The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรรมะชุดเตรียมพร้อม โดย หลวงตามหาบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-06 11:58:32

ธรรมะชุดเตรียมพร้อม โดย หลวงตามหาบัว

ธรรมะชุดเตรียมพร้อม โดย หลวงตามหาบัว

Keywords: หลวงตามหาบัว,ธรรมะชุดเตรียมพร้อม

๔๕

เราตกลงไปทับเทาของเรามันก็เจ็บได ทั้งๆ ที่เจาของไมมีเจตนา หรอื มีดถกู มอื เจา ของ
โดยไมมีเจตนา หรือฟนมือก็เจ็บไดเปนแผลได คําพูดที่เปนภัยตอศาสนาก็เปนได
ทาํ นองเดยี วกนั น้ี

ทา นปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ พระพุทธเจาก็ปฏิบัติจริง เอาเปนเอาตายเขาวากันจริงๆ พระ
สาวกกป็ ฏบิ ตั จิ รงิ ๆ ฟงจริงๆ พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมดวยพระเมตตา มีเจตนาเพื่อ
สตั วโลกใหรูแจง เหน็ จริงในธรรมตามกําลงั ความสามารถสัตวโ ลก ทุกระยะแหงการ
แสดงธรรมของพระองค ไมทรงลดละเจตนาที่หวังจะใหสัตวโลกไดรับผลประโยชนจาก
การฟงนั้นเลย ทา นเตม็ เมด็ เตม็ หนว ยในการปฏบิ ตั ิ เวลาตรัสรูธรรมก็เต็มเม็ดเต็ม
หนว ย โลกทั้งหลายไมมีใครที่จะสามารถทําไดอยางพระองค

นี่โลกปจจุบนั คือพวกเราอาจจะลบลาง คอื ปฏเิ สธก็ไดวา “ไมจริง”
ทา นทาํ ถงึ ขนาดนน้ั แตเ ราวา “ไมจริง” เพราะเราไมเคยทําอยางทานจะเอา
ความจริงมาจากไหน เหน็ คนอน่ื ทาํ เรากค็ ดั คา น เห็นคนอ่ืนขยนั เราขเ้ี กยี จ กไ็ ปคดั คา น
เขา เขาฉลาด เราโง กไ็ ปตาํ หนเิ ขา ท้ังทีเ่ ราไมม คี วามสามารถอยา งนน้ั
พระพุทธเจาทานทรงสามารถทั้งดานปฏิบัติ สามารถทั้งความรูความเห็นเต็มภูมิ
ของพระองค การประทานพระโอวาทแกสัตวโลก จึงตองประทานเต็มพระสติปญญา
ความสามารถทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ใหส มภมู กิ บั คาํ วา “ศาสดาของโลก” แมผูฟงก็ฟงดวย
เจตนาอยา งนน้ั ดว ย ผลไมเปนไปตามเจตนา ไมเปนไปตามการกระทําที่ถูกตองดีงาม
จะเปนอื่นไปไดอยางไร ? เพราะเหตุกับผลเปนความเกย่ี วเนอ่ื งกนั เปน ลําดับอยูแลว
การทําเต็มเม็ดเต็มหนวย ผลจะไมเต็มเม็ดเต็มหนวยไดอยางไร ตองเต็ม ! ตองได !
เพราะฉะนั้น ครั้งพุทธกาล ทานแสดงธรรม ผบู รรลธุ รรมจึงมเี ปน จาํ นวนมาก ดวยเหตุ
ผลดงั ทก่ี ลา วมาน้ี
ครน้ั ตกมาสมยั ทกุ วนั น้ี ศาสนาซึ่งเปนของแทของจริง ของทานผูวิเศษ ของทา น
ผทู าํ จรงิ รูจ ริงเหน็ จริง สง่ั สอนสตั วโ ลกจรงิ ดว ยธรรมนน้ั ๆ แตธ รรมเหลา นถ้ี กู กลายเปน
“ธรรมพิธีไปตามโลก ซึ่งเปนโลกพิธี ผนู บั ถอื กนั เปน พธิ ี ผลกเ็ ปนไปแบบรางๆ อยา ง
นน้ั แล อะไรๆ เลอื นๆ รางๆ จางไปหมด ปลอมไปหมด เพราะหัวใจเราใหปลอม ถา
หัวใจไมจริงเสียอยางเดียว อะไรกป็ ลอมไปหมด
เวลานศ้ี าสนธรรมกาํ ลงั อยใู นระยะหรอื จดุ น้ี ! สวนพวกเราจะอยูในจดุ ไหน
ระยะใด จะเปน แบบนห้ี รอื เปน แบบไหน !
ถา เราตอ งการเปน แบบแกต วั เองตามหลกั ความจรงิ ท่ีทา นสอนไวด วยความจริง
เราก็ตองทําจริง ปฏบิ ตั ใิ หจ รงิ นี่เปนการเตือนใหเราทั้งหลายซึ่งเปนกันเอง ไดท ราบถงึ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๕

๔๖

ขอเท็จจริงของศาสนาและผูปฏิบัติศาสนา วาผลจะเปนจริงและไดรับมากนอยเพียงไร
หรือกลายเปนโมฆะไปหมด เพราะเหตุผลทีก่ ลา วมานไี้ มเ ปน ความจริง

การฟงธรรมซึง่ เปน หลกั สาํ คัญทป่ี ฏเิ สธไมไ ดในการรับผล กค็ อื ฟง ดว ยความตง้ั
อกตง้ั ใจ มคี วามรกู บั มสี ตกิ าํ กบั อยกู บั ตวั เปน หลกั ใหญ ชอ่ื วา ไดต ง้ั ภาชนะไวเ รยี บรอ ย
แลว การแสดงธรรมถา ทา นผรู จู รงิ เหน็ จรงิ แสดง จะไมหนีธรรมของจริง ของจริงกับ
ของจริงตองเขากันได ผฟู ง ฟงจริงๆ ผูแสดง แสดงจริงๆ แสดงดวยอรรถธรรมอันเปน
ขอเท็จจริงจริงๆ ไมไดควาหรือลูบๆ คลาํ ๆ มาแสดง ตอ งเขา ใจตามหลกั ธรรมนั้นๆ

ธรรมทั้งหมดทานมีไวเพื่ออะไร ? ถาเปนน้ํา กม็ ไี วส าํ หรบั อาบดม่ื ใชส อย ซัก
ฟอกหรอื ลา งสง่ิ สกปรกโสมมทง้ั หลาย ธรรมกเ็ ปนเชนน้ันเหมอื นกนั เพราะพวกเราเปน
พวกสกปรกทงั้ นน้ั บรรดาจติ ใจทม่ี กี เิ ลสเปน จติ ใจทส่ี กปรก กายวาจาทเ่ี ปน รวงรงั ของ
กเิ ลส และจิตที่เปนรวงรังของกิเลส มันจึงเปนเรื่องสกปรกไปตามๆ กนั กบั กเิ ลสซง่ึ มอี ยู
ภายใน ทา นจงึ ตอ งหานาํ้ ทส่ี ะอาดคอื ธรรมมาสง่ั สอน หรือชะลางจิตใจของพวกเรา

ธรรมทส่ี ะอาดกค็ อื “สวากขาตธรรม” ตรสั ไวช อบแลว นี่แสดงวาสะอาดเต็มที่
แลว “นยิ ยานกิ ธรรม” เปนธรรมที่รองรับ เหมือนกับน้ําเปนเครื่องรองรับ ชะลางสิ่ง
สกปรกทง้ั หลายใหส ะอาด เชนนั้นไดไมเปนอยางอื่น ธรรมก็เปนธรรมชาติที่สะอาดเชน
นน้ั สาํ หรบั ชะลา งสง่ิ สกปรกในหวั ใจของสตั วใ หส ะอาด ขอใหห วั ใจนจ่ี ดจอ เพอ่ื ความ
สะอาดเถอะ ผลการฟงจะทําใหใจสงบระงับ และสะอาดผอ งใสไดไ มส งสยั เมื่อใจสงบ
ผองใส กาย วาจา หากคอ ยเปน ไปเอง เพราะนี่เปนเครื่องมือเทานั้น

ทส่ี าํ คญั จรงิ ๆ กค็ อื ใจซง่ึ เปน ตวั การ หากใจยอมรบั ความจรงิ ใจยอมรบั ท่จี ะซัก
ฟอกตวั เองแลว ตอ งมวี นั สะอาดขน้ึ สกั วนั หนง่ึ จนได จากนาํ้ สะอาดคอื “ธรรม” พระ
พุทธเจาทรงประกาศสอนโลก และทรงใชต อ โลกมานานแลว ไดรับผลที่พอใจมาโดย
ลาํ ดบั แมค าํ วา “สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เรากลาวถึงทานเพอ่ื ประโยชนอะไร ถา ไมใ ช
เปนผูสะอาดหมดจดเต็มที่แลวจาก “นาํ้ ” คือพระสัจธรรมของพระพุทธเจา ชําระเสีย
จนสะอาด “ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ซึ่งเปนธรรมที่บริสุทธิ์แท ไมออกมาจากพระทัยที่
บรสิ ทุ ธข์ิ องพระพทุ ธเจาจะออกมาจากไหน พระทัยที่จะบริสุทธิ์ได เพราะการชําระ
สะสาง การขดั เกลา การชําระลางดวยอรรถดวยธรรม เปน ความจรงิ มาโดยลาํ ดบั ๆ จน
กระทั่งถึงปจจุบันเรานี้ ธรรมก็เปนธรรมชาติที่สะอาดอยูเสมอมา สาํ หรบั ลา งส่ิงสกปรก
โสมมของสัตวโลก

ถาเราคิดตามธรรมดาอยางเผินๆ อยางโลกที่สมมุติทั่วๆ ไปกว็ า เรานี้สะอาดที่
สุดไมมีใครจะหยิ่งยิ่งกวาคนโง ไมมีใครจะสะอาดยิ่งกวาคนโงที่สกปรก ถา พดู ตาม
ธรรมแลว เปน อยา งน้ี เมื่อเราทราบวาเราสกปรกทางใจ ซึ่งเต็มไปดวยกิเลสโสมมแลว

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๖

๔๗

เราตองเปนผูมุงตออรรถตอธรรมเปนเครื่องชะลาง ดงั ทท่ี า นทง้ั หลายไดอ ตุ สา หส ละ
เวลาํ่ เวลาหนา ทก่ี ารงาน ตลอดจนชีวิตจิตใจมาเพื่อบําเพ็ญตนเชนนี้ จึงเปนความถูก
ตองตามแนวทางที่พระพุทธเจาทรงดําเนินมาที่เรียกวา “อริยประเพณี” ประเพณีของ
พุทธบริษัทที่ดีงามของพระพุทธเจาทานดําเนินมาอยางนั้น จึงขอขอบคณุ ขออนโุ มทนา
กบั ทา นทง้ั หลายไวใ นโอกาสนด้ี ว ย นอกจากเปน ความดสี าํ หรบั ตนแลว ยังเปนคติตัว
อยา งแกอ นชุ นรนุ หลงั อกี ไมม สี น้ิ สดุ

คาํ ทว่ี า พวกเราสกปรกนก้ี พ็ อจะทราบกนั ได คาํ วา สกปรก สกปรกเพราะอะไร?
เพราะขี้โลภ ขโ้ี กรธ ขห้ี ลง ขส้ี ามกองนเ้ี ตม็ อยบู นหวั บนหวั อะไร กบ็ นหวั ใจนน้ั แล นี้
นกั ปราชญท งั้ หลายทา นตาํ หนติ เิ ตยี น ทานขยะแขยงมาก แตพวกเราชอบจึงไมรสู กึ ตวั
เมื่อไมรูสึกตัวก็ไมรูสึกสนใจในสิ่งที่จะนํามาชําระลาง เห็นผูประพฤติปฏิบัติธรรมก็ดูถูก
เหยยี ดหยาม มเี ยอะสมยั จรวดนจ้ี ะวา ยงั ไง? เพราะความเห็นผิด ตองผิดไปเรื่อยๆ
อะไรทําใหเห็นผิด? ถาไมใชหัวใจที่เต็มไปดวยกิเลสซึ่งเปนตัวผิดทั้งเพนั้น ถา จติ ใจผดิ
ไปดว ยกพ็ าใหแ สดงออกทุกแงท กุ มมุ ผดิ ไปตามๆ กนั จนกระทง่ั กาย วาจา ทแ่ี สดงออก
ผิดไปทั้งนั้น เพราะสิ่งที่ทําผิดที่มีอยูภายในจิตใจนั้นไมตองมากมายอะไรเลย ตวั นน้ั
เปนตัวการ

พระพทุ ธเจา ทา นจงึ สอนใหช าํ ระใหล า ง การฟงเทศนฟงธรรมก็เปนการชะลาง
จติ ใจของตนดวยธรรม คือในขณะที่ฟงธรรม ทา นวา มอี านสิ งสเ กดิ ขน้ึ จากการฟง ธรรม
อานสิ งสค อื ผลที่เกิดขึ้นในขณะที่ฟงนั้นแล ทําจิตของเรา อยา งนอ ยมคี วามสงบเยน็ ใจ
รูเหตุรูผล รูทางดีทางชั่ว และรวู ธิ จี ะปฏบิ ตั ติ อ ตนเอง ขอ สาํ คญั ใจมผี อ งใสขน้ึ ไดรับ
ความรม เยน็ ในขณะฟง นี่คือผลที่เกิดขึ้นจากการฟงธรรม ทา นวา มอี านสิ งส ๕ เราจะ
คอยเอาอานสิ งสท ไ่ี หน ถาไมเอาในขณะที่ฟง เพราะการฟง กค็ อื การบาํ เพญ็ อยแู ลว ผล
ตองเกิดตามมาในขณะนั้นๆ มีความสงบเยน็ ใจเปนตน

หากวา กเิ ลสอาสวะเปน วตั ถุ และเปน ตัวขา ศกึ เชนเสือรายเปนตนแลว คนเราจะ
อยใู นโลกดว ยกนั ไมไ ดเ ลย มองดคู นไหนก็เห็นแตเ สอื ราย ท้งั เหยียบย่าํ ท้ังเดินเพน พาน
ทั้งนั่งทั้งนอน ทัง้ ขับถา ย ทง้ั หยอกเลน กนั ทง้ั กดั ฉกี และถลกหนงั เลน อยบู นหวั เหมอื น
กนั หมด คนทั้งคนมีแตเสือรายที่จดจองยองกัดอยูบนหัวคน แลว กก็ ดั ฉกี หวั คนลงไป
เรื่อยๆ ไมหยุด นอนอยกู ก็ ดั ยนื อยกู ก็ ดั เดนิ อยกู ก็ ดั นง่ั อยกู ฉ็ กี อะไรๆ กฉ็ กี ทง้ั นน้ั
กริ ยิ าความเคล่ือนไหวตางๆ มแี ตเ สอื รา ยมนั กดั มนั ฉกี อยตู ลอดเวลา จะหาเนอ้ื หาหนงั
หาเอน็ หากระดกู มาจากทไ่ี หน ใหต ิดใหตอ กนั เปน รปู เปนกาย เปนหญิงเปนชาย เปน
สัตวเปนบุคคล เปน เราเปน ทานอยางท่เี ปน อยนู ไี้ ดเลา มองดคู นนน้ั กเ็ ปน แบบน้ี มองดู

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๗

๔๘

คนนก้ี เ็ ปน แบบนน้ั เยม้ิ ไปดว ยบพุ โพโลหติ นาํ้ เนา นาํ้ หนอง เพราะถกู เสือมันกัดมนั ฉีก
มนั ทาํ ลายอวยั วะสว นตา งๆ ของมนุษยเรา

กรณุ าดลู วดลายของกเิ ลสมนั แสดงออกกบั โลกทว่ั ๆ ไป เปน อยา งน้ี ถา กเิ ลสมนั
เปนตัวเปนตนอยางนี้ แตมันไมไดเปนตนเปนตัวอยางนี้ โลกจึงไมเห็นโทษของมัน และ
กลับเหน็ วาเปนของดีเสียอีก เมื่อไปเสกสรรมันวาเปนของดี คือเห็นของชั่ววาเปนของดี
เห็นของดวี าเปนของช่วั แลว ผลกต็ อ งกลบั ตาลปต รกนั ไป สิ่งที่ควรจะไดรับเปนความ
สขุ แตมันกลายเปนความทุกขไปหมด ที่โลกรอน รอนเพราะอะไร? ถา ไมใ ชเ พราะ
กิเลสเพราะความโลภมาก เพราะความเห็นแกต ัวมาก เปนตน

ทกุ วนั นเ้ี ขาพดู วา “โลกเจริญ” มันเจริญที่ตรงไหน? ถา พูดตามหลกั ความจริง
แลวมันเจริญที่ตรงไหน คนกาํ ลงั จะถกู เผาทง้ั เปน กนั อยแู ลว เพราะความทุกขมันสุมหัว
ใจเวลาน้ี จะหาความเจริญมาจากไหน ความเจริญก็ตองเปนความสงบสุข ความสะดวก
สบาย ความเปน อยสู บาย หนา ทก่ี ารงานสะดวกสบาย การคบคา สมาคมสะดวกสบาย
อยดู ว ยกนั เปน หมเู ปน คณะมจี าํ นวนมากนอ ย เปน ความสะดวกสบาย ไมท ะเลาะเบาะ
แวง ไมแขงดิบแขงดีที่เรียกวา “แขง กเิ ลสกนั ” ไมฆาไมตี ไมแยงไมชิง ไมคดไมโกง ไม
กดขี่บังคับ ไมรีดไมไถ ซง่ึ กนั และกนั อนั เปน การทาํ ลายสมบตั แิ ละจติ ใจของกนั และกนั

ในขณะเดยี วกนั ตา งกเ็ หน็ อกเหน็ ใจกนั เมตตาสงสารกนั เฉลยี่ เผอื่ แผ ใหค วาม
เสมอภาคดว ยความมเี มตตากรณุ าตอ กนั ไมอ จิ ฉารษิ ยากนั ไมเบยี ดเบยี นกัน อยดู ว ย
กนั ฉนั พน่ี อ งเลอื ดเนอ้ื อนั เดยี วกนั จะเรียกวาโลกเจริญไดตามความจริง โลกไดรับความ
สงบสขุ ทว่ั หนา กนั ทง้ั คนมคี นจน คนโงค นฉลาด โลกไมด ถู กู เหยยี ดหยามกนั และกนั
นาํ ความยม้ิ แยม แจม ใสออกทกั ทายกนั ไมแ สดงอาการบดู บง้ึ ใสก นั ตางคนตางมีเหตุมี
ผลเปน หลกั ดาํ เนนิ

เมื่อพูดตามความเปนจริงแลว ทกุ วนั นโ้ี ลกเปน อยา งนไ้ี หม? ถา เปน อยา งนเ้ี รยี ก
วาโลกเจริญจริง แตท ั้งๆ ทว่ี า “เวลานี้โลกกําลังเจริญ”จงึ ทําใหสงสัยวามันเจริญอะไร
บา ง? เจริญที่ตรงไหน?

ถา เจรญิ ดว ยวตั ถเุ ครอ่ื งกอ สรา ง จะสรางเทาไหรก็ได ถา ไมแ บกกองทกุ ขเ พราะ
อะไรทวมหัวนะ

ทีนี้ยอ นเขา มาหาตวั ของเรา วันหนึง่ คืนหนึ่งตง้ั แตต ืน่ ข้ึนมา หมนุ ตวั เปน เกลยี ว
อยตู ลอดเวลาเหมอื นกงจกั ร การทก่ี ายและใจหมนุ เปน กงจกั ร ไมม เี วลาพกั ผอ นตวั บา ง
เลยเชนนี้เปนความสุขหรือ? คนเดินทางไมหยุด คนวง่ิ ไมม เี วลาหยดุ เปน ความสขุ
หรือ? ความจรงิ ตอ งมเี วลาพักผอ นนอนหลบั ใหส บายบา ง คนเราถึงจะมีความสุข การ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๘

๔๙

คดิ มากตอ งวนุ มากทกุ ขม าก ถา หนกั เขา ตอ งเปน โรคประสาท ธาตุขันธที่เต็มไปดวยโรค
ภัยไขเจ็บ ทั้งเจ็บหัว ปวดทอ ง เตม็ อวยั วะ คนนน้ั มคี วามสขุ หรอื ?

กเิ ลสมนั ชอนมนั ไชมนั กดั มนั ฉกี อยตู ลอดเวลา ทกุ อาการทเ่ี คลอ่ื นไหวแหง จิตใจ
นน่ั มคี วามสขุ หรอื ? โลกเจรญิ แลวหรอื อยางนั้น? ความกดั ฉกี ของกเิ ลส ผลที่เกิดขึ้น
จากการกดั การฉกี ของกเิ ลสมนั กม็ แี ตก องทกุ ขท ง้ั นน้ั หาความสุขไมมี เมื่อเปนเชนนี้จะ
เอาความสขุ มาจากไหน? เวลาที่ยอนเขามาดูที่ตัวเรา มนั กเ็ ปน ไฟอยภู ายในจิตใจ
เพราะกเิ ลสกอ ไฟเผาใจอยตู ลอดเวลา “ราคคคฺ นิ า โทสคฺคินา โมหคคฺ นิ า” นน่ั ฟง
ซิ! “ไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ” ไฟคือความโลภ ความโกรธ ความหลง มัน
เผาอยทู ใ่ี จ

ขน้ึ ชอ่ื วา “ไฟ” ไมว า จะกอ ทไ่ี หนเวลาใดมนั รอ นทน่ี น่ั ถาไฟที่มันลุกโพลงขึ้นมา
ภายในจติ ใจ คอื ไฟโลภะ โทสะ โมหะ มันตองเผาที่จิตใจ แมก ายกจ็ าํ ตอ งรบั ทกุ ขไ ป
ดว ย รับประทานไมได นอนไมห ลบั ไมมีแรง

ตามหลกั ธรรมทา นสอนไวว า “โก นุ หาโส กมิ านนโฺ ท นิจฺจํ ปชชฺ ลเิ ต สติ อนฺธ
กาเรน โอนทฺธา ปทปี  น คเวสถ” เปนตน เมอ่ื โลกสนั นวิ าสน้ี เต็มไปดวยความมืดมน
อนธการ เพราะอาํ นาจแหง กเิ ลสตณั หามนั แผดเผาอยตู ลอดเวลา พวกทา นทง้ั หลาย
เพลิดเพลินหัวเราะราเริงกันหาอะไร? ทําไมจึงไมรีบแสวงหาที่พึ่ง มาเพลนิ อยกู บั ไฟ
ทําไมกนั เพราะ “ความลืมตัว ประมาท” นน่ั ! ทานสอนฟงซิ ถงึ ใจไหม? พระพุทธเจา
สอนโลกนะ

ถา เราฟง เพอ่ื ถอดถอนกเิ ลส มนั ถงึ ใจจนนา ละอายตวั เอง เมื่อฟงดวยความถึงใจ
แลว ทําไมจิตใจจะไมเห็นโทษ และมคี วามกระหยม่ิ ตอคุณงามความดีทงั้ หลาย ทําไมจะ
ไมม คี วามพอใจแกก เิ ลสตณั หาอาสวะ ซึ่งลุกเปนไฟทั้งกองอยูในจิตใจอยางเต็มเม็ดเต็ม
หนว ยเลา และกเิ ลสทาํ ไมจะไมห ลดุ ลอยออกไป เมอ่ื ไดท าํ ความเพยี รถอดถอนมนั ดว ย
ความถงึ ใจ ดวยความเห็นโทษของกิเลสอยางถงึ ใจ ของผูแสวงหาความจริงอยางเต็มใจ

นีแ่ หละบรรดาสาวกและพทุ ธบริษทั ท้งั หลายทที่ า นรเู ห็นธรรม เวลาทา นเหน็
โทษก็เห็นอยางถึงใจจริงๆ การทาํ ความเพยี รพยายามถอดถอน กท็ ําอยา งถงึ ใจ เวลารู
จงึ รูถึงเหตุถึงผลถึงจิตถึงใจจริงๆ และถงึ ความหลดุ พน ไปดว ยความถงึ ใจ ไมใ ชเ ปน
เรอ่ื ง “พิธี” เชน รับศีลกร็ บั ศลี พอเปน พิธี อะไรๆ กท็ าํ เปน พธิ ี ฟงธรรมก็พอเปนพิธี
ประพฤติปฏิบัติธรรมซึ่งเปนของประเสริฐก็พอเปนพิธี เหมือนกบั เดก็ เลน ตกุ ตากนั

แตศ าสนาไมใ ชเ ดก็ และไมใ ชเ รอ่ื งของเดก็ จงึ เขา กนั ไมไ ด
พระพุทธเจาทั้งพระองคเปนผูประทานศาสนาไว พระพุทธเจาไมใชเด็ก ศาสน-
ธรรมไมใชศาสนธรรมของเด็ก ผปู ฏบิ ตั ศิ าสนาคอื พทุ ธบรษิ ทั จึงไมควรนําเรื่องของเด็ก

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๙

๕๐

เขา มาแทรกกบั ตวั เอง ในกริ ยิ าแหง การทาํ เกย่ี วกบั ศาสนา “พอเปน พิธี” นี้ โลกเลย
เปนพธิ ไี ปหมดในทางศาสนา แลวจะหาผลอันแทจริงมาจากไหน? เมื่อมีแตพิธีเต็มจิต
เต็มใจ เตม็ อาการทกุ สง่ิ ทกุ อยา งทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ศาสนาในงานตา งๆ พากนั ทราบหรอื ยงั
วา กิเลสมันมีพิธีที่ไหน เวลามนั จะกดั หวั คน มนั มพี ธิ ไี หม? เราดซู ี มันตั้งทาตั้งทางยก
ครูยกคันทําพิธีรีตองตางๆ กอ นไหม เวลามนั จะขยห้ี วั ใจคนนะ

ความโลภมันเกดิ ขนึ้ มาทนั ที เมอ่ื ไดโ อกาสทม่ี นั จะแสดงความโลภ แสดงความ
โกรธ ความหลง มนั แสดงอาการออกมา ออกมาดวยกิเลสประเภทตางๆ ทนั ที มันไม
ไดค อยหาพธิ รี ตี องเหมอื นกบั พวกเราทจ่ี ะคอยฆา มนั และแลว ก็ฆาพอเปน พธิ ี ตีเพียง
หนบั ๆ พอใหมันหัวเราะเยาะเยยวา “มนุษยนี้มันชางกลัวเราเสียจริงๆ ยง่ิ กวา หมากลวั
เสือ มาหยอกเราเลน เพยี งหนบั ๆ แลว กร็ บี วง่ิ ใสห มอน นอนคอยเราตาํ น้ําพริกไปจิ้มกัน
ทน่ี น่ั ชนิดหมอบราบไมม ีทางตอสเู ลย” นั่นฟงดูซิ ความเพียรเราเพื่อจะฆากิเลส มันจะ
เขากันไดไหม? เรากลวั บา งไหม? ถา กเิ ลสเปน เหมอื นกบั เสอื รา ยสกั ตวั หนง่ึ อยบู นหวั
ใคร หัวเราทุกคน มีแตเสือรุมกัดอยูทั้งวันทั้งคืน ยนื เดิน นั่ง นอน มองไปทางไหนก็มี
แตเสือรุมกัดอวัยวะจนแทบไมมีเหลือ ทั้งกัดทั้งฉีก ไปไหนมนั กก็ ดั กฉ็ กี ไปเรอ่ื ย เดินไป
มนั กก็ ดั กฉ็ กี ไปเรอ่ื ย เราจะดไู ดไ หม? ตอบแทนวา “ดูไมไดเลย” ตอ งพากนั วง่ิ แนบ
ยง่ิ กวา หมากลวั เสอื นน่ั แล ทั้งจะมีอะไรบางก็ไมทราบจะหลุดเรี่ยราดไปตามทางนะ คดิ
เอาเองเถอะ ขี้เกียจบอกเสียทุกแงทุกมุม

แตน ก่ี เิ ลสมนั ไมเ ปน ตนเปน ตวั เชน นน้ั มนั กดั มนั ฉกี อยภู ายใน เรายังนอนเคลิม้
ใหม นั กดั มนั ฉกี อยา งสบายไปอกี แลว จะหาทางแกก เิ ลสไดอ ยา งไร เมอ่ื ไมท ราบวา กเิ ลส
ไมท ราบความกดั ของกเิ ลส และไมท ราบความทกุ ขท ก่ี เิ ลสสรา งขน้ึ บนหวั ใจ เราจะหา
ทางแกกิเลสไดอ ยา งไร นแ่ี หละทพ่ี วกเราไมท นั กลมายากเิ ลส เราเปนคนอาภัพ กอ็ าภพั
เพราะกิเลสมันบังคับนี่แล ธรรมแทไ มเ คยทาํ คนใหอ าภพั นอกจากสง เสรมิ คนใหด ี
อยางเดียว

