๔๘๘
พระพทุ ธศาสนาแลว เปนผูพรอมดวยความเพียรทั้งนั้น เพราะฉะนั้นความเพียรจึงเปน
ธรรมสําคัญมาก ที่จะยกฐานะของจิตใจบุคคลใหขึ้นสูระดับสูงโดยลําดับ
สรปุ ความแลว เรยี กวา ธรรมหาประการ คือ “ศรัทธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญ ญา”
นี้แหละสามารถยกจิตใจแมจะลมจมลงขนาดไหนก็ตาม ถาไดยกธรรมท้งั หา นม้ี าเปน
เครื่องพยุงแลว ตองดีดขึ้นมาโดยลําดับ จนถึงความพนทุกขไดโดยไมสงสัย
อทิ ธบิ าททั้งส่ีก็พึงทราบวาเปนธรรมเกี่ยวโยงกัน นี่แหละธรรมที่จะยกฐานะของ
จิตใจใหส งู สง ไมไ ดถ กู กดถว งเหมอื นอยา งสง่ิ ทเ่ี คยกดถว งอยภู ายในใจของสตั วโ ลก
ทา นเดนิ จงกรม บางองคฝ า เทา แตก นน่ั ! ฟงซิ เพียรหรือไมเพียรขนาดฝาเทา
แตก บางองคไ มน อนตลอดไตรมาสคอื สามเดอื นจนจกั ษแุ ตกบอด เชนพระจักขุบาล
เปนตน ทา นลาํ บากไหมทา นประกอบความเพยี ร
เราพิจารณาดูซิ เราไมถ งึ กบั ใหต าแตกขนาดนน้ั ขนาดกเิ ลสทรุ นทรุ ายหาทห่ี ลบ
ทซ่ี อ นกย็ งั ดี อยา ใหกิเลสมันเรรวนปวนเปย นไปหมด ทั้งทางหู ทางตา ทางจมูก ทางลน้ิ
ทางกาย ทางใจ มีแตเรื่องของกิเลสปวนเปยนไปหมด หาตัวหาตนหาอรรถหาธรรมภาย
ในใจไมมเี ลย แลวเราจะหาความรมเย็นมาจากไหนพอเปนกําลังเพื่อตัดกิเลสซึ่งเคย
เปนใหญเปนโตภายในจิตใจของเรา จึงตอ งอาศยั หลกั ธรรมทก่ี ลา วนใ้ี หแ นบสนทิ ตดิ กบั
ใจ อยา รกั อนั ใดยง่ิ กวา ธรรมนซ้ี ง่ึ เปน เครอ่ื งแกก เิ ลสใหก บั ใจ อนั เปน ทร่ี กั ทส่ี งวนอยา ง
ยิ่งในชีวิตของเรา พอไดมีอิสรเสรีขึ้นไปโดยลําดับ
ใจอสิ ระกบั ใจทห่ี มอบอยภู ายใตอ าํ นาจกเิ ลส อนั ไหนดี ?
คนเราทห่ี มอบอยใู ตอ าํ นาจของเขาไมม อี สิ รภาพในตนเลย กบั คนทม่ี อี สิ รเสรี
คนไหนดี?
จติ ใจทห่ี มอบอยกู บั กเิ ลสตณั หาอาสวะทง้ั หลายมาเปน เวลานาน ถาเรายังไมเบื่อ
พออยแู ลว เราจะตองหมอบราบไปเรื่อยๆ ถา หากมคี วามเบอ่ื ความพอ ความอดิ หนา
ระอาใจ ความเหน็ โทษของสง่ิ เหลา นบ้ี า ง ก็จะพอมีทางตอสู และสกู นั ดว ยวธิ กี ารตา งๆ
สุดทา ยก็มาลงในธรรมหา ขอที่เปน เครอื่ งมอื อนั สาํ คัญ กาํ ราบปราบปรามกเิ ลสทง้ั หลาย
เหลานี้ใหแหลกละเอียดไปได
สนามรบของผปู ฏบิ ตั คิ อื สถานทใ่ี ด ? เชน ทานเดินจงกรม นง่ั สมาธภิ าวนาหาม
รุงหามค่ํา ทา นเอาอะไร “เปนสนามรบ” เปน สถานทพ่ี จิ ารณา ?
ในหลกั ธรรมทา นสอนวา “สัจธรรมทั้งสี่” “สัจธรรมทั้งสี่” นน้ั มอี ยใู นทใ่ี ด ถาไมมี
อยภู ายในกายในจติ ของมนษุ ยเ ราน้ี เรากเ็ ปน มนษุ ยคนหน่งึ เราเดินจงกรม นง่ั สมาธิ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๘๘
๔๘๙
ภาวนา เพื่อหาอรรถหาธรรม เราจะหาที่ตรงไหน ? ถา ไมห าใน “สัจธรรม” การหาในสจั
ธรรมหาอยางไร ?
ทุกขก ท็ ราบแลว วา ทกุ ข มนั เกดิ ขน้ึ ในกายในจติ ของบคุ คลและสตั ว สัตวเขาไมรู
เรอ่ื งวธิ ปี ฏบิ ตั แิ กไ ข แตเรารูวิธีแกไข คําวา “ทกุ ข” เปนสิ่งที่พึงปรารถนาแลวหรือ ?เกิด
ขึ้นในกายก็ไมเปนสิ่งที่พึงปรารถนาเลย กายอยเู ปน ปกตสิ ขุ กต็ าม ถาทุกขเกิดขึ้นจะมี
ความระส่ําระสาย อากปั กริ ยิ าจะไมน า ดเู ลย ถา มนั เกดิ ขน้ึ มากๆ ยิ่งดูไมได จิตใจที่มี
ความทุกขเกดิ ขึน้ มากๆ มนั นา ดแู ลว หรอื ? แสดงมาทางใดเปนภัยไปหมด คอื ระบาย
ทกุ ขด ว ยอาการตา งนน้ั ความจริงเปนการเพิ่มทุกขขึ้นทั้งนั้นโดยเจาตัวไมทราบเลย คน
ทม่ี คี วามทกุ ขม ากจึงตอ งระบายออกในทา ตา งๆ ดังที่เราทราบกัน นน่ั เขาถอื วา เปน ทาง
ระบายออกแหงทกุ ข แตความจริงแลวเปนการสั่งสมหรือสงเสริมทุกขใหมากขึ้น เปน
ความเขาใจเฉยๆ วา ตนระบายทกุ ขอ อก คนอน่ื เดอื ดรอ นกนั แทบตาย เพราะความดุดา
วา กลา วแสดงกริ ยิ าอาการทไ่ี มด ไี มง าม ออกมาจากของไมด ไี มง ามซง่ึ มอี ยภู ายในใจของ
ตน เมื่อระบายออกไปที่ตรงไหนมันก็เดือดรอนที่ตรงนั้น สกปรกไปดวยกันหมด
เรอ่ื งความทกุ ขเ กดิ ขน้ึ มาเพราะเหตใุ ด เราคน หาสาเหตุ นี่แหละคือสัจธรรม
ขอ หนง่ึ
เราทราบแลววาทกุ ข เราจะแกดวยวธิ ีใดถา ไมแ กส าเหตุท่ีเปนเครอื่ งผลิตทกุ ขขนึ้
มา คอื “สมุทัย” “สมุทัย” คอื อะไร คอื “กามตณั หา ภวตณั หา วภิ วตณั หา” นส้ี ว นใหญ
ทานเรียกวา”สมทุ ัย”ความอยากในสง่ิ ทต่ี นรกั ใคร ความเกลียดในสิ่งที่ตนไมชอบ แลว
ใหเกิดทุกขขึ้นมา เหลา นล้ี ว นแตเ รอ่ื งของ “สมทุ ัย”
ความคิดความปรุงอันใดที่จะเปนเครื่องสั่งสมกิเลส เปนเครื่องสั่งสมทุกขขึ้นมา
ทานเรียกวา “สมุทัย” ทง้ั นน้ั เปน กง่ิ เปน กา นแตกแขนงออกไปจากไมต น เดยี ว คอื ใจน่ี
แหละ
ความโกรธ ความโลภ ความหลง ราคะ โทสะ โมหะ รากเหงา ของมนั จรงิ ๆ อยทู ่ี
ไหน กอ็ ยทู ใ่ี จ มันฝงอยูที่ใจนี้ทั้งนั้นไมไดฝงอยูที่ไหน เราพิจารณาคนควาเขาไปภายใน
รางกายเรานี้ แลว กย็ อ นเขามาหาใจ มันคิดมันปรุงเรื่องอะไร ปรุงทั้งวันทั้งคืน ปรุงแต
เรือ่ งความทกุ ขค วามรอ นใหต นและผูอ ื่นจนหาท่ดี บั ไมไ ด ทานจึงสอนใหใชสติปญญา
พิจารณาตรวจตราความคิดความปรุงของตน มนั หวงในขนั ธห วงไปอะไร เกิดมาแลวจะ
ไมม ปี า ชา เหมอื นโลกทง้ั หลายเขาหรอื ? ถึงไดหวงไดหวงนัก แลวจะสําเร็จประโยชน
ไหม? ความหวงของเรานส้ี าํ เรจ็ ไหม? มันจะไมกลายเปน “ยมฺปจฺฉํ น ลภติ ตมปฺ ทุกฺ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๘๙
๔๙๐
ข”ํ ขน้ึ อกี เหรอ? ปรารถนาเมื่อไมสมหวังแลว “มันจะเกิดความทุกข” ขน้ึ มาภายในหวั ใจ
อกี ทานจึงไมใ หปรารถนา ทา นใหพ จิ ารณาตามความจรงิ
รปู ขนั ธน ้ี มนั ตง้ั ขน้ึ มาแลว เพอ่ื จะแตกไป ไมใ ชเ พอ่ื อน่ื ใด ตง้ั เพอ่ื แตกไปเราก็
ทราบ ถาพิจารณาทางดานปญญาหาที่ขัดแยงไมได เม่อื หาที่ขัดแยง ไมไ ดแ ลว จะไปหวง
หามมนั ทําไม ทราบดว ยปญ ญาแลว กว็ างไวต ามความจรงิ ของรปู ขนั ธ ที่มันกําลังจะแตก
หรือมันทรงอยู กท็ ราบวามันทรงอยูเพอื่ จะแตกจะสลายไปทา เดียวเทา น้นั โลกอนั นม้ี ี
ปาชาเต็มไปหมดทุกตัวสัตวทุกบุคคล เราสงสยั ปา ชา ทไ่ี หนจงึ ไมอ ยากตาย?
