากอบุ ัตภิ ัย อยู่ในสภาวะที่ปราศจาก

อนั ตราย หรอื สภาวะทีป่ ราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บปว่ ย จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กบั การ
ปฏบิ ตั ิหรือการกระทาของตนเอง

ความสาคัญของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสือ
ความปลอดภัยช่วยให้เกิดความระมัดระวังในการป้องกันตนเอง และผู้อ่ืนให้พ้นจากภัย

อันตราย หรือการเสียชีวิต โดยการให้คาแนะนาในการใช้เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ และสิ่งอานวยความ
สะดวกต่าง ๆ เพ่อื ให้เกดิ ประโยชน์ และปลอดภัย

216

ใบความรูท้ ่ี 2
การเฝา้ ระวงั เบ้อื งต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสอื
ลูกเสือต้องตระหนักในความสาคัญ และมีจิตสานึกต่อความปลอดภัยในการ ร่วมกิจกรรม
ทอ่ี าจเกดิ อุบัติเหตุ เนอ่ื งจาก
1. ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการร่วมกิจกรรมน้ัน ๆ ลูกเสือต้องทาความเข้าใจในกฎ
กติกา ของกิจกรรมน้ัน ๆ อย่างถ่องแท้ และปฏิบตั ิตามอย่างเครง่ ครัด
2. ขาดประสบการณ์ และขาดความชานาญ ลูกเสือต้องขวนขวายในการหาประสบการณ์
และความรู้ ทกั ษะที่จาเปน็ ตอ่ การรว่ มกจิ กรรมนน้ั ๆ
3. ขาดความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ ลูกเสือต้องเตรียมความพร้อมทางด้าน
รา่ งกายและจติ ใจกอ่ น
4. ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ์ ความแข็งแรงของอุปกรณ์ที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม
ลกู เสอื ตอ้ งตรวจสอบอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในแตล่ ะกจิ กรรมใหม้ สี ภาพแขง็ แรง พร้อมใช้งานอยเู่ สมอ
การเฝ้าระวังเบ้ืองต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือเป็นการฝึกตนเองของลูกเสือให้
ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ และภัยอันตรายต่าง ๆ เป็นวิธีการในการเตรียมความพร้อมของลูกเสือทั้ง
ด้านรา่ งกายและจิตใจ ดงั นี้
ดา้ นร่างกาย ลกู เสือตอ้ งเตรียมร่างกายให้พร้อม โดยออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหา
เวลาพักผอ่ นให้เพยี งพอ เพอ่ื สขุ ภาพและรา่ งกายจะได้แข็งแรงอยู่ตลอดเวลา

217

ดา้ นจติ ใจ ลูกเสือตอ้ งทาจติ ใจใหส้ บาย ๆ สรา้ งความรู้สกึ ที่สนุกสนานพร้อมรว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ
มคี วามรา่ เริง พร้อมรับการฝกึ ฝน ปฏบิ ัติด้วยตนเอง หรือช่วยผู้อ่ืน หาวิธีหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ อันจะ
เกิดข้ึนได้ในขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมลูกเสือ

ใบความรูท้ ่ี 3
การชว่ ยเหลือเม่ือเกดิ เหตคุ วามไม่ปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื

การเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ อาจมคี วามไม่ปลอดภยั ในดา้ นร่างกายข้ึนได้ ลกู เสือจงึ มคี วามจาเป็นตอ้ ง
เรียนรู้ถึงสาเหตทุ ี่ทำใหเ้ กดิ การเข้ารว่ มกิจกรรมลกู เสือ และวิธีการสร้างความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ลกู เสอื ดังนี้

1. สาเหตุที่ทาให้เกดิ ความไม่ปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรม มี 3 ประการ คอื
1.1 สาเหตุท่เี กดิ จากมนุษย์ มดี ังน้ี
1) ผู้ปฏิบตั กิ จิ กรรม มีความประมาทโดยคิดว่าไม่เป็นไร ลองผิดลองถูก หรอื รู้เท่าไม่ถึงการณ์
2) ผปู้ ฏิบัตกิ จิ กรรม มีความเชื่อใจ ไว้วางใจผใู้ ดผูห้ น่ึงทไี่ ดร้ ับมอบหมายให้ดาเนนิ การ และไม่

มีการตรวจสอบก่อน จงึ อาจทาให้มขี ้อผดิ พลาดได้
3) ผู้ปฏิบัตกิ จิ กรรมมสี ขุ ภาพไม่แข็งแรง หรอื มีโรคประจาตวั แต่เข้ารว่ มกิจกรรมบางอย่างที่

อาจทาใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุได้
4) ผปู้ ฏิบัตกิ ิจกรรมแต่งกายไมเ่ หมาะสมในการเข้าร่วมบางกิจกรรม

218

5) ผู้ปฏิบัตกิ จิ กรรมขาดการประเมินตนเอง หรอื บางครง้ั ประเมินตนเองผดิ พลาด โดยคิดว่า
ตนเองสามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมน้นั ได้ และบางครงั้ ผปู้ ฏิบัติเกิดความคึกคะนองกลั่นแกลง้ และหยอกลอ้ กนั

6) ผู้ปฏิบตั กิ ิจกรรม ขาดระเบียบวินยั ไม่เชอ่ื ฟังผู้บงั คับบญั ชา
1.2 สาเหตทุ ่เี กิดจากเคร่ืองมือ หรืออปุ กรณ์ มีดังนี้

1) ขาดเครื่องมือ และอปุ กรณ์ในการชว่ ยเหลอื เม่ือเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยในการเขา้ ร่วม
กจิ กรรมที่เหมาะสม หรอื อุปกรณ์บางชนดิ เส่ือมสภาพไม่เหมาะทจ่ี ะนามาใช้งาน

2) ขาดความรู้ในการใชเ้ คร่ืองมือและอุปกรณ์ แตล่ ะประเภท หรอื ใช้เครื่องมือ และอปุ กรณ์ท่ี
ใช้ผิดประเภท

3) ขาดทักษะ ความชานาญ ในการใช้เคร่อื งมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
4) ขาดการตรวจสอบความสมบรู ณ์ ความแข็งแรงของอุปกรณ์ในฐานโดยละเอียด และขาด
การบารงุ รักษาทเ่ี หมาะสม
1.3 สาเหตทุ ี่เกดิ จากภัยธรรมชาติ มีดงั นี้
1) ภัยทางน้า อาจเกิดความไมป่ ลอดภัยในขณะทีป่ ฏบิ ัติกจิ กรรมได้ เชน่ นา้ หลาก น้าไหล
เช่ียว
2) ภัยทางบก อาจเกดิ ความไมป่ ลอดภัยในขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมได้ เช่น การสรา้ งสะพานดว้ ย
เชอื กท่ีไปผูกกับต้นไม้ ทาใหต้ ้นไม้อาจหกั เป็นต้น
3) ภัยทางอากาศ อาจเกดิ ความไม่ปลอดภัยขณะปฏิบตั ิกจิ กรรมได้ เชน่ เกดิ มีพายุ ลมแรง

