๙๕
เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๔ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘
กําจัดกิเลสพนทุกข
ทท่ี า นพดู วา “โลก” กค็ อื หมสู ตั ว “สตฺต” แปลวา ผขู อ ง ผูยังติดยังของ อะไร
ทาํ ใหข อ ง? เพียงเทานั้นก็ทราบแลว ทา นพรรณนาไวห ลายสง่ิ หลายอยา งหลายภพ
หลายภมู ิ ลวนแตภูมิสถานที่ที่ใหจติ ติดจิตของและจะตองไปทั้งนั้น ทา นจงึ วา จิตนเ้ี ปน
นักทองเที่ยว เพราะเที่ยวไปไมหยุดไมถอย กลวั หรอื กลา กต็ อ งไป เพราะกาํ ลงั ตกอยใู น
ความเปน นกั ตอ สู ขน้ึ ชอ่ื วา “นัก” แลว มนั ตอ งตอ สอู ยา งไมล ดละทอ ถอย ถาไมเปน
อยา งนน้ั กไ็ มเ รยี กวา “นกั ” คอื สไู มถ อย
ภพภูมิตางๆ ไปเกิดไดทั้งนั้น แมแ ตน รกอเวจซี ง่ึ เปน สถานทม่ี ที กุ ขเ ดอื ดรอ น
มากผดิ ทกุ ขท ง้ั หลาย จิตยังตองไปเกิด! อะไรทําใหจิตเปนนักตอส?ู
เชอ้ื แหง ภพชาตคิ อื กเิ ลสทง้ั มวลนน่ั เอง ที่ทําใหสัตวทํากรรม กรรมเกิดวิบาก
เปนผลดีผลชั่ว วนไปเวียนมาในภพตางๆ ภพนอยภพใหญไมมีประมาณ วาจะหลุดพน
จากความเกดิ ในภพนน้ั ๆ ไดเมื่อใด เกดิ เปน ภพอะไรตวั ประธานกอ็ ยทู ่ี “ใจ” เปนผูจะ
ไปเกิด เพราะอํานาจกิเลส กรรม วบิ าก พาใหเ ปน ไป
ในโลกเรานี้มีสัตวเกิดมากนอยเพียงไรใครจะไปนับได! เพียงในบริเวณวัดนี้
สัตวต า งๆ ทส่ี ดุ วสิ ยั “ตาเนอ้ื ” จะมองเห็นไดมีจํานวนมากเทาใด สัตวที่เกิดที่อยูในที่
มองเหน็ ไดด ว ยตาเนอื้ นก้ี ม็ ี ที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเนื้อ เพราะละเอียดก็มี แม
แตส ตั วเ ล็กๆ ซ่งึ เปน ดา นวัตถุ แตไมส ามารถมองเห็นไดด วยตาเนอื้ กม็ ี สัตวที่เกิดเปน
“ภพ” เปนทั้งลี้ลับทั้งเปดเผยในโลกทั้งสามจึงมีมากมาย ถาเปนสิ่งที่มองเห็นดวยตา
เนอ้ื ไดแ ลว จะหาที่เหยียบย่ําลงไปไมไดเลย เต็มไปดวยจติ วิญญาณของสัตว เต็มไป
ดวยภพดวยชาติของสัตวประเภทตางๆ ทง้ั หยาบทัง้ ละเอยี ด เต็มไปทั้งสามภพสามภูมิ
แมแตชองลมหายใจเรายังไมวาง
ในตัวของเรานีก้ ม็ ีสัตวช นดิ ตางๆ อยมู ากจนนา ตกใจ ถา มองเหน็ ดว ยตาเนอ้ื
เชน เชื้อโรค เปนตน ไมเพียงแตวิญญาณ คอื จติ เราดวงเดยี วทอ่ี าศยั อยใู นรา งนเ้ี ทา นน้ั
ยงั มอี กี กพ่ี นั กห่ี มน่ื วญิ ญาณอาศยั อยใู นรา งนด้ี ว ย ฉะนน้ั ในรา งกายเราแตล ะคน จึงเต็ม
ไปดว ยวญิ ญาณปรมาณขู องสตั วห ลายชนดิ จนไมอ าจคณนา มีอยูทุกแหงได เพราะมี
มากตอ มาก และละเอียดมากจนไมสามารถเห็นไดดวยตา ฟงไดดวยหู
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๕
๙๖
ในอากาศกลางหาว ในนาํ้ บนบก ทั่วทิศตางๆ มีสัตวเต็มไปหมด แลวยังมัว
สงสยั อยหู รอื วา “ตายแลวสญู ไมไดเ กดิ อีก” กอ็ ะไรๆ มนั เกดิ อยเู วลานเ้ี กลอ่ื นแผน ดนิ
ภพหยาบก็มีมนุษย ซง่ึ กาํ ลงั หาโลกจะอยไู มไ ด ยังจะมาสงสัยอะไรอีก
ความเกดิ กแ็ สดงใหเ หน็ อยทู กุ แหง หน ทั้งหยาบทั้งละเอียด ทง้ั ในนาํ้ บนบกมไี ป
หมด ตลอดบนอากาศ ยงั จะสงสยั อยหู รือวาตายแลวไมเ กดิ แลว อะไรมนั มาเกดิ ดูเอาซี
เครื่องยืนยัน “ไมสูญ” มอี ยกู บั ทกุ คน ถาสตั วตายแลว สญู ดังทเ่ี ขา ใจกัน สัตวเอาอะไร
มาเกิดเลา? ลงตายแลวสูญไปจริงๆ จะเอาอะไรมาเกิดได สิ่งที่ไมสูญนั้นเองพาใหมา
เกดิ อยเู วลาน้ี ไปลบลา งส่งิ ท่มี อี ยใู หสญู ไปไดอ ยา งไร ความจริงมันมีอยูอยางนั้น ทล่ี บ
ไมส ูญกค็ อื ความจริงนัน่ แล
จะมใี ครเปนผูฉลาดแหลมคม รไู ดล ะเอียดลออทุกสง่ิ ทุกอยางตามส่ิงท่ีมอี ยู
เหมือนพระพุทธเจาเลา?
พวกเราตาบอดมองไมเห็นตัวเอง ไดแ ตล บู คลาํ ไปลบู คลาํ มา คลําไมเจอก็วาไม
มี แตไปโดนอยูไมหยดุ หยอนในสิง่ ทเ่ี ขา ใจวา ไมม ีนั้น ตางคนตางโดน “ความเกดิ ”
อยา งไรละ โดนกันทุกคนไมมีเวน เหมือนเราไมเห็น เดนิ ไปเหยยี บขวากเหยยี บหนาม
นน่ั นะ เราเขาใจวาหนามไมมีขณะที่เหยียบ แตก ็เหยียบหนามท่ีตนเขาใจวา ไมม ีน่ัน
แหละ มันปกคนผูไมเห็นแตไปเหยียบเขา เพียงเทานี้ก็พอทราบไดวา ควรเชื่อแลวหรือ
ความรูความเห็นอนั มดื บอดของตัวเองนะ เพียงหนามอันเปนของหยาบๆ ยังไมเห็น
และไปเหยียบจนได ถา รวู า ทน่ี น่ั มหี นามจะกลา ไปเหยยี บไดอ ยา งไร เชน หัวตอไปโดน
มนั ทําไม ไมไปโดนมันทําไม ถา แนใ จวา มใี ครจะกลา ไปโดน ใครจะกลา ไปเหยยี บหนาม
ซึ่งไมใชเรื่องเล็กนอย มันเปน เรื่องเจ็บปวดขนาดไหน แลว ทาํ ไมถงึ โดนกนั เรอ่ื ยๆ เลา ?
ก็เพราะความเขา ใจวา หนามไมมนี นั่ เอง
ฉะนน้ั สง่ิ ตา งๆ จงึ ไมอ ยใู นความสาํ คญั วา มหี รอื ไมม ี มันอยูที่ความจริงอยาง
ตายตัว ไมม ใี ครอาจแกไ ขใหเ ปน อน่ื ไปได
นก่ี เ็ หมอื นกนั เรอ่ื งภพเรอ่ื งชาตขิ องคนและสตั ว มีเกิดใหเห็นมีตายใหเห็นอยู
เกลอ่ื นแผน ดนิ เฉพาะในโลกเรานก้ี เ็ หน็ เกลอ่ื นแผน ดนิ อยแู ลว เมื่อเปนเชนนี้จะปฏิเสธ
จะไปลบลางไดอยางไรวามันไมเกิด วา มนั ตายแลว สญู สน้ิ ไป
เราไมเชื่อพระพุทธเจา แตเราเชื่อเราเปนอยางไรบาง? ผลของมนั ทแ่ี สดงตอบ!
ความรูค วามเหน็ ของเรามสี ูงต่ําหรือแหลมคมขนาดไหนถึงจะเชือ่ ตนเอง จนสามารถลบ
ลางความจริงทั้งหลายที่มีอยูใหสูญไปตามความรูความเห็นของตน ทั้งๆ ที่ตนไม
สามารถรูความจริงนั้นๆ ทาํ ไมจงึ สามารถอาจเออ้ื มไปลบลา งสง่ิ ทเ่ี คยมอี ยใู หส ญู ไปเมอ่ื
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๖
๙๗
เราไมรู ลบเพอ่ื เหตผุ ลอนั ใด? ความรนู ม่ี นั โงส องชน้ั สามชน้ั แลว ยงั จะวา ตนฉลาดอยู
หรือ?
ถามงุ ตอ งการความจริงดวยใจเปนนกั กีฬา กค็ วรยอมรับตามความจริงที่ปรากฏ
อยู ลองคดิ ดู มนี กั ปราชญท ไ่ี หนบา งสอนอยา งถกู ตอ งแมน ยาํ ตามหลกั ความจรงิ เหมอื น
พระพุทธเจา จะแหก นั ไปหาทไ่ี หน ลองไปหาดูซี หมดแผนดินทั้งโลกนี้จะไมมีใคร
เหมอื นเลย ใครจะมาสอนใหตรงตามหลักความมีความเปนและความจริงดังพระพุทธ
เจา แนใ จวา ไมม ี!
ประการสาํ คญั กค็ อื การคดิ วา “ตายแลวสูญ” นน้ั เปน ภยั อนั ตรายแกผ คู ดิ และผู
เกี่ยวของไมมีประมาณ เพราะคนเราเมอ่ื คดิ วา ตายแลว สญู ยอ มเปน คนสน้ิ หวงั อยากทาํ
อะไรกท็ าํ ตามใจชอบในเวลามชี วี ติ อยู สวนมากกม็ ักทําแตส ่ิงท่ีเปน โทษเปน ภัยแกต วั
เองและผูอื่น เพราะชาติหนาไมมี ทําอะไรลงไปผลจะสนองตอบไมมี ฉะนน้ั ความคดิ
ประเภทนี้จึงทําคนสิ้นใหหวัง หลงั จากนน้ั กท็ าํ อะไรแบบไมค าํ นงึ ดชี ว่ั บญุ บาป นรก
สวรรค พอตายแลว กไ็ ปเกดิ ในกาํ เนดิ สตั วผ สู น้ิ ทา เชน สัตวนรก เปน ตน อยา งชว ย
อะไรไมได ทั้งนี้พวกเรายังไมเห็นเปนของสําคัญอีกหรือ? ถา ยงั ไมเห็นศาสนธรรมซ่ึง
เปนของแทของจรงิ วา เปน ของสําคัญ ตัวเราเองก็หาสาระอะไรไมไดนั่นเอง ในขณะ
เดียวกันการปฏิเสธความจริงก็เทากับมาลบลางสารคุณของเราเอง กลายเปน คนไม
สาํ คญั คนไมมีสารคุณ คนหมดความหมาย คนทาํ ลายตวั เอง ชนดิ บอกบญุ ไมร บั
เพราะความคดิ ทล่ี บลา งความจรงิ ทม่ี อี ยนู น้ั เปน ความคดิ ทาํ ลายตนเอง สงิ่ ทมี่ คี วาม
หมายแตไปลบลา งส่งิ ท่จี ริง แตไปขัดความจริง สุดทายก็สะทอนกลับสิ่งที่จริงมาหาตัว
เอง เปนผูรับเคราะหกรรมเสียเองโดยไมมีใครอาจชวยได กลายเปนคนขาดทุนท้งั ข้นึ
ทั้งลองซี!
พวกเรานับวาดีมาก วาสนาเรามคี วามดคี มุ ครองถงึ ไดม าพบพระพทุ ธศาสนาอนั
เปน ศาสนาทถ่ี กู ตอ งตายตวั บอกขวากหนามใหส ตั วโ ลกรแู ละหลบหลกี กนั และบอก
สวรรค นิพพาน ใหส ตั วโ ลกไดไ ป ไดนอมใจเขามาประพฤติปฏิบัติ ถวายกาย วาจา ใจ
ตลอดชีวิตทกุ ส่ิงทกุ อยางกบั พระพทุ ธเจา พระธรรม พระสงฆ ดาํ รงตนอยดู ว ยศลี ดว ย
ธรรม ประพฤติคุณงามความดีตลอดมา เพ่อื เปนการเพม่ิ พูนบญุ วาสนาบารมขี องตนๆ
ใหสูงสงยิ่งขึ้นไป
ผไู มม โี อกาสทาํ ไดอ ยา งนม้ี จี าํ นวนมากมาย อยากจะพูดวา ราว ๙๙ % ประเภท
เปน อยดู ว ยความเชอ่ื บญุ เชอ่ื บาป ยงั เหลอื เปอรเ ซน็ ตเ ดยี วหรอื ไมถ งึ เปอรเ ซน็ ตก อ็ าจ
เปนได เมอ่ื เทยี บกบั โลกทง้ั โลก
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๗
๙๘
ความเกดิ ความตายมนั เหน็ อยชู ดั ๆ ภายในจติ เพราะฉะนน้ั ขอใหเ รยี นความ
จริงซึ่งมีอยูที่จิต มันเกิดอยูที่นั่น มนั ตายอยทู น่ี น่ั เชอ้ื ใหเ กดิ ใหต ายมอี ยทู จ่ี ติ เมื่อเรียน
และประพฤติปฏิบัติทางดานจิตตภาวนา ทดสอบเขา ไปหาความจรงิ ทม่ี อี ยภู ายในจติ
ทั้งเรื่องเกิดเรื่องตาย เรื่องความเกี่ยวของพัวพันตางๆ เรื่องดีเรื่องชั่ว เรื่องบุญเรื่องบาป
เรียนเขาไปตรงนั้น จะเจอเขากับความจริงในแงตางๆ ที่นั่นโดยไมมีทางสงสัย
เมื่อเจอดวยใจตนเองอยางประจกั ษแลว ก็เหมือนเราไปเห็นดวยตาเนื้อเรา
จรงิ ๆ เราจะลบลา งไดอ ยา งไร ปฏิเสธไดอยา งไรวา สงิ่ นน้ั ไมม ี แตกอนเขาใจวาไมมี แต
ไปเห็นดวยตาแลวจะปฏิเสธไดอยางไร เพราะตนเปนผูเห็นเอง ถา ลบกต็ อ งลบดว ยการ
ควักลูกตาตนออกเพราะลูกตาโกหก
ที่ลบลางไมลงลบลางไมไดเพราะตนเห็นดวยตาวา สง่ิ นน้ั มนั มอี ยจู รงิ ถา เปน
ดานวัตถุที่จับตองดูไดก็จับตองดูได เมื่อเปนเชนนั้นตนจะลบลางไดเหรอ? วา สง่ิ นน้ั ไม
มี คอื สง่ิ ทต่ี นถอื และดอู ยนู น้ั ลบลา งไมไ ด ดังนั้นความจริงที่มีอยู ทา นผใู ดรเู หน็ ทานผู
นั้นตองยอมรับความจริงนั้น นอกจากผไู มส นใจอยากรอู ยากเหน็ ยง่ิ กวา การเชอ่ื ตวั เอง
เทานั้น ก็สุดวิสัยที่ธรรมจะชวยได
เรื่องของความจริงเปนอยางนี้ และพวกทร่ี คู วามจริงกร็ อู ยา งน้ี ทานจงึ ไมล บลาง
และสอนตามความมีความจรงิ พวกเราเปนคนมืดบอด จึงควรเชื่อและดําเนินตามทาน
จะเปนทางที่ถกู ตองดงี าม เปน ความสวสั ดมี งคลแกต วั เอง ผูมุงหวังความหลุดพนทั้ง
ปวงนับแตขั้นต่ําจนถึงขั้นสูงสุด เปนความจริงไปตามขั้นของธรรมและขั้นของผูเรียน
“จิตตภาวนา” นน่ั แหละ เปนผูจะทราบไดชัดเจน
ในวงขนั ธม ีความกระเพื่อม กระเทือนดวยภพชาติ โดยอาศยั อารมณเ ปน ผชู กั
ใยอยตู ลอดเวลา ดว ยความเกดิ ความดบั ๆ อนั มเี ชอ้ื อยภู ายในใหเ ปน ผผู ลกั ดนั ให
อาการของจติ ออกแสดงตวั จิตยังไปไมไดเพราะยังมีอัตภาพเปนความรับผิดชอบอยู
จิตจึงกระเพื่อมอยู อารมณเปนความเกิดดับ ๆ อยเู พยี งเทา นน้ั ถา ใจสามารถออกจาก
รางได ใจจะเขา ปฏสิ นธสิ กั กอ่ี ตั ภาพกไ็ ดใ นวนั หนง่ึ ๆ จะไดเ ปน ลา นอตั ภาพในคนๆ
หนง่ึ เพราะมีความติดความของความรักความชอบใจเปนสายใย รกั กต็ ดิ ชังก็ติด โกรธ
กต็ ดิ เกลียดก็ตดิ ติดไดทั้งนั้นไมมีอั้น อะไรๆ มันติดทั้งนั้น ถาใจติดอะไรทําใหเปนภพ
เปนชาติขึ้นมาอยางเปดเผยในขณะที่ติดแลว วนั หนง่ึ ๆ จะมกี ี่ลานอัตภาพในตัวเราเอง
แตนี่มันไดอัตภาพอยางเปดเผยเพียงอันเดียวเทานั้น ใจจงึ เปนเพียงไปติดไปยึดอยูกับ
อารมณน น้ั ๆ เทา น้ัน ไมอ าจถอนตวั ออกจากอตั ภาพนไ้ี ปเขา สอู ยกู บั อารมณท ใ่ี จตดิ ได
คนเราจึงมีไดเพียงอัตภาพเดียว ความเปนจริงอยางนี้ การเรียนก็เรียนอยางนี้ เรยี นให
ทราบวิถีของจิตซึ่งพรอมที่จะติดอยูเสมอ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๘
๙๙
คิดเรื่องอะไรคอยแตจะติด ตําหนิติชมส่งิ ใดก็ไปตดิ กบั สงิ่ นั้น ตําหนิก็ติด ชมก็
ตดิ ถาจิตอยูในขั้นที่ควรจะติดเปนติดทั้งนั้น ไมถอยในเรื่องติด เพราะฉะนน้ั เรือ่ งเกดิ
เรื่องตายของจิตจึงไมมถี อย เรื่องสุขเรื่องทุกขของจิตจึงมีประจําตน เพราะความคดิ
ปรงุ พาใหเ ปน ไป จิตเปนผูไมถ อยในการทํากรรมดีชวั่ ผลสุขทุกขจึงเปนเงาตามตัวแลว
ปฏิเสธไดอ ยา งไร เรอ่ื งความเปนของจติ ก็เปนอยูอยา งน้ี เห็นชัดๆ ภายในตวั เอง การ
เรียนจึงเรียนลงที่นี่ เมื่อเรียนลงไปที่นี่ซึ่งเปนเปาหมายแหงความจริงทั้งหลาย กร็ ูชดั
เจนโดยลําดับๆ
อนั ใดทค่ี วรปลอ ย เมอ่ื มีความสามารถรไู ดดว ยสตปิ ญ ญาแลวมนั ปลอ ยของมัน
เอง เมอ่ื ปลอ ยแลว สง่ิ นน้ั ไมม มี าขอ งใจอกี คอ ยๆ หมดไป ๆ ใจหดตัวเขามาเลื่อนเขามา
จากทเ่ี คยอยวู งกวา ง ปลอ ยแลว ปลอ ยเขา มา ๆ วงก็แคบเขา จนกระทัง่ เหลอื นดิ เดียวคือ
ที่ใจนี้ กร็ วู า “นี่เชอื้ แหง ภพยังมอี ยูภายในใจ” น่เี ชอ้ื แหงภพน้เี ปน ส่งิ หลอกตาไดเปน
อยางดี ถา ไมใ ชส ตปิ ญ ญาพจิ ารณาอยา งละเอยี ดสขุ มุ จะตดิ เชือ้ แหง ภพอยางไม
สงสยั ไดเ คยบอกแลว วา จติ มันรูตัวเองอยางชัดๆ จากการปฏบิ ตั ิ จะลบลา งไดอ ยา งไร
วา “จติ นเ้ี มอ่ื ตายไปแลว จะไมพ าเกดิ อกี ” เพราะตัวเกิดก็อยูกับจิต จิตก็รูวาการจะ
เกิดอีกนั้นเพราะเช้อื นเี้ ปน เหตุ รูๆ เหน็ ๆ กันอยางเปดเผยจากการปฏิบัติทางจิตต
ภาวนา ซึ่งเปนทางดําเนินที่ทรงดําเนินแลว ทรงรูประจักษพระทัยมาแลว เชอ้ื แหง ภพ
ชาตมิ อี ยใู นจติ มากนอ ย จติ จะตองเกิดในภพอกี
เมอ่ื ปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนาเขา สขู น้ั ละเอยี ด กเิ ลสยงั มมี ากนอ ยยอ มรไู ดช ดั ดว ย
ปญญา เพราะสติปญญาอันละเอียดนี้คมมาก ไมมีอะไรจะหนีรอดไปได เพราะปญญา
ความรเู หน็ สง่ิ ตา งๆ ที่มาเกี่ยวของกับจิตไดอยางรวดเร็ว จติ จะมสี าเหตใุ หไ ปเกดิ ทน่ี น่ั
ไปเกิดที่โนน สตปิ ญ ญาตามแกไ ขทนั กบั เหตกุ ารณไ มเนิ่นชา และสามารถตดั ขาดได
ในโอกาสทเ่ี หมาะสม
ประการหนง่ึ จิตขั้นละเอียดนี้พรอมที่จะหลุดพนอยูแลว เมอ่ื สตปิ ญ ญาถงึ
พรอ มกบั สง่ิ ทค่ี วรตดั ในโอกาสทค่ี วร จนสามารถตัดขาดเสียได ไมม เี งอ่ื นสบื ตอ ภายใน
จิต จนเปน จติ ทบ่ี รสิ ทุ ธล์ิ ว นๆ ขึ้นมา
เมอ่ื จติ บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว จะสญู ไปไหน? ถา มกี ารสญู ไปอยจู ะเอาอะไรมาบรสิ ทุ ธ?์ิ
และเอาอะไรมาศกั ดส์ิ ทิ ธว์ิ เิ ศษ? แมพิจารณาเทาไรๆ กไ็ มม เี งอ่ื นสบื ตอ เพราะ
กเิ ลสหมดไปแลว จิตถึงความบริสุทธิ์แทแ ลว จึงเปนอันหมดปญหากับจิตดวงนี้
ความที่จิตนี้จะเกิดจะตายตอไปอีกไมมี! ความสญู กไ็ มป รากฏวา มี เพราะฉะนั้นพระ
พุทธเจาผูบริสุทธิ์ จงึ ไมทรงแสดงความสญู ไวก ับจิตพระอรหนั ต และจิตของสัตว
โลก จึงขอยาํ้ อกี วา จติ ทจ่ี ะหมดปญ หาแลว มนั สญู ไหม? จติ ยิ่งเดน แลวจะเอาอะไรมา
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๙
๑๐๐
สญู เลา ? เมอ่ื ความจรงิ เปน อยา งนจ้ี ะเอาอะไรมาสญู ? ขุดคนเรื่องสูญเทาไร จิตยิ่งเดน
ยิ่งชัดไมมีอะไรสงสัย เดนจนพูดไมถูก บอกไมถ กู ตามโลกนยิ มสมมตุ ซิ ง่ึ หาทส่ี น้ิ สดุ ยตุ ิ
ไมได ถา ใครยงั อวดเกง ตอ ความคดิ วา “ตายแลว สญู ” เวลาไปโดยผลที่ไมคาดฝนใน
ภพหนา ก็จงเรียก “ความตายแลว สญู ” มาชว ยถา จะสมหวงั
จิตที่เดนนอกวงสมมุตินี้ แมเดนเพียงไรก็พูดใหถูกตองความจริงไมได!