ถา เราพจิ ารณาตามหลกั ธรรมนแ้ี ลว เราจะไมส งสยั ปา ชา และเราจะไมสงสัยตัว
ของเราวาจะไมตาย เมื่อเราไมสงสัยวาเราไมตายแลวเราก็ไมหวั่น เราทราบชดั ภายใน
จิตใจเราแลวปลอ ยวาง เพราะเรื่องความตายเปนหลักธรรมชาติหามไมได ปลดปลอ ย
ลงตามหลักธรรมชาติของมัน จะลงที่ไหนก็ใหลงไป ดินเปนดิน นาํ้ เปน นาํ้ ลมเปน ลม
ไฟเปนไฟ ไปตามสภาพ
ผูรูใหเปนผูรู อยา ไปหลงเอานาํ้ เอาไฟ เอาลม มาเปน ตน มนั เปน กาฝาก แลว ก็
มากดั มาไชเกย่ี วขอ งอยกู บั จิตใจเราใหเ ดอื ดรอ นไปดว ย เพราะนั่นไมใชเรา แตเ ราถอื วา
เปนเรา มันกเ็ กิดความทุกขม ากัดมาไชเราน่แี หละ
เวทนากเ็ หมอื นกนั ความสุขความทุกขเราเคยปรากฏมาตั้งแตวันเกิดจนกระทั่ง
บัดน้ี ไมวาสขุ ทางกาย ทุกขทางกาย สุขทางใจ ทกุ ขท างใจ มันก็เปนเรื่อง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ
อนตฺตา เหมอื นกนั มันเกิดมาเพื่อดับไป ๆ ข้ึนช่ือวา “สมมตุ ”ิ แลว ไมม ีอะไรจีรังถาวร
ท่ีจะคงเสนคงวาอยไู ด
มนั ทกุ ขท ต่ี รงไหนเวทนา? เวทนาในรา งกายเราพอพิจารณาได ปญญายังพอ
สอดสองมองทะลุไปได ทกุ ขภ ายในใจนซ่ี สิ าํ คญั ทกุ ขภ ายในกายแลว เกดิ ทกุ ขภ ายในใจ
ข้ึนมาอกี ก็เพราะเรื่องของสมุทัย คอื เรื่องของกิเลสตวั เดยี วเทานั้นแหละ หลอกคน
หลอกสตั วโ ลกใหล มุ หลงไปตาม จงใหทราบชัดเจน การพจิ ารณารา งกายกเ็ พอ่ื จะแก
ความลมุ หลงของตนทส่ี าํ คญั วา “กายน้เี ปน ตน”
การพิจารณาเวทนา คอื ทกุ ขเวทนา สุขเวทนา กเ็ พอ่ื จะลบลา งทกุ ขเวทนาเหลา น้ี
ทส่ี าํ คญั วา เปน ตนออกจากใจ ใหตางอันตางจริง เวทนาใหเปนเวทนา เราใหเปนเรา คือ
ความรู อยา นาํ มาคละเคลา กนั มนั เปน ไปไมไ ด เพราะอนั หนง่ึ เปน อนั หนง่ึ จะมารวมเปน
อวัยวะเดียวกนั ไดอ ยา งไร เชน คนสองคนมารวมเปนคนเดียวไดหรือ คนคนเดยี วมนั ก็
หนกั พอแลว เอา ๒ คน ๓ คน ๔ คน ๕ คน มาแบก มันยิ่งหนักไปไมไดเลย แบกรปู
แลว กแ็ บกเวทนา แบกสัญญา แบกสงั ขาร แบกวญิ ญาณ ซง่ึ ลว นแลว แตเ ปน ของหนกั
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๐
๔๙๑
ดวยอุปาทาน แลว ทนี ผ้ี ลทจ่ี ะสะทอ นกลบั มาจะมาไหน ? ถา ไมม ใี จซง่ึ เปน ผรู บั ผดิ ชอบน้ี
จะตองรับทุกขแตผูเดียว ทั้งๆ ที่ไมไดรับประโยชนอะไรจากการถือนั้นเลย เรายังจะฝน
ไปยดึ ถอื อยหู รอื ? นี่การพิจารณาทุกขเวทนาใหเห็นตามความเปนจริงของมัน
เอา สญั ญาความจํา จําไดเทาไรลืมเทานั้น เมอ่ื ตอ งการกค็ ดิ ขน้ึ มาใหมจ าํ ใหม
แลว กล็ มื ไป ลืมไปเรื่อยๆ จาํ ไดแ ลวหลงลมื “สญฺ า วาสสฺ วมิ ยุ หฺ ติ” พระพุทธเจาสอน
ไวแ ลว หาท่แี ยง ทต่ี รงไหน สัญญาเปนของไมแนนอน จําไดกห็ ลงลืมไป “สญฺ า อนิจฺ
จา” แนะ ! ทา นกบ็ อกแลว คําวา “อนจิ ฺจาๆ”นน่ั มแี ตท า นสวดใหค นตายฟง วา “อนิจฺจา
วต สงขฺ ารา” เรายังจะมาสวดมาเสกมาสรรเราใหเปนคนขึ้นมา ที่ๆ ไหนใหเ ปน เรา เอา
มาทั้งขันธหาอยางนี้วาเปนเราไดอยางไร! มันเปน อนจิ จา “อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตฺตา”
ใหพิจารณาดวยปญญา แยกแยะกนั ใหเ หน็ ละเอยี ดลออ เราไมต อ งกลวั ตาย
ความตายไมมีในจิตเรา อยา หาเรอ่ื งกลวั มาหลอกจติ เปน การโกหกตวั เอง แลว กอ ความ
ทุกขขึ้นมาโดยไมเกิดประโยชนอะไร เรยี กวา “ฝนธรรม” คือความจริงของพระพุทธเจา
ใครเชอ่ื พระพทุ ธเจา แลว อยา ฝน ความจรงิ พิจารณาใหเห็นตามความจริงดว ยอาํ นาจ
ของปญญาของตนนั้นแล ผนู น้ั แหละชอ่ื วา “พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ าม”ิ อยางแทจริง ไมใชพูด
แตป าก ใหเ หน็ อยภู ายในใจดว ย พรอมทั้งความจริงที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนไวแลว
อยา งไร สอนไวใ นวงของมวลสตั ว เรากเ็ ปน มวลสตั วโ ลกคนหนง่ึ ในจาํ นวนแหง มวลสตั ว
โลกทง้ั หลาย ทําไมเราจะไมทราบตามความจริงที่พระพุทธเจาทรงสอนไวแลวที่มีอยูโดย
สมบรู ณ
ภายในตัวของเราคือสัจธรรมทั้งสี่ “สงั ขาร” ฟงซิ คอื ความปรงุ มันจริงพอเชื่อ
ถือไดเมื่อไร! มันปรุงมันแตงมันเสกขึ้นมาทั้งนั้น ปรุงรูปนี้ขึ้นมารูปนั้นขึ้นมา จากสง่ิ นน้ั
สิ่งนี้ เชน รูปตุกตา เปนตน เดย๋ี วกแ็ ตก นค่ี วามปรงุ กเ็ หมอื นกนั ปรุงดีปรุงชั่วปรุงอะไร
มา กม็ าหลอกตนเองนแ่ี หละไมห ลอกทไ่ี หน เพราะจิตมันเจาจอมโง อะไรๆ มาหลอก
มนั กเ็ ชอ่ื หมดจะวา ยงั ไง มนั นา หลอกมนั กห็ ลอกนะ ซิ
ถา มปี ญ ญาแฝงอยดู ว ยคอยสกดั กน้ั ไว อะไรเขา มากก็ ลน่ั กก็ รองดว ยดแี ลว แม
สังขารจะปรุงกี่รอยกี่พันครั้งในวินาทีหนึ่งก็ตาม มนั จะหมนุ รอบตวั อยกู ร่ี อ ยกพ่ี นั ครง้ั
เชนเดียวกัน โดยทางปญญาอะไรจะมาหลอกได! สงั ขารกท็ ราบแลว วา สงั ขาร ความรูคือ
ใจกท็ ราบแลว วา เปน ใจ จะไปหลงเขาทาํ ไม เขาเกิดมาจากตัวเองไปตื่นเขาทําไม สงั ขาร
เหลานี้มันเปนเงา
วญิ ญาณกเ็ หมอื นกนั มนั แยบ็ ๆ ๆ ๆ เวลามีอะไรมาสัมผัสทางตา ทางหู ทาง
จมกู ทางลิ้น ทางกาย ก็ไปรับทราบที่จิต จิตก็ปรุงแตงขึ้นมาดวยสังขาร ดว ยสญั ญา เอา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๑
๔๙๒
หลอกขน้ึ มาปน ขน้ึ มา หาตัวจริงไมได! กห็ ลอกขน้ึ มาหลงอารมณข องตวั เองอยทู ง้ั วนั ทง้ั
คืน แลวก็ความหลงอารมณน น้ั แลใหเ ปน ทุกขข ้นึ มา เปน ผลแหง ความหลง เราไมเห็น
โทษของมันที่ตรงนี้จะเห็นที่ตรงไหน!
การเรียน “สัจธรรม” ไมเรียนที่ตรงนี้รูที่ตรงนี้จะรูที่ตรงไหน ไลเลียงเขาไปอยาง
ละเอยี ดลออ กต่ี ลบทบทวนไมส าํ คญั สําคญั ทีค่ วามเขาใจดว ยปญ ญาอยางแจม แจงแลว
ไมต อ งบอก อปุ าทานแมจ ะไมใ หญโ ตยง่ิ กวา ภเู ขา มันจะขาดสะบั้นลงไปไมมีอะไรเหลือ
อยเู ลย
เมื่อถูกไลตอนเขาไปดวยปญญาแลวมันไมไปไหน กจ็ ะเขา ถาํ้ ใหญ นน่ั แหละท่ี
เรยี กวา “คหุ าสย”ํ มนั เขา มาหาจติ ตีเขาไปดวยปญญา ดวย “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา”น่ี
มันเปนเงาๆ ๆ ตัวจริงๆ อยทู ไ่ี หน? ไลเขาไปหาตัวจรงิ มันจริงอยูที่จิต รวมตัวอยูที่จิต
นอกนน้ั เปน เงาของมนั ตน่ื รปู ตื่นเวทนา ตื่นสญั ญา ตน่ื สงั ขาร ตน่ื วญิ ญาณ หลงรปู
เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ
พอปญญาสอดสองมองทะลุไปหมดแลว มนั กว็ ง่ิ เขา ไปสภู ายในคอื จติ ไปรวมอยู
ที่จิตดวงเดียว ถาจิตไมโงเสียเทานั้นจิตก็ยอนเขามาพิจารณาตรงนั้นเอง คอื จติ นน่ั
แหละ !
มนั วง่ิ เขา ไปหลบซอ นอยใู นจติ ตอ งยอ นเขา ไปทาํ ลายในจติ เลย มันวิ่งเขาไป
หลบซอ นในทน่ี น้ั แลว โจรผนู น้ั แหละมนั จะยงิ หวั เราออกมา เอา ! มนั เขา ไปหลบซอ นอยู
ในตึกใดรานใดราคาแพงเทาใดก็ตาม ระเบิดขวางเขาไป มันพังทลายจนหมด โจรก็
ตาย! เอา! อนั นน้ั มนั จะฉบิ หายกใ็ หฉ บิ หายไป เรายังมีชีวิตอยูเราทําไดสรางได ขอเรา
อยา ตายไปดว ยกนั นก่ี เ็ หมอื นกนั ฟาดฟน มนั ลงไป! กเิ ลสอยา งละเอยี ดเขา รวมอยใู น
จิต
พจิ ารณาเปน กอง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา ดว ยกัน เพราะกิเลสเหลานี้มันเปนตัว
สมมุติ ฟาดฟน ใหม นั แหลกแตกกระจายไปจากจติ นน้ั เมื่อแหลกกระจายลงไปแลว
เอา!จติ จะฉบิ หายกใ็ หร กู นั แตจ ติ มไิ ดฉ บิ หายน!่ี เพราะจิตไมมีปาชา จิตเปน “อมต”ํ
โดยธรรมชาติแมยังมีกิเลส
พอกเิ ลสทง้ั มวลสลายไปหมดแลว ทา นเรยี กวา “พน ภยั ราคคคฺ นิ า โทสคฺคินา
โมหคฺคินา” หมด เมื่อน้ําอมตธรรมสาดลงที่ตรงนั้นเรียบวุธ! กิเลสไมมีอะไรเหลือเลย
สง่ิ ทเ่ี หลอื กค็ อื ความบรสิ ทุ ธ์ิ เมื่อจติ บริสุทธิ์เต็มที่แลว นน่ั แหละคอื ความสขุ เตม็
ที่มีอยูที่ตรงนั้น งานอะไรตองยุติกันที่ตรงนั้น ทา นวา “วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณยี ํ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๒
๔๙๓
นาปรํ อติ ถฺ ตตฺ ายาติ ปชานาต”ิ “เสร็จกิจหรือพรหมจรรยไดอยูจบแลว กิจทจี่ ะทําใหย ง่ิ
กวา นอ้ี กี ไมม ี!”
กจิ อน่ื ใดก็ตามทีจ่ ะทําใหย ิ่งกวา นไี้ มม ี! เพราะความรูชอบขอบชิดโดยสมบูรณ
แลว นค่ี อื ทีส่ ดุ แหง ทุกขม าสุดกันท่ตี รงน!ี้
ยอดแหงธรรมก็อยทู ีใ่ จดวงท่ีบริสุทธ์นิ ้ี “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ าม”ิ ที่เรา
กลา วถงึ นอ มระลกึ ถงึ ทา น รวมเขาในธรรมชาติที่บริสุทธิ์นี้หมด นกึ ถงึ พระพทุ ธเจากบั
อนั นเ้ี ลยเปน อนั เดยี วกนั พุทโธ ธัมโม สังโฆ ในหลกั ธรรมชาตแิ ท ไดแ กค วามบรสิ ทุ ธ์ิ
ลว นๆ
ทีนี้เรื่องปญหาวาพระพุทธเจาปรินิพานไปนานแลวเทานั้นปเทานี้เดือน นพิ พาน
ในสถานทน่ี น่ั ทน่ี ่ี ยอมหมดปญหาโดยประการทั้งปวง เพราะหลักธรรมชาติที่เปนพุทธะ
ธรรมะ สังฆะ แทอยูที่ใจของตน เปน สมบตั อิ นั ลน คา อยภู ายในใจอนั นฉ้ี นั ใด อนั นน้ั ฉนั
นน้ั หมดปญ หา!
