The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรรมะชุดเตรียมพร้อม โดย หลวงตามหาบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-06 11:58:32

ธรรมะชุดเตรียมพร้อม โดย หลวงตามหาบัว

ธรรมะชุดเตรียมพร้อม โดย หลวงตามหาบัว

Keywords: หลวงตามหาบัว,ธรรมะชุดเตรียมพร้อม

๑๔๒

กเิ ลสตณั หาอาสวะ หรือเปนใจเปรตใจผีอะไรไปก็ไมรูละ ใจเปนนรกอเวจีไปหมดเพราะ
สง่ิ ไมเ ปน ทา เขา มากอ กวนวนุ วาย เวลานี้ใหจ ิตเปน ภาชนะสําหรับรับธรรม ตั้งหนาตั้งตา
ฟงโดยเฉพาะ จิตก็สงบ เมอ่ื สงบแลว กเ็ ยน็ พอจติ เยน็ เทา นน้ั แหละกส็ บายไปเองคน
เรา! เราหาความสบายไมใชเหรอ? เราไมหาความทุกข!

นแ่ี หละจดุ แหง ความสบายอยทู ต่ี รงน้ี ใหพยายามระงับจิต อยา ปลอ ยใหค ดิ มาก
เกินไป ความคิดมากไมใชของดี คดิ มากๆ ไปจนจะเปน บา กม็ ี เพราะเหตุไร? เพราะสิ่ง
ที่ไมด ีนน่ั แหละจติ ชอบคิด จิตชอบไปเกี่ยวของพัวพัน ยิ่งความโกรธแคนจิตยิ่งติดยิ่ง
ชอบคดิ กย็ ง่ิ เพม่ิ ความรอ นใหจ ติ ใจมากขน้ึ โดยลาํ ดบั ไมม ปี ระมาณ ตั้งตัวไวไมได
ฉะนน้ั ตอ งหกั หา มดว ยการฝน ใจ ใจจะขาดกใ็ หข าดไป จิตเปนสมบัติของเราทําไมเราจะ
บังคับไมได และจะมอบใหใครเปนคนบังคับใหเรา? ใครเปนคนรับผิดชอบในจิตของ
เรา? เราเองเทานั้นเปนผูรับผิดชอบ

จงทมุ กาํ ลงั ลงไปไมท อ ถอยจติ จะยอมจาํ นนเอง แลว สงบตวั ลง เหน็ ผลละทนี ้ี!
วา “ออ ! ผลแหงการบังคบั จติ เปนอยางนห้ี รอื !” ตอ ไปกม็ แี กใ จ หรอื เกดิ ความกลา หาญ
ที่จะบังคับทรมานตน สดุ ทา ยจติ กเ็ ปน สมบตั อิ นั มคี า ขน้ึ มาเปน ลาํ ดบั ๆ อยไู หนกส็ บาย
และมีความยับยั้งตั้งตัวไดดวยเหตุดวยผล ดว ยสตปิ ญ ญาซง่ึ เคยไดบ าํ เพญ็ มาและเคย
ไดห ลักไดเกณฑมาแลว

นค่ี อื การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนา ความอดความทนตอ หลกั ศาสนา การพร่ํา
สอนตามหลกั ศาสนาดกี วา การพราํ่ สอนใครทง้ั นน้ั ยง่ิ ผทู ส่ี อนตนดแี ลว พดู ใหค นอน่ื ฟง
หรอื สง่ั สอนกจ็ บั ใจไพเราะและเชอ่ื ถอื ไมจ ดื จาง

ถา ตนยงั เหลวไหลพดู ออกไปกไ็ มม รี สชาตแิ กผ ฟู ง ถงึ แมจ ะนาํ คาํ สอนของพระ
พุทธเจาไปพูดเปนตูๆ หบี ๆ มันก็ไมนาฟง มันมีลักษณะ จืดๆ ชดื ๆ ราวกับอาหารไมมี
รสอรอ ยนน่ั แล ถาจิตใจเขมแข็ง ความรสู กึ อยภู ายในกม็ น่ั คง ใจมีพลังธรรมการแสดง
ออกกม็ รี สชาตดิ ี จบั ใจซาบซง้ึ เพราะธรรมออกไปจากใจที่เปนตัวการสําคัญ ซึ่งบรรจุไว
แลวหรือบรรจุเต็มแลว

จงึ ขอใหพ ยายามรกั ษาจติ ใจใหมสี ารคณุ ปรากฏเดน ข้ึนโดยลําดับ ๆ จากการ
ปฏิบัติ มีจิตตภาวนาเปนตน อยา เหน็ วา เปน กจิ นอกประเดน็ หรอื เปน กจิ พเิ ศษนอกจาก
ความสาํ คญั ไปเสีย การภาวนานน้ั แหละคอื เรอ่ื งสาํ คญั ทส่ี ดุ ในชวี ติ จติ ใจของเรา มีธรรม
นแ้ี หละเปน สาํ คญั มากกวา สง่ิ อน่ื ใด นอกนัน้ ก็เปน เพยี งปริยาย อาศยั กนั ไปชว่ั คราวชว่ั
กาลชว่ั เวลา แลวก็พลัดพรากจากกันไปทั้งเขาทั้งเรา จะหาความจีรังถาวรไมได ทว่ั ทง้ั
แดนโลกธาตอุ นั เปน สมมตุ มิ นั เปน อยา งเดยี วกนั จึงขอยุติเพียงเทานี้

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๒

๑๔๓

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๙ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘

จติ วนุ วาย

คนทม่ี นี สิ ยั วาสนาพรอ มแลว คือจําพวก “อุคฆฏิตัญ”ู เชนพระยสกุลบุตร
และพระสารีบุตร พระโมคคัลลาน เปนตน นี่คือทานผูที่เปน “อุคฆฏิตัญู” ซึ่งคอยจะรู

จะเขาใจในธรรม และบรรลุมรรคผลนิพพานไดอยางรวดเร็วกวาทุกๆ จําพวกที่เปน

เวไนยชน ที่ควรจะรูหรือบรรลุธรรมตามศาสนธรรม
พระยสกุลบุตร อยใู นบา นอยไู มไ ด เมอ่ื ถงึ กาลแลว บน วา “วนุ วายๆ,ขัดของๆ”

จนถงึ กบั ออกจากบา นหนไี ปในเวลาเชา ตรู โดยไมม จี ุดหมายปลายทางวา จะกลบั มาอยู

บา นอกี หรอื ไมก ลบั เพราะความขดั ขอ งวนุ วายภายในใจ พอดีไปพบพระพุทธเจาซึ่ง
กําลังทรงจงกรมอยูขางทางที่พระยสกุลบุตรเดินผานไป พระองคจึงรับสั่งวา “มาทน่ี ่ี ที่นี่
ไมย ุงไมว ุน วาย ที่นี่ไมขัดของ ทน่ี แ่ี สนสบาย เธอจงเขามาหาเราที่นี่”

พระยสกุลบุตรเขาไป ก็ประทานพระโอวาท จนสําเร็จมรรคผลขึ้นในขณะนั้น

อยางรวดเร็ว

ถา อยา งนก้ี เ็ หมอื นงา ยๆ งายนิดเดียว และงายจนอาจลมื ความทกุ ขค วามลําบาก

ของผูเปนศาสดา ซึ่งไดสลบไสลไปถึงสามครั้ง กอนไดตรัสรูธรรมนํามาสอนโลกที่มี

นิสัยมักงายเปนเจาเรือน พระยสกลุ บตุ รนน้ั เหมอื นกบั คนเปน โรคซง่ึ คอยรบั ยาอยแู ลว

ยากพ็ รอ มทจ่ี ะยงั โรคใหห ายอยดู ว ย พอรับประทานยาเขาไป โรคกห็ ายวนั หายคนื และ
ระงบั ดบั ไปโดยลาํ ดบั จนหายขาด ไมยากอะไรเลย! ถา เปน อยา งนห้ี มอกไ็ มต อ งเรยี น

มากมายนกั คนไขก ไ็ มต อ งเปน ทกุ ขเ ดอื ดรอ นและทรมานไปนาน พอเปน ขน้ึ หมอใหร บั

ประทานยากห็ ายไปเลย

นถ่ี า เราพดู ขน้ั งา ยกเ็ ปน อยา งน้ี แตพ งึ ทราบในหลายแงข องโรคทเ่ี กิดและฝงกาย