เมอ่ื ปญ หาเกย่ี วกบั การตายเกดิ ตายสญู สน้ิ ไปจากใจแลว กเ็ ปน ผู “สิ้นเรื่อง”
โดยประการทง้ั ปวง ถึงความบริสุทธิ์เต็มภูมิ จิตที่บริสุทธิ์เต็มภูมินี้สูญไหม? เมื่อรูชัด
เห็นชัดอยางนี้แลวธรรมชาตินี้จะสูญไปไหน? ลงความจรงิ ทร่ี อู ยนู จ่ี ะลบไดไ หม? จะให
สูญไดไหม? ใครจะไปลบเลา? นอกจากคนตาฝาฟางมองไมเหน็ หนทาง เหยียบแต
ขวากแตห นามแลว กบ็ อกวา หนทางไมด ี สง่ิ ทม่ี กี ค็ อื ขวากหนามเตม็ ฝา เทา เทา นน้ั เมอื่
เปน เชน นน้ั เราจะเชอ่ื คนตาดหี รอื คนตาบอด จงตดั สนิ ใจดว น! อยา ใหเ สยี ดายเดย๋ี ว
ตายเปลา จะวาไมบอกไมเตือน ทอ่ี ธบิ ายมาทง้ั นเ้ี ปน คาํ บอกคาํ เตอื นอยแู ลว
ความบริสุทธิ์ที่ไมตองฝนอะไรๆ กค็ อื อนั นแ้ี ล แลวอันนี้จะสูญไปไดอยางไร แต
จะมาตั้งอยูเหมือนหมอไหโองน้ําไมได เพราะคนไมใชหมอ และนเ่ี ปน จติ จิตธรรมดา
กบั จติ บรสิ ทุ ธน์ิ น้ั ผดิ กนั มากมาย จะมาตง้ั กฎเกณฑใ หเ ปน อยา งน้ี ใหอ ยแู บบนๆ้ี ไม
ได ไมวาแบบใดๆ เพราะไมใ ช “ฐานะ” ของจิตประเภทนท้ี จ่ี ะมาตง้ั แบบนห้ี รอื แบบ
ใดๆ ดังทานวา “นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ฺญํ” นพิ พานสญู แบบนเ้ี อง คอื สญู แบบนพิ พาน
มใิ ชส ญู แบบโลกๆ ทเ่ี ขา ใจกนั
“สญู แบบนพิ พาน” คอื ไมม อี ะไรบรรดาสมมตุ เิ หลอื อยภู ายในจติ ผูที่รูวาสิ่ง
ทง้ั หลายสญู สน้ิ แลว จากใจนน่ั เลย นั่นแหละคือตัวจริง นน่ั แหละคอื ผบู รสิ ทุ ธ์ิ ผูนี้จะ
สูญไปไมได ยง่ิ เดน ยง่ิ ชดั ยง่ิ เขา ใจแจม แจง ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ผูนี้ไมสูญ ผูนี้แลเปนผูทรง
คณุ สมบตั อิ นั ยอดเยย่ี ม ในบททส่ี องวา “นพิ พฺ านํ ปรมํ สุข”ํ ผนู แ้ี ลเปน สขุ อยา งยง่ิ
นอกสมมตุ ทิ ้ังปวง
ถาจิตบริสุทธิ์ไดสูญไปจริงๆ ธรรมบทนี้จะขึ้นมารับไมได เพราะก็สูญไปหมด
แลว ไมมีอะไรจะมาเปนสุขอยางยิ่งไดเลย การปฏิบัติใหเขาใจความจริงความแทของ
ธรรม ตอ งปฏบิ ตั ใิ หถ กู ธรรม อยาฝนธรรม จะไมรูความจริงแมมีอยูในตน
คาํ วา “โลก” คอื “หมูส ตั ว” กห็ มสู ตั วต รงนเ้ี อง คือตรงที่มีเชื้อไดแกอวิชชา
ตณั หาอปุ าทานพาใหเ กดิ อยไู มห ยดุ กอ นจะไปเกดิ ใหมต อ งเกดิ อยภู ายในจติ นเ้ี อง
ทา นเรยี กวา “หมสู ตั วพ ากนั เกดิ อยทู ว่ั โลกดนิ แดน” “ตายทว่ั โลกดนิ แดน” กค็ อื ธรรม
ชาตทิ ว่ี า นน่ั เอง ไมมีอันใดเปนผูพาใหเกิดพาใหตาย
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๐
๑๐๑
สว น ความทกุ ขค วามลาํ บากทม่ี าจากธรรมชาตทิ ก่ี อ ภพ ไดแ ก “ชาตปิ ทกุ ขฺ า
ชราป ทกุ ขฺ า มรณมปฺ ทกุ ขฺ ํ” ธรรมชาตอิ นั นเ้ี อง เมื่อละหมดโดยตลอดทั่วถึงไมมีเชื้อ
“วฏั ฏะ” ทจ่ี ะพาใหเ กดิ อกี แลว ธรรมชาตนิ ก้ี เ็ ปน “ววิ ฏั ฏะ”
คาํ วา “โลกคอื หมสู ตั ว” ก็พูดไมไดอีกแลว หมดปญ หาทจ่ี ะพดู วา โลกคอื หมู
สตั วข องผบู รสิ ทุ ธน์ิ น้ั ฉะน้ันพวกเราจงพยายามปฏิบตั ิตามหลกั ความจริงทพ่ี ระพุทธ
เจาทรงสั่งสอนไวแ ลวนี้ ในธรรมทา นวา “สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม” พระธรรมอัน
พระพทุ ธเจา ตรสั ไวช อบแลว ชอบทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ไมวาเบื้องตน คอื “อาทกิ ลยฺ าณ”ํ
ไพเราะเพราะพริ้ง เต็มไปดวยเหตุดวยผลในเบื้องตนแหงธรรม “มชเฺ ฌกลยฺ าณํ”
ไพเราะเพราะพริ้ง เต็มไปดวยเหตุดวยผล เตม็ ไปดว ยความถกู ตอ งดงี ามในทา มกลาง
แหงธรรม “ปรโิ ยสานกลยฺ าณ”ํ ไพเราะในที่สุด ทาํ ใหผูฟ งซาบซึง้ เต็มไปดวยเหตุดวย
ผล ดว ยความถกู ตอ งดงี ามสดุ สว นแหง ธรรม ทุกชั้นทุกวรรคทุกตอน
ส่ิงที่นา ตเิ ตยี นและควรแกไขอยางยิง่ กค็ อื จติ ใจของสตั วโ ลกผฝู น หลกั ธรรมอยู
ตลอดเวลา เพราะกเิ ลสมอี าํ นาจมากกวา จงึ ทาํ ใหฝ น ธรรม เมื่อฝนธรรมก็ตองไดรับ
ความทุกข เกิดก็เปนเรา แกกเ็ ปนเรา เจ็บก็เปนเรา ตายก็เปนเรา ทกุ ขย ากลาํ บากชนดิ
ไหนๆ ตนกเ็ ปน คนรบั เสยี เอง กิเลสมันไมมารับแทนพอจะใหมันกลัวทุกข แลว แสวงหา
ธรรมเปนที่พึ่งดังพวกเรา
พระพุทธเจาทานไมรับทุกข สาวกทา นไมร บั ทกุ ข ดงั ทม่ี วลสตั วร บั กนั !
เพราะฉะนั้นจึงควรเห็นโทษแหงการฝนธรรมวาเปนของไมดี จะทําใหเกิดไป
เรื่อยๆ ตามความฝา ฝน จงพยายามแกไขดัดแปลงหรือฝกทรมาน ชําระสะสางสิ่งที่พา
ใหฝ น นน้ั ออกจากใจ เราจะคลอยตามธรรมซาบซึ้งในธรรมไปเรื่อยๆ ความซาบซง้ึ ใน
ธรรมนั้น เพราะธรรมเริ่มเขาถึงใจเรา และกเิ ลสกเ็ รม่ิ ถอยทพั กิเลสเบาบางลงไปแลว จึง
ทําใหมีความซาบซึ้งดื่มด่ํา มีความพอใจบําเพ็ญศีลบําเพ็ญธรรม
ถา มแี ตก เิ ลสลว นๆ เต็มหวั ใจ ไมมีธรรมเขาขัดขวางตานทานไวบางเลย ยอมไม
มีใครจะสนใจในอรรถในธรรมกัน ชาตนิ น้ี บั วา มเี ราวาสนา เพราะมีธรรมคอยสะกิดใจ
ใหเรามีความชอบความพอใจอยากไปวัดไปวา บาํ เพญ็ ศลี บาํ เพญ็ ทาน บาํ เพญ็ ภาวนา
ใหมีชองทางปฏิบัติบําเพ็ญธรรม มีความดูดดื่ม มคี วามพออกพอใจ มคี วามเชอ่ื ความ
เลื่อมใสในธรรม อนั เปนธรรมรสภายในใจ มีธรรมคุมครองจิตใจ กเิ ลสแมย งั มอี ยใู นใจ
ก็จริง แตธรรมที่ไดสั่งสมมาจึงพอตอสูตานทานกัน หากมแี ตเ รอ่ื งกเิ ลสลว นๆ แลว การ
ทาํ ความดียอ มเปน การทํายากยงิ่ ทั้งไมสนใจจะทํา สนใจแต “บาปกรรม” นาํ ตนเขา สู
ความลามกตกนรกทั้งเปนทงั้ ตาย ไมมีวันผลุบโผลไดเลย
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๑
๑๐๒
ผูไมมีธรรมในใจ ก็คือผูมีบาปเต็มไปทั้งดวงใจนั้นแล ผลของบาปจึงไดรับแต
ความทกุ ขค วามลาํ บากเรอ่ื ยๆ ไป ไมว า อยใู นภพใดกาํ เนดิ ใด แดนใดภาษาใด เพราะ
ใจนั้นมันไมมีชาติชั้นวรรณะ ไมมีภาษา แตเปนแหลงผลิตกรรมดีชั่วทั้งปวง และเปน
คลงั แหง วบิ ากคอื ผรู บั ผล จึงตองรบั ทัง้ ความสุขความทุกขท ี่ตนสรา งข้นึ ทาํ ขึ้นมากนอย
จะหลบหลีกปลีกตัวไปที่ไหนไมได ถา ไมส รา งปอ มปราการคอื บญุ กศุ ลไวเ สยี แตบ ดั น้ี
ซึ่งยังไมสายเกินไป เพื่อบรรเทาหรือลบลางบาปใหลดนอยลงจนไมมีบาปติดตัวติดใจ
ผนู แ้ี ลคอื ผมู คี วามสขุ แท ไมเ พยี งแตค วามสขุ ทเ่ี กดิ จากการเสกสรรปน ยอซง่ึ หาความ
จริงมิได
การกลา วทง้ั หมดน้ี ใหตางคนตางนอมเขาสูใ จของตนเอง ซึ่งเปนตัวการกอ
กรรมทําเข็ญดวยกัน เปน ตวั การทง้ั เรอ่ื งทเ่ี ปน มาน้ี เปนตัวการทั้งเรื่องชําระคือแกไข
ตอ งฝน ตอ สกู บั กเิ ลส ตองฝน อยา ถอยมนั จะไดใ จ เพราะกิเลสเคยฝนเราและเคยบังคับ
เรามานานแลว คราวนี้เราพอมีทางสู เพราะไดอรรถไดธรรมมาจากพระพุทธเจา จากครู
บาอาจารยเ ปน เครอ่ื งมอื ตอ สกู บั กเิ ลส สไู มถ อย ขนึ้ ชอ่ื วาสูแ ลวจะตอ งมชี ัยชนะจนไดใ น
วนั เวลาหนง่ึ ทแี รกเรายอมมนั แบบหมอบราบเลย ถา ไมส มู นั กไ็ มเ รยี กวา “ลูกศิษยพระ
ตถาคต” ผเู กง กลา ในการรบกบั กเิ ลส การตอ สยู ังดกี วายอมแพเ สยี ทีเดียว คราวนี้แพ
เพราะกําลังยังไมพอ กต็ อ งยอมแพไ ปกอ น คดิ อบุ ายขน้ึ มาใหม สเู ร่อื ยๆ สกู นั ไปสกู นั
มา ยอมมีทางชนะกันไปเรื่อยๆ เมอ่ื สบู อ ยเขา ความชาํ นาญยอ มตามมา และความชาํ นะ
มมี ากขน้ึ ๆ ตอไปความแพไมค อยบอ ยไมคอยมี นน่ั ! ฟงซิ
ทําไมจึงเปนเชนนั้น? เพราะจิตถึงธรรมข้นั ไมยอมถอยทัพกลับแพแลว ถา จะ
แพก เิ ลสนอ ยใหญต อ ไปอกี กข็ อใหต ายเสยี ดกี วา ทจ่ี ะมาเจอความแพน ้ี ซึ่งเปนความต่ํา
ตอยดอยสติปญญา ศรทั ธา ความเพียร จึงขอใหต ายเสยี ดกี วา ขอใหช นะกเิ ลสทกุ
ประเภทโดยถายเดียวเทานั้น ไมข ออยา งอน่ื ทโ่ี ลกขอกนั ถา ไมช นะ กใ็ หต าย นั่น! ฟงซิ
เด็ดไหม? จิตดวงเดียวนี่แหละ ดวงที่เคยแพ เคยลม ลกุ คลกุ คลาน นแ่ี หละ
เมอื่ เวลาพลิกตวั ข้นึ สธู รรม ดว ยไดร บั การฝก ฝนอบรมจากครอู าจารยม าแลว
ดวยดี จติ มกี าํ ลงั วงั ชาพอมคี วามรคู วามฉลาด ตลอดถึงผลที่ไดรับประจักษใจ เปน
เครอื่ งสนับสนนุ จติ ใจใหถึงข้ันท่วี า “ใหต ายเสยี ดกี วา ทจ่ี ะเจอความแพก บั กเิ ลสนอ ย
ใหญอ กี ” ไมประสงคอีกแลว เรื่องความแพนี้ ไมเปนของดีพอจะสงเสริมเลย
เขาแขง กฬี ากนั แพก นั ผแู พกย็ อมเสียใจ แมจ ะเปน การเลน สนกุ กนั กต็ าม ยังทํา
ใหผูแพเสียใจได
เรื่อง “วฏั สงสาร” คอื เรอ่ื งความเกดิ ความตาย เรื่องกิเลสซึ่งเปนภัยตอเราโดย
ตรง ไมใ ชเ รอ่ื งเลน ๆ ดังเขาเลนกีฬากัน เปนเรอ่ื งของความทกุ ขกองทกุ ขใ นตัวเราแทๆ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๒
๑๐๓
การแพส งิ่ นถี้ ือเปน ของเลนของดีแลว หรือ เราคิดดูใหดี ความจริงแลวไมใชของดีเลย
ความแพก เิ ลสเปน ความเสยี หายแกต วั เราไมม ที ส่ี น้ิ สดุ ฉะนั้นการแพกิเลสจึงเปนเรื่อง
ใหญโ ตมาก ทําไมถึงยอมแพมันเรื่อยๆ เอา! สมู นั ไมถ อย จนไดชัยชนะไปเปนลําดับๆ
จนถงึ ขน้ั ไมใ หม คี าํ วา “แพ” กระทั่งชนะไปเลย!
ผูนี้แลเปนผูประเสริฐ เมื่อชนะไปเลยแลว ทนี ค้ี าํ วา “ตายแลวเกดิ ตายแลว
สญู ” นั้นหมด! ไมม อี ะไรเหลอื อยใู นใจเลย เพราะความสําคัญมั่นหมายเปนกิเลสทั้ง
นน้ั คําวา “ตายแลว เกดิ ตายแลว สญู นรกมีหรือไมมี สวรรคมีหรือไมมี นเ้ี ปน เรอ่ื งของ
กิเลสพาไปใหคิดดนเดาทั้งสิ้น
พอมาถงึ ขน้ั “ชนะไปเลย” เรอ่ื งเหลา นก้ี ห็ มดไปในทนั ทที นั ใด ไมมีการเกิดได
อีกเพราะไมมสี ่งิ ผลักดันใหเ กดิ ความลังเลสงสัยปลงใจลงกับธรรมไมได ทานเรียกวา
“นิวรณ” เครอ่ื งกน้ั กางทางดี แตเ ปด ทางชว่ั ใหท าํ ผูมีนิวรณเขาเปนใหญในใจ จึง
ตองตัดสินใจเพื่อความดีงามอะไรไมได นอกจากงานที่จะลงทางต่ําไปเรื่อยๆ นั้น เปน
งานที่สนใจจดจอ โดยไมคิดวาจะผิดพลาดประการใดและใหผลเชนไรบาง ดวยเหตุนี้
ความชว่ั สตั วโ ลกจงึ ทาํ ไดง า ย แตความดีนน้ั ทาํ ไดยาก ผูโดนทุกขจึงมีมากแทบทุกตัวคน
และมอี ยทู กุ หนทกุ แหง แมจ ะพูดวาหลงกองทกุ ขก ันก็ไมผ ิด แตผูเปนสุขกายสุขใจนั้นมี
นอ ยมาก แทบไมนาเชื่อวาจะมีได
การทเ่ี ราเหน็ เขาแสดงความรน่ื เรงิ ออกมาในทา ตา งๆ และ สถานที่ตางๆ เชน ใน
หนาหนังสือพิมพเปนตน นน่ั เปน เพยี งเครอ่ื งหลอกกนั เลน ไปอยา งนน้ั เอง ความจริง
ตางอมความทุกขไ วภายในใจแทบระเบิด โดยไมเลือกชาติชั้นวรรณะใดๆ เลย ทั้งนี้
เพราะสงิ่ ท่ีทาํ ใหซ อ นความจริงไวน ั้น ไดแ กค วามอาย กลัวเสียเกียรติ และเปน คนใหญ
คนโตที่โลกนิยม น่ี จงึ นาํ ออกใหโ ลกและสงั คมเหน็ แตอ าการทเ่ี หน็ วา เปน ความสขุ รน่ื
เริงเทานั้น
ตวั ผลติ ทกุ ขแ กม วลสตั วม นั ผลติ อยภู ายในใครไมอ าจรเู หน็ ได นอกจากปราชญ
ที่เรียนรูและปลอยวางมัน และกลมารยาของมนั แลว เทา นน้ั จึงทราบไดอยางชัดเจนวา
ภายในหวั ใจของสตั วโ ลกคกุ รนุ อยดู ว ยไฟราคะตณั หา ไฟความโลภ หาความอม่ิ เพยี ง
พอไมเจอ แมจะแสดงออกในทาราเริง ทา ฉลาดแหลมคม ทาผูดีมีความสุขฐานะดีเพียง
ไร ก็ไมสามารถปดความจริงที่มีอยูในหัวใจใหมิดไดเลย ปราชญทั้งหลายรูเห็นจับได
เพราะกลมายาของกเิ ลสกับธรรมละเอียดตางกนั อยูมาก ทานผูเปนปราชญโดยธรรม
จึงทราบไดไมยากเย็นอะไรเลย
ดว ยเหตนุ จ้ี งึ ควรพยายามสรา งความดใี หพ อแกค วามตอ งการ จิตใจเปนของแก
ไขได ใจชัว่ แกใ หดีก็ได ทําไมจะแกไมได ถาแกไมไดพระพุทธเจาจะฝกพระองคใหดีได
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๓
๑๐๔
อยา งไร บาปนน้ั มดี ว ยกนั เพราะเราทุกคนเกิดมาทามกลางแหงบาป เกดิ มากบั กเิ ลส
และอยใู นวงลอ มของกเิ ลสดว ยกนั เกดิ มากบั บญุ กบั บาป และอยใู นทา มกลางส่งิ ท่ดี ีช่วั
เหลา นแ้ี ล เนื่องจากยงั ไมม คี วามดีพอจะใหอยเู หนือสง่ิ เหลานี้ได แดนมนษุ ยเ ปน สถาน
ทแ่ี ละกาํ เนดิ อนั เหมาะสมดอี ยแู ลว จะสรางอะไรก็ไดเต็มภูมิ แตก ารสรา งความดนี น้ั
เหมาะสมกบั ภมู มิ นษุ ยอ ยา งยง่ิ ดงั พวกเราสรา งหรอื บาํ เพ็ญอยเู วลานี้ อนั ใดควรแกไ ข
ดัดแปลง กแ็ กไ ขและดดั แปลง สิ่งที่ควรสงเสริมก็สงเสริมไปเรื่อยๆ ดวยความไม
ประมาทนอนใจ
การไมป ระมาท สรางประโยชนเพื่อโลกและตัวเองอยูเสมอ แมไปเกิดภพใดก็ไม
เสียทา คนที่มีความดีแลวไมเสียที มีแตความสุขความเจริญไปเรื่อยๆ ในภพนน้ั ๆ มี
ความสขุ สบายตลอดไป จนอปุ นสิ ยั วาสนาสามารถเตม็ ทแ่ี ลว กผ็ า นไปยงั แดนเกษม
สาํ ราญ การผา นไปกผ็ า นไปดว ยดี อยดู ว ยความดี ความดเี ปน เครอ่ื งสนบั สนนุ ใหผ า น
กองทกุ ขต า งๆ ไปไดโดยไมมีอุปสรรค ถาไมมีความดีก็ไปไมได การไปสคู วามสขุ ความ
เจริญนั้น โลกอยากไปดว ยกนั ทกุ คนนน่ั แล แตทําไมจึงไปไมได? ก็เพราะกําลังไมพอที่
จะไปนน่ั เอง
ถา ไปไดด ว ยความอยากไปเทา นน้ั โลกท้ังโลกใครจะไมท นรับความทกุ ขความ
ลาํ บากทเ่ี ปน อยนู เ้ี ลย แมแ ตสตั วเ ขายงั กลัวทกุ ข ทําไมมนุษยฉลาดกวาเขาจึงจะไมกลัว
ทุกข จะทนแบกหามทกุ ขอ ยทู าํ ไม? ทั้งๆ ทีร่ ูอ ยวู าทกุ ขน ะ สตั วอ ยากพน จากทกุ ขอ ยา ง
เต็มใจดวยกัน ทําไมไมพนไปเสีย? ทั้งนี้ก็เพราะกรรมยังมี วาสนาบารมียังไมสมบรู ณ
สุดวิสัยที่จะไปได จึงยอมอยกู นั และเสวยทกุ ขต ามทป่ี ระสบ
ย่งิ หลวงตาบัวซึ่งเปน คลังแหงกองทกุ ขอยางเตม็ ตัวเต็มใจอยแู ลว มีใครมา
กระซบิ วา “โนน! ความเกษมสาํ ราญอยโู นน นะ มานอนกอดทกุ ขอ ยทู าํ ไม ไปซี!” จะ
โดดผางเดียวก็ถึงแดนเกษมนะ เอา! โดด ๆ ๆ เดี๋ยวนี้ จะถงึ เดย๋ี วน้”ี ถาเปนไปไดดัง
ทว่ี า น้ี ขาขาดแขนขาดไปขณะที่โดดก็ขาดไปเถอะ ขรัวตาบัวตองโดดผึงเลยอยางไมเสีย
ดาย เพอ่ื ไปเสวยความสขุ ใหบ านใจหนอ ยกย็ งั ดี ดกี วา นอนกอดทกุ ขอ ยตู ลอดภพชาตทิ ่ี
เต็มไปดวยทุกข ไมมีความสุขมาเยย่ี มเยยี นบางเลย แตน ม่ี นั สดุ วสิ ยั จึงยอมนั่งหาเหา
เกาหมดั แบบคนสน้ิ ทา อยอู ยา งน้ี
ฉะนั้นขอทกุ ทา นจงเห็นคุณคาแหง ความเพยี รเพ่อื ไปสูแดนเกษม อยา เอาเพยี ง
ความอยากไปมาหลอกลอ ใหจ มอยใู นทกุ ขเ ปลา ธรรมทา นกลา วไวว า “คนจะลวงพน
จากทกุ ขไ ปไดโ ดยลาํ ดบั ๆ เพราะความเพยี รพยายามเปน หลกั ใหญ” นเ่ี ปน ธรรม
ของพระพุทธเจาผูพนจากความทุกขเพราะความเพียร ไมใชเพราะความอยากพนเฉยๆ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๔
๑๐๕
และความทอ ถอยออ นแอแยล งทกุ วนั กระทง่ั รบั ประทานอาหารกน็ อนรบั เพราะขเ้ี กยี จ
ลกุ นี่ขําดี
เราเปนลูกศิษยพระตถาคต เปนพุทธบริษัท ทา นหมายถงึ อะไร หมายถงึ ลูกเตา
เหลากอของพระพุทธเจา พระองคทรงพาเราดําเนินไปอยางใด พระองคท รงดาํ เนนิ กา ว
หนา เราเดินถอยหลังมันจะเขากันไดไหม? เรากต็ อ งเดนิ กา วหนา ไปดว ยความ
พากเพียรไมลดละทอถอย จะชา หรือเร็วก็ตาม ขอใหค วามพยายามนน้ั เปน ไปตามกาํ ลงั
สติปญญาความสามารถ อยา ละเวน ความเพียรเทา น้นั กเ็ ชอ่ื วา “เปนลูกศิษยที่มีครู
สอน ดําเนินตามคร”ู วาสนาเราสรา งทกุ วนั ทําไมจึงจะไมเจริญกาวหนา พระพทุ ธเจา ก็
ทรงสอนใหส รางคณุ งามความดีเพอ่ื เปนอํานาจวาสนา ทาํ ไมวาสนาจะไมส นบั สนนุ เรา
ความจรงิ ตามธรรมแลว ธรรมเหลา นน้ั ตอ งสนบั สนนุ อยโู ดยดี จงทาํ ใหย ง่ิ ๆ ขึ้นไปโดย
ลาํ ดบั ผลสุดทายก็เปนไปไดเชนเดียวกับพระพุทธเจา นั้นแล
ดงั ทก่ี ลา วเมอ่ื สกั ครนู ว้ี า ทแี รกกย็ อมแพไ ปกอ น สูไปแพไป ๆ ตอไปสูไปแพ
บา งชนะบา งสลบั กนั ไป ทั้งแพทั้งชนะมีสลับขั้นกันไป ทีเขาทีเรา ตอไปทีเราชนะมาก
กวาทีเขาชนะ ตอไปทีเราชนะมากเขา ๆ สุดทายมีแตทีเราชนะ!
กเิ ลสหมอบลงเรอ่ื ยๆ นอกจากหมอบแลว เราฆามันจนฉิบหายไปหมดไมมี
อะไรเหลือ เมอ่ื ฆา กเิ ลสใหต ายแลว ไมต อ งบอกเรอ่ื งความพน ทกุ ข ใจหากพนไปเอง
เทาที่หาความสุขอันพึงหวังไมเจอ กเ็ พราะกเิ ลสเปน กาํ แพงขวางกน้ั ไวน น่ั เอง พอ
ทาํ ลายมนั ใหว อดวายไปแลว ความพนทุกขกเ็ จอเองไมต อ งถามใคร!