พระพุทธเจานิพพานไปไหน? รูปรางเฉยๆ สลายไปตามธรรมชาติของรูปขันธ
อนั นน้ั เชน เดยี วกบั ธาตขุ นั ธท ว่ั ๆไป สถานทน่ี น่ั ทน่ี ต่ี ามสมมตุ นิ ยิ ม แตธรรมชาติที่
บรสิ ทุ ธ์ิ “พุทโธ” ทั้งดวงนั้นไมไดฉิบหายไมไดตาย ไมมีกาลไมมีสถานที่เขาไปเหยียบย่ํา
ทาํ ลายเลย นน้ั แลคอื “พุทธะ” แท นน้ั แลทเ่ี ราอา งถงึ “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ าม”ิ
ธรรมชาตนิ น้ั จะสญู ไปไหน ใหเห็นชัดๆ คอื ใหเ หน็ ภายในจติ ใจของตน เอาอนั น้ี
เปน หลกั ฐานพยาน ธรรมชาตินี้เมื่อถึงขั้นบริสุทธิ์เต็มที่แลว อนั นแ้ี ลไดเ ปน หลกั ฐาน
พยานอยางเต็มภูมิทีเดียว เมอ่ื อนั นไ้ี มส ญู อนั นเ้ี ปน อยา งไร อนั นน้ั กเ็ ปน ฉนั นน้ั เมอ่ื อนั
นี้ไมสูญ อนั นน้ั สญู ไดอ ยา งไร เปนธรรมอนั เดียวกัน
นั่นแหละบรรดาพระสาวกอรหันตทานเมื่อไดเขาถึงธรรมประเภทนี้แลว อยทู ่ี
ไหนทา นกอ็ ยกู บั ธรรม อยกู บั “พุทธะ ธรรมะ สังฆะ” ไดเฝาพระพุทธเจาอยูตลอดเวลา
อกาลโิ ก หมดความหวน่ั ไหว เพราะน้ําอมตธรรมปราบไฟราคะตัณหาภายในจิตใจจน
ราบเรียบลงไปเลยไมมีอะไรเหลือ “เตสํ วูปสโม สโุ ข ความระงับดับเสียซึ่งสังขารทั้ง
หลายเปน ความสขุ อยา งยง่ิ !”
สงั ขารธรรมภายในใจ สังขารที่เปนตัว “สมุทัย” นี่แหละระงับดับไปหมดถึงบรม
สขุ กบ็ รมสขุ ทก่ี ลา วมาทง้ั หมดนม้ี อี ยใู นสถานทใ่ี ด ทั้งฝายเหตุฝายผล ทั้งฝายดีฝายชั่วมี
กบั เราทุกทา นท่ีรูๆ อยเู วลาน้ี ธรรมชาติที่รูนี้แลเปนสิ่งที่ควรอยางยิ่งแกธรรมทั้งหลาย
จนถงึ “วิสุทธิธรรม” คอื ความบรสิ ทุ ธ์ิ ไมม อี ะไรนอกเหนือไปจากความรนู ้ี
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๓
๔๙๔
ขอใหช าํ ระธรรมชาตคิ วามรนู ใ้ี หพ น จากสง่ิ กดถว ง หรอื กดขบ่ี งั คบั ทง้ั หลายออก
ไปโดยลาํ ดบั ๆ เถิด คาํ วา “นพิ พาน” จะไปถามหาวา อยทู ไ่ี หน เมอ่ื ถงึ จติ บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว จะ
หมดปญหาโดยประการทั้งปวง
การแสดงธรรมกเ็ ห็นวาสมควร
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๔
๔๙๕
มชั ฌมิ าปฏปิ ทา
ใน “มัชฌิมาปฏิปทา” ทา นตรสั ไวว า “สมมฺ าทฏิ ฐ ิ ความเหน็ ชอบ” คาํ วา “เหน็
ชอบ” ทั่วๆไปก็มี เหน็ ชอบในวงจาํ กดั กม็ ี และเหน็ ชอบในธรรมสว นละเอยี ดยง่ิ กม็ ี
ความเห็นชอบของผูถือพระพุทธศาสนาทั่วๆไปโดยมีวงจํากัด เชน เหน็ วา บาปมี
จรงิ บญุ มจี รงิ นรก สวรรค นพิ พาน มีจรงิ ผูทาํ ดีไดร ับผลดี ผทู าํ ชว่ั ไดร บั ผลชว่ั เปนตน
นก่ี เ็ รยี กวา “สมมฺ าทฏิ ฐ ”ิ ขน้ั หนง่ึ (๑)
ความเหน็ ในวงจาํ กดั ของนกั ปฏบิ ตั ผิ ปู ระกอบการพจิ ารณา “สติปฏฐาน” หรอื
“อรยิ สจั ส”่ี โดยกําหนดกาย เวทนา จิต ธรรม เหน็ วา เปน “ไตรลักษณ” คอื อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ
อนตฺตา ประจําตนทุกอาการดวยปญญา ปลกู ศรทั ธาความเชอ่ื ลงในสจั ธรรม เพราะการ
พจิ ารณา “ไตรลักษณ” เปนตนเหตุ และถอื ไตรลกั ษณที่มอี ยูในสภาวธรรมนัน้ ๆ เปน ทาง
เดินของปญญา และพจิ ารณาในอรยิ สจั เห็นทุกขที่เกิดขึ้นจากกายและจากใจทั้งของตน
และของคนอื่นสัตวอื่น วา เปน สง่ิ ไมค วรประมาทนอนใจ พรอมทั้งความเห็นโทษใน
“สมทุ ยั ” คือแหลงผลิตทุกขใหเกิดขึ้นแกสัตวเสวยผลไมมีประมาณตลอดกาล และ
เตรียมรื้อถอนสมุทัยดวยปญญา เพื่อกาวขึ้นสู “นโิ รธ” คอื แดนสงั หารทุกขโดยส้นิ เชิง นี่
เรยี กวา “สมฺมาทิฏฐิ” ขน้ั หนง่ึ (๒)
“สมมฺ าทฏิ ฐ ”ิ ความเหน็ ชอบในธรรมสว นละเอยี ดนน้ั ไดแกค วามเหน็ ชอบใน
ทุกขวาเปนของจริงอยางหนึ่ง ความเหน็ ชอบใน “สมุทยั ” วา เปนของจริงอยา งหนึ่ง
ความเหน็ ชอบใน “นโิ รธ” วาเปนของจริงอยางหน่งึ และความเหน็ ชอบใน “มรรค” คือ
ศีล สมาธิ ปญญา วาเปนของจริงอยางหนงึ่ ซง่ึ เปน ความเหน็ ชอบโดยปราศจากการ
ตาํ หนติ ชิ มในอรยิ สจั และสภาวธรรมทว่ั ๆ ไป จัดเปน “สมฺมาทิฏฐิ” ขน้ั หนง่ึ (๓)
สมมฺ าทฏิ ฐ ิ มีหลายขั้น ตามภูมขิ องผูปฏิบัติในธรรมขน้ั น้นั ๆ ถา สมฺมาทิฏฐิ มี
เพยี งข้นั เดียว ปญญาจะมีหลายขั้นไปไมได เพราะกเิ ลสความเศรา หมองมหี ลายขน้ั
ปญญาจึงตองมีหลายขั้น เพราะเหตนุ เ้ี อง สมฺมาทิฏฐิ จงึ มหี ลายข้ันตามทอ่ี ธบิ ายผา นมา
แลว
ในปฏิปทาขอสองตรัสวา “สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป” ความดาํ รชิ อบ มี ๓ ประการ คือ
(๑) ดาํ รใิ นการไมเ บยี ดเบยี น หนง่ึ
(๒) ดาํ รใิ นการไมพ ยาบาทปองรา ย หนึ่ง
(๓) ดําริเพื่อออกจากเครื่องผูกพัน หนง่ึ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๕
๔๙๖
ดาํ รใิ นทางไมเ บยี ดเบยี นนน้ั คอื ไมค ดิ เบยี ดเบยี นคนและสตั ว ไมค ดิ เบยี ดเบยี น
ตนเองดวย ไมค ดิ ใหเ ขาไดร บั ความทรมานลาํ บากเพราะความคดิ ของเราเปน ตน เหตุ
และคดิ หาเรอ่ื งลาํ บากฉบิ หายใสต นเอง ไมคิดดําริจะกินยาเสพยติดมี สุรา ฝน และ
เฮโรอีน เปนตน
ดาํ รใิ นความไมพ ยาบาท คือไมคิดปองรายหมายฆาใครๆ ทั้งสัตวทั้งมนุษย ไม
คิดเพื่อความชอกช้ําและฉิบหายแกใคร ไมค ดิ ใหเ ขาไดร บั ความเจบ็ ปวดบอบชาํ้ หรอื ลม
ตายลงไปเพราะความคดิ ของเราเปน ตนเหตุ และไมคิดปองรายหมายฆาตัวเอง เชน คดิ
ฆาตัวเองดวยวิธีตางๆ ดังปรากฏในหนาหนังสือพิมพเสมอ
น่ีคอื ผลจากความคดิ ผิด ตวั เองเคยมคี ณุ แกต วั และเปน สมบตั อิ นั ลน คา แกต วั
เอง เพราะความคิดผดิ จึงปรากฏวาตัวกลับเปน ขา ศึกแกตัวเอง เรอ่ื งเชน นเ้ี คยมบี อ ยๆ
ซึ่งมิใชเรื่องของมนุษยผูฉลาดจะทํากันละ ทง้ั นพ้ี งึ ทราบวา เปน ผลเกดิ จาก “ความดาํ ริ
ผิดทาง” ผรู กั ษาตวั และสงวนตวั แท เพยี งแตจ ติ คดิ เรอ่ื งไมส บายขน้ึ ภายในใจเทา นน้ั ก็
รบี ระงบั ดบั ความคดิ ผดิ นน้ั ทนั ทดี ว ย “เนกขมั มอบุ าย” ไหนจะยอมปลอยความคิดที่ผิด
ใหร นุ แรงขน้ึ ถงึ กบั ฆา ตวั ตาย เปนตวั อยางแหงความรกั ตัวท่ไี หนม!ี นอกจากความเปน
เพชฌฆาตสงั หารเทา นน้ั
ความดําริเพื่อออกจากเครื่องผูกมัดนี่ ถา เปน ความดาํ รทิ ว่ั ๆ ไป ตนคดิ อา นการ
งานเพื่อปลดเปลื้องตนออกจากความยากจนขนแคน เพอ่ื ความสมบรู ณพ นู ผลในสมบตั ิ
ไมอดอยากขาดแคลน ก็จัดเขาใน “เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป อยา งอนโุ ลม” ของโลกประการ
หนง่ึ
ผดู าํ รใิ หท าน รักษาศีล ภาวนา คดิ สรา งถนนหนทาง กอพระเจดีย ทะนบุ าํ รงุ
ปูชนยี สถานทชี่ ํารุดทรุดโทรม สรางกุฏิ วหิ าร ศาลา เรอื นโรงตา งๆ โดยมุงกุศลเพื่อยก
ตนใหพนจากกองทุกข กจ็ ดั เปน “เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป” ประการหนง่ึ
ผดู าํ รเิ หน็ ภยั ในความ เกิด แก เจบ็ ตาย ซง่ึ เปน ไปในสตั วแ ละสงั ขารทว่ั ๆ ไปทั้ง
เราทง้ั เขาไมม เี วลาวา งเวน เหน็ เปน โอกาสอนั วา งสาํ หรบั เพศนกั บวชจะบาํ เพญ็ ศลี
สมาธิ ปญญา ใหเ ปน ไปตามความหวงั ดาํ รจิ ะบวชเปน ชี ปะขาว เปน พระเปน เณร นี่ก็
จดั วา เปน ”เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป” ประการหนง่ึ
นกั ปฏบิ ตั มิ คี วามดาํ รพิ จิ ารณาอารมณแ หง กรรมฐานของตน เพอ่ื ความปลด
เปลื้องจิตออกจากนิวรณธรรมทั้งหลายโดยอุบายตางๆ จากความดาํ รคิ ดิ คน ไมม เี วลา
หยุดยั้ง เพื่อเปลือ้ งกเิ ลสทุกประเภทดว ย “สัมมาสังกัปปะ” เปน ขน้ั ๆ จนกลายเปน “สมฺ
มาสงฺกปฺโป อัตโนมัต”ิ กาํ จดั กเิ ลสเปน ขน้ั ๆดว ยความดาํ รคิ ดิ คน ตลอดเวลา จนกเิ ลสทกุ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๖
๔๙๗
ประเภทหมดสน้ิ ไปเพราะความดาํ รนิ น้ั นี่ก็จัดเปน “สมฺมาสงฺกปฺโป” ประการสดุ ทา ย
แหงการอธิบายปฏิปทา ขอ ๒
ปฏิปทาขอที่ ๓ ตรสั ไวว า “สมมฺ าวาจา” กลา ววาจาชอบ ที่กลาวชอบทั่วๆ ไปก็มี
ที่กลาวชอบยิ่งในวงแหงธรรมโดยเฉพาะก็มี กลา วชอบตามสภุ าษติ ไมเปนพิษเปนภัย