ฝงใจในมวลสัตว วามีประเภทตางๆ กนั ทั้งรักษายากทั้งรักษางาย เพราะมิใชโรคหวัด

แตอ ยา งเดยี ว พอจะนดั ยาแลว กห็ ายไปเลยอยา งนน้ั

อกี ขน้ั หนง่ึ กห็ นกั ลงไปกวา น้ี หนกั ลงไปเปนข้นั ๆ จนถงึ ขนาดทก่ี เิ ลสไมฟ ง

เสียงธรรม โรคไมฟงยา ธรรมจะดี ยาจะดีวิเศษวิโส พระพุทธเจา พระอรหันต และ

หมอ จะมีความรดู ีเช่ยี วชาญฉลาดขนาดไหน มันก็เขากันไมไดกับกิเลสและโรคชนิดไม
รับยารับธรรม สุดทายก็ตองปลอยไปตามบุญตามกรรมไมมีใครชวยไวได นอกจาก “กุ
สลา ธมมฺ า” ทเ่ี ชอ่ื ถอื กนั วา รบั ไดท ง้ั คนตายคนเปน ไมเ ลอื กหนา จนพระที่มุงตอ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๓

๑๔๔

“ธรรมาภิสมัย” ยุง แทบเปนแทบตายเพราะหาเวลาบําเพญ็ ไมยุงกับ กสุ ลา ธมมฺ า
มาตกิ าบงั สกุ ลุ แทบเปนลมตาย

จติ ของสตั วโ ลกทม่ี กี เิ ลสเครอ่ื งวนุ วายสบั สน กม็ กั เปน กนั อยา งน้แี ตไหนแต
ไรมาตาํ หนกิ นั ไมล ง เพราะตางคนตางมี

โรคท่คี อยรับยาคือธรรมอยูแลว เชนประเภท “อุคฆฏิตัญ”ู ถัดลงมาคือ “วิปจิ
ตัญ”ู และถัดลงมาประเภท “เนยยะ” ทพ่ี อแนะนาํ สง่ั สอนหรอื พอฉดุ ลากกนั ไปได ดงั
เราทง้ั หลายทไ่ี ดพ ากนั อตุ สา หพ ยายามตะเกยี กตะกายดว ยวธิ ตี า งๆ หลายครง้ั หลายหน
บําเพ็ญและฟงการอบรมซ้ําๆ ซากๆ ไมล ดละทอ ถอย ธรรมกค็ อ ยๆ หยั่งเขาถึงใจ ๆ
เมื่อรับธรรมดวยการปฏิบัติบําเพ็ญไมหยุดไมถอย ธรรมก็เขาถึงใจและหลอเลี้ยงใจให
ชมุ ชน่ื เบกิ บานดว ยคณุ ธรรมในอริ ยิ าบถตา งๆ กเิ ลสทง้ั หลายภายในใจทเ่ี คยหนาแนน ก็
คอ ยๆ จางออกไป เบาบางลงไป ใจคอยดีดตัวขึ้นสูธรรม นาํ ความสขุ เขา ไปหลอ เลย้ี ง
น้ําใจไมขาดสาย ราวกบั นาํ้ ซบั นาํ้ ซมึ ไหลรนิ เยน็ ฉาํ่ อยตู ลอดเวลา ความหวงั ทง้ั หลายก็
คอ ยเตม็ ตน้ื ขน้ึ มาเรอ่ื ยๆ

ความจริงธรรมมมี ากเพยี งไร อาํ นาจใจกม็ มี าก กเิ ลสกม็ อี าํ นาจนอ ยลง ถา
ธรรมไมมีเลย กิเลสก็มีอํานาจเต็มที่ อยากแสดงอาํ นาจอยา งไรกแ็ สดงออกมาอยา งเตม็
เม็ดเต็มหนวย ความเดือดรอนจึงมีมาก เพราะกเิ ลสมมี ากและมอี าํ นาจมาก กอ ความ
เดอื ดรอ นใหแ กโ ลกไดม าก เมอ่ื ธรรมแทรกซมึ เขา ถงึ ใจมากนอ ย กเิ ลสกค็ อ ยออ นกาํ ลงั
ลงไป ธรรมกม็ อี ํานาจมากข้ึนไปโดยลําดบั ๆ

ฉะนน้ั การปฏบิ ตั ธิ รรมจงึ มคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ ที่จะพยายามใหธรรมเขาสูใจ
อยา งสมาํ่ เสมอ ไมวา จะอยใู นสถานท่ใี ดๆ ควรมีธรรมเปนสรณะ เปนที่ยึดเหนี่ยวใจอยู
เสมอ เพราะกิเลสไมไดมีกาล ไมม สี ถานท่ี เวลาํ่ เวลา อดตี อนาคต ไมข นึ้ อยูก บั สง่ิ ใดทัง้
สน้ิ แตข น้ึ อยกู บั การผลติ การกระทาํ ของมนั เทา นน้ั อยไู หนกเิ ลสกส็ รา งตวั ใหเ ปน ปก
แผน มน่ั คงบนหวั ใจของสตั วโ ลกไมเ วน วนั เวลาเลย กิเลสจึงไมม ขี าดแคลนบนหัวใจสตั ว
แตไหนแตไรมา

ถาเราไมระมัดระวังตัว มนั ตอ งผลติ ผลออกมาเรอ่ื ยๆ ใหไ ดร บั ความทกุ ขค วาม
ลาํ บากไมม สี น้ิ สดุ จดุ หมายปลายทางเลย ความหวังในสิ่งที่พึงใจของสัตวโลก กม็ แี ตน บั
วนั เลอื นรางหายไป เพราะกิเลสที่ตนผลิตขึ้นลบลางไปเสียหมด

การสง่ั สมธรรม การประพฤติปฏิบัติธรรม ซึ่งเปนคูแขงหรือเครื่องปราบปราม
กเิ ลส จงึ เปนสิ่งจําเปนสําหรับเราผูมีความหวังประจาํ ใจ และตองการความสงบรมเยน็
เปนมิ่งขวัญของใจ ตลอดหนา ทก่ี ารงานทเ่ี ปน ไปเพอ่ื ความราบรน่ื ดงี ามสมาํ่ เสมอและ
ผลที่พึงพอใจ ตองอาศัยการอบรมการประพฤติปฏิบัติทางดานศีลธรรม เมื่อธรรมเขาสู

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๔

๑๔๕

จติ ใจมากนอย ใจกค็ อ ยๆ เกดิ ความยม้ิ แยม แจม ใส มีรัศมีแพรวพราว เพราะมี
ความสงบรม เยน็ ภายในตวั เปน พน้ื ฐานแหง ธรรม พรอ มกบั เหน็ คณุ คา แหง ใจและคณุ
คาแหงความพากเพียรไปโดยลําดับ ธรรมเปน สมบตั ทิ จ่ี าํ เปน สาํ หรบั ผตู อ งการความ
สขุ ความเจรญิ ทง้ั ภายในและภายนอกโดยทว่ั กนั จึงควรอบรมศลี ธรรมใหม ขี น้ึ ภาย
ในจติ ใจอยา ไดล ดละปลอ ยวาง แมจ ะยากแสนยาก ลาํ บากกายใจเพยี งไร ก็ควรทํา
ความดเี ปน คเู คียงกันไป จะเปน ผสู มหวังทั้งเบอ้ื งหลงั เบื้องหนา ไมขาดทุนสูญดอกไป
เปลาจากความเปนมนุษย

ความยากลาํ บากเราไมต อ งยดึ มาเปน อปุ สรรค ทเ่ี คยไดอ ธบิ ายมาหลายครง้ั
หลายหนแลว การแกก เิ ลสจะไมย ากไดอ ยา งไร เพราะกเิ ลสมนั กอ ตวั และแสนเหนยี ว
แนนมาแตเมื่อไรไมมีใครทราบไดเลย และไมทราบจนกระทั่งปูยาตายายของมันคือ
อะไร โคตรแซของกเิ ลสคอื อะไร ไมทราบไดเลย ทราบไดแตเพียงวา มนั เปน โคตรแซท ่ี
เหนยี วแนน แสนเอาเปรยี บสตั วโ ลกมาเปน ประจาํ ไมยอมเสียเปรียบใครอยางงายๆ
เลยแตไหนแตไรมาเทานั้น ฉะนน้ั จงพากนั ผกู อาฆาตมนั ใหถ งึ ใจทเี ดยี ว