การทสี่ ัตวม าเกดิ และทนทุกขท รมาน กเ็ พราะมาอยใู ตอ าํ นาจของกองกเิ ลสเทา
นน้ั ไมม เี รอื่ งอื่นใดเลยเปนสาํ คญั กวา เรือ่ งกิเลสชนิดตา งๆ ซง่ึ เปน นายเหนอื หวั สตั วโ ลก
เราจึงไมควรมองขามกิเลสวาเปนของเล็กนอย เรอื่ งของกิเลสก็คอื เร่อื งกองทกุ ขน ่ันเอง
มองใหซึ้งๆ กเิ ลสอยใู นใจของเรานี่แล มองใหเ หน็ กนั ทน่ี ่ี ฝก กนั นท่ี ่ี แกก นั ทน่ี ่ี ฆากันที่
น่ี ตายกนั ทน่ี ่ี ไมต อ งเกดิ กนั กท็ น่ี แ่ี หละ! ทส่ี น้ิ ทกุ ขก อ็ ยทู น่ี ไ่ี มอ ยทู อ่ี น่ื
ขอใหพากันนําไปพินิจพิจารณา และบาํ เพ็ญคณุ งามความดใี หม ากเทา ท่ีจะมาก
ได ไมตองกลัวจะพนทุกขเพราะความดีมีมาก นน่ั คดิ ผดิ กเิ ลสหลอกลวงอยา เชอ่ื มนั
เดี๋ยวจมจะวาไมบอก กิจการใดก็ตามที่จะใหเกิดความดี จะเกิดจากการใหทานก็ตาม
ศลี กต็ าม ภาวนากต็ าม เปน ความดดี ว ยกนั ทง้ั นน้ั รวมกนั เขา กเ็ ปน มหาสมบตั ิ เปน
เครื่องสนับสนุนจิตใจเราใหเปนสุข เปนสุขเรียกวา “สคุ โตๆ” อยูก็สุคโต ไปกส็ ุคโต
ถา คนมบี ญุ เพราะการสรางบุญ ไมมีอยางอื่น มอี นั นเ้ี ปน สาํ คญั ของคนใจบญุ
จึงขอยุติการแสดงแตเพียงเทานี้
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๕
๑๐๖
เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙
สญุ ญกปั -ภทั รกปั
ตามหลกั ธรรมทา นกลา วไวว า “สญุ ญกปั ” คอื ระยะทว่ี า งเปลา จากศาสนา ไมมี
อรรถไมมีธรรม คาํ วา “ศลี ” วา “ธรรม” วา “บาป” วา “บญุ ” นี้ไมปรากฏในความรู
สึกของประชาชนทั้งหลาย คงไมมีความสนใจกันและไมทราบวา “ศีลธรรม” หรือ
“บาป-บญุ -คุณ-โทษ” เปนประการใดบาง ทานวาเปนระยะที่รอนมาก แตไมไดหมาย
ถงึ ดนิ ฟา อากาศรอ นผดิ ปกตธิ รรมดาทเ่ี คยเปน แตมันรอนภายในจิตใจของสัตวโลกที่
เต็มไปดวยกิเลสซึ่งเปนธรรมชาติที่เผาลนใจสัตว เพราะเปนธรรมชาติที่รอนอยูแลว
เมอ่ื เขา ไปสิงในสถานทใ่ี ดจดุ ใด จุดนั้นตองรอน ในหวั ใจใดหวั ใจนน้ั ตอ งรอ น เพราะไม
มนี าํ้ ดบั คอื ศาสนธรรม
คาํ วา “นาํ้ ” กไ็ ดแ ก “ศีลธรรม” เปนเครื่องดับความรุมรอนภายใน คอื กิเลสที่
สมุ ใจ แมศ าสนามอี ยเู ชน ทกุ วนั น้ี ถา ไมส นใจนาํ “น้าํ ศลี ธรรม” เขามาชะลางเขามาดับ
ความรุม รอ นนกี้ ็ไมว ายที่จะรอ น เชนเดียวกับ “สญุ ญกปั ” คาํ วา “สุญญกัป” ในครง้ั
โนนกับ”สญุ ญกปั ” ของเราในบางเวลา หรอื ของบคุ คลบางคนนน้ั มีอยูเปนประจํา ผูที่
ไมเคยสนใจกับศลี กับธรรม หรอื กบั คณุ งามความดอี ะไรเลยนน้ั นะ เปน “สญุ ญกปั ”
ผไู มส นใจอยา งนน้ั เราอยา เขา ใจวา เขามเี กยี รตมิ ีคณุ งามความดี เขาเปนคนเฉลียว
ฉลาด เขาเปน คนมฐี านะดี เขาเปนมนุษยที่มีสงาราศี ตรงกนั ขา มหมด! คอื ภายในจติ
ใจที่ไมมีศีลธรรมเปนเครื่องหลอเลี้ยงและเปนน้ําดับไฟแลว จะใหความรมเย็นเกิดขึ้น
ไดอยางไร
เพราะกิเลสมันฝงลึกอยูภายในจิตใจนั้นเปนประจํา แมมีสิ่งที่จะดับแตไมสนใจที่
จะนาํ มาดบั แลว จะหาความสขุ ความสบายมาจากทไ่ี หน โลกเรามองกนั สว นมาก มอง
อยา งเผนิ ๆ คอื มองตามความคาดความหมาย ตามความรูสึกของโลกและของตัวเอง
โดยไมไดนําเหตุนําผลนําอรรถนําธรรมเขามาเทียบเคียง หรอื วดั ตวงกบั คนและสง่ิ เหลา
นน้ั เนื่องจากเราไมมีความรูและมีปญญาลึกซึ้งทางดานธรรมซึ่งเปนความจริง และเปน
หลกั เกณฑอ นั ตายตวั มาทดสอบกบั เรอ่ื งทง้ั หลาย จงึ ไมทราบความจริงซึ่งมีอยูในหัวใจ
ดว ยกนั ทกุ คน
ที่ลวนแลวแตความจริงคือธรรม ทา นสอนอรรถสอนธรรมแกส ตั วโ ลกนน้ั ทาน
สอนความจรงิ ไมไ ดส อนความปลอม แตจิตใจของเรามันชอบปลอมกับธรรมอยูเสมอ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๖
๑๐๗
เปนขาศึกตอ ตวั เองอยูเ รอื่ ยๆ เวลาจะประกอบศีลธรรมคุณงามความดีเขาสูจิตใจ มัก
จะหาเรอ่ื งหาราวกอ อปุ สรรคใหข ดั ขอ งตอ การประกอบความดนี น้ั ๆ กลายเปน มาร
สังหารตนเองโดยไมรูสึก โดยที่เราก็คิดวาเปนทางออกของเราอยางดี นี่ก็เปนเรื่องไฟที่
จะทาํ ความรมุ รอ นใหแ กเ ราแงห นง่ึ
เพราะฉะนน้ั คาํ วา “สญุ ญกปั ” อันเปนเรื่องใหญนั้น จึงมาเปนไดกับเรื่องยอยๆ
ในบรรดาเราทั้งหลาย แมจ ะนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาอยกู ต็ าม ระยะใดท่หี างเหนิ จากศลี
ธรรม จากการประกอบคณุ งามความดี เฉพาะอยางยิ่งคือการอบรมจิตใจใหมีความรม
เย็น ระยะนั้นมันก็เปน “สญุ ญกปั ” ได ระยะใดที่เปนสุญญกัปภายในใจ ระยะนน้ั ใจก็
รอ น ความรอ นนน้ั มนั เปน “สญุ ญกปั ” ในหวั ใจคน มนั จะรอ นของมนั ไปเรอ่ื ยๆ
คาํ วา “สุญญกัป” คอื วา งเปลา จากเหตจุ ากผล จากคาํ วา “อรรถ” วา “ธรรม”
คาํ วา “บาป” วา “บญุ ” ไมไดระลึกพอที่จะหาทางแกไขและสงเสริมเลย ทา นเรยี กวา
“สุญญกัปภายในจติ ใจของสัตวโลก” และ เม่ือ “สุญญกัป” เขาสูจิตใจได แมจะมี
ศาสนาอยโู ดยทต่ี นกป็ ฏญิ าณตนวา นบั ถอื ศาสนากต็ าม แตขณะที่ไมมีศาสนา ไมมีเหตุมี
ผลเปน เครอ่ื งยบั ยง้ั ชง่ั ตวงทดสอบตนเองวา ผดิ หรอื ถกู ประการใดบา ง ระยะนั้นเปน
ความวนุ วายรมุ รอ นของจติ ไมน อ ย ท่ีเรียกวา “สุญญกัป” ฉะนน้ั สญุ ญกปั คอื ความวา ง
เปลาจากศีลธรรมเครื่องใหความรมเย็น จงึ มักเดนอยทู จ่ี ติ ใจคนไมเ ลือกกาลวา เขา ถงึ
สุญญกัปหรือไม นเ่ี ราเทยี บเขา มาใหท ราบเรอ่ื ง “สญุ ญกปั ” ตามหลกั ธรรมทท่ี า น
กลา วไว พอเลยจากนน้ั กม็ พี ระพทุ ธเจา มาตรสั รู และทรงสั่งสอนธรรมแกโ ลก โลกก็
เริ่มรูศีลรูธรรมแลวปรับตัวเปนคนดี มีความรมเย็นไปโดยลําดับ เพราะอํานาจแหงศีล
ธรรมเปน “นาํ้ ” สาํ หรบั ดบั “ไฟกเิ ลสตณั หาอาสวะ” ซึ่งเปนความรุมรอนโดยหลัก
ธรรมชาติของมัน
ทา นกลา วไวอ ยา งนน้ั นเ่ี รายน เขา มาดว ย “โอปนยิโก นอ มเขา มาสตู วั ของ
เรา” ในวนั หนง่ึ คนื หนง่ึ เดือนหนึ่งปหนึ่ง ตั้งแตวันเกิดมานี้ กว่ี นั กค่ี นื กเ่ี ดอื นกป่ี กี่ชั่ว
โมงนาที ระยะใดบางในชวงที่เกิดมาจนกระทั่งบัดนี้ซึ่งเปน “สุญญกัป” ภายในตวั เรา?
ในระยะใดบางที่มีศาสนาประจําใจ เฉพาะอยา งยง่ิ แมใ นขณะทน่ี ง่ั ภาวนามนั กเ็ ปน
“สุญญกัป” ไดอ กี นง่ั ภาวนา “พุทโธ ๆ” สักประเดี๋ยวเผลอไปลงนรกแลว คอื ยงุ กบั
เรื่องนั้น ยงุ กับเร่ืองน้ี วนุ วายกบั อารมณน น้ั วนุ วายกบั อารมณน ้ี นน่ั แหละมนั เปน
“สุญญกัป” แลวโดยที่เราไมรูตัว ทั้งๆ ทเ่ี รากว็ า เรานง่ั ภาวนาน่ี แตม ันนงั่ วนุ นนั่ นง่ั วนุ
น่ี จึงกลายเปนนั่ง นั่งสุญญกัปไป! ในหวั ใจของนกั ภาวนาทช่ี อบนง่ั สปั หงกงกงนั และ
จติ ใจฟุงซานไปตามอารมณ โดยไมมีสติปญญาตามรักษาและแกไข
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๗
๑๐๘
เพื่อใหเขาใจในเรื่องเหลานี้ และเพอ่ื ใหท นั กบั กลมารยาของกเิ ลส คอื ความลมุ
หลงอันเปนกิเลสประเภทหนึ่ง จําตองตั้งสตติ ั้งทาตั้งทางระมัดระวังและพินิจพิจารณา
มเี จตนามงุ หนา ตอ การงานของตนในขณะทท่ี าํ อยา ใหค วามพลง้ั เผลอเหลา นน้ั เขา มา
แบง สนั ปน สว นเอาไปกนิ และเอาไปกินเสียหมดกระทั่งไมมีอะไรเหลือติดตัว
พอออกมาจากทภ่ี าวนา “เฮอ! ทําไมนั่งภาวนาจึงไมไดเรื่องไดราวอะไรเลยวัน
น!้ี ” สิ่งที่ไดเรื่องไมพูดไดเรื่องอะไร? กเ็ รอ่ื งยงุ เรอ่ื งวนุ วายนะซี เรื่องไปตกนรกทั้ง
เปนที่ไหนบางนั้นไมพูด แลว จะมาทวงเอาหนเ้ี อาสนิ จากอรรถจากธรรม เหมือนศาสนา
เปนหนี้สินของตน ทาํ เหมอื นเราเปน เจา หนศ้ี าสนา ทวงอรรถทวงธรรมเอากับทาน มัน
ก็ไมไดนะซี เพราะเราทําเหตุไมดีใหแกตัวตางหากนี่
“นงั่ ภาวนาตั้งนมตง้ั นานไมเ ห็นเกิดผลเกิดประโยชนอ ะไร! วาสนานอ ย เรานี่
อยเู ฉยๆ ไมทําเสียดีกวา นั่น! เอาอกี แลว นน่ั หลอกไปเรอ่ื ยๆ
แตน่ังภาวนาอยูมันยงั ไมไ ดเร่อื ง สิ่งที่ตองการมันไมไดเพราะเหตุไร? เพราะ
เปนเพียงเจตนาขณะหนึ่งเทานั้นที่วาตองการจะทําภาวนา แตเจตนาที่แฝงข้นึ มาและ
เพิ่มพูนขึ้นโดยลําดับๆ จนถงึ ฉดุ ลากจติ ไปสทู ไ่ี หนๆ ไมรู ไมม ศี ลี มธี รรมประจาํ จติ ใจ
ในขณะนน้ั เลย ใจไปตกนรกทั้งเปนอยูที่ไหนก็ไมรู นน่ั เราไมค ดิ ไมเ อามาบวกมาลบ ไม
เอามาเทียบเคียงดูทดลองดูพอใหทราบขอเท็จจริงกัน แลว กไ็ ปทวง “เอาหนเ้ี อาสนิ ”
จากอรรถจากธรรมวา “ทําแลวไมเกิดประโยชน ไมเ กดิ ความสขุ ความสบาย ไมเกิด
ความสงบเยน็ ใจ” แนะ !
กเ็ ราไมห าความสงบ หาแตค วามวนุ ผลมนั กไ็ ดแ ตค วามทกุ ขค วามวนุ นน่ั นะ ซี
ความจริงตามหลักธรรมทที่ านแสดง ทท่ี า นสอนไวโ ดยถกู ตอ งนน้ั ทานไมได
สอน “ของปลอม” ใหพวกเราเลย สิ่งใดที่มีอยูภายในจิตใจเราทั้งดีทั้งชั่ว ทา นสอนให
เขาใจดังที่กลาวมา ซึ่งมีอยูกับจิตใจของทุกคนที่เรียกวา “สญุ ญกปั ”ๆ นะ ความวา ง
เปลาจากอรรถจากธรรม ทั้งๆ ท่นี ง่ั ภาวนาอยแู ตใจเผลอไปไหนก็ไมรู ปลอยไปเรื่อย ๆ
แลว วา ตนนง่ั ภาวนา ผลก็ไมปรากฏอยูโ ดยดี เพราะใจเปน “สุญญกัป”!
ถา หากมสี ตสิ ตงั กาํ หนดดอู ยนู น่ั สมมตุ วิ า จะกาํ หนดลมหายใจ ก็ตั้งหนาตั้งตา
ใหร เู ฉพาะลมหายใจไมย งุ กบั อะไร กย็ อมจะปรากฏผลเทา ท่คี วรเปน ไดตามกําลงั อนั
ความอยากมนั เปน เครอ่ื งผลกั ดนั ออกมาใหค ดิ ใหป รงุ มันอยากอยตู ลอดเวลาไมม ี
ความอิ่มพอในการคิดปรุงเพื่ออารมณ ใหท ราบวา ความอยากนเ้ี ปน ภยั ตอ ความสงบ
เพราะมันผลักดันจิตใจใหคิดปรุงในเรื่องตางๆ ตามนิสัยที่เคยเปนมา พยายามใหเ หน็
ภัยในจุดนี้ แลว บงั คบั ไวไ มใ หใ จคดิ ในแงท เ่ี ราไมต อ งการจะคดิ เราตอ งการรใู นสง่ิ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๘
๑๐๙
ใดใหก าํ หนดจติ ใจไวด ว ยดเี พอ่ื รสู ง่ิ นน้ั เชน รอู านาปานสตหิ รอื ลมหายใจเขา ออก ลม
เขา ออกกใ็ หร อู ยดู ว ยสติ ใจยอ มจะสงบเยน็ ได
พระพุทธเจาจะหลอกคนโกหกคนจริงๆ หรือ? หากพระองคเ ปน นกั โกหกคน
ทําไมพระพุทธเจาไดตรัสรูดวยธรรมของจริงละ ถา ไมทําจริงจะรู “ธรรม” ของจริงได
อยา งไร? เมื่อรูตามความจริงแลวจะมาโกหกโลกไดอยางไร มันเขากันไมได เหตผุ ลไม
ม!ี ทานทําจริง รูจริงเห็นจริง สอนจริง!ทีม่ นั ขดั กนั กต็ รงทเ่ี ราเรยี กเอาผลกอ นทาํ
เหตนุ เ่ี อง! หากการดําเนินของตนขัดกับธรรมที่ตรงไหน ควรรีบแกไขดัดแปลงจนเขา
กับธรรมไดใจก็สงบ
สว นมากผทู ่ี “ปลอม” ก็คือเราผูรับโอวาทจากทานมา เอามาขยข้ี ยาํ แหลกเหลว
หมด ทั้งๆ ที่เราวาเรานับถือทาน นบั ถอื ศาสนาเทดิ ทนู ศาสนา แตเราทําลายศาสนาซึ่งมี
อยภู ายในตวั ของเรา และทาํ ลาย “ตัวเอง” โดยไมรูสึก เพราะความเผลอความไม
รอบคอบในตวั เรานน้ั แลเปน ขา ศกึ ตอ เรา
ฉะนนั้ เพ่อื ใหไ ดผลเทา ทค่ี วรหรือใหไ ดผลย่งิ ๆ ขน้ึ ไป จึงควรคํานึงถึงเหตุที่ตน
ทํา คอยจดจอ งมองดจู ดุ ท่ีทาํ อยาใหเผลอ เชน กาํ หนด “พุทโธ” ก็ใหเปน “พุทโธ”
จรงิ ๆ ใหร อู ยกู บั “พุทโธ” เทา นน้ั ไมต องการสวรรควมิ านท่ไี หนละ นอกจากคาํ วา
“พุทโธ” ใหก ลมกลนื กนั กบั ความรู มสี ตกิ าํ กบั งานอยเู ทา นน้ั เราจะเห็นความสงบ
ที่เคยไดยินแตชื่อก็จะมาปรากฏที่ตัวของเรา ความเยน็ ความสบายความเปนสุขทเี่ กดิ ข้ึน
เพราะจิตใจสงบ ก็จะเห็นภายในตัวเรา เราจะเปนผูรู จะเปนผูเห็น เราจะเปนผูรับผล
อนั นเ้ี พราะเปน ผทู าํ เอง ดว ยเจตนาทถ่ี กู ตอ งตามหลกั ธรรม จะไมเ ปน อยา งอน่ื
ศาสนาเคยสอนโลกมาอยา งน้ี ถา ผปู ฏบิ ตั ทิ าํ ตามหลกั ธรรมทท่ี า นสอนนแ้ี ลว จะ
ไมเ ปน อน่ื ใจตอ งหยง่ั เขาถึงความสงบเปนอยา งนอ ย และจะสงบขึ้นไปเรื่อยๆ โทษที่
เคยกลุมรุมภายในจิตใจก็จะเห็นกันรูกัน เพราะอยกู บั ใจ คุณคาที่เกิดขึ้นจากใจเพราะ
การชาํ ระการฝก ทรมานปราบปรามกเิ ลสออกไปไดม ากนอ ย กจ็ ะปรากฏขน้ึ ภายในใจ
เราเอง เราจะเปนผูเห็นเองรูเองโดยไมตองฟงขาวของใครๆ ทั้งนั้น เราเปนตัวจริง เรา
เปนตัวรู ผรู บั ทราบ เราเปนผเู สวยผลเกดิ ขน้ึ จากการกระทาํ ของเรา เราจะทราบ
เรื่องตางๆ เอง
เรอ่ื งภาวนาไมใ ชเ รอ่ื งเลก็ นอ ย เปน งานทอ่ี ศั จรรยม ากมายในผลทเ่ี กดิ ขน้ึ
พระพทุ ธเจา เปน ผรู โู ลกดกี เ็ พราะการทาํ ภาวนา ทรงกาํ หนด “อานาปานสต”ิ ตาม
หลกั ทา นกลา วไวอ ยา งนน้ั แตก อ นทรงอดพระกระยาหาร โดยมุงหวังความตรัสรูจาก
การอดพระกระยาหารเทานั้น ไมเ สวย แตไ มไ ดท รงพจิ ารณาทางใจซง่ึ เปน ความถกู
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๙
๑๑๐
ตอ งประกอบกนั เลย จึงไมไดสําเร็จ เมือ่ ยอ นพระทัยหวนกลบั ไประลกึ ถึงเร่ืองเมอ่ื
คราวยังทรงพระเยาว ที่พระราชบิดาทรงพาเสด็จไปแรกนาขวัญ ไดทรงเจริญอานา
ปานสติ จิตใจมีความสงบ จงึ ทรงนาํ เรอ่ื งนน้ั เขา มาพจิ ารณาดว ยอานาปานสติ และ
ทรงปรากฏผลขน้ึ มาแตเ รม่ิ แรกพจิ ารณา เพราะพระจิตมีความสงบ และสงบละเอยี ด
ไปโดยลาํ ดบั ก็ทรงมีทางที่จะทรงพิจารณาไตรตรองโดยทางพระสติปญญา
ทรงยก “ปฏิจจสมุปบาท” ขึ้นมา “อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา” เปนตน เพราะมี
อยใู นพระกาย มอี ยใู นพระจิตนน้ั ดว ยกนั ทรงไตรตรองตามเหตุตามผล ตามความสัตย
ความจริงที่มีอยูดวยพระปญญาปรีชาสามารถ และไดตรัสรู “เญยยธรรม” โดยตลอด
ทว่ั ถงึ ในปจ ฉมิ ยามแหง ราตรขี องเดอื นหกเพญ็
เมื่อ “อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา” ทจี่ ูงมนษุ ยจูงสัตวท ง้ั หลายใหทอ งเท่ียวอยูใน “วฏั วน”
เหมอื นกบั คนหหู นวกสตั วต าบอด มาตั้งกัปตั้งกัลป พระองคไดทรงสลัดปดทิ้งบรรดา
ความบอดหนวกทง้ั ปวงในราตรวี นั นน้ั ปรากฏในพระทัยวา “อาสวกั ขยญาณ” ไดส้ิน
ไปแลว จากอาสวะความมดื มนอนธการทง้ั หลาย นอกจากนน้ั ยงั ทรงรู “ปพุ เพนิวาสา
นสุ สตญิ าณ” ทรงระลึกชาติยอนหลังของพระองคไดจนไมมีประมาณ และทรงรู
“จตุ ปู ปาตญาณ” รูความเกิดความดับของสัตวทั้งหลายไมมีประมาณ ญาณไหนๆ ก็
ทรงทราบโดยทั่วถึง แลวก็ทรงนําส่งิ ท่ที รงทําแลว ทรงรูเห็นแลวทั้งเหตุทั้งผลนั่นอันเปน
ความถกู ตอ งแมน ยาํ มาสง่ั สอนโลกใหพ อลมื ตาอา ปาก พูดเปนเสียงผูเสียงคนขึ้นมา
เปนลําดับ ไมห ลบั หหู ลบั ตาอา ปากพดู แบบปา เถอ่ื นเลอ่ื นลอย เหมือนแตกอนที่ยังไมมี
ศาสนธรรมมาโสรจสรง ซง่ึ ไมม โี อวาทคาํ สง่ั สอนของผใู ดทจ่ี ะถกู ตอ งแมน ยาํ และ
สะอาดยิ่งกวาพระโอวาทของพระพุทธเจา “เอกนามกึ” คอื พระโอวาทคาํ สง่ั สอนของ
พระพุทธเจา ที่เปนหนึ่งไมมีสองนั่นแล และ “พระญาณ” ความหยั่งทราบในเหตุ
การณตางๆ กเ็ ปน หน่ึงไมมีสอง ทรงรูทรงเห็นตรัสมาอยางใด ตองเปนไปตามความ
จรงิ นน้ั โดยไมเ ปน อน่ื ไปไดเ ลย นแ่ี หละ “เอกนามกึ” แปลวา หนง่ึ ไมม สี อง
พระพุทธเจาที่ตรัสรูขึ้นมาแตละพระองคนั้น ไมไ ดต รสั รซู าํ้ กนั มีพระองคเดียว
เทานั้นที่ตรัสรูแตละครั้ง ๆ นอ่ี นั หนง่ึ ทเ่ี รยี กวา “เอกนามกึ” มีพระพุทธเจาครั้งละพระ
องคเดียวเทานั้น
เอา!ทีนี้ยนเขามาหาพวกเรา ที่กลาวมาทั้งนี้เปนไดทั้งเราทั้งพระพุทธเจา เปน
แตเ พยี งวา กวา งแคบตา งกนั สาํ หรบั หลกั ฐานแหง ความจรงิ นน้ั เหมอื นกนั
“จตุ ปู ปาตญาณ” ความรูความเกดิ ความดับ รทู ่ีไหนถา ไมร สู งั ขารทเ่ี กดิ ขน้ึ
และดบั ไปทง้ั ดีท้งั ชัว่ อยภู ายในจิตใจ เอาตรงนี้ ปรุงแตงเรื่องภพเรื่องชาติ เรอ่ื งกเิ ลส
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๐
๑๑๑
ตณั หาอาสวะ กค็ อื ตวั นแ้ี หละ ปญ ญาพิจารณาใหเห็นอยา งน้ี “อาสวะ”กห็ มายถึง
กเิ ลส รูกันที่ตรงไหนก็ดับไป ๆ ทต่ี รงนน้ั จนกลายเปน “อาสวกั ขยญาณ” ความรู
แจง ในความสน้ิ อาสวกเิ ลสทง้ั หลายโดยสน้ิ เชงิ เราอยใู นกปั ไหนเวลาน?้ี
เราตอ งทดสอบเราวา อยใู นภทั รกปั หรอื ในสญุ ญกปั ?
“ภทั รกปั ” แปลวา กัปที่เจริญ เจริญในการประกอบความพากเพียร ในความมี
สารคณุ ภายในใจ ในวนั หนง่ึ ๆ ถาไดสรางสารธรรมขึ้นมาภายในจิตใจ กเ็ ปน
“ภัทรกัป”เปน ขณะเปน เวลา เปน กาลทเ่ี จรญิ รงุ เรอื ง นง่ั สมาธภิ าวนากเ็ ปน สมาธิ
ภาวนา ไมเปน “หวั ตอ” ไมมีสติสตัง ทั้งๆ ทไ่ี มห ลบั แตก ห็ ลบั อยเู รอ่ื ยๆ ดวยความไม
มีสติ คดิ ฟงุ ซา นวนุ วาย ฝนดิบฝนสุกไปเรื่อยๆ เรอ่ื งนน้ั เรอ่ื งนต้ี อ กนั ไป ถงึ ลกู ถงึ หลาน
ถงึ บา นถงึ เรอื น ถงึ กจิ การตางๆ ตลอดเมืองนอกเมอื งนาที่ไหนไปหมด อดตี อนาคตยงุ
ไปไมหยุดหยอน นเ่ี ปน “กปั ” อะไร? ดซู ี
ถา ไมม สี ตสิ ตงั กเ็ ปน อยา งนน้ั ถา มสี ตแิ ลว จะไมไ ป เราบงั คับนี่ เวลานี้เรา
ตอ งการจะทาํ หนา ทน่ี อ่ี ยา งเดยี ว “ใหเปนภัทรกัป อยาเปน สุญญกัป” นน่ั มนั เปน
“สุญญกัป”ทก่ี ลา วไปแลว นน้ั มนั นาํ “ไฟ” มาเผาเจาของผูเ ปน “สญุ ญกปั ”ทไ่ี มม ี
ศาสนาแฝงเลยขณะนน้ั นะ คือไมมีสติสตัง ไมมีปญญาตามรักษาเลย ปลอ ยแตก เิ ลส
ใหก เิ ลสฉดุ ลากจติ ใจถา ยเดยี วโดยเจา ของไมร สู กึ กวาจะรูสึกนะเขากินของดีหมดแลว
เขาปลอยแลว ถึงรตู ัว เวลาถกู เขาฉดุ เขาลากไปนน้ั ฝนสดไปกับเขา เวลาเขาปลอ ยแลว
จึงมารูตัว!
“โอย ตาย! มันคิดไปอะไร? เรื่องราวอะไร!” กย็ งั ดอี ยทู ร่ี วู า คดิ ไป ไอที่ไมรูเลย
นน่ั ซิ พอรตู วั ลากกลบั มา “เอ!มันยังไง? มานง่ั ภาวนาเปน เวลาตง้ั หลายนาที หรือเปน
ชว่ั โมงๆ ไมเห็นไดเรื่องอะไร นั่งอะไรไมไดเรื่องอยางนี้นะ นอนเสยี ดกี วา !” ลมไปเลย
สิ่งที่ไดเรื่องไดราวก็คือ “หมอน” แมห มอนเองถา มวี ญิ ญาณ ก็จะเบื่อคนประเภท
ธรรมไมไ ดเ รอ่ื งนี้เต็มประดา เพราะ “สญุ ญกปั ” บนหมอนไมย อมปลอ ย เมื่อเปนเชน
นั้นมันจะดีกวายังไง? นอกจากมนั “ดีหมอน” เทา นน้ั
ถา ดกี วา ดว ยหมอนดงั ความเขา ใจนน้ั ใครๆ ก็พนทุกขไ ปไดดวยกนั ทง้ั นัน้
แหละ! แตนี่มันไมดีกวา มันเปนเรื่องกิเลสหลอกเรา กลอ มเราใหห ลบั วา เปน ของดกี วา
คอื ดกี วา ภาวนา!