แกผูฟง กลา วมเี หตผุ ลนา ฟง จบั ใจ ไพเราะเสนาะโสต กลา วสภุ าพออ นโยน กลาวถอม
ตนเจียมตัว กลาวขอบบุญขอบคุณตอผูมีคุณทุกชั้น เหลา นจ้ี ดั เปน สมมฺ าวาจา ประการ
หนง่ึ
“สมมฺ าวาจา ที่ชอบย่งิ ” ในวงแหง ธรรมโดยจาํ เพาะนน้ั คือกลาวใน “สลั เลข
ธรรม”เครอ่ื งขดั เกลากเิ ลสโดยถา ยเดยี ว ไดแก กลา วเรอ่ื งความมกั นอ ยในปจ จยั ส่ี
เครื่องอาศัยของพระ กลา วเรอ่ื งความสนั โดษ ยินดีตามมีตามไดแหงปจจัยที่เกิดขึ้นโดย
ชอบธรรมกลา วเรอ่ื ง “อสังสัคคณิกา” ความไมคลุกคลีมั่วสุมกับใครๆทั้งนั้น, “วิเวกก
ตา” กลา วเรอ่ื งความสงดั วเิ วกทางกายและทางใจ “วริ ยิ ารมั ภา” กลา วเรอ่ื งการประกอบ
ความเพยี ร กลา วเรอ่ื งการรกั ษาศลี ใหบ รสิ ทุ ธ์ิ กลาวเรือ่ งทาํ สมาธิใหเกิด กลา วเรอ่ื ง
การอบรมปญ ญาใหเ ฉลยี วฉลาด กลา วเรอ่ื ง “วิมุตต”ิ คือความหลุดพน และกลา วเรอ่ื ง
“วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ” ความรเู หน็ อนั แจง ชดั ในความหลดุ พน นจ่ี ดั เปน “สมมฺ าวาจา
สว นละเอยี ด”
การกลา วนน้ั ไมใ ชก ลา วเฉยๆ กลา วราํ พนั กลา วราํ พงึ กลา วดว ยความสนใจและ
ความพออกพอใจ ใครต อ การปฏบิ ตั ติ อ “สลั เลขธรรม” จรงิ ๆ
ในปฏปิ ทาขอ ๔ ตรสั ไวว า “สมมฺ ากมมฺ นโฺ ต” การงานชอบ การงานชอบทว่ั ๆ ไป
ประเภทหนง่ึ การงานชอบในธรรมประการหนง่ึ
การงานท่ีทาํ โดยชอบธรรมไมผ ิดกฎหมายบานเมอื ง เชน ทาํ นา ทาํ สวน การซื้อ
ขายแลกเปลย่ี น เหลา นจ้ี ดั เปน การงานชอบ
การปลกู สรา งวดั วาอาราม และการใหท าน รักษาศีล เจรญิ เมตตาภาวนา ก็จัด
เปน การงานชอบแตล ะอยา งๆ เปน สมฺมากมฺมนฺโต ประการหนง่ึ การเดนิ จงกรม นง่ั
สมาธิก็จัดเปนการงานชอบ ความเคลอ่ื นไหวทางกาย วาจา ใจ ทุกอาการ พงึ ทราบวา
เปน “กรรม” คอื การกระทํา การทําดวยกาย พดู ดว ยวาจา และคดิ ดว ยใจ เรยี กวา “เปน
กรรม” คอื การกระทาํ ทําถูก พูดถูก คิดถูก เรยี กวา “สัมมากัมมันตะ” การงานชอบ
คาํ วา “การงานชอบ” มคี วามหมายกวา งขวางมาก แลวแตทานผูฟงจะนอมไปใช
ในทางใด เพราะโลกกบั ธรรมเปน คเู คยี งกนั มา เหมือนแขนซา ยแขนขวาของคนคน
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๗
๔๙๘
เดียว จะแยกโลกกับธรรมจากกันไปไมได และโลกก็มีงานทํา ธรรมกม็ ีงานทาํ ดว ยกนั
ทั้งนี้เนื่องจากภาวะของคนและการประกอบไมเหมือนกัน การงานจะใหถูกรอยพิมพอัน
เดียวกันยอมเปนไปไมได
ฉะนน้ั ผอู ยูในฆราวาสก็ขอใหป ระกอบการงานถกู กับภาวะของตน ผูที่อยูใน
ธรรมคอื นกั บวช เปนตน ก็ขอใหประกอบการงานถูกกับภาวะของตน อยา ใหก ารงาน
และความเหน็ กา วกา ยและไขวเ ขวกนั ก็จดั วาตางคนตาง “สัมมากัมมันตะ” การงานชอบ
ดวยกัน โลกและธรรมกน็ บั วนั เจรญิ รงุ เรอื งขน้ึ โดยลาํ ดบั เพราะตางทา นตา งชว ยกันพยงุ
ปฏิปทาขอ ๕ ตรสั วา “สมมฺ าอาชโี ว” การแสวงหาเพอ่ื เลย้ี งชพี ดว ยการรบั
ประทานตามธรรมดาของมนุษยและสัตวทั่วๆ ไป ประการหนง่ึ การหลอ เลย้ี งจติ ใจดว ย
อารมณจ ากเครอ่ื งสมั ผสั ประการหนง่ึ การแสวงหาอาชพี โดยชอบธรรม ปราศจากการ
ปลนสะดมฉกลักของใครๆ มาเลย้ี งชพี หามาไดอ ยา งไรก็บรโิ ภคเทาทมี่ พี อเลยี้ งอัต
ภาพไปวันหนึง่ ๆ หรอื จะมมี ากดว ยความชอบธรรม ก็จัดวาเปน “สมมฺ าอาชโี ว”
ประการหนง่ึ
ใจไดร บั ความสมั ผสั จากสง่ิ ภายนอก คอื รปู หญิง ชาย เสยี ง กลิ่น รส ความ
สัมผัสของหญิงชาย และสิ่งของที่ถูกกับจริตชอบ เกดิ เปน อารมณเ ขา ไปหลอ เลย้ี งจติ ใจ
ใหม คี วามแชม ชน่ื เบกิ บาน หายความโศกเศรา เหงาหงอย มแี ตค วามรน่ื เรงิ บนั เทงิ ใจ
กลายเปนยาอายุวัฒนะขึ้นมา แตถาแสวงผดิ ทางกก็ ลายเปนยาพษิ เคร่อื งสงั หารใจ นี่ก็
ควรจดั วา เปน “สมฺมาอาชีโว” ตามโลกนิยม แตไ มใช “สมมฺ าอาชโี ว” ของธรรมนิยม
เพราะมิใชอารมณเครื่องถอดถอนกิเลสออกจากใจ สาํ หรบั โลก ผมู ี “มตฺตฺุตา” รจู กั
ประมาณและขอบเขตที่ควรหรือไมค วร ก็พอเปน “สมมฺ าอาชโี ว” ไปตามภูมิ สาํ หรบั นกั
บวชไมค วรเกย่ี วขอ งอาหารใจประเภทรปู เสยี ง เปน ตน นอกจากพจิ ารณาตรงขา มเทา
นน้ั จงึ จดั เปน สามจี กิ รรม
สว นนกั บวชพงึ ปฏบิ ตั ิ คือการบํารุงจิตใจดวยธรรม ไมนําโลกซึ่งเปนยาพิษเขา
มารงั ควานใจ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ กระทบรูป เสียง กลน่ิ รส เครอ่ื งสมั ผสั
ธรรมารมณ ใหพ งึ พจิ ารณาเปน ธรรมเสมอไป อยา ใหเ กดิ ความยนิ ดยี นิ รา ย จะกลาย
เปน ความขดั เคอื งขน้ึ มาภายในใจ ซึ่งขัดตอ “สมั มาอาชวี ธรรม” อนั เปน ธรรมเครอ่ื ง
ถอดถอนกเิ ลส
การพจิ ารณาเปน ธรรม จะนาํ อาหารคือโอชารสแหงธรรม เขา มาหลอ เลย้ี งหวั
ใจ ใหม คี วามชน่ื บานดว ยธรรมภายในใจ ใหม คี วามชมุ ชน่ื ดว ยความสงบแหง ใจ ใหม ี
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๘
๔๙๙
ความชุม ชื่นดว ยความเฉลยี วฉลาดแหง ปญ ญา ไมแสวงหาอารมณอันเปนพิษเขามา
สังหารใจของตน พยายามนาํ ธรรมเขา มาหลอ เลย้ี งเสมอ เรยี กวา “สมมฺ าอาชโี ว” ที่ชอบ
ธรรม
อายตนะภายในมี ตา หู เปนตน กระทบกบั อายตนะภายนอก มี รปู เสยี ง
เปนตน ทกุ ขณะทส่ี มั ผสั จงพจิ ารณาเปน ธรรม คอื ความรเู ทา และปลดเปลื้องดวย
อุบายเสมอไป อยา พจิ ารณาใหเ ปน เรอ่ื งของโลกแบบจบั ไฟเผาตวั จะกลายเปน ความ
รอนขึ้นที่ใจ ซึ่งมิใชทางของ “สมั มาอาชวี ะ” ของผบู าํ รงุ ใจดว ยธรรม
ควรพยายามกลน่ั กรองอารมณทเ่ี ปน ธรรม เขาไปหลอเลี้ยงจิตใจอยูตลอด
เวลา อาหารคอื โอชารสแหง ธรรม จะหลอ เลย้ี งและรกั ษาใจใหป ลอดภยั เปน ลาํ ดบั ที่
อธิบายมานี้จัดเปน “สมั มาอาชวี ะ” ประการหนง่ึ
ปฏิปทาขอ ๖ ตรสั ไวว า “สมมฺ าวายาโม” ความเพยี รชอบ ทา นวา เพยี รในทส่ี ่ี
สถานคอื
(๑) เพยี รระวงั อยา ใหบ าปเกดิ ขน้ึ ในสนั ดาน หนง่ึ
(๒) เพยี รละบาปท่เี กดิ ขึ้นแลวใหห มดไป หนง่ึ
(๓) เพียรยังกุศลใหเกิดขึ้น หนง่ึ และ
(๔) เพียรรักษากุศลท่เี กดิ ขน้ึ แลวอยาใหเ สอ่ื มสญู ไป หนง่ึ
“โอปนยโิ ก” นอมเขาในหลักธรรมที่ตนกําลังปฏิบัติไดทุกขั้น แตทน่ี จ่ี ะนอ มเขา
ในหลกั “สมาธกิ บั ปญ ญา” ตามโอกาสอันควร
(๑) พยายามระวงั รักษาจติ ที่เคยฟงุ ซา นไปตามกระแสแหงตณั หา เพราะความโง
เขลาฉดุ ลากไป หนง่ึ
(๒) ศลี สมาธิ ปญญา เปน ธรรมแกก เิ ลสทกุ ประเภท จงพยายามอบรมใหเ กดิ
ขึ้นกับใจของตน ถาตองการไปนิพพานดับไฟกังวลใหสิ้นซาก! หนง่ึ
(๓) ศลี สมาธิ ปญญา ทุกๆ ขน้ั ถาไดปรากฏขึ้นกับตนแลว อยายอมใหหลุดมือ
ไปดว ยความประมาท จงพยายามบาํ รงุ ศลี สมาธิ ปญ ญา ทุกๆ ขน้ั ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว ให
เจรญิ เต็มท่ี จนสามารถแปรรปู เปน “มรรคญาณ” ประหารกเิ ลสสมทุ ยั ใหส น้ิ ซากไป
แดนแหง “วมิ ตุ ตพิ ระนพิ พาน” ทเ่ี คยเหน็ วา เปน ธรรมเหลอื วสิ ยั จะกลายเปน ธรรม
ประดับใจทันทที ่ีกเิ ลสสนิ้ ซากลงไป หนึ่ง
ในปฏปิ ทาขอ ๗ ตรสั วา “สมมฺ าสต”ิ ไดแกการตั้งสติระลึกตามประโยคของ
ความเพยี รของตน ตนกาํ หนดธรรมบทใดเปน อารมณข องใจ เชน “พุทโธ” หรอื อานา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๙๙
๕๐๐
ปานสติ เปนตน ก็ใหมีสตริ ะลกึ ธรรมบทน้นั ๆ หรือตั้งสติกําหนดใน “สตปิ ฏ ฐานส”ี่ คือ
กาย เวทนา จติ ธรรม ทั้งกําหนดเพื่อสมาธิ ทั้งการพิจารณาทางปญญา ใหม สี ตคิ วาม
ระลกึ ในประโยคความเพยี รของตนทุกๆ ประโยค จดั เปน สมฺมาสติ ที่ชอบ ขอหนึ่ง
ปฏิปทาขอ ๘ ตรสั ไวว า “สมมฺ าสมาธ”ิ คือ สมาธิที่ชอบ ไดแก สมาธทิ ส่ี มั ปยตุ
ดว ยสตปิ ญ ญา ไมใ ชส มาธแิ บบหวั ตอ และไมใชสมาธิที่ติดแนนทั้งวันทั้งคืนไมยอม
พจิ ารณาทางดา นปญ ญาเลย โดยเหน็ วา สมาธเิ ปน ธรรมประเสรฐิ พอตวั จนเกดิ ความ
ตําหนิติโทษปญญาหาวาเปนของเก และกวนจติ ใจทเ่ี ปน อยดู ว ยความสงบเยน็ ไปเสยี