เราจะทาํ ลายกเิ ลสซง่ึ ฝง รากฐานลงอยา งลกึ ทะลขุ ว้ั หวั ใจ จะทาํ ลายเอาอยา งใจ
คิดใจหวัง ใหง า ยอยา งปอกกลว ยมนั เปน ไปไมไ ด เพราะกเิ ลสไมใ ชก ลว ยพอทจ่ี ะปอก
แลว เอามารบั ประทานเลยอยา งนน้ั ได ผูปฏิบัติธรรมจึงตองเปนผูมีหลักใจแนนหนามั่น
คง มคี วามมงุ มน่ั เปน ตน นค่ี อื คนมหี ลกั ใจหรือใจมีหลัก ใจหนกั แนน พูดงายๆ มี
เหตุมีผลประจําใจเสมอ เปนเครื่องบังคับใหใจดําเนินตาม หรือเดินตามเหตุผลที่
พจิ ารณาเหน็ วา ถกู ตอ งแลว นน้ั ๆ เมอื่ ใจดําเนินตามหลกั ของเหตุผลอยูโดยสมา่ํ เสมอ
ความเคยชนิ ของใจกม็ ดี ว ย สิง่ ทีจ่ ะมากอ กวนจิตใจใหไ ดร บั ความทุกขความลําบาก ก็จะ
มนี อ ยลงเปน ลาํ ดบั ดว ย ไมก าํ เรบิ เสบิ สานดงั ทม่ี นั มอี าํ นาจสงั หารโลกใหย อ ยยบั ทางจติ
ใจ และศีลธรรมอยูในทา มกลางทใ่ี ครๆ กว็ า “โลกเจริญๆ” อยเู วลานแ้ี บบไมล มื หลู มื ตา
ดังผูเทศนอยูเวลานี้เองซึ่งกําลังมืดบอดเต็มที่

นแ่ี หละทท่ี า นสอนใหไ ปอยปู า หาที่สงบสงัดดังที่พระทานอยูกันเรื่อยมา เชน
พระในครั้งพุทธกาลมีจาํ นวนมากมายทม่ี งุ ตอ แดนพน ทกุ ข ไดประพฤติปฏิบัติตนดวย
วธิ ที ไ่ี ดก ลา วมาน้ี องคน น้ั สาํ เรจ็ มรรคผลอยทู ป่ี า นน้ั องคน บ้ี รรลธุ รรมอยทู ภ่ี เู ขาลกู นน้ั
เรื่อยมาโดยลําดับ ขาวของทานมีแตขาวดีวิเศษวิโส บทขาวของเรามีแตความโลภโกรธ
หลงเต็มตัว แทบเคลอ่ื นยา ยตวั ไปไมไ ด เพราะมนั หนกั สง่ิ เหลา นเ้ี หลอื ประมาณเกนิ กวา
จะหาบหามไปได

ถา ดเู ผนิ ๆ แบบคนขี้เกยี จทงั้ หลายสมัยจรวดดาวเทียม กเ็ หมอื นทา นลา งมอื
เปบเอา ๆ งายเหลือเชื่อ ของคนสมยั ทไ่ี มอ ยากเชอ่ื ใคร นอกจากเชอ่ื ตวั ผเู ดยี วทก่ี าํ ลงั

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๕

๑๔๖

จะพาจมลงเหวลึกทั้งเปนๆ อยทู ุกขณะไมมขี อบเขตอยูแลว แตเ หตุคือการบําเพญ็ ของ
ทา น ทา นสละเปน สละตายมาแทบทุกองค ไมว า จะออกมาจากสกลุ ใดๆ เมื่อไดมุงหนา
มาประพฤติปฏิบัติธรรม ดว ยความเชอ่ื ความเลอ่ื มใสตอ พระโอวาทคาํ สง่ั สอนของพระ
พทุ ธเจา แลว ตอ งเปน ผเู ปลย่ี นเครอ่ื งแบบใหมเ สยี ทง้ั หมด จริตนิสัยใจคอที่เคยเปน
อะไรบา ง ซึ่งไมดีไมงามมาแตกอน ทา นพยายามสลดั ปด ทง้ิ หมด เหลือแตนิสัยดี
ประจาํ เพศความเปน นกั บวช ที่กลา หาญตอความเพียรเพอื่ แดนพน ทุกขโดยถา ยเดียว
ทา นพยายามดาํ เนนิ ตามหลกั ธรรมทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนเทา นน้ั

เอา! หนกั กห็ นกั ,เปนก็เปน, ตายกต็ าย, อดกย็ อมอด อม่ิ กย็ อมรบั วา อม่ิ ขอให
ไดบ าํ เพญ็ ธรรมเพอ่ื ความพน ทกุ ขส มความมงุ หมายกเ็ ปน ทพ่ี อใจแลว สาวกทา นดาํ เนนิ
อยา งน้ี แลว กถ็ า ยทอดขอ ปฏบิ ตั ปิ ฏปิ ทาเครอ่ื งดาํ เนนิ อนั ดงี ามนน้ั มาจนถงึ พวกเรา ซึ่ง
เปนปฏิปทาที่ราบรื่นดีงามสม่ําเสมอควรแกมรรคผลนิพพาน และเปนปฏิปทาที่
สามารถแกก เิ ลส ถอดถอนกิเลสทุกประเภทออกจากใจไดโดยสิ้นเชิงไมสงสัย ไมว า กาล
ใดสมัยใด เมื่อผูปฏิบัติตามหลักธรรมที่พระองคทรงสอนไวแลว ตองไดผลเปนที่พอใจ
โดยลําดบั ทกุ ยคุ ทกุ สมยั เพราะ “สวากขาตธรรม” ไมข น้ึ กบั โลกกบั สมยั แตข น้ึ กบั ความ
จริงอยางเดียว

คาํ วา “ทน่ี น่ั วนุ วาย ทน่ี ว่ี นุ วาย” จะหมายถึงอะไร? ถา ไมห มายถงึ ใจตวั กอ เหตนุ ้ี
เทานั้นพาใหเปนไปตางหาก สถานทเ่ี ขาไมไ ดว นุ วาย นอกจากใจเปน ผวู นุ วายแตผ ู
เดียว ดนิ ฟา อากาศเขาไมไ ดว า เขาเปน ทกุ ขเ ปน รอ นและวนุ วายอะไร ถา ดแู บบนกั
ปฏิบัติธรรมเพื่อธรรมอยางจริงใจ จะเหน็ แตใจดวงเดยี วนเี้ ทา นนั้ ดนิ้ รนวุนวายอยตู ลอด
เวลา ยง่ิ กวา หางจง้ิ เหลนขาด (หางจิ้งเหลนขาดมันด้ินรดิ ๆ) สถานทใ่ี ดกเ็ ปน สถานทน่ี น้ั
อยูตามสภาพของเขา ผทู ว่ี นุ วายกค็ อื หวั ใจทเ่ี ตม็ ไปดว ยกเิ ลสเครอ่ื งกอ กวนใหว นุ วาย
นน้ั เอง ขน้ึ ชอ่ื วา “กเิ ลส” แลว ทกุ ประเภทตอ งทําคนและสตั วใหอ ยูเปนปกตสิ ุขไดย าก
ตอ งลกุ ลล้ี กุ ลนกระวนกระวายสา ยแสไ ปตามความผลกั ดนั ของมนั มากนอ ยอยนู น่ั เอง

ที่พระพุทธเจาทานวา “จงมาสสู ถานทน่ี ้ี ทน่ี ไ่ี มว นุ วาย!” คอื พระองคไ มว นุ วาย
พระองคไ ดชาํ ระความวุน วายหมดแลว บรรดาสิ่งที่ทําใหวุนวายภายในพระทัยไมมี
เหลอื แลว สถานทน่ี จ้ี งึ ไมว นุ วายไมข ดั ขอ ง

“ยสกลุ บตุ ร” ถาพูดถึงชื่อ กว็ า “ยส” เขา มาน่ี ทน่ี ไ่ี มว นุ วาย ที่นี่ไมขัดของ ที่นี่ไม
เศรา หมองขนุ มวั ไปดว ยตมดว ยโคลนคอื กเิ ลสโสมมตา งๆ แตครั้งนั้นพระพุทธเจาจะ
ทรงทราบชื่อทราบนามของเขาหรือไมก็ตาม กห็ มายเอาผนู น้ั นน่ั แหละ เมื่อเราทราบชื่อ
ของทา นแลว กถ็ อื เอาความวา สถานทน่ี น้ั กค็ อื สถานทบ่ี าํ เพญ็ เพอ่ื ความไมว นุ วายนน่ั เอง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๖