กเิ ลสมนั ตอ งแทรกธรรมอยเู สมอ พวกนพ้ี วกกอ กวน พวกยุแหย พวกทาํ ลาย
หาทาํ ลายทกุ แงท กุ มมุ ทกุ กาลทกุ เวลาทกุ อริ ยิ าบถ ลวนเปน เรือ่ งของกิเลส พระพุทธ
เจา จงึ ทรงสอนใหป ราบกเิ ลสพวกทแ่ี ทรกซมึ อยภู ายในใจ ดวยสติปญญา มีความเพียร
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๑
๑๑๒
เปน เครือ่ งหนนุ หลัง ความอดความทน ความพยายาม เราทาํ หนา ทก่ี ารงานอนั เปน สาร
ประโยชนสําคัญเพื่อเรา ใหเปน “ภทั รกปั บคุ คล” ขน้ึ ภายในใจ จงึ ตองอาศยั ความขยัน
หมน่ั เพยี ร
งานทกุ ดานทเ่ี ปน ผลเปนประโยชน เราอยา สรา งอปุ สรรคมากดี ขวางไมใ หง าน
นน้ั ๆ เปนผลสําเร็จ
จติ ถา สงบกส็ บาย ถาไมส งบไมว า แตก าลไหนๆ จนกระทง่ั วนั ตายกห็ าความ
สบายไมได เพราะจติ วนุ นจ่ี ะหาความสบายทไ่ี หน จงทาํ ความเขา ใจไวว า “สญุ ญกปั ” ก็
อยกู บั ความไมเ อาไหนนน่ั แล สว น “ภทั รกปั ” กอ็ ยใู นผมู คี วามเพยี ร มีสติปญญาเปน
เครื่องรักษาตัว “สญุ ญกปั ” กค็ ือการปลอยตามเรื่องตามราว ตามอารมณ ตามบญุ ตาม
กรรม ไมทราบบุญที่ไหนกรรมที่ไหน ปลอ ยเรอ่ื ยไป ความปลอ ยเรอ่ื ยไปนน้ั คอื ความ
ผกู มดั ตนเองโดยไมรูสึกตัว แลว ก็จนตรอกจนมมุ เจอแตสิ่งที่ไมพึงปรารถนา ความ
ทกุ ขใ ครปรารถนาเลา ในโลกน้ี? แตท ําไมเจอกันท่วั โลกดนิ แดน นก่ี เ็ พราะความปลอ ย
ตามบญุ ตามกรรมนั่นเอง มันไมมีเหตุผลนีก่ ารปลอยอยางน้นั
ถา ปลอ ยกเิ ลสวางกเิ ลสดว ยสตปิ ญ ญา นั่นมีเหตุมีผล! พระพุทธเจาทานทรง
ปลอ ยอยา งนน้ั รเู หตุรผู ลทกุ สิ่งทุกอยางแลวปลอ ยไปโดยลาํ ดบั จนกระทั่งปลอยไดโดย
สิ้นเชิง สดุ ทา ยกป็ ลอ ยกเิ ลสหมด เหลือแตพระทัยที่บริสุทธิ์ พระพทุ ธเจา ทา นสอนให
ปลอ ยอยา งน้ี
พวกเรามีแตเที่ยวยึดเที่ยวถือ เทย่ี วแบกเทย่ี วหาม หนกั เทา ไรอยา งมากกบ็ น เอา
แลว กไ็ มว ายทจ่ี ะแบกจะหาม หามาเพิ่มเติมเรื่อยๆ ไมวาหนุมสาวเฒา แกชราเปนตัว
ขยนั ทสี่ ดุ กค็ อื การแบกการหามอารมณค วามคดิ ความปรงุ ตา งๆ นน่ั เอง ไมไดคิดคํานึง
ถงึ วยั ถึงปถึงเดือน อายสุ งั ขารเจา ของบา งเลย
ขยนั ทส่ี ดุ กค็ อื เรอ่ื งแบกเรอ่ื งหามกองทกุ ข แบกสญั ญาอารมณ การพูดเชนนี้
ก็เพื่อใหเราระลึกถึงตัวเรา ใหร วู า เราเคยเปน อยา งนม้ี านานเทา ไร แลว ยงั จะฝน ใหเ ปน
อยา งนอ้ี ยหู รอื ผลทเ่ี ปนมาเพราะการกระทําอยา งน้ีเปน อยางไร? เราก็ทราบในตัวเรา
เองเวลานี้ เราจะแกไขตัวเราอยางไรบาง? พอไดม คี วามผอ นคลายภายในใจ ไดรับ
ความสะดวกกายสบายใจ
ดังท่ีทานท้ังหลายไดอตุ สาหม าน้ี กน็ บั วา เปน บญุ เปน กศุ ล เปนเจตนาดีที่สุดที่มา
บําเพ็ญ นช่ี อ่ื วา “มาหาสารประโยชน” เพราะฉะนั้นจึงกรุณาบําเพ็ญจิตตภาวนาให
เหมาะสมกบั กาลเวลาทม่ี า นง่ั สมาธภิ าวนาดตู วั ของเรา ตัวของเราเปนอยางไรถึงตอง
ดู ถา เปน คนไขก ต็ อ งหมอเปน ผตู รวจผรู กั ษา เวลานี้จิตเรามันเปน “โรค” เปนโรค
อะไร ใครจะเปนผูตรวจผูรักษา นแ่ี หละสาํ คญั
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๒
๑๑๓
โรคของจิตคือเรื่องของกิเลส “ยา” ก็คือธรรม “หมอ” กไ็ ดแ กค รแู กอ าจารย
หรอื ตาํ รบั ตาํ ราทท่ี า นสอนไว เรานํามาประพฤติปฏบิ ัติกําจัดเชือ้ โรคอนั สําคัญท่ีฝงอยู
ภายในอยา งจมมดิ น้ี ใหถ อนดว ยความพากเพยี รอยา ลดละทอ ถอย ความหวงั ท่ี
ปรารถนาดวยกันนั้นจะพึงสําเร็จไปโดยลําดับๆ
เฉพาะอยา งยง่ิ คอื การพจิ ารณาเรื่องธาตุเรื่องขันธ เรอ่ื งความเปน ความตายใน
สกลกายน้ี เปน สง่ิ สาํ คญั มากยง่ิ กวา ไปคดิ ถงึ เรอ่ื งอน่ื ๆ เรอ่ื งความตายตดิ แนบกบั ตวั
เราทกุ คน ความเจ็บ ความทุกข ความลาํ บาก ในรา งกายและจติ ใจ กต็ ดิ แนบอยกู บั รา ง
กายและจิตใจเราไมไดปลอยไมไดวาง นอนอยมู นั กท็ บั นง่ั อยมู นั กท็ บั อิริยาบถทั้งสม่ี ี
แตเ รอ่ื งความแก ความเจ็บ ความตาย นี่ทับเราอยูทั้งนั้น ความทกุ ขค วามลาํ บากทบั เรา
อยตู ลอดเวลา เราจะหาอบุ ายวธิ ไี หนเพอ่ื จะใหร เู ทา ทนั กบั สง่ิ เหลา น้ี เพอ่ื จะถอดถอนสง่ิ
ทค่ี วรถอดถอนดว ยอบุ ายวธิ ใี ดบา ง?
นเ่ี รยี กวา “เรียนรูตัวเราเอง” สง่ิ ทเ่ี กย่ี วกบั ตวั เรามอี ะไรบา งใหร ใู หเ ขา ใจ สม
กบั ศาสนาทอ่ี อกมาจากทา นผฉู ลาดแหลมคม มาสอนเราซึ่งเปนพุทธบริษัท เพอ่ื ความ
ฉลาดแหลมคมใหท นั กบั กลมารยาแหง ความโงข องตนทม่ี อี ยภู ายใน ความโงก ค็ อื กเิ ลส
พาใหโง ธรรมพาใหฉลาด เราวากิเลสมันโงนะ แตความจริงกเิ ลสมนั ฉลาดทส่ี ดุ แตทํา
คนใหโ งแ ละโงท ส่ี ดุ ไดอ ยา งสบายมาก เชน เราถกู กลอ มไวเ รอ่ื ยอยา งน้ี ดว ยความ
แหลมคมของกิเลสทัง้ นนั้ แลว จะวา กเิ ลสมนั โงไ ดอ ยา งไร ผูทเี่ ชอื่ กิเลสน้นั แลคือผโู ง
วา อยา งนถ้ี กู ตอ งดี แลวใครละ เชื่อกเิ ลสโดยลําดบั ลําดา มใี ครบา ง? กส็ ตั วโ ลกนเ้ี องเปน
พวกโงเพราะเชื่อ กเิ ลส มนั กลอ มเมอ่ื ไรกห็ ลบั เมอ่ื นน้ั เคลิ้มเมื่อนั้น ราบไปเมื่อนั้น ยง่ิ
กวา เดก็ ถกู กลอ มดว ยบทเพลง ไมเคยตื่นเนื้อตื่นตัว ไมเ คยเหน็ ภยั แหง การกลอ มของ
มนั กค็ อื พวกเรานแ่ี ล
พระพุทธเจาและพระสาวกทาน เปนผูรูสึกพระองคและรูสึกตัว ไดนําธรรมเขา
ไปรอ้ื ถอนตนออกจากไฟทง้ั หลายเหลา นเ้ี สยี ได แลว นาํ ธรรมเหลา นน้ั มาสง่ั สอนพวกเรา
ประกาศทั้งคุณทั้งโทษ “โทษ” ไดแ กค วามลมุ หลงไปตามกเิ ลสตณั หาอาสวะ คุณก็ได
แกส ติปญ ญาศรัทธาความเพียร ทจ่ี ะรอ้ื ถอนสง่ิ เหลา นอ้ี อกจากใจ ใหก ลายเปน ผฉู ลาด
แหลมคมขึน้ มา และหลดุ พน ออกจาก “แอก”ทม่ี นั กดถว งอยบู นคอ ไดแ กห วั ใจของ
เรานี่ จนกลายเปน อิสระขน้ึ มาได ดังพระพุทธเจาและพระสาวกทาน พระพุทธเจา ทาน
หมด หมดสง่ิ กดถว งใจ ยดึ อะไรหลงอะไร อนั นน้ั แหละกดถว ง ความยดึ ความถอื ของ
ตวั เองนน้ั แลมนั กดถว งตวั เอง ไปยึดภูเขาทั้งลูก ภเู ขาน้นั ไมไ ดม ากดถวงเรา แตความ
ยึดภเู ขาทง้ั ลูกน้ันแลมนั มากดถวงเรา ยดึ อะไรหลงอะไร ความยดึ ความหลงอนั นน้ั
แหละมันมากดถวง มาบีบบังคับจิตใจเรา สง่ิ ทเ่ี ราไปยดึ ไปถอื นน่ั มนั ไมไ ดม าทาํ เรา
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๓
๑๑๔
เชน เงินทอง ขาวของ ตกึ ราม บา นชอ ง ทไ่ี รท น่ี าอะไรกต็ าม มนั ก็อยูต ามเรอ่ื งของมัน
มันไมถือวามันเปนขาศึก หรือเปนคุณเปนโทษแกผูใด แตผ ทู ไ่ี ปหลงไปยดึ ไปถอื สง่ิ
เหลา นน้ั นน่ั แหละมนั กลบั มาทบั ตวั เอง จงึ ตอ งแกต วั นด้ี ว ยสตปิ ญ ญา
การภาวนากเ็ พอ่ื ใหร เู รอ่ื งความคะนองของใจ ที่คิดไมเขาเรื่องเขาราวอยางนี้
แหละ สั่งสมทุกขใหแกตัวมากเทาไรยังไมเคยเห็นโทษของมัน เมอ่ื ไดเ รียนทางดาน
ภาวนาแลว เรม่ิ จะทราบขน้ึ โดยลาํ ดบั ๆ จนมาถงึ เรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธอ นั เปน สมบตั สิ าํ คญั
ของเรา ไดแ กรางกาย เลื่อนเขามาตรงนี้ รา งกายทกุ สว นนม้ี นั กจ็ ะตอ งสลายไปในวนั
หนง่ึ ทกุ วนั นม้ี นั กเ็ รม่ิ ของมนั แลว ตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงอยูเรื่อยๆ ความเปลย่ี น
แปลงของธาตขุ นั ธแ ตล ะชน้ิ ละอนั น้ี มนั ทาํ ความทกุ ขใ หแ กเ รามากนอ ยเพยี งไร ถา มนั
แสดงออกอยา งเปด เผยกท็ ราบชดั วา นี่มันเจ็บตรงนั้น ปวดตรงนี้ เชน เจ็บทอง ปวดหัว
เปนตน ถามันไมแสดงอยางเปดเผย เปนไปอยูอยางลับๆ เราไมทราบได เรื่องธาตุเรื่อง
ขนั ธเ ปน อยา งน้ี “เวทนา” กค็ วามทกุ ข คอื ทกุ ขเวทนาบบี อยอู ยา งนน้ั แหละ ยนื เดิน
นง่ั นอน มนั กบ็ บี บงั คบั อยอู ยา งนน้ั พจิ ารณาใหร นู แ้ี ลว แมธ าตขุ นั ธจ ะยงั อยกู บั เราก็
ตามก็ไมกดถวงเราได เพราะความยึดถือของเราไมมี เนื่องจากเรารูเทาทันกับสิ่งเหลานี้
ปลอยวางไดต ามความเปน จรงิ เชน เดยี วกบั สภาวธรรมทัง้ หลาย ใจกส็ บาย อยใู น
ทา มกลางแหง ธาตขุ นั ธก ไ็ มห ลงธาตขุ นั ธ ธาตุขันธก็ไมมาทับถมเราได เราก็เปนอิสระอยู
ภายในจติ ใจ
นเ่ี รยี กวา “ผฉู ลาดครองขนั ธ ผฉู ลาดรกั ษาขนั ธ ขนั ธไ มสามารถมาเปน ภยั ตอ
เราได เพราะมปี ญ ญาความเฉลยี วฉลาดทนั กบั มนั นักปราชญทานวา “นค้ี อื ความฉลาด
ฉลาดแกตัวใหรอดพนไปได” นน้ั แลเปน ความฉลาดของนกั ปราชญท ง้ั หลาย มีพระ
พุทธเจาเปนตน
ความฉลาดนอกนน้ั พาใหเ จาของเสยี มาก พระพุทธเจาจึงไมทรงชมเชยวา นน้ั
เปนความฉลาดอยา งแทจ ริง ความฉลาดใดที่เปน ไปเพื่อความสขุ ความเจรญิ แกตนและ
สว นรวมนน้ั แล เปน ความฉลาดแท เฉพาะอยา งยง่ิ ความฉลาดเอาตวั รอดนเ่ี ปน สาํ คญั !
เอาตัวรอดไดกอน แลว กน็ าํ ผอู น่ื ใหร อดพน ไปไดโ ดยลาํ ดบั ๆ นช่ี อ่ื วา ความฉลาดแท!
จงึ ขอยุติการแสดง ฯ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๔
๑๑๕
เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙
ปรยิ ตั ,ิ ปฏบิ ตั ,ิ ปฏเิ วธ
วนั นเ้ี ทศนเ รอ่ื งมนษุ ยส งู กวา บรรดาสตั ว โลกสงู กวา มนษุ ย ธรรมสงู กวา โลก
เพราะฉะนั้นธรรมกับมนุษยจึงเปนคูควรกัน มนุษยก็เหมาะสมกับธรรมที่จะรับธรรมไว
บนดวงใจเพื่อประพฤติปฏิบัติ ธรรมกส็ มควรแกม นษุ ยท จ่ี ะเทดิ ทนู สกั การบชู า นอก
เหนือจากธรรมแลวก็ยังมองไมเห็นอะไรที่เปนความเลิศประเสริฐในสกลโลกนี้ ไมมี
อะไรที่ยอดเยี่ยมยิ่งกวาธรรม
ความฉลาดของโลกกไ็ มม ใี ครจะเยย่ี มยง่ิ ไปกวา มนษุ ย ในโลกมนุษยที่มีพุทธ
ศาสนาประจาํ จึงเหมาะสมกับมนุษยผูใครธรรมและมีธรรมในใจ แตศาสนธรรมไม
เหมาะสมกับผูเปนมนุษยเพียงแตรางไมมีธรรมภายในใจบางเลย ทง้ั นา เสยี ดายภมู แิ หง
มนุษยชาติ สูสัตวบางประเภทบางตัวที่มีจิตใจสูงสงก็ไมได นบั วา ขาดทนุ สญู ดอก ไมมี
ความดีงามงอกเงยไดบางเลย เกิดมาเปนมนุษยทั้งท!ี
เราทั้งหลายไดประพฤติปฏิบัติ ไดนับถือพระพุทธศาสนาซึ่งเปนสิ่งที่เลิศ
ประเสริฐอยูแลวโดยหลักธรรมชาติของธรรม ชอ่ื วา เราเปน ผเู หมาะสม ทั้งไดเกิดมาเปน
มนุษย ทง้ั ไดน บั ถอื พระพทุ ธศาสนา ไดตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรมตามกําลังความ
สามารถของตนๆ
เฉพาะอยา งยง่ิ ทางจติ ตภาวนาเปน สง่ิ สาํ คญั มาก ที่จะทําใหมองเห็นเหตุผล
ตางๆ ซง่ึ มอี ยภู ายในตวั เราใกลไ กลรอบดา น จะรูเ ห็นไดด วยภาคปฏบิ ตั คิ อื “จิตต
ภาวนา” การภาวนาทา นถอื เปน สาํ คญั ในภาคปฏบิ ตั ศิ าสนา ครั้งพุทธกาลจึงถือภาค
ปฏบิ ตั เิ ปน เยย่ี ม เชน ทา นกลา วไวว า “ปรยิ ตั ิ, ปฏบิ ตั ,ิ ปฏเิ วธ” แนะ !
“ปริยัต”ิ ไดแกการศึกษาเลาเรียน
“ปฏบิ ตั ิ” ไดแกศึกษาเลาเรียนมาเปนที่เขาใจแลว ออกไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม
เข็มทิศทางเดินของธรรมที่ไดเรียนมาแลวนั้น
“ปฏเิ วธ” คอื ความรแู จง แทงตลอดไปเปน ลาํ ดบั ๆ กระทั่งรูแจงแทงตลอดโดย
ทว่ั ถงึ ธรรมท้ังสามนเ้ี กย่ี วเนือ่ งกัน เหมอื นเชอื กสามเกลยี วทฟ่ี น ตดิ กนั ไว
คาํ วา “ปริยัต”ิ นน้ั เมื่อครั้งพุทธกาล สวนมากทานเรียนเฉพาะเรียนจากพระ
โอษฐข องพระพุทธเจามากกวา อยางอ่นื ผูจะมาเปนสาวกอรหัตอรหันต สว นมากเรยี น
จากพระโอษฐข องพระพุทธเจา เรียนอะไร? ขณะที่จะบวชทานทรงสั่งสอน “ตจปญจก
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๕
๑๑๖
กรรมฐาน” ให คอื “เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ, ตโจ ทันตา นขา โลมา เกสา” โดย
อนโุ ลมปฏโิ ลม ยอ นกนั ไปกนั มาเพอ่ื ความชาํ นชิ าํ นาญ นค่ี อื ทา นสอนธรรมเปน เครอ่ื ง
ดําเนินของนักบวช การสอนธรรมเปน เครอ่ื งดาํ เนนิ นน้ั แลเปน การใหโ อวาท ผูที่สดับฟง
ในขณะที่พระพุทธเจาประทานพระโอวาทก็ไดชื่อวา การเรียนดว ยและการปฏบิ ัตไิ ปใน
ตัวดวย
การสอนวา “สง่ิ นน้ั เปน นน้ั ๆ” เชน ทา นสอนวา “เกสา โลมา นขา ทันตา
ตโจ” อยา งนเ้ี ปน ตน นี่คือทานสอนธรรมซึ่งเปนปริยัติจากพระโอษฐ เราก็เรียนให
ทราบวา “เกสาคอื อะไร โลมา นขา ทันตา ตโจ แตล ะอยา ง ๆ คอื อะไร
ผูเรียนก็เรียน และปฏบิ ตั ิดว ยความสนใจใครรูใครเหน็ จรงิ ๆ ไมส กั วา เรยี นวา
ปฏิบัติเพื่อเกียรติยศชื่อเสียงใดๆ พระพุทธเจาทรงสอนสภาพความเปนจริง ความเปน
อยแู ละเปน ไปของสง่ิ เหลา นท้ี ม่ี อี ยกู บั ตวั เอง ตลอดถงึ อาการ ๓๒ ทุกแงทุกมุมโดย
ลาํ ดบั ใหท ราบวา สง่ิ นน้ั เปน นน้ั สิ่งนั้นเปนจริงๆ ตลอดความเปนอยูของสิง่ นนั้ ความ
แปรสภาพของสง่ิ น้ันวาเปน อยา งไร และธรรมชาตนิ น้ั คอื อะไรตามหลกั ความจรงิ ของ
มัน ใหพ จิ ารณาทราบอยา งถงึ ใจ เพื่อจะแก “สมมุติ” ที่เปนเครื่องผูกพันจิตใจมานาน
ความสมมุติของโลกวา สง่ิ นน้ั เปน นน้ั สิ่งนี้เปนนี้ ไมมีสิ้นสุด แมจะสมมุติวาสิ่ง
ใดเปน อะไรกย็ ดึ ถอื ในสง่ิ นน้ั รกั กย็ ดึ ชังก็ยึด เกลียดก็ยดึ โกรธกย็ ดึ อะไรๆ กย็ ึดทัง้ น้นั
เพราะเรอื่ งของโลกก็คือกิเลสเปนสาํ คัญ มีแตเรื่องยึดและผูกพัน ไมมีคําวา “ปลอ ย
วาง” กนั บา งเลย ความยดึ ถอื เปน สาเหตใุ หเ กดิ ทกุ ขก งั วล โลกจงึ มแี ตค วามทกุ ขค วาม
กงั วลเพราะความยดึ ถอื ถา ความยดึ ถอื เปน เหมอื นวตั ถมุ องเห็นไดดว ยตาเนอ้ื แลว
มนษุ ยเ ราแบกหามกนั ทง้ั โลกคงดูกันไมได เพราะบนหวั บนบา เตม็ ไปดว ยภาระความ
แบกหามพะรุงพะรัง ที่ตางคนตางไมมีที่ปลงวาง ราวกบั เปน บา กนั ทง้ั โลกนน่ั แล ยังจะ
วา “ดี มีเกียรติยศชื่อเสียง” อยหู รอื ? จนปราชญทานไมอาจทนดูไดเพราะทานสงสาร
สังเวชความพะรุงพะรังของสัตวโลกผูหา “เมืองพอดี” ไมมี ภาระเต็มตัวเต็มหัวเต็มบา
ธรรมทา นสอนใหร แู ละปลอ ยวางเปน ลาํ ดบั คอื ปลอ ยวางภาระความยดึ มน่ั ถอื
มน่ั ซง่ึ เปน ภาระอนั หนกั เพราะความลุมหลงพาใหยึด พาใหแ บกหาม ตนจงึ หนกั และ
หนกั ตลอดเวลา ทา นจึงสอนใหร ทู ว่ั ถึงตามหลักธรรมชาตขิ องมัน แลว ปลอ ยวางโดยสน้ิ
เชิง ทง้ั นส้ี บื เนอ่ื งมาจากการไดย นิ ไดฟ ง มาจากพระพทุ ธเจา แลว นาํ ไปปฏบิ ตั ิ จนกลาย
เปน “ปฏเิ วธ” คือความรูแจง เห็นจรงิ ข้นึ โดยลาํ ดบั
ครง้ั พทุ ธกาลทา นสอนกนั อยา งนเ้ี ปน สว นมาก สอนใหม คี วามหนกั แนน มน่ั คง
ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ยิ ง่ิ กวา สง่ิ อน่ื ใด พระในครง้ั พทุ ธกาลทอ่ี อกบวชจากตระกลู ตา งๆ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๖
๑๑๗
มีตระกูลพระราชา เปนตน ทานตั้งหนาบวชเพื่อหนีทุกขจริงๆ จึงสนใจอยากรอู ยากเหน็
ธรรมดว ยการปฏบิ ัตเิ ปน อยางย่ิง ทั้งตั้งใจฟงทั้งตั้งใจปฏิบัติดวยความจดจอตอเนื่อง
ในทางความเพียร พยายามสอนตนใหร เู หน็ ธรรมกอ น แลว จงึ นาํ ธรรมนน้ั มาสง่ั สอน
โลก ทานเปน “พระธรรมกถึก” เพอ่ื องคท า นเองกอ นแลว จงึ เพอ่ื ผอู น่ื ธรรมทานจึง
สมบรู ณด ว ยความจรงิ มากกวา จะสมบรู ณด ว ยความจดจาํ
พระธรรมกถกึ ในครงั้ พุทธกาลเชน “พระปุณณมันตานบี ุตร” ทานเปนพระ
ธรรมกถกึ เอก ซึ่งไดรับคํายกยองชมเชยจากพระศาสดา ทา นมกั ยก “สลั เลขธรรม”
ขึ้นแสดง กลา วถงึ เรอ่ื งควรขดั เกลากเิ ลสทง้ั นน้ั นับแต “อปั ปจ ฉตา” ความมกั นอ ยขน้ึ
ไปจนถึง “วิมุตติ วมิ ตุ ตญิ าณทัสสนะ” คือความรูแจงแหงการหลุดพน
พระพุทธเจาทานทรงยกยองใหเปน “เอตทัคคะ” ในทางธรรมกถกึ เรยี กวา
เปนธรรมกถกึ เอก พระปุณณมันตานีบุตรนั้นทานเปนพระอรหันตดวย รแู จง สจั ธรรม
ทั้งสี่โดยตลอดทั่วถึงดวย เพราะฉะนั้นทานจึงสอนดวยเหตุดวยผล ดว ยความสตั ยค วาม
จริง ซึ่งออกมาจากจิตใจของทานที่รูแลวจริงๆ ไมไ ดส อนแบบ “ลบู ๆ คลาํ ๆ” ตามที่
เรียนมา ซึง่ ตนเองกไ็ มแนใจวาเปนอะไรกนั แน เพราะจิตใจยังไมสัมผัสธรรม เปนแต
เรียนจําชื่อของธรรมไดเทานั้น เพราะฉะนน้ั ทา นจงึ อธบิ าย “สัลเลขธรรม ทั้ง ๑๐
ประการน้ไี ดโดยถูกตอ งถองแท ไมมีอะไรคลาดเคลื่อนจากหลักความจริง เนื่องจากจิต
ทานทรงหลักความจริงไวเต็มสวน นธ่ี รรมกถกึ ทเ่ี ปน อรรถเปน ธรรม เปน ความถกู
ตองดีงามแทเปนอยางนั้น
สวนธรรมกถึกอยา งเราๆ ทา นๆ ทม่ี กี เิ ลสนน้ั ผดิ กนั แตไ มต อ งกลา วไปมากก็
เขา ใจกนั เพราะตางคนตางมี ตา งคนตา งรูด ว ยกนั ครง้ั พทุ ธกาลกย็ งั มอี ยบู า งทท่ี า น
เรียนจนจบพระไตรปฎก และมลี กู ศษิ ยล กู หาเปน จาํ นวนมากนบั รอ ยๆ ที่ไปเรียนธรรม
กบั ทา น ทา นสอนทางดา นปรยิ ตั ถิ า ยเดยี ว พระพทุ ธเจาทรงตาํ หนิ
ที่ทรงตําหนินั้นดวยทรงเห็นอุปนิสัยของทานสมควรแกมรรคผลนิพพาน ทาน
ชอ่ื “โปฐิละ” ซง่ึ แปลวา “ใบลานเปลา ” ทานเปนผูทรงธรรมไวไดมากมายจนเปน
“พหสู ตู ” แตไมใช “พหสู ตู ”อยางพระอานนท ทา นเปน ผเู รยี นมาก มีลกู ศษิ ยบริวาร
ตง้ั ๕๐๐ ทา นมอี ปุ นสิ ยั อยู แตก ล็ มื ตวั ในเวลานน้ั เมื่อไปเฝาพระพุทธเจา พระองคจึง
ทรงแสดงเปนเชิงตําหนิ เพราะพระพุทธเจาทรงตําหนิใครก็ตาม ทรงสรรเสริญใครก็
ตาม ตองมีเหตุมีผลโดยสมบูรณในความติชมนั้นๆ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๗
๑๑๘
เมื่อทานทรงตําหนิ “พระโปฐิละ” พระโปฐิละจึงเกิดสังเวชสลดใจ ขณะที่เขาไป
เฝา พระองคท รงยาํ้ แลว ยาํ้ เลา อยนู น่ั แหละวา “โปฐิละ” กแ็ ปลวา “ใบลานเปลา ”
เรยี นเปลา ๆ ไดแตความจําเต็มหัวใจ สว นความจรงิ ไมส นใจ
อยา งทา นอาจารยม น่ั ทา นเคยเทศนอ ยา งนน้ั น่ี! “เรยี นเปลา ๆ”, “หวั โลน
เปลาๆ” “กนิ เปลา ๆ นอนเปลาๆ” ย้ําไปย้ํามาจนผูฟงตัวชาไปโนนแนะ ทา นวา ไป
ทานแปลศพั ทของทา น “โปฐิละ” องคเ ดียวนแ่ี หละ คอื ทา นสอนพระลกู ศษิ ยข องทา น
ทานยกเอาเรื่องพระโปฐิละมาแสดง ใหเปนประโยชนสําหรับพระผูที่ฟงอยูในขณะนั้น
ซ่งึ มุง ถอื เอาประโยชนอ ยแู ลว อยา งเตม็ ใจ
เมื่อพระพุทธองคทรงเรียก “พระโปฐิละ” วา “โปฐิละ เขามา,โปฐิละ จงไป,
อะไรๆ กโ็ ปฐลิ ะๆ โปฐิละ...ใบลานเปลา ๆ เรียนเปลาๆ แกก เิ ลสสกั ตวั เดยี วกไ็ มไ ด
เรียนเปลาๆ กิเลสมากและพอกพูนขน้ึ โดยลาํ ดบั ทานประทานอุบายใหพระโปฐิละรูสึก
ตวั และเห็นโทษแหงความลืมตัวมั่วสุมเกลื่อนกลนดวยพระเณรทั้งหลาย ไมห าอบุ ายสง่ั
สอนตนเองบา งเพอ่ื ทางออกจากทกุ ขต าม “สวากขาตธรรม”
เวลาทลู ลากลบั ไปแลว ดวยความสลดสังเวชเปนเหตุใหฝงใจลึก พอไปถึงวัดเทา
น้นั กข็ โมยหนีจากพระทงั้ หลายซ่ึงมจี ํานวนต้งั ๕๐๐ องคดวยกันบรรดาที่เปนลูกศิษย
ออกปฏบิ ตั กิ รรมฐานโดยลาํ พงั องคเ ดยี วเทา นน้ั ทา นมุงหนา ไปสูสํานักหน่ึงซง่ึ มีแตเปน
พระอรหันตทั้งนั้น นับแตพระมหาเถระลงไปจนกระทั่งถึงสามเณรนอย เปนพระ
อรหนั ตดวยกนั ทงั้ หมด เหตทุ ท่ี า นออกไปทา นเกดิ ความสลดสงั เวชวา “เราก็เรียนมาถึง
ขนาดนี้ แทนที่พระพุทธเจาจะทรงชมเชยในการที่ไดศึกษาเลาเรียนมาของเรา ไมมีเลย
มีแตอะไรๆ ก็ “โปฐิละ ๆ” ไปเสียหมด ทุกอาการเคลื่อนไหวไมมีแงใดที่จะทรงชมเชย
เลย แสดงวาเรานี้ไมมีสารประโยชนอะไรจากการศึกษาเลาเรียนมา หากจะเปน
ประโยชนอยูบางพระองคยอมทรงชมเชยในแงใดแงหนึ่งแนนอน” ทานนําธรรมเหลานี้
มาพิจารณาแลว กอ็ อกประพฤตปิ ฏิบัติธรรม ดว นความเอาจริงเอาจงั
พอกา วเขา ไปสสู าํ นกั พระมหาเถระดงั ทก่ี ลา วแลว นน้ั กไ็ ปถวายตวั เปน ลกู ศษิ ย
ทา น แตบ รรดาพระอรหนั ตท า นฉลาดแหลมคมอยา งลกึ ซง้ึ ฉลาดออกมาจากหลกั ธรรม
หลกั ใจทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ เวลาพระโปฐลิ ะเขาไปมอบกายถวายตัวตอ ทาน ทา นกลบั พดู ถอ มตวั
ไปเสียทุกองค เพอ่ื จะหลกี เลย่ี งภาระหนกั นน้ั เพราะราวกบั สอนพระสงั ฆราช หรือจะ
เปนอบุ ายอะไรกย็ ากท่ีจะคาดคะเนทานไดถ กู
ทา นกลบั พดู วา “อา ว! ทา นกเ็ ปน ผทู ไ่ี ดศ กึ ษาเลา เรยี นมาจนถงึ ขนาดนแ้ี ลว
เปนคณาจารยมาเปน เวลานาน จะใหพ วกผมสอนทา นอยา งไรได ผมไมมีความสามารถ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๘
๑๑๙
จะสั่งสอนทานได” ทั้งๆ ที่ทานเปนพระอรหันตทั้งองค เตม็ ไปดว ยความสามารถฉลาด
รูทุกแงทุกมุม
“ทา นกลบั ไปถามทา นองคน น้ั ลองดู บางทที า นอาจมอี บุ ายแนะนาํ สง่ั สอนทา น
ได”
ทา นกไ็ ปจากองคน แ้ี ลว ไปถวายตวั ตอ องคน น้ั องคน น้ั กห็ าอบุ ายพดู แบบเดยี ว
กนั ใหไ ปหาองคน น้ั ๆๆ องคไ หนกพ็ ดู อยา งเดยี วกนั หมด จนกระทั่งถึงสามเณรองค
สดุ ทา ย แนะ ! ยงั พดู แบบเดยี วกนั คอื ทา นขอถวายตวั เปน ลกู ศษิ ยเ ณร เณรก็พูด
ทาํ นองเดยี วกนั
ทีนี้พระมหาเถระทานเห็นทาจะไมไดการ หรอื วา ทา นจะหากลอบุ ายใหเ ณรรบั
พระองคนี้ หรือใหองคนี้เขาไปเปนลูกศิษยเณรเพื่อดัดเสียบาง เพราะทา นเปน พระที่
เรียนมาก อาจมที ิฐมิ ามากก็คาดไมถ งึ คาดยาก พระมหาเถระทานวา “ก็ทดลองดูซิ
เณร จะพอมอี บุ ายสง่ั สอนทา นไดบ า งไหม?”