สมาธปิ ระเภทนเ้ี รยี กวา “มิจฉาสมาธ”ิ ไมจดั วา เปน สมาธทิ ี่จะทาํ ใหบ คุ คลพน จากทุกข
โดยชอบธรรม
สว นสมาธทิ เ่ี ปน ไปเพือ่ ความพนทกุ ขนั้น ตอ งกาํ หนดลงไปในหลกั ธรรม หรอื
บทธรรมตามจริตชอบ ดวยความมีสติกํากับรักษา จนจติ รวมลงเปน สมาธไิ ด จะเปน
สมาธปิ ระเภทใดกต็ าม เมอ่ื รสู กึ จติ ของตนสงบ หรอื หยดุ จากการคดิ ปรงุ ตา งๆ รวม
อยูเปนเอกเทศอันหนึ่ง จากสิ่งแวดลอมทง้ั หลาย จนกวาจะถอนขึ้นมา จดั เปน สมาธทิ ่ี
ชอบ และไมเ หมือนสมาธิซึง่ รวมลงไปแลว ไมทราบกลางวันกลางคนื เปนตายไมทราบ
ทง้ั นน้ั เหมอื นคนตายแลว พอถอนขึ้นมาจึงจะรูยอนหลังวาจิตรวมหรือจิตไปอยูที่ไหน
ไมท ราบ นเ่ี รยี กวา “สมาธหิ วั ตอ” เพราะรวมลงแลว เหมอื นหวั ตอ ไมม ีความรูส กึ สมาธิ
ประเภทนจ้ี งพยายามละเวน แมเ กดิ ขน้ึ แลว รบี ดดั แปลงเสยี ใหม สมาธทิ ก่ี ลา วนเ้ี คย
มใี นวงนกั ปฏิบตั ิดวยกนั อยูเสมอ
วิธีแกไข คอื หักหามอยาใหรวมลงตามทีเ่ คยเปนมา จะเคยตัวตลอดกาล จง
บงั คบั ใหท อ งเทย่ี วในสกลกาย โดยมีสติบังคับเขมแข็ง บงั คับใหท อ งเท่ยี วกลบั ไปกลับ
มา และขน้ึ ลงเบอ้ื งบนเบอ้ื งลา ง จนควรแกป ญ ญาและมรรคผลตอ ไป
สว น สมั มาสมาธิ เมื่อจิตรวมลงไปแลว มสี ติรูประจาํ อยูใ นองคสมาธินั้น เมื่อ
ถอนขน้ึ มาแลว ควรจะพจิ ารณาทางปญ ญาในสภาวธรรมสว นตา งๆทม่ี อี ยใู นกายในจติ
ก็พิจารณาในโอกาสอันควร สมาธกิ บั ปญ ญาใหเ ปน ธรรมเกย่ี วเนอ่ื งกนั เสมอไป อยา
ปลอ ยใหสมาธิเดนิ เหินไปแบบไมม องหนา มองหลัง โดยไมคํานึงถึงเรื่องอะไรทั้งนั้น
สรปุ ความแลว สติ สมาธิ ปญ ญา ท้ังสามนี้ เปน ธรรมเกย่ี วเนือ่ งกนั โดยจะแยก
จากกันใหเดนิ แตอ ยางใดอยา งหนง่ึ ไมได สมาธกิ บั ปญ ญาตอ งผลดั เปลย่ี นกนั เดนิ
โดยมีสติเปนเครื่องตามรักษา ทง้ั สมาธแิ ละปญ ญา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๐
๕๐๑
นแ่ี ลปฏปิ ทาทง้ั ๘ ที่ไดอธบิ ายมาโดยอิงหลกั ธรรมบา ง โดยอตั โนมัตบิ า ง ตั้งแต
“สมฺมาทิฏฐิ จนถึง สมฺมาสมาธ”ิ ถงึ ทราบวา เปน ธรรมหลายชน้ั แลว แตท า นผฟู ง จะนํา
ไปปฏบิ ัติตามภูมิแหง ธรรมและความสามารถของตน
ในปฏปิ ทาทัง้ ๘ ประการน้ี ไมเ ลอื กวา นกั บวชหรอื ฆราวาส ใครสนใจปฏบิ ตั ใิ ห
บรบิ รู ณไ ด ผล คือ “วมิ ตุ ติ” และ “วิมุตติญาณทัสสนะ” เปนสมบัติอนั ลาํ้ คาของผูน ้ัน
เพราะ ศลี สมาธิ ปญญา รวมอยใู นมรรคน้ี และเปน เหมอื น “กุญแจ” ไข “วิมุตต”ิ ทั้ง
สองใหประจักษกับใจอยางเปดเผย
อนง่ึ ทา นนกั ปฏบิ ตั อิ ยา เขา ใจวา “วิมุตต”ิ กับ “วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ” ทั้งสองนี้แยก
กันไปอยูในที่ตางแดน หรอื แยกกนั ทาํ หนา ทค่ี นละขณะ ทถ่ี กู ไมใ ชอ ยา งนน้ั !
เราตดั ไมใ หข าดดว ยขวาน ขณะไมขาดจากกัน ตาก็มองเห็น ใจกร็ วู า ไมท อ นน้ี
ขาดแลว ดว ยขวาน เหน็ ดว ยตากบั รดู ว ยใจ! เกดิ ขน้ึ ในขณะเดยี วกนั ฉนั ใด
วมิ ตุ ตแิ ละวมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ ก็ทําหนาที่รูเห็นกิเลสขาดออกจากใจ ดว ยศลี
สมาธิ ปญ ญา ในขณะเดยี วกนั นน้ั แล
จากนั้นแลวก็ไมมีปญหาอะไรใหยุงยากอีกตอไป เพราะปญ หายงุ ยากกค็ อื
ปญ หากเิ ลสกบั ใจเทา นน้ั ที่ใหญยิ่งในไตรภพ
เมื่อปลอยใจจากสิ่งทั้งปวงอันเปนปญหาใหญที่สุดแลว กเิ ลสซึง่ เปน ส่งิ อาศยั อยู
ในใจก็หลุดลอยไปเอง ศลี สมาธิ ปญ ญา และ วิมุตติ วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ ก็ปลอยวางไว
ตามความจริง เรยี กวา ตา งฝา ยตา งจรงิ แลวก็หมดคดีคูความลงเพียงเทานี้
วนั นไ้ี ดอ ธบิ ายธรรมใหแ กน กั ปฏบิ ตั ทิ ง้ั หลายฟง โดยยกสมเด็จพระผมู พี ระภาค
และพระสาวกทง้ั หลายมาเปน แนวทาง จะไดตั้งเข็มทิศ คือขอปฏิบัติของตน ของตนให
เปนไปตามพระองคทานโดยไมลดละ
เมอ่ื ศีล สมาธิ ปญญา เปน ธรรมทท่ี า นทง้ั หลายบาํ เพญ็ ไดบ รบิ รู ณแ ลว วิมุตติ
และวิมตุ ติญาณทสั สนะ อนั เปน องคพ ระนพิ พาน ก็จะเปนของทานทั้งหลายอยางไมมี
ปญหา เพราะเหตฉุ ะน้ั ธรรมทง้ั หมดท่ไี ดกลา วในวนั น้ี ทานผูฟงทุกๆ ทา น ยอมจะเขา
ใจวา มอี ยใู นกายในใจของเราทกุ ทา น ขอใหน อ มธรรมเหลา นเ้ี ขา มาเปน สมบตั ขิ องตน
ทั้งการดําเนินเหตุ ทัง้ ผลท่ปี รากฏขึน้ จากเหตอุ นั ดี คือวิมุตติพระนิพพาน จะเปนของ
ทา นทง้ั หลายในวนั นว้ี นั หนา โดยนัยที่ไดแสดงมา
ขอยตุ ดิ ว ยเวลาเพยี งเทา น้ี เอวังก็มีดวยประการฉะนี้ ฯ
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๑
๕๐๒
เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๑๙
คนื อาํ ลา
การที่อยากใหคนดีไมมีใครที่จะเกินพระพุทธเจาไปได พระโอวาททป่ี ระทานไว
แกโลกก็เพื่อใหโลกเปนคนดีกันทั้งนั้น เปน คนดมี คี วามสขุ ไมตองการใหโลกเกิดความ
เดือดรอนเสียหายอันเกดิ จากความชว่ั ของการกระทํา เพราะความไมร เู รอ่ื งวธิ ปี ฏบิ ตั ติ วั
เองนน้ั เลย
เพราะฉะนน้ั การทจ่ี ะสรา งพระบารมใี หถ งึ ความเปน พระพทุ ธเจา ผูมีพระเมตตา
อันเปยมตอสัตวโลกนั้น จงึ เปน การลาํ บาก ผดิ กบั บารมที ง้ั หลายอยมู าก ความสามารถ
กับพระเมตตามีกําลังไปพรอมๆ กัน ถาตางคนตางไดยินไดฟงพระโอวาทของพระพุทธ
เจา ในทเ่ี ฉพาะพระพกั ตรก ต็ าม ไดฟ ง ตามตาํ รบั ตาํ รากต็ าม มคี วามเชือ่ ตามหลกั ความ
จรงิ ทป่ี ระทานไวน น้ั ตา งคนตา งพยายามปรบั ปรงุ แกไขตนเองใหเ ปนคนดี นบั เปน
จาํ นวนวา คนนก้ี เ็ ปน คนดี คือคนท่ีหนงึ่ ก็เปน คนดี คนที่สองก็เปนคนดี ในครอบครวั มกี ่ี
คน ไดรบั การอบรมสั่งสอนเพ่ือความเปน คนดดี วยกนั ครอบครวั นน้ั กเ็ ปน คนดี ในบา น
นั้นก็เปนคนดี เมืองนี้ก็เปนคนดี เมืองนั้นก็เปนคนดี ประเทศนป้ี ระเทศนน้ั กเ็ ปน คนดี
ดวยกันแลว เรื่องความสงบสุขของบานเมืองเราไมตองถามถึงก็ได ตองไดจากความดี
ของผูทําดีทั้งหลายแนนอน
ความทุกขรอนตางๆ ท่ีเกิดข้ึนมานัน้ เกดิ ขน้ึ เพราะความไมด ตี า งหาก คนไมดีมี
จาํ นวนมากนอ ยเพยี งใด กเ็ หมอื นมเี สย้ี นหนามจาํ นวนมากนอ ยเพยี งนน้ั ยิ่งมีมากเทา
ไรโลกนี้ก็เปน “โลกนั ตนรก” ได ซึ่งมืดทั้งกลางวันกลางคืน มีความรุมรอนอยูตลอด
เวลาโดยไมตองไปถามหานรกขุมไหนลูกไหน เพราะสรา งอยทู หี่ ัวใจของคน แลว ก็
ระบาดสาดกระจายออกไปทุกแหงทุกหน เลยกลายเปน ไฟไปดว ยกนั เสยี สน้ิ นเ้ี พราะ
ความผิดทั้งนั้นไมใชเพราะความถูกตองดีงาม
ถา หากเปนไปตามหลกั ธรรมของพระพุทธเจา แลว เรอ่ื งเหลา นจ้ี ะไมม ผี ู
พิพากษาศาลอุทธรณ ศาลฎีกาอะไรยอมไมมี เพราะไมม เี รอ่ื งจะให ตางคนตางมเี จตนา
มุงหวังตอความเปนคนดี พยายามฟงเหตุฟงผลเพื่อความเปนคนดีดวยกัน การพูดกัน
กร็ เู รอ่ื ง ไมว า เดก็ ผูใหญ หญงิ ชาย นกั บวช ฆราวาส พูดกันรูเรื่องทั้งนั้น
ความพดู กันรเู รอื่ งกค็ อื รเู รอ่ื งเหตผุ ลดชี ว่ั ภายในใจอยา งซาบซง้ึ ทั้งมีความมุง
หวงั อยากรเู หตผุ ล ความสตั ยค วามจรงิ ความดีงามอยูแลว ฟงกันยอมเขาใจไดงายและ
ปฏิบัติกันไดอยางสม่ําเสมอ ไมมีที่แจงที่ลบั เทา นั้น ที่โลกไมไดเปนไปตามใจหวัง! ไป
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๒
๕๐๓
อยใู นสถานทใี่ ด บนแตความทุกขความรอน ระสาํ่ ระสายวนุ วายไปหมดทง้ั แผน ดนิ
ทั้งๆ ทต่ี า งคนตา งเรยี น ตา งคนตา งหาความรู ความรูนั้นก็ไมเกิดประโยชนอะไรนอก
จากเอามาเผาตวั เทา นน้ั เพราะความรปู ระเภทนน้ั ๆ ไมม ธี รรมเขา เคลอื บแฝง ไมมี
ธรรมเขา อดุ หนนุ ไมม ธี รรมเขา เปน “เบรก” เปน “คนั เรง ” เปนพวงมาลยั จงึ เปน ไป
ตามยถากรรมไมมีขอบเขต
เมอ่ื พจิ ารณาอยา งน้ี ยอมจะเห็นคุณคาแหงธรรมของพระพุทธเจาวามีมากมาย
เพียงไร เพยี งแตเ ราพยายามทาํ ตวั ใหเ ปน คนดี แมไ มส ามารถแนะนาํ สง่ั สอนผใู ดให