2. การสรา้ งความปลอดภัยในการเข้าร่วมกจิ กรรมลกู เสอื คือ วิธีการป้องกนั ก่อนจัดสรา้ งอุปกรณ์
และก่อนเข้าร่วมกิจกรรม โดยมีอปุ กรณ์ปอ้ งกัน หรอื สร้างอุปกรณ์ท่ีใช้ ในกจิ กรรมใหป้ ลอดภยั โดยใหค้ วามรู้ มี
มาตรการบังคบั ควบคุมการใชอ้ ปุ กรณ์ให้ถกู กบั กิจกรรมจะช่วยสร้างความปลอดภยั ให้กับลกู เสือในการปฏิบัติ
กจิ กรรม เชน่ กิจกรรมบกุ เบิก กิจกรรมผจญภยั และกิจกรรมเดินทางไกล ดังน้ี

2.1 กิจกรรมบุกเบกิ
1) ลกู เสอื ต้องเตรียมความพร้อมทางร่างกายและจิตใจ
2) ลกู เสอื ต้องมรี ะเบยี บวนิ ัย เชื่อฟังและปฏบิ ัติตามคาแนะนาของ ผ้กู ากับลูกเสือ
3) ลกู เสือต้องตรวจเชค็ อปุ กรณใ์ นฐานบุกเบิก อย่างสม่าเสมอ
4) ลกู เสือต้องไมก่ ล่ันแกลง้ เพ่ือนขณะทากิจกรรม

219
5) ลูกเสอื ต้องเตรียมพร้อมทางด้านความรู้ ศึกษากิจกรรม และทา ความเข้าใจกอ่ นเขา้ ร่วม
กจิ กรรม
2.2 กิจกรรมผจญภัย
1) ลกู เสือต้องเตรียมความพร้อมทางร่างกายและจิตใจ
2) ลกู เสอื ต้องมรี ะเบียบวินยั เชอื่ ฟงั และปฏิบตั ิตามคาแนะนาของ ผูก้ ากับลูกเสือ
3) ลูกเสอื ต้องตรวจเชค็ อุปกรณ์ในฐานบุกเบิก อย่างสมา่ เสมอ
4) ลูกเสอื ต้องไม่กลน่ั แกลง้ เพ่ือนขณะทากิจกรรม
5) ลกู เสอื ต้องเตรียมพร้อมทางด้านความรู้ ศึกษากิจกรรม และทา ความเขา้ ใจกอ่ นเข้าร่วม
กจิ กรรม
2.3 กิจกรรมเดนิ ทางไกล
1) กอ่ นท่ีจะกาหนดเส้นทางการเดนิ ทางไกล ลกู เสอื ต้องสารวจเส้นทาง และสารวจประเพณี
วฒั นธรรมในทอ้ งถนิ่ นนั้ ตามสมควร หากจาเปน็ ต้องขออนุญาต ก็ต้องขออนุญาตผ่านจากเจ้าของสถานที่น้นั ๆ
2) ในการกาหนดเส้นทางเดนิ ลกู เสือควรเล่ียงการเดินตามถนนใหญท่ ่มี ีการจราจรคบั ค่ัง เพ่อื
ป้องกนั การเกิดอุบัตเิ หตุ
3) ในระหวา่ งการเดนิ ทางไกล ลูกเสือไม่ควรแข่งขันหรือแทรกกนั เดินระหวา่ งหมู่
4) ในระหว่างการเดินทางไกล ลูกเสือควรออกเดินทางเป็นหมู่ และตอ้ งปฏบิ ัติตาม
กฎระเบยี บของลกู เสือ และกฎจราจรอย่างเครง่ ครดั เพ่ือความปลอดภัย

ใบความร้ทู ี่ 4
การปฏบิ ัตติ นตามหลักความปลอดภยั

ลูกเสือตอ้ งปฏบิ ตั ติ นตามหลักความปลอดภัย ดังนี้

220

ด้านร่างกาย ต้องเตรียมความพร้อมของร่างกาย การออกกาลังกาย รักษาร่างกายไม่ให้
เจบ็ ปว่ ย พร้อมปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ได้

ด้านจิตใจ ควรศึกษาหาความรู้ในกิจกรรมลูกเสือโดยเฉพาะลูกเสือ กศน. เป็นการเตรียม
ความพร้อมด้านหนึ่งในการปฏิบัติตนเอง และพร้อมช่วยเหลือผู้อ่ืนได้ตาม ความเหมาะสมลูกเสือ
ตอ้ งทาความเขา้ ใจในความหมายของคาปฏิญาณและกฎของลกู เสือ เพ่ือนามาใช้ในการอยู่ร่วมกัน
ท้ังเวลาพบกลุ่มและการเข้าค่ายพักแรมร่วมกัน วิเคราะห์สถานการณ์ความปลอดภัยความไม่
ปลอดภัยและความเส่ียง วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย และนาข้อบกพร่องหรือช่องทางที่จะป้องกันไว้
เบ้อื งต้น เปน็ มาตรการในการอยู่ร่วมกนั และการเข้ารว่ มกจิ กรรม ดังน้ี

1. นาข้อมูลจากการวิเคราะห์จากกฎของลูกเสือ มาระดมพลังสมองเปรียบเทียบกับฐาน
การเรียนรู้และฐานกิจกรรมที่สร้างข้ึนในค่ายพักแรม และสรุปความเสี่ยงเพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดเหตุ
หรอื ภัยตา่ ง ๆ ไว้ล่วงหนา้

2. นาเสนอผลการจัดทามาตรการในการอย่รู ่วมกัน ทงั้ การพบกลมุ่ และการอยู่คา่ ยพกั แรม
เพื่อกาหนดมาตรการใหใ้ ช้รว่ มกนั อย่างเหมาะสม

3. ทดลองนาข้อบกพรอ่ งของกระบวนการผลิตที่มีความเสย่ี งในการปฏบิ ัติ มานาเสนอและ
แสดงบทบาทสมมุติ (Role play) เพื่อฝึกปฏิบัติ เป็นการเตรียมความพร้อม เพื่อเตรียมการก่อน
ผลิตสอื่ หรอื สร้างค่ายกิจกรรมลูกเสอื กศน.

221

ใบงานที่ 1
ความความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ
คาชแ้ี จง ให้ผู้เรยี นตอบคาถาม ดังต่อไปนี้
ความหมายและความสาคญั ของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ช่อื – สกลุ ...........................................รหสั นกั ศึกษา..................................ระดบั ................... กศน.ตาบล.....................