พอทราบอบุ ายเชน นน้ั แลว พระโปฐลิ ะกม็ อบกายถวายตวั ตอ สามเณรนน้ั ทนั ที
แลว เณรกส็ ง่ั สอนดว ยอบุ ายตา งๆ อยางเต็มภูมิ
เราลองฟงซิเณรสอนพระที่เปนมหาเถระ หาอบุ ายสอนดว ยวธิ ตี า งๆ เชนใหพระ
มหาเถระไปเอาอนั นน้ั มาให ไปเอาอนั นม้ี าใหบ า ง แลว ใหค รองจวี ร เชน ตอ งการสง่ิ ของ
อะไรทีอ่ ยใู นน้ํา ก็ใหมหาเถระครองผาไป ถาจะเปยกจวี รจริงๆ กใ็ หข น้ึ มาเสยี “พอ
แลว ไมเ อา” ความจริงเปนการทดลองทั้งนั้น
ทานมหาเถระที่เปนธรรมกถึกเอกนั้นไมมีขัดขืนไมมีทิฐิมานะ สมกบั คาํ วา
“มอบกายถวายตวั ” จรงิ ๆ เณรใชใหไปไหนไปหมด บางทีใหไปเอาอะไรอยูใ นกอไผ
หนามๆ รกๆ ทา นกไ็ ป แลว ใหค รองผา ไปดว ยทา นกท็ าํ เวลาถึงหนามเขาจริงๆ เณรก็
ใหถ อยมาเสยี “หยดุ เสยี อาจารย ผมไมเ อาละมนั ลาํ บาก หนามเกาะผา ” เณรหาอบุ าย
หลายแงหลายมุมจนกระทั่งทราบชัดวาพระองคนั้นไมมีทิฐิมานะ เปนผมู ุงหนาตอ อรรถ
ตอธรรมจริงๆ แลวเณรจึงไดเริ่มสอนพระมหาเถระดวยอุบายตางๆ
เณรสอนพระมหาเถระโดยอุบายวา “มจี อมปลวกแหง หนง่ึ มีรูอยู ๖ รู เหี้ยใหญ
มนั อยใู นจอมปลวกน้ี และเทย่ี วออกหากนิ ทางชอ งตา งๆ เพื่อจะจับตัวเหี้ยใหได ทาน
จงปด ๕ ชองเสีย เหลือเอาไวเพียงชองเดียว แลว นง่ั เฝา อยทู ช่ี อ งนน้ั เหี้ยไมมีทางออก
จะออกมาทางชอ งเดยี วน้ี แลวก็จบั ตวั เหย้ี ได”
นี่เปนขอเปรียบเทียบ แมภายในตัวของเรานก้ี ็เปน เหมอื นจอมปลวกนัน่ แล
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๙
๑๒๐
ทานแยกสอนอยา งน้ี ทา นอปุ มาอปุ มยั เขา มาใน “ทวาร ๖” คอื ตาเปนชอ งหนึ่ง
หูเปน ชองหนึ่ง จมูกเปนชองหนึ่ง ลน้ิ ชอ งหนง่ึ กายชอ งหนง่ึ ใจชองหนึ่ง ใหท า นปด เสยี
๕ ทวารนน้ั คือ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย เหลือไวแตใจเพียงชองเดียว แลว ใหม สี ตริ กั ษาอยู
ที่ใจแหงเดียว ขณะรักษาใจดวยสติ จงทําเหมือนไมรูไมเห็นไมรูไมชี้อะไรทั้งหมดที่มา
สัมผัส ทาํ เหมอื นวา โลกอนั นไ้ี มม เี ลย มเี ฉพาะความรคู ือใจอันเดยี วทีม่ ีสติควบคุมรกั ษา
อยเู ทา นน้ั ไมเปนกังวลกับสิ่งใดๆ ในโลกภายนอกมรี ปู เสียง เปนตน จงตั้งขอสังเกต
ดใู หด วี า อารมณต า งๆ มันจะเกดิ ขึ้นท่จี ติ แหง เดยี ว ไมว า อารมณด ีอารมณชัว่ มันจะ
ปรากฏขึ้นที่จิตซึ่งมีชองเดียวเทานั้น เมือ่ เรามีสตจิ องมองดูอยตู ลอดเวลาไมป ระมาท
แลว กจ็ ะจบั เหย้ี คอื จติ และความคิดปรุงตางๆ ของจิตได
จิตจะปรุงออกในทางดที างชัว่ อดตี อนาคต ปรุงไปรัก ปรุงไปชัง เกลียดโกรธกับ
อะไร ก็จะทราบไดทุกระยะๆ เพราะความมสี ตกิ าํ กบั รกั ษาอยกู บั ความรคู อื ใจ ใหท าํ
อยา งนอ้ี ยตู ลอดไป จนกวา จะมกี ารเปลย่ี นแปลงโดยทางอารมณ และวธิ ดี ดั แปลงแกไ ข
พระเถระพยายามทาํ ตามอบุ ายทเ่ี ณรสอนทกุ ประการ ไมมีมานะความถือตัว
พระเถระองคนั้นเมื่อไดฟงและปฏิบัติตามสามเณร กไ็ ดส ตแิ ละไดอ บุ ายขน้ึ มาโดยลาํ ดบั
จนมีหลักใจ เณรเห็นวาสมควรที่จะพาไปเฝาพระพุทธเจาไดแลว ก็พาพระเถระนี่ไป
เณรเปน อาจารย พระมหาเถระเปน ลกู ศษิ ย
เมื่อไปถึงสํานักพระศาสดา พระองคตรัสถามวา “เปนอยางไรเณร, ลกู ศษิ ยเ ธอ
นะ ?” เณรกราบทูล “ดีมากพระเจาคะ ทานไมมีทิฐิมานะใดๆ ทั้งสิ้น และตั้งใจปฏิบัติ
ดีนาเคารพเลื่อมใสมาก แมจะเปนผูเรียนมากและเปนขนาดมหาเถระก็ตาม แตก ริ ยิ า
อาการทท่ี า นแสดงเปน ความสนใจ เปน ความออ นนอ มถอ มตน เปนความสนใจที่จะรู
เห็นความจริงทั้งหลายตลอดมา” นน่ั ! ฟงซิเปนยังไง นกั ปราชญส นทนากนั และปฏบิ ตั ิ
ตอ กนั ระหวางพระมหาเถระกับสามเณรผูเปนอาจารย ซึ่งหาฟงไดยาก
หลังจากนั้นพระพุทธเจาก็ทรงสอนพระมหาเถระวา “ปญฺ า เว ชายเต ภูร”ิ
ปญญาซง่ึ มคี วามหนกั แนน มั่นคงเหมอื นแผนดิน ยอมเกิดขึ้นแกผูใครครวญเสมอ!
ฉะนน้ั จงพยายามทาํ ปญ ญาใหม น่ั คงเหมอื นแผน ดนิ และสามารถจะแทงทะลุอะไรๆ ได
ใหเ กดิ ขน้ึ ดว ยการพจิ ารณาอยเู สมอ ไมมีอะไรจะแหลมคมยิ่งกวาปญญา ปญญานี้แล
เปนเครื่องตัดกิเลสทั้งมวล ไมมีอะไรจะเหนือปญญาไปได พระองคทรงสอน
“วปิ ส สนา”ในขณะนน้ั โดยสอนใหแ ยกธาตแุ ยกขนั ธ อายตนะ สว นตา งๆ ออกเปน
ชิ้นเปนอัน อนั นเ้ี ปน อยา งน้ี อนั นน้ั เปน อยา งนน้ั ใหพระมหาเถระเขาใจเปนลําดับๆ
โดยทาง “วปิ ส สนา” จากนั้นก็แสดงเรื่องรูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ แตละ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๐
๑๒๑
อยาง ๆ อนั เปน อาการของจติ สรุปธรรมที่ทรงแสดงแก พระโปฐิละ กค็ อื อรยิ ะสจั ส่ี
ปรากฏวา ทา นไดบ รรลอุ รหตั ผลในวาระสดุ ทา ยแหง การประทานธรรม
จะอธบิ ายขนั ธห า ตอ สว นมากจติ ไปหลงอาการเหลา น้ี จึงไมทราบวาตัวของ
ตวั อยทู ไ่ี หน ไปองิ อยกู บั อาการคอื รปู วารูปเปนตนบาง วา เวทนาเปน ตนบา ง สัญญา
เปน ตนบาง สงั ขาร วญิ ญาณ เปนตนบาง เลยหาตนไมได อะไรๆ กว็ า “ตน” เสยี สน้ิ
เวลาจะจับ “ตน” เพอ่ื เอาตัวจรงิ เลยหาตัวจริงไมได! ทั้งนี้ก็เพราะจิตหลงไปควาไป
ยึดเอาส่ิงไมใ ชต นมาเปน ตนเปน ตัวน่นั แล ซึ่งเปนเพียงอาการหนึ่งๆ ทอ่ี าศยั กนั อยชู ว่ั
ระยะกาลเทา นน้ั จงึ ทาํ ใหจ ติ เสยี เวลาเพราะความเกดิ ตาย ๆ อยเู ปลา ๆ แตล ะภพ
ละชาต!ิ
นอกจากเสยี เวลาเพราะความหลงกบั สง่ิ เหลา นแ้ี ลว ยังไดรบั ความทกุ ขค วาม
บอบชาํ้ ทง้ั ทางกายและทางจติ ใจอกี ดว ย เพราะฉะนั้นจงใชปญญาพิจารณาใหเห็นตาม
ความจรงิ ของมนั เสยี แตบ ดั นซ้ี ง่ึ เปน กาลอนั ควรอยู ตายแลว หมดวสิ ยั จะรคู วามจรงิ ได
พระพุทธเจาประทานพระโอวาทไวอยางชัดเจนแลว ไมนาสงสัยวาจะมีอะไรดี
กวา ความพน จากทกุ ข อันมีการเกิดตายเปนตนเหตุ เอา! พิจารณาลงไป!
“รูป” มีอะไรบางที่เรียกวา “รูป?” มนั ผสมกบั อะไรบา ง? คาํ วา “รูป” นี้มีกี่
อาการ? อาการหนง่ึ ๆ คอื อะไร? ท่รี วมกนั อยู สภาพความเปน อยขู องมนั เปน อยา ง
ไร? เปน อยดู ว ยความบาํ บดั รกั ษา เปน อยดู ว ยความปฏกิ ลู โสโครก เหมอื นกบั ปา ชา ผี
ดบิ ซง่ึ เตม็ อยภู ายในรา งกายน้ี แตใ จเรากย็ งั ดอ้ื ดา นอาจหาญถอื วา รูปนี้เปนเราเปนของ
เรา ไมท ราบวา สง่ิ นเ้ี ปน ของสกปรกโสมม เปน กอง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา เปน ปา ชา ผดี บิ
บา งเลย ตางคนตางมีปาชาเต็มตัว ทําไมมัวเพลิดเพลิน มวั เสกสรรปน ยอ ชนิดไมรูเนื้อ
รตู วั วา เปน ปา ชา ผดี บิ กนั บา งเลย เวลา “เขา” แตกดับไป “เรา” จะเอาสาระอะไรเปน
เครอ่ื งอบอนุ ใจ ถา ปญ ญาไมถ ากถางใหเ หน็ ความจรงิ ไวก อ นแตบ ดั น้ี
ในหลกั ธรรมชาตขิ องมนั กค็ อื ธาตุ สมมตุ เิ พม่ิ เขา มากค็ อื สกลกาย เต็มไปดวย
“ปุพโพ โลหิต” นาํ้ เหลอื ง นาํ้ เลอื ด แสดงความปฏิกูลโสโครก และความทกุ ขใ หร ใู ห
เหน็ อยตู ลอดเวลานบั แตว นั เกดิ มา ไมเคยขาดวรรคขาดตอนเลย มีอันใดสิ่งใดที่จะควร
ยึดวาเปน “เรา” เปน “ของเรา” ดวยความสนทิ ใจ? ไมมีเลย!
จึงควรพจิ ารณาดตู ามหลกั ความจรงิ นี้ ทั้งความเปนอยู ทง้ั ความสลายทาํ ลายลง
ไป มันลงไปเปนอยางนั้น คือลงไปเปนธาตุดิน ธาตนุ าํ้ ธาตลุ ม ธาตไุ ฟ
สว น “เวทนา” ก็พิจารณาแยกแยะใหเห็น ความสขุ กด็ ี ความทกุ ขก ด็ ี ความ
เฉยๆ กด็ ี มนั เกดิ ขน้ึ ไดท ง้ั ทางกายและทางใจ สกั แตว า อาการอนั หนง่ึ ๆ เกดิ ขน้ึ และ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๑
๑๒๒
ดับไปเทานั้น รอู ยเู หน็ อยปู ระจกั ษต าประจกั ษใ จ ทกุ ขป รากฏขน้ึ มากเ็ ปน เพยี งความ
จรงิ อนั หนึ่งของมนั ตวั มันเองกไ็ มทราบความหมายของมัน การทเ่ี ราไปใหค วามหมาย
มนั นน้ั กเ็ ทา กบั ผกู มดั ตนเอง เทา กบั เอาไฟมาเผาลนตนเอง เพราะความลุมหลงนี้เองจึง
ไปหมาย “เขา” ในทางที่ผิด โดยท่ีถอื เอาวา เปน “เรา” ทุกขก็เปนเรา เปนไฟทั้งกอง
ยงั ถอื วา เปน เรา อะไรๆ ก็เปนเรา ๆ หมดทั้งที่หาตัวเราไมเจอ ไปเจอแตความทุกข
ตลอดเวลาทส่ี าํ คญั มน่ั หมาย
สญั ญา กค็ อื ความจาํ จําแลวหายไป ๆ เมอ่ื ตอ งการกจ็ าํ ขน้ึ มาใหม มคี วามเกดิ
ความดับ ๆ ประจําตัวของเขา ทั้งเวทนา ทั้งสัญญา ทั้งสังขาร ทั้งวิญญาณ มีลกั ษณะเชน
เดียวกัน ถา พจิ ารณาสง่ิ หนง่ึ ใหเ ขา ใจแจม แจง หรอื ประจกั ษด ว ยปญ ญาแลว อาการทง้ั
หา นก้ี เ็ หมอื นกนั หมด ความเขา ใจหากกระจายทว่ั ถงึ กนั ไปเอง
เมอ่ื สรปุ ความแลว กองธาตกุ องขนั ธเ หลา นไ้ี มใ ชเ ราไมใ ชข องเราทง้ั นน้ั เปน
ความจริงของเขาแตละอยาง ๆ ทั้งรูปธรรมและนามธรรมกเ็ ปนสาเหตุมาจากจิต แต
เพราะ “ใจ” เปน ใหญ ใจเปน ประธาน จงึ สดุ ทา ยกใ็ จเปน “บอยเขา” เพราะรับใชดวย
ความลมุ หลง ตวั เองยงั ยนื ยนั วา “เขา” เปน “เรา” “เปนของเรา” กเ็ ทา กบั ถอื
“เขา” เปน นายเรานน่ั เอง ฟงซิฟงใหถึงใจ จะไดถึงตัวกิเลสเสียบางและทําลายมันลงได
ดวยสติปญญา
ธรรมของนักปราชญทานสอนพวกเรา ยังจะพากันมามัวเมาไปหาความวิเศษวิโส
จากธาตขุ นั ธ ซง่ึ เหมอื นปา ชา อะไรกนั อกี ! นอกเหนอื จากความรยู ง่ิ เหน็ จรงิ ในสง่ิ เหลา น้ี
เทา นั้น พวกเราพากนั หลงตามความเสกสรรธาตุขันธ วาเปนเราเปนของเรา มากก่ี ปั ก่ี
กลั ปแ ลว สว นผลเปน อยา งไร? เราภาคภมู ใิ จกบั คาํ วา “เรา” “ของเรา” เหมือนเรามี
อาํ นาจวาสนาเหนอื สง่ิ เหลา น้ี และเปนผูปกครองสิ่งเหลานี้
ความจริงเราเปน “คนรับใช” สง่ิ เหลา น้ี ลุมหลงก็คือเรา ไดร บั ความทกุ ขค วาม
ลาํ บาก ไดร บั ความกระทบกระเทอื นและแบกหามสง่ิ เหลา นด้ี ว ยความลมุ หลง กค็ ือเรา
ผลสุดทายเราเปน คนแยและแยก วา อะไรบรรดามใี นโลกเดียวกนั สิ่งทั้งหลายไมใชผู
หลงผยู ดึ ถอื ไมใ ชผ แู บกหาม ไมใชผูรับความทุกขทรมาน ผูร บั ภาระทั้งปวงจากสิง่ เหลา
น้ี คือเราคนเดียวตางหากนี่
เพราะฉะนั้นจึงควรแยกสิ่งเหลานี้ออกใหเห็นตามความจริงของมัน จิตจะได
ถอนตนออกมาอยตู ามหลกั ธรรมชาตไิ มม เี คร่อื งจองจํา การพจิ ารณานน้ั เมอ่ื ถงึ ความ
จรงิ แลว กต็ า งอนั ตา งจรงิ ไมกระทบกระเทือนกัน และปลดเปลื้องภาระทั้งหลายจาก
ความยดึ ถอื คอื อปุ าทานเสยี ได ใจเปนอิสรเสรีและเรืองฤทธิ์เรืองเดชตลอดกาล
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๒
๑๒๓
ระหวา งใจกบั ขนั ธก ท็ ราบกนั ตามความจรงิ และไมย ดึ ไมถ อื กนั การพะวกั พะวน
กนั เรอ่ื งขนั ธเ พราะอาํ นาจแหง อปุ าทานนไ้ี มม ี เวลายงั ครองขนั ธอ ยกู อ็ ยดู ว ยกนั ราวกบั
มติ รสหาย ไมหาเรื่องรายปายสีกันดังที่เคยเปนมา ฉะนั้นจึงอยากใหเราชาวปฏิบัติธรรม
พจิ ารณาเขา ไปถงึ ตวั จติ นน้ั แล “เหย้ี จรงิ ๆ คือตัวจิต”เหย้ี นน้ั มนั ออกชอ งนถ้ี งึ ได
พิจารณาชองนี้ จนกระทั่งเขาไปหาตัวมัน คือจิต
“จิต” คอื อะไร? คือรังแหง “วฏั จกั ร” เพราะกเิ ลสอาสวะสว นละเอยี ดสดุ ฝง
จมอยภู ายในจติ ตองใชปญญาพิจารณาแยกแยะ กาํ หนดเอาจติ นน้ั เปน เปา หมายแหง
การพิจารณา เชนเดยี วกับอาการตา งๆ ที่เราไดพิจารณาลงไปเปนลําดับๆ ดวยปญญา
มาแลว
เมอ่ื ถอื จติ เปน เปา หมายแหง การพจิ ารณา ดว ยความไมสงวนส่ิงใดไวท้ังสนิ้
ตองการทราบความจริงจากจิตที่เปนแหลงสรางปญหาทั้งมวลนี้โดยตลอดทั่วถึง การ
พจิ ารณาไมห ยดุ ยง้ั กจ็ ะทราบดว ยปญ ญาวา ในจติ นน้ั มอี ะไรฝง จมอยอู ยา งลกึ ลบั
สลบั ซบั ซอ น อยดู ว ยกลมารยาของกเิ ลสทง้ั ปวง
จงกําหนดเขาไป พิจารณาเขาไป จิตถา พดู ตามหลกั การพจิ ารณาแลว จิตก็เปน
ตวั อนิจฺจํ เปนตัวทกุ ขฺ ํ เปนตัวอนตตฺ า เพราะยังมีสมมุติแทรกอยูจึงตองเปนลักษณะ
สาม คอื “ไตรลักษณ” ได จงฟาดฟนหั่นแหลกลงไปที่ตรงนั้น โดยไมตองยึดมั่นถือมั่น
วาจิตนี้เปนเรา จิตนี้เปนของเรา ไมเพียงแตไมยึดมั่นถือมั่นในรูป เวทนา สญั ญา สังขาร
วญิ ญาณ วาเปนเราเปนของเราเทานั้น ยงั กาํ หนดใหเ หน็ ชดั เจนในตวั จติ อกี วา ควรจะ
ถือเปนเราเปนของเราหรือไม เพราะเหตุไร! เอา กําหนดลงไปพิจารณาลงไป แยกแยะ
ใหเห็นชัดตามความเปนจริง
สิ่งที่เปน อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตตฺ า ภายในจติ นจ้ี ะกระจายออกหมดไมม อี ะไรเหลอื
เลย เมื่อธรรมชาตินี้ไดกระจายหายไปไมมีอะไรเหลือแลว อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า ที่มีอยู
ภายในจติ กห็ ายไปพรอ มกนั เปนจิตที่สิ้นสมมุติโดยประการทั้งปวงแลว!
การใชค าํ วา “จิต” เราจะเรียก “จิต” ก็ไดไมเรียกก็ได เพราะนอกโลกนอก
สมมุติไปแลว เมื่อจิตแยกตัวออกจากสมมุติแลว คําวา “อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตตฺ า” จึง
ไมม ใี นจติ อกี ตอ ไปตลอดอนนั ตกาล
เมอ่ื ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งสลายตวั ไปแลว แตค วามรนู น้ั กลบั บรสิ ทุ ธข์ิ น้ึ มา ไมส ลาย
หรอื ไมฉ บิ หายไปกบั สง่ิ ทง้ั หลาย นเ่ี รยี กวา “จับตวั เหี้ยไดแลว!” เหย้ี ใหญค อื จติ นเ้ี อง!
ที่เณรสั่งสอนพระโปฐิละนะ! จงจับตัวนี้ใหไดจะเปนผูสิ้นจากทุกข พระโปฐิละก็ไดหลุด
พนจากกิเลสอาสวะในขณะที่พระพุทธเจาประทานพระโอวาทจบลง เพราะเขาถึงจุดนี้
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๓
๑๒๔
คอื เหย้ี ใหญต วั น้ี และทําลายเหี้ยใหญตัวนี้ไดดวยปญญา ที่ทานวา “ปญฺ า เว ชายเต
ภูร”ิ ทําปญญาใหเปนเหมือนแผนดิน มั่นคงตอ ความจริงทั้งหลาย พิจารณาใหเขาถึง
ความจริงใหรูความจริง สมกับปญญาคือความจริงอันฉลาดแหลมคมมากในองค
“มรรคแปด”
ทท่ี า นสอนใหห ยง่ั เขา ถงึ จดุ สดุ ยอดแหง กเิ ลสทง้ั หลายคอื อะไร? กค็ อื จิตท่เี ต็ม
ไปดว ย “อวชิ ชา” นน่ั แล เมอ่ื พจิ ารณาธรรมชาตนิ ใ้ี หแ ตกกระจายออกไปแลว จิตก็
บรสิ ทุ ธ์ิ เมื่อจิตบริสุทธิ์ขึ้นแลว คําวา “เหี้ย” จะเรียกวา “ถูกจับไดและทําลายได” ก็
ถกู “ถึงตัวจริงของธรรม” กถ็ กู และหมดปญหา!
นี่แหละการพิจารณาธรรม พระพทุ ธเจาของพวกเราชาวพทุ ธทา นสอนอยา งน้ี
สว นพวกเราชาวพทุ ธพากนั งวั เงยี ตน่ื หรอื ยงั ? หรอื ยงั หลบั สนทิ พากนั ฝนเพลนิ
วาดวมิ านเพอ่ื ราคะตณั หาอยรู าํ่ ไป?