เปนคนดีไดก็ตาม ลําพังประพฤติปฏิบัติตัวใหเปนคนดี อยใู นสถานทใ่ี ด อริ ยิ าบถใด
เรากเ็ ยน็ ความเยน็ ความผาสุกสบายเกิดข้ึนจากความถูกตองแหงการกระทําของตนเอง
ความเยน็ จงึ ปรากฏขน้ึ กบั บคุ คลนน้ั
คาํ วา “ความถูกตอง” “ความรม เยน็ ” นน้ั มเี ปน ขน้ั ๆ ขั้นทั่วๆ ไปก็มีไดทุกคนถา
ตั้งใจประพฤติปฏิบัติใหมี ไมมองขามตนไปเสีย โลกนีก้ ็เปน โลกผาสกุ รม เย็น นา อยนู า
อาศัย นา รน่ื เรงิ บนั เทงิ
ยงิ่ ไปกวา นนั้ ผจู ะปฏบิ ตั ใิ หไ ดค วามสขุ ความเจรญิ ภายในจติ ใจกวา ภาคทว่ั ๆ ไป
ก็พยายามบําเพ็ญตนใหเขมงวดกวดขัน หรอื ขยบั ตวั เขา ไปตามลาํ ดบั แหง ความมงุ หวงั
ความสุขอันละเอียดสุขุมก็จะปรากฏขึ้นมา
เฉพาะอยา งยง่ิ ผสู นใจทางจติ ตภาวนา ถา ถอื วา เปน แนวรบ เปน การกา วเขา สู
สงคราม กเ็ รยี กวา เปน แนวหนา ทเี ดยี ว จาํ พวกนจ้ี าํ พวกแนวหนา ถา มุงหวังขนาดน้ัน
แลวเจา ตวั จะทําออ นแอไมได ทุกสิ่งทุกอยางตองมีความเขมงวดกวดขันตนเองอยูเสมอ
สุดทายก็คอยกลายเปนผูมีสติอยูตลอดเวลาได ไมงั้นก็ไมจัดวาเปนผูเขมแข็งเพื่อชัย
ชนะในสงคราม ความเขมแข็งตองขึ้นอยูกับความเพียรและสติปญญา สงั เกตความ
เคลื่อนไหวไปมาของตนวาจะเปนไปในทางถูกหรือผิด ซง่ึ เปน สว นละเอยี ดไปโดยลาํ ดบั
วา ตองอาศัยสติปญญาเปนเครื่องระงับ ระวังรักษาอยางเขมงวดกวดขันอยูตลอดเวลา
กระแสของจิตหรือความคิดปรุงตางๆ กไ็ มไปเที่ยวกวา นเอาอารมณท ่เี ปน พิษ
เปน ภยั เขา มาเผาลนตนใหไ ดร บั ความเดอื ดรอ น จติ เมอื่ ไดร ับความบาํ รงุ รกั ษาโดยถูก
ทาง ยง่ิ จะมคี วามสงบผอ งใสและผาสกุ รม เยน็ ไปโดยลาํ ดบั ไมอ บั เฉาเมามวั ดงั ทเ่ี คย
เปนมา
ฉะนน้ั บรรดาลกู ศษิ ยท ง้ั หลายไดม าอบรมในสถานทน่ี ้ี กเ็ ปน เวลานานพอสมควร
จึงกรุณานําเอาธรรมของพระพุทธเจานอมเขามาสถิตไวที่จิตใจของตนเถิด อยาไดคิดวา
“เราจากครจู ากอาจารยไ ป เราจากวดั วาอาวาสไป” นน่ั เปน เพยี งกริ ยิ าเทา นน้ั สง่ิ สาํ คญั
ควรคิดถึงขอธรรมที่พระพุทธเจาทรงสอนไววา “ผใู ดปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ รรม ผนู น้ั
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๓
๕๐๔
ไดช อ่ื วา บชู าเราตถาคต“ไดแก ประพฤติปฏิบัติตัวเราดวยสติปญญา ศรัทธา ความเพยี ร
อยูในสถานที่ใดอิริยาบถใดมีความเขมงวดกวดขัน มคี วามประพฤติปฏบิ ัตอิ ยภู ายในจิต
ใจ อยดู ว ยความระมดั ระวงั ตวั เชน นช้ี อ่ื วา “เปน ผปู ฏบิ ตั สิ มควรแกธ รรมและบชู า
ตถาคต” คือพระพุทธเจาอยูตลอดเวลา
บทที่สอง “ผใู ดเหน็ ธรรมผนู น้ั เหน็ เราตถาคต” เหน็ ธรรมนเ้ี หน็ อยา งไร ? รู
ธรรมนี้รูอยางไร? กด็ งั ทเ่ี ราปฏบิ ตั อิ ยนู แ้ี หละ ทางจติ ตภาวนาเปน สาํ คญั นี่คือการ
ปฏบิ ตั ธิ รรม การเหน็ ธรรมกจ็ ะเห็นอะไร ถา ไมเ หน็ สง่ิ ทก่ี ดี ขวางอยภู ายในตนเองเวลาน้ี
ซง่ึ เราถอื วา มนั เปน ขา ศกึ ตอ เรา ไดแก “สจั ธรรม สองบทเบื้องตน คือทุกขหนึ่ง สมทุ ยั
หนง่ึ ”
เราพจิ ารณาสง่ิ เหลา นใ้ี หเ ขา ใจตามความจรงิ ของมนั ทม่ี อี ยกู บั ทกุ คน ทกุ ตวั สตั ว
ไมมีเวน เวนแตพ ระอรหนั ตเทานน้ั ทส่ี มทุ ัยไมเ ขา ไปแทรกทา นได นอกนั้นตองมีไมมาก
ก็นอย ทท่ี า นเรยี กวา “สจั ธรรม”
พจิ ารณาใหเ หน็ ความจรงิ ของสง่ิ เหลา นแ้ี ลว กช็ อ่ื วา “เหน็ ธรรม” ละไดถอนได
เกดิ เปน ผลความสงบสขุ เย็นใจขนึ้ มาจากการละการถอน การปลอ ยวางสง่ิ ทง้ั หลายเหลา
นี้ได เรยี กวา “เหน็ ธรรม” คอื เหน็ เปน ขน้ั ๆ เหน็ เปน ระยะๆ จนกระทั่งเห็นองคตถาคต
โดยสมบรู ณ
ถา เราจะพดู เปน ขน้ั เปน ภมู กิ เ็ ชน
(๑) ผปู ฏบิ ตั ไิ ดส าํ เรจ็ พระโสดาปตติมรรค โสดาปต ติผล ชอ่ื วา ไดเ หน็ พระ
พทุ ธเจา ขน้ั หนง่ึ ดว ยใจทห่ี ยง่ั ลงสกู ระแสธรรม เรยี กวา เรม่ิ เหน็ พระพทุ ธเจา แลว ถาเปน
ทงุ นากเ็ รม่ิ เหน็ ทา นอยทู างโนน เราอยทู างน้ี
(๒) สกทิ าคา ก็เห็นพระพุทธเจาใกลเขา ไป
(๓) อนาคา ใกลเขาไปอีกโดยลําดับ
(๔) ถงึ อรหัตผลแลว ชอ่ื วา เหน็ พระพทุ ธเจา โดยสมบรู ณ และธรรมทจ่ี ะให
สาํ เรจ็ มรรคผลนน้ั ๆ ในทางภาคปฏิบัติก็อยูกับเราดวยกันทุกคน
การที่เรายึดถือการประพฤติปฏิบัติอยูตลอดเวลาก็ชื่อวา “เราเดนิ ตามตถาคต
และมองเหน็ พระตถาคตดว ยขอ ปฏบิ ตั ขิ องเราอกี แงห นง่ึ เห็นตถาคตโดยทางเหตุ
คอื การปฏบิ ตั ิ เหน็ โดยทางผลคือสิ่งที่พึงไดรับโดยลําดับ เชน เดยี วกบั พระพทุ ธเจา ทรง
รูทรงเห็นทรงไดร บั และทรงผา นไปโดยลาํ ดบั แลว นน้ั ”
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๔
๕๐๕
เพราะฉะนัน้ พระพุทธเจา ก็ดี พระธรรมก็ดี พระสงฆก็ดี ไมไดห างเหินจากใจ
ของผูปฏิบัติธรรม เพื่อบูชาพระตถาคต หรอื บชู าพระธรรม พระสงฆน เ้ี ลย นเ่ี ปน การ
บชู าแท นเ่ี ปน การเขา เฝา พระพทุ ธเจา อยตู ลอดเวลาดว ยความพากเพยี รของเรา
การจากไปเปน กริ ยิ าอาการอนั หนง่ึ เทา นน้ั อยทู น่ี ก่ี จ็ าก เชน นั่งอยูที่นี่ แลว ก็
จากไปที่นั่น นั่งที่นั่น ลุกจากที่นั่นก็จากมาที่นี่ มนั จากอยตู ลอดเวลานะเรอ่ื งความจากน่ี
เราอยา ไปถอื วา จากนน้ั จากน้ี จากเมืองนั้นมาเมืองนี้ จากบา นนไ้ี ปบา นนน้ั จากสถานท่ี
นี่ไปสูสถานที่นั่น กเ็ รยี กวา “จาก” คอื จากใกลจากไกล จากอยโู ดยลาํ ดบั ลาํ ดาแหง โลก
อนิจจัง มันเปนของไมเที่ยงอยูเชนนี้ มคี วามเปลย่ี นแปลงแปรปรวนอยเู สมอ
สง่ิ นเ้ี รานาํ มาพจิ ารณาใหเ ปน อรรถเปน ธรรมได โดยหลักของ “ไตรลักษณ” เปน
ทางเดนิ ของผรู จู รงิ เหน็ จรงิ ทง้ั หลาย ตองอาศัยหลักไตรลักษณเปนทางเดิน เราอยทู น่ี ่ี
เรากบ็ าํ เพญ็ ธรรม เราไปอยทู นี่ ั่นเราก็บําเพญ็ ธรรมเพือ่ ละเพอื่ ถอดถอนกเิ ลส เพือ่ ระงับ
ดับความทุกขทั้งหลายที่มีอยูในจิตใจ อยูท ่ีไหนเรากบ็ ําเพญ็ เพ่อื ความละความถอน
ยอมจะละไดถอนไดดวยการบําเพ็ญดวยกัน โดยไมห มายถงึ สถานทีน่ นั่ สถานท่นี ่ี เพราะ
สําคัญอยูที่การปฏิบัติเพื่อการถอดถอนนี้เทานั้น
พระพุทธเจา จงึ ทรงสงั่ สอนสาวกวา “ไปเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอไปหาอยูในที่สงบ
สงัด เปน ผเู หนยี วแนน แกน นกั รบ อยสู ถานทเ่ี ชน นน้ั ชอ่ื วา เธอทง้ั หลายเขา เฝา เราอยู
ตลอดเวลา ไมจ าํ เปนทีเ่ ธอท้งั หลายจะมาน่ังหอ มลอ มเราอยเู ชนนี้ถือวาเปนการเขาเฝา
ไมใชอยางนั้น ! ผูใดมีสติผูใดมีความเพียร อยใู นอริ ยิ าบถใดๆ ชื่อวา “ผบู ชู าเรา
ตถาคต” หรอื เฝา ตถาคตอยตู ราบนน้ั แมจ ะนง่ั อยตู รงหนา เราตถาคต ถาน่งั อยูดว ย
ความประมาทก็หาไดพบตถาคตไม หาไดเ ห็นตถาคตไม เราไมถอื วาการเขามาการออก
ไปเชน นเ้ี ปน การเขา เฝา ตถาคต และการออกไปจากตถาคต แตเ ราถอื ความเพยี รเพอ่ื
ถอดถอนกิเลสภายในใจตางหาก
การถอดถอนกิเลสไดมากนอยชื่อวา “เขา เฝา เราโดยลาํ ดบั ” นช่ี อ่ื วา “เราเหน็
ตถาคตไปโดยลําดับๆ !” ซึ่งเปนหลักใหญที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนพุทธบริษัททั้ง
หลายวา “ไปเถิด ไปหาประกอบความพากเพียรเพื่อถอดถอนกิเลสที่เปนขาศึกอยูภาย
ในจิตใจของตนใหห มดสนิ้ ไปโดยลําดบั แลวพวกเธอทั้งหลายจะเหน็ ตถาคตเองวา อยู
ในสถานทใ่ี ด โดยไมจําเปนตองมามองดูตถาคตดวยดวงตาอันฝาฟาง ไมม สี ตนิ ีว้ าเปน
ตถาคต ขอใหถอดถอนสิ่งที่เปนขาศึกแกจิตใจของพวกเธอทั้งหลายใหได จนกระทั่ง
หมดไปโดยสิ้นเชิงแลว เธอทง้ั หลายจะเห็นตถาคตอนั แทจ รงิ ซึ่งเปน “สมบตั ขิ องพวก
เธอแท” อยภู ายในใจพวกเธอนน้ั แล “แลว นาํ ธรรมชาตนิ น้ั มาเทยี บเคยี งกบั ตถาคตวา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๕
๕๐๖
เปนอยางไร ? ไมมีอะไรสงสัย เพราะธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ทุ ธน์ิ น้ั เหมอื นกนั !” น่ี ! ฟงพระ
โอวาทของพระพุทธเจาซึ่งเปนหลักสําคัญอยางนี้ !”