222

ใบงานที่ 2
การเฝา้ ระวังเบื้องต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือ

คาช้แี จง ให้ผเู้ รียนยกตัวอยา่ งการเฝา้ ระวังเบื้องต้นในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ

กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมลูกเสือ ยกตัวอย่างการเฝ้าระวังเบือ้ งตน้
กิจกรรมบกุ เบกิ

กิจกรรมผจญภัย

223
ช่ือ – สกุล ...........................................รหสั นักศกึ ษา..................................ระดบั ................... กศน.ตาบล.....................

ใบงานท่ี 3
การช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้าร่วมกิจกรรม ลกู เสอื

คาชี้แจง ให้ผเู้ รียนอธบิ ายวธิ ีการช่วยเหลือ เมือ่ เกิดเหตคุ วามไม่ปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสือ
กรณตี อ่ ไปนี้

กรณอี ุบตั ิเหตุ การช่วยเหลือ
อบุ ตั ิเหตุทางน้า

อบุ ตั เิ หตุทางรถยนตห์ รอื ทางถนน

224

อุบัตเิ หตทุ ่ัวไป
1. ตกจากทสี่ ูง
2. หกลม้
3. ไฟไหม้
4. น้ารอ้ นลวก

ชอื่ – สกลุ ...........................................รหสั นกั ศกึ ษา..................................ระดบั ................... กศน.ตาบล.....................

ใบงานท่ี 4
การปฏบิ ัตติ นตามหลักความปลอดภัย

คาชีแ้ จง ใหผ้ เู้ รียนยกตัวอยา่ งการปฏิบัติตนตามหลกั ความปลอดภยั

หลกั ความปลอดภยั ยกตัวอยา่ งการปฏบิ ัตติ น
ดา้ นรา่ งกาย ตามหลัก ความปลอดภัย

ดา้ นจิตใจ

225

ชอ่ื – สกุล ...........................................รหัสนักศกึ ษา..................................ระดับ................... กศน.ตาบล.....................

แบบทดสอบหลังเรียน
เร่ือง ความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือ
คาช้ีแจง : จงกากบาท X เลือกข้อทท่ี ่านคิดวา่ ถูกต้องทีส่ ุด
1. ข้อใดตรงกับความหมายของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือท่ีถูกต้อง

ก. มะนาว หลุดพน้ จากการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ
ข. เพชร เดินป่าหยอกล้อกับหมขู่ องตนเองอยา่ งสนุกสนาน

226

ค. สมหมาย ป่วยเปน็ หวัดแต่รว่ มเดินทางไกลกบั ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมอนื่
ง. เชยี่ วชาญ เดินทางไกลโดยไม่ได้รับอันตรายจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ

2. ขอ้ ใดตรงกบั ความหมายของความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสือท่ีถูกต้อง
ก. เตรียมอปุ กรณ์ เครื่องใช้ประจาตัวและเตรยี มพาหนะในการเดนิ ทางให้พร้อม
ข. ไมค่ วรศึกษาเส้นทางเดินทางไกลล่วงหนา้ เพราะจะทาให้ไม่ต่นื เต้น
ค. เตรยี มอุปกรณ์ที่จะใชใ้ นการปรงุ อาหารไปใหม้ ากทสี่ ดุ
ง. ถูกทัง้ 3 ข้อ

4. ข้อใดตรงกบั ความหมายของความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือท่ีถูกต้อง
ก. เพอ่ื ให้เกิดความสวยงาม
ข. เพ่อื ใหเ้ กดิ ความคล่องตัว
ค. เพ่ือให้เปน็ ไปตามระเบยี บ
ง. เพือ่ ความเป็นอันหนึ่งอนั เดียวกัน

4. การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ให้กับผ้มู ีแผลบวมชา้ คอื ข้อใด
ก. ใชส้ มุนไพรท่ีมีมาทา
ข. ใช้ผ้าห่อถงุ นา้ แขง็ ประคบ
ค. ใชผ้ ้าห่อถุงน้าร้อนประคบ
ง. ใช้ยานวดทาบริเวณท่ฟี กช้าและบวม

5. ความหมายของการปฐมพยาบาลคือขอ้ ใด
ก. การชว่ ยใหค้ นเจบ็ มกี าลงั ใจดขี นึ้
ข. การช่วยให้ผูบ้ าดเจ็บมสี ุขภาพแข็งแรง
ค. การเตรยี มอุปกรณช์ ่วยเหลือผบู้ าดเจบ็
ง. การชว่ ยบรรเทาเบ้ืองตน้ แก่ผูไ้ ด้รับบาดเจบ็

6. ข้อใดคือองคป์ ระกอบของสญั ญาณชีพ
ก. ม่านตา อตั ราการหายใจ อุณหภูมริ ่างกาย ความดันโลหิต
ข. ชพี จร อตั ราการหายใจ อุณหภมู ริ ่างกาย ม่านตา

227

ค. ชีพจร อตั ราการหายใจ อุณหภูมริ ่างกาย ความดนั โลหติ
ง. ชีพจร อตั ราการหายใจ มา่ นตา ความดันโลหิต

11.กิจกรรมใดที่ปลอดภยั ทสี่ ุด
ก. การร่วมกิจกรรมบุกเบิกและเดินทางไกล
ข. วาดภาพกิจกรรมยามว่าง
ค. การสรา้ งค่ายพกั แรม
ง. การประกอบอาหารชาวคา่ ย

12.กจิ กรรมลกู เสือทเี่ สยี่ งต่อความไมป่ ลอดภยั มากทส่ี ุด คือข้อใด
ก. การขี่จักรยานตามทางของชมุ ชน
ข. การเดนิ ทางไกล ตามรางรถไฟท่ีสนั้ และตัดตรง
ค. การเดนิ ทางไกลตามภมู ิประเทศทพ่ี ื้นธรรมชาติ
ง. การหาก RC ที่เป็นสัญลักษณ์ของลูกเสอื ประเภทอื่น ๆ

13.อุณหภูมปิ กตขิ องคนทั่วไป คือข้อใด
ก. 35 องศาเซลเซียส
ข. 36 องศาเซลเซียส
ค. 37 องศาเซลเซียส
ง. 38 องศาเซลเซยี ส

14. สง่ิ ท่ีทาใหล้ ูกเสือ กศน. รูส้ ึกปลอดภยั ในการอยคู่ ่ายพกั แรม คือข้อใด
ก. มาตรการท่เี ป็นมาตรฐาน
ข. ต้องมีเกมใบ้และรอบกองไฟ
ค. ควรมกี ารเปดิ ประชุมกองทุกวนั
ง. ให้มีเวรยามรักษาความปลอดภัย

เฉลย 1.ง 2.ก 3.ข 4.ง 5.ข 6.ค 7.ข 8.ข 9.ง 10. ก

228

บนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

กจิ กรรมการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
สภาพปัญหาท่ีพบ
................................................................................................................. .............................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
วธิ แี ก้ปญั หา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................ผบู้ นั ทกึ
(..................................................)
วนั ท.่ี ...........................................

ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหาร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .......................................................
(…………………………………………….)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ

229

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 13

เรือ่ ง การปฐมพยาบาล

รายวชิ า ลูกเสือ รหัสวชิ า สค 12025 ระดบั ประถมศกึ ษา

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 สาระการพัฒนาสังคม เวลา 4 ชวั่ โมง

ครผู ู้สอน.................................................. รปู แบบการสอนพบกลมุ่ /ค้นคว้าด้วยตนเอง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกย่ี วกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ

ปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรับใช้ในการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพ เพื่อความม่ันคงของชาติ
1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของท้องถิน่ และ

ประเทศไทย
1.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนนิ ชีวติ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย กฎหมายเบอ้ื งตน้ กฎระเบยี บของชมุ ชน

สงั คม และประเทศ
1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพฒั นาตนเอง

ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม

2. ตัวช้ีวดั
2.1 อธิบายความหมายและความจาเปน็ ของการปฐมพยาบาล
2.2 อธิบายและยกตัวอย่างวธิ ีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นไดอ้ ย่างถกู ต้อง

3. สาระสาคญั ของเน้ือหา
3.1 การปฐมพยาบาล
3.2 ความหมายของการปฐมพยาบาล
3.3 ความจาเปน็ ของการปฐมพยาบาล

4. เปา้ หมายการเรียนรู้ (ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั )

230

4.1 บอกวิธีการปฐมพยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ทางน้า ตกจากท่ีสูง หกล้มท่ีมีอาการ
กระดกู หกั ขอ้ เคล็ด ข้อเคลอื่ น

4.2 สามารถประเมินอาการเบื้องต้น หรอื ตัดสินใจใช้วิธีการช่วยชีวติ ข้ันพื้นฐานอย่างถูกวิธี ถกู ต้อง และ
รวดเร็ว เพือ่ ป้องกนั การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นหรอื เกดิ อาการทรุดลงถึงขั้นอันตรายถึงแกช่ วี ติ

4.3 มีความรู้ ความสามารถ เก่ียวกับการประเมินอาการเบื้องต้น หรือตัดสินใจใช้วิธีการช่วยชีวิตขั้น
พื้นฐานอย่างถูกวิธี ถูกต้อง และรวดเร็ว เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือเกิดอาการทรุดลงถึงข้ัน
อันตรายถึงแกช่ ีวติ

5. ขัน้ จัดกระบวนการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหาความตอ้ งการในการเรยี นรู้
1) ครแู ละผเู้ รยี นรว่ มกันกาหนดสภาพความจาเป็นท่ีต้องเรียนรู้ในเร่อื งต่อไปนี้
(1) ความหมาย ความสาคัญ ของการปฐมพยาบาล
(2) หลักการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้
(3) การรวมกลมุ่ เพ่ือต่อยอดความรู้
(4) การจัดทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
2) ครแู ละผ้เู รียนทาความเขา้ ใจสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรูใ้ ห้ผู้เรยี นซักถาม

แลกเปลย่ี นเรียนรู้ เช่ือมโยงความรใู้ หม่
3) ครูให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

ขน้ั ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรียนรู้
1) ครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มแสดงความคิดเหน็ เรื่อง ความหมายของการปฐมพยาบาลวตั ถุประสงค์

ของการปฐมพยาบาลความสาคญั ของการปฐมพยาบาล หลักการของการปฐมพยาบาล
- ครยู กตวั อยา่ งรูปแบบและหลกั การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้
- ครยู กตวั อย่างรปู แบบและวัตถุประสงคข์ องการปฐมพยาบาล
- ครบู อกวัตถปุ ระสงค์ของการปฐมพยาบาล / หลักการการปฐมพยาบาล

2) ครูใหผ้ ู้เรยี นดูคลปิ จาก YouTube เรือ่ ง การปฐมพยาบาล หลงั จากดคู ลปิ แล้ว ใหผ้ เู้ รยี น
ร่วมแสดงความคิดเห็นในหัวข้อ “หากนักศึกษาพบผปู้ ่วยกระดูกหักจากอุบัติเหตุ จะมีวิธีปฐมพยาบาลอยา่ งไร”

231

https://youtu.be/D9dqbsVeDHk

3) ครแู บง่ กล่มุ ผเู้ รยี นเป็น 4 กล่มุ แจกกระดาษบรฟู๊ และใหศ้ ึกษาใบความรู้ ดงั น้ี
กลมุ่ ที่ 1 ใบความร้ทู ่ี 1 เร่ือง วธิ ีการปฐมพยาบาลกรณีอุบตั ิเหต
กลมุ่ ท่ี 2 ใบความรู้ท่ี 2 เรือ่ ง วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณีการเจ็บปว่ ยโดยปจั จุบัน
กลุ่มที่ 3 ใบความรู้ท่ี 3 เร่อื ง วิธีการปฐมพยาบาลกรณสี ตั ว์ แมง หรอื แมลงทม่ี ีพษิ กดั

ตอ่ ย
กลุ่มท่ี 4 ใบความรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง วธิ ีการปฐมพยาบาลกรณีหมดสตจิ ากการถูกทาร้าย

ร่างกาย
4) ครูใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมาสรุปองค์ความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาใบความร้หู น้าชน้ั เรยี น

ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติและนาไปประยุกตใ์ ช้
1) ครูและผู้เรยี นร่วมการสรปุ วตั ถุประสงค์หลกั การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น
2) ผ้เู รียนทั้ง 4 กลมุ่ นาเสนอและสาธิตวิธกี ารปฐมพยาบาล หลักการปฐมพยาบาล และการ

ประเมนิ สภาพผู้ป่วยเบ้ืองต้น เพ่อื ต่อยอดความรู้ การจดั ทาสารสนเทศเผยแพร่ความรหู้ วั ข้อการปฐมพยาบาล
หลักการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น

3) ครแู ละผ้เู รยี นสรปุ เน้ือหาท่ีนาเสนอร่วมกนั
4) ครใู หผ้ เู้ รียนทาใบงาน
ขัน้ ท่ี 4 ประเมินผลการเรยี นรู้
1) ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
2) ประเมินจากใบงาน

232

3) ครสู งั เกตจากการนาเสนอผเู้ รียน
4) บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
5) ทาแบบทดสอบหลังเรียน

สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษบรู๊ฟ / ปากกาเคมี /
2. อปุ กรณ์ทางการแพทยท์ เ่ี ก่ียวข้อง เช่น ผา้ กอ๊ กสาหรบั สาธิตการปฐมพยาบาล ปรอทวัดไข้