วันนี้พูดเรื่อง “ปริยัต,ิ ปฏบิ ตั ิ, ปฏเิ วธ” ในครง้ั พทุ ธกาลกม็ มี าอยา งนน้ั เหมอื น
กนั แตท า นมคี วามหนกั แนน ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั มิ ากกวา อยา งอน่ื ไมเหมือนสมัย
ปจจุบันนี้ซึ่งมีแตการเรียนมากๆ ไมส นใจในการประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ นั บา งเลย ความจํา
อรรถจําธรรมไดมันก็ไมผิดอะไรกับนกขุนทองที่วา “แกวเจาขา ๆ”แตเ วลาเอาแกว มา
ใหน กขนุ ทองดจู รงิ ๆ แลว มนั กไ็ มท ราบเลยวา นน่ั คอื อะไร นอกจากเปน ผลไมน ก
ขนุ ทองจะทราบและทราบดกี วา คน แตแกวนกขุนทองไมสนใจทราบ!
ธรรมเปรียบเหมือนแกวดวงประเสริฐ อยา พากนั จาํ แตช อ่ื จะเปน นกขนุ ทองไป
จงคน ดแู กว คือธรรมภายในใจใหรู เมื่อรูแลว ชอ่ื ของธรรมกเ็ จอกนั ทน่ี น่ั เอง
คําวาธรรมคืออะไร? ถา ไมสนใจกบั การประพฤติปฏิบตั ิตามหลักธรรมทีไ่ ดร่ํา
เรียนมา กเ็ ทา กบั วา “แกว คอื อะไร” นน้ั เอง “ธรรมคืออะไรก็ไมทราบ “สมาธิ” คือ
อะไรใจไมเคยสัมผัส เพราะไมเคยนั่งสมาธิ “ปญ ญา” คืออะไร?กไ็ มไดส ัมผสั อีก
เพราะไมไดเจริญปญญาทางดานการปฏิบัติ “วิมุตติ” คอื อะไร? ไมทราบ เพราะจิตไม
เคยหลุดพน นอกจากจะสง่ั สมกเิ ลสใหเ ตม็ หวั ใจจนแบกไมไ หว นง่ั อยกู ค็ ราง นอนอยกู ็
คราง ไปไหนกบ็ น เปน ทกุ ขย งุ ไปตลอดกาลสถานท่ี ทั้งๆ ที่เขาใจวาตนฉลาดเรียนรูมาก
แตก บ็ น วา “ทุกขๆ” ไมไดวายแตละวัน
เพราะฉะนั้นเพื่อทราบธรรมชาติความจริงนี้และหายบน จึงตองเรียนและปฏิบัติ
ใหเขาถึงความจริง ใหส มั ผสั สมาธถิ งึ ความสงบเยน็ ใจ ดวยการปฏิบัติ ใหส มั ผสั ปญ ญา
คอื ความฉลาดแหลมคม ดว ยการปฏบิ ตั ภิ าวนา ใหสัมผัส “วิมุตต”ิ ความหลดุ พน จาก
กิเลสทั้งมวล ดว ยการปฏบิ ตั ภิ าวนา
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๔
๑๒๕
การสมั ผสั สมาธิ ปญญา วิมุตติ ดวยการปฏิบัติของตัว และธรรมเหลานี้เปน
สมบัตขิ องตัวแทแ ลว ยอ มหายสงสยั ไมถ ามใคร แมพระพุทธเจาประทับอยูตรงหนาเรา
นก้ี ต็ าม จะไมท ูลถามพระพทุ ธเจา ใหท รงราํ คาญและเสียเวลาํ่ เวลาเลย เพราะเปนการ
แสดงความโงออกมาทั้งๆ ทต่ี นรแู ลว ใครจะแสดงออกมาละกร็ ูแลว ถามทาํ ไม นน่ั !
เพราะความจริงเหมือนกันและเสมอกัน กห่ี มน่ื กแ่ี สนองค กพ่ี นั กห่ี มน่ื คน ที่ไดสัมผัส
วิมุตติธรรมดวยใจตัวเองแลว ไมมแี มรายหน่งึ จะทลู ถามพระพุทธเจาใหทรงลาํ บาก
ราํ คาญเลย
เพราะคําวา “สนฺทิฏฐิโก” ผูปฏิบัติจะพึงรูเองเห็นเองนั้น พระพุทธเจาไมทรง
ผกู ขาด แตม ไี วส าํ หรบั ผปู ฏบิ ตั โิ ดยทว่ั กนั ตั้งแตครั้งนั้นมาจนกระทั่งบัดนี้ ตามหลัก
ธรรมทท่ี า นทรงสอนไวไ มม เี ปลย่ี นแปลงแตอ ยา งใด ตั้งแตครั้งพุทธกาลมาจนถึงบัดนี้
ธรรมเปนธรรมชาติที่คงเสนคงวาเสมอมา ถา ผปู ฏิบัติใหเ ปนไปตามหลกั ธรรมนัน้ เรื่อง
มรรคผลนิพพานไมตองไปถามใคร ผูปฏิบัติจะพึงขุดคนขึ้นมาชมอยางเต็มใจไดดวย
การปฏิบัติโดยทางศลี สมาธิ ปญญา ที่เปน “สวากขาตธรรม” ไมตองสงสัย และไมมี
สง่ิ อืน่ ใดท่ีจะมอี าํ นาจมาปดกั้นมรรคผลนพิ พานใหสิน้ เขตสิน้ สมัยได และไมมีสิ่งใดที่จะ
ขุดคนมรรคผลนิพพานขึ้นมาใหรูเห็นได นอกจากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ดิ ว ยศลี สมาธิ
ปญญา นเ้ี ทา นน้ั
เพราะฉะนั้นหลักมรรคแปด มีสัมมาทิฏฐิ เปนตน มสี มั มาสมาธเิ ปน ทส่ี ดุ ที่ทาน
เรยี กวา “มชั ฌมิ า” จึงเปนธรรมคงเสนคงวาตอทางมรรคทางผลอยางสมบูรณ และ
เปนธรรมสม่ําเสมอ เปนธรรมศนู ยก ลางในการแกกิเลสอาสวะทกุ ประเภทตลอดมา ตง้ั
แตโ นน จนบดั นี้และตลอดไปไมมีทางส้นิ สดุ ตอ งเปน “มัชฌิมาปฏิปทา” แกผูปฏิบัติ
ถกู ตอ งตามนน้ั ตลอดกาลสถานท่ี
ผลที่พึงไดรับจากการปฏิบัติจะไมตองไปถามใคร ขอใหด าํ เนนิ ไปตามหลกั
ธรรมนใี้ หถ ูกตองเทา นัน้ จะเหมาะสมอยางยิ่งตอมรรคผลนิพพาน อนั เปนสมบตั ิลนคา
ของตน ๆ แตผูเดียวไมมีใครเขายุงได
ทว่ี า “มรรคผลนิพพานสิ้นเขตสิ้นสมัยไปแลว” นน้ั ก็คือคนทีไ่ มเคยปฏบิ ัติ คน
ไมเคยสนใจกับธรรมเลย แตอุตริตั้งตนเปนศาสดาเหนือพระพุทธเจา พระธรรม พระ
สงฆ คอยใหคะแนนตัดคะแนนพระรัตนตรัยและชาวพุทธทั้งหลาย เขาคนน้นั คือ “ตัว
แทนเทวทัต” จะไปรูเรื่องมรรคผลนิพพานสิ้นเขตสิ้นสมัยไดอยางไร ไมมีอะไรมาคุย
อวด มอี ยางไรก็พูดไปอยางนั้นตามประสาของคนท่ีมนี ิสยั ตางกนั เพื่อคนอื่นแมไมเชื่อ
แตสนใจฟงบางชั่วขณะก็ยังดี
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๕
๑๒๖
พระพุทธเจา สัตวโลกรูและกราบไหวกันท้ังนน้ั แตสัตวแปลกประหลาดไมมีตน
มีตัว ปรากฏแตค าํ อวดฉลาด ไมม ใี ครนบั ถอื และกราบไหวก พ็ ดู อยา งนน้ั เอง ผลของ
การพดู ก็ทําใหคนอื่นพลอยโงไ ปดวย ถา ผตู อ งการจะโงอ ยแู ลว กโ็ งไ ดจ รงิ ๆ เพราะคํา
พูดคาํ นีเ้ ปนคาํ พดู ทท่ี าํ คนใหโง ไมใ ชเ ปน คาํ พดู ใหค นฉลาด ถา ผปู ฏบิ ตั มิ เี หตมุ ผี ลถอด
แบบ “พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ” แลว จะไมส นใจกบั คาํ นเ้ี ลย แตส นใจกบั หลกั ธรรมทพี่ ระ
พุทธเจาทรงสอนไว แลว ปฏบิ ตั ติ ามนน้ั นน่ั แลเปนสิง่ ที่เหมาะสมหรือถกู ตองท่สี ดุ เรา
ทง้ั หลายไดร บั พระโอวาท คือศาสนธรรมจากพระพุทธเจามาโดยถูกตองแลว จึงพากัน
นําไปประพฤติปฏิบัติกําจัดสิ่งที่เปนภัยแกตน ผลที่จะพึงไดรับจะเปนที่พึงพอใจ เพราะ
เราจะเปนผูรับ จะเปน ผคู รอง จะเปนเจาของสมบัติที่ตนปฏิบัติไดโดยทั่วกัน ตามหลัก
ธรรมวา “ผูทําดียอมไดดี ผูทําชั่วยอมไดชั่ว ผทู าํ ตนถงึ ขน้ั บรสิ ทุ ธย์ิ อ มพน จากทกุ ขท ง้ั
มวล”
จงจําใหถ ึงใจ ปฏิบัติใหถึงธรรม ผลพึงใจทั้งมวลคือเราเปนผูเสวย ไมมีใครแยง
ชิงไดตลอดไป จึงขอยุติเพียงนี้
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๖
ภาค ๒ ''เรา กับ จติ ''
รปู เน่อื งในงานมุทิตาจิตหลวงตามหาบัว เนือ่ งในโอกาสครบรอบอายุ 96 ป ณ วัดปา บา นตาด
รูปจาก คณุ Blessing (www.larndham.com)
๑๒๖
เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘
อะไรคอื จติ –จิตพระอรหันต
ทา นอาจารยม น่ั ทา นวา “ใจ” มภี าษาเดยี วเหมอื นกนั หมด ไมวาจะเปนชาติใด
ภาษาใด มเี พยี งความรคู อื ใจน้ี ฉะนน้ั ทา นจึงวา เปน ภาษาเดยี ว พอนกึ ออกมากเ็ ขา ใจ
แตเ วลาแยกออกมาพดู ตอ งเปน ภาษานน้ั ภาษาน้ี ไมค อ ยเขา ใจกนั ความรสู กึ ภายในจติ
ใจน้นั เหมือนๆ กนั ธรรมกบั ใจจงึ เขา กนั สนทิ เพราะธรรมกไ็ มไดเปนภาษาของอะไร
ธรรมกค็ อื ภาษาของใจ ธรรมอยกู บั ใจ”
ความสขุ ความทกุ ขอ ยกู บั ใจ การทําใหส ขุ หรอื ใหทกุ ขเ กดิ ขึ้นก็ใจเปนผคู ิดขึ้นมา
ผลที่ปรากฏขึ้นเปนสุขเปนทุกข ใจเปนผูรับรู เปนผูรับภาระในผลของตนที่คิดขึ้นมา ใจ
กับธรรมจึงเขากันไดสนิท ไมวาจะเปนชาติใดภาษาใด เรื่องธรรมนั้นเขากันไดทั้งนั้น
เพราะใจกับธรรมเปนของคูควรกันอยูแลว
ใจนค้ี อื แกน ในสกลกายของเรา เปนแกนอันหน่ึงหรือเปน ของแขง็ หรือเปน
สาระสาํ คญั ทม่ี อี ยใู นรา งกายน้ี ไดแ กใ จเปน หลกั ใหญ อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ จากใจ เชน ความ
คิดความปรุง เกิดแลวดับ ๆ ก็หมายถึงความกระเพื่อมของใจกระเพื่อมขึ้นมา คอื ความ
คิดปรุง ความหมายเกย่ี วกบั การคาดการจดจาํ นน้ั หมายถงึ สญั ญา ยาวออกไปกเ็ ปน
สญั ญา สน้ั กเ็ ปน สงั ขาร คือปรุงแพล็บก็เปนสังขาร สญั ญา คอื ความหมายความจาํ
วญิ ญาณหมายถงึ การรบั รใู นขณะทส่ี ง่ิ ภายนอกเขา มาสมั ผสั อายตนะภายใน เชน ตากบั
รูปสัมผัสกันเกิดความรูขึ้นมา เปนตน เหลานี้มีการเกิดการดับอยูประจําตัวของเขาเอง
ทานจึงเรียกวา “ขันธ” แตล ะหมวดแตล ะกองรวมแลว เรยี ก วา “ขนั ธ”
ขนั ธห า กองนม้ี กี ารเกดิ การดบั กนั อยเู ปน ประจํา แมแตพระขีณาสพทานก็มี
อาการเหลา นเ้ี ชน เดยี วกบั สามญั ชนทว่ั ๆ ไป เปน แตว า ขนั ธข องทา นเปน ขนั ธล ว นๆ ไม
มกี เิ ลสเปน เครอ่ื งบังคบั บัญชาใชใหท ํานี้ ปรุงนี้คิดนั้น เปนขันธที่คิดโดยธรรมชาติของ
มันเอง เปนอสิ ระของขนั ธ ไมมีอะไรมาบังคับใหคิดนั่นปรุงนี่เหมือนจิตสามัญชนทั่วๆ
ไป ถาจะเทยี บขนั ธข องสามญั ชนทัว่ ไป กเ็ หมอื นนกั โทษทถ่ี กู บงั คบั บญั ชาอยตู ลอดเวลา
ความคดิ ความปรงุ ความสาํ คญั มน่ั หมายตา งๆ เหลา น้ี ลว นแตม ผี บู งั คบั บญั ชาออกมา
ใหค ดิ อยา งนน้ั ใหป รงุ อยา งน้ี ใหส าํ คญั มน่ั หมายอยา งนน้ั อยา งน้ี คอื มกี เิ ลสเปน นาย หวั
หนา บงั คบั บญั ชาขนั ธเ หลา นใ้ี หแ สดงตวั ขน้ึ มา
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๖
๑๒๗
สวนพระขีณาสพคือพระอรหันตทานไมมี ปรุงก็ปรุงธรรมดา พอปรงุ แลว กด็ บั
ไปธรรมดาไมมีเชื้อตอ ไมมีเชื้อกดถวงจิตใจ เพราะไมมีอะไรบังคับเหมือนดังขันธที่มี
กเิ ลสปกครองหรอื มกี เิ ลสเปน หวั หนา ผิดกันตรงนี้ แตค วามจรงิ นน้ั เหมอื นกนั
ทกี่ ลาวมาท้ังหมดน้เี ปนอนิจจงั คือความไมเที่ยง ความแปรสภาพของแตละ
ขันธๆ มีประจําตัวดวยกัน นับแตรูปขันธคือกายของเรา เวทนาขนั ธ ไดแ กค วามสขุ
ความทกุ ข ความเฉยๆ นก่ี เ็ กดิ ดบั ๆ สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ มีเกิดมีดับประจําตนอยู
ตลอดไป
สว นความรจู รงิ ๆ ทเ่ี ปน รากฐานแหง ความรเู กย่ี วกบั สง่ิ ตา งๆ ที่เกิดดับๆ นี้ไม
ดบั เราจะพูดวา “จิตนี้ดับไมได” เราจะพูดวา “จิตนี้เกิดไมได” เพราะฉะนั้นจิตที่บริสุทธิ์
แลวจึงหมดปญหาในเรื่องเกิดเรื่องตาย ทเ่ี กย่ี วกบั ธาตขุ นั ธไ ปถอื กาํ เนดิ เกดิ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี
แสดงตวั อนั หยาบออกมา เชน เปน สตั วเ ปน บุคคลเหลานนั้ เปนตน จึงไมมีสําหรับจิต
ทา นทบ่ี รสิ ทุ ธแ์ิ ลว
แตถ า ไมบ รสิ ทุ ธ์ิ กพ็ วกนแ้ี หละไปเกดิ ไปตาย หมายปา ชา อยไู มห ยดุ เพราะจติ
ทไ่ี มต ายนแ้ี หละ
ฉะนน้ั พระพทุ ธเจาจงึ ทรงสอนโลก เฉพาะอยางยิ่งคือโลกมนุษยเรา ผูที่รูดีรูชั่ว รู
บาปบญุ คณุ โทษ และรูวิธีการที่จะแกไขดัดแปลงหรือสงเสริมได เขาใจในภาษาธรรมที่
ทา นแสดง ทา นจงึ ไดป ระกาศสอนโลกมนษุ ยเ ปน สาํ คญั กวา โลกอน่ื ๆ เพ่อื จะไดพยายาม
ดัดแปลงหรือแกไขสิ่งที่เห็นวาไมเกิดประโยชนและเปนโทษ ออกจากจติ ใจกายวาจา
และสอนใหพ ยายามบาํ รงุ สง เสรมิ ความดที พ่ี อมอี ยบู า งแลว หรอื มอี ยแู ลว และที่ยังไมมี
ใหมีใหเกิดขึ้น สงิ่ ที่มีแลวบาํ รุงรกั ษาใหเ จริญ เพื่อเครื่องหลอเลี้ยงจิตใจใหมีความชุม
เย็นมีความสงบสุข มหี ลกั มเี กณฑด ว ยคณุ ธรรมคอื ความดี หากไดเ คลอ่ื นยา ยจากธาตุ
ขนั ธป จ จบุ นั นไ้ี ปสสู ถานทใ่ี ด ภพใดชาติใด จิตที่มีความดีเปนเครื่องหลอเลี้ยงอยูเสมอ
ยอมเปนจิตที่ดี ไปก็ไปดี แมจะเกิดก็เกิดดี อยกู อ็ ยดู ี มีความสุขเรื่อยๆไป
จนกวา จติ นจ้ี ะมกี าํ ลงั สามารถอาํ นาจวาสนา มีบุญญาภิสมภารที่ไดสรางโดย
ลาํ ดบั ลาํ ดา นับตงั้ แตอ ดตี มาจนกระท่ังปจ จุบันนี้ตอ เนอ่ื งกันมา เชน วานนเ้ี ปน อดตี
สาํ หรบั วนั น้ี วนั นเ้ี ปน อดตี สาํ หรบั วนั พรงุ น้ี ซึ่งเปนวันที่เราไดสรางความดีมาดวยกันทั้ง
นน้ั และหนนุ กนั เปน ลาํ ดบั จนกระทั่งจิตมีกําลังกลาสามารถ เพราะอํานาจแหงความดี
นี้เปนเครอื่ งสนบั สนนุ แลว ผานพนไปได
คาํ วา “สมมุต”ิ คอื การเกดิ การตายดงั ทเ่ี ปน อยนู น้ั จะไปเกิดในภพที่เงียบๆ
ละเอียดขนาดไหนก็ตาม ที่เปนเรื่องของสมมุติแฝงอยูนั้นจงึ ไมมี ทานผานไปหมดโดย
ประการทั้งปวง นี่ไดแกจิตพระอรหันตและจิตพระพุทธเจา พูดถึงเรอื่ งนี้ก็ยงั มเี รื่องของ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๗
๑๒๘
“พระวังคีสะ” พระวังคีสะ ทา นเกง มากในการทด่ี จู ติ ผทู ต่ี ายแลว ไปเกิดในภพใดแดนใด
ต้งั แตท านเปนฆราวาส ใครตายกต็ าม จะวา ทา นเปน หมอดกู พ็ ดู ไมถนดั ทา นเกง ทาง
ไสยศาสตรน น่ั แหละ เวลาใครตายเขานําเอากะโหลกศีรษะมาใหเคาะ ปอ ก ๆๆ
กาํ หนดดทู ราบวา อนั นน้ั ไปเกดิ ทน่ี น่ั ๆ เชน ไปเกดิ เปน สตั วน รกกบ็ อก ไปเกิดในสวรรค
กบ็ อก ไปเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ไปเกิดเปนเปรตเปนผีอะไรทานบอกหมดไมมีอัดมีอั้น
บอกไดท ง้ั นน้ั ขอใหไ ดเ คาะกะโหลกศรี ษะของผตู ายนน้ั กแ็ ลว กนั
พอทานวังคีสะไดทราบจากเพื่อนฝูงเลาใหฟงวา พระพุทธเจายังเกงกวานี้อีก
หลายเทา ทา นอยากไดค วามรเู พม่ิ เตมิ จึงไปยังสํานักพระพุทธเจา เพื่อขอเรียนวิชา
แขนงนี้เพิ่มเติมอีก พอไปถึงพระพุทธเจาทานก็เอาศีรษะพระอรหันตมาใหเคาะ “เอา
ลองดูซิไปเกิดที่ไหน?” เคาะแลว ฟง เงียบ, เคาะแลว ฟง เงียบ, คดิ แลว เงยี บ กาํ หนด
แลวเงียบ ไมป รากฏวา เจา ของกะโหลกศรี ษะนไ้ี ปเกดิ ทไ่ี หน!
ทานจนตรอก ทานพูดสารภาพอยางตรงไปตรงมาวา “ไมทราบที่เกิด”
ทแี รกพระวงั คสี ะนว้ี า ตวั เกง เฉลยี วฉลาด จะไปแขงกับพระพุทธเจาเสียกอนกอน
จะเรียนตอ พอไปถึงพระพุทธเจา พระองคเอากะโหลกศีรษะพระอรหันตมาใหเคาะนี่
ซิ ! ทานมาติดตรงนี!้ ทนี ก้ี อ็ ยากจะเรยี นตอ ถาเรียนไดแลวก็จะวิเศษวิโสมาก เมอ่ื
การณเ ปนไปเชนนั้นกข็ อเรียนทส่ี ํานักพระพุทธเจา พระพทุ ธเจากท็ รงสอนวชิ าให สอน
วธิ ใี ห คอื สอนวชิ าธรรมนใ่ี ห ฝกปฏิบัติไป ๆ พระวังคีสะก็เลยสําเร็จพระอรหันตขึ้นมา
เลยไมสนใจจะไปเคาะศีรษะใครอีก นอกจากเคาะศีรษะเจาของ รูแจงชัดเจนแลวหมด
ปญหาไปเลย นี่เรียกวา “เคาะศีรษะที่ถูกตอง”!
เมอ่ื ยกเรอ่ื งจติ ทไ่ี มเ กดิ ขน้ึ มา กะโหลกศรี ษะของทา นผบู รสิ ทุ ธแ์ิ ลว เคาะเทา
ไรกไ็ มร วู า ไปเกดิ ทไ่ี หน! ทั้งๆ ท่ีพระวังคีสะแตกอนเกงมาก แตจิตที่บริสุทธิ์แลวหาที่
เกดิ ไมไ ด ! เชน “พระโคธิกะ” กเ็ หมอื นกนั นก้ี น็ า เปน คตอิ ยไู มน อ ย ทานไปบาํ เพญ็
สมณธรรมเจริญขึ้นไปโดยลําดับๆ แลว เสอ่ื มลง เจริญขึ้นเสื่อมลง ฟง วา ถงึ หกหน หนที่
เจ็ดทานจะเอามีดโกนมาเชือดคอตนเอง “โอ เสียใจ” แตกลับไดสติขึ้นมา จึงได
พิจารณาธรรมจนไดเปนพระอรหันตในวาระสุดทาย อันนีเ้ ราพดู ยอเอาเลย ตอนทา น
นพิ พาน พวกพญามารกม็ าคน หาวญิ ญาณของทา น พูดตามภาษาเราก็วา “ตลบเมฆ
เลย” การขุดการคน หาวญิ ญาณของทานนัน้ ไมเ จอเลย ไมทราบวาทานไปเกิดที่ไหน
พระพุทธเจาจึงรับสั่งวา “การที่จะคนหาวิญญาณของพระโคธิกะที่เปนบุตรของ
เรา ซึ่งเปนผูสําเร็จเสร็จสิ้นไปแลวโดยประการทั้งปวงนั้น จะขุดจะคนจะพิจารณาเทาไร
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๘
๑๒๙
หรอื พลกิ แผน ดนิ คน หาวญิ ญาณทา นกไ็ มเ จอ มนั สดุ วสิ ยั ของ “สมมตุ ”ิ แลวจะเจอ
อยา งไร! มนั เลยวสิ ยั ของคนทม่ี กี เิ ลสจะไปทราบอาํ นาจจติ ของพระอรหนั ตท า นได!
ในวงสมมตุ ทิ ง้ั หลาย ไมมีผูใดจะสามารถตามวิถีจิตของพระอรหันตทานได
เพราะทานนอกสมมุติไปแลว จะเปน จติ เหมอื นกนั กต็ าม ลองพิจารณาดูซิ จิตของเราที่
กาํ ลงั ลม ลกุ คลกุ คลานอยเู วลานก้ี ต็ าม เมื่อไดถูกชําระเขาไปโดยสม่ําเสมอไมหยุดไม
ถอย ไมละความเพียรแลว จะคอยละเอียดไปได จนละเอยี ดถงึ ที่สดุ ความละเอยี ดก็
หมดไป เพราะความละเอียดนั้นเปนสมมุติ เหลือแตธรรมชาติทองทั้งแทงหรือธรรมทั้ง
ดวง ที่เรียกวา “จิตบริสุทธิ์” แลว กห็ มดปญ หาอกี เชน เดยี วกนั เพราะกลายเปนจิต
ประเสริฐ เชน เดยี วกบั จิตของทา นทพ่ี น ไปแลว นน้ั นน่ั แล
จติ ประเภทนเ้ี ปนเหมอื นกนั หมด ไมนิยมเปนผูหญิงผูชาย นี่เปนเพศหรือสมมุติ
อนั หนง่ึ ตา งหาก สว นจิตนน้ั ไมไ ดน ยิ มวา เปน หญงิ เปน ชาย ความสามารถในอรรถใน
ธรรมจึงมีไดทั้งหญิงทั้งชาย และความสามารถทีบ่ รรลุธรรมข้นั ตางๆ จนกระทง่ั ถงึ
วิมุตติหลุดพนไปได ก็เปนไปไดท ้ังผูหญงิ ผชู าย ไมมีกฎเกณฑที่จะบังคับกันได ขอแต
ความสามารถอาํ นาจวาสนาของตนพอแลว เปน อนั ผา นไปไดด ว ยกนั ทง้ั นน้ั
เพราะฉะนั้นเราจึงควรพยายามอบรมจิตใจของเรา อยา งนอ ยกใ็ หไ ดค วามสงบ
เย็น จะดวยธรรมบทใดก็ตาม ทเ่ี ปน ธรรมซง่ึ จะกลอ มใหจ ิตมคี วามสงบ แลว ปรากฏ
เปนความรม เยน็ เปน สุขข้ึนมาภายในจิตใจ พงึ นาํ ธรรมบทนน้ั มาเปน เครอ่ื งกาํ กบั มา
เปนเครื่องพึ่งพึง เปนเครื่องยึดของจิต เชน อานาปานสติ ซ่ึงเปน กรรมฐานสาํ คญั บท
หนง่ึ ในวงปฏบิ ตั ทิ ง้ั หลาย รสู กึ วา อานาปานสตจิ ะเปน ธรรมทถ่ี กู กบั จรติ นสิ ยั ของคน
จํานวนมากกวา ธรรมบทอน่ื ๆ และนําเขามาประพฤติปฏิบัติภายในจิตใจของเราใหได
รับความสงบเย็น
เมื่อใจเริ่มสงบ เราก็จะเริ่มเห็นสาระของใจ หรือจะเรม่ิ เหน็ ใจวา เปน อะไร เปน
อยา งไร กค็ อื ความทจ่ี ติ รวมกระแสของตวั เขา มาสจู ดุ เดยี ว เปน ความรลู ว นๆ อยู
ภายในตวั นน้ั แหละทา นเรยี กวา “จิต” ความรวมตวั เขา มาของจติ น้ี รวมเขา มาตามข้ัน
ตามความสามารถ ตามความละเอียดของจิต ตามขั้นของจิตที่มีความละเอียดเปน
ลาํ ดบั ถาจิตยังหยาบ รวมตัวเขา มากพ็ อทราบไดเหมอื นกนั เมื่อจิตละเอียดเขาไปก็
ทราบความละเอยี ดลงไปอกี วา จิตนี้ละเอียด จิตนี้ผองใส จติ นส้ี งบยง่ิ จิตนี้เปนของ
อศั จรรยย ง่ิ ยิ่งขึ้นไปโดยลําดับๆ จิตดวงเดียวนี้แหละ!