๑๔๗

สถานที่ที่พระพุทธเจาประทับอยูเวลานั้น กเ็ ปน สถานทท่ี ฆ่ี า กเิ ลส ทําลายกิเลสทง้ั มวล
ไมใชเปนที่สั่งสมกิเลส เปน สถานทไ่ี มว นุ วายกบั อะไรบรรดาขา ศกึ เครอ่ื งกอ กวน จึงทรง
เรียกพระยสเขามาวา

“มาทน่ี ่ี ที่นี้ไมยุงเหยิง ทน่ี ไ่ี มว นุ วาย ทน่ี ไ่ี มเ ดอื ดรอ น” ทน่ี เ่ี ปน ทอ่ี บรมสง่ั สอน
ธรรมเพื่อแกความเดือดรอนวุนวายภายในใจโดยตรง จนยสกลุ บุตรไดบรรลุธรรมเปน
ทพ่ี อใจในทน่ี น้ั

ทน่ี น้ั ควรเปน เครอ่ื งระลกึ ใหเ ราท้งั หลายไดค ดิ ถึงเรอ่ื งความวนุ วายวา มันอยู
ในสถานทใ่ี ดกนั แน? ถา ไมอ ยใู นหวั ใจนไ้ี มม ใี นทอ่ี น่ื ใด เมอ่ื ความวนุ วายทก่ี อ กวนอยู
ภายในใจระงบั ดบั ลงไปแลว ดว ยความประพฤติปฏิบัติธรรมในสถานทอ่ี นั เหมาะสม
ความสงบเยน็ ใจกเ็ กดิ ขน้ึ ไปทใ่ี ดอยทู ใ่ี ดกไ็ มว นุ วาย เมอ่ื หวั ใจไมว นุ วายเสยี อยา ง
เดียว อยทู ไ่ี หนกอ็ ยเู ถอะไมว นุ วายทง้ั สน้ิ สบายไปหมด! จะอดบา งอม่ิ บา งกส็ บาย
เพราะใจอิ่มธรรม ไมห วิ โหยในอารมณเ ครอ่ื งกอ กวนใหว นุ วาย เราสังเกตดูเผินๆ ก็
พอทราบได ดว ยอาการทแ่ี สดงออกของสตั วแ ละบคุ คล ในเวลามคี วามทุกขเ ขา ทบั ถม
มากนอ ย เฉพาะอยา งยง่ิ ขณะจะตายสัตวจะดิ้นรน คนจะอยูเปนปกติสุขไมได ตอ ง
กระวนกระวายทิ้งเนื้อทิ้งตัว จนไมมีสติประคองใจ กระทั่งตายไป

ฉะนน้ั จงึ มใี จดวงเดยี วเปนตัวกอ เหตใุ หเกดิ ความวุนวาย แตใจนัน้ มสี งิ่ ทพ่ี าให
กอ เหตุ ไมใชเฉพาะใจเฉยๆ จะกอ เหตขุ น้ึ มาอยา งดอ้ื ๆ สง่ิ ทแ่ี ทรกสงิ อยนู น้ั คอื สง่ิ วนุ
วายหรอื ตวั วนุ วาย เมื่อเขาไปสิงในจิตใจของผูใด ผนู น้ั กต็ อ งวนุ วายไปดว ยมนั การแก
กเิ ลสคอื ธรรมชาตทิ ท่ี าํ ใหว นุ วายน้ี จงึ แกล งท่ีใจดว ยขอปฏบิ ัติ เชน ทา นสอนให
กาํ หนด “พุทโธ,ธัมโม,สังโฆ” เปนเครื่องบริกรรม หรอื กาํ หนด “อานาปานสต”ิ เปน
อารมณ เพื่อใจไดรับความสงบระงับในขน้ั เรม่ิ แรก ซึ่งเปนธรรมเครื่องระงับความวุน
วาย ตอ ไปกต็ ามดใู จวา มนั วนุ วายกบั เรอ่ื งอะไร? นค่ี อื ขน้ั เรม่ิ แรกทป่ี ญ ญาจะเรม่ิ
ออกกา วเดนิ เพอ่ื คน หาสาเหตุ คอื ตวั กเิ ลสทท่ี าํ ใหใ จวนุ วายไมห ยดุ หยอ น จนกวาจะรู
เรื่องของมันไปโดยลําดับ ไมย อมถอยทพั กลบั แพขา ศกึ ตัวแทรกซมึ กอ กวนทแ่ี อบซอน
อยภู ายในจิต

เชน ใจวนุ วายกบั เรอ่ื งรปู รส กลน่ิ เสียง เครื่องสัมผัส ซง่ึ เขา ใจวา อนั นน้ั ดี อนั น้ี
ชว่ั อนั นน้ั เปน อยา งนน้ั อนั นเ้ี ปน อยา งน้ี ดว ยความสาํ คญั ตา งๆ ปญ ญา พิจารณาคลี่
คลายดใู หเ หน็ ตามความเปน จรงิ ในสง่ิ นน้ั ๆ แลว ยอ นเขา มาดจู ติ ใจผมู คี วามสาํ คญั
มน่ั หมายในสง่ิ นน้ั ๆ วา เปน นน่ั เปน น่ี จนเกดิ ความวนุ วายขน้ึ ภายในตวั ใหเห็นชัดเจน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๗

๑๔๘

ทง้ั ภายในภายนอก ใจก็สงบระงับลงไปได เปนอรรถเปนธรรม พอมที ผ่ี อ นคลายหาย

ทุกขไปไดไมรุนแรง

การแกค วามวนุ วายแกต รงทค่ี วามวนุ วายมอี ยู คอื ใจนเ่ี อง แกไ มห ยดุ ไมถ อย ใจ

จะฝนเราไปที่ไหน จะตองสงบระงับความกําเริบลงจนไดไมเหนือธรรมเครื่องฝกทรมาน

ไปได ปราชญทานเคยฝกทรมานจนเห็นผลมาแลว จงึ ไดน าํ อบุ ายวธิ นี น้ั ๆ มาสอนสตั ว

โลกเชน พวกเรา ชาวปฏบิ ตั ธิ รรมทางใจ
อยา ลมื ! อยา หนจี ากจดุ น!้ี “วฏั จกั ร” กค็ อื จติ เรอ่ื งเกดิ เรอ่ื งตาย เรอ่ื งทกุ ข

ลาํ บากทง้ั หมด คอื จติ เปน สาํ คญั เอา! เอาลงที่นี่เลย! ตวั นเ้ี ปน ตวั กอ เหตุ คําวา “คือ
จิตนี”้ กค็ อื กเิ ลสมอี ยใู นจติ นน่ั เอง จติ ยงั สาํ รอกปอกกเิ ลสออกไมไ ดห มด จึงตองมี
เรื่องไมพึงปรารถนาเกิดขึ้นภายในจิตอยูเสมอ ทั้งๆ ที่ไมตองการใหมันเกิดแตมันก็เกิด

เพราะธรรมชาติของมันเปนอยางนั้น ทางเดินของมันอยูที่นั่น จึงลบลางไมไดด วย

ความสาํ คญั ดว ยความตอ งการเฉยๆ

แตต อ งลบลา งดว ยการปฏบิ ตั ิ กาํ จดั สง่ิ นน้ั ๆ ดวยเหตุผลที่ควร ไดแกอ รรถ
ธรรมนแ่ี หละเปน หลกั ใหญ เอา! บําเพ็ญลงไป คาํ วา “อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ” “ตน
เปนที่พึ่งของตน” ดังที่เคยแสดงแลว ใหเ ดน ภายในใจและความสามารถของเราเอง
อยา หวงั พง่ึ ใครอน่ื อนั เปน การออ นความสามารถไมฟ ต ตวั ใหเ ขม แขง็ ดังธรรมทาน

สอน

มนษุ ยเ ราเกดิ มาชอบอาศยั ผอู น่ื อยเู ปน นสิ ยั อะไรๆ ตองพึ่งผูอื่น อาศยั ผอู น่ื ตง้ั