เคร่อื งมอื วัดความดนั โลหติ ฯลฯ
3. ใบความรู้
4. ใบงาน
5. คลปิ วีดีดอ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เร่อื ง วธิ ีการปฐมพยาบาลกรณีต่าง ๆ

คาชีแ้ จง : จงกากบาท X เลอื กข้อทีท่ ่านคดิ วา่ ถกู ต้องท่ีสุด
1. สงิ่ ใดไมค่ วรทาเม่ือกระดูกหัก
ก. เข้าเฝือก
ข. ใหอ้ ยนู่ ง่ิ ๆ
ค. ใชไ้ มเ้ ขา้ เฝือก

233

ง. ขยบั ส่วนท่หี ัก
2. เหตุใดเลือดจึงหยุดไหล

ก. แผลหดตัว
ข. เส้นเลอื ดฝอยหดตวั
ค. เลือดมคี วามเหนียว
ง. เลอื ดไหลจนหมดแล้ว
3. เม่ือเลอื ดไหลหยุดแลว้ ควรทาอยา่ งไร
ก. ปล่อยแผลให้แหง้ เอง
ข. ใช้ผา้ สะอาดพันแผล
ค. ไปซือ้ ยามารับประทานเอง
ง. เขีย่ แผลเพือ่ ให้เช้ือโรคหลดุ ออก
4. ทา่ นัง่ ในการปฐมพยาบาลเมือ่ เลือดกาเดาไหลคือแบบใด
ก. นัง่ ยอง ๆ
ข. น่ังให้ตัวตง้ั ตรง
ค. นงั่ โน้มตัวไปด้านหน้า
ง. น่ังโน้มตัวไปดา้ นหลัง
5. ผ้าทีใ่ ช้กดบาดแผลควรเปน็ อย่างไร
ก. สะอาด
ข. ผืนใหญ่
ค. เปน็ ผ้าฝา้ ย
ง. มีสีสวา่ งตา

234

6. การปฐมพยาบาลเมือ่ โดนน้าร้อนลวกควรทาอยา่ งไร
ก. แชส่ ่วนน้ันในน้าเยน็
ข. แช่สว่ นนัน้ ในน้าอุน่
ค. ลา้ งส่วนน้ันในนา้ เย็น
ง. ลา้ งส่วนนั้นในนา้ อุ่น

7. ขอ้ ใดคือวิธีการลดความเจ็บปวดจากแผลน้าร้อนลวก
ก. ใช้มอื ลบู
ข. ใช้มอื ตีเบาๆ
ค. .ใช้ผา้ ปดิ ไว้
ง. ใช้น้าประปาไหลผ่านแผล

8. สิง่ ใดท่ที ำให้หลอดเลือดแข็งตวั
ก. น้าแข็ง
ข. น้าสะอาด
ค. ผา้ สะอาด
ง. มอื ทก่ี ดแผล

9. สงิ่ ใดต่อไปนี้ทีใ่ ช้รกั ษาแผลน้าร้อนลวก
ก. ใบตะไคร้
ข. น้ามะพร้าว

ค. เปลือกสม้ โอ
ง. ต้นวา่ นหางจระเข้

10. เมอ่ื มบี าดแผลที่แขนเราควรทาอยา่ งไร
ก. กอดอกไว้
ข. ยกแขนข้ึน
ค. แกวง่ แขน
ง. วางแขนไวต้ ามปกติ

เฉลย 1) ง 2) ก 3 )ข 4) ค 5) ก 6) ก 7) ง 8) ก 9) ง 10) ง

ช่ือ.............. ....................................นามสกุล........... .......................................ชั้น.................................

235

ใบความรู้ท่ี 1
เรื่อง วิธีการปฐมพยาบาลกรณอี บุ ตั เิ หตุ

อุบัตเิ หตุ หมายถงึ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขึน้ โดยมิได้วางแผนไวล้ ว่ งหนา้ ซง่ึ กอ่ ให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ
หรอื ทาให้ทรัพยส์ ินไดร้ ับความเสียหาย เชน่ อุบตั ิเหตุทางรถยนตห์ รอื ทางถนน อบุ ัตเิ หตุ ทางนา้ อบุ ตั ิเหตทุ ั่วไป
เปน็ ตน้ อบุ ตั เิ หตทุ างรถยนตห์ รอื ทางถนน อบุ ตั เิ หตุทางรถยนตห์ รือทางถนน เป็นสาเหตุสาคัญทีค่ ร่าชีวิตคน
ไทย ซ่งึ การ ช่วยเหลอื ผู้ประสบเหตุอย่างถกู วิธีจะช่วยลดการบาดเจบ็ รุนแรงและเสียชีวิต

มขี อ้ แนะนาทค่ี วรปฏิบัตใิ นการชว่ ยเหลือ ผูป้ ระสบอุบัตเิ หตุทางถนนอยา่ งถูกวิธี ดังนี้
1. ประเมินสถานการณ์ จากสภาพแวดลอ้ มและสภาพการจราจรของจุดเกดิ เหตุ โดยเฉพาะในช่วง
เวลากลางคนื หรอื ทัศนวิสัยไม่ดี ควรเพ่ิมความระมัดระวงั เป็นพิเศษเพื่อปอ้ งกัน อบุ ตั เิ หตุซา้ ซอ้ น
2. ส่งสญั ญาณเตอื นใหผ้ ูร้ ่วมใช้เส้นทางเพ่ิมความระมัดระวัง โดยเปิดสัญญาณไฟฉุกเฉนิ ของรถคนั ที่
เกดิ เหตุ นากง่ิ ไม้ ป้ายสามเหลีย่ ม หรือกรวยสะท้อนแสงมาวางไว้ ด้านหลังรถหา่ งจากจุดเกิดเหตใุ นระยะไม่ตา่
กว่า 50 เมตร
3. โทรศพั ท์แจง้ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง อาทิ ตารวจ หนว่ ยแพทยฉ์ ุกเฉิน พรอ้ มให้ ขอ้ มูลจดุ เกิดเหตุ
จานวนและอาการของผูบ้ าดเจบ็ เพอื่ เจา้ หนา้ ทจี่ ะได้วางแผนใหก้ ารชว่ ยเหลือ ผ้ปู ระสบเหตุได้อย่างถูกต้อง
4. ช่วยเหลือผปู้ ระสบอุบัติเหตทุ มี่ ีอาการรนุ แรงเปน็ ลาดบั แรก โดยเฉพาะผ้ทู ี่หมดสตหิ ยุดหายใจ-หัวใจหยดุ เต้น
และเสียเลือดมาก กรณีผู้ประสบเหตุบาดเจบ็ เลก็ นอ้ ย ให้ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ตามอาการ
5. หากไม่มีทักษะการชว่ ยเหลือ ห้ามเคล่ือนยา้ ยผปู้ ระสบเหตุด้วยตนเอง ควรรอใหท้ ีมแพทยฉ์ กุ เฉนิ มา
ชว่ ยเหลือ และนาส่งสถานพยาบาล จะชว่ ยลดการบาดเจบ็ รุนแรง ทท่ี าใหผ้ ้ปู ระสบเหตุพิการหรอื เสยี ชีวิต