การชําระการอบรมเพื่อความสงบ การพจิ ารณาคน ควา แกไ ขสง่ิ ทข่ี ดั ขอ งภายใน
จิตดวยปญญา ซ่งึ เปนวธิ ที จ่ี ะทาํ ใหจ ติ กา วหนา หรือทําใหถึงความจริงของจิตไดโดย
ลําดับ ดว ยการกระทาํ ดงั ทก่ี ลา วน้ี ใจจะหยาบขนาดไหนกห็ ยาบเถอะ ถาลงความเพียร
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๙
๑๓๐
ไดพ ยายามตดิ ตอ กนั อยเู สมอดว ยความอตุ สา หพ ยายามของเราอยแู ลว ความหยาบนน้ั
ก็จะคอยหมดไป ๆ ความละเอียดจะคอยปรากฏขึ้นมาเพราะการกระทําหรือการ
บําเพ็ญของเรา จนกระทั่งสามารถผานพนดวยการฟาดฟนกิเลสใหแหลกไปไดเชนเดียว
กนั หมดไมว า ผหู ญงิ ผชู าย
ในขณะที่เรายังไมสามารถจะทําอยางนั้นไดก็ไมตองเดือดรอนใจ ขอใหท าํ ใจให
มหี ลกั มเี กณฑ เปนที่ยึดเปนที่พึ่งของตนเองได สว นสกลกายนเ้ี รากพ็ ง่ึ เขามาแลว ตง้ั แต
วนั เกดิ ทราบไดด ว ยกนั พาอยพู านอน พาขบั พาถา ย พาทาํ งานทาํ การ ทาํ มาหาเลย้ี ง
ชพี ทั้งเราใชเขา ทั้งเขาใชเรา ทั้งเขาบังคับเรา ทั้งเราบังคับเขา เชน บงั คบั ใหท าํ งาน
แลวเขาก็บังคับเราใหเปนทุกข ปวดนน่ั เจบ็ น่ี ตอ งไปหาหยกู หายามารกั ษา กเ็ ขานน่ั
แหละเปนคนเจ็บ และกเ็ ขานน่ั แหละเปน คนหาหยกู หายา เงนิ ทองขาวของก็เขาแหละ
หามา มนั หนนุ กนั ไปหนนุ กนั มาอยอู ยา งน้ี
ไมท ราบวา ใครเปน ใหญก วา ใคร ธาตขุ นั ธก บั เรา? เราบงั คบั เขาไดช ว่ั กาล และ
เขาก็บังคับเราไดตลอด! การเจ็บไขไดปวย การหวิ กระหาย การอยากหลบั อยากนอน
ลวนแตเ ปน เรอ่ื งกองทกุ ขซ งึ่ เขาบังคับเราท้ังนัน้ และบงั คบั ทกุ ดา น แตเราบังคับเขาได
เพียงเล็กๆ นอ ยๆ ฉะนน้ั ในกาลอนั ควรทเ่ี ราจะบงั คบั เขา ใหพ าเขาภาวนา เอา ทําลงไป
เมอ่ื ธาตขุ นั ธม นั ปกตอิ ยู จะหนกั เบามากนอ ยเพยี งไรกท็ าํ ลงไป แตถาธาตุขันธไมปกติ
มีการเจ็บไขไดปวย เรากต็ อ งรคู วามหนกั เบาของธาตขุ นั ธ เรอ่ื งใจใหเ ปน ความเพยี ร
อยภู ายในตวั อยา ลดละปลอ ยวาง เพราะเปน กจิ จาํ เปน
เราอาศยั เขามานานแลว เวลาน้ีมนั ชํารดุ ทรุดโทรมกใ็ หทราบวา มันชาํ รุด อนั ไหน
ที่ควรจะใชได อนั ไหนที่ใชไ มได เราเปนเจาของทราบอยูแกใจ ทค่ี วรลดหยอ นผอ นผนั
กผ็ อ นผนั ไป
สวนใจที่ไมเจ็บปวยไปตามขันธ ก็ควรเรงความเพียรอยูภายใน ไมขาดประโยชน
ที่ควรไดรับ ใหใ จมหี ลกั มเี กณฑ อยกู ม็ หี ลกั ตายกม็ หี ลัก เกดิ ทไ่ี หนกใ็ หม หี ลกั เกณฑ
อนั ดเี ปน ท่พี ึงพอใจ คําวา “บญุ ” กไ็ มใหผ ดิ คาดผดิ หมาย ไมใหผิดหวัง ใหมีสิ่งที่พึงพอ
ใจอยตู ลอดเวลา สมกับเรา “สรา งบญุ ” คอื ความสขุ ทโ่ี ลกตอ งการดว ยกนั ไมมีใครอิ่ม
พอกค็ อื ความสขุ นแ่ี หละ จะเปนสุขทางไหนก็ตามเปนสิ่งที่โลกตองการ เฉพาะอยา งยง่ิ
สุขทางใจ ซึ่งจะเกิดขึ้นเพราะการทําคุณงามความดีเปนลําดับๆ มภี าวนา เปนตน
นเ่ี ปน ความสขุ อนั เปน แกน หรอื เปน สาระสาํ คญั ภายในใจ ฉะนน้ั ใหพ ากนั
บาํ เพญ็ ในเวลารา งกายหรอื ธาตขุ นั ธย งั เปน ไปอยู เมอ่ื ถงึ อวสานแหง ชวี ติ แลว มนั สดุ วสิ ยั
ดว ยกนั ทาํ ไดม ากนอ ยกต็ อ งหยดุ ในเวลานน้ั เรยี กวา หยดุ งานพกั งาน และเสวยผลใน
อนั ดบั ตอ ไป
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๐
๑๓๑
โนน! ภพตอไปโนน! ควรจะทําไดเราก็ทํา ถาผานไปเสยี หรือหลุดพน ไปได ก็
หมดปญหาดวยประการทั้งปวง ไมมีอะไรมาเกี่ยวของยุงเหยิงตอไป นี่พูดถึงเรื่องจิต
เพราะจิตเปนหลักใหญ ที่จะพาเราไปดีไปชั่ว ไปสุขไปทุกข ก็คือจิต ไมใชสิ่งอื่นใดที่จะ
พาใหเปนไป
คาํ วา “กรรม” วา “เวร” ก็อยทู ่จี ิตเปนผสู รา งไว ตนจะจําไดหรือไมไดก็ตาม แต
เชอ้ื ของมนั ซง่ึ มอี ยภู ายในใจนน้ั กป็ ด ไมอ ยใู นการใหผ ล เพราะเปนรากเหงาอยูในจิต
เราก็ยอมรับไปตามกรรมนั้น แตเ ราอยา ไปตาํ หนมิ นั เมื่อเราทําลงไปแลวก็เปนอันทํา
จะไปตําหนิไดอยางไร มือเขียนตองมือลบ ยอมรบั กันไปเหมอื นนกั กีฬา เรื่องของกรรม
เปน อยา งน้นั จนกวาจะพนไปได มนั กห็ มดปญ หานน่ั แหละ
ตอ ไปใหท า นปญ ญา (ภิกษุปญ ญาวัฑโฒ Peter John MORGAN ชาวองั กฤษ)
อธบิ ายใหท า นเหลา นฟ้ี ง เพราะมีชาวตางประเทศอยูดวย
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๑
๑๓๒
เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘
จะฝกจิต ตอ งฝน
เราเปน ชาวพทุ ธ พระพุทธเจาของเราเปนนักเหตุผล เปน นักอรรถนกั ธรรม นักรู
นกั ฉลาดแหลมคม และเปนคลังแหงธรรม ผลธรรมท่อี ยใู นคลงั คอื พระทัยอนั บริสุทธ์ิ
ของพระองคนั้น มีแตพระธรรมดวงประเสริฐเลิศโลก ทา นไดม าดว ยเหตผุ ลอนั ใดทา น
จงึ ไดร่ําลือ เราก็เปนคนๆ หนึ่งไมเห็นเปนที่ร่ําลือ พระพทุ ธเจา กเ็ ปน คนๆ หนง่ึ แต
ทาํ ไมทา นจึงราํ่ ลอื ทว่ั โลกธาตุ “สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ” เปนครูของเทวดาและมนุษยทั้ง
หลาย ทา นราํ่ ลอื ทกุ อยา งบรรดาความดที ง้ั หลายไมว า ฝา ยเหตไุ มว า ฝา ยผล ทานเปน
“คลังแหงพระธรรมดวงประเสริฐ”
พระธรรมทป่ี รากฏใหโ ลกผสู นใจกราบไหวบ ชู าอยนู ้ี พระพุทธเจาทรงขุดคนได
มากอนใครทั้งโลก แลว ทรงนาํ ออกแจกจา ยโลก แมกระนั้นโลกยังไมเห็นสําคัญในธรรม
ดวงประเสริฐนั้น เห็นสําคัญแตเรื่องไมประเสริฐเรื่องเหลวไหล ทก่ี มุ อาํ นาจอยภู ายใน
จิตใจ ความเคลื่อนไหวไปมาของใจกายวาจา จึงเปนไปตามอํานาจเหลานี้เสียโดยมาก
เมื่อเชนนั้น แมความตองการสิ่งประเสริฐเลิศโลกก็ “สกั แตค วามตอ งการเทา
นน้ั ” เพราะไมไดสนใจดําเนินตามเทาที่ควร ไมไ ดฝ น สง่ิ ทก่ี มุ อาํ นาจไวภ ายในใจเพอ่ื การ
ปฏิบัตบิ ําเพ็ญธรรม สมกับเปนลูกศิษยพระตถาคตผูทรงฝนอยางยิ่ง
การฝนเพื่อเหตุเพื่อผลเพื่ออรรถเพื่อธรรมนั้นแล เปนความดียิ่งสําหรับเรา
เพราะครูเราคือพระศาสดาและสาวก ทานพาฝนและไดดีสิริมหามงคลสูงเดนแกโลก
เพราะความฝน ความดีมีคุณคาของคนเรามีอยูที่ตรงนี้ ไมใชมอี ยทู ี่เนือ้ ทหี่ นงั เหมอื น
สัตว ตายแลว นาํ เขา สตู ลาด ผลปรากฏออกมาเปน เงนิ เปน ทอง เปน อาหารการบรโิ ภคท่ี
สําเร็จประโยชนไดทั่วโลกดินแดน
สว นมนษุ ยเ ราน้ี ไมไ ดมีคุณคาอยทู เ่ี น้ือที่หนงั อยางสตั วเหลา นนั้ แตม คี ณุ คา ทาง
จิตใจ มคี ณุ คา ทางความประพฤตอิ ธั ยาศยั หนา ทก่ี ารงาน อนั เปน ประโยชนแ กต นและ
สว นรวม
ความประพฤติ ถาไมดําเนินมาจากจิตใจก็ไมมีทางดําเนิน จิตใจถาไมมีเหตุผล
เปนเครื่องดําเนินก็ไมปลอดภัย เพราะฉะนั้นมนุษยเราจึงควรมีเหตุผลแนบสนิทกับใจ
ใจตองใครครวญเหตุวาดีหรือไมดีอยูเสมอ ทกุ อาการทเ่ี คลอ่ื นไหวไปมา ผลทีส่ ําเรจ็
ออกไปจากเหตนุ จ้ี ะเปน อยา งไร? เมื่อเหตุไมดีแลวผลก็ตองไมดี เพราะไมขึ้นอยูกับ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๒
๑๓๓
ความเสกสรรปน ยอหรอื เสกเปา แลว กว็ า ดี ดังที่โลกๆ มกั นยิ มใชก นั เสมอมา แตด แี ละ
ชว่ั อยทู ก่ี ารทาํ เหตเุ ปน สาํ คญั กวา การ “เสก” ใดๆ นี่เปนหลักธรรมชาติที่ใครๆ ไมควร
ฝน เพราะเปนความจริง เมื่อเหตุดีผลตองดี ใครจะติเตียนวันยังค่ํา หรอื ยกโลกธาตมุ า
ตําหนิติเตียนวา “ทําชั่วไดดี ทาํ ดกี ลบั ไดช ว่ั ” อยา งน้ี กส็ กั แตค าํ พดู หรอื ความเสกสรร
ปน ยอของคนตา งหาก แตน าํ มาใชเ ปน การยนื ยนั รบั รองไมไ ด เพราะเปนความคดิ การ
กระทําของคนผูจะทําลายตนและสังคมตางหาก ธรรมแทไ มเ กย่ี วกบั เรอ่ื งจอมปลอม
อยา งน้ี เพราะความจริงเปนเรื่องใหญโตมาก ในโลกทั้งสามไมมีอะไรจะจริงยิ่งกวา
ความจรงิ ดงั ทก่ี ลา วมาน้ี
พระพทุ ธเจา ทานกท็ รงสัง่ สอนโลกตามหลกั ความจรงิ น้ที ง้ั นั้น ไมวาธรรมในแง
ใด ไมวาพระสูตร พระวนิ ยั พระปรมัตถ ลว นแสดงตามหลกั ความจรงิ จะเคล่อื นคลาด
จากนี้ไปไมมี ฉะน้นั พวกเราทเี่ ปนชาวพุทธ จึงตองพยายามประพฤติปฏิบัติตน และพึง
คํานึงถึงพระพุทธเจาเสมอ แมจะไมไดมุงความเปนพระพุทธเจาเหมือนพระองคก็ตาม
แตก็ควรคํานงึ ถึงความเปน “ลกู ศษิ ยข องตถาคต” คือพุทธบริษัท ไดแ กอ บุ าสก
อบุ าสกิ า เปน ตน แลวพยายามปฏิบัติบําเพ็ญตามธรรมของพระองค พระพุทธเจาทรง
ฝน ทกุ สิ่งทกุ อยางบรรดาที่เปน ขา ศึกตอความดี เราก็ตองฝนเชนเดียวกับพระพุทธเจา
เพราะตอ งการความดหี รอื ของดที ป่ี ราชญท า นวา ดี ไมใชดีแบบเสกสรรปนยอเสกเปา
แลว กต็ น่ื ลมกนั โดยไมย อมเหลอื บมองดปู ราชญท า นวา เปน อยา งไรบา ง
อนั ความไมด นี น้ั มอี ยแู ลว ภายในจติ ใจ สิ่งที่ฝนไมใหทําความดีนี้ลวนแตสิ่งที่ชั่ว
ทั้งนั้น ถา เราไมย อมฝน ก็แสดงวา เรายอมจาํ นนตอ ความชว่ั ความตาํ่ ทรามทม่ี อี ยภู ายใน
จิตใจมากนอ ยนน้ั ถาเราฝนก็แสดงวาเราเห็นโทษแหงความไมดีนั้น และฝนใหห ลดุ พน
จากความไมด ี หรอื ทําลายความไมดีโดยลาํ ดบั ดว ยความฝน ความบากบน่ั กลน่ั กรอง
ตวั เอง ความเห็นโทษเปนเหตุปจจัยใหฝนสิ่งต่ําทรามเหลานี้ เพอื่ ความดีทั้งหลาย
เรื่องของศาสนาเปนเรื่องฝนสิ่งที่ไมดีทั้งหลาย ไมใชเปนสิ่งที่คลอยตามของไมดี
แตเปนสิ่งที่ฝน ฝนตั้งแตเบื้องตนจนถึงที่สุด จนหาสิ่งที่ใหฝนไมได จติ กส็ ะดวกสบาย
ไมม อี ะไรมาฝน กนั อกี ตอ ไป ส่ิงทีฝ่ นมมี ากมนี อยเพยี งไรนน้ั แลคือตวั ภัย สิ่งนั้นเมื่อเรา
ดาํ เนนิ ไปตามหรอื คลอ ยไปตาม จะมกี าํ ลงั มากขน้ึ โดยลาํ ดบั จนกลายเปน นสิ ยั คาํ วา
“กลายเปน นสิ ยั ” คอื ทโ่ี ลกเขาวา “ตามใจตัวเองจนเปนนิสัย” แตความจริงก็ตามธรรม
ชาตฝิ า ยตาํ่ นน้ั แหละ เพราะใจไมมีอํานาจเหนือสิ่งนั้น และสง่ิ นน้ั อยเู หนอื ใจ โลกเลย
พูดเสียวา “เอาแตใจตัวเอง ไมคํานึงถึงเหตุผลบางเลย”
ทีนี้การที่เรามาประพฤติปฏิบัติ เราจําตองฝน ดงั ทท่ี า นทง้ั หลายมาสสู ถานทน่ี ้ี
หรอื ไปสสู ถานทใ่ี ดเพอ่ื คณุ งามความดที ง้ั หลาย ก็ตองฝนเชนเดียวกัน ถาไมฝนก็ไมได
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๓
๑๓๔
ของดี ปกตขิ องคนสว นมาก เวลาํ่ เวลาจะมมี ากนอ ยเทา ไร สง่ิ ทม่ี นั กดขบ่ี งั คบั อยภู ายใน
ใจ ซง่ึ เปน ผกู มุ อาํ นาจหรอื ผคู มุ อาํ นาจนน้ั จะแยงชิงเอาไปกินจนหมดไมมีเหลือเลย จน
กระทั่งโนนละ ขณะที่จะสิ้นลมหายใจมันจึงจะปลอย กอ นนน้ั มนั ไมค อ ยปลอ ยใหม เี วลา
วา งกนั ! ดวยเหตุนโี้ ลกจงึ ไมค อยมเี วลาทาํ ความดกี ัน จาํ ตองมืดทั้งมา มืดทั้งอยูและมืด
ทั้งเวลาจะไปและไปกัน ไมมีเวลาสวางสรางซา
วันคืนปเดือนมีอยูเทาเดิม ปหนึ่งมี ๓๖๕ วนั วนั หนง่ึ คนื หนง่ึ มี ๒๔ ชั่วโมง ก็ไม
มวี า ง! สําหรับธรรมชาติเจาอาํ นาจนี้จะไมยอมวางใหใครเลย กมุ อาํ นาจอยตู ลอดเวลา
จนขณะจะสิ้นลมหายใจถึงจะเปดโอกาสใหวา “เวลานว้ี า ง จึงไดต าย!” นั่น จงพจิ ารณา
ใหถ งึ ใจ เคียดเเคนใหถึงธรรม ดาํ เนนิ ใหถ งึ แดนปลดปลอ ยอยา ถอยมนั เปน อนั ขาด
ชาตมิ นุษยพุทธบริษทั ทฉี่ ลาดและแข็งแกรงในโลก มีศาสดาเปนจอมทัพ ไมเคยพาพวก
เราใหก ลบั แพน ่ี
เมอ่ื คดิ เรอ่ื งเหลา นม้ี นั นา สลดสงั เวชมากทส่ี ดุ เพราะสง่ิ เหลา นเ้ี คยกดถว ง เคย
ทรมาน เคยทาํ ใหเ ราไดรับความทุกขม ามากตอมากจนไมอ าจคณนาได แมเ ชน นน้ั กย็ งั
ไมท ราบวา สง่ิ เหลา นเ้ี ปน ภยั แกต วั เอง ถึงจิตใจจะวุนวายเดือดรอนขนาดหนักแทบไมมี
สติ กว็ า “วันนี้ใจไมดีเลย!” แลว กไ็ มท ราบวา ไมดีเพราะอะไรเปนเหตุทําใหใจไมดี
ความจรงิ กค็ อื ธรรมชาตอิ นั นน้ั แลทาํ คน จะเปนอะไรมาจากโลกไหนเลา? แตเรา
ไมอาจทราบได จงึ ตอ งอาศยั การอบรมใหท ราบวา สง่ิ ไหนผดิ ส่งิ ไหนถกู สง่ิ ไหนดสี ิ่ง
ไหนชั่ว ความดีเปนคุณแกจิตใจ ความชว่ั เปน ภยั ตอ จติ ใจ มันติดอยูกับใจดวงเดียวทั้ง
สองอยา ง มเี พยี งมากกบั นอ ยทต่ี า งกนั
เพราะฉะนน้ั เราจะหาอบุ ายวธิ ใี ด แกส ง่ิ ไมด ซี ง่ึ มอี ยใู นจติ อนั เดยี วกนั ใหอ อกไป
ไดโดยลําดับ? นอกจากอรรถธรรมและตัวเราเองที่จะฝน โดยอาศัยหลักธรรมเปน
เครื่องมือเทานั้น ไมมวี นั ทจ่ี ะไดรบั การปลดปลอ ยตัวออกสูค วามวางไดตลอดไป
“พระพุทธเจา ทานทําไมจึงวาง?” เราตอ งคดิ ไปเชน นน้ั เพอ่ื แกต วั เอง “ทา นกเ็ ปน
ถึงพระมหากษัตริย ทําไมทานถึงวางและออกบําเพ็ญพระองคได” เราไมมุงบําเพ็ญตาม
แบบพระพทุ ธเจา กต็ าม แตเรายกทานเปนครูในสวนที่เราจะยึดได มาปฏิบัติเพื่อตัวเอง
ทําไมพระพุทธเจาทานวาง ทานไมมีกิเลสหรือ? ทานไมหึงไมหวงอะไรบางหรือ?
ลกู กม็ ี เมียก็มี สมบตั พิ สั ถานมากนอ ย ไพรฟาประชาชีทั้งหลายเต็มแผนดิน ซึ่งเปน
สมบัติอันมีคามหาศาลของพระองคทั้งนั้น ทําไมพระองควางได พระองคปลอยไดและ
วางได จนไดตรัสรูและสะเทือนโลกธาตุ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๔
๑๓๕
เราไมถึงกับจะตองปลอยอยางพระพุทธเจา แตป ลอ ยแบบลกู ศษิ ยม คี รู จึงควร
หาเวลาวา งสาํ หรบั ตนใหไ ดบ า ง อะไรที่มีสาระสําคัญที่สุดในโลกนี้? จติ ของเรามุงตอ
อะไรทุกวันน?้ี วา อะไรเปน ศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ ละวเิ ศษทส่ี ดุ ที่จะเปนสารคุณอันสําคัญพึ่งเปนพึ่ง
ตายไดจริง ๆ มอี ะไรบา งอยใู นโลกน้ี? เราเปนมนุษยพุทธบริษัททั้งคน ควรคิดใหเต็ม
ใจกอ นจะหมดโอกาสคดิ และทาํ เพื่อสิ่งที่พึงหวังดังใจหมาย คิดรอบ ๆ ตวั กพ็ อสะดดุ
สะเทือนใจไมเสียผล ดเู อาซไี ปท่ไี หนเห็นมแี ตปาชา เกล่อื นไปหมด ไมว า สตั วว า บคุ คล
“ปาชา ” เต็มตัวดวยกัน เราหวังอะไรเปน “สรณะ” เราหวังอะไรเปนหลักเปนฐานเปนที่
มั่นใจเรา? เมื่อมองไปไหนมีแตภ ัยรอบดาน จนจะหาทางคบื คลานออกไมม ี
ทง้ั นถ้ี า ไมม อี รรถมธี รรมภายในใจบา งแลว คนเราจะหาหลักเกณฑไมไดเลย จะ
รวนเรเลื่อนลอย จนกระทง่ั วนั สน้ิ ชพี วายชนมก เ็ ลอ่ื นลอยไปอยา งนน้ั ไมมีอะไรเปนหลัก
ในอนาคต ถา ไมร บี สรา งหลกั ยดึ ไวเ สยี แตใ นบดั น้ี เมอ่ื จติ ใจในปจ จบุ นั มนั เลอ่ื นลอย
อยา งไร ไมม หี ลกั เกณฑอ ยา งไร อนาคตไมต อ งพูด กค็ อื ผนู แ้ี หละ ผเู ลอ่ื นลอยนแ้ี หละ
จะไปเปนผูเดือดรอนระทมขมขื่นในอนาคต ไมใชอะไรจะพาใหเปน ตองใจดวงรวนเร
เลอ่ื นลอยนแ้ี ลจะพาใหเ ปน
พระสาวกทา นมจี าํ นวนมาก ทานทําไมวางได? ทานทําไมฝนได คาํ วา “ฝน” เปน
สิง่ สําคญั มาก ทําไมทานฝนได กิเลสของทานเปนกิเลสประเภทใดทานจึงฝนได? กเิ ลส
ของเราเปนกิเลสประเภทใดเราจึงฝนไมได ก็เปนกิเลสประเภทเดียวกัน ธรรมเครื่องแก
ไขก็เปนประเภทเดียวกัน ทําไมจะนํามาแกสิ่งที่ฝนธรรมไมได!
บคุ คลผจู ะตอ สแู กไ ข หาเวลาํ่ เวลาหรอื หาโอกาสเพอ่ื ตวั เอง ก็เปน บคุ คลเชน
เดยี วกบั เราไมผ ดิ กนั เลย ถา ผดิ กผ็ ดิ แตว า ทา นมคี วามเขม แขง็ เรามคี วามออ นแอ ทาน
เปน “นกั ตอ ส”ู เราเปน “นกั ถอยหลงั ” ทา นกลา หาญ เราขข้ี ลาดหวาดกลวั เทา นน้ั ทผ่ี ดิ
กนั ! แลว จะทาํ อยา งไรกบั ตวั เราจงึ จะเขา กนั ไดก บั ทา นและหลกั ธรรมของทา น จะไมเปน
ขา ศกึ กนั
ความออ นแอ เปนตน นแ้ี ลเปน สง่ิ ทจ่ี ะทาํ ใหเ ราไดร บั ความทกุ ขค วามลาํ บากบน
เพอ อยูต ลอดเวลา ทั้งๆ ที่ความบนไมเกิดประโยชนอะไรเลย แตเ มอ่ื ไดบ น บา งกอ็ าจ
เปน ทางระบายออกแหง ความทกุ ขท างหนง่ึ ความจริงไมใชทางระบายออกแหงทุกข
ความบน มนั เปน แงท น่ี า คดิ อนั หนง่ึ เหมอื นกนั เพราะความคิดที่จะบนก็เปนงานของจิต
การบน ออกมากเ็ ปน งาน นอกจากนน้ั ยงั ทาํ ใหบ างคนราํ คาญ อกี อยา งหนง่ึ เขากม็ อี ะไร
อยใู นใจของเขา พอมาพบเรอ่ื งของเรากม็ าบวกกนั เขา เลยไปกนั ใหญ สดุ ทา ยมแี ตก อง
ทุกขทั้งสองฝาย จึงตา งคนตา งหาบหามอยางเตม็ กําลังไมมีคําวา “ปลง”!