การทาํ จติ ใจ การทาํ ตวั ใหเ ปน คนดี ชอ่ื วา เปน การสง่ั สมความสขุ ความเจรญิ ขน้ึ
ภายในจติ ใจโดยลาํ ดบั ผลกค็ อื ความสขุ นน่ั เอง
ท่ีหาความสุขไมไดห รือมคี วามสุขไมส มบรู ณ ก็เพราะมสี ่ิงทก่ี ีดขวางอยูภายใน
จติ ใจของเรา ไดแกกิเลสนั่นเองไมใชอะไรอื่น มกี เิ ลสเทา นน้ั ทเ่ี ปน เครอ่ื งกดี ขวางเสยี ด
แทงจิตใจของสัตวโลกอยู ไมใ หเ หน็ ความสขุ ความสมบรู ณ ความทกุ ขค วามลําบากท้ัง
ภายในภายนอกสว นมากเกิดข้ึนจากกิเลสไมใ ชเร่ืองอน่ื เชน มเี จบ็ ไขไ ดป ว ยภายในรา ง
กาย ก็จะมีเรื่องของกิเลสแทรกเขามาวา “เราเจบ็ นน้ั เราปวดน”้ี เกดิ ความกระวน
กระวายระสาํ่ ระสายขน้ึ มาภายในใจ ซึ่งเปนทุกขทางใจอีกประการหนึ่ง แทรกขึ้นมาจาก
โรคภายในรา งกาย
ถา เพียงโรคกายธรรมดา พระพุทธเจา พระสาวกทานก็เปนได เพราะขนั ธอ นั น้ี
เปนกฎธรรมชาติแหงสมมุติอยูแลว คือไตรลักษณ ใครจะมาขามพนสิ่งนี้ไปไมได เมื่อมี
ธาตุมีขันธก็ชื่อวา “สมมุติ” และตองอยูใตกฎธรรมชาติกฎธรรมดา ตองมีความแปร
สภาพไปเปน ธรรมดา
แตใ จนน้ั ไมม คี วามหวน่ั ไหว เพราะรเู ทา ทนั กบั สง่ิ ทง้ั หลายเหลา นน้ั แลว โดยรอบ
คอบ ไมม ชี อ งโหวภ ายในใจ แตพ วกเราไมเ ปน เชน นน้ั เมอ่ื ทกุ ขเ กดิ ขน้ึ ภายในรา งกาย
มากนอย ก็เปนการสอถึงจิตใจที่จะสั่งสมความทุกขขึ้นภายในตนอีกมากนอยไมมี
ประมาณ ดไี มดีความทุกขภ ายในใจย่ิงมากกวา ความทุกขภ ายในรางกายเสยี อีก
เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี กวา “กิเลสมันเขาแทรกไดทุกแงทุกมุม” ถา เราเผลอไมม สี ติ
ปญ ญารเู ทา ทนั มนั กิเลสเขาไดทุกแงทุกมุมโดยไมอ า งกาลอา งเวลา อา งสถานท่ี
อริ ยิ าบถใดๆ ทั้งสิ้น มันเกิดไดทุกระยะ ขอแตความเคลื่อนไหวของจิตแสดงออกโดย
ไมมีสติ ปญ ญากก็ ลายเปน สญั ญา จิตจึงกลายเปนเรื่องของกิเลส ชวยกเิ ลสโดยไมร ตู ัว
แลวจะเปน อรรถเปนธรรมขึน้ มาไดอ ยางไร ! นอกจากเปนกิเลสทั้งตัวของมัน แลว เพม่ิ
พนู ขน้ึ โดยลาํ ดบั เทา นน้ั
จึงตองทุมเทสติปญญา ศรัทธา ความเพยี ร ของเราลงใหท นั กบั เหตกุ ารณท เ่ี ปน
อยภู ายในใจ
เรยี นธาตเุ รยี นขนั ธเ ปน บคุ คลประเสรฐิ เรียนอะไรจบก็ยังไมพอกับความ
ตองการ ยงั มคี วามหวิ โหยเปน ธรรมดาเหมอื นโลกทว่ั ไป แตเ รยี นธาตเุ รยี นขนั ธเ รยี น
เรื่องของใจจบ ยอมหมดความหิวโหย อิ่มตัวพอตัวอยางเต็มที่ประจักษใจ !
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๖
๕๐๗
เวลานเ้ี รายงั บกพรอ งใน “วิชาขันธ” และภาคปฏบิ ตั ใิ น “ขันธวิชา” คือ สติปญญา
ความรูแจงแทงทะลใุ นธาตุในขันธว า เขาเปน อะไรกนั แนต ามหลกั ความจรงิ แยกแยะให
เหน็ ความจรงิ วา อะไรจรงิ อะไรปลอม เรียนยังไมจบ เรยี นยงั ไมเ ขา ใจ มนั จงึ วนุ วายอยู
ภายในธาตใุ นขนั ธใ นจติ ไมม เี วลาจบสน้ิ
ความวนุ วาย ไมมีที่ไหนวุนไปกวาที่ธาตุขันธและจิตใจ ซึง่ เกิดเรื่องเกดิ ราวอยู
ตลอดเวลาทช่ี าํ ระสะสางกนั ยงั ไมเ สรจ็ สน้ิ นแ้ี ล เพราะฉะนน้ั การเรยี นทน่ี ร่ี ทู น่ี ่ี จึงเปน
การชําระคดีซึ่งมีความเกี่ยวของกันอยูมากมาย มีสติปญญาเปนผูพิพากษาเครื่องพิสูจน
และตัดสินไปโดยลาํ ดบั
เอา เรยี นใหจ บ ธาตุขนั ธม ีอะไรบา ง ดังเคยพูดใหฟงเสมอ
“รปู ขนั ธ” ก็รางกายทั้งรางไมมีอะไรยกเวน รวมแลว เรยี กวา “รูปขันธ” คือกาย
ของเราเอง
“เวทนาขนั ธ” ความสขุ ความทกุ ข เฉยๆ เกดิ ขน้ึ ภายในรา งกายและจติ ใจ ทา น
เรยี กวา “เวทนาขนั ธ”
“สญั ญาขนั ธ” คือ ความจาํ ไดห มายรใู นสง่ิ ตา งๆ ทา นเรยี กวา “สัญญาขันธ”
“สงั ขารขนั ธ” คอื ความปรุงของใจ คิดดีคิดชั่ว คิดเรื่องอดีตอนาคต ไมมี
ประมาณ ทา นเรยี กวา “สังขารขันธ” เปนหมวดเปนกอง
“วญิ ญาณขนั ธ” ความรบั ทราบ เวลารปู เสยี ง กลิ่น รส เครื่องสัมผัส มากระทบ
ตา หู จมกู ลน้ิ กาย รายงานเขา ไปสใู จใหร บั ทราบในขณะทส่ี ง่ิ นน้ั ๆ สมั ผสั แลว ดบั ไป
พรอมตามสิ่งนั้นที่ผานไป นท่ี า นเรยี กวา “วิญญาณขันธ” ซึ่งเปน “วญิ ญาณในขนั ธห า ”
“วญิ ญาณในขนั ธห า ” กับ “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” นน้ั ตา งกนั ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณหมาย
ถึง “มโน” หรอื หมายถงึ จติ โดยตรง จิตท่จี ะกาวเขา สู “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” ในกาํ เนดิ ตา งๆ
ทา นเรยี กวา “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” คอื ใจโดยตรง
สว น “วญิ ญาณในขนั ธห า ” นี้ มีความเกิดดับไปตามสิ่งที่มาสัมผัส สิ่งนั้นมา
สมั ผสั แลว ดบั ไป วิญญาณก็ดับไปพรอม คอื ความรบั ทราบ ดับไปพรอมขณะที่สิ่งนั้น
ผานไป
แต “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” นั้นหมายถึงใจ ซึ่งมีความรูอยูโดยลําพังแมไมมีอะไรมา
สมั ผัสอันน้ี อันนี้ไมดับ !
เรยี นขนั ธห า เรยี นทบทวนใหเ ปน ทเ่ี ขา ใจ เรยี นใหห ลายตลบทบทวน คุยเขี่ยขุด
คน คน จนเปน ทเ่ี ขา ใจ นี่คือสถานที่ทํางานของผูที่จะรื้อกิเลสตัณหาอาสวะออกจากจิต
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๗
๕๐๘
ใจทเ่ี รยี กวา “รอ้ื ถอนวฏั วน” คือความหมุนเวยี นแหงจิตท่ไี ปเกดิ ในกาํ เนิดตา งๆ ไป
เทย่ี วจบั จองปา ชา ไมม สี น้ิ สดุ ทั้งๆ ที่ยังไมตายก็ไปจับจองไวแลว กเ็ พราะเหตแุ หง
ความหลงในขนั ธ ความไมรูเรื่องของขันธ จึงตองไปหายึดขันธ ทั้งๆ ที่ขันธยังอยูก็ยังไม
พอ ยังไปยึดไปหลงติดเรื่อยๆ ไมมคี วามสน้ิ สุด ถาไมเอาปญญาเขาไปพิสูจน
พิจารณาจนกระทั่งรูจริงและตัดได ทา นจงึ ใหเ รยี นธาตขุ นั ธ รูปขันธ “ก็คือ ตวั
สจั ธรรม” ตัว “สติปฏฐานส”่ี นน่ั เอง อะไรๆ เหมอื นกนั หมด เปนไวพจนของกันและกัน
ใชแทนกันได เราพิจารณาอาการใดอาการหนึ่งก็ถูกเรื่องของสัจธรรม ถูกเรื่องของสติ
ปฏฐานสี่ ปกติไมมีโรคภัยไขเจ็บเกิดขึ้น กายกเ็ ปนกายอยูอยา งนี้ รปู กเ็ ปน รปู อยเู ชน น้ี
เอง
แตความวิการของธาตุขันธก็วิการไปตามเรื่องของมัน ทกุ ขเวทนาเกิดขึ้นจาก
ความวกิ ารของสง่ิ นน้ั ที่ไมอยูคงที่ยืนนาน จิตก็ใหทราบตามเรื่องของมัน ชื่อวา “เรยี น
วิชาขันธ” อยา ไปตน่ื เตน อยาไปตระหนกตกใจ อยา ไปเสียอกเสยี ใจกบั มัน เพราะสง่ิ
เหลา นเ้ี ปน ธรรมชาตธิ รรมดาของสมมตุ ิ จะตองแปรอยูโดยลําดับ แปรอยางลล้ี บั ก็มี
แปรอยา งเปด เผยกม็ ี แปรอยูตามหลักธรรมชาติของตน ทุกระยะทุกวินาที หรอื วา วนิ าที
ก็ยังหางไป ทุกขณะหรือทุกเวลาไปเลย มันแปรของมันอยางนั้น แปรเรอ่ื ยๆ ไมม กี าร
พกั ผอนนอนหลับเหมอื นสตั วเ หมือนคน
เรื่องของทุกขก็แสดงตัวอยูเรื่อยๆ ไมเ คยหยดุ นง่ิ นอนเลย คนเรายงั มกี ารหลบั
การนอนการพักผอนกันบาง เรอ่ื งสัจธรรมเร่ืองไตรลกั ษณนีไ้ มเคยหยุด ไมเ คยผอ นผนั
สน้ั ยาวกบั ใคร ดําเนินตามหนาที่ของตัวทั้งวันทั้งคืน ยนื เดนิ นั่ง นอน กบั สง่ิ ตา งๆ
เปนสภาพจะตองหมุนไปอยูเชนนั้น ในรางกายของเราน่ีกห็ มุนของมนั อยา งนนั้ เหมอื น
กัน คอื แปรสภาพ นเ่ี รานง่ั สกั ประเดย๋ี วกเ็ จบ็ ปวดขน้ึ มาแลว นม่ี ันแปรไหมละ มันไม
แปรจะเจบ็ ปวดขน้ึ มาทาํ ไม!