วธิ ีการปฐมพยาบาล กรณจี มน้า
การจมน้า ทาใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการขาดออกซิเจนไปเลยี้ งสมองการชว่ ยชีวิต และการกู้ฟนื้ คนื ชีพ จึง

เปน็ ปจั จยั สาคัญที่ทาให้ผทู้ ี่จมนา้ รอดชีวิตจากการปฐมพยาบาล
1. จัดให้นอนตะแคงกง่ึ ควา่ รีบตรวจสอบการหายใจ
2. ถา้ ไม่มีการหายใจใหช้ ่วยกู้ชพี ทนั ทีโดยการผายปอด/เปา่ ปาก
3. ให้ความอบอุน่ กบั ร่างกายผู้จมน้าโดยถอดเส้ือผ้าท่เี ปยี กนา้ ออกและใช้ผา้ แหง้ คลุมตัวไว้
4. นาส่งสถานพยาบาล
ข้อควรระวัง

236

1. กรณีผู้จมน้ามีประวัตกิ ารจมนา้ เน่ืองจากการกระโดดนา้ หรือเล่นกระดานโต้คลื่น การช่วยเหลอื
ตอ้ งระวังเร่ืองกระดูกหัก โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายผู้จมนา้ โดยเม่อื นา ผู้จมน้าขึ้นถงึ นา้ ตื้นพอที่ผชู้ ว่ ยเหลือจะ
ยืนได้สะดวกแล้วใหใ้ ช้ไม้กระดานแข็งสอดใต้น้ารองรับตัว ผูจ้ มน้าใชผ้ ้ารดั ตวั ผ้จู มน้าใหต้ ิดกบั ไม้ไว้

2. ไมค่ วรเสยี เวลากบั การพยายามเอาน้าออกจากปอดหรือกระเพาะอาหาร
3. หากไม่สามารถนาผจู้ มน้าขึ้นจากนา้ ไดโ้ ดยเร็วอาจเปา่ ปากบนผิวน้า โดยหลกี เลย่ี งการเปา่ ปากใต้นา้
และหา้ มนวดหน้าอกระหว่างอยูใ่ นนา้

อุบัติเหตทุ ั่วไป (ตกจากทส่ี ูง หกลม้ ไฟไหม/้ นา้ รอ้ นลวก)
อุบัติเหตุท่ัวไป เปน็ สิ่งทเ่ี กิดข้ึนได้ ทุกท่ี ทกุ เวลา และเกดิ ได้กับบคุ คลทกุ เพศ ทกุ วัย เช่น การตกจากท่ี

สูง หกลม้ ไฟไหม้ น้าร้อนลวก เปน็ ตน้
1. การตกจากที่สงู
สามารถทาใหเ้ กิดอนั ตรายไดร้ นุ แรงมากน้อยต่าง ๆ กันไป ส่วนใหญ่จะส่งผลกอ่ ให้เกิดการบาดเจบ็

ของ กลา้ มเนือ้ และกระดูก ดังน้ี
1.1 ขอ้ เคลด็ หมายถึง การที่ข้อมกี ารเคล่ือนไหวมากเกนิ ไป ทาให้เน้ือเยอื่ ออ่ น ๆ และเอ็นรอบ ๆ

ข้อ หรือกลา้ มเนื้อ มีการชอกช้า ฉกี ขาด หรือยดึ เนื่องจากข้อถูกบิด พลิก หรอื แพลงไป ทาใหเ้ จบ็ ปวดมาก
ข้ันตอนการชว่ ยเหลอื เบื้องตน้

1) ใหข้ ้อพักน่งิ ๆ
2) ควรยกมือหรอื เทา้ ท่เี คล็ดใหส้ ูงขน้ึ ถ้าเปน็ ข้อมือควรใช้ผ้าคลอ้ งแขนไว้

3) ภายใน 24 ชว่ั โมงแรกใหป้ ระคบด้วยความเย็น เพ่ือให้เลือดใต้ผวิ หนงั หยุดไหล หลังจาก
นั้นใหป้ ระคบด้วยความรอ้ น

4) พันด้วยผา้
5) ภายใน 7 วนั หากอาการไม่ดีขนึ้ ให้ไปโรงพยาบาล เพ่ือตรวจให้แน่นอนวา่ ไม่มกี ระดูกหักรว่ ม
ดว้ ย
1.2 ข้อเคลื่อน หมายถึง ส่วนของข้อตอ่ บริเวณปลายกระดูกเคลอื่ นหรือหลดุ ออกจากทเ่ี กิดจาก
การถูกกระชากอยา่ งแรง หรอื มีโรคที่ข้ออยู่กอ่ นแล้ว เชน่ วณั โรคทีข่ ้อสะโพก ขน้ั ตอนการชว่ ยเหลือเบ้ืองตน้
1) ให้ข้อพักน่งิ อยา่ พยายามดึงกลับเข้าที่
2) ประคบดว้ ยความเย็น
3) เข้าเฝือกชัว่ คราว หรือใชผ้ ้าพัน
4) รบี นาสง่ โรงพยาบาล ควรงดอาหาร น้า และยาทกุ ชนดิ

237

1.3 กระดูกหกั หมายถงึ ภาวะท่ีกระดกู ได้รับแรงกระแทกมากเกนิ ไป สง่ ผลให้กระดูกไม่สามารถ
รองรับน้าหนกั จากแรงกระแทกได้ ก่อให้เกิดอาการ ปวด บวม รอ้ น บรเิ วณท่หี กั ถา้ จับกระดกู นนั้ โยกหรือบิด
เล็กน้อยจะมเี สียงดังกรอบแกรบ เนอื่ งจากปลายกระดูกที่หักน้นั เสียดสีกนั การเคล่อื นไหวผดิ ปกติอาจมี
บาดแผลและพบปลายกระดกู โผล่ออกมาเห็นได้ หลกั การเข้าเฝอื กชวั่ คราว