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๕
๑๓๖
เพราะฉะนั้นเพื่อปลดเปลื้องสิ่งที่เราไมพึงปรารถนาทั้งหลาย จึงขน้ึ อยกู บั
“ความฝน ” ฝน มากฝน นอ ย ฝนเถอะ การฝนเรา ฝนสิ่งไมดีของเราเปนความชอบธรรม
ไมผิด ฝนไดมากไดนอยเปนสิริมงคล เปนความดีประจําตัวของเรา จนกลายเปน นสิ ยั
แหงการฝนสิ่งไมดีทั้งหลาย ใจจะมีความองอาจกลาหาญขึ้นมา ผลสดุ ทา ยเรอ่ื งทเ่ี ราฝน
นน้ั กเ็ ลยยอมจาํ นน
จะไปไหนมาไหน จะพูดอะไร มีเหตุผลอยางไร ทเ่ี หน็ วา ถกู วา ควรแลว กด็ าํ เนนิ
ตามนั้น ไมมีอะไรมาขัดแยงกีดขวาง ยอมเปนไปตามเหตุผลนั้นอยางเดียว สิ่งที่จะมา
ฝน สิ่งที่มาคอยกีดกันขวางทางเดินของเรานั้น มนั คอ ยสลายคอ ยละลายไป ในทส่ี ดุ ก็
ลม ละลายไป เมื่อเราเคยฝนเสมอๆ เคยตอ สตู า นทานมนั เสมอ และเคยไดรับชัยชนะมา
แลว สิ่งนั้นจะมาชนะเราอีกไมได เราไดชัยชนะโดยลําดับ ชนะไปเรื่อยๆ และชนะจนไม
มอี ะไรจะตอ สกู บั เราอกี นน่ั ! ความฝนเปน ผลอยา งนแ้ี ล
ใจชอบอยา งน้ี แตเหตุผลเปนอยางนั้น เราตองฝนความชอบใจเพื่อเหตุผลนั้นๆ
ซง่ึ เปน ความถกู ตอ ง ถา จะดาํ เนนิ หรอื ทาํ ไปตามความชอบใจ กค็ วามชอบใจน้มี ีเหตุผล
อะไรบา ง? สว นมากไมม ี นอกจากเหตผุ ลของกเิ ลสเพอ่ื หาทางเลด็ ลอดธรรมเทา นน้ั ซึ่ง
มอี ะไรกอ็ า งมาตามเรอื่ งของมัน สว นมากเราชอบเหตผุ ลของกเิ ลสมากกวา เหตผุ ลของ
ธรรม ฉะนน้ั ผลทไ่ี ดร บั จงึ มแี ตค วามทกุ ขค วามรอ นภายในใจ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการทาํ ตาม
เหตุผลของกิเลส
แมน ง่ั อยนู ง่ิ ๆ แตจิตไมไดนิ่ง จิตมีความคิดปรุงยุงเหยิงอยูตลอดเวลา ไมมี
อริ ยิ าบถใดมาหา มมนั ไดน อกจาก “สติปญญา” ปกตแิ ลว จิตลว นสรา งความทกุ ขข น้ึ แก
ตน ดว ยความคิดปรุงในแงตา งๆ ซึ่งเปนทางไมดี เราก็ไมยอมเห็นโทษ น่ีแหละเหตุผล
ของกเิ ลสเปน อยา งน้ี หาความถกู ตองไมไดเลยแตไหนแตไรมา
สว นเหตผุ ลของธรรมนน้ั มคี วามถกู ตอ ง ผลท่ีไดร ับคอื ความสขุ ความเยน็ ใจ
ตลอดไป ตง้ั แตข น้ั เรม่ิ ฝก หดั จนถงึ ขน้ั สงู สดุ
การปฏบิ ตั ติ วั หรอื การปฏบิ ตั ศิ าสนา เปน ความลาํ บากผดิ ธรรมดาอยบู า ง ถึงจะ
ผิดธรรมดา เราก็ทราบวาเราหักหามใจ ไมใหเปนไปตามสิ่งต่ําทรามที่กิเลสตั้งชื่อตั้ง
นามในสง่ิ ทต่ี นชอบวา “ธรรมดา” ฉะนน้ั จําตอ งฝน กนั เมื่อฝนครั้งนี้ไดผล ครั้งตอไปสิ่ง
ทจ่ี ะใหเ ราฝน กอ็ อ นลง ๆ ความเขมแข็งทางดานเหตุผลและความเพียรก็เพิ่มขึ้น เลยไม
คํานึงถึงสิ่งที่จะมาขัดขวางเรายิ่งกวาเหตุผลที่จะดําเนินไปตามที่เห็นวาถูกตอง นแ่ี หละ
นักธรรมะมีพระพุทธเจาเปนตน ทา นทรงดําเนินอยา งน้ี!
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๖
๑๓๗
ทําไมทานจึงไมหึงไมหวงไมหวงไมใยครอบครัวเหยาเรือน ทานเปนมนุษย
ปถุ ชุ นเชน เดยี วกนั ทานตองหวง ทา นตอ งฝนอยา งยง่ิ เพื่อธรรมดวงเลิศ นน่ั แลครขู อง
พวกเรา! สาวกทง้ั หลายทา นกฝ็ น เตม็ กาํ ลงั ของทา น จนไดเปน “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ
คจฺฉามิ” เขามาสูใจของพวกเรา
เราที่เปนผูรับเอา “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เขามาสูใ จ กอ็ ยา เอาเขา มา
เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายทา นเลน โดยไมค าํ นงึ ถงึ คณุ สมบตั แิ หง ธรรมนน้ั ๆ หรอื แหงพทุ ธ แหง
ธรรม แหงสงฆ วา มคี ณุ คา มากเพยี งไร จึงเอามาเหยยี บยา่ํ ทาํ ลายกับความข้ีเกียจออ น
แอ ความเหน็ แกต วั ความไมมีเหตุผล นําพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ มาสกปรก
ดวยทําไม ตองคิดอยางนี้เสมอ ซึ่งเปนเครื่องเตือนใจเราใหตื่นตัว จะไดพยายามแกไข
ตนตามทานไปโดยลําดับ
อะไรโลงก็สูจิตใจโลงไมได อะไรคับแคบตีบตันก็สูจิตใจคับแคบตีบตันไมได
อะไรจะทุกขก็สูจิตทุกขไมได อะไรจะสุขก็สูจิตสุขไมได แนะ ! รวมลงที่จิตแหงเดียว!
ดนิ ฟา อากาศกโ็ ลง อยา งนน้ั เอง เมอ่ื มคี วามทกุ ขภ ายในจติ ใจ แมจ ะอยใู นกลาง
ทุงโลงๆ นน้ั อากาศโลง ๆ ก็ชวยอะไรไมได จงึ วา มันอยทู ่ีจิต ถาจิตมีความปลอดโปรง
โลง สบายแลว อยทู ไ่ี หนกส็ บาย อยใู นถาํ้ ในเหว ในกระตอบ อยูในรมไมชายภูเขา ก็
สบายทง้ั นน้ั ไมจาํ เปนตองคิดหาวา อากาศโปรงที่นนั่ อากาศโปรงที่นี่ เพราะผขู ัดของ
จรงิ ๆ กค็ อื จติ ซง่ึ เปน ตวั กอ เรอ่ื งเทา นน้ั ฉะนน้ั ความสขุ ความทกุ ข ตลอดทั้งสาเหตุให
เกิดสุขเกิดทุกข จึงรวมอยูที่จิตเปนสําคัญกวาสิ่งอื่นๆ ปราชญท า นจึงสอนลงท่ีใจอันเปน
ตวั การสาํ คญั ใครจะสอนไดถูกตองยิ่งกวาปราชญคือพระพุทธเจาไมม!ี อยา พากนั ลบู
คลาํ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี เดี๋ยวเวลามือไปโดนเอาแมงปองเขาจะรองไมเปนเสียงคน จะวา “ไมบ อก”
สมบตั อิ นั มคี า มากกค็ อื ใจ เปน หลกั เปน ประธานของสง่ิ ทง้ั หลายกค็ อื ใจ จงึ ไม
ควรปลอ ยใจใหส ง่ิ เลวทรามทง้ั หลายเขา มาเหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย จนแหลกเหลวไปอยา งนา
เสยี ดาย สวนผลอันไมพึงปรารถนามันโยนใหเราเปนคนรับเคราะห แมทกุ ขแทบเปน
แทบตายกค็ อื เราเองเปน ผรู บั ! สวนกเิ ลสความต่ําทรามเหลาน้ันไมไ ดมารบั ทกุ ขก ับเรา
เลย ผเู สยี เปรยี บจงึ คอื เรา ผูโงเขลาตอเลหเหลี่ยมของมันอยูเรื่อยไป
ฉะนน้ั จงพยายามแกไ ขถอดถอนมนั ดว ยเหตดุ ว ยผล ความสุขอันพึงหวังนั้นเรา
จะไปหาทไ่ี หนในโลกน้ี มันกเ็ พียงผา นๆ ไปดังที่เคยไดประสบพบเห็นกันมาแลว ผาน
มาชั่วขณะๆ เทา นน้ั แลว กผ็ า นไป มันไมเปนความสุขที่จีรังถาวรอะไรเลย
แตความสุขที่เปนขึ้นในจิตใจ เกิดขึ้นตามหลักธรรมชาติของจิตดวยการ
ประพฤติปฏิบัติธรรม นเ้ี ปน ความสขุ ทจ่ี รี งั ถาวร จนกลายเปน ความสขุ อนั ตายตวั เปน
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๗
๑๓๘
“อกุปปธรรม” คือเปนความสุขที่ไมกําเริบ เพราะจิตใจไมกําเริบไมเปลี่ยนแปลง
ตลอดอนนั ตกาล
สมบตั ใิ นโลกนก้ี ค็ อื ใจซง่ึ เปน สมบตั อิ นั ลน คา จงพยายามรักษาใจใหด โี ดย
สม่ําเสมอ เฉพาะอยา งยง่ิ จติ ตภาวนาอยา ถอื เปน เรอ่ื งเลก็ นอ ย เชน ทาํ พอเปน พิธรี ตี อง
ก็เราไมใชเปนคนพิธี แตเราเกิดมาเปนคนทั้งคนไมใชตุกตา พอจะภาวนาเปน พธิ ี นง่ั
ภาวนาทลี ะ ๕ นาที ๑๐ นาที ๑๕ นาที กแ็ ทบลม แทบตาย แทบจะหามกายเขา โรง
พยาบาล ซง่ึ เปน เรอ่ื งอบั อายขายหนา ชาวพทุ ธและนกั ปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ เกนิ กวา จะอภยั กนั
ได
เวลากเิ ลสพาเอาไปถลงุ ทง้ั วนั ทง้ั คนื ยงั สนุกกับมนั ไดช นดิ ลืมตัวลืมตายลมื ปาชา
ท่มี ีอยูกับตัว นั่นเรารูไหม? กเิ ลสมนั กลอ มคนดขี นาดไหนดเู อากร็ เู อง เพราะเคยถูก
กลอ มถกู ถลงุ มาดว ยกนั แมผูเ ทศนก ไ็ มม ีการยกเวนในการถกู ตมตนุ ฟงเอามันกลอมดี
ขนาดนน้ั แหละ กลอ มจนเคลม้ิ หลบั ไมร สู กึ ตวั เลย แมจ ะเขา โลงผอี ยแู ลว ยงั อยากฟง
เสียงเพลงลูกทุงมันอยูเลยไมมีวันเวลาอิ่มพอ จนหมดลมหายใจไปเปลาๆ
สง่ิ เหลา นน้ี กั ปราชญท า นตาํ หนนิ กั แตพวกเราทําไมจึงชอบนัก ชอบอะไรมนั ก็
ไมรู ตามความจริงแลวคนเราชอบอะไรยอมจะเจอสิ่งนั้น ชอบกเิ ลสกเ็ จอกเิ ลสและทกุ ข
ทีแ่ ฝงมากบั กิเลส ชอบธรรมก็เจอธรรมและสุขที่แฝงมากับธรรม เพราะสิ่งเหลานี้มีอยู
ในโลกไมบ กพรอ งจงึ หาไดด ว ยกนั สุขก็หาไดจากเราคนเดียว ทกุ ขก ห็ าไดจ ากเราคน
เดียวตามสาเหตุที่เราดําเนินไป ผลกต็ อ งเปน อยา งนน้ั ไมเ ปน อยา งอน่ื
นี่เราแนใจแลววาเราเกิดเปนมนุษย เปน ภมู ทิ สี่ งู สง ในโลกนถ้ี อื วา มนษุ ยส งู กวา
สัตว และไดพ บพระพทุ ธศาสนาซง่ึ เปน คาํ สง่ั สอนทถ่ี กู ตอ งแมน ยาํ มาจากหลกั แหง
“สวากขาตธรรม” พระพุทธเจาตรัสไวชอบแลว พยายามดาํ เนนิ ใหเ ปน ไปตามหลกั แหง
“สวากขาตธรรม” ผลที่พึงไดรับจะเปนที่พึงพอใจ เราอยา ถอื ใครเปน หลกั เปน เกณฑย ง่ิ
ไปกวาพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ในการยดึ และการดาํ เนนิ
วถิ ที างแหง การครองชพี กต็ าม วถิ ที างแหง การปฏบิ ตั ธิ รรมเพอ่ื ความอบอนุ แก
จิตใจก็ตาม ไมม ใี ครจะเกนิ พระพุทธเจา ไปไดใ นความฉลาดแหลมคม ดว ยอบุ ายวธิ ี
ปอ งกนั หรอื รกั ษาตวั ทง้ั เกย่ี วกบั สง่ิ ภายนอกและสง่ิ ภายใน พระพุทธเจาเปน “นกั รนู กั
ฉลาดแหลมคมทกุ อยา ง” “นกั ปกครองบา นเมอื ง” ก็เปนพระองคหนึ่ง “นกั ปกครองดา น
จิตใจ” ก็เปนพระองคหนึ่ง นกั ปกครองโลกทว่ั ๆ ไปดว ยอบุ ายวธิ กี ารอบรมสง่ั สอนโดย
ถกู ตอ งเหมาะสม ไมมีศาสดาองคใดจะแซงพระองคไปได โดยความฉลาดแหลมคมยง่ิ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๘
๑๓๙
กวาพระพุทธเจา พระองคท รงสอนจนถงึ ขั้น “นพิ พาน” เราจะหาขนาดไหนอีก มีใครที่
จะสอนใหเลย ‘นิพพาน” ไปเคยไดยินบางไหม? ไมเคยไดยิน!
เพราะถงึ ทน่ี น่ั แลว เปน สถานทส่ี ดุ จุดหมายปลายทางโดยสมบรู ณแ ลว เชนเดียว
กบั เราขน้ึ มาถงึ บนบา นแลว เปนที่เหมาะสมและถึงจุดที่หมายแลว เพราะไมใชขรัวตา
ดังที่ทานอาจารยมั่นทานเคยนํามาพูดเปนอุบายเพื่อเปนคติแกพระเสมอวา “ทําอะไร
ทําแบบเถรตรงนี่ มันไมไดเรื่องอะไร? ทา นวา แลว ทา นกย็ กนทิ านขรวั ตาขน้ึ มาวา “ขรัว
ตาคนนน้ั เดนิ เขา ไปในบา น ถกู เขานมิ นตข น้ึ ไปบนบา น การนมิ นตข น้ึ ไปบนบา นกค็ อื
นมิ นตข น้ึ นง่ั บนบา นนน่ั เอง แตขรัวตาไมเขาใจอยา งน้นั พอถกู เขานมิ นตใ หข น้ึ ไปบน
บา นกป็ น ขน้ึ ไปบนขอ่ื โนน “อา ว! ทา นปน ขน้ึ ไปบนขอ่ื โนน ทาํ ไมละ แลว กนั พสิ ดารเกนิ
เหตุแลวนี่ นิมนตทานลงมา” พอขรวั ตาองคน น้ั ลงมาแลว กเ็ ผน ออกจากบา นเขาไปเลย
ไมม องหนา มองหลงั นน่ั ! เปนอยางนั้นไปเสีย
ความจริงเขานิมนตข น้ึ ไปน่งั บนบานเขาตา งหาก แตท า นกลบั ปน ขน้ึ ไปบนขอ่ื
บา นเขาโนน เวลาถกู นมิ นตใ หล งมากล็ งและเตลดิ เลยบา นเขาไปเสยี นี่คือความไมพอดี
ไมมีประมาณ ไมมเี หตุมผี ลเอาเลย เพราะความซอื่ เสยี จนเซอ ไปแบบไมร สู กึ ตัว
การสง่ั สอนนน้ั เมอ่ื สอนถงึ นพิ พานแลว จะสอนไปไหนกนั อกี เมอ่ื จติ บรรลถุ งึ
นพิ พานแลว จะเตลดิ ไปไหนกนั อกี ถา ไมค วา เอาแบบขรวั ตามาใชก ต็ อ งยตุ กิ ารกา วไป
เพียงเทานี้ เพราะสุดยอดแหงธรรมแลว หรอื สดุ ยอดแหง สมมตุ ิ จิตเปนวิมุตติเต็มภูมิ
อรรถภูมิธรรมแลว ปญ ญาทง้ั มวลกย็ ตุ กิ นั ลงแคน ้ี
การกลา วนทิ านเรอ่ื งขรวั ตามาแทรกกเ็ พอ่ื ใหทราบวา เรื่องความไมใครครวญ
คนไมใครครวญพินิจพิจารณา คนแบบ “เถรตรง” ตรงเสียจนเซอนั้น ไมยังประโยชน
ใดๆ ใหเกิดขึ้น จงึ ควรถือเปนคติตัวอยางไดดี
ในวงปฏบิ ตั ขิ องเรานม้ี บี า งไหมทป่ี น ขน้ึ บนขอ่ื มีซิ! มแี ตจ าํ พวกทค่ี อยจะปน ขน้ึ
บนขอ่ื นน่ั แหละเปน สว นมาก ไมไปกันละตามหลัก “มัชฌิมา” ตามหลักที่พระพุทธเจา
ทรงสอน ชอบปน ขน้ึ บนขอ่ื กนั แทบทง้ั นน้ั ทา นยกนทิ านขรวั ตาปน ขน้ึ บนขอ่ื มาประกอบ
การแสดงธรรม นา ฟง ! เพราะขบขันดี “พวกบนขอ่ื ” ทา นวา อยา งนน้ั เปนคติสําคัญนา
ฟงมาก ฟงแลวซึ้งใจ ทั้งอดหัวเราะอยูภ ายในไมได นี่ทานพูดถึงเรื่องคนไมใชความคิด
ไมใชความพินิจพิจารณาเหตุผลวาควรไมควร เรียกวา “เถรตรง” คาํ วา “เถรตรง” นบ้ี าง
ทานก็จะไมเขาใจ นท่ี า นพดู ถงึ ครบู าอาจารย
ทา นลา งบาตรและเชด็ บาตรแหง แลว ทา นเอาปากบาตรควาํ่ ลง แลว ทา นสองดู
กน บาตรทา น สอ งใหต รงกบั ตะวนั การสอ งดกู น บาตรตรงตะวนั นน้ั ทา นมคี วามหมาย
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๙
๑๔๐
วา บาตรนอ้ี าจมกี น ทะลุ เปน ชอ งเปน รตู รงไหนบา ง สอ งออกไปทแ่ี จง หรอื สอ งกบั แสง
พระอาทิตย มองออกไป ถามีชองทะลุก็จะมองเห็นชัดเจนตรงที่ทะลุนั้น แลว กจ็ ะไดอ ดุ
ยาเสยี
ทนี ล้ี กู ศษิ ย “เถรตรง” เหน็ อาจารยส อ งดกู น บาตร ตนกท็ าํ ตามบา งโดยไมท ราบ
เหตผุ ลความมุง หมายวา ทานทําเพื่ออะไร เวลาถกู ถามวา “ทําเพื่ออะไร?” กบ็ อกแบบ
เถรตรงวา “เหน็ ครอู าจารยท า นสอ งเรากเ็ ลยสอ งบา ง เพราะทานขลังดี บางทีเราอาจ
ขลัง” นฟ่ี ง ซิ เรือ่ งบนขอ่ื ขาํ ดไี หม? ฟงไดไหม ในวงผูปฏิบัติเพื่ออรรถเพื่อธรรม ในคําที่
วา “บางทเี ราอาจขลงั อยา งทา นบา ง” ถา อยา งนก้ี ป็ ฏบิ ตั เิ พอ่ื “ความขลัง” ไมไดปฏิบัติ
เพื่อ “ความหลุดพน” อยา งนอ ยกเ็ พอ่ื ความเปน คนดมี คี วามสงบสขุ
ครอู าจารยผฉู ลาดมีเหตุผล ทานทําอะไรยอ มเปน ไปตามเหตผุ ลทุกอยา ง ไมได
ทาํ แบบลอยๆ เราผมู าศกึ ษากบั ทา นควรพจิ ารณาดว ยดใี นสง่ิ ทต่ี นทาํ ไมสักแตวาพูดวา
ทําไปแบบสุมเดา เพราะความไมสนใจดูตัวอยางทาน จงึ เปนราวกบั ทัพพีอยกู ับแกง ไม
รูรสชาตขิ องแกงวา เปรี้ยวหวานเค็มประการใดบางเลย จึงหาความฉลาดรอบรูอะไรไม
ได นอกจากแสวงหาความขลงั ไปแบบโลกๆ ทท่ี าํ กนั
การศกึ ษาขน้ึ อยกู บั สติ ปญญา ศรัทธา ความเพียร เปน สาํ คญั มไิ ดข น้ึ อยกู บั การ
กนิ อยหู ลบั นอนในสาํ นกั ของทา นเฉยๆ โดยไมสนใจกับอะไร การปฏิบัติธรรมของพวก
เราทกุ วนั นก้ี เ็ หมอื นกนั เหน็ ทา นเดนิ จงกรมกเ็ ดนิ แตไมมีสติสตัง มีแตค วามคดิ ผดิ คดิ
เพลินเลินเลอเผลอตัวยุงไปหมด พอออกจากทางจงกรม “แหม วันนี้จิตไมเห็นมีความ
สงบบา งเลย เราเดินจงกรมตั้งนานไมเห็นไดเรื่องอะไร?” จะไดเรื่องอะไร เพราะไมเอา
เรื่องอรรถเรื่องธรรมเรื่องความสงบเปนอารมณบางเลย เอาแตเ รอ่ื งวนุ วายมาพวั พนั หน่ั
แหลกอยกู บั จติ ตลอดเวลาในทางจงกรม
จากนน้ั กม็ านง่ั ภาวนา พอนง่ั ก็ “เอาละ เทานี้พอ!” เวลานั่งก็นั่งคิดนั่งปรุงยุง
เหยงิ วนุ วายแบบ “ตามรอยโคในคอก” นั่นแล แลว กม็ าตาํ หนแิ บบลมๆ แลง ๆ ไปวา
“นง่ั ไดเ ทา นน้ั นาทเี ทา นน้ี าที ไมเห็นไดเรื่องอะไร นอนเสยี ดกี วา ” นน่ั ! ไปลงเอยทหี่ มอน
นน่ั แล เลยกลายเปน ทต่ี ดั สนิ กเิ ลสอยบู นหมอนไปเสยี คาํ วา “นอนเสียดีกวา” นน้ั แม
นอนกไ็ มไ ดเ รอ่ื งอยนู น่ั แล เพราะคนไมไดเรื่องอยูแลว ก็ไดแตเรื่อง “หมอน” เทา นน้ั
นะ ซี ไมไดมรรคผลนิพพานอะไร จิตลง “ภวงั คห ลวง” หลบั ครอกๆ จนตะวนั สอ งกน ก็
ไมถ อนขน้ึ มา (ไมต น่ื นอนนน่ั เอง)
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๐
๑๔๑
อยทู ใ่ี ดไปทใ่ี ดกม็ แี ตก เิ ลสตามเหยยี บยาํ่ ทาํ ลายอยตู ลอดเวลา ที่จะไดเหยียบย่ํา
ทาํ ลายกเิ ลสบา งไมป รากฏ เพราะสติสตังไมมี ความจงใจไมม ี มแี ตก เิ ลสตามลา อยู
ตลอดทุกอิรยิ าบถ เรามันพวก “กิเลสตามลา’ จะวายังไง? ถา ไมว า อยา งนน้ั
เอา! พยายามตามลา กเิ ลสนะ ทนี เ้ี ปน นายกเิ ลสเสยี บา ง ตองฝนกันบาง! ทน
และฝนตรงนี้! จิตไมอยากคิดไปในอรรถในธรรม เราตอ งบงั คบั ใหค ดิ ทําไมจะบังคับ
ไมไดจิตเปนของเรา เราเปนเจาของจิต เราบังคับไมได ใครจะบังคับไดละ ถา จติ แหวก
แนวแลวจิตจะมีหลักแหลงที่ตรงไหน ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการแหวกแนวจะเปน อยา งไร เรา
ตองรับเคราะหกรรมอยูดี ฉะนน้ั เราตองคดิ ตอ งรูไวล วงหนา จึงเรียกวา “ปญญา” มัน
อยากไปไมย อมใหไ ป เอา! มนั อยากทาํ สง่ิ นน้ั ไมย อมใหท าํ มันจะฝนเราไปไดอยางไร!
เมื่อเหตุผลพรอมแลวที่จะไมทํา เราตองไมทํา เมื่อเหตุผลพรอมแลวที่จะทํา ตอ งทาํ ลง
ไป เปนก็เปน ตายกต็ าย! นี่คือนักธรรมะแท อยางไรกิเลสก็ไปไมพนมือ ตอ งตายใน
เงอ้ื มมอื ไมว นั ใดเวลาหนง่ึ แนน อน
ทําไมโลกเขาทําได ทําไมเราทําไมได โลกเขาทําไมตาย ทําไมเราทําจะตาย ตายก็
ใหต าย ปา ชา มที กุ หนทกุ แหง ไมต อ งเปน กงั วลกบั ความเปน ความตาย ขอใหทําสง่ิ ที่ถูก
ตองดีงามอยางสมใจเถอะ ถา ทาํ อยา งนน้ั บา งกเิ ลสมนั กห็ มอบและตอ งไดผ ล ไมมีอะไร
มีอํานาจเหนือธรรมของพระพุทธเจาซึ่งเปนเครื่องแกและปราบปรามกิเลส เพราะกิเลส
ทุกประเภทกลัวธรรมเทานั้น อยา งอน่ื กเิ ลสไมย อมและไมก ลวั ยง่ิ ความคลอ ยตามดว ย
แลว กเิ ลสยง่ิ รอ งเพลงรืน่ เรงิ สนุกสนานอยบู นหวั ใจ ไมมีวันจบเพลงเลยนั่นแล
ขณะทฟ่ี ง เทศนน จ้ี ติ มคี วามสงบจติ อยกู บั ตวั ถา จติ อยกู บั ตวั เวลาฟงทา นอธบิ าย
ก็เขาอกเขาใจไปโดยลําดับๆ ใหจ ติ อยกู บั ตวั นน่ั แหละถกู ตอ ง ในการฟงเทศนไมจําตอง
สง ใจออกมาขา งนอก ใหอ ยกู บั ตวั กระแสธรรมจะเขาไปสัมผัสกับความรูคือใจ เมื่อ
สมั ผสั กนั เรอ่ื ยๆ จิตจะไดรับความสงบในขณะที่ฟง เมอ่ื จิตสงบแลว ความสขุ นน้ั เกดิ ขน้ึ
เอง ที่ความสุขไมเกิดความสุขไมมีเพราะจิตไมสงบ จติ ยงุ อยตู ลอดเวลา กอ กวนตนเอง
อยไู มห ยดุ ความทุกขกม็ เี รือ่ ยๆ นะ ซี เพราะปอ นเหตใุ หเรอื่ ยๆ ทานจึงวา
“การฟงธรรมมีผล ๕ ประการ ประการสดุ ทา ยคอื จติ ผฟู ง ยอ มผอ งใส” จติ จะ
ผองใสไดจ ติ จะตองอยูก บั ตวั รบั สมั ผัสกระแสแหงธรรมทท่ี า นแสดงไปโดยลาํ ดับไมให
ขาดวรรคขาดตอน ตง้ั ความรไู วเ ทา นน้ั แหละ ไมต อ งไปเสยี ดายอะไรกบั สง่ิ ภายนอก ไม
ตอ งไปวนุ วายกบั สง่ิ ใด ที่เราเคยรูเคยคิดเคยปรุงเคยเห็นมาแลว ไมเห็นเกิดประโยชน!
คราวนี้เราตองการใหรูใหเห็นใหเขาใจในอรรถในธรรม จึงใหธรรมเหลานั้น
สัมผัสจิตใจ เพราะใจถูกสิ่งอื่นมาสัมผัสเสียมากมายจนใจไมเปนใจของตน มันเปนใจ
ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๑