แตเ ลก็ จนโต ราวกับไมมีแขงมีขาไมมีมือมีเทา ไมมีสติปญญาใดๆ เลย มแี ตป ากกบั
ทอง เวลาเขาจนตรอกจนมุมไมมีผูอาศัยจะไมจมไปละหรือ? ฉะนั้นเราเปนนักปฏิบัติ

ธรรม ตองหัดพึ่งตัวเองตามหลักธรรมที่สอนไว จะเปนผูไมจนมุมในเวลาจําเปน
พยายามสรา ง “อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ” ขน้ึ ในตวั สติไมมีพยายามสรางใหมี ปญญาไม

มีพยายามสรางใหมี ความขเ้ี กยี จพยายามปราบปรามมนั ลงไปใหส น้ิ ซาก อยา ใหม ากดี

ขวางลวงใจอกี ตอ ไป ความขยันผลิตขึ้นมาดวยความมีเหตุมีผล เมื่อมีเหตุมีผลความ

ขยนั มนั เกดิ ขน้ึ ไดเ อง
ความขเ้ี กยี จขค้ี รา นน้ี เราเคยไดเงินหมน่ื เงินแสนเงนิ ลานจากมนั บา งไหม? ถา

เราสรา งโลกดว ยความขเ้ี กยี จ จะเปน คนมง่ั มไี ดไ หม? ความโงมันจะทาํ ใหคนฉลาด
แหลมคมไดไหม? คนโงจ ะทาํ อะไรใหส ําเร็จลลุ วงไปดวยความนา ชมมไี หม? ความโง
ความขเ้ี กยี จออ นแอนาํ หนา ทําอะไรทันเขาไหม? ความโง ความขเ้ี กยี จ เมื่อไดเขาเปน
อนั เดียวกันแลว ทําอะไรไมส าํ เรจ็ ทส่ี าํ เรจ็ ของมนั คอื บนหมอน “กอนแลว นนิ กนิ แลว

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๘

๑๔๙

นอน!” อยนู น่ั แล นี่แหละโทษของมันเปนอยางนี้ แตคุณของมันยังมองไมเห็น อาจเปน
เพราะขรัวตาเรียนนอยจึงไมอาจรูเทาทันมัน จงึ ขอมอบใหผเู รยี นมากนําไปวินจิ ฉัยเอง
จะเหมาะสมกวา

ที่ตองการเห็นอรรถเห็นธรรม เหน็ ความจริงของศาสนธรรมซึ่งมีอยูภายในใจ
เรา ดังที่พระพุทธเจาไดทรงสอนไว เราจะทาํ วธิ ไี หน? จะนําความขี้เกียจขี้ครานนี้เขามา
เปนผูนําทางเหรอ? หรอื จะเอาความโงเขา มาเปนเคร่อื งบกุ เบิกทาง นอกจากมันจะเพิ่ม
ความขี้เกียจและความโงขึ้นอีก หาอะไรเปนชน้ิ เปนอันบา งไมไดเทา น้ัน ไมมีอยางอื่นจะ
เปนสารคุณของทั้งสองสิ่งนี้

เพราะฉะนั้นสิ่งใดที่จะแกสิ่งทั้งสองนี้ได จะตองพยายามผลิตสิง่ นั้นขึ้นมา ความ
ฉลาดผลติ ได ความพยายามคิดอานไตรต รองอยเู สมอ เปนสิ่งที่ผลิตไดทําไดไมสุด
วิสัยมนุษยเรา ทีแรกตองพยายามพาคิดพาคนไปกอนเพราะยังไมเห็นผล ก็ยังไมมี
กําลังใจดูดดื่มในงานคิดคนไตรตรองเปนธรรมดา จนกวา ผลปรากฏขน้ึ มาแลว เรื่อง
ความอตุ สา หพ ยายาม ความบกึ บนึ ความเชอ่ื ความเลอ่ื มใส ความดูดดื่มภายในจิต จะ
เปนไปเอง เพราะผลเปนเครื่องดึงดูดใหเปนไป

จงนําสติปญญาแกลงที่นี่ กเิ ลสมนั อยทู ใ่ี จ อยา ไปคาดไปหมายทโ่ี นน ทน่ี ่ี เปน
ความผิดทั้งนั้น กเิ ลสตวั พาเปน พาคาดพาหมายเราไมดูมัน คาดวาที่นั่นจะดี ที่นี่จะดี
ที่นั่นจะเปนสุข ทน่ี จ่ี ะสบาย ลว นแตม นั หลอกเรา เมอ่ื ไปแลว กอ็ ยา งวา นน่ั เอง เพราะ
“ตวั น”้ี มนั รอ น ไปไหนๆ กต็ องรอ น ตัวนี้มันทุกข ไปไหนๆ กท็ กุ ข ถา ไมด ตู วั มนั กอ
ทกุ ขก อ เหตกุ อ ความวนุ วายอยเู สมอภายในใจน้ี จะไมเห็นที่จอดแวะ จะไมเห็นที่แกไข
จะไมเห็นที่ระงับดับมันลงไปไดเลย ความสงบสขุ ความเยน็ ใจจะไมป รากฏ ถา ไมร ะงบั
ดับลงที่นี่ ดวยการพิจารณาท่นี ี่ แกมันที่ตรงนี้

มนั รอ นทจ่ี ดุ ไหนกาํ หนดดทู ม่ี นั รอ นนน้ั มนั วนุ วายทต่ี รงไหนกาํ หนดดทู ม่ี นั วนุ
วายนน้ั ตง้ั สตจิ อ เขา ไป! ที่ตรงนั้น ใหเ หน็ ความจรงิ และความวนุ วายนว้ี า มันเกิดขึ้นมา
จากอะไร? ความทุกขเกิดขึ้นมาจากอะไร? อะไรเปนสาเหตุใหเกิดทุกข คนมันลงไปที่จิต
นน้ั ทกุ ขน น้ั มนั เปน สนามรบดว ยดแี ลว น่ี ความทุกขเ กดิ ข้นึ กเ็ อาความทกุ ขเปน เปา
หมาย กาํ หนดลงไป หาเหตมุ นั เกดิ ขน้ึ มาจากอะไร คนความันอยูที่ตรงนั้น คนมันที่ตรง
นน้ั ความวนุ วายกบั ความทกุ ขม นั เกย่ี วพนั กนั อยู มันเกิดขึ้นมาจากอะไร เกดิ มาจาก
ความสาํ คญั มน่ั หมายนน้ั แลไมใชเกิดจากอื่น วา อนั นน้ั เปน นน้ั อนั นเ้ี ปน อยา งน้ี ทั้งๆ
ที่มันไมเปน จิตไปสําคญั เอาเองแลว หลงความสําคญั ของตวั ก็โกยทุกขขนึ้ มาเผาลนตน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๙

๑๕๐

เองใหไ ดร บั ความทกุ ขค วามเดอื ดรอ น มเี ทา น้ี เรอ่ื งสาํ คญั อยทู ต่ี รงน้ี เพราะฉะนน้ั จงึ
ใหย อ นจติ เขา มาดทู จ่ี ดุ น้ี

เอา! เปนก็ใหรู ตายกใ็ หร ู ใหเ หน็ ความจรงิ กบั สง่ิ ทป่ี รากฏอยใู นเวลาน้ี มันทุกข
แคไ หนใหดตู วั ทกุ ข แตก อ นมนั ยงั ไมเ กดิ ทําไมมาเกิดในขณะนี้ แลวมันเกิดขึ้นมาจาก
อะไร ตัวทุกขมันเปน “ทุกฺขํ” อยแู ลว น่ี และเปนตัว “อนิจฺจํ อนตฺตา” อยแู ลว น่ี ดใู หช ดั
ดวยปญญาจริงๆ นแ่ี หละเปน หนิ ลบั ปญ ญา กําหนดพิจารณาลงที่จุดนั้น แลว ความ
เปลี่ยนแปลงของมันจะแสดงใหเราเห็น เมื่อสติจดจออยูที่ตรงนั้น ไมย อมใหจ ติ คดิ ไป
ทางอื่น ซง่ึ เปน การเพม่ิ กเิ ลสขน้ึ มาอกี ไมมีสิ้นสุดยุติลงไดสักที