1. วสั ดุทีใ่ ช้ดาม ตอ้ งยาวกว่าอวัยวะส่วนที่หัก
2. ไมว่ างเฝือกลงบนบริเวณที่กระดูกหกั โดยตรง ควรมสี ่ิงอ่ืนรอง เช่น ผ้าวาง ก่อนตลอดแนว
เฝอื ก เพื่อไม่ให้เฝือกกดลงบริเวณผวิ หนงั โดยตรง ซง่ึ ทาใหเ้ จ็บปวด และเกดิ เป็นแผล จากเฝอื กกดได้
3. มดั เฝอื กกับอวัยวะท่หี ักให้แน่นพอควร ถ้ารดั แน่นจนเกินไปจะกดผิวหนงั จนทาให้การ
ไหลเวยี นของเลือดไมส่ ะดวกเป็นอันตรายได้
2. การหกล้ม
เปน็ อาการหรือพฤติกรรมทีร่ จู้ กั กันทั่วไป ซง่ึ หมายถึง การทเ่ี กิดการเปล่ยี นท่าโดยไมต่ ั้งใจ และเปน็
ผลให้รา่ งกายทรุด หรอื ลงนอนกบั พืน้ หรอื ปะทะส่ิงของต่าง ๆ เช่น โต๊ะ เตยี ง บาดแผลแบ่งออกเปน็ 2 ชนิด
1. บาดแผลเปิด คือ บาดแผลท่ผี ิวหนังฉีกขาดจนเหน็ เน้ือข้างใน เช่น แผลถลอก แผลที่เกิดจาก
การเจาะ การแทง การกระแทก แผลถกู ของมคี มบาด แผลฉีกขาด เนอ่ื งจากวัตถมุ ีคมอาจลึกลงไปถึงเนอื้ เยื่อ
เส้นเอน็
การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นควรใช้วิธกี ารห้ามเลอื ด ควรทาความสะอาดแผลก่อนเพื่อป้องกัน
การตดิ เชอ้ื โดยลา้ งแผลด้วยน้าสะอาด แล้วใช้ผ้าก็อซหรือผา้ สะอาดวางไว้ตรงบาดแผล ยกเว้นเม่อื เกิด
บาดแผลที่ดวงตา เพราะอาจมสี ิ่งแปลกปลอมทาใหด้ วงตาไดร้ บั บาดเจ็บมากขนึ้ แล้วใช้ผา้ สะอาด พันปดิ แผล
ไว้ อยา่ ใหแ้ น่นจนชา หากไม่มีผา้ พนั แผล สามารถดัดแปลงส่ิงของใกลต้ วั มาใช้ได้ เชน่ ผ้าเช็ดหนา้ ชายเส้ือ
ชายกระโปรง หรือเนคไท
แผลทีแ่ ขนหรือขาให้ยกสูง จะช่วยให้เลอื ดไหลช้าลง ปกตเิ ลือดจะหยดุ ไหล ภายในเวลา
ประมาณ 15 นาที หากเลือดไหลไม่หยุด ใหก้ ดเส้นเลือดแดงใหญท่ ่ไี ปเลีย้ งแขนขา โดยกดบรเิ วณเหนือ
บาดแผล ถ้าเลือดออกที่แขนใหก้ ดแขนด้านใน ชว่ งระหวา่ งข้อศอกและหัวไหล่ ถ้าเลือดออกที่ขาให้กดที่หน้าขา
บริเวณขาหนบี การหา้ มเลือดโดยการกดเสน้ เลอื ดแดงใหญ่ ควรทาก็ต่อเม่ือใช้วิธีการห้ามเลอื ด โดยการกด
บาดแผลหรือใชผ้ ้าพนั แผลแล้วไม่ไดผ้ ล เพราะจะทาให้อวยั วะทีต่ ่ากว่า จุดกดขาดเลือดไปเล้ยี ง หากกดนาน ๆ
กล้ามเนื้ออาจตายได้ จึงไม่ควรกดเส้นเลือดแดงใหญ่ เกนิ กว่าครั้งละ 15 นาที
สาหรับบาดแผลที่ศีรษะ ไม่ควรใชน้ ้าลา้ งแผล หากมเี ลือดไหลออกจากปาก จมกู หรือหูอยา่
พยายามหา้ มเลอื ด เพราะจะปิดกนั้ ทางออกของแรงดนั ในสมองเช่นกนั ก่อนทจ่ี ะทาแผล ใช้น้าสะอาดลา้ งแผล
ใชส้ บูอ่ ่อน ๆ ล้างผวิ หนังที่อยู่รอบ ๆ บาดแผล แล้วล้าง ด้วยนา้ สะอาดอีกคร้ัง หลีกเลี่ยงการสัมผัสบาดแผล
โดยตรง ใช้ผ้าก๊อซหรอื ผ้าสะอาดซับแผลให้แหง้ แลว้ ใสย่ าสาหรบั แผลสด เชน่ โพวโิ ดนไอโอดนี ซึง่ จะชว่ ยลด
การตดิ เชื้อได้ จากน้นั เปิดแผล ดว้ ยผ้าพันแผล

238

2. บาดแผลปิด คอื บาดแผลท่ไี มม่ รี อยแผลให้เห็นบนผิวหนงั ภายนอก อาจเหน็ เพียงแคร่ อยเขยี ว
ช้า แตบ่ างกรณเี น้ือเย่ือภายในอาจถูกกระแทกอย่างแรง ทาใหเ้ ลอื ดตกใน บางคร้ังอวยั วะภายในไดร้ ับความ
เสียหายมาก เช่น มา้ มแตก ตับแตก หรือเลือดค่ังในสมอง

หากเปน็ แผลทแ่ี ขนใหใ้ ชผ้ า้ สามเหลยี่ มคล้องแขนให้อยกู่ ับที่ หากเป็นแผลที่ขาให้นอนหนุนขา
ให้สูง หากเป็นท่ลี าตัวให้นอนตะแคงหนุนหมอนท่ีศรี ษะและไหล่

3. ไฟไหมน้ า้ ร้อนลวก บาดแผลไฟไหมน้ า้ ร้อนลวก โดยมากมักจะมีสาเหตจุ ากอุบัตเิ หตคุ วาม
ประมาท ขาดความระมดั ระวัง ขนั้ ตอนการชว่ ยเหลอื เบอื้ งต้น ให้ดบั ไฟโดยใช้นา้ ราด หรือใช้ผา้ หนา ๆ คลมุ ตัว
ถอดเสื้อผ้าท่ีไหม้ไฟหรือถกู นา้ รอ้ น พรอ้ มถอดเคร่ืองประดับท่ีอมความร้อนออกให้หมด เม่ือเกดิ แผลไหม้ น้า
รอ้ นลวกใหป้ ฐมพยาบาลตามลักษณะของแผล ดังนี้

1. เฉพาะชัน้ ผวิ หนงั
(1) ระบายความร้อนออกจากแผล โดยใช้ผา้ ชุบน้ าประคบบรเิ วณบาดแผล แชล่ งในน้า