ถา แกก เิ ลสออกจากใจไดเ ปน ลาํ ดบั แลว วาสนาไมต อ งบอกจะคอ ยดขี น้ึ มาเอง
ดีดขึ้นดวยความดีของเราที่ทําอยูเสมอ การใหท านกเ็ ปน การสรา งวาสนา การรกั ษาศลี ก็
เปน การสรา งวาสนา การเจริญเมตตาภาวนาก็เปนการสรางวาสนา ถาทําดวยเจตนาอัน
ถกู ตอ ง ไมท าํ สกั แตว า “ พอเปนพิธ”ี

ทานถา ทาํ พอเปน พธิ เี ฉยๆ กส็ กั แตว า ทาน ไมมีผลมาก ศลี กส็ กั แตว า พอเปน พธิ ี
แตเวลาลว งเกินศลี ไมลว งพอเปนพธิ ี มันลวงเกินจริงๆ ทาํ ศีลใหขาดจริงๆ ภาวนากพ็ อ
เปนพิธี แตเ วลางว ง ความงว งเขามาครอบงาํ นี่ไมใชพธิ ี ลมตูมลงจริงๆ ถา หมอนไมร บั
ไว กเิ ลสตอ งยงุ เผาศพ เพราะไมไดนอนพอเปนพิธีนี่ มันนอนหลับเสียจริงๆ หลบั

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๐

๕๑

ครอกๆ เหมือนคนตาย มันไมเปนพิธี เมอ่ื ถงึ เวลาส่ิงเหลานี้เขามาเกยี่ วของแลว แต
เวลาบําเพ็ญธรรมนั้นทําพอเปนพิธี นแ่ี หละมนั จงึ ไมท นั การ ไมท นั กลมายาของกเิ ลส
จึงตองยอมเปนพลพรรคของกิเลส ใหกิเลสย่ํายีขูดรีดกดขี่บังคับทั้งวันทั้งคืนทั้งปทั้ง
เดือน ทั้งภพทั้งชาติ ตลอดกปั ตลอดกลั ป ยังไมสามารถจะทราบไดวา วันไหนเราพอจะ
รจู กั เงาของกเิ ลสบา ง มนั ทาํ เราดว ยวธิ ใี ดบา ง มันมีเงาไหม? ถาไมเห็นตัวมันพอเห็นเงา
บา งกย็ งั ดี เชนกิเลสมันตั้งหมัดตั้งมวยใสเรา พอมองเห็นเขาบางก็ยังนาดู แมไมเห็นตัว
ตนเขาแตพอมองเห็นเงามันก็ยังนาดู แตนี่เราไมเห็นจนกระทั่งเงาของกิเลสที่มันฆาคน
ทาํ ลายคน เบยี ดเบยี นคน ทรมานคน กดข่บี งั คบั คน แลวเราจะไปแกกิเลสไดที่ตรง
ไหน? เมื่อเงามันเรายังไมเห็นเลย ไมต อ งพดู ถงึ ตวั มนั วา อยทู ไ่ี หนและทาํ ลายคนดว ยวธิ ี
ใดบา ง

เอา! ทีนี้เพื่อใหรู เพื่อใหทราบเงาของมันและตัวของมัน จงกาํ หนดความรคู อื
จิต สตเิ ปน เครอ่ื งกาํ กบั เขา สภู ายในกายภายในใจของตน หูจะออกไปรับกับเรื่องอะไร
เจา ของหนู ค่ี อื ความรู สติปญญามีมันออกไปกระทบกับเรื่องอะไร รูป เสยี ง กลน่ิ รส
เครื่องสัมผัส เขา มาสมั ผสั จะเขามาสมั ผัสจิตใจทั้งหมดซ่งึ เปน ผรู บั ทราบ นอกจากตา หู
จมูก ลน้ิ กาย และใจเปน ตวั การสาํ คญั ซึ่งเปนผูรับผิดชอบและรับผลโดยประการทั้ง
ปวงจากอายตนะเหลา น้ี ซง่ึ ไปกอ เรอ่ื งกอ ราว แลว นาํ ผลโยนมาใหจ ติ เปน ผรู บั บาปหาบ
ทกุ ขไ มมวี นั เวลาปลงวางเทา นัน้ ถา กาํ หนดอยา งน้ี เราจะทราบทั้งเงาของกเิ ลสทง้ั ตัว
ของกิเลส วา มนั มาดว ยเหตุใดผลใด มนั มาดว ยอาการอะไร ผทู อ่ี อกตอ นรบั คอื ใจเรา
มนั ออกตอ นรบั กเิ ลส ยอมรบั กเิ ลส มนั ยอมรบั ดว ยเหตใุ ด เราจะทราบในขณะเดียวกนั
เมอ่ื ทราบแลว กม็ ที างทแ่ี กไ ขและถอดถอนได

เอา ตั้งสติลงที่ตัวรู คอื ใจนน้ั แล ตัวคะนองอยตู รงน้นั ทําไมใจจึงคะนอง เพราะ
กเิ ลสทาํ ใหค ะนอง พาใหด น้ิ รนกวดั แกวง และแสดงขน้ึ มาจากตรงนน้ั เมื่อมีสติแลวจะรู
ความกระเพื่อมของจิต เบอ้ื งตนเรากาํ หนดรูอยา งนี้ พยายามกาํ หนดใหร โู ดยมบี ท
ธรรมกาํ กบั ไมคอยตี อาศยั ไมค อื ธรรมบทนน้ั ๆ คอยกาํ กบั ไมใหมันโผลขึ้นมาได ตี
ดวยบทธรรมใหถย่ี ิบลงไป เชน “พุทโธ ๆ” เปนตน แลวจิตจะมีความสงบ เมื่อสงบ
แลวจะเย็นลงไป ๆ สงบแนว ลงจรงิ ๆ นน่ั แหละคณุ คา แหง ความสงบจะเหน็ ประจักษ
ในขณะเดียวกันจะเห็นโทษแหงความฟุงซานของจิต วา เทย่ี วกอ ความทกุ ขใ หเ รามาก
นอยเพียงไร เพราะความฟุงซาน

นี่เปนสาเหตุที่จะใหเราทราบในวาระตอไปของกิเลสประเภทตางๆ วา เงากพ็ อ
ทราบหรอื วา ตวั กพ็ อทราบแลว ความฟงุ ซา นเรากท็ ราบวา มนั เปน ภยั ความสงบเราก็
ทราบวาเปนคุณ จะสงบดว ยวธิ ใี ดกท็ ราบ คอื ดว ยวธิ กี ารภาวนาดว ยความมสี ติ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๑

๕๒

เมอ่ื ทราบในเงอ่ื นหนง่ึ แลว ตอไปก็จะทราบไปโดยลําดับ เพราะสตยิ อ มมคี วาม
แกก ลา ขน้ึ ไดใ นเมอ่ื ไดร บั การบาํ รงุ สง เสรมิ อยเู สมอ ปญ ญากส็ ามารถได เฉลยี วฉลาดได
คนเราไมใชคนโงอยูตลอดเวลา ถงึ คราวจะฉลาดฉลาดได ถา เจา ของสนใจเพอ่ื ความ
ฉลาด นอกจากจะนอนอยูเฉยๆ เหมอื นหมอู ยใู นเลา ในตมในโคลนเทา นน้ั จะหาความ
ฉลาดไมไ ดจนกระทัง่ วันตาย และตลอดกปั ตลอดกลั ป จะจมอยใู น “วฏั สงสาร”ตลอด
ไปเพราะความโงพาใหจม เราไมใชผูตองการจะจมดวยความโงเชนนั้น เรามาเสาะแสวง
หาความฉลาดเพื่อจะปลดเปลื้องความโงของตน ใหใ จดดี ขน้ึ จากตมจากโคลนทง้ั หลาย
คอื กเิ ลสอาสวะประเภทตา งๆ กลายเปนอิสรเสรีขึ้นมา เราตอ งทาํ ความพยายามใหเ ตม็
เม็ดเต็มหนวย จิตสงบดวยการบังคับ ดว ยความมสี ติ โดยอาศยั บทธรรมเปน เครอ่ื ง
กาํ กบั เปน ผลขน้ั หนง่ึ ขน้ึ มาแลว

แตค าํ วา “ขน้ั นน้ั ขน้ั น”้ี ไมอ ยากจะเรยี กใหเ สยี เวลา สงบหรอื ไมส งบมนั กท็ ราบ
ภายในตวั เองนน้ั แล เหมอื นเรารบั ประทานอาหาร มนั ถงึ ขน้ั ไหนแลว เวลาน?้ี เรากไ็ ม
เหน็ ถามกนั นน่ี า เริ่มรับประทานเบื้องตนสําเร็จขั้นไหนไมเห็นวา รับประทานไปๆ จน
กกระทง้ั อม่ิ กร็ เู อง ไมจาํ เปนตอ งเอาขน้ั เอาภูมิไปหาความอ่ิม อนั นก้ี เ็ หมอื นกนั ใจรู ไมมี
อะไรทจี่ ะรูย่งิ กวา ใจ ทกุ ขก ร็ ู สขุ กร็ ู ดีรู ชัว่ รู รอนรู หนาวรู รูไปทั้งนั้น เปนผูรูอยูตลอด
เวลา ใจนแ่ี หละเปน ผรู บั รู

เมื่อไดสรางสติปญญาเปนเครื่องกํากับใจดวยดีแลว ใจจะเดนขึ้นดวยความรู
ความสงบ และมคี วามชาํ นชิ าํ นาญไปโดยลาํ ดบั เอา จะพิจารณาแยกแยะเหตุผลตางๆ
ที่จิตไปติดพันเกี่ยวของกับเรื่องอะไรจึงกลายเปนไฟขึ้นมาเผาตัวเอง ก็จะทราบทั้งรอง
รอยและตวั เหตตุ วั ผลของมนั อกี ดว ย จติ มคี วามรอู นั เดยี วเทา นน้ั

สตมิ คี วามระลกึ แลว ดบั ไป ๆ เรียกวา สติ ปญ ญาคอื ความสอดสอ ง ความ
ใครครวญ ใครค รวญกใ็ ครค รวญเรอ่ื งของตวั เองนน่ั แหละ

“อนิจฺจ”ํ ทา นวา นเ่ี ปน แผนทข่ี องปญ ญานะ “ทุกฺขํ อนตตฺ า” นี่เปนแผนที่
แนวทางเดินของปญญา จึงเรียกวา “หนิ ลบั ปญ ญา”

พิจารณาเรื่อง “อนจิ จฺ ”ํ มันเปนอะไร อนจิ จฺ ํ น?่ี ไตรตรองไปเรื่อยๆ นับจาก
ชน้ิ หนง่ึ สองชิ้น สามชน้ิ จนกระทั่งรอบตัว รอบโลกธาตแุ ตล ะอยา งๆ เปนอนิจฺจํทั้งสิ้น
นก่ี ท็ ราบดว ยปญ ญา เมื่อทราบชัดดวยปญญาวา ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งเปน อนจิ จฺ หํ มดแลว
เราจะไปนอนใจตายใจติดกับสิ่งเหลานั้นไดอยางไร ทั้งที่รูวามันเปนอนิจจฺ ํอยางประจักษ
ใจ การพิจารณาธรรมใหประจักษใจเปนอยางนี้

ทุกขฺ ํก็ทราบ มนั แสดงอยตู ลอดเวลา มันเปนภัยจริงๆ กท็ ราบ แลวใจจะชนิ กับ
ทุกขไดอยางไร ไมชิน ไมเคยไดยินวาใครเคยชินกับความทุกข ถา เราอยากรชู ดั ๆ กล็ อง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๒

๕๓

เอามือจอเขาไปในไฟดูซิ มันจะชินไหม? เราอยูกับไฟมาตั้งแตวันเกิดจนกระทั่งบัดนี้
มนั ชนิ กบั ความรอ นทจ่ี ะทาํ ใหเ ราทกุ ขน น้ั ไหม? ไมเคยชิน พอมือจอลงไปปบมันก็จะ
ถอนมือทันที มอื ยอ นกลบั ปบ ทันที กระตุกตัวเองทันที เพราะความรอนมันแผดเผา
ทนอยูไมได นน่ั ! มันชินไปไดยังไง? พิจารณาใหเห็นชัดดวยปญญาอยางถึงใจจริง

คาํ วา “อนตฺตา” มันวางไปหมด เราเสกสรรเอาเฉยๆ วา นน้ั เปน ตวั นั่นเปนตน
นน่ั เปน สตั ว นน่ั เปน บคุ คล แมแ ตก อ นธาตทุ อ่ี ยใู นรา งกายของเราน้ี มนั กว็ า งจากความ
เปนตนเปนตัวอยูแลวโดยธรรมชาติของมัน แตเรามาเสกสรรเอาวามันเปนกอนเปน
กลมุ จากนน้ั กว็ า “เปนเราเปนของเรา” ธรรมชาติจริงๆ แลว อนตฺตา มันวางจาก
ความเปน ตนเปน ตวั เปน สตั วเ ปน บคุ คลไปหมดอยแู ลว จงพิจารณาใหเห็นตามหลัก
ธรรมชาติอยางนี้ จติ จะไดถ อยตวั เขา มาจากความลมุ หลงนน้ั ๆ แลว ปลอ ยความกงั วลได
ในสภาวะทง้ั หลายซง่ึ เปน “อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา”

ทราบโดยทาง “ปญญา” ทราบอยา งถงึ ใจ จิตเมอ่ื ไดถ อดถอนตัวหรอื ไดเ ปด
เผยรอ้ื ฟน ตนจากสง่ิ ทป่ี ด บงั ทง้ั หลาย โดยความรูชัดวาสิ่งเหลานี้เปน อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺ
ตา แลว ทําไมจิตจะไมโลง ทําไมจิตจะไมสวางไสว ทําไมจิตจะไมเบา ทําไมจิตจะไม
อัศจรรย ทําไมจิตจะไมผองใสและเปนสิ่งที่นาอัศจรรย ตองเปนของอัศจรรยอยางแน
นอนไมตอ งสงสยั

ทจ่ี ติ ไมแ สดงความอศั จรรยใ หเ จา ของเหน็ เลย กเ็ พราะมแี ตส ง่ิ สกปรกโสมม
ทห่ี าคณุ คา ไมไ ดม นั ครอบจติ อยู จติ จงึ กลายเปน นกั โทษทง้ั ดวง แลวจะมีคุณคาที่
ไหน เพราะมันเปนนักโทษทั้งดวง เพราะธรรมชาติที่เปนโทษมันอยูกับจิต คอื กเิ ลสทง้ั
หลายนั้นแล

พอเปดออกไป ๆ อปุ าทานการยดึ มน่ั ถอื มน่ั เปด เผยตวั ออกไปโดยลาํ ดบั ๆ
ความสวางกระจางแจงของจิต ความเปน อสิ ระของจติ ตามขน้ั นน้ั ๆ ไมต อ งถาม เบาหววิ
เลย อยทู ไ่ี หนกเ็ พลินและเบาไปหมด แตก อ นเคยแบกหามจนหนกั แยก ห็ าทป่ี ลงวางไม
ได นอนกแ็ บก นง่ั กแ็ บก ยนื กแ็ บก แบกอยอู ยา งนน้ั แหละ แบกอปุ าทานความหนกั ภู
เขาทง้ั ลกู วา มนั ใหญโ ตมนั หนกั เราไดเ คยแบกมนั บา งแลว หรอื ? เราถงึ จะทราบวามัน
หนกั เรายังไมเคยแบกเรายังไมหาญพูดได ดตู วั ทม่ี นั หนกั ๆ คือ “เบญจขนั ธน น่ี ะ ”
มนั หนกั อยตู รงน้ี ยิ่งมีความเจ็บไขไดปวยแลวยิ่งลุกไมขึ้นเอาเลย ตอ งใหค นอน่ื ชว ย
พยงุ ชว ยกเ็ จบ็ หนกั เขา อกี ดว ยการเจบ็ ปว ยในอวยั วะตา งๆ มนั ทง้ั หนัก ทั้งเจ็บทั้งปวด
เลยเพิ่มเปนเรื่องหนักไปหมด นีแ้ ลตวั หนกั จรงิ ๆ ทานจึงวา “ภารา หเว ปจฺ กขฺ นฺ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๓

๕๔

ธา” ภาระอันหนักจริงๆ กค็ อื เบญจขนั ธ ทา นไมไ ดบ อกวา ภาระอนั หนกั จรงิ คอื ภเู ขา
ทา นไมเ หน็ วา

เราพิจารณาใหเห็นจริงอยางนี้ อันนี้แลเปนเครื่องทับจิตใจเรา พจิ ารณาใหร ูใน
อาการทง้ั ๕ น้ี มนั คอื ไตรลกั ษณท ง้ั นน้ั เราอยา ไปอาจหาญ อยา ไปเออ้ื ม อยาไปจับ
อยา ไปยดึ อยา ไปแบกหามมนั หนกั เขาไปแบกมันหนักจริงๆ ถา ปลอ ยเสยี มนั กเ็ บา
ปลอยดวยปญ ญาใหรชู ัดตามความเปน จรงิ จิตจะเพลนิ มีความรื่นเริงบันเทิง อยทู ไ่ี หน
ก็รื่นเริง อยใู นปา ในเขาอดอม่ิ เปน ตายอะไร มีแตความรื่นเริงบันเทิงในธรรมทั้งหลาย

“ธมมฺ ปต ิ สขุ ํ เสต”ิ ผมู ปี ติในธรรมยอมอยูเปนสุข อนั นย้ี งั หยาบไป เมื่อเขา
ถงึ ขน้ั นแ้ี ลว คอื วา ละเอยี ดอยา งยง่ิ มีความสุขละเอียดเปนพื้นฐาน นอนกเ็ ปน สขุ นง่ั ก็
เปนสขุ ยนื เดิน อยกู เ็ ปน สขุ ทง้ั นน้ั อดอิ่มเปนสุข สบายไปหมด หมดความกงั วล หมด
ภาระเปน เครอ่ื งกดถว งจติ ใจ

เอา! เพอ่ื ใหก เิ ลสท้ังมวลสน้ิ ซากไปเสียไมใ หม อี ะไรเหลอื ตนไมเราตัดกิ่งตัด
กา นตดั ตน มนั ออกหมด ยงั เหลอื แตห วั ตอ รากแกว รากฝอย ขุดตนมันขึ้นมา เอาเผาไฟ
เสยี ใหส น้ิ ซากหมดเทา นน้ั ตนไมตนนั้นไมมีทางเกิดไดอีกเลย

จติ กเ็ หมอื นกนั ถอนรากแกว ซง่ึ อยภู ายในจิต ทานเรยี ก “อวชิ ชา” ใจปลอ ย
อะไรๆ หมด แตต วั เองกม็ าอศั จรรยอ อ ยอง่ิ อยกู บั ความสงา ผา เผย ความละเอยี ดลออ
ซึ่งเปนเรื่องของกิเลสประเภทละเอียด พิจารณาเขาอีกใหพอ นก่ี ค็ อื กองไตรลกั ษณอ กี
เชนเดียวกัน อยา ถอื วา เปน เรา มันเราอะไรกัน เปน กอง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา อนั
ละเอยี ดตา งหากน่ี กเิ ลสตัวรายยงั วาเปนเราอยหู รือ? ความผองใสที่ควรจะผา นไปได
ถอื ไวท าํ ไม อันนี้เปนกิเลสประเภทหนึ่งที่ละเอียดมากเกินกวาสติปญญาธรรมดาจะรู
เห็นได ตอ งเปน สตปิ ญ ญาอตั โนมตั กิ าํ จัดมนั

นีเ่ วลายอ นจติ เขา มา เมื่อไมมีที่พิจารณาจริงๆ กต็ อ งยอ นจิตเขา มาพจิ ารณา
ธรรมขั้นละเอียดสุดนั่นคือ กเิ ลสตวั ละเอยี ดอนั เปนจดุ สดุ ทาย “สพฺเพ ธมมฺ า นาลํ อภิ
นเิ วสาย”ธรรมทั้งปวงไมควรถือมั่น น่นั เมื่อถงึ จุดสุดทา ยแลวก็ “สพเฺ พ ธมมฺ า อนตฺ
ตา” ธรรมทั้งปวงเปน อนตตฺ า ทั้งสิ้น ไมว า จะเปน สว นหยาบสว นละเอยี ด ตลอดความ
ผองใส ความเศรา หมองทัง้ สน้ิ ที่มีอยูภายในจติ โดยเฉพาะ เปน อนตฺตา ทง้ั สน้ิ

ผูปฏิบัติจงพิจารณาจิตดวงผองใส ใหเ หน็ เชน เดยี วกบั สภาวธรรมทง้ั หลาย
ธรรมทั้งปวงเปน อนตฺตา ธรรมทั้งปวงจึงไมควรถือมั่น จากส่งิ นี้เองที่ไมควรถือมัน่ พอ
พิจารณาเต็มที่เต็มภูมิของปญญาแลว สลัดพับเดียวหมด เมื่อสมมุติทั้งปวงไมวาหยาบ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๔

๕๕

กลาง ละเอียดไดสิ้นสุดไปจากใจแลว ปญหาอะไรที่จะมีอีกตอไป? ไมม ี! หมด! นน่ั
แหละทา นผหู มดทกุ ขท า นหมดอยา งน้ี นแ้ี ลผเู หนอื กเิ ลส

กเิ ลสมากดั มาฉกี เหมอื นเสอื โครง ดงั ทก่ี ลา วมาแลว น้ี เปนอันยุติกันเพียงเทานี้
เพราะถกู ฆา หมดฉบิ หายไมม เี หลอื เลย กิเลสทุกประเภทที่ทานเปรียบเหมือนเสือโครง
ถกู ฆา ดว ยสตปิ ญ ญาอนั แหลมคม คอื มหาสตมิ หาปญ ญา สน้ิ ซากไปหมด เสวย อมต
ธรรม โดยหลกั ธรรมชาติ นค่ี อื ผลแหง การปฏบิ ตั อิ ยา งแทจ รงิ เปน อยา งน้ี เพราะธรรม
เปนธรรมชาติที่ถึงใจของสัตวโลก ธรรมเปนของจริง ผสู อนจงึ สอนดว ยความจรงิ ผู
ปฏบิ ัติปฏิบัตจิ ริงๆ จังๆ ฟงจรงิ ๆ จังๆ แกกิเลสตัณหาสวะซึ่งเปนภัยอยางจริงจัง
เพราะเห็นวาเปนภัยอยางจริงใจ แกอยางจริงๆ จังๆ ก็พนไดจริงๆ อยา งนไ้ี มเ ปน อน่ื
เพราะ “สวากขาตธรรม” นน้ั ทา นเรยี กวา “มชั ฌมิ า” ทนั ตอเหตุการณอ ยตู ลอดเวลา
ไมวา กาลใดอาการใดของกเิ ลสทแ่ี สดงขน้ึ มา “มัชฌิมาปฏิปทา” เปน อาวธุ ทท่ี นั สมยั
ฟาดฟน กเิ ลสใหแ หลกกระจายไปหมดไมม อี ะไรเหลอื เลย ทานจึงเรียกวา “มัชฌิมา”
เหมาะสมตลอดเวลากบั การแกก เิ ลสกองทกุ ขท ม่ี อี ยภู ายในใจของสตั วโ ลก

การแสดงธรรมกเ็ หน็ วา สมควร ขอยุติ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๕

๕๖

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘

กเิ ลสฝง ในจติ

ศาสนาในขน้ั เรม่ิ แรกทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงประกาศเอง มสี าวกชว ยพุทธภาระให
เบาบางลง ในครง้ั นน้ั ศาสนาไมค อ ยกวา งขวาง มแี ตเ นอ้ื ๆ ครน้ั ตอ มานานเขา ๆ เนอ้ื ก็
ไมค อ ยปรากฏ มักมีน้ําๆ แลวเลยกลายเปนมีแตเปลือก มแี ตก ระพไ้ี ป คอื มแี ตพ ิธรี ี
ตอง ไปไหนมีแตพ ธิ ี ศาสนาจริงๆ มองไมคอยเห็น มีแตพิธีเต็มไปหมดในงานตางๆ
เกย่ี วกบั ศาสนา เมื่อเปนเชนนั้นผูที่จะยึดเอาเปนหลักเปนเกณฑกับศาสนาจริงๆ กเ็ ลย
ยึดไมได ไมท ราบวาอะไรเปนศาสนา คอื แกน แท อะไรเปนกระพี้ เปน เปลอื ก คือพิธีรี
ตองตางๆ เพราะการแสดงออกแหง พธิ นี น้ั ๆ มีมากตอมาก ผยู งั ไมเ ขา ใจกเ็ ขา ใจวา เปน
เรือ่ งศาสนาทั้งนน้ั พิธีรีตองเลยทําใหผูตั้งใจตอศาสนาจริงๆ ยุงและสับสนไปหมด ไม
อาจจะยึดศาสนาอันแทจริงได

นเ่ี ปน ปญ หาหนง่ึ ในเวลานซ้ี ง่ึ มมี ากมาย และถือเปนหลักเปนเกณฑเสียดวยไม
ใชธรรมดา พิธีตางๆ ซึ่งแฝงศาสนากลายเปนหลักเกณฑขึ้นมา สว นทเ่ี ปน หลกั เกณฑ
จรงิ ๆ จงึ คลา ยกบั คอ ยเสอ่ื มคอ ยหายไปเปน ลาํ ดบั ถา ไมม กี ารปฏบิ ตั เิ ขา ไปเกย่ี วขอ ง ถา
พูดตามแบบโลกๆ กว็ า การปฏบิ ตั ธิ รรมกบั พธิ รี ตี องกาํ ลงั เปน คแู ขง กนั โดยไมมีเจตนา
หรอื มกี ไ็ มอ าจทราบได เพราะเวลานี้กําลังอยูในความสับสนปนเปกันระหวางพิธีรีตอง
ตางๆ กบั การปฏบิ ตั ิ อาจไมท ราบวาอะไรจริงอะไรไมจ รงิ อะไรแทอ ะไรปลอม อะไร
เปน เปลอื กอะไรเปน กระพ้ี อะไรเปน แกน หากไมม กี ารปฏบิ ตั เิ กย่ี วขอ งไปดว ยแลว
อยางไรๆ เปลอื ก กระพจ้ี ะตอ งถกู เสกสรรขึน้ มาเปนแกน เปนหลกั เปนความจริงของ
ศาสนาโดยไมส งสยั ทั้งๆที่ไมใชความจริงเลย นเ่ี ปน เรอ่ื งทน่ี า วติ กอยมู าก

ศาสนาแทๆ ทานไมมีอะไรมากมายกา ยกอง นอกจากสิ่งที่จําเปน ทาํ ลงไปแลว
เกดิ ประโยชนเ ทา นน้ั สมยั ตอ มาชอบยงุ ไมเ ขา เรอ่ื ง เชน รับศีล ก็ตองยุงไปหมด มาไม
ทันรบั ศลี กเ็ สยี ใจ นน่ั ! ฟงดูซิ อะไรๆ ก็รับศีล รบั ศลี อยตู ลอดเวลา ดงั

“มยํ ภนฺต ตสิ รเณน สห ปจฺ สลี านิ ยาจาม” ขอวนั ยังค่ํา แตก ารรกั ษาศลี ไม
ทราบวา รกั ษาอยา งไร เห็นแตการขอรบั ศีล สมาทานศลี อยทู าํ นองนน้ั ไมวาที่ไหน ๆ ยงุ
ไปหมด

การรบั ศลี กม็ เี จตนาอยภู ายในใจเปนผูชี้ขาด หรอื การรับรองในศีลของตน
ดวยเจตนาวิรัติ เรื่องก็มีเทานั้นเปนสําคัญ

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๖

๕๗

ถา เปน ฆราวาสทว่ั ๆ ไปและศลี ทว่ั ๆ ไป เชน ศลี หา ศลี แปด กค็ วรรบั ไวเ พอ่ื

รกั ษาศีลจริงๆ จะมปี ระโยชน
สว นศลี ทีเ่ ปนศีลของพระของเณรนน้ั เพอ่ื ประกาศเพศของตนใหโ ลกทราบ จงึ

ทาํ อยางมกี ฎเกณฑไ ปตามหลกั ธรรมหลักพระวนิ ยั เชน ศลี เณร ศลี พระ แตส ดุ ทา ยก็
เจตนาอนั เดยี วกนั ไมไ ดมากมายอะไรนกั ทาํ พธิ กี ็ เอา!