จงดูเฉพาะจิตทวี่ า มนั เปน ทกุ ขน้นั ดว ยปญ ญา ดว ยสติ ใครค รวญดว ยความ
ละเอยี ดถถ่ี ว น นแ่ี หละชอ่ื วา พจิ ารณาถกู ตอ ง และเปนทางระงับดับทุกขลงไดโดยไม
ตอ งสงสัย ปราชญท า นดบั ทกุ ขท า นดบั ทน่ี ่ี ผมู สี ตปิ ญ ญาทา นดบั กนั ทน่ี ่ี ตรงนแ้ี หละ
คือสถานที่ทําความเพียรใหเกิดปญญา ไมต อ งไปปรารถนาวา ใหท กุ ขน ด้ี บั ไปเสยี ไม
ตอ งไปตั้งความอยากใหท ุกขมันดับ ความอยากนเ้ี ปน สง่ิ กอ กวนและเปน สมทุ ยั จะ
เพิ่มทุกขขึ้นมาเมื่อมันไมดับอยางใจหมาย เพราะฉะนั้นสิ่งที่ถูกตองเหมาะสมกับสิ่งที่
ปรากฏอยคู อื ความทกุ ขเ วลาน้ี กค็ อื การกาํ หนดใหร เู รอ่ื งราวรรู าวของความทกุ ขว า เกดิ
ขึ้นมาจากอะไร จะเหน็ ความจริงทงั้ ทกุ ขด วย จะเห็นความจริงทง้ั สง่ิ ทท่ี าํ ใหเ กดิ ทกุ ข
ดว ยปญ ญา นี่แหละเปนอุบายที่จะยุติความทุกขได และเปนอุบายทจี่ ะระงับดบั ทกุ ขล ง
ไดโดยไมตองสงสัย มจี ดุ นเ้ี ปน จดุ สาํ คญั

ไมตองไปปรารถนา ไมตองไปหมาย มันจะเพิ่มทุกข ตองการแตความจริง ใหรู
ความจรงิ ดูความจริงใหเห็น เมือ่ ทุกขไ มด บั มันจะตายไปดว ยกันก็ใหร ู “มันจะไปไหน
วะ?” เอายังงี้เลย เอาลงใหเด็ดถึงคราวเด็ด จติ ไมต ายไมต อ งกลัว! เอา! พิจารณาใน
สนามรบน้ี ระหวา งขนั ธก บั จติ นเ่ี ปน สนามรบของสตปิ ญ ญากบั กเิ ลสทต่ี อ สกู นั สติ
ปญ ญา กเิ ลส นน้ั เปน อนั หนง่ึ ขนั ธเ ปน อนั หนง่ึ มนั เปน คนละอยา งกนั ตามความจรงิ

ถา ขนั ธไ มป กตจิ ะเปน ขนั ธใ ดกต็ าม จิตตองกระเทือน ถา สตปิ ญ ญาไมท นั จติ ตอ ง
กระเทือนและทุกขรอนไปดวย เพราะตามปกติจติ แลว ตอ งยดึ ถอื ขนั ธเ หลา นว้ี า เปน ตน
อยางฝงใจ เพราะอะไร? เพราะกเิ ลสพาใหฝ ง การพจิ ารณาสง่ิ เหลา นโ้ี ดยแยกสว นแบง
สว นออกไป ยอ มเปน การถอดถอนกเิ ลส คอื ความสาํ คญั นน้ั ๆ ใหเ บาบางลง จนกระทั่ง
ความสาํ คญั เหลา นห้ี มดไป คําวา “นน่ั เปน เรา,นี่เปนเรา” กห็ มดไปไมต องบงั คบั แตมัน
หมดไปดวยการพิจารณา น่ีแหละที่วา “ปญญาตัดขาด ตดั ขาดอยา งนเ้ี อง”

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๐

๑๕๑

กรณุ าฟง ใหถ งึ ใจ เพราะเทศนอยางเต็มภูมิแบบถึงใจ ทไ่ี ดปฏบิ ัตหิ รือสูร บกับส่ิง
เหลา น้ี ชนิดเอาชีวิตเขาประกันความเปนความตาย ไมอ าลยั เสยี ดายชวี ติ มาแลว จงตัด
ความสาํ คญั วา “นั้นเปนเรา นี้เปนของเรา” ออกใหไ ด เพราะทุกขจะพาใหจม ยงั วา เปน
เราเปนของเราอยูอีกหรือ? ยึดเอามาทําไม ทกุ ขน้นั เปน เหมอื นไฟ ยังวาเปนเราและนํา
มาเผาเราทําไมกัน ความรอ นกร็ วู า รอ น ความทกุ ขก ร็ วู า ทกุ ข ยงั จะกวาดเขา มาเผาเจา
ของเขาไปอีกหรือ ทกุ ขก ใ็ หร วู า มนั เปน ทกุ ข กาํ หนดดตู รงทว่ี า มนั ทกุ ขด ว ยปญ ญา นน่ั
เปน ความถกู ตอ งทส่ี ดุ แลว อยา ไปลบู คลาํ หาขวากหาหนามมาทม่ิ แทงหวั ใจเพม่ิ เขา อีก
ถา ไมอ ยากจมไปกบั กองทกุ ขไ มม วี นั โผลข น้ึ มาไดน ะ

เอา ทกุ ขต ัง้ อยูก ใ็ หรูวา ทุกขต้ังอยู ทุกขเกิดขึ้นขณะนี้ ตั้งอยูขณะนี้ แลวมันจะดับ
ไปขณะตอไปนั้น กค็ วรจะรเู หน็ ตามความเคลอ่ื นไหวของมนั แตจ ติ ทาํ ไมไมเ หน็ มนั
เกดิ มนั ดบั จิตกับทุกขมันเปนผูเดียวกันหรือ? ทุกขเกิดทุกขดับ ทาํ ไมไมเ หน็ จติ ดบั ไป
ดว ยกนั ? นอกจากรอู ยตู ลอดเวลาเทา นน้ั ถามีสติคอยดูจองดูมัน ฉะน้ันจงพจิ ารณา
ใหชัดเจน เมื่อทุกขไมดับและมันจะตายไปดวยกันก็ใหมันตายไป จิตยังไงมันก็ไมตาย
แนน อน ขอใหร ตู ามความจรงิ อนั นเ้ี ถดิ อยา กลวั ทกุ ขก ลวั ตายซง่ึ เปน สจั ธรรม

น่ีคือวธิ เี ผาผลาญกเิ ลสในหลกั ปจ จุบันธรรมตามทางของพระพทุ ธเจา ทานสอน
อยา งน้ี ทานประพฤติปฏิบัติอยางนี้ ทา นรเู หน็ มาอยา งน้ี ไดผ ลมาอยา งน้ี ไมเ ปน อยา ง
อน่ื เพราะกิเลสไมเปนอยางอื่น คือเปนกิเลสอยูโดยดี และธรรมคือสติปญญาก็สามารถ
แกไ ดจ รงิ ๆ ไมสงสัย

การแกก เิ ลสชนดิ ตา งๆ ดว ยศลี สมาธิ ปญ ญา ทเ่ี ราบาํ เพญ็ ปฏบิ ตั อิ ยเู วลาน้ี
เปน การกระทาํ ทถ่ี กู ตอ ง และเหมาะสมแกการแกกิเลสทุกประเภทดังพระพุทธเจาพา
ดําเนินมา อยทู ไ่ี หนกต็ ามอยา ละกจิ ทค่ี วรแกไ ข ควรถอดถอน กิจที่ควรจดจอ กิจที่ควร
สอดรู กิจที่ควรพยายามใหเขาใจ อยา เผลอตวั นอนใจวา กเิ ลสจะตายไปเองโดยไมถ กู ฆา
ดวยความเพียรทาตางๆ เพราะกเิ ลสไมใ ชห นพู อจะใหแ มวชว ยกดั ชว ยฆา ได โดยเจาตัว
ไมตองทํางาน

สว นอาการของจติ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงไปเรอ่ื ยๆ ถา มกี ารชาํ ระสะสางดว ย
ขอปฏิบตั อิ ยเู สมอ แมแ ตส มาธกิ ย็ งั ตอ งเปลย่ี นสภาพไป จากความหยาบในเบอ้ื งตน
จนเขาสูความละเอียดขน้ึ ไปเร่อื ยๆ ฐานของจติ คอื ความแนน หนามน่ั คง กจ็ ะแนน
หนามั่นคงขึ้นไปเรื่อยๆ ตามความละเอยี ดของสมาธิ