หรอื เปดิ ใหน้ า้ ไหลผา่ นบรเิ วณบาดแผลตลอดเวลา นานประมาณ 10 นาที ซึ่งจะช่วย บรรเทาความเจ็บปวดได้
(2) ทาด้วยยาทาแผลไหม้
(3) หา้ มเจาะถุงนา้ หรือตัดหนงั ส่วนท่พี องออก
(4) ปดิ ด้วยผา้ สะอาด เพ่ือปอ้ งกนั การตดิ เช้ือ
(5) ถา้ แผลไหม้บรเิ วณกวา้ ง หรอื อวยั วะท่สี าคัญต้องรบี นาส่งโรงพยาบาล

2. ลึกถึงเนอ้ื เยื่อใตผ้ วิ หนัง
(1) ไมต่ ้องระบายความร้อนออกจากบาดแผล เพราะจะทาใหแ้ ผลติดเช้ือมากขึ้น
(2) หา้ มใส่ยาใด ๆ ท้ังสน้ิ ลงในบาดแผล
(3) ใช้ผา้ สะอาดห่อตัวผ้บู าดเจ็บเพ่อื ป้องกนั สิ่งสกปรก

ใบความรู้ที่ 2
เรอ่ื ง วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณีการเจบ็ ปว่ ยโดยปัจจุบัน

การเป็นลม
เป็นอาการหมดสตเิ พยี งชวั่ คราว เนอ่ื งจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ สาเหตุ และลักษณะอาการของคน

เปน็ ลมท่ีพบบ่อย เชน่ หวิ เหน่ือย เครียด ตกใจ กังวลใจ กลวั เสียเลอื ดมาก มอี าการวิงเวยี นศรี ษะ ตาพรา่
หน้ามืด ใจส่ัน มือเทา้ ไม่มีแรง หนา้ ซีด เหงอื่ ออก ตวั เย็น ชีพจร เบา เร็ว

ขนั้ ตอนการช่วยเหลอื เบื้องต้น
1. พาเขา้ ที่ร่ม ที่อากาศถ่ายเทสะดวก
2. นอนราบไมห่ นนุ หมอน หรือยกปลายเท้าใหส้ ูงเล็กน้อย
3. คลายเสอ้ื ผ้าให้หลวม

239

4. พัดหรือใชผ้ ้าชุบนา้ เชด็ เหงื่อตามหนา้ มือ และเท้า
5. ใหด้ มแอมโมเนยี
6. ถา้ รูส้ กึ ตัวดี ให้ดืม่ นา้
7. ถ้าอาการไมด่ ีขึ้น นาส่งต่อแพทย์

ลมชกั
อาการชักของผู้ปว่ ย บางรายอาจชกั ดว้ ยอาการเหม่อลอย เริ่ม กระตุก ทา่ ทางแปลกๆ ผิดปกติ

ตาเหลือก อาจจะเริ่มทาทา่ เหมือนเค้ียวอะไรอยู่ หรือบางคน อาจจะเริม่ ต้นดว้ ยอาการสับสนมนึ งง พดู จาวกวน
ก่อนทจ่ี ะเรมิ่ มีอาการชัก

ขนั้ ตอนการช่วยเหลือเบอื้ งต้น
1. สงั เกตวา่ ผู้ปว่ ยมสี ตสิ ัมปะชญั ญะหรือไม่ ส่วนใหญ่ยังไม่ถงึ กับข้นั สลบ แตจ่ ะควบคมุ ตัวเองไม่ได้เม่ือ
ผปู้ ่วยเร่มิ มอี าการชกั แลว้ ลงไปกองกับพืน้ พยายามพาเขามาอยู่ ในทโ่ี ลง่ ๆ ปลอดภัย ไม่มีสงิ่ ของใด ๆ รอบตวั
2. คลายกระดุม เนคไททคี่ อเสื้อ คลายกระดุม เข็มขดั ทก่ี างเกงหรอื กระโปรง ถอดแวน่ ตา นาหมอน
หรอื เส้ือพับหนา ๆ มารองไว้ทศ่ี รี ษะ
3. จับผู้ป่วยนอนตะแคง
4. ไมง่ ้างปาก ไม่งดั ปากด้วยชอ้ น ไมย่ ่ืนอะไรใหผ้ ู้ป่วยกัด ไม่ยดั ปากด้วย ส่งิ ของตา่ ง ๆ เด็ดขาด ไม่กด
ทอ้ ง ไมถ่ ่างขา ไม่ทาอะไรทงั้ นั้น
5. จับเวลา ตามปกตผิ ู้ป่วยลมชกั จะมีอาการสงบลงไดเ้ องเมื่อผ่านไป 2–3 นาทหี ากมอี าการชักเกิน 5
นาทีควรรีบสง่ แพทย์ (หรือกด 1669 บริการแพทย์ฉกุ เฉนิ )
6. อย่าลืมอธิบายผคู้ นรอบข้างด้วยว่าเกิดอะไรขึน้ และขอความช่วยเหลอื เท่าทีจ่ าเป็น เชน่ อย่ามุง
ผปู้ ว่ ยใกลๆ้ หรอื ชว่ ยเรียกรถพยาบาลกรณที ่ีผปู้ ว่ ยชักเกนิ 5 นาที หรอื มีอาการบาดเจบ็ ในกรณีท่ผี ูป้ ว่ ยลมชักมี
อาการกัดล้นิ ตัวเอง ไม่ต้องตกใจ โดยส่วนใหญ่แลว้ จะไม่ได้กดั ลน้ิ ตวั เองจนขาดหรือมบี าดแผลใหญม่ ากนัก
อาจจะมีความเปน็ ไปไดท้ ีเ่ ผลอกดั ล้นิ ตัวเองจนไดร้ ับบาดแผลมีเลอื ดออก แต่ไม่ไดเ้ ป็นอันตรายถึงชีวิตมาก
เทา่ กับการยัดสง่ิ ต่าง ๆ เข้าไปในปากของผปู้ ่วย

การเป็นลมแดด
เกิดจากการท่รี ่างกายไม่สามารถปรบั ตัวกับความร้อน ท่ีเกดิ ขน้ึ จนเกิดภาวะวิกฤตในภาวะปกติ

รา่ งกายจะมีระบบการปรับสมดุลความร้อน เมื่อความร้อนในรา่ งกายเพ่ิมขึ้น อาการสาคัญ ได้แก่ ตัวร้อน
อุณหภูมิรา่ งกาย 41 องศาเซลเซยี ส หนา้ แดง ไมม่ เี หง่อื มีอาการเพ้อ ความดันลดลง กระสับกระสา่ ย มึนงง
สบั สน ชักเกรง็ หมดสติ โดยกลไก การทางานของร่างกาย จะมีการปรบั ตัวโดยส่งน้า หรอื เลอื ดไปเลย้ี งอวยั วะ


Click to View FlipBook Version