ถวายทาน ก็ฟาดกันจนหมดคัมภีร ผูน งั่ ฟง จนหาวนอน จะนอนหลับคานง่ั คํา
ถวายทานนี้ก็ไมทราบวาถวายอะไรตออะไร เปนคัมภีรๆ ไลม าหมดโลกธาตุ ดีไมด ี
อยากจะอวดภูมิของตัวเองดวยวาไดเรียนมามากและรูมาก ใหคนอืน่ เขาอศั จรรยเ สียมัง่
ภมู นิ าํ้ ลาย นั่น! อยางนเ้ี ปนตน

เมอ่ื ไดผ า นการปฏบิ ตั มิ าพอสมควร ไดเ หน็ วา อะไรทาํ ใหเ สยี เวลาํ่ เวลา อะไรจรงิ
อะไรปลอม หรืออะไรมันยืดเยอ้ื กวา จะเขา ถงึ ตวั จรงิ ละโอโ ห เปน ชว่ั โมงๆ อยา งนไ้ี ม
ทราบวาทาํ เพ่ืออะไร เพราะฉะนน้ั ในวงกรรมฐานทา นจงึ ไมค อ ยมพี ธิ รี ตี องอะไรนกั
อยากจะพูดวา “ไมม”ี แตพูดวา “ไมค อ ยม”ี นน้ั เปน ความเหมาะสม เพราะบางทกี ็
ตองอนโุ ลมผอนผันทัง้ ๆ ท่กี ท็ ราบอยแู ลว เพอ่ื จติ ใจคนผยู งั ใหมต อ ศาสนา แมเ ชน นน้ั ก็
ควรนาํ ของจรงิ มาโชวก นั อวดพธิ กี นั ใหโ กห รไู ป แตเอาของปลอมมาโชว! เมื่อพอ
ผอนผนั สั้นยาวก็ผอ นไปบางทัง้ ท่ีขวางใจขวางธรรม ในวาระตอ ไปคอ ยบอกกนั ใหร เู รอ่ื ง
รรู าวในความจรงิ และหลักเกณฑข องพระพุทธศาสนา

จะเหน็ ไดใ นขณะทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนสาวกตง้ั แตเ รม่ิ เขา บวช พระองค
เรม่ิ มคี วามจรงิ จงั ขน้ึ ในขณะบวชทเี ดยี ว ครั้งแรกพระองคท รงบวชเองดว ยพระวาจาวา
“เอหิภิกขุอุปสัมปทา”.ทา นจงเปน ภกิ ษเุ ถดิ นี่เปนวาระแรก ตอ มาก็ “ตสิ รณู
อุปสัมปทา” ถงึ สรณะสาม คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลวก็สําเร็จเปนพระขึ้นมา
ถึงวาระที่สามนีก้ ย็ กใหส งฆเปน ใหญ ใหส าํ เรจ็ ในสงฆ ตอนนท้ี า นประกาศ “รุกขฺ มูล
เสนาสนํ” ใหเปน ทีอ่ ยูอาศยั ของพระเพ่ือประพฤตพิ รหมจรรย เพื่อความสิ้นทกุ ขโ ดย
ชอบ ทั้งๆ ที่แตกอนก็สอนใหอยูรุกขมูลรมไมอยูแลว แตไมไดย กขน้ึ เปนกฎเปนเกณฑ
ในการบวช พอตอ มาวาระทส่ี ามนข้ี น้ึ เปน กฎเกณฑเ ลย

“รกุ ขฺ มลู เสนาสนํ”อปุ ช ฌายจ ะไมส อนอยา งนไ้ี มไ ด ผิด ตอ งสอนใหถ กู ตอ ง
ตามนี้ อปุ ช ฌายใ ดกต็ าม แมเจาของจะไมชอบ “รกุ ขฺ มลู เสนาสนํ” ขนาดไหน การบวช
กุลบตุ รตอนสดุ ทา ยภายหลงั กต็ อ งบวชตอ งสอนอยา งน้ี มี “รุกขฺ มูลเสนาสนํ” ข้ึน
หนาอนุศาสน ไมเลือกวา ใครหรือนกิ ายไหน เพราะคําวา “นิกาย” กเ็ ปน เพยี งชอ่ื อนั
หนึ่งเทานั้น หลกั ใหญค อื การบวชนน่ั เอง

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๗

๕๘

ทา นเอาจรงิ เอาจงั สอนแลว ไลเ ขา ปา เขา เขาไปเลยเพอ่ื ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ จนได
บรรลุธรรมแลวแมทานจะออกประกาศธรรมสอนประชาชน ก็ใหเปนไปตามอัธยาศัย
ของทานผูมีอํานาจวาสนามากนอย มคี วามรคู วามฉลาดลกึ ตน้ื หยาบละเอยี ดมากนอ ย
เพียงไร กส็ ง่ั สอนประชาชนไปตามภมู นิ สิ ยั วาสนาของตน

องคใ ดทท่ี า นไมม นี สิ ยั เกย่ี วขอ ง วาสนาทานไมมีในทางนั้น ทานก็ไมเกี่ยว เชน
พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ไปอยูที่สระ “ฉัททันต” มชี า ง “ฉทั ทันต” เปนหัวหนาโขลง
อปุ ถมั ภอ ปุ ฏ ฐากทา น ตั้งสิบเอ็ดป ผา สบงจวี รยอ มดว ยดนิ แดง ถงึ วาระแลว กม็ าทลู ลา
พระพุทธเจา เขา สูน พิ พานไปเลย องคน ป้ี รากฏวา ไดส อนเฉพาะ “พระปณุ ณมนั ตานี
บุตร” ซง่ึ เปน หลานชายเทา นน้ั สอนองคเดียว และพระปณุ ณมนั ตานบี ตุ ร ปรากฏวา
เปน “ธรรมกถกึ เอก” นอกน้ันทา นไมส นใจกบั ใครเลย พระอญั ญาโกณฑญั ญะ เปน
“รัตตัญ”ู เปนพระสาวกองคแรกที่ไดบรรลุธรรมพระศาสดาใดในตนพุทธกาล

องคท ท่ี า นมอี าํ นาจวาสนาในทางใด ทานก็เปนไปตามเรื่องของทานเอง เชน
“พระสารีบุตร” “พระโมคคัลลาน” เปน ผทู ม่ี อี าํ นาจวาสนามากเกย่ี วกบั บรษิ ทั บรวิ าร
มคี วามรคู วามฉลาดมากดงั “พระสารบี ตุ ร” การแนะนาํ สง่ั สอนกก็ วา งขวางลกึ ซง้ึ ทุก
สง่ิ ทกุ อยา งเตม็ ไปดว ยความเหมาะสม เพราะฉลาดในการสง่ั สอน “พระโมคคลั ลาน”
ก็เปนผูทรงฤทธิ์ทรงเดช เปน ไปตามนสิ ยั วาสนาของทา นทเ่ี กย่ี วขอ งกบั บรษิ ทั บรวิ าร
พระเณร เมอ่ื ถงึ ขน้ั “อรหตั ภมู ิ” แลว เปน นสิ ยั วาสนาลว นๆ ไมมีกิเลสเจือปน ทานจะ
อบรมสง่ั สอนประชาชนมากนอยเพียงไร ยอ มเปน ไปตามอธั ยาศยั ของทา น ไมมีกิเลส
เขา เคลอื บแฝง ไมลุมๆ ดอนๆ สงู ๆ ตาํ่ ๆ เพราะทานสอนทานไดแลวคอยมาสอนคน
อน่ื จงึ ไมม คี วามผาดโผนโลดเตน แฝงอยใู นองคท า น เวลาเกี่ยวของกับประชาชนที่มา
พึ่งรมเงาแหงธรรมทาน

ในเบอ้ื งตน ทา นฝก อบรมใจทา น การอบรมสง่ั สอนคนทา นทาํ อยา งเตม็ ท่ี ทาน
ฝกฝนทรมานตนอยางเต็มฝมือ ไมล บู ๆ คลาํ ๆ การฝก อบรมตนดว ยวธิ ตี า งๆ เพอ่ื แก
กิเลสทั้งมวล ก็ตองเปนการทรมานตัวอยูโดยตรง ถา ไมท าํ อยา งนน้ั กเิ ลสกไ็ มย อมจาํ นน
และหมดไปจากใจ การทรมานกเิ ลสกับการทรมานตนในขณะนั้น จะเรียกวาเปน
“ความทกุ ขใ นคนๆ เดยี วกนั ” ก็ไดไมนาจะผิด เพราะขณะที่ทุมเทกําลังเพื่อ “การรบ
รากบั กเิ ลส” หรือ “เพอ่ื แกก เิ ลส” นน้ั ตอ งใชค วาม “อุตสาหพยายาม” อยางเต็มที่
ตอ งไดร บั ความทกุ ขม าก สมกบั ขน้ึ เวทเี พอ่ื ชยั ชนะโดยถา ยเดยี ว แมทุกขมากนอยหรือ
จะถงึ ขน้ั ตาย เจาของตองยอมรับ ไมยอมรับไมไดชัยชนะมาครอง มบี างองคท า นเดนิ
จงกรมจนฝา เทา แตก นั่นเห็นไหม! ทั้งๆ ทฝ่ี า เทา นน้ั ไมใ ชก เิ ลส แตจ ําเปน กต็ องไดรบั

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๘

๕๙

ความกระทบกระเทือนไปดวย ถงึ ฝา เทา แตกดว ยการรบกเิ ลส บางองคก ต็ าแตก “พระ
จักขบุ าล” ตาแตกทง้ั สองขา ง เพราะไมน อนเปนเวลาตั้งสามเดือน ทา นฝก ทรมานอยา ง
เต็มที่จนตาทั้งสองขางแตก แตใ จสวา งจา ขน้ึ มาในขณะนน้ั เพราะบรรลุขั้นอรหัตธรรม

ถงึ คราวทจ่ี ะตอ งรบั ความทกุ ขล าํ บาก เพราะการประกอบความเพียรเพื่อแก
กเิ ลส ก็ตองยอมรับกัน จะไมย อมรบั ไมไ ด ตอ งยอมรบั เมอ่ื ถงึ ขน้ั ยอมรบั เพอ่ื ชยั ชนะ
อันใหญหลวง พระพุทธเจา กท็ รงยอมรับ พระสาวกทงั้ หลายกวา จะไดมาเปน “สรณะ”
ของพวกเรา ทา นกย็ อมรบั ความทกุ ขความลาํ บากในการฝก ฝนทรมานตนเพื่อฆากเิ ลส
ทั้งนั้น เพราะกเิ ลสอยกู บั ตวั การฟนกิเลส ถา ไมฟ นเขา ไปถกู ตวั ดว ยกไ็ มกระทบ
กระเทอื นกเิ ลสทอ่ี ยกู บั ตวั ฉะนน้ั การหาํ้ หน่ั กเิ ลสไมก ระทบกระเทอื นตวั ดว ยจงึ ไมไ ด
ตองมีการกระทบกระเทือนตัวเปนธรรมดา

พวกเรากเ็ หมอื นกนั ถา จะใหก เิ ลสมนั อยหู อ งโนน เรามาอยหู อ งน้ี ขังกิเลสไวใน
หอ งโนน เรามาอยใู นหอ งน้ี มันเปนไปไมได ถา เปน ไปไดพ ระองคต อ งทรงทราบกอ น
ใครๆ ในโลก เราอยใู นหอ งไหนกเิ ลสกอ็ ยใู นหอ งนน้ั การฝกทรมานเราตรงไหนก็เปน
การฝกทรมานกิเลสตรงนั้น และในขณะเดยี วกนั กเ็ ปน ความทกุ ขใ นการแกก เิ ลสเชน
เดียวกัน คอื เราตอ งยอมรบั ทกุ ข เชน นั่งมากก็ทุกข เดินมากก็ทกุ ข นอนมากกท็ ุกข คือ
นอนพจิ ารณาเพอ่ื แกก เิ ลสนะ ไมใ ชน อนแบบหมขู น้ึ เขยี ง เวลากาํ หนดภาวนามนั ทกุ ข
ดวยกนั ท้งั น้ัน ชอ่ื วา “ประโยคพยายามทจ่ี ะแกก เิ ลส”แลว มนั เปน ความทกุ ขด ว ยกนั ทง้ั
นน้ั ฉะนน้ั จงึ ไมค วรทอ ใจออ นใจ กเิ ลสจะแขง็ ขอ ตอ สเู อาจะวา ไมบ อก

แมจ ะเปน การอดนอนผอ นอาหาร มันกเ็ ปนเร่ืองความทกุ ขท งั้ นั้นแหละ แต
เพื่อดับเชื้อของกิเลสนะ ทุกขก็ตองยอมรับ การขาดตกบกพรอ งในสง่ิ ใดบรรดาท่ี
อาศยั เปนความฝดเคืองกับสิ่งใดก็ยอมรับ อะไรจะขาดตกบกพรองตองยอมรับ ๆ เมื่อ
เข็มทิศอันใหญยิ่งมุงตออรรถตอธรรม คอื แดนแหง ความพน ทกุ ขอ ยแู ลว อะไรๆ กต็ อ ง
ยอมรบั ตองยอมรับทั้งนั้นไมกังวล ไมยอมรับไมได กเิ ลสมนั อยกู บั เรา เราไมยอมรบั
ความกระทบกระเทือน ความทกุ ขค วามลาํ บากดว ยเพราะการแกก เิ ลส ยอมไมได ตอ ง
ยอมรบั

เอา! ทุกขก็ทุกข ยอมทุกข ลาํ บากก็ยอม ขอใหก ิเลสมันคอ ยหมดไป ๆ เพราะ
กเิ ลสเปน เครอ่ื งกอ กวนภายในจติ ใจ จําพวกบอ นทาํ ลายกค็ อื กเิ ลสนแ่ี หละ อยา งภาย
นอกทเ่ี ราเหน็ นน่ั แหละ ลวนแลวแตก เิ ลสบงการ เพือ่ ความมกั ใหญใฝส งู เกนิ มนุษยมนา
เทวดาอินทรพ รหม ไมย อมมองดตู วั เดย๋ี วสไตรค ท น่ี น่ั สไตรค ท น่ี ่ี เดนิ ขบวนทน่ี น่ั เดิน
ขบวนทน่ี ่ี กค็ ือพวกบอ นทาํ ลาย ทําลายบานเมือง ทาํ ลายทน่ี น่ั ทาํ ลายทน่ี ่ี ทาํ ลายหลาย
ครง้ั หลายหนมนั กแ็ หลกไปเอง นั่น!

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๙

๖๐

กิเลสมนั ทาํ ลายเรามันทาํ ลายอยา งน้ัน มันบอนที่ตรงนั้น มันบอนที่ตรงนี้ แตเรา
ไมทราบวามนั บอนทําลายเราซิ เราเลยหลงไปเขาขางมันเสีย แลว กแ็ ย! ตัวเราก็เลยเปน
กองทุกขขึ้นมาโดยไมเห็นโทษของตัว

เพราะฉะนน้ั จึงตอ งใชป ญ ญาแยกแยะออก เจตสิกธรรมอันใดเปนไปเพื่อความ
กอทุกขความลําบากแกตน ใหระมัดระวังวา เจตสกิ ธรรมคอื ความคดิ ประเภทท่ีผดิ
พยายามแกไ ขโดยถกู ทาง ก็จะมีความสุขเย็นใจ ผเู กย่ี วขอ งกม็ คี วามผาสกุ เยน็ ใจเชน
เดียวกัน ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั อบุ ายแหง การแกก เิ ลสของแตล ะรายจะขวนขวายใสต น

คาํ วา “กเิ ลส” เราอยา คดิ วา มนั อยทู ไ่ี หน กค็ อื ความคดิ ความปรงุ นแ่ี หละ เปน
เครื่องมอื ของกเิ ลสโดยตรง กเิ ลสจรงิ ๆ มฝี ง อยใู นใจ ฝงอยา งจมมิด ไมท ราบวาใจคอื
อะไร กเิ ลสคอื อะไร เพราะมันเปนอนั เดียวกัน ในขณะนม้ี นั เปน อนั เดยี วกนั มันเปน
อยางนั้นจริงๆ กระเทือนใจกก็ ระเทอื นกเิ ลส

เมื่อแยกแยะกันไปโดยลําดับดวยความเพียรพยายาม เราถึงจะทราบวา กเิ ลส
เปนชนิดใด ใจแทหรือ “จิตแท” เปน อยา งไร เพราะอาํ นาจของปญ ญาเปน เครอ่ื ง
ทดสอบ สตเิ ปน เครอ่ื งระลกึ รใู นวงงานนน้ั ๆ ปญญาเปนผูคลคี่ ลายพจิ ารณาใหทราบวา
ผดิ หรอื ถกู โดยทางเหตผุ ล แลวก็แกกันไปไดตามลําดับของกิเลสที่มีประเภทตางๆ กนั
เราจะทราบวาอนั ไหนเปนเรอ่ื งของกิเลส อันไหนเปน เรือ่ งของธรรม กค็ อ ยทราบไป
เรอ่ื ยๆ โดยภาคปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนา แตเ ร่อื งความทกุ ขเพราะความเพยี ร กย็ อ มมเี ปน
ธรรมดาของการทาํ งาน ไมว า จะเปน ความเพยี รเพอ่ื แกก เิ ลสขน้ั ตาํ่ ขน้ั กลาง หรอื ขน้ั
ละเอยี ด เมอื่ กเิ ลสยังมอี ยู ความทุกขในการฝกฝนทรมานตนก็ตองมีอยูโดยดี ถึงจะมกี ็
ตาม พึงทราบวาการทํางานไมวางานชนิดใด งานเลก็ งานใหญต อ งเปน ความทกุ ขต าม
ความหนกั เบาของงาน แตค ณุ คา นน้ั สงู สมกบั งาน

ผหู วงั พน ทกุ ขต อ งมคี วามเขม แขง็ ไมเขม แข็งไมไ ด การฉดุ การลากจติ ออกจาก
สงิ่ มวั หมอง ออกจากกเิ ลส ออกจากสง่ิ สกปรกโสมมน้ี เปน ของทาํ ไดย าก เพราะฉะนนั้
โลกจงึ ไมอ ยากทาํ กนั สูนอนจมอยูกับกิเลสไมได กจ็ าํ เปนตอ งนอน นอนจมอยนู น่ั แล
นอนบน อยูน่ันแหละ เฝากองทุกข บนทุกขบน ยาก บนวาลาํ บากราํ คาญ แตไมมีทางที่
จะแยกทกุ ขอ อกจากตวั ได แมบนกันกระท่ังวนั ตายกต็ ายไปเปลา ๆ ไมไ ดร บั ประโยชน
อะไร ฉะนน้ั การมแี ตบ น ใหท กุ ขแ ละระบายทกุ ขอ อกดว ยการบน จงึ ไมเกดิ ผลอะไร แตก ็
จําเปน ตอ งระบายตามนสิ ยั ทเ่ี คยบน กนั แกไ มต ก ไดร ะบายใหใ ครฟง นดิ หนง่ึ กย็ งั คดิ วา
ไดเ ปลอ้ื งทกุ ขบ า ง ทั้งที่ทุกขยังมีอยูอยางเดิม เพราะน่ันไมใ ชการแกท ุกข! ถา ไมแ ก
กิเลสซึ่งเปนตัวกอทุกขใหเบาบางและสิ้นไป! การบน เพอ่ื ระบายทกุ ข เปนการเพิ่มพูน
กเิ ลสขน้ึ เสยี อกี ไมใ ชอ บุ ายแกท กุ ข!

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๐

๖๑

ถา เดนิ ทางสตปิ ญ ญาโดยจติ ตภาวนา ใครครวญไตรตรอง กม็ ที างแกก เิ ลสและ
กองทกุ ขไ ดด งั ทา นพาดาํ เนนิ มาแลว มพี ระพทุ ธเจา และพระสาวกเปน ตวั อยา ง ทานแก
กเิ ลสกองทกุ ขด ว ยวธิ ปี ฏบิ ตั ติ อ จติ ใจ

ศาสนาในครง้ั พทุ ธกาลทา นปฏบิ ตั แิ ละสอนอยา งน้ี ทา นสอนเขา ในวงจติ โดย
เฉพาะ การแสดงออกทางกายทางวาจานั้น เปนกิริยาที่สอออกมาจากใจ เมื่อใจไดรับ
การอบรมดแี ลว อนั ไหนถกู อนั ไหนผดิ ใจยอ มทราบเอง

ขอ สาํ คญั ใหจ ิตไดร บั ธรรมคอื เหตผุ ลเขา สดู วงใจ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งแสดงออกจะ
เปน ดว ยเหตดุ ว ยผลและเปน ความราบรน่ื ดงี าม การแกก เิ ลสถา ไมม เี หตผุ ลเปน เครอ่ื ง
มอื แก เชน โกรธใคร ก็พงึ ยอนจิตเขา มาดูตัวผูกาํ ลังโกรธอนั เปน ตน เหตไุ มด ี เปนตน
คนเรายอมจะเห็นโทษของตัว ความโกรธก็ระงับไป ไมใ ชไ ปเพง เลง็ ผถู กู โกรธ ซึ่งเปน
การเพม่ิ พนู กเิ ลสและกองทกุ ขใ หแ กต วั มากขน้ึ

อานคัมภีรไหนก็วาแตเรื่องกิเลส เราเลยเขา ใจวา กเิ ลสไปอยใู นคมั ภรี น น้ั ๆ เสีย
นัน่ ซีมันผิดนะ อนั หนง่ึ ความโลภ ความโกรธ ความหลง หรอื กเิ ลสพนั หา ตณั หารอ ย
แปด อะไรทาํ นองน้ี เขาใจวามันอยูในคัมภีร การอานช่ือกเิ ลสไดมากๆ เรียนจําได
มากๆ ก็วา ตัวนร้ี แู หลมหลกั นักปราชญช าตกิ วีไปเสีย แนะ มนั ผดิ ไปแลว นน่ั มนั ผดิ
จากหลกั ธรรมและเจตนาของพระพทุ ธเจา ทีท่ รงสั่งสอนเพื่อแกกิเลสซึง่ มีอยกู บั ตัว
คอื อยกู บั ใจ การเขา ใจดงั ทว่ี า นน้ั มนั เปน การสง่ั สมกเิ ลสโดยไมร สู กึ ตวั เลย เชนสําคัญ
วากิเลสอยูในคัมภีร ไปจาํ ชอ่ื กเิ ลสนน้ั แลว กว็ า ตวั รตู วั เขา ใจตวั ฉลาดเสยี แนะ!ทั้งๆ ที่
ไมไ ดใ หใ จแตะตอ งหรอื เขยา พอใหก เิ ลสตกใจบา งสกั ตวั เดยี ว หรอื พอใหม นั หนงั ถลอก
ไปบา ง กเิ ลสยงั อยเู ตม็ หวั ใจ และมากกวา ทีย่ งั ไมไดเรียนช่อื ของมันเสยี อกี ทง้ั นม้ี นั ผดิ
พระประสงคข องพระพุทธเจา !

เพื่อถูกตามความเปนไปของธรรม หรือนโยบายของพระพทุ ธเจา กเิ ลสตวั ใดก็
ตาม เรยี นรชู อ่ื มนั อยใู นคมั ภรี ใ ดกต็ าม นั่นเปนชื่อของมัน แตกเิ ลสอยภู ายในใจคน หวั
ใจสัตว ความโลภชื่อมันอยูในคัมภีร ตวั โลภอยใู นใจคน ความโกรธในคัมภีรไมไดโกรธ
แตห วั ใจคนมนั โกรธตา งหาก ความลุมหลงคัมภีรไมไดลุมหลง ชอ่ื ของกเิ ลสไมไ ดล มุ
หลง ตวั กเิ ลสทอ่ี ยภู ายในตวั ของเรานเ้ี อง เปน ตวั ใหล มุ หลงตา งหาก

การแกกิเลสจึงตองแกที่นคี่ อื ใจ แกที่อน่ื ไมถูกไมเกิดผล การแกถ กู หลกั ถกู วธิ ี
กเิ ลสจะคอ ยเบาบางลงและหมดไปจากใจ ผปู ฏบิ ัติจิตตภาวนาจงึ ควรดใู จตัวเองและ
แกก เิ ลสทใ่ี จเปน สาํ คญั ดูภายนอกแลวก็ยอนทบทวนเขาดูภายในจึงชื่อวา “เรียนธรรม
ปฏิบัติธรรม” อยา ดแู บบโลกๆ ทด่ี ไู ปรกั ไปชงั ไปเกลยี ดไปโกรธ อนั เปน การสง่ั สมกเิ ลส
ใหม ากมนู จนลมื เนอ้ื ลมื ตวั

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๑

๖๒

ถา ดเู ขา มาในตวั ดอู อกไปขา งนอก เทยี บเคยี งเหตเุ ทยี บเคยี งผลเพอ่ื หาทางแก
ยอ มมสี ว นทจ่ี ะลงกนั และแกก เิ ลสไดเ ปน พักๆ ไป ใจกส็ บายและเบา ไมหนักอึ้งดวย
การแบกการหามกิเลสทั้งโคตรแซปูยาตาทวดดังที่เคยแบกหามมา วนั หน่ึง ๆ ให
พิจารณาทบทวนมากๆ ทบทวนเรื่องของตัว พิจารณาเรื่องของตัวใหมาก ดว ยสติ
ปญญาพิจารณายอ นหนายอ นหลังเพื่อรูค วามจริง เพราะวนั เวลาหนง่ึ ๆ ใจผลติ ความยงุ
เหยงิ วนุ วายขน้ึ มาภายในตวั ไมไ ดห ยดุ ถา เราเผลอ แมแตไมเผลอกิเลสมนั ยงั โผลออก
มาไดซึ่งๆ หนา อยา งกลา หาญตามสนั ดานทห่ี ยาบคายของมนั บางทีมันยงั แสดงลวด
ลายออกมาตอ หนา ตอ ตาแกม นั ไมไ ดก ม็ ี เพราะกําลังของเราไมเพียงพอ ขณะนน้ั จาํ ตอ ง
ยอมไปกอ น อนั ไหนอยใู นวสิ ยั กพ็ ยายามแกม นั ไป

นแ่ี หละการแกก เิ ลส ที่ทานดําเนินมา ทา นไมท อ ถอยและยอมมนั เอางา ยๆ จะ
ทุกขย ากลาํ บากกท็ นเอา เพราะเปนงานของตัวโดยเฉพาะ คนอื่นชวยไมได ทงั้ น้ีก็เพ่อื
รื้อส่ิงท่เี ปน เส้ียนหนามอยูภายในใจออกนน่ั แล เพราะข้นึ ชื่อวา “กเิ ลส” แลว มนั เปน
เสย้ี นหนามทิ่มแทงจติ ใจท้ังนน้ั แหละ จงพยายามถอดถอนออกไปโดยลาํ ดบั จนไมม ี
อะไรทิ่มแทงใจตอไป และเปนใจที่ “สมบรู ณแ บบแท”

ประการสาํ คญั กค็ อื ชีวิตจิตใจมันหมดไปทุกวัน ๆ เมอ่ื วานนก้ี ห็ มดไปแลว วนั
หนง่ึ มันมีแตหมดไปเรอื่ ยๆ หมดจนกระทั่งไมม เี หลอื ชวี ติ สงั ขารผานไปเร่อื ยๆ จนไม
มีอะไรเหลือติดตัว เมอ่ื ไมม ลี มหายใจเหลอื ตดิ ตวั แลว เขาเรยี กวา “คนตาย” กันท้งั น้นั

คนตายสตั วตายที่ไมมีกศุ ลผลบญุ ติดเนอื้ ติดตวั ย่ิงเปน ความทุกขอยางหาท่ีปลง
วางไมได ฉะนั้นจึงตอ งรบี เรงขวนขวายกอสรางคณุ งามความดีซ่งึ จะไมสญู หายไปไหน
เสยี แตบ ดั น้ี ความดนี จ้ี ะตดิ แนบกบั ใจไปในภพหนา ไมลดละปลอ ยวางเจาของผู
บําเพ็ญ การสรา งคณุ งามความดที า นเรยี กวา “สรา งวาสนาบารม”ี

“วาสนา” ก็คือธรรมเครื่องอยูนั่นเองจะเปนอะไรไป คอื ธรรมเครอ่ื งอยเู ครอ่ื ง
อาศยั เครื่องพึ่งพิง เครอ่ื งสงเสริมจิตใจ เหมอื นคนมีบา นมเี รอื นเปน ท่ีอยอู าศยั ยอม
สบาย ถาไมมีก็ลําบาก บานเมอื งเขามีที่อยทู ี่อาศัยแตเ ราไมม ี ซง่ึ เราไมใ ชก ระจอ น
กระแต ไมใ ชส ตั ว จงึ ไมส มควรอยา งยง่ิ แมแ ตส ตั วเ ขายงั มรี วงรงั มนษุ ยเ ราไมม บี า นมี
เรือนอยูไดเหรอ? มนั ลาํ บากแคไ หน จิตใจไมมีหลักมีเกณฑ ไมมีเหตุมีผล ไมม ที พ่ี ง่ึ พงิ
อาศยั ไมม ที เ่ี กาะทย่ี ดึ เหนย่ี ว อยโู ดยลาํ พงั ไมม สี รณะ จะเปน ทกุ ขเ พยี งไร ลองวาดภาพ
ดูกไ็ ด ภาพของคนทกุ ขเ ปนอยา งไร

เราเคยเหน็ ทง้ั คนและสตั วเ ปน ทกุ ขท รมานจนตายตอ หนา ตอ ตากเ็ คยเหน็ มันนา
ยินดีเมื่อไหร! เมอ่ื มบี ารมธี รรมกพ็ อมคี วามรม เยน็ เปน สขุ ภายในใจบา ง ยังดีกวามีแต
ทกุ ขล ว นๆ อนั เปน ไฟทง้ั กองบนรา งกายและจติ ใจเปน ไหนๆ เฉพาะอยางยิ่งใหสรา งสติ

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๒

๖๓

ปญญาข้ึนใหม าก แกก เิ ลสในปจ จบุ นั นน่ั แหละ ใหเห็นชัดๆ กบั ใจ แกไ ปไดม ากนอ ยกร็ ู
เอง กเิ ลสมนั เตม็ อยทู ใ่ี นจติ นแ้ี หละไมเ คยบกพรอ งเลย แมโ ลกจะพากนั บน วา สิ่งนี้บก
พรองสิง่ นน้ั บกพรอง หรอื วา โลกบกพรอง มนั วง่ิ ออกทาง “ขนั ธ” และทาง
“อายตนะ” คือทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ ทางกาย ทางใจ อยตู ลอดเวลา ไมเคย
บกพรอ งกบั ใครถา ไมท าํ ลายมนั

แมเวทนาจะเกิดข้ึน มนั กไ็ มเ กดิ เฉพาะเวทนาเทา นน้ั กิเลสมันเกิดดวยถาสติไม
มี ทาํ ใหเ กดิ ความเดอื ดรอ นเสยี ใจ เพราะเปน ทกุ ขท น่ี น่ั เจบ็ ปวดทน่ี ่ี ความเสยี ใจนน้ั เกดิ
ขึ้นจากความหลงขันธห ลงอายตนะวา เปนตนเปนของตน กิเลสจึงเกิดขึ้นตรงนี้ ความ
ทุกขทางใจจงึ เกิดขึ้นได เชนเกิดความกระวนกระวายภายในใจวา ทกุ ขเ กดิ ขน้ึ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี
บา ง กลัวทุกขจะไมหายบาง กลวั ตนจะตายบา ง เหลา นม้ี แี ตเ รอ่ื งสง เสรมิ กเิ ลสใหเ กดิ ขน้ึ
ซ้ําเติมเจาของ เพราะความโงเขลาเบาปญญาตามไมทันมันนั่นแล!