สตปิ ญ ญาเมอ่ื เรานาํ มาใชอ ยเู สมอ กจ็ ะคอ ยมกี าํ ลงั ขน้ึ เรอ่ื ยๆ และรวดเร็วขึ้น
โดยลําดับเพราะฝกซอมอยูเสมอ นแ่ี หละสง่ิ ทจ่ี ะทาํ หนา ทป่ี ราบปรามกเิ ลสคอื สตกิ บั
ปญญา มีมากเพียงไรกิเลสยิ่งกลัวมากขึ้น ถา มนี อ ยกเิ ลสกเ็ หยยี บยาํ่ ทาํ ลายจนแทบไม

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๑

๑๕๒

ปรากฏสติปญญาเลย มีแตนั่งเฝาทุกขอยูเทานั้น ปลอ ยใหท กุ ขม นั เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายเอา

และบน อยเู ทา นน้ั บนเทาไรก็ไมเปนประโยชน จะบนไปทําไม

หนาที่ของเรามียังไง ฟาดฟนมันลงไปใหเห็นเหตุเห็นผล เหน็ ความสตั ยค วาม

จริงซ่ึงมีอยูภายในจิตใจดวงน้ี เมื่อเห็นชัดเจนแลวกิเลสไมตองบอก มันแตกกระจายไป
หมด นน่ั ! และจะสูเหนือปญญาไปไมได

นั่นแหละจึงเห็นไดชัดวาอะไรเปนกิเลส อะไรเปนกงจักร อะไรเปนตัวพาใหเกิด

ใหต าย อะไรเปน ตวั ทกุ ขตัวลําบากท้งั หลาย อะไรเปนตัวยุงเหยิงวุนวาย ที่ไหนเปนที่

เดือดรอน ทไ่ี หนเปน ทว่ี นุ วาย ปญญารูชัดประจักษใจสิ้นสงสัย เพราะความเดือดรอน

วนุ วายหมดไป เพราะกเิ ลสตวั กอ ใหเ กดิ ความเดอื ดรอ นวนุ วาย สน้ิ ไปดวยอาํ นาจของ
ปญญา นน่ั !

ความหมดทกุ ขห มดทใ่ี จ รางกายมีก็เปนเรื่องของมันจะเปนไรไป มันมีของ

มนั อยจู นกระทง่ั วนั สลายนน่ั แหละ ยังเปนอยูเดี๋ยวแสดงนูน เดี๋ยวแสดงนี้ เดี๋ยวเจ็บ

ทอ ง เด๋ียวปวดหวั ไหล ปวดหลัง ปวดเอว ปวดนป้ี วดนน้ั อยยู งั งน้ั เรื่องของขันธไมมี

เวลาเปนปกติสุขไดจะวายังไง เราอยา ไปสาํ คัญมน่ั หมายมัน ใหเห็นความจริงของมันจะ

ไมเดือดรอน ถึงคราวจริงๆ มนั กเ็ ปน อยา งนน้ั นี่เราเห็นชัดตามเปนจริงอยูแลว มันจะ

แตกกแ็ ตก ยม้ิ กบั มนั ไดจ ะวา ยงั ไง เพราะไมม อี ะไรจะมาทาํ ลายใจไดน ่ี

การตายของธาตขุ องขนั ธ การสลายของธาตขุ องขนั ธ ไมใชสิ่งที่จะมาลบลางหรือ

ทําลายจิตใจใหฉิบหายไป มนั เปนเร่อื งของเขาทาํ หนาทต่ี ามธรรมชาตขิ องเขา คือเขาทํา
หนา ทต่ี าม “ไตรลกั ษณ” ไดแ ก “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตตฺ า” เขาก็ทําของเขาไป สติปญญาเรา

มีเพียงไรก็พิจารณาไปไมหยุดยั้ง จนรูรอบตัวโดยสมบูรณ
ผูที่รูกฎไตรลักษณก็พิจารณาเห็นตามความเปนจริงไปชื่อวา “ผฉู ลาด” นแ่ี หละ

ทา นวา “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหฉ ลาดที่ตรงนี้ สวดใหด นี ะ “กสุ ลา ธมมฺ า” อยา คอยแตจ ะให
เขาเอาพระไปสวดใหเวลาตาย เคาะโลง ปก ๆ แปก ๆ เฮอ! ราํ คาญจะตายไป เรานะไม
อยากพบอยากเหน็ “กสุ ลา” แบบนน้ั นน่ั มนั แบบคนตายสน้ิ ทาแลว ตอ ง”กสุ ลา” แบบ
มีทา นา กเิ ลสกลวั ซ!ิ คือคดิ คนลงที่ “เบญจขันธ” ใหเ กดิ ความฉลาดขน้ึ มา และฆา กเิ ลส
ไปดวยซิ ตอนยงั เปน คนอยไู มอ ยากฉลาด เวลาตายแลว ไปกวา นเอาพระมาสวด “กสุ ลา
ธมมฺ า” ยุงไปหมด กสุ ลา ธมมฺ า ก็เทาเดิมนั่นแหละจะวายังไง ตองสวดใหถ ูกจุด

ประสงคแ ละความหมายซิ
สวด “กสุ ลา ธมมฺ า” แปลวา ความฉลาด เรยี นเรอ่ื งของตวั ใหร อบคอบใหร รู อบ

ความโงก อ็ ยใู นตวั น่ี ความฉลาดกอ็ ยใู นตวั ผลติ ข้นึ มาได “อกสุ ลา ธมมฺ า” กอ็ ยทู จ่ี ติ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๒

๑๕๓

แกจ ิตจนบริสุทธิ์แลว ไมต อ งพดู ไมต อ งสวด! “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหเ สยี เวลา “อกสุ ลา ธมฺ
มา” กเ็ สยี เวลา “อพยฺ ากตา ธมมฺ า” กเ็ สยี เวลา ถาตัวเราเปน “โมฆะ” ไมส นใจกบั “กสุ ลา
ธมมฺ า” เพอ่ื ความฉลาดดว ยสตปิ ญ ญา ดังพระพุทธเจาไดสั่งสอนไว ขณะที่ยังมีชีวิตอยู

และสามารถทาํ ไดอ ยขู ณะนย้ี อ มฉลาด รอบรตู ามความจรงิ แลว สบายดี ตายแลว ไมต อ ง
หาพระมา กสุ ลา ธมมฺ า นะ ! จงทาํ ใหถ งึ เหตถุ งึ ผลเถอะ เวลารูมันรูจริงๆ นะภายในจิต

ใจนี่ เพราะความจริงมอี ยูกบั ทกุ คน ถา ตง้ั ใจคน หาตอ งเจอ

พระพุทธเจาไมหลอกลวงโลกนี่ พระองคเ หน็ กอ นแลว รกู อ นแลว จึงนําความรู
จรงิ เหน็ จรงิ มาสอนโลก แลว ธรรมนน้ั ๆ จะปลอมไปไหน! นอกจากจติ ใจเรามนั ถกู กเิ ลส

พาใหป ลอมเทา นน้ั เอง มนั ถงึ ปลอมไดว นั ยงั คาํ่ คืนยังรุง ไดยินไดเห็นอะไรปลอมไป

หมด เพราะกเิ ลสมนั พาใหป ลอม ถาสติปญญาไดหยั่งเขาไปตรงไหน ความจริงก็ชัดขึ้น
มาตรงนั้น ปญญาเต็มที่ความจริงแสดงเต็มภูมิไมสงสัย น่แี หละทานเรยี กวา “เรยี น
ธรรมปฏบิ ัตธิ รรมจบ” จบทดี่ วงใจน้ี

เรียนเรื่องของ “วฏั จกั ร” “แก วฏั จกั ร” จบทจ่ี ติ แลว แสนสบาย! ทา นวา
โลกุตรธรรม ธรรมเหนอื โลก” ทั้งๆ ทอ่ี ยใู นโลกอยใู นขนั ธ กเ็ หนอื โลกเหนอื ขนั ธ ไม

ยอมใหข นั ธก ดขบ่ี งั คบั ไดเ หมอื นแตก อ น รูตามความจริงของมันเสียทุกอยางแลวไมมี
อะไรมากระเทือนจิตใจ ไมม ากดขบ่ี งั คบั จติ ใจไดเ ลย จึงเรียกวา “เหนอื โลก” “โลก” คือ
“ขนั ธ” เหนือที่ตรงนี้เอง