ความเจบ็ ปวดนเ้ี รยี กวา “ทุกขเวทนา” มนั เปน อาการหนง่ึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหเ ราทราบท่ี
เรยี กวา “สจั ธรรม” ประการหนง่ึ พจิ ารณาใหเ หน็ ตามความเปน จรงิ ของมนั เวลาจาํ เปน
จาํ ใจขน้ึ มาเราจะอาศยั ใครไมไ ด จะไปหวงั พง่ึ คนนน้ั พง่ึ คนนเ้ี ปน ความเขา ใจผดิ ซง่ึ จะ
ทําใหกําลังทางดานจิตใจลดลงไป จนเกดิ ความทอ ถอยอดิ หนาระอาใจตอ การชวยตวั
เอง นเ่ี ปน ความเขา ใจผดิ หรือเปนความเห็นผิดของจิตซึง่ มีกิเลสเปน เคร่อื งกระซิบหลอ
กลวงอยูเ ปน ประจํา ทั้งเวลาปกติ ทง้ั เวลาเจบ็ ไขไ ดป ว ย ทง้ั เวลาจวนตวั เพอ่ื ใหเ ราเสยี
หลกั แลว ควา นาํ้ เหลวไปตามกลอบุ ายของมนั จนได
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๘
๕๐๙
เวลาจวนตวั เขา จรงิ ๆ กเ็ หมือนนักมวยขึน้ เวที ครูเขาจะส่ังสอนอบรมกันตง้ั แต
ยังไมขึ้นเวที เมอื่ กา วขน้ึ สูเ วทแี ลวไมมีทางทีจ่ ะแนะนําสัง่ สอนอยางใด ผิดกับถูก ดีกับ
ชั่ว เปน กบั ตาย ก็ตองพึ่งตัวเอง ตองชวยตัวเองอยางเต็มกําลังความสามารถ อบุ ายวธิ ที ่ี
จะชกตอยอยางไรนั้น จะไปสอนกันไมไดเ วลานน้ั
เวลาเราเขา สสู งคราม คอื ตาจน ระหวา งขนั ธก บั จติ จะแยกทางกนั คือเวลา
จะแตกสลายนน้ั แล ซึ่งเหมือนกับอีแรงอีกาที่มาจับตนไม เวลามาจับก็ไมคอยทํากิ่งไม
ใหสะเทอื นนกั แตเ วลาจะบนิ ไปละ มันเขยากิ่งจนไหวทั้งตน ถาเปนกิ่งที่ตายแลวตอง
หักไปก็มี
นเ่ี วลาธาตขุ นั ธจ ะจากเราไปมนั จะเขยา เราขนาดไหน เราจะทนตอ การเขยา ได
ดวยอะไร ? ถาไมดวยสติกับปญญา เม่อื ทนไมไดก แ็ นน อนวา ตองเสยี หลัก ฉะนน้ั เรา
ตองสูใหเต็มสติปญญากําลังความสามารถทุกดาน ไมตองคิดวาเราจะลมจม เพราะการ
สู การพิจารณาขันธใหเ ห็นตามความเปนจรงิ เพ่อื ปลดเปลอ้ื งไมใชทางใหลมจม ! นี่คือ
การชว ยตวั เองโดยเฉพาะอยา งเตม็ ความสามารถในเวลาคบั ขนั ! และเปนการถูกตอง
ตามทางดําเนนิ ของปราชญท านดวย
เมอ่ื ถงึ คราวจาํ เปน เขา มาจรงิ ๆ จะมแี ตทกุ ขเวทนาเทา นั้นแสดงอยางเดนชัดที
เดียว ภายในกายทุกชิ้นทุกสวนจะเปนเหมือนกองไฟหมดทั้งตัว ภายในกายของเราจะ
กลายเปนไฟทั้งกองไปเลย แดงโรไปหมดดวยความรุมรอน แลว เราจะทาํ อยา งไร ?
ตองนาํ สติปญญาหยง่ั ลงไปใหเ หน็ ความทกุ ขค วามรอ นนน้ั ประจักษดวยปญญา แลว
ยอนดูใจเรามนั แดงโรอยา งนนั้ ดวยไหม? มนั รอนอยา งน้ันดว ยไหม? หรือมันรอนแต
ธาตแุ ตข นั ธ ?
ถาเปนผูมีสติปญญา เคยพจิ ารณาทางดา นปญ ญาอยโู ดยสมาํ่ เสมอแลว ใจจะไม
รอน ! ใจจะเย็นสบายอยใู นทามกลางกองเพลงิ คือธาตุขันธที่กําลังลุกโพลงๆ อยูดว ย
ความทุกขน ้ันแล น่ีผปู ฏบิ ัตติ องใหเ ปน อยางน้ี ! นช่ี อ่ื วา เราชวยตัวเราเอง ใหพ ิจารณา
อยา งน้ี ไมตองไปหวังพึ่งใครในขณะนั้น เรยี กวา “ขน้ึ เวทแี ลว ” เม่อื ตั้งหนาตอ สกู ันแลว
สูใหถึงเหตุถึงผลเต็มเม็ดเต็มหนวย เอา! เปนก็เปน ตายกต็ าย! ใครจะหามลงเวทหี รอื
ไมไมสําคัญ สจู นเตม็ กาํ ลงั ความสามารถขาดดน้ิ ดว ยปญ ญานน้ั แล อยา สเู อาเฉยๆ แบบ
ทนทื่อเอาเฉยๆ ก็ไมใช ! เชน ขึ้นไปใหเขาชกตอย เขาตอ ยเอา ๆ โดยที่เราไมมีปดมี
ปองไมชกตอยสูเขาเลย นี่ใชไมได! เราตองสูเต็มกําลังเพื่อความชนะกัน เอาความตาย
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๙
๕๑๐
เปนเดิมพัน แมจะตายก็ยอมตายแตไมยอมถอย ! ตองตอสูทางสติปญญาอันเปนอาวุธ
ทันสมัย!
การตอ สกู บั เวทนากค็ อื พจิ ารณาใหเ หน็ ตามความเปน จรงิ ของมนั อยาไปบงั คบั
ใหม นั หาย ถาบังคับใหหายยอมฝนคติธรรมดา นอกจากการพจิ ารณาใหร ตู ามความ
เปน จรงิ และหายเอง! ถา ไมห ายกร็ เู ทา ทนั เวทนา ไมหลงยึดถือ
รปู กเ็ ปน รปู อยาไปเอาอะไรมาขัดมาแยงมาแทรกแซงใหเปนอยางอื่น รปู เปน
รปู กายเปน กาย สกั แตว า กาย สกั แตว า รปู , เวทนาสกั แตว า เวทนา, จะสุขก็ตาม จะทุกข
ก็ตาม เฉยๆ ก็ตาม มนั เปน เรอ่ื งเวทนาอนั หนง่ึ ๆ เทา นน้ั
ผทู ร่ี วู า กาย รวู า เวทนา ความสขุ ความทกุ ข ความเฉยๆ คอื ใคร? ถาไมใชใจ! ใจ
ไมใชธรรมชาตินั้นๆ ใหแ ยกกนั ออกใหเ หน็ กนั ดว ยปญ ญาอยางชัดเจน ชอ่ื วา เปน ผู
พิจารณาสัจธรรมโดยถูกตอง แลว จะไมห วน่ั ไหว ถงึ รา งกายจะทนไมไ หว เอา! ตั้งทา
สู ! ตั้งหนารู อะไรจะดบั ไปกอนไปหลังใหร ูม นั ! เพราะเราแนใ จแลว ดว ยสตปิ ญ ญา ทั้ง
ความจรงิ กเ็ ปน อยา งนน้ั ดว ยวา “ใจ ไมใ ชผ ดู บั ผตู าย” ใจเปน แตผ คู อยรบั ทราบทุกสิ่ง
ทุกอยาง
เอา! อะไรไมท นทานใหไป! รา งกายไมท น เอา แตกไป! เวทนาไมทน เอา สลาย
ไป! อะไรไมทนใหสลายไปหมด เอา สลายไป อะไรทนจะคงตัวอยู สวนทีค่ งตวั อยูนนั้
คืออะไร? ถาไมใชผูรูคือใจจะเปนอะไร? นน่ั ! ก็คือผูรูเดนอยูตลอดเวลา!
เมื่อไดฝกหัดตนโดยทางสติปญญาจนมีความสามารถแลว จะเปน อยา งนแ้ี น
นอนไมเปนอื่น แตถาสติปญญาอาภัพ จิตใจก็ทอแทออนแอถอยหลังอยางไมเปนทา
ความทุกขทั้งหลายจะรุมกันเขามาอยูที่ใจทั้งหมด เพราะใจเปนผูส ง่ั สมทุกขขน้ึ มาเอง
ทั้งนี้อยูกับความโงของตัวเอง เพราะฉะนั้นความทอถอยจึงไมใชทางที่จะชําระตนใหพน
จากภัยท้งั หลายได นอกจากความขยนั หมน่ั เพยี ร นอกจากความเปน นกั ตอสดู วยสติ
ปญ ญาเทา นน้ั ไมมีอยางอื่นที่จะไดชัยชนะ ไมมีอยางอื่นที่จะไดความเดน ความดบิ
ความดี ความสงา ผา เผย ความองอาจกลา หาญขน้ึ ภายในใจ
ใหพ จิ ารณาอยา งน้ี สมมตุ วิ า เราอยใู นบา น ปราศจากครูปราศจากอาจารย ครู
อาจารยไดสอนไวแลว อยางไร ปราศจากทไ่ี หน? ทา นสอนวา อยา งไร นั่นแลคือองคทาน!
นั่นแลคือองคตถาคต! นั่นแลคือองคพระธรรม! เราอยกู บั พระธรรม เราอยูกับพระพุทธ
เจา เราอยกู ับพระสงฆตลอดเวลา โดยพระโอวาททนี่ าํ มาประพฤติปฏบิ ัติ กล็ ว นแลว แต
เรื่องของทานทั้งนั้น เราไมไ ดป ราศจากครปู ราศจากอาจารย เราอยดู ว ยความมที พ่ี ึง่ คือ
มีสติปญญา มีศรัทธา ความเพยี ร รบฟน หน่ั แหลกอยกู บั สง่ิ ทเ่ี ปน ขา ศกึ อยเู วลาน้ี จะวา
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๑๐
๕๑๑
เราปราศจากครอู าจารยไ ดอ ยา งไร ! เราอยกู บั ครู และรกู ต็ อ งรแู บบมคี รู ! สูก็ตองสู
แบบมคี รู !
นค่ี อื วธิ กี ารแหง การปฏบิ ตั ติ น ไมม คี วามวา เหว ไมม คี วามหวน่ั ไหว ใหม คี วาม
แนว แนต ามความจรงิ แหง ธรรมทค่ี รอู าจารยไ ดส ง่ั สอนไวแ ลว ยึดถือเปนหลักเกณฑอยู
ภายในใจโดยสมาํ่ เสมอ อยทู ไ่ี หนกเ็ รยี กวา เราอยกู บั ครกู บั อาจารย กับพระพุทธเจา
พระธรรม พระสงฆ เพราะพุทธะ ธรรมะ สังฆะ อนั แทจ รงิ แลว อยกู บั จติ มจี ติ เทา นน้ั จะ
เปน “พุทธ ธรรม สงฆ” ได หรือธรรมทั้งดวงได มีจิตเทานั้นที่จะอยูกับพระพุทธเจา
พระธรรม พระสงฆ ได ไมใชอะไรทั้งหมด!
กายไมร เู รอ่ื ง จะไปรูเรื่องพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ไดอยางไร เวทนาก็
ไมรูเรื่อง สญั ญาเพยี งจาํ มาใหแ ลว หายเงยี บไป สงั ขารปรงุ ขน้ึ แลว หายเงยี บไป จะเปน
สาระอะไรทีพ่ อจะรบั พระพทุ ธเจาเขาไวภ ายในตนได ผทู ร่ี บั ไวไ ดจ รงิ ๆ คือผูที่เขาใจ
เรื่องของพระพุทธเจาจริงๆ และเปน ผูท ี่ “เปน พุทธะ” อันแทจริง กค็ อื จติ นเ้ี ทา นน้ั
ฉะนั้นจงึ ใหพ จิ ารณาจติ ใหเ ตม็ เมด็ เตม็ หนว ย อยาทอถอยออนแอ อยา งไรเรา
ทุกคนตองกาวเขาสูสงครามที่เปนเรื่องใครชวยไมไดดวยกันทุกคน นอกจากเราจะชว ย
ตัวเอง และแนท ีส่ ุดวา เราตอ งชว ยตวั เองทุกคน ถงึ คราวจาํ เปน มาไมม ใี ครจะชว ยได
พอก็พอ แมกแ็ ม ลูกก็ตาม สามีก็ตาม ภรรยากต็ าม เปนแตเพยี งดูอยูเฉยๆ
ดว ยความอาลยั รกั เสยี ดาย อยากชวยแตชวยไมได สดุ วสิ ยั !
ถงึ วาระแลว ทจ่ี ะชว ยเราใหพ น จากความทกุ ขค วามทรมาน ใหพนจากสิ่งพัวพัน
ทง้ั หลายนน้ั เครื่องชว ยนัน้ นอกจากปญ ญา สติ และความเพียรของเราเองแลว ไมมี!
ฉะนนั้ เราจงึ เขมงวดกวดขันและมีความเขม แข็งอยกู บั ใจ แมร า งกายจะหมด
กําลัง และใหเ ขา ใจในเรอ่ื งเหลา นเ้ี สยี ตง้ั แตบ ดั นเ้ี ปน ตน ไป จะไมเสียทา เสียที
ไมว าเรอ่ื งของขนั ธจ ะแสดงขึ้นอยางไร มนั ไมเ หนอื ตาย แสดงขน้ึ มามากนอ ย
เพียงไรมันกถ็ งึ แคต ายเทา น้ัน
ผรู กู ร็ กู นั ถงึ ตาย เมอ่ื ธาตขุ นั ธส ลายไปแลว ผรู กู ห็ มดปญ หาเรอ่ื งความรบั ผดิ
ชอบ ขณะนต้ี อ งพจิ ารณาใหเ ตม็ ท่ี เอาใหมันถึงพริกถึงขิงถึงเหตุถึงผล เราก็ถึงธรรม
อันแทจ ริงภายในใจ
การแสดงธรรมกเ็ หน็ วา สมควร ขอยุติเพียงแคนี้
ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๑๑