ถา จะเปน ศษิ ยพ ระตถาคตจรงิ ไมเ ปน ศษิ ยป ลอมละกต็ ายซ้ี! เราเรยี นความรู
เรียนเพื่ออะไร กเ็ พอ่ื ความรอบรใู นสง่ิ เหลา นเ้ี อง เปน กเ็ ปน มาแลว ตง้ั แตว นั เกดิ จน
กระทั่งบัดนี้ ทราบทกุ ระยะอยแู ลว เวลาตายทาํ ไมจะไมท ราบ เพราะอยูในอวัยวะอัน
เดียวกัน เอา ตายเดย๋ี วนก้ี ใ็ หท ราบกนั เดย๋ี วนซ้ี ิ จติ ไมเคยอาภัพความรูแตไหนแตไรมา

เรอ่ื งความเปน ความตายเปน เรอ่ื งของธาตขุ นั ธ การรคู วามเปน ความตายของตวั
เองเปนหลักวิชา คือสติปญญาทางพุทธศาสนา เมอ่ื รูแลว ตวั เองก็ไมเ สียทา เสยี ทไี ปกับ
สิ่งที่เกิดขึ้นดับไป มีเวทนาเปนตน หรือรา งกายท่ปี รากฏขึน้ แลว สลายตัวลงไป จิตใจมี
ความมน่ั คงไมห วน่ั ไหวโยกคลอนไปตาม จติ มหี ลกั เกณฑเ ปน ทอ่ี ยอู าศยั มคี วามมน่ั คง
ภายในตัวเอง ไมวนุ วายไปกับธาตุขันธที่มันจะสลายตวั ไป ทก่ี ิเลสมันแทรกขน้ึ ไดน้ัน
เพราะความสาํ คญั มน่ั หมายของจติ เปน ตน เหตุ วา ความทกุ ขท น่ี น่ั ความเจบ็ ปวดทน่ี ่ี
กายเราทุกขตรงนั้น ขาเราเจ็บตรงน้ี ศรี ษะเราปวดขา งนน้ั ทอ งเราเดนิ ไมห ยดุ กลัวจะ
ไมห าย กลัวจะตาย กลวั จะตายวนั นน้ั กลวั จะตายวนั น้ี หาเรื่องคิดไปไมมีเวลาจบสิ้น
ทง้ั น้มี แี ตเรื่องกอ ความทุกขความลาํ บากใหแกรางกายและจติ ใจ รับภาระหนักซํ้าเขาไป
อกี ดไี มด ีโรคเสยี ใจเมื่อเกิดมากขน้ึ กท็ าํ ใหต ายเรว็ กวา ทค่ี วรจะเปน จึงไมใชของดี ไม
ใชเ รอ่ื งแกก เิ ลสใหร ะงบั หรอื สน้ิ ไป แตเ ปน เรอ่ื งสง เสรมิ กเิ ลสใหซ าํ้ เตมิ ทง้ั รา งกายและ
จิตใจใหห นกั เขา โดยลาํ ดบั จงึ ควรคาํ นงึ ใหม ากในเวลาไมส บาย

การแกก เิ ลสคอื อยา งไร? เอา! อะไรเกิดขน้ึ ก็ใหร เู รื่องความเกดิ ข้ึนของส่ิงนน้ั
เจบ็ กใ็ หท ราบวา มันเจบ็ ขนาดไหน จะรใู หถ งึ ความจรงิ ขนาดนน้ั เรอ่ื งของความเจบ็ เปน
อันหน่ึงตางหาก ผูรเู จบ็ เปน อันหนึ่งตางหาก ไมใ ชอ นั เดยี วกนั น้ี จะตายก็ใหทราบถึง

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๓

๖๔

ขณะตาย อนั ไหนตายกใ็ หม นั ตายไป ผไู มต ายคอื ผรู ู ก็ใหรูวาไมตาย เพราะผทู ่ีรไู มได
ตายไมมีปาชา เปน “อมต”ํ (อะมะตัง)

อมตํ ก็หมายถึงจิตนี้เอง แมมีกิเลสอยใู จก็เปน “อมต”ํ ของมัน กเิ ลสสน้ิ ไป
แลว กเ็ ปน อมตํ แตเปน“อมต”ํ ที่ตางกันเทานั้นเอง อมตอํ นั หนง่ึ เปน อมตวํ ฏั ฏะ คือ
ตวั หมุนเวียนอยา งนน้ั เร่อื ยๆไป อมตอํ กี อนั หน่งึ ไมเ กิดตอไปอกี และไมต ายดวย นี่เปน
อมตํของความบริสุทธิ์แหงใจ มอี ยสู องอยา งจงเรยี นใหร ู อันใดทีม่ าเกย่ี วของมาทาํ ลาย
จิตใจ ใหท ราบวา อนั นน้ั คอื ขา ศกึ ใหรีบแกไขทันที

นี่แหละเรียนธรรม คอื เรยี นเรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธ เรอื่ งอายตนะ สําคัญที่สุดก็คือ
ขนั ธ ระหวางขันธกับจิตนี่ มนั กระทบกระเทอื นกนั อยทู ง้ั วนั ทง้ั คนื ยนื เดนิ นง่ั นอน หรือ
ทกุ อริ ยิ าบถ มนั กระทบกระเทอื นกนั อยเู สมอไมเคยมเี วลาสงบตวั เลย

ถา มสี ตปิ ญ ญา สง่ิ เหลา นน้ั กเ็ ปน หนิ ลบั อยเู สมอ ความกระเทอื นทง้ั นเ้ี ปน หนิ ลบั
ปญญา คอื เปน เครอ่ื งปลกุ สตปิ ญ ญาใหต น่ื ทนั กบั เหตกุ ารณ และใหร ูรอบขอบชิดตอส่ิง
นั้นๆ สง่ิ เหลา นน้ั กไ็ มซ มึ ซาบเขา ภายในและปลอ ยยาพษิ เขา ไปในใจได ใจกไ็ มเ ดอื ด
รอ นกระวนกระวาย

เอา! ถงึ วาระจะตายกต็ ายไปอยา ง “สคุ โต” เพราะความรูรอบคอบแลว ความ
จรงิ กเ็ ปน อยา งนน้ั เรียนธรรมปฏิบัตธิ รรมทําอยางนี้แหละ กเิ ลสทง้ั หลายถึงจะกลวั และ
ลา ถอย ไมตั้งหนาย่ํายีจิตใจดังที่เคยเปนมา

กเิ ลสกค็ อื ความสาํ คญั มน่ั หมายตา งๆ นแ่ี หละ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ จากจติ ดวงเดยี ว แกให
ทันกับเหตุการณที่ปรากฏขึ้น ยิ่งเวลาจนตรอกเขา จริงๆ เวทนามมี ากเทา ไหร จะโหมตวั
เขา มาอยา งเตม็ ทเ่ี วลานน้ั แตพ งึ ทราบวา “นน่ั ตวั เวทนา” อยา เขา ใจวา เวทนาเปน ตน
สําคัญมาก!

จงพิจารณาใหเ ห็นความจริงของเวทนา แมทุกขมากนอยเพียงไรก็ใหรู เอาจติ
กําหนดอยูตรงนั้น พจิ ารณาอยตู รงนน้ั จนรูความจรงิ ของเวทนา จิตเปนธรรมชาตริ ู
เวทนาเปนสิ่งที่แสดงขึ้น เกิดข้ึนแลว ดับไปตามธรรมชาตขิ องมันเอง ผูที่รูใหรูเวลา
เวทนาเกิดและดับ ถา จะตายกใ็ หร วู า มนั ตาย อะไรมนั ตายกใ็ หร ู สง่ิ ทไ่ี มต ายกอ็ ยู คือผูรู
น!่ี

ใหท นั กนั อยทู กุ เวลา แลว กไ็ มว ติ กกงั วล การเปนการตายเปนเรื่อง ธรรมดา
ธรรมดา! ถาทราบตามหลักธรรมชาติแลว จะไมม ปี ญ หากบั เรอ่ื งการเปน การตายอะไร
เลย การจะกอปญหาขึ้นมา กค็ ือกิเลสเปน ผูสรางปญหาขึน้ มา แลว กม็ าพวั พนั จิตใจให
เกดิ ความเดอื ดรอ นวนุ วายไปดว ย

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๔

๖๕

ทั้งๆ ทย่ี งั ไมต ายกเ็ ดอื ดรอ นแลว กลวั ตาย แนะ! เวลาจะตายจริงๆ ยง่ิ เดอื ด
รอ นใหญ ซึ่งไมเกิดประโยชนอะไร มีแตความทุกขเต็มตัว ตายแลว กเ็ สยี ทา เสยี ทเี พราะ
ความรอนเปน เหตุอีกนัน่ แหละ เพราะเหตนุ น้ั จงึ ตอ งแกค วามเดอื ดรอ น ดว ยความรู
ความเขา ใจในธาตใุ นขนั ธใ นอวยั วะตา งๆ ซง่ึ อยใู นกองขนั ธก องสมมตุ ทิ ง้ั มวล

เราอาศัยกองสมมุตินี้ จะใหก องสมมตุ นิ เ้ี ปน ตวั เราไดอ ยา งไร? มันก็ตองเปน
เรอ่ื งของเขาอยนู น่ั เอง ธาตุก็เปนธาตุ ขนั ธก เ็ ปน ขนั ธ ดินเปนดิน นาํ้ เปน นาํ้ ลมเปน ลม
ไฟเปนไฟ จะใหม าเปน “เรา” มนั เปน ไมได จะใหต้งั อยยู นื นานถาวรตามทคี่ วามคาด
หมายความสําคญั แหง ใจ ก็เปนไปไมได เพราะหลักธรรมชาติของมันเปนอยางนั้นมา
ดั้งเดิม ผูเรียนวิชาธรรมะจึงตองเรียนใหรูตามหลักธรรมชาติ แลว อยตู ามหลกั ธรรมชาติ

ตา งอนั ตา งจรงิ กส็ บาย ไมมีอะไรมากอกวน นี่แหละชื่อวา “เรียนธรรม” ชอ่ื วา
“แกก เิ ลส” ปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกก เิ ลส แกอ ยา งน้ี

ถึงเวลาเรงตองเรงเต็มที่ เปนกับตายไมถ อื เปนภาระความกงั วล เพราะเพื่อ
ความรูความหลุดพนอยางเดียว อะไรอน่ื ๆ ไมเกี่ยว จนรูเทาและปลอยวางไวตามสภาพ
ของสิ่งทั้งปวง

ความดเี หลา นแ้ี หละ จะเปน เครอ่ื งสนบั สนนุ จติ ใหพ น จากโลกได พน ดว ยอาํ นาจ
แหง ความดนี แ้ี ล

นห่ี ลกั ศาสนาสว นใหญท า นสอนลงทน่ี ่ี แตเราอยาพากันเดินจงกรมแตพอเปน
พธิ กี แ็ ลว กนั การทําพอเปน พธิ ีนน้ั คือนั่งกส็ กั แตว าน่งั สติสตังไมมีเลย นั่งสัปหงกงกงัน
แลว หลบั ครอกๆ อยกู บั ทา นง่ั นั่นแหละมันพิธีอะไรไมรูละ พธิ บี า นะ !จะวา ยงั ไง? ผู
เปนคนดีฟงเอง!

เดินจงกรมก็เดิน เดนิ ไปยงั งน้ั แหละ สตสิ ตงั ไมท ราบไปอยไู หน แลว กม็ านบั
คะแนนเอาเองวา “วนั นเ้ี ราเดนิ จงกรมไดเ ทา นน้ั นาทเี ทา นน้ี าที ดใี จ!” ดใี จกบั ลมกบั
แลงไป ไมไดเรื่องอะไรเลย!

พระพทุ ธเจา พระอรหันต ตลอดครอู าจารย ทา นเบื่อเจาพิธีแทบจะอยกู บั โลก
พิธีไมได ไมไ ดค ดิ บา งหรอื วา กเิ ลสมนั ไมใ ชเ จา พธิ เี หมอื นพวกเรานน่ี า มนั คือตัว
เหยียบย่ําทําลายผูเปนเจาพิธีโดยตรง ฉะนน้ั ตอ งแกม นั ลงทใ่ี จนน้ั แกท ต่ี รงนน้ั โดยถกู
ทางแลวดวยสติปญญาอันแหลมคม อยไู หนก็เปนความเพียร นง่ั อยกู เ็ ปน ความเพยี ร
ถามีสติปญญารักษาจติ ใจอยูโดยสม่ําเสมอ อิริยาบถทั้งสี่เปนความเพียรดวยกันทั้งสิ้น

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๕

๖๖

เอา! ใหม ีความเพียรกันจริงๆ จังๆ นะ นแ่ี หละเรยี กวา “เดนิ ทางศาสนาแบบ
ศาสดา” เดนิ ตามแนวทางของผแู กก เิ ลส เราจะสิ้นกิเลสดว ยแบบนี้ สน้ิ ในลกั ษณะน้ี ไม
สน้ิ ในแบบอน่ื ลกั ษณะอน่ื

พระพุทธเจาทานสน้ิ ไปเพราะเหตุนี้ สาวกทา นสน้ิ ไปดว ยอบุ ายวธิ นี ้ี ดวยปฏิปทา
อนั น้ี กิเลสมีประเภทเดยี วกัน การดาํ เนนิ แบบเดยี วกนั กเิ ลสจะตอ งหลดุ ลอยไปโดย
ลาํ ดบั ๆ เชนเดียวกัน และถึงความพนทุกขเชนเดียวกัน จึงขอใหเ ปน ทล่ี งใจในการ
ปฏิบัติของตน

ขอยุติเพียงเทานี้

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๖

๖๗

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙

ปลกุ ใจสกู เิ ลส

ความสขุ กด็ ี ความทกุ ขก ด็ ี ไมมีอะไรจะสุขหรือทุกขยิ่งกวาใจ ความสกปรกกด็ ี
ความสะอาดกด็ ี ไมม อี ะไรจะสกปรกและสะอาดยิง่ กวาจิตใจ ความโงก ด็ ี ความฉลาดกด็ ี
กค็ อื ใจ ทา นสอนไวว า “มโน ปุพฺพงฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฐ า มโนมยา” สง่ิ ทง้ั หลาย
สาํ คญั อยทู ใ่ี จ สําเร็จแลวดวยใจ

ศาสนากส็ อนลงทใ่ี จ ศาสนาออกกอ็ อกจากใจ รูก็รูที่ใจ พระพุทธเจารูก็รูที่ใจ นํา
ออกจากใจนไ้ี ปสอนโลก กส็ อนลงทใ่ี จของสตั วโ ลก ไมไ ดสอนทอ่ี ่ืนใดเลย

ในโลกธาตนุ จ้ี ะกวา งแคบขนาดไหนไมส าํ คญั ธรรมมีจุดหมายลงที่ใจแหงเดียว
ใจทค่ี วรกบั ธรรมอยแู ลว กเ็ ขา ถงึ กนั ไดโ ดยลาํ ดบั ที่ทานวา “มีอุปนิสัย” นน้ั หมายถงึ ผู
ควรอยแู ลว เห็นไดอยางชัดเจน ผูมีนิสัยสูงต่ําตางกันอยางไรพระองคทรงทราบ เชน ผู
มีอุปนิสัยที่จะสามารถบรรลุถึงที่สุดแหงธรรม ควรจะเสด็จไปโปรดกอนใครๆ เพราะ
เกย่ี วกบั ชวี ติ อนั ตรายทจ่ี ะมาถงึ ผนู น้ั ในกาลขา งหนา เร็วกวาธรรมดาที่ควรจะเปน ก็รีบ
เสด็จไปโปรดคนนั้นกอน ที่ทานวา “ทรงเล็งญาณดูสัตวโลก” ผทู ม่ี าเกย่ี วขอ งกบั “ตา
ขาย” คอื พระญาณของพระองค

คาํ วา “เลง็ ญาณดสู ตั วโลก” นั้น ทานเล็งญาณดูจิตใจนั่นเอง ทานไมไดเล็ง
ญาณดูตนไมภูเขา ดนิ ฟา อากาศ ซง่ึ เปน วตั ถหุ ยาบๆ และใหญโ ตยง่ิ กวา คนและสตั ว แต
เมอ่ื เกย่ี วกบั ธรรมแลว ใจเปน สง่ิ ทใ่ี หญโ ตมากกวา สง่ิ ใดในโลก และเหมาะสมกบั ธรรม
อยา งยงิ่ การเล็งญาณก็ตองเล็งดูที่ใจ การสง่ั สอนกต็ อ งสง่ั สอนลงทใ่ี จ ใหใ จรแู ละเขา ใจ
สิ่งตางๆ ซึ่งมีอยูกับใจเอง

สําหรับเจาของไมสามารถที่จะรูไดวาอะไรผิดอะไรถูก การแกไ ขจะแกด ว ยวธิ ใี ด
กไ็ มท ราบทางแกไ ข วธิ แี กไ ขพระองคก ส็ อน ไมใ ชส ง่ิ ทน่ี าํ มาสอนนน้ั ไมม อี ยกู บั จติ ใจ
ของสตั วโ ลก เปน สง่ิ ทม่ี อี ยดู ว ยกนั เปนแตเพียงผูนั้นยังไมทราบ ถกู ปด บงั หมุ หอ อยู
ดว ยสง่ิ สกปรกทง้ั หลาย ดงั ทก่ี ลา วมาแลว ขา งตน วา ไมมีอะไรทีจ่ ะสกปรกย่ิงกวา ใจ และ
สกปรกไมม ีวนั สะอาดเลยถา ไมชําระซกั ฟอกดวยการบําเพ็ญธรรม รางกายเราสกปรก
ยงั มวี นั ชะวนั ลา งใหส ะอาดได เสือ้ ผากางเกงสถานทีส่ กปรก ยังมีการชําระซักฟอกเช็ดถู
ลา งใหส ะอาดสะอา นไดต ามกาลเวลา

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๗

๖๘

แตจิตใจที่สกปรกโดยที่เจาของไมไดสนใจนั้นนะ มันสกปรกมาตั้งแตเมื่อไหร
และสกปรกไปตลอดกาลตง้ั แตว นั เกดิ จนกระทง่ั วนั ตาย ภพนถ้ี งึ ภพนน้ั ภพไหนกภ็ พ
ไหน มีแตเรื่องสกปรกพาใหเปนไป พาใหเ กดิ พาใหต ายเรอ่ื ยๆ ไปอยา งนน้ั หาเวลา
สะอาดไมได ทานเรียกวา “ใจสกปรก” สิ่งที่สกปรกมันจะพาไปดีไดอยางไร? อยกู อ็ ยู
กบั ความสกปรก ไมใชของดี ผลแหง ความสกปรกกค็ อื ความทกุ ขค วามลาํ บาก คติที่ไป
กล็ าํ บาก สถานทอ่ี ยกู ล็ าํ บาก กาํ เนดิ ทเ่ี กดิ กล็ าํ บาก มีแตของลําบาก ลาํ บากหมดเพราะ
ความสกปรกของใจ จึงไมใ ชเ ปนของดี ควรจะเห็นโทษของใจที่สกปรก ไมมีสิ่งใดที่นา
สะอดิ สะเอยี นยง่ิ กวา ใจทส่ี กปรก อยา งอน่ื ทส่ี กปรกไมค อ ยไดม คี รมู อี าจารยส อนกนั
เหมือนใจสกปรก

สวนจติ ใจท่สี กปรกน้ี ตองหาผสู าํ คญั มาสอนจงึ จะสอนได ใครจะมาสอนเรอ่ื ง
การซกั ฟอกจติ ใจทส่ี กปรกน้ีใหส ะอาดสะอา นไมไ ด นอกจากธรรมของพระพุทธเจา
แตละพระองคท ี่ทรงรูทรงเห็น และทรงสละเปน สละตายในการบําเพญ็ เพื่อรูทั้งพระ
ทัยของพระองคเองตลอดถึงวิธีแกไข แลว กน็ าํ มาสง่ั สอนโลกไดถ กู ตอ ง ตามวิธีที่พระ
องคทรงบําเพ็ญและไดทรงเห็นผลนั้นมาแลว ใจจึงตองมีครูอาจารยสอนอยางนี้

ความทกุ ขม นั กเ็ ปน ผลมาจากสง่ิ ทส่ี กปรกนน้ั เอง ออกมาจากความโง โงตอตัว
เองแลว กโ็ งต อ สง่ิ ตา งๆ ไปเรื่อยๆ ตัวเองโงอ ยแู ลว สง่ิ ทม่ี าเกย่ี วขอ งกไ็ มท ราบวา อะไร
ถกู อะไรผดิ แมไมชอบใจก็ตองไดยึดตองไดควา คนเราจึงตองมีทุกขทั้งๆ ทไ่ี มต อ งการ
กนั เลย แตท าํ ไมจงึ ตอ งเจอกนั อยทู กุ แหง ทกุ หนทกุ เวลาํ่ เวลา ทกุ สตั วท กุ บคุ คล ก็เพราะ
ไมส ามารถทจ่ี ะหลบหลกี ปลกี ตวั ออกได ดวยอุบายตา งๆ แหง ความฉลาดของตน นน้ั
แลจึงตอ งอาศยั คาํ สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา ไดร บั การซกั ฟอกดว ยความดที ง้ั หลายเปน
ลาํ ดบั ๆ มา

ทานกเ็ ปน การซกั ฟอกกเิ ลสประเภทหนง่ึ ศีลก็เปน การซักฟอกกิเลสประเภท
หนง่ึ ภาวนากเ็ ปน การซกั ฟอกกเิ ลสประเภทตา งๆ รวมตวั เขา มาอยใู นองคภ าวนาน!่ี
ลวนแตเปน “นาํ้ สะอาด” ทซ่ี กั ฟอกสง่ิ สกปรกซง่ึ รกรงุ รงั อยภู ายในจติ ใจของสตั วโ ลกน้ี
แล

อบุ ายวธิ ตี า งๆ พระพุทธเจาจึงไดสอนกันมาเปนลําดับลําดา องคน ผ้ี า นไปแลว
องคน น้ั กม็ าตรสั รู ตรัสรูก็ตรสั รใู นธรรมอนั เดยี วกนั ความจรงิ อนั เดยี วกนั เพอ่ื จะแก
กเิ ลสตณั หาอาสวะของสตั วโ ลกอยา งเดยี วกนั เพราะฉะนั้นโอวาทของพระพุทธเจาทั้ง
หลายจงึ เหมอื นๆ กนั

นเ่ี รานบั วา เปน ผมู วี าสนา ไดเปนผูใครตอศีลตอธรรม ซึ่งเปน “นาํ้ ทส่ี ะอาดท่ี
สดุ ” สาํ หรบั ชะลา งสง่ิ ทส่ี กปรกทม่ี อี ยภู ายในใจของตน คนทไ่ี มมคี วามสนใจกบั ธรรม

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๘

๖๙

ไมเ ช่ือธรรมและไมเช่ือศาสนา เหลา นม้ี จี าํ นวนมากมาย เราไมไดเขากับคนประเภทนั้น
กน็ บั วา “เปน วาสนาอยา งยง่ิ ”

แมค นดีมธี รรมในใจจะมจี ํานวนนอย กม็ เี ราคนหนง่ึ ทม่ี สี ว นอยดู ว ย สาํ หรบั ผทู ่ี
ใครตออรรถตอธรรม มีความเชื่อความเลื่อมใสพระโอวาทของพระพุทธเจาที่ทรงสั่ง
สอนไว นบั วา เปน ผทู ม่ี วี าสนา นแ่ี หละวาสนาของเรา! คืออันนเี้ องเปนพน้ื ฐานทจี่ ะให
เราไดบําเพ็ญความดีสืบเนื่องกันเปนลําดับมา เปนความเจริญรุงเรือง จติ ใจก็จะไดมี
ความสะอาดสะอา นขน้ึ เมื่อจิตใจมีความสะอาดขึ้นโดยลําดับ ความสุขก็ปรากฏขึ้นเปน
เงาตามตัว ความเพลินอันใดจะเหมือนความเพลินของใจ ที่รื่นเริงไปดวยอรรถดวย
ธรรม มีความรักใครใฝใจในธรรม การประพฤติปฏบิ ัตกิ ็เปนไปดว ยความอตุ สา ห
พยายาม ผลก็ปรากฏขึ้นมาใหเปนความสงบรมเย็น เปน ความเพลนิ อยภู ายในจิตใจ
ทานจึงวา “รสอะไรก็สูรสแหงธรรมไมได” “รสแหง ธรรมชาํ นะซง่ึ รสทง้ั ปวง” คือรส
อันนี้ไมมีวันจืดจาง ไมม ีเบือ่ ไมมีชินชา เปน รสหรอื เปน ความสขุ เปนความรื่นเริงดูด
ดื่มไปโดยลําดับลําดา แมที่สุดจนมาถึงขั้น วิมุตติพระนิพพานแลว ความสุขนัน้ ยิ่งมี
ความสมาํ่ เสมอตวั คอื คงท่ี คงเสนคงวา ตายตัว

การพยายามจะยากหรอื งา ยขน้ึ อยกู บั ความพอใจ เราพอใจแลวงานอะไรมันก็ทํา
ไดทั้งนั้น สาํ คญั อยทู ค่ี วามพอใจ เล็งดูเหตุดูผลเขากันไดแลว ความพอใจหากมาเอง ถงึ
ไมมีก็บังคับได เราบังคับเรา บงั คบั คนอน่ื ยงั ยากยง่ิ กวา เราบังคับเรา เราอยูกับตัวเรา
เอง จะบังคับใหทําอะไรก็ได

“เอา! นง่ั ภาวนาวนั นก้ี น็ ง่ั ” “เอา เดินจงกรมก็ได” เอา ทาํ บญุ ใหท าน เอา
รกั ษาศลี นะ ไดทั้งนั้น เราเปนเจาของเราเปนหัวหนา เปน ผบู งั คบั บญั ชาจติ ใจ เราเปน
เจาของ เจาของทุกสวนภายในรางกายเรา อาการเคลอ่ื นไหวทง้ั ภายนอกภายในเราเปน
ผูรับผิดชอบ เราเปนผูระมัดระวัง เราเปนผูรักษาเอง ควรหรือไมควรอยางไร เปนหนา
ที่ของเราจักตองบังคับบัญชาหรือสงเสริมเราเอง ในสิ่งที่ควรหรือไมควร เราทราบอยู
ดวยดี

หากเราไมสามารถปกครองตนเองไดใ นขณะนี้แลว เราจะเอาความสามารถมา
จากไหนในวนั หนา เดอื นหนา ปห นา ชาตหิ นา ภพหนา ? เราตองทําความเขาใจไวกับ
ปจจุบันดวยดีตั้งแตบัดนี้ ปจ จบุ นั นแ้ี ลเปน รากฐานสาํ คญั ทจ่ี ะสง ไปถงึ อนาคตใหม ี
ความเจริญรุงเรืองขนาดไหน ตองไปจากปจจบุ ันซึ่งบําเพ็ญอยูทุกวัน เจรญิ อยูทกุ วนั
สงเสริมอยูทุกวัน บาํ รงุ อยทู กุ วนั เจรญิ ขน้ึ ทุกวัน นแ่ี หละหลกั ปจ จบุ นั อยทู เ่ี ราเวลาน้ี

วนั เดอื นป ภพชาตินะ มันเปนผลพลอยไดที่จะสืบเนื่องกันโดยลําดับ เชนเดียว
กบั เมอ่ื วานนส้ี บื เนอ่ื งมาถงึ วนั น้ี แลว กส็ บื เนอ่ื งไปถงึ พรงุ น้ี สวนผลที่จะไดรับดีชั่วมันขึ้น

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๙

๗๐

อยกู ับเรา เราเปนผูรับผิดชอบ จงึ ตอ งพจิ ารณาใหเ หน็ ประจักษเ สยี แตบ ดั นท้ี ย่ี งั ควรแก
กาลอยู

ธรรมของพระพุทธเจาเปน “สนฺทิฏฐิโก” ประกาศอยูตลอดเวลาต้ังแตวนั พระ
องคทรงประกาศธรรมสอนโลก ก็ประกาศเรื่อง “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” นี้ดวยกันตลอดมาจน
ปจ จบุ นั เปนสิ่งที่ผูปฏิบัติจะพึงรูพึงเห็นภายในใจของตัวเอง กําลังเรามีเทาไรเราก็ทราบ
ผลที่ไดรับมากนอยเพียงไรก็ทราบภายในจิตใจ เพราะใจเปนผูคอยรับทราบอยูตลอด
เวลาอยแู ลว ทาํ ไมจะไมท ราบ บกพรองที่ตรงไหนเรงเขาไป การเรงอยูโดยสม่ําเสมอ
ความบกพรอ งนน้ั กค็ อ ยสมบรู ณข น้ึ เปน ลาํ ดบั จนกระทั่งสมบูรณเต็มที่ได ไมใชสมบูรณ
ดว ยความทอ ถอย ความทอ ถอยเปนเรอื่ งทจ่ี ะตดั ทอนสง่ิ ทีม่ อี ยูแลวใหลดลงไป และเปน
สิ่งที่กีดกันสิ่งที่ยังไมเกิดไมใหเกิดขึ้น บรรดาสิ่งที่เราพึงใจทั้งหลายจะไมมีทางเกิดขึ้นได
เพราะไมมีการสงเสริมอันเปนเหตุใหผลเกิดขึ้นได!

โงเราก็โงมาพอ จะเอาไปแขงกันไดยังไง เพราะตางคนตา งโงเ ต็มตวั อยภู ายใน
ใจดว ยกนั จะเอาไปแขงกันไดอยางไร ไมใชเรื่องจะแขงขันกัน เพราะตางก็มีดวยกันทุก
คน สกปรกกส็ กปรก ทกุ ขก ท็ กุ ขด ว ยกนั รดู ว ยกนั ทกุ คน ตางคนตางทุกข ตา งคนตางรู
ตา งคนตา งรบั ภาระเหลา นด้ี ว ยกนั ไมใชเรื่องที่จะมาแขงขันกันได เราไมมีความสงสัยใน
เรื่องเหลานี้

เอาใหฉ ลาด ไมฉ ลาดกวา ใครกต็ าม ขอใหฉ ลาดเหนอื เรอ่ื งทเ่ี คยมอี ยใู นจติ ใจ
ของเราซึ่งเคยหลอกลวงเรามานาน เราคลอ ยตามสง่ิ เหลา นม้ี านานแลว ใหพยายามทํา
ความฉลาดใหท นั กนั กบั เรอ่ื งของตวั เองนแ่ี หละสาํ คญั ! เมื่อทันกับเรื่องของตัวเองแลว
จะเรียกวา “ชนะตัวเอง” ดงั ที่ทา นพูดไวใ นหลักธรรมก็ไมผิดน่ี ชนะอะไรกต็ าม ที่ทาน
พูดไวในธรรมบทหนึ่งวา “โย สหสสฺ ํ สหสเฺ สน สงคฺ าเม มานเุ ส ชเิ น, เอกจฺ
เชยยฺ มตตฺ านํ, ส เว สงคฺ ามชตุ ตฺ โม” การชนะสงครามทค่ี ณู ดว ยลา น ถงึ ขนาดนน้ั
ลว นแตเ ปน การกอ เวรทง้ั นน้ั ไมใ ชเ ปนของดีเลย การชนะตนนี่เพียงผูเดียวเทานั้นเปน
ของประเสริฐสุด”

ชนะตนหมายถงึ อะไร? ก็หมายถึงชนะสิ่งที่ตัวเราเคยแพมาอยูภายในใจของเรา
นแ้ี ล เราแพอะไรบาง เราทราบเราเองเรื่องอยางนี้ กเิ ลสทง้ั หมดไมว า แงใ ด ลูกมันเราก็
แพ หลานมนั เรากแ็ พ เหลนมันเราก็แพ พอแมของมันเราก็แพ ปูยาตายายของมนั เรา
กแ็ พ เราแพเสียทั้งหมด แพอยางหลุดลุย ยังงี้ อะไรๆ ของมันแพหมด ถา สมมตุ วิ า มนั มี
มูตรคูถเหมือนอยางคนเราธรรมดานี้ มตู รคูถของมนั เราก็แพอีก แตนี่มันไมมี กม็ แี ต
“ขี้โลภ ขี้โกรธ ขห้ี ลง” วาไปยังงั้นเสีย เราแพมันแลวทั้งนั้นนี่

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๐

๗๑

ความแพนี่มันเปนของดีหรือ? อยกู บั ผใู ดไมม ดี เี ลย คําวา “แพ” นง่ั อยกู แ็ พ
นอนอยกู แ็ พ ยนื อยกู แ็ พ เดนิ อยกู แ็ พ หาเวลาชนะไมมีเลย มีศักดิ์ศรีที่ไหน! มีแต
ความแพเต็มตัวคนเรามสี าระทไ่ี หน ถา เปน ธรรมดาแบบโลกๆ เขาแลว อยากจะไปผูก
คอตายนน่ั แหละ แตนี่มันเปนเรื่องธรรมดา มนั สดุ วสิ ยั เราจะวายังไงละ พดู กนั ใหเ หน็
อยา งนแ้ี หละ ไมยกขึ้นมาอยางนี้ไมเห็นโทษจะวายังไง?

นําธรรมมาตีพวกเรานี้แหละ พวกนกั แพน แ่ี หละ แพอ ยทู กุ เวลาํ่ เวลา เราไมเห็น
โทษของความแพของเราบางหรือ? นเ่ี ปน วธิ ปี ลกุ จติ เราหมายถึงวิธีปลุกจิตใจเรา เรา
ยังจะแพอยูอยางนี้ตลอดไปหรือ? แพอ ยา งหลดุ ลยุ นะ จะแพราบอยางนี้เรื่อยๆ ไม
ตองการชัยชนะบางหรือ?

พระพุทธเจาเปนผูมีชัยชนะ สาวกอรหตั อรหนั ตท า นเปน ผชู นะ พระอริยเจาทาน
เปนผูชนะไปโดยลําดับ สรณะของเราทั้งสาม “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ลว น
แลว ตง้ั แตช ยั ชนะทง้ั นน้ั ทเ่ี รานกึ นอ มถงึ ทา น ตวั เราแพอ ยา งราบตลอดเวลา สมควรแลว
หรือจะเปนลูกศิษยตถาคตนะ ? นน่ั วา อยา งนน้ั ซี นแ่ี หละวธิ ปี ลกุ จติ เจา ของปลกุ อยา งน้ี
ใหล กุ ขน้ึ ตอ สเู พอ่ื ชยั ชนะ ไมจ มอยกู บั ความแพอ ยา งราบคาบเรอ่ื ยไป

จิตมันเปนสิ่งที่สงเสริมได กดขี่บังคับได เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายได สําคัญที่เราเองเปน
ผหู าอบุ ายคดิ ในแงต า งๆ ทจ่ี ะปลกุ จติ ปลกุ ใจของเราใหเ กดิ ความอาจหาญรา เรงิ ตอสู
ในสิ่งที่เปนประโยชน ทจ่ี ะเอาชยั ชนะขน้ึ มาสตู นดว ยอบุ ายตา งๆ ดงั ทก่ี ลา วมาน้ี

นี่แหละเปนทางเดินของพระพุทธเจา เปนทางเดินของผูจะกาวเขาสูชัยชนะ ชนะ
ไปวนั ละเล็กละนอ ยเรื่อย ๆ ไป ผลสุดทา ยกช็ นะจนไมม ีอะไรเหลอื เลย ปญ หานแ้ี หละ
สําคัญมาก

สตกิ บั ปญ ญาเปน ธรรมอนั สาํ คญั อยา งยง่ิ สัมมาทิฏฐิ สมั มาสงั กปั โป ขึ้นตน
นะ พจิ ารณาเอาใหไ ดช ยั ชนะสง่ิ ทแ่ี วดลอ มเราอยตู ลอดเวลา คอยตบคอยตเี ราอยตู ลอด
เวลา คืออะไร ? มันมีที่ไหน ?

มนั มแี ตร ปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ นเ้ี ทา นน้ั ตัวสําคัญจริงมันอยูที่ตรง
น้ี ตา หู จมูก ลน้ิ กาย มนั เปน ทางเดนิ เขามาแหง อารมณตางๆ แลวเขา มาหาสญั ญา
อารมณซงึ่ เปนกองขนั ธน ่ีเอง สดุ ทา ยกก็ องขนั ธน แ่ี หละรบกบั เรา หรอื มนั ไมไ ดร บก็
ไมท ราบ เราหมอบราบอยูแลวก็ไมทราบวาจะมารบกับอะไร นอนทบั ถา ยรดไปเลยไมม ี
ปญหาอะไร เพราะยอมมนั อยา งราบคาบแลว น!ี่

ทีนี้เราจะไมใหเปนอยางนั้น เราแกตัวเรา เราใหเปนเทาที่เปนมาแลวเทานั้น
เวลานี้เราไดศาตราวุธ คืออรรถธรรม สตปิ ญ ญาแลว เราจะตอสู พิจารณาเอาใหไดชัย
ชนะภายในตัวเรา ไมเอาชัยชนะกับผใู ดเลย เอากับผใู ดจะเปนเร่ืองกอ เวรกบั ผูนน้ั เอา

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๑

๗๒

กบั สตั วต วั ใดกเ็ ปน เรอ่ื งกอ เวรกบั สตั วต วั นน้ั ขน้ึ ชอ่ื วา “อน่ื นอกไปจากตวั เอง”แลว มี
แตเ รอ่ื งกอ กรรมกอ เวร ไมเปนของดีเลย สิ่งที่เลิศประเสริฐสุดก็คือ “เอกจฺ เชยฺยมตฺ
ตานํ ส เว สงคฺ ามชตุ ตฺ โม” การชนะเรื่องของเรานี่เทานั้นเปนเรื่องประเสริฐสุดในโลก
พระพทุ ธเจา กช็ นะแบบน้ี สาวกอรหตั อรหนั ตท า นชนะแบบน้ี ทานเปนผูไมกอเวรกอ
กรรม นอกจากนน้ั สตั วโ ลกยงั ไดอ าศยั ทา นมาเปน ลาํ ดบั จนกระทง่ั บดั น้ี ทา นเอาชนะ
ตรงนี้

“เอา พิจารณา มันเคยหลงอะไรอยูเวลาน้ี ?” พิจารณาใหเห็นชัด สง่ิ เหลา นไ้ี ม
ปดบังลี้ลับ มอี ยภู ายในตวั เรา รา งกายกเ็ ตอื นเราอยตู ลอดเวลา เจบ็ นนั้ ปวดนี้ ความ
สลาย ความแปรสภาพ แปรที่ไหนกระเทือนที่ตรงนั้น แปรไปนานเทาไหร ก็กระเทอื น
มากขน้ึ ๆ เวทนากบั ความแปรสภาพมนั เปน คเู คยี งกนั อะไรวิปริตผิดไปนิดหนึ่ง
เวทนาจะเตอื นบอกขน้ึ มาเรอ่ื ยๆ เตอื นบอกสตปิ ญ ญาของผปู ฏบิ ตั ิ ของผูตั้งใจจะสง
เสริมสติปญ ญาใหม กี ําลังเพื่อรูเทา ทันกบั สิ่งเหลาน้ี จึงเหมือนกับแสดงธรรมเทศนาอยู
ทั้งวันทั้งคืน ไมจําเปนจะตองใหพระทานขึ้นธรรมาสน “นโม ตสสฺ ะ ภควโต”

สิ่งเหลานเี้ ปน “ธรรมเทศนา” สอนเราตลอดเวลาอยแู ลว เอา ! ทุกขเกิดขึ้นที่
ตรงไหน ตั้งธรรมาสนที่ตรงนั้น วนิ จิ ฉยั กนั ปุจฉา วสิ ชั นา กนั ลงไป นแ่ี หละเทศนาสอง
ธรรมาสน ระหวา งขนั ธก บั จติ ขนั ธใ ดกต็ าม รูปขันธ เวทนาขันธ สญั ญาขนั ธ สังขารขันธ
วญิ ญาณขนั ธ นแ่ี หละปจุ ฉา วสิ ชั นา ใหเ ขาใจชัดเจนตามสิง่ เหลา นท้ี ม่ี ีอยู รูปแปร แปร
มาโดยลาํ ดบั นเ่ี ราอยดู ว ยกนั นก่ี ว่ี นั กว่ี นั นน้ั คอื ลว งไปแลว เสยี ไปแลว ยกตวั อยา งเชน
ทานอาจารยหมออุดมทานไปกรุงเทพฯ ไปวันที่ ๑๗ ทา นกลบั มาวนั นว้ี นั ท่ี ๒ กลบั มา
วนั น้ี ทา นไมไ ดว นั สมบรู ณม าเหมอื นแตก อ น ต้ังแตวนั ที่ ๑๗ ไปจนถึงวันที่ ๒ เปน กว่ี นั
แนะ ลว งไปเทา น้นั วัน ทา นขาดวนั นไ้ี ปแลว เราอยนู ก่ี ข็ าดไปเชน เดยี วกนั กบั ทา น น่ี
แหละเราอยูดว ยความบกพรอ งไปทกุ วนั ๆ นะ ไมไ ดอ ยดู ว ยความสมบรู ณ วนั นขี้ าดไป
วนั นน้ั ขาดไป วนั หนา ขาดไป วนั หลงั ขาดไป ขาดไปเรื่อยๆ

เราบกพรองไปเรื่อยๆ เรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธเ ราเรยี นอยา งนแ้ี หละ เรียนธรรม เรา
ไมไ ดอ ยดู ว ยความสมบรู ณ อยดู ว ยความ “หมดไป” ทกุ วนั ๆ นน่ี ะ แลว เราจะนอนใจ
ไดอยางไร เมื่อเปนนักธรรมะที่ปฏิบัติเพื่อเอาตัวรอดเปนยอดคนแลว ตองใหเปนยอด
แหง ความรทู ่จี ะแกส ถานการณซ่งึ มีอยูใ นตัวของเรานี้ ใหร ตู ามเปน จรงิ โดยลาํ ดบั เรา
พบกนั วนั น้ี วนั หลงั มาพบกนั บกพรอ งมาแลว ขาดไปเทานั้นวัน ขาดไปเทานี้ชั่วโมง ผู
อยกู ข็ าด ผไู ปกข็ าด กลบั มากข็ าด อยูประจาํ ทกี่ ็ขาด ตางคนตางขาด มีแตตางคนตาง

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๒

๗๓

บกพรองไปทุกๆ วนั ขาดไปทกุ วนั แลว ขาดไป ๆ ขาดไปจะไปถึงไหน? มนั กไ็ ปถงึ ท่ี
สดุ ปลายทางแหง ความขาดสะบน้ั เทา นน้ั เอง!

น!่ี มันตางกันแต “มืด” กบั “แจง ” ทล่ี ว งไปวนั นน้ั วนั นเ้ี ทา นน้ั แหละ ชาเร็ว
ตางกัน มีนิดเดียวเทานั้น จะตองไปถึงความขาดสะบั้นเชนเดียวกันหมด เวลานย้ี งั ไม
ขาดเปนแตวาเตือนๆ เรา นาทีเตือน วนิ าทเี ตอื น ชั่วโมงเตือน หมดไปเทา นน้ั วนิ าที
เทานั้นนาที เทานั้นชั่วโมง เทา นน้ั วนั เตือนอยูเสมอ เทา นน้ั เดอื น เทานน้ั ป เรื่อย สดุ
ทา ยก็หมด มีเทาไรก็หมด เพราะมันหมดไปทุกวันนี่เอาอะไรมาเหลือ!!!

นี่เปนสติปญญาอันหนึ่งที่จะตองพิจารณา สง่ิ ทม่ี นั เหลอื อยนู น้ี ะ ทพ่ี อจะได
ประโยชนจ ากสง่ิ ทเ่ี หลอื อยู ธาตุขันธของเราอนั ใดทม่ี ันเปล่ียนแปลงมนั ก็หมดไป เราก็
หมดหวงั ในอนั นน้ั เวลานอ้ี ะไรยงั อยบู า ง? อะไรที่มันยังอยูพอที่จะทําประโยชนได เอา
ส่งิ ท่กี ําลงั มีพอทีจ่ ะทาํ ประโยชนอ ยนู ี่นะ มาทําประโยชนเสียแตบัดนี้ “อชเฺ ชว กจิ จฺ
มาตปปฺ  โก ชญฺ า มรณํ สเุ ว” ความเพียรที่จะทําใหเปนประโยชนแกตน ควรทาํ เสีย
ในวนั น้ี ใครจะไปรูเรื่องความตายจะมาถึงเมื่อไร! ทา นวา ไปอยา งนน้ั บอกไมใหเรา
ประมาท

เอา พิจารณารูป มัน “เหลือ”อยูเทาไรเวลานี้ มนั เจบ็ กย็ งั มเี หลอื อยบู า ง มัน
สลายหรอื มนั แปรสภาพไป สว นทย่ี งั อยกู ย็ งั มอี ยบู า ง พยายามพจิ ารณาใหทันกบั เหตุ
การณท ม่ี นั ยงั เหลอื อยู รูเทาทันดวยปญญา เวทนา ตั้งสติปญญาพิจารณาใหชัดเจน
เรอ่ื งเวทนากม็ เี ทา กบั เวทนาทม่ี อี ยนู น่ั แหละ ไมเ ลยจากนน้ั ผูรู รูไปหมด มันจะเทาภูเขา
ก็สามารถรูเวทนาเทาภูเขา ไมมีอันใดที่จะเหนือผูรูไปได มนั จะใหญโ ตขนาดไหน เรื่อง
ทุกขเวทนามันจะเหนือความรูนี้ไปไมได ความรนู จ้ี ะครอบเวทนาทง้ั หมด นถ่ี า มสี ตริ นู ะ
ถาไมไดสติ กเ็ ลอ่ื นลอยเหมอื นกบั วา วไมม เี ชอื ก เชอื กขาด แลวแตมันจะไปทางไหน

นเ่ี ราไมใ ชว า วเชอื กขาดน่ี เรามีสติปญญา พิจารณาใหเห็นชัดตามความเปนจริง
เอา เกิดก็เกิด เกิดขึ้นมา เรื่องทุกขเวทนาเปนธรรมเทศนาประกาศสอนเราอยูแลว เรา
เปนนักธรรมะ เอา ฟงดวยดี ดว ยสตปิ ญ ญาตามความจรงิ ของมนั แลว แยกตวั ออก เมื่อ
เขาใจแลวจะไมยึดไมถือกัน ไมเปนกังวลกับเรื่องทุกขเวทนา เรื่องสัญญา เรื่องสังขาร
เรื่องวิญญาณ จะปลอ ยวางไปดว ยกันโดยสนิ้ เชงิ

สง่ิ ทเ่ี หลอื คอื อะไร ? คือความบริสุทธิ์ ความรอบตวั นแ้ี ลเปน สาระเปน แกน
สาร ถา จะพดู กว็ า “เรา” นแ่ี หละ “เรา” แทโ ดยหลกั ธรรมชาติ ไมใชเราโดยความ
เสกสรร ถาเปน ความสขุ กเ็ ปน ความสขุ ในหลกั ธรรมชาติ ไมใชความสุขที่คอยแตจะมี

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๓

๗๔

ความทกุ ขม าแบง เอาไปกนิ ๆ เหมอื นอยา งวนั คนื ปเ ดอื น แบง เอาจากรา งกายและจติ ใจ
ของเรา สังขารของเราไปกิน

นถ่ี า พิจารณาใหเหน็ ตามความเปน จรงิ อะไรจะแตกก็แตก ก็เรื่องมันแตก มัน
เคยแตกมาตง้ั กก่ี ปั กก่ี ลั ป ทางเดินของคติธรรมดาเปนอยางนี้ จะไปแยกแยะหรือไปกีด
ขวางไมใหมันเปนไดที่ไหน จะไปกั้นกางไมใหมันเดินไดอยางไร “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺ
ตา” มนั ไปในสายเดยี วกนั พอวา อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา กม็ าพรอ มกัน มันไปดวยกัน
ใหรูความจริงของมันพรอมๆ กนั ไป แลว ปลอ ยวางพรอ มกนั หมด ไมใ ชว า จะปลอ ยแลว
ในสว น อนิจฺจํ ยงั ทกุ ขฺ ํ ยังอนตฺตา ไมใ ช พจิ ารณารอบแลวมันปลอยไปพรอมๆ กนั
บริสุทธิ์พรอมในขณะที่ปลอยวางโดยสิ้นเชิง

ความบรสิ ทุ ธไ์ิ มต อ งถามหาวา มาจากไหน ! นน้ั แลคอื ความฉลาดเตม็ ภมู ิ ความ
สะอาดเต็มภูมิ ความสุขเต็มภูมิ ความสกปรกหายไป ความโงหายไป ความทกุ ขห ายไป
หายท่ีตรงนแ้ี หละ ตรงที่แบกทุกข แบกความโง แบกความสกปรกนแ่ี หละ สง่ิ เหลา น้ี
หายไปหมดเพราะอํานาจของปญญา อาํ นาจของสติ อาํ นาจของความเพยี ร เปนธรรม
ชาติที่ชะลางไมมีสิ่งใดเหลือเลย ผนู แ้ี ลเปน ผไู มห มดไมส น้ิ

อะไรจะหมด หมดไปตามสมมุตินิยมโทษ รางกายจะหมดก็หมดไป เวทนา
สัญญา สังขาร วญิ ญาณ จะแปรสภาพไปไหนกแ็ ปรไปเถะ เมื่อรูตามเปนจริงแลว สง่ิ นน้ั
จะเปนไปตามธรรมดาของเขา ซึ่งเขาไมมีความหมาย ไมมีความรูสึกเลยวาเขาไดแปรไป
มีแตจิตของเราไปรับทราบวาเขาไดแปรไป ถา ไมย ดึ ถือแลวเพียงรบั ทราบเทา นัน้ เราก็
ไมแ บกทกุ ขก บั ความยดึ ถอื ในอะไรทง้ั หมดเรากส็ ขุ สบาย นแ่ี ลทา นวา “เอกจฺ
เชยยฺ มตตฺ านํ ส เว สงฺคามชุตฺตโม” ไมก อ เวรกอ กรรมกบั อะไรท้งั หมด แมแ ตก บั
กเิ ลสกไ็ มก อ กิเลสแพเรา กเิ ลสไมม ากอ กบั เราได เหมอื นคนแพค น เราชนะคน ชนะ
อะไรก็ตามกอกรรมกอเวรไดวันยังค่ํา ชนะไปมากเทา ไหรกอกรรมมากเทานนั้ คิดดูคูณ
ดว ยลา น นน่ั แหละ! คอื ความกอ กรรมกอ เวรคณู ดว ยลา น

อนั นไ้ี มม เี ลย! ความสบายคอื ความชนะตนเองเทา นน้ั นเ่ี ปน จดุ สาํ คญั ของผู
ปฏิบัติ จะหาศาสนาใดมาสอนพวกเราใหเ หน็ ถงึ ขนาดนร้ี ขู นาดน้ี และจะใหผูใดเปนผู
ปฏิบัติ ใหร ใู หเ หน็ อยา งทว่ี า น้ี นอกจากเราเทานั้นจะเปนผูปฏิบัติสําหรับตัวเราเอง
เพราะโงก็เราเปนคนโงเอง จะหาความฉลาดใสต นดว ยการแกค วามโงเ ขลาออก ก็จะ
เปนใครถาไมใชเรา ทกุ ขก เ็ ราเปน คนทกุ ขเ อง จะเปลย่ี นแปลงตวั เองดว ยความฉลาดให
เปนความสุขขึ้นภายในใจนี้ ทําไมเราจะเปลี่ยนแปลงไมได นน่ั ! เปลี่ยนแปลงไดทั้งนั้น
ไมอ ยา งนน้ั พระพทุ ธเจาหรอื สาวกทง้ั หลาย ทานจะถึงความบริสุทธิ์ไมได ถาธรรมะชะ

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๔

๗๕

ลางสิ่งสกปรกไมไดดวยความสามารถของเรา เราก็เปนผูหนึ่งในพุทธบริษัท ซึ่งเปนลูก
เตาเหลากอของพระพุทธเจา ถึงจะไมมีมากคนก็ขอใหเราเปน “คนหนง่ึ ในจาํ นวนนอ ย
คน” นน้ั นะ ช่ือวา เราเปนผมู ีสว นแหงพุทธบรษิ ทั อนั แทจ รงิ ลูกของพระพุทธเจา ก็คือ
อยา งนเ้ี อง พระพุทธเจาเดินอยางไร เราเดินแบบศิษยมีครู รูอยางไร เรารูอยางศิษยมี
ครู รแู บบครรู ไู ปโดยลาํ ดบั ๆ จนถงึ “วิมุตติหลุดพน” สมกบั เปน ลกู ศษิ ยม คี รู!

การแสดงธรรมวนั นก้ี เ็ หน็ วา สมควร ขอยุติเพียงเทานี้

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๕

๗๖

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๑ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙

ปราบ-ขู

ในมงคลสูตรทา นกลา วไวพ วกเราฟงจนชนิ หู สวดสาธยายจนชนิ ปาก คอื “อเส
วนา จ พาลาน”ํ แปลความวา การไมค บคนพาลสนั ดานหยาบ การคบบณั ฑติ ผู
ประพฤตชิ อบดว ยกายวาจาใจ “เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ ทา นวา เปน มงคลอนั สงู สดุ

เราอาจคดิ แตใ นแงภ ายนอก คบคนพาลสนั ดานหยาบนอกๆ อยา งนน้ั นน่ั กถ็ กู
ในการเกย่ี วกบั สงั คม เพราะมนุษยเราอยูคนเดียวไมได ตองมีเพื่อนฝูงญาติมิตรเกี่ยว
ขอ งกบั สงั คมมากนอ ย นท่ี า นสอนแงห นง่ึ แตอาจคิดในแงเดียวเทานั้น สาํ หรบั ตนเอง
เปน พาลหรอื เปน บณั ฑติ นน้ั เลยลมื คดิ ถาหากเราคิดแตเพียงแงเดียว เราก็ลืมคิดเรื่อง
ตัวเรา เปน แตเ พยี งไมไ ปคบคนพาลภายนอกแลว กถ็ อื วา ดี แตก ารทเ่ี ราคบคนพาลภาย
ในคือใจเราเองนั้น เราไมทราบวาคบกันมานานเทาไร ความจริงคบกันมาตั้งแตวันเกิด
จนกระทั่งบัดนี้

คนพาลภายในหมายถงึ อะไร ? หมายถงึ ตวั เราเอง ซึ่งเปนคนๆ หนง่ึ ที่มีจิต
เปน พาล คอยกดี กนั คอยฉดุ ลาก คอื กดี กนั ในทางทด่ี ี ไมใ หท าํ ความดไี ดโ ดยสะดวก
สบาย หาเรอ่ื งนน้ั มาขดั ขอ ง หาเรอ่ื งนม้ี ายแุ หยใ หล ม เหลวไปตามมนั จนไดเ รอ่ื ยๆ มาที่
เรยี กวา “พาลภายใน” คาํ วา “พาล” นน้ั ทางพทุ ธศาสนาทา นหมายถงึ ความคดิ ท่ี
ทาํ ใหต นและผอู น่ื เดอื นรอ นเสยี หาย ทา นเรยี กวา คนพาลหรอื คนเขลา จะมีความรู
ความฉลาดมากนอ ยเพยี งไรไมส าํ คญั ถา ยงั ทาํ ตนและคนอน่ื ใหเ ดอื ดรอ นอยแู ลว ความ
รูนั้นทานไมเรียกวาเปนความรูที่ดีที่ฉลาด เพราะเปนความรูที่ยังผูนั้นใหเปนคนเลวลง
ทางความประพฤติที่แสดงออก ตลอดคนอน่ื ใหไ ดร ับความเดอื นรอ นเสยี หายดว ยความ
คิดเปนโจร ความคดิ เปน ขา ศกึ ความคดิ แอบทาํ สง่ิ ไมด แี กต นอยเู นอื งๆ และคลอ ย
ตามความคิดเห็นนั้นโดยไมยอมเห็นโทษของมัน บางครง้ั ถงึ กบั แสดงออกใหค นอน่ื รู
และรังเกียจ น่ีทานเรยี กวา “ใจพาลภายใน”ซง่ึ มอี ยกู บั ทกุ คน จะตา งกนั บา งกเ็ พยี ง
มากหรอื นอ ย แสดงออกหรอื ไมแ สดงออกใหค นอน่ื รหู รอื ไมเ ทา นน้ั ซง่ึ เปน สง่ิ สาํ คญั
มากทม่ี อี ยกู บั ตวั เราตลอดมา เราเคยคบคา สมาคมกบั พาลตวั นม้ี านานแสนนานจนบดั
น้ี เรากย็ งั มคี วามสนมิ กบั พาลของเราอยู โดยไมรูสึกตัววาเรามีพาล เราคบกบั พาลคอื
ความคิดและการกระทําทเ่ี ราไมร ูสกึ ตวั วา เปน ความผดิ ทานเรยี กวา “พาลภายใน”

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๖

๗๗

จงพยายามเลือกเฟนความคิดที่เห็นวาไมดี ทง้ั สว นหยาบ สว นกลาง สว น
ละเอยี ดทม่ี อี ยภู ายในใจอนั น้ี อยา ปลอ ยใหใ จสง่ั สมความเปน พาล และตง้ั บา นเรอื นอยู
บนหวั ใจไปนาน ความคิดใดที่ไมดี เปน ไปบนหวั ใจตลอดกาล บา นเรอื นคอื รา งกาย เจา
ของคอื ใจทอ่ี าศยั อยดู ว ยกนั จะเสยี ความมน่ั คง ทรงความดีไวไมได

ความคิดใดที่เปนไปเพื่อสั่งสมทุกขขึ้นมา ความคดิ นน้ั ทา นเรยี กวา “เปนพาล”
การเชอ่ื หรอื คลอ ยตามความคดิ ทไ่ี มด ไี มถ กู นน้ั ทา นเรยี กวา “คบคนพาลภายใน” ซึ่ง
แยกตวั ออกหา งยากกวา พาลภายนอก ผูเปนบัณฑิตทานเห็นโทษทั้งพาลภายในทั้งพาล
ภายนอก และหลกี เวน ไมค บและเชอ่ื ถอื ทั้งคอยระวังอยางอยางเขมงวดกวดขัน ไม
สนทิ ตดิ จมอยกู บั คนพาลทง้ั สองจาํ พวกนน้ั

ปกตคิ นเราทกุ คนมพี าลรอบดา นทง้ั ภายในภายนอก ความเปนอยู ความเคลอ่ื น
ไหว ทกุ คนอยใู นทา มกลางแหง พาลทง้ั สองจาํ พวกดงั กลา วมา ผตู อ งการความสงบสขุ
ทั้งทางสวนตน ครอบครวั และสว นรวม จึงควรระวังภัยจากมารทั้งสองจําพวกนั้น
เฉพาะอยา งยง่ิ มารภายในทเ่ี กดิ กบั ใจตวั เองสาํ คญั มาก ควรระวังเสมอ ชอ่ื วา เปน ผเู หน็
ภยั ของคนพาลทง้ั ภายนอกภายใน และจงคบบัณฑติ นักปราชญ ซง่ึ หมายถงึ ภายนอก
ดว ยภายในดว ย ดังที่เราคบครูอาจารยเพื่อนฝูงที่มีความรูดี ความประพฤติดีงาม
สม่ําเสมอ ไมเ อยี งซายเอียงขวา เอยี งหนา เอยี งหลงั อนั เปนอาการแหง “อคตสิ ”่ี ซึ่ง
เปนของไมดี จะเปนญาติเปนมิตรหรือเพื่อนฝูงอะไรก็ได สาํ คญั ทต่ี อ งเปน คนดเี ชอ่ื ถอื
ได หรอื ฝากผฝี ากไขฝ ากเปน ฝากตายไดย ิ่งเปน การดีมาก

ในบรรดาบณั ฑติ ทค่ี วรคบคา สมาคม ตลอดถงึ ครอู าจารยท ใ่ี หอ บุ ายสง่ั สอนอนั ดี
งามแกเรา ชอ่ื วา บณั ฑติ ไมตอ งมคี วามรูความฉลาดถงึ ขนาดตองแบกตูพระไตรปฎกมา
ยืนยัน หรือมคี วามรูความฉลาดข้ันปรญิ ญาตรี โท เอก กต็ าม สาํ คญั อยทู ค่ี วามคดิ ความ
เห็น การประพฤติตัวเปนธรรม ซึ่งเปนเครื่องชักจงู ใหคนอื่นไดคติและไดรับประโยชน
อันชอบธรรม และเห็นเปนความถกู ตองดีงามไปดวย เหลา นท้ี า นเรยี กวา “บณั ฑติ ”
เปน ผคู วรแกก ารคบคา สมาคมระยะสน้ั หรอื ยาว ยอมเปนมงคลแกผูคบ ไมเ สยี หายลม
จมแตอยางใด ยังจัดวาผูรูจักเลือกคบ เปน ผมู ีชวี ิตชีวาอันอดุ มมงคลเสยี อีก ทางพระ
พทุ ธศาสนาทา นหมายคนอยา งนน้ั วา “บัณฑิต”

สว น “บณั ฑติ ภายใน” ไดแ กค วามคดิ อบุ ายวธิ ตี า งๆ ที่จะเปนไปเพื่อคุณงาม
ความดแี กต นและผอู น่ื นับแตพน้ื ความคดิ เหน็ อนั เปนเหตจุ ะใหเกดิ คุณงามความดี จน
กระทั่งถึงสติปญญาที่จะถอดถอนกิเลสออกจากจิตใจเปนลําดับๆ เปน ขน้ั ๆ ของสติ
ปญญา เรียกวา “บณั ฑติ , นกั ปราชญ” เปน ชน้ั ๆ ไปจนถึงขั้น “มหาบณั ฑติ ”

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๗

๗๘

“มหาบณั ฑติ ” ไดแ กท า นผทู รงมหาสตมิ หาปญ ญานน่ั แล เลยขน้ั
“มหาบณั ฑติ ”ไปแลว กถ็ งึ “วิมุตต”ิ เรยี กวา “จอมปราชญ” หรือ “อคั รมหาบณั ฑติ ”
เลยขน้ั มหาบณั ฑติ ไปแลว กเ็ ปน “จอมปราชญ” ไดแ กผ เู ฉลยี วฉลาดรอบตวั ภายในใจ
คือพระอรหันต สิ้นกิเลสอาสวะโดยประการทั้งปวง นี่เปน มงคลอนั สงู สุดท้ังสองอยา ง
คือ “อเสวนา จ พาลานํ” ไมใ หค บคนพาลภายนอก ทง้ั คนพาลภายใน “ปณฺฑิตานฺจ
เสวนา” ใหค บบณั ฑติ นกั ปราชญผ เู ฉลยี วฉลาดทง้ั ภายนอกและภายใน พยายามฝก ตวั
ใหม คี วามเฉลยี วฉลาดทนั กบั เหตกุ ารณต า งๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดสง่ิ ทเ่ี ปน ขา ศกึ ตอ ใจของ
ตนนี้ เรียกวา “บัณฑิต นกั ปราชญ” ใหค บผนู ้ี เพื่อจะไดสั่งสมสงเสริมความเปน
ปราชญใ หมกี ําลังมากข้นึ โดยลําดบั ๆ เพราะอาศยั ทา นผดู มี สี ตปิ ญ ญาฉลาด “เอตมฺมงฺ
คลมุตฺตม”ํ เปน มงคลอนั สงู สดุ อกี ขอ หนง่ึ

อกี ขอ หนง่ึ ทา นกลา ววา “สมณานจฺ ทสสฺ นํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตม”ํ การเห็น
สมณะผสู งบกายวาจาใจ เปนมงคลอันสูงสุดเชนเดียวกัน

คาํ วา “สมณะ” ตามหลกั ธรรมทท่ี านแสดงไว มี ๔ ประเภท
“สมณะที่ ๑ ไดแก พระโสดาบัน สมณะที่ ๒ ไดแ ก พระสกิทาคามี
สมณะที่ ๓ ไดแ ก พระอนาคามี สมณะที่ ๔ ไดแ ก พระอรหันต

การเหน็ สมณะเหลา นช้ี อ่ื วา เปน มงคลอนั สงู สดุ นเ่ี ปน มงคลขน้ั หนง่ึ เปน สมณะ
ขน้ั หนง่ึ ๆ จากภายนอก

ทีนี้เราพยายามทําใหแจงซึ่งมรรคผลทั้งสี่นั้น หรือสมณะทั้งสี่นั้น ไดแกพระ
โสดา สกทิ า อนาคา อรหตั ผล ขน้ึ ภายในจติ ใจของตน นี้ชื่อวาเปนผูทําใหแจง ซึ่งมรรค
ผลทั้ง ๔ รวมเปน ๘ เปนมงคลอันสูงสุด

ในมงคลสตู รทท่ี า นแสดงไวน ม้ี แี ตธ รรมสาํ คญั ๆ ทั้งนั้น แตม แี ยกดงั ท่วี าน้ี จง
แยกแยะพจิ ารณาขา งนอกพจิ ารณาขา งในเทยี บเคยี งกนั

เทวดาทง้ั หลายมปี ญ หาถกเถยี งกนั อยถู งึ ๑๒ ป ไมม ใี ครสามรถแกป ญ หานไ้ี ด
เลย จึงพากันมาทูลถามปญหานี้กับพระพุทธเจา โดยที่ทราบวาพระพุทธเจาไดตรัสรูขึ้น
แลว ในโลก และเปน ผสู ามารถชแ้ี จงอรรถธรรมหรอื ปญ หาในแงต า งๆ ใหเปนที่เขาใจ
แกผูของใจทั้งหลาย จึงไดพากันมาทูลถามพระพทุ ธเจา ตามมงคลสูตรทท่ี านยกไวเ บอื้ ง
ตน

แตเ วลาทท่ี า นสวดมนตท า นยกเอาตง้ั แต “อเสวนา จ พาลานํ”เรื่อยมาเลย ไม
ไดก ลา วถงึ เรอ่ื งเทวดาทง้ั หลายจากโนน จากนม้ี ากมาย มาเฝาพระพุทธเจาทูลถามปญหา

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๘

๗๙

ทา นตดั ออกเสยี หมด เอาแตเ นอ้ื ๆ คือมงคลสูตร ๓๘ ประการนี้ เปนคุณแกทั้งเทวดา
และมนษุ ยท ั้งหลายจนกระทัง่ ทุกวนั น้ี เราจึงควรเจริญมงคลสูตรนี้

สตู รใดกต็ ามเปน ทแ่ี นใ จ หรือเปน ท่ีสนทิ กบั จรติ นสิ ยั ดังที่กลาวใน ๒-๓ บท
เบ้อื งตนน้ันวา “ไมค บคนพาลและใหค บบณั ฑติ , การเหน็ สมณะใหป รากฏขน้ึ ภายใน
จติ ใจ ชือ่ วา เปนผูทรงคณุ ธรรมอนั สงู สดุ ไวภายในใจ

คาํ วา “เทวดา” ตั้งแตวันเกิดมาเราไมเคยรูเคยเห็น คิดดูซิมนุษยดวยกัน แม
พระพุทธเจาก็เปนมนุษยคนหนึ่ง สาวกอรหตั อรหนั ตท า นกเ็ ปน มนษุ ยค นหนง่ึ ๆ แต
ทําไมทานสามารถรูเห็นเทวดา จนถงึ กับแนะนําสงั่ สอนเทวดาใหไดส าํ เรจ็ มรรคผล
นพิ พานเปนจํานวนลา นๆ ไมใชทําธรรมดา!

บางเรอ่ื งกลา วไวใ นสตู รตา งๆ วา “เทวดามาฟงเทศนพระพุทธเจาไดสําเร็จ
มรรคผลนิพพานเปนโกฏิๆ แลวไมใชเพียงแตเทศนวันหนึ่งวันเดียว เทศนจนกระทั่ง
พระองคปรินิพพาน ฟง “พทุ ธกจิ ” ทา นแสดงไวว า “อฑฺฒรตฺเต เทวปหฺ ากํ” ตง้ั
แตหกทุม ลว งไปแลว ทรงแกป ญ หาหรอื แนะนาํ สง่ั สอนเทวดาชน้ั ตา งๆ ทม่ี าทลู ถาม
ปญหา ทา นถอื เทวดาเหมอื นกบั มนษุ ยท ง้ั หลาย สอนเทวดาเหมอื นกบั สอนมนษุ ยท ง้ั
หลายนเ่ี อง ทานถือเปนธรรมดาธรรมดาเชนเดียวกับเรามองเห็นคนทั่วไปโดยธรรมดา
พระพุทธเจาทรงมองเห็นพวกเทวบุตรเทวดาชั้นตางๆ ประจักษดวยพระญาณของพระ
องคค อื ตาทพิ ย เชนเดียวกับเรามองเห็นสิ่งตางๆ หรือมนุษยสัตวทั้งหลายดวยตาเนื้อ
ของเรา

แตเมื่อเราไมมีตาทิพยเหมือนพระพุทธเจา ไมส ามารถมองเหน็ เทวดาทง้ั หลาย
จงึ กลายเปน ปญ หาโลกแตกอยา งทกุ วนั น้ี ที่พระพุทธเจาแสดงอยางนั้นดวยพระจักขุ
ญาณของพระองค กับทเี่ รามาดนเดาและคาดคะเนดวยความมดื บอดของเรา จึงเปนที่
นาสลดสังเวชอยางยิ่งทีเดียว

นแ่ี หละระหวา งคนตาดกี บั คนตาบอด ระหวา งคนโงก บั คนฉลาด มนั ผดิ กนั อยา ง
น้ี ทั้งๆ ทเ่ี ปน มนษุ ยด ว ยกนั กต็ าม พระองคสามารถสอนเทวดาอินทรพรหมยมยักษ
ตลอดถึงสัตวนรก เปรต อมนุษยมนา ไมมีจํากดั ขอบเขตมมี ากมายกายกอง พุทธภาระ
จึงหนักมากสําหรับพระพุทธเจา ตามพทุ ธวสิ ยั คอื วสิ ยั ของพระพทุ ธเจา ทท่ี าํ ประโยชน
แกโ ลก

พวกเราเปน คนหหู นวกตาบอด ไมสามารถมองเห็นทั้งเทวบุตรเทวดาอินทร
พรหมอะไรตออะไร แมท ีส่ ดุ จะสง่ั สอนตวั เองก็ยงั ไมได แลว เราจะเอาความรอู นั มดื
บอดนี่ไปเทียบกับพระพุทธเจาหรือ? ขอนี้จะเปนไปไดอยางไร พระพุทธเจาทรงมีพระ
ภาระมากขนาดไหน ยงั สามารถนําภาระน้นั ไปไดตลอดทัว่ ถงึ จนกระท่งั วันปรินพิ พาน

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๙

๘๐

ไมม ภี าระของผใู ดทจ่ี ะหนกั หนายง่ิ กวา “พุทธกิจ-พุทธภาระ” ของพระพุทธเจาแตละ
พระองค พระพุทธเจาเปน “พุทธวิสยั ” ของศาสดา นําพุทธภาระไปไดต ลอดท่วั ถงึ

สาํ หรบั พวกเราไมม คี วามสามารถอยา งทา น แมแ ตจ ะสง่ั สอนตนเพยี งคนเดยี วก็
ยงั ลม ลกุ คลกุ คลาน ใหก เิ ลสตณั หาเหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย ขี้รดเยี่ยวรดวันยังค่ําคืนยังรุง บาง
ทีเดนิ จงกรมมนั ก็ข้รี ดบนหัวอยูท ่หี ัวทางจงกรม นอนภาวนามนั กข็ ร้ี ดเยย่ี วรดอยทู น่ี อน
นน่ั คนทง้ั คนกลายเปน “สว ม” ! เปน “ถาน” ของกเิ ลสตณั หาทกุ อริ ยิ าบถดว ยความ
ไมมีสติ พิจารณาซี ดูมันตางกันไหม? พระพทุ ธเจา กบั พวกเราชาวสว มชาวถานของ
กเิ ลสนะ !

ถาหากจะพิจารณาแลว นําคติทานมาเปนประโยชน เปนคติเครื่องพร่ําสอนตัว
เองใหเกิดประโยชนจากธรรมที่กลาวมานี้ได มบี ทสาํ คญั อยวู า พระพุทธเจาทําไม
สามารถสั่งสอนพระองคได แลว เปน ครขู องสตั วโ ลกทง้ั สามโลกธาตโุ ดยตลอดทว่ั ถงึ แต
เราจะสามารถสอนตัวเรา และแกก ิเลสตัณหาอาสวะซงึ่ มอี ยูภายในใจเราเพียงดวงเดียว
เทาน้นั ทําไมจะทําไมได ทาํ ไมจะปลอ ยตวั ใหก เิ ลสตณั หาอาสวะทง้ั หลายขร้ี ดเยย่ี วรด
อยูท ้ังวนั ท้ังคืนยืนเดนิ น่ังนอน ตั้งแตเล็กจนถึงเฒาแกชรา ตายไปกบั ขก้ี บั เยย่ี วของ
กิเลสคละเคลาเต็มตัวมีอยางเหรอ! มนั สกปรกขนาดไหนกเิ ลสอาสวะนะ แลวทําไมให
มันขี้รดเยี่ยวรดเราอยูตลอดเวลา เราไมมีความขยะแขยงตอมันบางเหรอ?

เพียงเราคนเดียวก็ยังเอาตัวแทบไมรอด กย็ งั นอนยงั นง่ั ใหก เิ ลสตณั หาอาสวะมนั
ขี้รดเยี่ยวรดตลอดมาในอิริยาบถทั้งสี่ ยงั จะเปนสว มเปนถานมันอยูอกี หรอื ? ควร
พิจารณาตัวเอง นเ่ี ปน คตอิ นั สาํ คญั ทเ่ี ราจะนาํ มาใชส าํ หรบั ตวั เอง กเิ ลสมนั มอี าํ นาจ
วาสนาขนาดไหน พระพุทธเจา พระสาวกอรหัตอรหันต หรือพุทธบริษัททั้งหลายตั้งแต
ครั้งพุทธกาล ทา นกเ็ ปน คนๆ หนง่ึ แตทําไมทานปราบมันได เอามันมาเปนสวมเปน
ถานได ขี้เยี่ยวรดมันได ทําไมเราจะทําไมได? คิดคนจับมันฟดมันเหวี่ยงดวยสติปญญา
ศรัทธาความเพียร จนมันกลายเปนสวมเปนถานของเราเสียทีไมดีหรือ?

เอา พยายามมองดู มองไปทางไหนกม็ แี ตห อ งนาํ้ หอ งสว มของกเิ ลส มันก็นา
สลดสังเวชเหมือนกัน เอา ฟตตัวใหดี แกใ หไดกับมือ วนั นม้ี นั อยทู ไ่ี หนกเิ ลสนะ ?มนั อยู
ที่หวั ใจเราน!ี่ ไมไดอยูตรงไหน แตว า เรามกั จะเขา ใจวา กเิ ลสมนั เปน เพอ่ื นสนทิ ของ
เรา และเปนเราเสียทั้งหมด น่แี หละ! ทม่ี นั แกไ มต ก เพราะเห็นวากิเลสมันเปนเรา จงึ
ไมก ลา แตะตอ งทาํ ลายมนั กลวั จะเปน การทาํ ลายตนทร่ี กั สงวนมากไปดว ย

ถา ถอื วา กเิ ลสเปน กเิ ลสและกเิ ลสเปน ภยั แลว ก็มีทางแกไขได หาอบุ ายพจิ ารณา
แกไขตัวเองใหได พดู ถงึ การแกก ไ็ มม อี ะไรทจ่ี ะแกย ากยง่ิ กวา แกก เิ ลส กเิ ลสคอื อะไร?
กค็ อื ความโลภ ความโกรธ ความหลง เปน ตน นน่ั แล

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๐

๘๑

มนษุ ยเรามีหัวใจ สตั วม หี วั ใจ ทําไมจะไมอยากไดอยากมี ทําไมจะไมอยากโลภ
“เมืองพอ” ของความโลภมันมีที่ไหน “เมืองพอ” ของความโกรธมันมีที่ไหน? “เมือง
พอ”ของความหลงมันมีที่ไหน? มันไมมีขอบเขต มนั กวา งขวางยง่ิ กวา แมน าํ้ ทอ งฟา
มหาสมุทร เพราะฉะนน้ั มนั จงึ แกย าก เพราะมันกวางแสนกวางจึงเปนของแกไดยาก แต
ถงึ กวา งขนาดไหนกต็ าม รากฐานของส่ิงเหลา น้มี ันกอ็ ยทู ่ใี จดวงเดียวน้ีเทานนั้ ประมวล
ลงมาฆาที่ตรงน!ี้ ตดั รากแกว ของมนั ออกทต่ี รงนแ้ี ลว มนั กต็ ายไปหมด เชนเดียวกับตน
ไมท ถ่ี กู ถอนรากแกว แลว ตอ งตายถา ยเดยี วฉะนน้ั !

ความโลภ ความโกรธ ความหลง กง่ิ กา นสาขาของมนั แตกกง่ิ แตกกา น แตกใบ
แตกดอก แตกผลออกไปมากมายเพยี งใดกต็ าม มันขึ้นอยูกับตนของมัน มันมีตนมี
อาหารที่หลอเลี้ยงมันจึงเจริญเติบโต แตกกง่ิ แตกกา นออกไปได แตถ า พยายามตดั สง่ิ
สําคัญๆ ของมนั ซง่ึ มอี ยภู ายในจิตใจออกแลว มันจะไมมีทางแผกระจายไปไดมากมาย
ดังที่เคยเปนมา จะคอ ยอบั เฉาหรอื คอ ยยบุ ยอบตายลงไปโดยลาํ ดบั จนกระทั่งตายหมด
โดยสน้ิ เชงิ หลงั จากถอนรากแกว คอื “อวชิ ชา” ออกหมดแลว ดว ยอาํ นาจของ “มหา
สติ มหาปญ ญา ศรัทธาความเพียร” ไมม อี ยา งอน่ื ทจ่ี ะยง่ิ ไปกวา ธรรมดงั กลา วน้ี ซึ่ง
เหมาะสมอยา งยง่ิ กบั การฆา กเิ ลสทง้ั สามประเภทอนั ใหญโ ตนใ้ี หห มดไปจากใจ

คาํ วา “สมณะที่ ๑, ที่ ๒, ที่ ๓ ที่ ๔” จะปรากฏขน้ึ มาเปน ลาํ ดบั ๆ และปรากฏ
ขึ้นมาอยางแจงชัดประจักษใจเปน “สนฺทิฏฐิโก” รูเองเห็นเอง ในวงผปู ฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะ
“ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิ ฺ หู ิ” ทานผูรูทั้งหลายจะไมรูที่อื่น จะรขู นึ้ กับตวั เองนดี้ ว ยกนั
ทั้งสิ้น เพราะธรรมะทานวางไวเปนสมบัติกลาง นี่เปนจุดที่จะตัดกิเลสอาสวะทั้งหลาย
ตองสูมัน! เวลานี้เราไดสติสตังมาพอสมควรแลว ไดรับการอบรมจากอรรถจากธรรม
ไดศ กึ ษาเลา เรยี นมาพอสมควร ไดฟ ง โอวาทจากครอู าจารยม าพอสมควร ปญ หาอนั
ใหญก ค็ อื เรอ่ื งของเราทจ่ี ะฟต ตวั ใหม สี ตปิ ญ ญาทนั กบั กลมายาของกเิ ลส ซงึ่ มรี อยเลห
พนั เหลย่ี มรอ ยสนั พนั คมภายในใจ ใหขาดลงไปโดยลําดับๆ

กเิ ลสขาดลงไปมากนอ ย ความสขุ ความสบายกค็ อ ยปรากฏขน้ึ มาภายในใจ
ความเยน็ ใจนเ้ี ยน็ ยง่ิ กวา สง่ิ ทง้ั หลายเยน็ สขุ ใจสกุ ไมม งี อม สุกไมมีเปอยมีเนา สขุ อยา ง
สม่ําเสมอ สขุ สดุ ยอด จึงเปน “สขุ อกาลโิ ก”ไมมีสลายเปลี่ยนแปลงไปไหน เปน ความ
สุขที่ยอดเยี่ยมคงเสนคงวา ไมมีสมมุติใดมาทําลายไดอีก นแ่ี หละทท่ี า นเรยี กวา “ความ
สุขของนักปราชญ”

พระพุทธเจาทานทรงคนพบความสุขประเภทนี้ สาวกอรหตั อรหนั ตท ง้ั หลาย
ทานก็คนพบความสุขประเภทนี้ ทานจึงปลอยวางความสุขสมมุติโดยประการทั้งปวง ที่

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๑

๘๒

เคยเกี่ยวของกันมา ไมเพียงแตสุข ทุกขก็ปลอยโดยสิ้นเชิงเชนเดียวกัน เปน ผหู มดหวง
ใยหมดปาชา ไมต อ งมาวนเวยี นตาย-เกดิ กนั ไมห ยดุ ไมถ อยในกาํ เนดิ ตา งๆ ภพนอ ย
ภพใหญที่เรียกวา “วฏั วน”วนไปวนมา ตัดกงจักร “วฏั วน” นอ้ี อกจากใจเสยี ได เปน
ความสขุ เปน ความสบายอนั ลน พน

นค่ี อื ความสขุ ของมนษุ ยแ ท สมกบั ภมู ขิ องมนษุ ยท ม่ี คี วามเฉลยี วฉลาด เจอ
ความสขุ นแ้ี ลว สง่ิ ใดๆ ก็ปลอยไปหมด นใ่ี นธรรมบททว่ี า “สมณานจฺ ทสฺสนํ” ก็เขา
ในจติ ดวงน้ี แม “นิพฺพานสจฺฉกิ ริ ิยาจ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ ก็เชนเดยี วกัน การทําพระ
นพิ พานใหแ จง คือเวลานี้พระนิพพานถูกปดบังดวยกิเลสประเภทตางๆ จนมืดมิดทั้ง
กลางวนั กลางคนื ไมม คี วามสงา ผา เผยขน้ึ ภายในจติ ใจแมน ดิ หนง่ึ เลย

พระอาทิตยแมจะถูกเมฆปดบัง แสงสวางสองมาไมเต็มที่เต็มฐานไดก็ตาม แต
เปน บางกาลบางเวลา ยอมมีการเปดเผยตัวออกไดอยางชัดเจน ทเ่ี รยี กวา “ทองฟา
อากาศปลอดโปรง ” จิตใจของเราท่ถี กู กเิ ลสหมุ หอปดบงั อยูน้ี ไมมีวันปลอดโปรงได
เลย มดื มิดปด ตาอยอู ยา งน้ัน นน่ั แหละทา นวา “ใหท ําพระนพิ พานใหแจง ” พระ
นิพพานก็หมายถึงจิตนั้นเองไมไดหมายถึงอะไรอื่น ที่พระนิพพานยังแจงไมไดก็เพราะ
สง่ิ ปด บงั ทง้ั หลายคอื กเิ ลสน้ี ซึ่งเปรียบเหมือนกอนเมฆปดบังพระอาทิตย เมื่อชําระดว ย
ความเพียรมสี ติปญ ญาเปน ผบู ุกเบกิ แลว พระนิพพานซึ่งเปนตัวจิตลวนๆ นน้ั กค็ อย
แสดงตัวออกมาโดยลําดับ จนกระทั่งทําพระนิพพานแจงอยางประจักษ

นก่ี ็ “เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ เปน มงคลอนั สงู สดุ ไมม มี งคลอนั ใดในโลกนจ้ี ะสงู
ย่ิงกวา การพบสมณะสดุ ทา ยคือพระอรหตั และการทําพระนิพพานใหแจง คอื ถงึ ความ
บรสิ ุทธ์ขิ องใจ นเี่ ปน มงคลอันสูงสดุ ทําใหประจักษกบั ใจเราเอง ทั้งจะไดรูชัดเจนวา
ศาสนาของพระพทุ ธเจา นน้ั นะ สอนโลกอยา งปาวๆ เลน ๆ หรอื วา สอนจรงิ ๆ หรือ
ใครเปน คนเลน ใครเปนคนจริง โอวาทเปน ของเลน หรอื ผฟู ง ผถู อื เปน คนเลน หรือ
อะไรจริงอะไรไมจริง พิสูจนกันที่หัวใจเรา นาํ โอวาทนน้ั แหละเขา มาพสิ จู น เปนเครื่อง
มือเทียบเคียงวาอะไรจริงอะไรปลอมกันแน

เมอ่ื ธรรมชาตนิ จ้ี รงิ ขน้ึ มาลว นๆ ทใ่ี จแลว ตําราธรรมของพระพุทธเจา แมที่
เขียนเปนเศษกระดาษซ่งึ ตกอยตู ามถนนหนทางยังไมก ลาเหยียบยาํ่ เพราะนั่นเปนคํา
สอนของพระพุทธเจา เหยียบไมลง เพราะลงไดเคารพหลักใหญแลว ปลกี ยอ ยกเ็ คารพ
ไปหมด พระพุทธรูปก็ตาม จะเปน อะไรกต็ ามทเ่ี กย่ี วกบั “พุทธ ธรรม สงฆ” แลว
กราบอยา งถงึ ใจเพราะเชอ่ื หลกั ใหญแ ลว

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๒

๘๓

หลกั ใหญค อื อะไร? คอื หวั ใจเราถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ เพราะอํานาจแหงธรรมคําสั่ง
สอนของพระพุทธเจาเปนเครื่องชี้แจงแสดงบอกแนวทางใหรูทั้งเหตุและผล จงึ เคารพ
ไปหมด ดงั ทา นอาจารยม น่ั เปน ตวั อยา งในสมยั ปจ จบุ นั

ในหอ งนอนใดทถ่ี กู นมิ นตไ ปพกั ถา มหี นงั สอื ธรรมะอยตู าํ่ กวา ทา น ทานจะไม
ยอมนอนในหอ งนน้ั เลย ทา นจะยกหนงั สอื นน้ั ไวใ หส งู กวา ศรี ษะทา นเสมอ ทา นจงึ ยอม
นอน

“นี่ธรรมของพระพุทธเจา เราอยูดวยธรรม กินดวยธรรม เปนตายเรามอบกับ
ธรรม ปฏิบัติไดรูไดเห็นมากนอยเพราะธรรมของพระพุทธเจาทั้งนั้น เราจะเหยียบย่ํา
ทําลายไดอยางไร! ทานวา “เอาธรรมมาอยตู าํ่ กวา เราไดอ ยา งไร!” ทา นไมย อมนอน
ยกตวั อยา งทท่ี า นมาพกั วดั สาลวนั เปน ตน ในหอ งนน้ั มหี นงั สอื ธรรมอยู ทา นไมย อม
นอน ใหข นหนงั สอื ขน้ึ ไวท ส่ี งู หมด นแ่ี หละ! ลงเคารพละตอ งถงึ ใจทกุ อยา ง” เพราะ
ธรรมถงึ ใจ

ความเคารพ ไมวาจะฝายสมมุติไมวาอะไรทานเคารพอยางถึงใจ ถึงเรียกวา
“สดุ ยอด” กราบพระพุทธรูปก็สนิท ไมม ใี ครทจ่ี ะกราบสวยงามแนบสนทิ ยง่ิ กวา ทา น
อาจารยมนั่ ในสมยั ปจ จบุ นั น้ี เห็นประจักษดวยตากับใจเราเอง ความเคารพในอรรถใน
ธรรมก็เชนเดียวกัน แมแตรูปพระกัจจายนะ ทอ่ี ยใู นซองยาพระกจั จายนะ พอทานไดมา
“โอโห ! พระกัจจายนะเปนสาวกของพระพุทธเจาน!ี่ ทา นรบี เทยาออก เอารปู เหนบ็ ไว
เหนอื ทน่ี อนทา น ทา นกราบ “นอ่ี งคพ ระสาวก นี่รูปของทาน” นน่ั ! “มคี วามหมายแค
ไหนพระกัจจายนะ จะมาทําเปนเลนอยางนี้ไดเหรอ?” แนะ ! ฟงดูซิ

นแ่ี หละเมอ่ื ถงึ ใจแลว ถงึ ทกุ อยา ง เคารพทกุ อยา ง บรรดาสิ่งที่ควรเปนของ
เคารพทานเคารพจริง นั่น ทา นไมไ ดเ ลน เหมอื นปถุ ชุ นคนหนาหรอก เหยียบโนน
เหยยี บนเ่ี หมอื นอยา งพวกเราทง้ั หลาย เพราะไมรูนี่ คอยลบู ๆ คลาํ ๆ งูๆ ปลาๆ ไปใน
ลกั ษณะของคนตาบอดนน้ั แล ถา คนตาดีแลว ไมเ หยยี บ อนั ไหนจะเปน ขวากเปน หนาม
ไมยอมเหยียบ สิ่งใดที่จะเปนโทษเปนภัยขาดความเคารพ ทา นไมย อมทาํ นกั ปราชญ
ทา นเปน อยา งนน้ั ไมเหมอื นคนตาบอดเหยยี บดะไปเลย โดยไมคํานงึ วา ควรหรือไมค วร
(เสียงเครื่องบินดังไมหยุด ทา นเลยหยดุ เทศน)

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๓

๘๔

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๗ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘

กิเลสกดถวงจิต

โดยปกตอิ ากาศภายนอกไมรบกวนประสาท เสียงตางๆ ไมมีประสาทก็สงบไม
มกี ารกระทบกระเทือนกนั การกระทบกระเทือนเปนสาเหตุใหเกิดทุกขดานจิตใจและ
สว นรา งกาย ความสงบสงดั ภายในกไ็ มก วนใจ นอกจากเปน “คณุ ” แกใจโดยถายเดียว
ใจทีไ่ มส งบกเ็ พราะมีสิง่ รบกวนอยูเสมอ ความถกู รบกวนอยเู สมอ ถา เปน นาํ้ กต็ อ งขนุ
นาํ้ ถา ถกู กวนมากๆ ก็ขุนเปนโคลนเปนตมไปเลย จะอาบดม่ื ใชส อยอะไรกไ็ มส ะดวกทง้ั
นน้ั เพราะน้ําเปนตมเปนโคลน

จิตใจที่เปนเชนนั้นก็แสดงวา ใหประโยชนแกตนไมได ขณะทถ่ี กู รบกวนจนถงึ
เปน ตมเปน โคลนอยภู ายในจติ ใจ ตอ งแสดงความรมุ รอ นใหเจา ของไดร ับความทกุ ข
มากเอาการ ผลของมนั ทาํ ใหเ ปน ความทกุ ขค วามลาํ บาก เราจะเอาความทุกขความ
ลาํ บากนไ้ี ปใชป ระโยชนอ ะไรเลา ? เพราะความทกุ ขค วามลาํ บากภายในจติ ใจน้ี โลกกลวั
กนั ทง้ั นน้ั แลวเราจะเอาทุกขนี้ไปทําประโยชนที่ไหนได ! ไมก ลัวกับโลกผูด แี ละปราชญ
ผแู หลมคมทา นบา งหรอื ?

การแกไ ขเพอ่ื ไมใ หม อี ะไรกวนใจกค็ ือ การระวังดวยสติ ถา จติ สงบกส็ บาย เชน
เดียวกบั นาํ้ ทไี่ มม ีอะไรรบกวน ตะกอนแมจ ะมอี ยกู น็ อนกน ไปหมดเพราะนาํ้ นง่ิ ไมถ กู รบ
กวนบอ ยๆ ยอ มใสสะอาด

พระพุทธเจาผูประทานธรรมไว ทรงถอื เปน สาํ คญั อยา งยง่ิ สาํ หรบั ใจในอนั ดบั
แรก ทรงเล็งญาณดูสัตวโลกในขณะที่ตรัสรูใหมๆ ก็เล็งญาณดูจิตใจ ไมใชเล็งญาณดู
ความรูวิชา ฐานะสูงต่ํา ความมง่ั มดี จี นของสตั วโ ลกทว่ั ๆ ไปเลย แตทรงเล็งญาณดูจิตใจ
เปนสําคัญ เชน ผูควรจะไดบรรลุมรรคผลนิพพานในระยะรวดเร็ว และจะมีอันตรายมา
ทาํ ลายชวี ติ ในเวลาอนั สน้ั กม็ ี หรือผูมีอุปนิสัยที่ควรจะบรรลุมรรคผลนิพพานไดและไม
มีอันตรายก็มี เหลานี้ลวนแตทรงถือเรื่องจิตเปนสําคัญ เลง็ ญาณกเ็ ลง็ ดจู ติ ของสตั วโ ลก
วาควรจะไดบรรลุหรือไม หรือไมควรรับธรรมเลย เปนจําพวก “ปทปรมะ” คอื มดื บอด
ทง้ั กลางวนั กลางคนื ยนื เดนิ นง่ั นอน เรยี กวา “มืดแปดทิศแปดดาน” ไมม กี าลสถานท่ี
เขามาเปด เขา มาเบกิ ความมดื นน้ั ออกไดเ ลย มืดมิดปดตาอยูภายในจิตใจ ประเภทที่
เปนเชนนี้พระองคทรงทราบ และ “ชกั สะพาน” คือไมทรงสั่งสอนอะไรทั้งสิ้น ถา เปน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๔

๘๕

โรค กค็ ือโรคหมดหวัง แตหมอก็ยังตองรักษาโดยมารยาทดวยมนุษยธรรม จึงยังตอ ง
ใหอ อกซเิ จนหรอื ยาอะไรๆ ไปบางตามสมควรจนกวา จะถงึ กาล

สวนพระพุทธเจาไมทรงสั่งสอน เพราะเปนประเภทหมดหวังโดยสิ้นเชิงแลว ที่
เรยี กวา “ปทปรมะ” คอื ประเภททไ่ี มม ที างแกไ ขเยยี วยา รอเวลาความตายอยเู พยี ง
เทา นน้ั ประเภทนี้เปนประเภทที่มืดบอดที่สุด พระองคก็ทรงทราบ ทราบที่จิตใจนั้น
เองไมท ราบทอ่ี ่นื เพราะทรงมุงตอ จิตใจเปนสาํ คัญ

ศาสนาวางลงทจ่ี ติ ใจของมนษุ ยเ ปน สาํ คญั ยง่ิ กวา สง่ิ ใดในโลกน้ี
“ประเภท อุคฆฏิตัญ”ู ที่จะรูธรรมไดอยางรวดเร็ว เมื่อพระองคประทาน
ธรรมะเพียงยอๆ เทานน้ั พระองคก็ทรงทราบ และรองลงมาประเภท “วปิ จติ ญั ู” ก็
ทรงทราบ และทรงส่ังสอนธรรมะที่ควรแกอปุ นิสยั ของรายนน้ั ๆ “เนยยะ” คอื ผทู ต่ี อ ง
สง่ั สอนหลายครง้ั หลายหน คือผทู ่พี อแนะนาํ สง่ั สอนได พอจะนําไปได ฉุดลากไปได
พูดงายๆ “เนยยะ” กแ็ ปลวา พวกทจ่ี ะถไู ถไปไดน น่ั เอง พระองคก็ทรงสั่งสอน ผนู น้ั ก็
พยายามปฏบิ ตั ติ นในทางความดไี มล ดละปลอ ยวาง กย็ อ มเปน ผลสาํ เรจ็ ได
สว น “ปทปรมะ” นน่ั หมดหวงั ถงึ จะลากไปไหนกเ็ หมอื นลากคนตาย ไมมี
ความรูสกึ อะไรเลย ทัง้ ใสร ถหรอื เหาะไปในเรือบิน กค็ อื คนตายนน่ั แล ไมเกิดผล
ประโยชนอะไรในทางความดี ตลอดมรรคผลนิพพาน คนประเภทนี้เปนคนที่หมดหวัง
ทั้งๆ ที่ยังมชี ีวติ อยู ไมส นใจคดิ และบาํ เพญ็ ในเรอ่ื งบญุ บาป นรก สวรรค นพิ พาน ไม
สนใจกบั อะไรเลยขน้ึ ชอ่ื วา “อรรถ” วา “ธรรม” นอกจากตง้ั หนา ตง้ั ตาสง่ั สมบาปนรก
ใสหัวใจใหเต็มจนจะหายใจไมออก เพราะอดั แนน ดว ยเชอ้ื ไฟนรกเทา นน้ั เพราะนั่นเปน
งานของคนประเภทนั้นจะตองทํา เนอ่ื งจากใจอยเู ฉยๆ ไมได ตองคิดปรุงและทํางาน
พระองคทรงทราบหมดในบุคคลสี่จําพวกนี้ ทรงเล็งญาณดูสัตวโลกเปนประจาํ
ตาม “พุทธกิจ หา ” ซึ่งเปนกิจของพระพุทธเจาโดยเฉพาะ ในพทุ ธกจิ หา ประเภทนน้ั
มกี ารเลง็ ญาณตรวจดอู ปุ นสิ ยั ของสตั วโ ลกเปน ขอ หนง่ึ ที่พระองคทรงถือเปนกิจสําคัญ
วา ใครทข่ี อ งตาขา ยคือพระญาณของพระองค และควรเสด็จไปโปรดกอน กอ นท่ี
ภยันตรายจะมาถึงรายนั้นๆ ในไมชา ทั้งนี้หมายถึงจิตนั่นเอง เพราะฉะนั้น “จิต” จึง
เปนภาชนะสําคญั อยางย่ิงของธรรมท้งั หลาย และจติ เปน ผบู งการ “จิตเปน นาย กาย
เปน บา ว” จิตไดบงการอะไรแลว กายวาจาจะตองหมุนไปตามเรื่องของใจผูบงการ
เพราะฉะนั้นทางโลกเขาจึงสอน “นาย” หวั หนา งานเสยี กอ น สอนหวั หนา งานใหเ ขา อก
เขา ใจในงานแลว กน็ าํ ไปอบรมลกู นอ งใหด าํ เนนิ ตาม

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๕

๘๖

ฝา ย “ธรรม” เมื่อสั่งสอน “ใจ” ผูเปนหัวหนาใหเปนที่เขาใจแลว ใจก็ยึดมา
รกั ษากายวาจาของตน ใหดาํ เนนิ ไปตามรอ งรอยแหง ธรรมทีใ่ จไดรับการอบรมสงั่ สอน
มาแลว การปฏิบัติตัวกเ็ ปนไปเพือ่ ความราบรื่นชืน่ ใจ ดังนัน้ ใจผูเปนใหญเ ปนประธาน
ของกายวาจา จงึ เปนสิ่งสําคัญมากในตัวเรา พูดฟงงายก็วา แกน ของคนของสตั วท เ่ี ปน
อยูก็คอื ใจตวั รูๆ อยใู นรา งกายนน้ั แล เปนตัวแรงงานและหัวหนางานทุกประเภท ใจจึง
ควรรบั การอบรมดว ยดี

ศาสนธรรมจงึ สง่ั สอนลงทใ่ี จ ซึ่งเปนภาชนะอันเหมาะสมแกธรรมทุกขั้นทุกภูมิ
นบั แตข น้ั ตาํ่ จนถงึ ขน้ั สงู สดุ คือ “วิมุตติพระนิพพาน” ไหลลงรวมที่ใจแหงเดียว เราทุก
คนมีจิตใจ มคี วามรูอยูทุกขณะไมวา หลับตน่ื ความรูนั้นมีอยูเปนประจําไมเคย
อนั ตรธานหายไปไหนเลย เวลาหลบั สนทิ กไ็ มใ ชค นตาย ความหลบั สนทิ ผดิ กบั คนตาย
ผรู กู ร็ วู า หลบั สนทิ ตื่นขึ้นมาเราพูดไดวา “หลบั ไมย งุ กบั สง่ิ นอกๆ ใจจึงราวกับกับไมรู
อะไรในเวลาหลบั สนทิ แตค วามจรงิ นน้ั รู เวลาหลบั สนทิ กว็ า หลบั สนทิ ตื่นขึ้นมาเราพูด
ไดวา “แหม คนื นห้ี ลบั สนทิ ดเี หลอื เกนิ ” บางคนถงึ กบั พดู วา “แหม เมอ่ื คนื นน้ี อน
หลบั สนทิ เหมอื นตายเลย” มนั เหมอื นเฉย ๆ แตไมต าย “ผูร”ู อนั นเ้ี ปน อยา งนน้ั
ละเอียดถึงขนาดน้ันเทียว จะฝนหรือไมฝน พอตน่ื ขน้ึ มากพ็ ดู ไดถ า สญั ญาทาํ หนา ทใ่ี ห
คอื ความจาํ นน้ั นะ ทาํ หนา ทใ่ี ห เราก็จําไดและพูดได ถา “สญั ญา” คอื ความจาํ ไมอ าจทาํ
หนาที่ได หลงลืมไปเสียแลว เราก็นําเรื่องราวในฝนมาพูดไมได สิ่งที่เปนไปแลวนั้นก็
เปนไปแลว รูไปแลว จําไดแลว แตมันหลงลมื ไปแลว เทา นนั้ กเ็ กย่ี วกับเรื่องของความรู
คอื ใจนน่ั เอง ใจเปน เชนน้นั แล ละเอียดมาก

การนอนอยเู ฉยๆ ไมมีผรู บั รูเชน กบั คนตายแลว มนั จะไปทาํ งานทาํ การ ประสบ
พบเหน็ สง่ิ นน้ั สง่ิ น้ี เปนเรื่องเปนราวใหฝนไปไดอยางไร มันเปนเรื่องของใจทั้งนั้นที่
แสดงตัวออกไปรูเรื่องตางๆ ใหเราจําไดในขณะที่ฝนและตื่นขึ้นมา “วนั นฝ้ี น เรอ่ื งนน้ั
เรื่องนี้ แตจติ ทล่ี งสภู วงั คแ หง ความหลบั สนทิ อยา งเตม็ ทแ่ี ลว กไ็ มม ฝี น ชอ่ื วา “เขาสู
ภวงั คแ หง ความหลบั สนทิ ” คอื ภวงั คแ หงความหลบั สนทิ ทางจิตเปนอยางนี้ ถา คน
หลบั สนทิ กช็ อ่ื วา ใจเขา สภู วงั คค วามหลบั สนทิ อยางเต็มท่ี ก็ไมมีฝนอะไร ต่ืนขึ้นมาราง
กายกม็ กี าํ ลงั จิตใจก็สดใส ไมม คี วามทกุ ขค วามรอ นอะไร กาํ ลงั ใจกด็ ี ผดิ กบั การหลบั
ไมสนิท ปรากฏเปน นมิ ติ ในฝน โนน นอ่ี ยา งเหน็ ไดช ดั

เวลาหลับไปแลวฝนไปตางๆ นั่นคือจิตไมไดเ ขาสภู วงั คแหง ความหลับสนิท จิต
ออกเทย่ี ว เรๆ รอ นๆ ไป ปกตขิ องใจแลว หลบั กร็ ู คาํ วา “หลบั กร็ ”ู เปนความรใู น
หลบั โดยเฉพาะ สตปิ ญ ญาไมเ ขา เกย่ี วขอ งในเวลานน้ั รูอยูโดยธรรมชาติ ไมเหมือน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๖

๘๗

เวลาตน่ื แตเ วลาต่ืนแลว สตปิ ญ ญามโี อกาสเขา ไปเกย่ี วขอ งไดท กุ ระยะ ถา มสี ติ
คอยตามทราบความรอู นั นน้ั โดยลาํ ดบั ใจจะแย็บไปรูสิ่งใดก็ทราบ คนมสี ตดิ ยี อ ม
ทราบทกุ ขณะจติ ทเ่ี คลอ่ื นไหว ไปรูเรื่องอะไรบาง หากไมม สี ติ มแี ตค วามรกู ไ็ มท ราบ
ความหมายวามนั รเู ร่อื งอะไรบา ง ความไมมสี ติเปนเครือ่ งกาํ กับรักษาใจ จึงไมคอยได
เรื่องอะไร ดังคนบา นน่ั เขาไมม สี ติ มแี ตค วามรคู อื ใจ กบั ความมดื บอดแหง โมหะ
อวชิ ชาหมุ หอ โดยถายเดียว คิดจะไปไหนทําอะไร ก็ทําไปตามประสีประสาของคนไมมี
สตปิ ญ ญารับผดิ ชอบวา ถกู หรือผดิ ประการใด ไมใชคนที่เปนบานั้นเปนคนตาย เขาเปน
คนมีใจครองราง เขารเู หมอื นกนั เปนแตเพียงเขาไมรูดีรูชั่ว ไมรูผิดรูถูกอะไรเทานั้น
เปนเพียงรูเฉยๆ คดิ อยากไปอยากมาอยากอยู อยากทาํ อะไรกท็ าํ ไปตามความอยาก
ประสาคนบา ทไ่ี มม สี ตปิ ญ ญารบั ผดิ ชอบตวั เอง

นแ่ี หละความรมู นั เปน อยา งนน้ั จิตมนั เปน อยา งนน้ั ถา ไมม สี ตริ กั ษาแลว จะไมรู
เรื่องดีเรื่องชั่ว เรื่องผิดเรื่องถูกอะไรเลย ไมมกี ารใครครวญเหตผุ ลตน ปลายลึกตนื้
หยาบละเอียดอะไรไดเลย ถาไมมสี ตปิ ญญาแฝงอยใู นนั้น เพียงความรูโดยลําพังก็เปน
อยา งทีว่ า นัน้ แหละ ยอ มกลายเปน คนบา คนบอไปไดอ ยา งงา ยดาย

พอมสี ตขิ น้ึ มาคนบา กค็ อ ยหายบา เพราะมีสตริ ับทราบวา ผิดหรือถกู ตา ง ๆ
ความรทู ว่ี า นไ้ี มใ ชค วามรทู บ่ี รสิ ทุ ธ์ิ เปนความรูของสามัญชนธรรมดา และยังลดลงไป
จากความรขู องสามญั ชนตรงทไ่ี มม สี ตคิ อยกาํ กบั รกั ษา จึงไดเปนความรูประเภท
บา ๆ บอๆ คือไมมีสติปญญาปกครองตน ไมมีอะไรรับผิดชอบเลย มีแตความรูโดย
ลาํ พงั จึงเปนเชนนั้น

ถา มสี ตสิ ตงั เปน เครอ่ื งกาํ กบั รกั ษาอยแู ลว ความรูนั้นจะเปนอยางนั้นไมได
เพราะมผี คู อยกระซิบและชกั จงู มีผูคอยเรงคอยรั้งอยูเสมอ เหมือนกับรถที่มีทั้งคันเรง
มีทั้งเบรกมีทั้งพวงมาลัย จะหมุนไปทางไหนก็ไดดวยสติดวยปญญาของคนขับ ทค่ี วบ
คุมจิตและรถอยูตลอดเวลา

สว นจติ ของทา นผถู งึ ความหลดุ พน แลว นน้ั ไมใ ชจ ติ ประเภทน!้ี ความรเู ฉยๆ
ทว่ี า มกี เิ ลสแฝงนน้ั ทา นกไ็ มม ี เปนความรทู ่บี ริสุทธิ์ลวนๆ จะวาทานมีสติหรือไมมีสติ
ทา นกไ็ มเ สกสรร ทา นไมม คี วามสาํ คญั มน่ั หมายตามสมมตุ ใิ ดๆ หลกั ใหญก ค็ อื
ความบรสิ ทุ ธล์ิ ว นๆ เทา น้ัน ซึ่งไมมีปญหาใดๆ เขาไปแทรกซึมเลย ทา นเปน คนพน
สมมตุ หิ รอื นอกสมมตุ แิ ลว คาํ วา “ไมมีสติหรือขาดสต”ิ จึงไมเกี่ยวของกับจิตดวงนั้น
ใชเ พยี งในวงสมมตุ พิ อถงึ กาลเทา นน้ั

จิตของสามัญชนตองอาศัยสติปญญาเปนเครื่องรักษา จงึ จะเปนไปในทางที่ถูกที่
ควรในกริ ยิ าอาการทแ่ี สดงออก กริ ยิ าทา ทางนน้ั ๆ ถา มสี ตปิ ญ ญาคอยควบคมุ อยกู น็ า ดู

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๗

๘๘

สวยงาม การพูดการกระทําก็รูจักผิดรูจักถูก รูจักควรหรือไมควร รจู กั สงู รจู ักตํ่า การพูด
จาก็มีเหตุมีผล ทําอะไรก็มีเหตุมีผล หลกั ใหญจ งึ ขน้ึ อยกู บั สตแิ ละปญ ญาเปน สาํ คญั
ในตวั คน

เรานบั ถอื พระพทุ ธศาสนา เราเปนชาวพุทธ คาํ วา “พุทธะ” หมายความวา อะไร
ทว่ี า “พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เปนพุทธอันเลิศโลก คอื พทุ ธะทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ พุทธะที่ประเสริฐ
เราถือทานเปนผูประเสริฐ นอ มทา นผปู ระเสริฐเขา มาไวเ ปน หลกั ใจ มาเปนเครื่องยึด
เครื่องพึ่งพิงอาศัย เราจงึ ควรระลกึ ถงึ ความรขู องเราอยเู สมอวา ขณะใดสตสิ ตงั ไม
บกพรอ งไปไมม ี เวลานัน้ เราขาดสรณะ ขณะที่เราขาดสติประจําผูรูคือใจ แมความโกรธ
ก็โกรธมาก เวลาฉนุ เฉยี วกฉ็ นุ เฉยี วมาก เวลารกั กร็ กั มาก เวลาชังชังมากเกลียดมาก
เพราะความไมมีสติรั้ง ถา มสี ตริ ง้ั ไวบ า ง ก็พอใหท ราบโทษของมนั และพอยับย้งั ตัวได
ไมรุนแรง

วนั หนง่ึ ๆ ถา มศี าสนาอยภู ายในใจ จะประกอบหนา ทก่ี ารงานอะไร ก็ราบรื่นดี
งามและเต็มเม็ดเต็มหนายไมคอยผิดพลาด เมอ่ื เร่ืองราวเกดิ ขนึ้ ภายในใจ ก็มีสติปญญา
รบั ทราบและกลน่ั กรองพนิ จิ พจิ ารณา พอใหท ราบทางถกู และผดิ ได และพยายามแกไ ข
ดัดแปลงพอเอาตัวรอดไปได

พูดตามความจริงแลว ธรรมะของพระพุทธเจาไมใชเปนสิ่งที่จะทําคนใหเสียหาย
ลมจม แตเ ปนสิง่ ที่ฉดุ ลากคนใหข ้ึนจากหลม ลกึ ไดโดยไมสงสัย เมื่อมีอุปสรรคหรือเกิด
ความทกุ ขค วามลาํ บากประการใด ธรรมะยอ มชว ยโดยทางสตปิ ญ ญาเปน สาํ คญั เพราะ
พระพทุ ธเจา มไิ ดท รงสอนใหค นจนตรอกจนมมุ แตส อนใหม คี วามฉลาดเอาตวั รอดได
โดยลําดับของกําลังสติปญญา ศรทั ธา ความเพยี ร

จติ เปน รากฐานสําคญั ในชีวิต กรณุ าพากนั ทราบอยา งถงึ ใจ ความรูที่มีประจําตัว
เรานี้แล แมจะจับตองความรูไมไดเหมือนวัตถุตางๆ กต็ าม กค็ อื ความรอู นั นแ้ี ลทเ่ี ปน
รากฐานแหง ชวี ติ และเปน “นกั ทองเทย่ี ว” ในวฏั สงสาร จะเคยเปน มานานขนาด
ไหนกค็ อื ผนู ้ี จะสน้ิ สดุ วมิ ตุ ตติ ดั เรอ่ื งความสมมตุ คิ อื เกดิ ตายทง้ั หมดออกได ก็
เพราะจติ ดวงนไ้ี ดร บั การอบรมและซกั ฟอกสง่ิ ทเ่ี ปน ภยั อนั เปน เหตใุ หเ กดิ ใหต ายอยู
ภายในออกไดโ ดยไมเ หลอื จงึ หมดเหตหุ มดปจ จยั สบื ตอ กอ แขนงโดยสน้ิ เชงิ ทีนี้คํา
วา “ใจ เปน นกั ทอ งเทย่ี ว”ก็ยุติลงทันที

เวลาทม่ี กี เิ ลสอยภู ายในใจ ไมว า ใครตอ งเตรยี มพรอ มอยเู สมอทจ่ี ะไปเกดิ ใน
ภพนอยภพใหญไมมีประมาณ เมอ่ื ตา งทราบอยแู กใ จเชน น้ี จงึ ควรทําความระมดั ระวงั
และศึกษาปฏบิ ตั ิตอ เรือ่ งของจติ ใหเ พียงพอ ในการดาํ เนนิ ใหถ กู ตอ งตามหลกั ของ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๘

๘๙

พระพุทธศาสนาอยางแทจริง นอกจากนั้นยังจะนําอรรถธรรมนี้ไปใชเปนประโยชนแก
สงั คมอยา งกวา งขวาง ตามกาํ ลงั ความสามารถของตนอกี ดว ย

ศาสนธรรมเปนเครื่องสงเสริม เปนเคร่อื งพยุงโลกใหม ีความสงบรม เยน็ ไมใช
เปน เครอ่ื งกดถว ง ดงั ทค่ี นจาํ นวนมากเขาใจกนั วา “ศาสนาเปน เครอ่ื งกดถว งความ
เจริญของโลก” ความจรงิ กค็ อื ผทู ว่ี า นน้ั เองเปน ผกู ดถว งตวั เอง และกดถว งกดี ขวาง
ความเจรญิ ของโลก ไมใ ชผ ถู อื ศาสนาและปฏบิ ตั ศิ าสนา เพราะพระพุทธเจาไมใชผูกด
ถว งโลก! ธรรมไมใ ชธ รรมกดถว งโลก พระสงฆสาวกอรหันตไมไดเปนผูกดถวงโลก
ทา นไมเ ปน ภยั ตอ โลกเหมอื นคนไมม ศี าสนา ซง่ึ กาํ ลงั เปน ภยั ตอ โลกอยเู วลาน้ี ศาสน
ธรรมจะสิ้นสูญไปจากโลก ก็เพราะคนประเภทไมมีศาสนาเปนผูทําลาย

เมื่อพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ไมเปนภัยตอโลกแลว จะวาเปนสิ่งที่โลก
นา กลวั ไดอ ยา งไร และจะกดถวงโลกจะทําความทุกขรอนใหแกโลกไดอยางไร? ขอ
สาํ คญั กค็ วามคดิ เชน นน้ั ของบคุ คลผนู น้ั แลคอื ความเปน ภยั แท ผทู ห่ี ลงผดิ คดิ เชน
นน้ั คนนน้ั คอื ผเู ปน ภยั แกต นและสว นรวมแทไ มอ าจสงสยั

การเชอ่ื ถอื ในคาํ ของบคุ คลทเ่ี ปน ภยั นน้ั ยอ มจะมคี วามเสียหายแกผ อู ่ืนไมม ี
ประมาณ เพราะระบาดไปเรื่อยๆ นั้นแลคือภัยแททเี่ หน็ ไดอ ยางชดั เจน

สว นศาสนธรรมมไิ ดเปน ภัย ถาธรรมเปนภัยแลว พระพุทธเจา วิเศษไดอยางไร
ถา ธรรมเปนภยั พระพุทธเจา กต็ องเปนภัยตอ พระองคแ ละตอโลก แมพระสงฆก็ตอง
เปน ภยั อยา งแยกไมอ อก เพราะสามรตั นะนเ้ี กย่ี วโยงกนั อยา งสนทิ แตน ีไ่ มป รากฏ
ปรากฏแตวาพระพุทธเจา พระสาวก เสด็จไปที่ใด ประทานธรรม ณ ที่ใด สัตวโลกมี
ความรมเย็นเปนสุขโดยทั่วกัน ไมมีใครเบื่อหนายเกลียดชังทาน หากจะมกี ค็ อื ผเู ปน
ขา ศกึ แกพ ระศาสนาและแกป ระชาชนเทา นน้ั

สว นมากท่ีประจักษในเร่ืองความเปน ภัยนัน้ เหน็ ๆ กนั แตคนไมมีธรรมในใจนั้น
แล เปน ภยั ทง้ั แกต นและแกส ว นรวม เพราะสติปญญาเครื่องระลึกรูบุญบาปไมมี คณุ คา
ของใจไมมี ถกู ความเสกสรรทางวตั ถุทบั ถมจนมองไมเห็น การแสดงออกจึงรกั กเ็ ปน ภยั
เกลยี ดกเ็ ปน ภยั โกรธกเ็ ปนภัย ชังก็เปนภัย อะไรๆ เปนภัยหมดเพราะจิตเปนตัวภัย
ดว ย.“ราคคคฺ นิ า โทสคฺคินา โมหคคฺ นิ า” ผนู แ้ี ลคอื ผเู ปน ภยั เพราะกเิ ลสตวั ทบั ถม
เหลา นพ้ี าใหเ ปน ภยั

ศาสนธรรมซ่ึงเปน เครื่องแกสง่ิ ทเี่ ปนภัยทั้งหลายโดยตรงอยแู ลว เมื่อเปนเชน
นน้ั จะเปน ภยั ไดอ ยา งไร หากเปน ภยั แลว จะแกส ง่ิ ไมด เี หลา นน้ั ไดอ ยา งไร

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๙

๙๐

พระพุทธเจาทรงแกสิ่งเหลานี้ไดแลวโดยสิ้นเชิง ไมมีเหลืออยูเลยในพระทัยขึ้น
ชอ่ื วา ภยั ดงั ทก่ี ลา วมา จนเปน ผบู รสิ ทุ ธว์ิ มิ ตุ ตพิ ทุ โธทง้ั ดวง จึงเรียกวาเปน “ผูเลิศ” “ผู
ประเสริฐ”

พระธรรมของพระองคก เ็ หมอื นกนั “ธมฺโม ปทีโป” เปนธรรม “กระจางแจง
ภายในจติ ”

สังโฆเปนผูทรงไวซึ่งความสวางกระจางแจงแหงธรรมทั้งดวง ดว ยความ
บริสุทธิ์วิมุตติหลุดพน นาํ ศาสนธรรมทป่ี ราศจากภยั มาสอนโลก

ทําไมศาสนธรรมจะเปนเคร่อื งกดถว งโลกและเปนภัยตอ โลก นอกจากผสู าํ คญั
วา ศาสนาเปน ภยั นน้ั แลเปน ตวั ภยั แกต วั และสงั คม เพราะความสาํ คญั เชน นเ้ี ปน ความ
สาํ คญั ผดิ !

อะไรทพ่ี าใหผ ดิ ? กค็ อื หวั ใจทเ่ี ปน บอ เกดิ แหง ความคดิ นน้ั แล เปนตนเหตุแหง
ความผิดหรือเปนผูผิด การแสดงออกมานน้ั จึงเปน ความผดิ หากไมเปนความผิดเรา
ลองนําความคิดเชนนไี้ ปใชในโลกดซู ิ โลกไหนจะไมรอนเปนฟนเปนไฟไมมี แมตัวเองก็
ยังรอน

หากนาํ ศาสนาไปสอนโลกตามหลกั ทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนและไดท รงบาํ เพญ็
มาแลวจนไดตรัสรู โลกจะเปนภัย โลกจะเดือดรอนไดอยางไร? โลกวนุ วายมนั ถงึ เกดิ
ความทกุ ขค วามรอ น พระพุทธเจาไมไดทรงสอนใหวุนวาย แตส อนใหม คี วามสงบรม
เย็น ใหเ หน็ อกเหน็ ใจกนั ใหร จู กั รกั กนั สามคั คกี ลมกลนื เปน นาํ้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั เสมอ
ใหรูจักเหตุจักผล รูจักเขารูจักเรา เพราะโลกอยดู ว ยกนั ไมใ ชอ ยคู นหนง่ึ คนเดยี ว อยู
ดวยกนั เปนหมูเปนคณะ ตั้งเปนบานเปนครอบครัว เปน ตาํ บลหมบู า น เปนอําเภอเปน
จงั หวัด เปนมณฑลหรือเปนภาค เปนเขตเปนประเทศ ทั้งประเทศนั้นประเทศนี้ ลว น
แตห มชู นทรี่ วมกันอยูท ง้ั น้นั ซ่งึ ควรจะเห็นคณุ คาของกันและกนั และของการอยรู ว มกนั
ดวยธรรม มีเมตตากรุณาธรรม เปน มาตรฐานของการอยรู ว มกันของคนหมูม าก

คนทอ่ี ยดู ว ยกนั ไมเ หน็ อกเหน็ ใจกนั มแี ตค วามเบยี ดเบยี นทาํ ลายกนั มแี ตค วาม
คบั แคบเหน็ แกต วั จดั ยอ มเปน การทาํ ลายคนอน่ื เพราะความเห็นแกตัว แมไ มท าํ ลาย
อยา งเปด เผยกค็ อื การทาํ ลายอยนู น่ั แล จึงทาํ ใหเกดิ ความกระทบกระเทือนกันอยูเ สมอ
ในสังคมมนุษย ขน้ึ ชอ่ื วา “คนคบั แคบ เห็นแกตัวจัด” จะไมท าํ ใหค นอน่ื เดอื ดรอ นฉบิ
หายนนั้ ไมม ี! ไมว า ที่ใดถามีคนประเภทน้แี ฝงอยูดวย สังคมยอมเดือดรอนทุกสถานที่
ไป เพราะคนประเภทนี้เคยเปนภัยแกสังคมมามาก และนานจนประมาณไมได สังคมจึง
รงั เกยี จกนั เร่ือยมาจนปจ จบุ ันน้ี

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๐

๙๑

ทธ่ี รรมทา นสอนไมใ หเ บยี ดเบยี นกนั กเ็ พราะหวั ใจมนษุ ยม คี ณุ คา ดว ยกนั
ตลอดสมบัตแิ ตละส่งิ ละอยางซ่งึ อยูในครอบครอง ดวยเปนของมีคุณคาทางจติ ใจอยู
มาก จงึ ไมค วรทําจิตใจกันใหกาํ เรบิ เพราะใจของใครๆ ก็ตองการอิสรภาพเชนเดียวกัน
ไมป ระสงคค วามถกู กดขบ่ี งั คบั ดว ยอาการใดๆ ซง่ึ ลว นเปน การทาํ ลายจติ ใจกนั ใหก าํ เรบิ
อันเปนสาเหตุใหกอกรรมกอเวรไมมีที่สิ้นสุดยุติลงได เพียงสัตวเขายังกลัวตาย เขายงั
กลวั ความเบยี ดเบยี นการทาํ ลาย

มนษุ ยอ ยดู ว ยกนั ไมก ลวั การเบยี ดเบยี น ไมก ลวั การทาํ ลาย ไมก ลวั การเอารดั เอา
เปรียบกัน ไมก ลวั การดถู กู เหยยี ดหยามกนั จะมีไดหรือ! ส่งิ เหลา นใี้ ครก็ไมป รารถนา
กันทั้งโลก

การทท่ี าํ ใหเ กดิ ความกระทบกระเทอื นซง่ึ กนั และกนั จนโลกหาความสงบไมได
เปนฟนเปนไฟอยูตลอดเวลามาจนกระทั่งปจจุบันนี้ และจะเปนไปโดยลําดับไมมีที่สิ้น
สดุ เพราะอะไรเปนเหตุ ถาไมใชเพราะความเห็นแกตัว อันเปนเรื่องของกิเลสตัว
สกปรกตวั หยาบๆ นี้จะเปนเพราะอะไร

ความผดิ ถกู ดชี ว่ั ตา งๆ พระพุทธเจาทานทรงสอนไวหมด ทานมีพระเมตตา
กรณุ าสดุ สว นแกม วลสตั วท กุ ประเภทแมป รมาณู กไ็ มใ หเ บยี ดเบยี นทาํ ลายกนั เพราะมี
กรรม มีวิบากแหงกรรม อยา งเตม็ ตวั ดว ยกนั อยูดวยกรรมไปดวยกรรม สุขทุกขด วย
กรรมเหมอื นกนั ควรนบั ถอื กนั เปน ความเสมอภาค ดังในธรรมวา

“สตั วทั้งหลายที่เปน เพือ่ นทกุ ขเกดิ แกเ จบ็ ตายดว ยกัน ไมใ หเ บยี ดเบยี นทาํ ลาย
กนั ” เปนตน

เมือ่ ตางคนตางเหน็ ความสําคญั ของชวี ติ จติ ใจ และสมบตั ขิ องกนั และกนั เชน น้ี
ยอ มไมเ บยี ดเบยี นกนั เพราะทํากันไมลง เมอ่ื ตา งคนตา งมคี วามรสู กึ อยา งนแ้ี ลว โลกก็
เย็น อยดู ว ยกนั อยา งผาสกุ มกี ารยอมรับผดิ รับถกู มหี ลกั ธรรมเปน กฎเกณฑ ตางคน
ตางระมัดระวัง ไมห าเรอ่ื งหลบหลกี ปลกี กฎหมายและศลี ธรรมกนั เปน หลักปกครองให
เกิดความรมเย็นผาสุก

เชนไมยอมรับความจริงดังที่เปนอยูเวลานี้ และท่เี คยเปน เรือ่ ยมาจนกระท่งั
ปจ จบุ นั ไมม ีใครกลา เปน กลา ตายตดั หวั ธรรม ดวยการยอมรบั ความจริง แมไปฉกไป
ลกั เขามาหยกๆ เวลาถกู จบั ตวั ไดก แ็ กต วั วา “เขาหาวา ” คนเราถา รบั ความจรงิ แลว จะ
วา “เขาหาวา ....” ไปทําไม! ขายตัวเปลาๆ ! แมคนติดคุกติดตะรางลองไปถามดูซิวา
“นี่เปนอะไรถึงตองมาติดคุกติดตะรางละ?” ตอ งไดรบั คาํ ตอบวา “เขาหาวา ผมลกั
ควาย” เปนตน เมอ่ื ถามกลบั วา “เราไมไดลักควายของเขาจริงๆ หรือ?” “ลักจริงๆ”

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๑

๙๒

แนะ ! ลกั จรงิ ๆ ทาํ ไมบอก “เขาหาวา ....” ทั้งนี้เพราะไมยอมรับความจริง เนื่องจาก
ความเหน็ แกต วั กลัวเสียเกียรติ ขายขห้ี นา วา เปน คนเลวทรามหยามเหยยี ด อายเพอ่ื น
มนุษยน่นั แล แตการพูดโกหกไมยอมรับความจริงซึ่งเปนความผิดสองซ้ํานั้น ไมพึง
เฉลยี วใจและอายบา ง ความเปนมนุษยผูดีจะไดมีทางกระเตื้องขึ้นมาบาง

เหลาน้เี ปน เร่ืองของกเิ ลสความเหน็ แกตวั เห็นแกได จึงทาํ ใหหมดยางอายโดย
สิ้นเชิง สิ่งเหลานี้เปนของสกปรกเลวทรามในวงผูดีมีศีลธรรมในใจ สง่ิ เหลา นเ้ี ปน สง่ิ
กดถว ง เปน สิ่งทําลายจิตใจและทําลายสมบัตขิ องเพ่ือนมนุษยด ว ยกนั สงิ่ สกปรกรก
รุงรังเหลานี้ ผมู จี ติ ใจใฝต าํ่ ชอบมนั อยา งยง่ิ ทั้งที่มันใหโทษมากไมมีประมาณ มีมากมี
นอยก็ทําความกระทบกระเทอื น และทาํ ความฉบิ หายแกผ อู น่ื ไมส งสยั

จงึ ขอตง้ั ปญ หาถามตวั เองเพอ่ื เปน ขอ คดิ วา “เหลา นห้ี รอื ทว่ี า โลกเจรญิ ?”
เจริญดวยสิ่งเหลานี้หรือ? อนั นห้ี รอื ทเ่ี รยี กวา “เชดิ ชูกนั และกนั และเชิดชูโลกให
เจริญ?”

คาํ ตอบ “จะเชิดชูโลกอยางไร เวลานโ้ี ลกกาํ ลงั รอ นเปนฟนเปนไฟ ยงั ไมท ราบ
วา มนั กดถว งอยหู รอื ? นน่ั ! สว นศาสนามบี ทใดบาทใดทส่ี อนใหโ ลกเบยี ดเบยี นกนั ให
เกดิ ความเดอื ดรอ นวนุ วายแกก นั เพียงสังเกตตามความรูสึกธรรมดาก็ไมปรากฏเลย”

ทนี ท้ี าํ “โอปนยิโก” นอ มขา งนอกเขา มาขา งในเพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชน ไมเ สยี หาย
ไปเปลา” การแสดงธรรมมีทั้งขางนอกขางใน ขอ สาํ คญั กใ็ หน อ มเขา มาเปน สาระสาํ หรับ
เรา

การแสดงนน้ั กเ็ พอ่ื แยกขา งนอกใหด เู สยี กอ น แลว ยอ นเขา มาขา งใน เวลานข้ี า ง
ในของเราเปนอยางไรบาง? “สวสั ดมี ชี ัยอยูห รอื เปน ประการใดบา ง?” “เวลานก้ี เิ ลส
ประเภทตางๆ ทเ่ี ปน เจา อาํ นาจกดถว งจติ ใจเรามบี า งไหม? โลกแหงขันธ และระหวา ง
ขนั ธก บั จติ สวสั ดมี ชี ยั อยหู รอื ? ไมกดถวงใจของผูเปนเจาของขันธหรือ?

จงดูใหดีดวยสติ พิจารณาดวยปญญาอยางรอบคอบ ขณะใดที่สติปญญา
ประลาตไปจากใจ ขณะน้ันแลเราไดร บั ความทกุ ขความเดอื ดรอ น เพราะถูกกดถวงย่ํายี
โดยอาการตางๆ ของกเิ ลสทง้ั หลาย ขณะใดมีสติปญญารักษาใจไมเผลอตัว แมสติ
ปญ ญาจะยงั ไมเ พยี งพอกบั ความตา นทาน หรอื ปราบปรามสิง่ เหลา นน้ั ใหห มดไป เราก็
ยังพอยับยั้งได ไมท ุกขถ ึงขนาด หรือไมทุกขเสียจนเต็มเปา ยงั พอลดหยอ นผอ นเบากนั
บา ง ยิ่งมีสติปญญาพอตัวแลว ไมมีกิเลสตัวใดที่จะมาเปนขาศึกตอใจไดเลย! พอขยบั
ตวั ออกมากถ็ กู ปราบเรยี บในขณะนน้ั

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๒

๙๓

นี้แลผูมีธรรมครองใจเปนอยางนี้ ใจเปน อิสระเพราะธรรมครองใจ ใจมคี วาม
สงบสุขไดเพราะการรักษาใจดวยธรรม ตลอดถึงความหลุดพนจากความกดถวงทั้ง
หลายโดยประการทั้งปวง ก็เพราะการปฏิบัติธรรม เพราะรูธรรม เพราะเห็นธรรม
ประจักษใจไมสงสัย ลบู ๆ คลาํ ๆ ดังที่เคยเปนมาในขั้นเริ่มแรก

ธรรมอยใู นสถานทใ่ี ด ตอ งเยน็ ในสถานทน่ี น้ั ธรรมอยูที่ใจ ใจยอมชุมเย็นผาสุก
ทกุ อริ ยิ าบถไมม สี ง่ิ รบกวน เมอ่ื จติ กา วเขา ถงึ ขน้ั ธรรมเปน ใจ ใจเปนธรรม ยง่ิ เยน็ ไม
มกี าลสถานทเ่ี ขา มาเกย่ี วขอ งเลย เย็นเต็มที่เต็มฐาน กค็ ือใจเปน ธรรม ธรรมเปนใจ นน่ั
แล

เราคิดดูซิ ธรรมบทใดแงใ ดทท่ี าํ ความกดถว ง ทาํ โลกใหม คี วามทกุ ขค วามเดอื ด
รอ น ไมป รากฏแมแ ตนิดหน่งึ ! การทาํ ใหเ ราและโลกเดอื ดรอ นวนุ วายระสาํ่ ระสายจน
แทบไมมีที่ปลงวาง ก็เพราะมันมีแตเรื่องของกิเลสทั้งนั้นเปนเจาการ!

ผูปฏิบัติทั้งหลายที่มีสติปญญาประคองตัว กเิ ลสแสดงออกมามากนอ ยยอ ม
ทราบทันที และเรม่ิ แกไ ขถอดถอนไมน อนใจ จนไมม อี ะไรแสดงแลว กอ็ ยูเปน สขุ ดงั
ปราชญวา “ฆา กเิ ลสไดแ ลว อยเู ปน สขุ ” ถา พลกิ กลบั กว็ า “ฆากิเลสไมไดยอมเปนทุกข
ทั้งอยูทั้งไป ทั้งเปนทั้งตาย!” ฉะนัน้ พวกเราตอ งสรางสตปิ ญ ญาใหดี เพื่อตอสูกิเลสที่มี
อยภู ายในตวั จงระวงั อยา ใหม นั กลอ มเสยี หลบั ทง้ั คนื ทง้ั วนั ทง้ั ยนื เดนิ นง่ั นอน ใหม เี วลา
ตน่ื บา ง ใหม เี วลาตอ สกู บั เขาบา ง ถา มกี ารตอ สกู นั คาํ วา “แพ ชนะ” ก็จะปรากฏขึ้นมา
ไมหมอบราบเสียทีเดียว เพราะไมมีการตอสู มีแตหมอบราบ และเชื่อมันไปหมด กเิ ลส
วายังไงเชื่อไปหมด หากมกี ารตอ สบู า ง กม็ แี พม ชี นะสบั ปนกนั ไป ตอ ไปกช็ นะเรอ่ื ยๆ
ชนะไปเรื่อยๆ และชนะไปเลย ใจเปนอิสระเต็มภูม!ิ

นอ่ี าํ นาจแหง ศาสนธรรมทผ่ี นู าํ มาปฏบิ ตั เิ ปน อยา งน!้ี เปนที่เชื่อใจ เปน ทแ่ี นใ จ
ได ไมมีอะไรที่จะแนใจไดยิ่งกวาศาสนธรรม ถา เราปฏบิ ัติเต็มกําลงั ความสามารถเราก็
เชื่อใจเราได เมื่อบรรลุถึงขั้น “จิตบรสิ ุทธิ์” แลว กแ็ นน อนตลอดเวลาไมส งสยั ไมอ ยาก
ไมหวิ โหยกับอะไรทง้ั นัน้ ไมอ ยากรไู มอ ยากเหน็ ไมอ ยากศกึ ษากบั ใครๆ วานาจะเปน
อยา งนน้ั นา จะเปนอยางนี้ อยากรนู น้ั อยากรนู ้ี เพอ่ื นน้ั เพอ่ื นอ้ี กี ตอ ไป!

รทู กุ สง่ิ ทกุ อยา งอยภู ายในใจ เมื่อเต็มภูมิความรูความเห็นแลว กไ็ มอ ยากไมห วิ
โหย ไมม อี ะไรรบกวนใจกแ็ สนสบาย ขอใหพากันนําธรรมนี้ไปปฏิบัติรักษาตน อยสู ถาน
ที่ใดไปสถานที่ใดจงทราบเสมอวา ความผดิ ถกู ชว่ั ดนี น้ั อยกู บั เรา การละวางในสง่ิ ทค่ี วร
ละวาง และการสงเสริมสิ่งที่ควรสงเสริม ก็อยูที่ตัวของเรา ไปไหนใหม วี ดั อยา ให
ปราศจากวดั อยา งทา นอาจารยฝ น ทา นเคยวา “วดั ทน่ี น่ั วดั ทน่ี ่ี วดั อยภู ายในใจ”

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๓

๙๔

ทา นพดู ถกู ใหมีวัดอยูภายในจิตใจเสมอ คอื “วตั รปฏบิ ตั ิ” มีสติ ปญญา
ศรทั ธา ความเพียร ใครควรดูเหตุดูผลอยูเสมอ เวลานั่งรถไปกภ็ าวนาไปเรื่อยๆ ใครจะ
วา บา วา บอกต็ าม ขอ สาํ คญั ผรู บั ผดิ ชอบเรานค้ี อื เราเอง อยา เปน บา ไปกบั เขากแ็ ลว กนั
ถาเราไมเปนบาเสียอยางเดียว คนเปนรอยๆ คนจะมาตเิ ตยี นหรอื กลา วตวู า เราเปน บา
เปน บอ คนรอยๆ คนนน้ั นะ มนั เปน บา กนั ทง้ั นน้ั แหละ! เราไมเปนบาเสียคนเดียวเราก็
สบาย

นแ่ี หละเปน คตหิ รอื อดุ มการณอ นั สาํ คญั ฟงแลวจงพากันนําไปประพฤติปฏิบัติ
เวลาถูกใครวาอะไรก็ใหคํานึงถึงพระพุทธเจา อยา ไปโกรธไปเกรย้ี วใหเ ขา ความโกรธให
เขาก็คือไฟเผาตัว ความไมพอใจใหเขาก็คือไฟเผาตัวไมใชเผาที่ไหน มนั เผาทน่ี ก่ี อ นมนั
ถงึ ไปเผาทอ่ี น่ื ใหร ะมัดระวงั ไฟกองนอ้ี ยา ใหเกดิ !

เราจะไป “สคุ โต” นั่งรถนั่งราไปก็สุคโตเรื่อยไป นง่ั ในบา นกส็ คุ โต อยกู ส็ บาย
อยทู ไ่ี หนกส็ บาย เวลาตายกเ็ ปน สขุ ไมว นุ หนา วนุ หลงั ดน้ิ พลา นอยรู าวกบั ลงิ ถกู ลกู ศร
ซึ่งดูไมไดเลยในวงปฏิบัติ

ฉะน้ันจงระวังไวแตบัดนี้ ปฏิบัติใหเต็มภูมิแตบัดน!ี้ คําวา “อาชาไนย” หรือ
“ราชสหี ” จะเปนใจของเราผูปฏบิ ัตเิ สยี เอง!

เอาละ การแสดงธรรมก็พอสมควร!

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๔


Click to View FlipBook Version