“โลกุตรธรรม” แปลวา “ธรรมเหนือโลก” “นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ”ํ ถามหาอะไร? ขอ
ใหจิตบริสุทธิ์เทานั้น กบั คาํ “นพิ พฺ านํ ปรมํ สุข”ํ กเ็ ขา กนั ไดเ อง เพราะเปนธรรมอนั

เดียวกัน
สวดไมส วด วา ไมว า กอ็ นั เดยี วกนั จงพยายามสวด “กสุ ลา ธมฺมา” ใหต วั เองนะ

อยา ไปคอยเอาพระมาสวด “กสุ ลา ธมฺมา” ใหยุงไป โดยทต่ี นไมส นใจกบั “กสุ ลา ธมมฺ า”

ทม่ี อี ยใู นตนนเ้ี ลย

ถาเปนพระผูมุงอรรถมุงธรรมจริงๆ ทา นไมอ ยากยงุ ทานราํ คาญทา นไมอ ยาก
ไป เพราะเสียเวลาบําเพ็ญเพียร นอกจากเปน “พระหากิน” นน่ั แลทอ่ี ยากไป เชน หลวง
ตาบวั อยา งนน้ี ะ ไมแ นน ะอาจเปน ขรัวตา “กสุ ลา” กไ็ ดใ ครอยา ดว นเชอ่ื นกั ใหใชสติ

ปญญาดวยดี
“เฮอ! วนั นค้ี นตายนะ กสุ ลาอาหารวา งเถดิ วนั น!้ี ” มันอาจเปนไปได

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๓

๑๕๔

แตพระทานมุงอรรถมุงธรรมทานไมสนใจอะไร ทา นขเ้ี กยี จยงุ เวลาสอนให “กุ
สลา ธมมฺ า” ไมส นใจ เวลาตายแลว มากวา นพระไป “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหย งุ ทาํ ไม? นน่ั !
ทา นวา อยา งน้ี เพราะทานแสวงธรรม ไมไดแสวงอะไรอื่นนี่

เอาละ เอวงั จบเสยี ที ขืนพูดไปมากคนเขาจะแชงเอา

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๔

๑๕๕

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๔ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙

อบุ ายฝก จติ ทางลดั

มผี ถู ามปญ หาพอระลกึ ไดบ า งกป็ ญ หา “ปากคอก” นแ่ี หละ มอี ยกู บั ทกุ คน วา
“โลกหนา มไี หม? โลกหนา กบั ผไู ปโลกหนา โลกหลงั อะไรเหลา น้ี มันก็ไมใชเรื่องของใคร
แตเ ปน เร่อื งของเราทุกคนที่กําลงั แบกภาระอยนู ้ี มผี ถู ามอยา งนน้ั เราก็ถามเขาวา “เม่อื
วานนม้ี ไี หม แลวเมื่อเชานี้มีไหม? ปจ จบุ นั ณ บดั น้ีมีไหม?” เขากย็ อมรับวา มี “แลว วนั
พรุงนี้จะมีไหม วนั มะรนื เดอื นนเ้ี ดอื นหนา ปน ป้ี ห นา ปตอๆ ไปจะมีไหม?

สง่ิ ทม่ี มี าแลว พอจาํ ไดก พ็ อเดาไปได ถึงเรื่องยังไมมาถึงก็ตาม ก็เอาสิ่งที่จําไดซึ่ง

ผา นมาแลว มาเทยี บเคยี งกบั สง่ิ ทเ่ี คยมเี คยเปน มาแลว ขางหนาจะตองเปนไปตามที่เคย

เปนมานี้ เชน เมอ่ื วานนม้ี มี าแลว วนั นก้ี ม็ ี มนั เคยผา นมาอยา งนเ้ี ปน ลาํ ดบั เรารแู ละจาํ

ไดไมลืม แลว ตอนบา ย ตอนคาํ่ ตอนกลางคนื จนถงึ วันพรุงนีเ้ ชา เราก็เคยรูเคยเห็นมา

แลว เรื่องมันเปนมาผานมาอยางนั้นซึ่งไมมีอะไรผิดกัน และยอมรบั วา มดี ว ยกนั

ความสงสยั โลกนโ้ี ลกหนา หรอื เกย่ี วขอ งกบั ตวั ก็คอื ความหลงเรอ่ื งของตวั นน่ั
แหละ มันจึงกลายเปนเรื่องใหญโ ต และกวนใจใหย งุ อยไู มห ยดุ ทว่ั โลกสงสาร วา “โลก
หนา มไี หม? คนตายแลว ไปเกดิ อกี ไหม?” นน่ั มนั คกู นั กท็ ี่เกิดท่ตี ายน้คี ือใครละ ? กค็ อื

เรานน่ั เองทเ่ี กดิ ทต่ี ายอยตู ลอดมา มาโลกนไ้ี ปโลกหนา กค็ อื เราจะเปน ใคร ถา ไมใ ช
“สตั วโ ลก” ผูเปนนักทองเที่ยวนี้ ไมม ใี ครเปนผแู บกหามปญหาและภาระเหลาน!ี้

นี่โทษแหง ความหลง ความจําไมได มนั มาแสดงอยกู ับตวั เรา แตเ ราจบั สาเหตุ

ของมนั ไมไ ดว า เปน มาเพราะเหตใุ ด สิ่งที่เปนมาที่ผานมาแลวมันก็จําไมได เรอ่ื งของ

ตวั เลยหมนุ ตวั เอง พันตัวเอง ไมทราบจะไปทางไหน ความหลงตัวเองจึงเปนเรื่องยุง

ยากอยไู มห ยดุ หลงสง่ิ อน่ื กย็ งั คอ ยยงั ชว่ั หลงตวั เองนี้มนั ปด ตันหาทางออกไมได ผลก็

สะทอ นกลบั มาหาตวั เราเองไมไ ปทอ่ี น่ื คอื นาํ ความทกุ ขม าสตู วั เรานน่ั แล เพราะความ

สงสยั เชน นเ้ี ปน ปญ หาผกู มดั ตวั เอง มิใชปญหาเพื่อแกตัวเองใหหลุดไปไดเพราะความ

สงสยั นน้ั ถาไมพิสูจนดวยธรรมทางจิตตภาวนาไมม หี วงั เขาใจได

พระพุทธเจาจึงทรงสอนใหคลี่คลายดูเรื่องของตัว แตการจะคลี่คลายเรื่อง

ของตวั นน้ั สาํ คญั มาก จะทาํ แบบดน เดาเอาดว ยวธิ คี าดคดิ หรอื ดว ยวธิ อี น่ื ใดไมส าํ เรจ็
ได! นอกจากจะทาํ คุณงามความดีขน้ึ มาโดยลาํ ดบั เปน เครื่องสนบั สนุน และยนเขา มาสู

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๕

๑๕๖

“จิตตภาวนา” เพื่อคลี่คลายดูเรื่องของตัว อนั รวมอยใู นวงของจติ ตภาวนา ซึ่งจะพาใหรู
แจงแทงความสงสัยนั้นใหทะลุไปได พรอมทั้งผลอันเปนที่พึงใจ หายสงสยั ทง้ั การตาย
เกิดตายสูญ

เรอ่ื งของตวั คอื อะไร? ก็คือเรื่องของใจ ใจเปน ผแู สดง เปนผูกอ เหตุกอ ผลใสตวั
อยตู ลอดเวลา ทงั้ ความสุขความทกุ ข ความยงุ เหยงิ วนุ วายตา งๆ สว นมากมกั แสดง
ความผกู มดั ตวั เองมากกวา การบาํ รงุ สง เสรมิ ถา ไมใ ชค วามบงั คบั บญั ชาในทางทด่ี ี ใจ
จึงมีแตความรุมรอนเปนผล คอื ความทกุ ขท เ่ี กดิ ขน้ึ จากความฟงุ ซา นวนุ วาย ใจคดิ สา ย
แสไปในแงตางๆโดยหาเหตุหาสาระไมได แตผลที่จะพึงไดรับนั้น มนั เปน สง่ิ สาํ คญั อนั
หนึ่งที่จะทําใหเราเกิดความทุกขความกระทบกระเทือนได จึงเปนเรื่องยากเรื่องหนัก
สาํ หรบั บรรดาผยู งั หลงโลกหลงตวั เอง และตน่ื โลกตน่ื ตวั เองอยู โดยไมสนใจพสิ ูจนตัว
เองดวยหลักธรรมอันเปนหลักรับรองความจริงทั้งหลาย เชน ตายแลว ตอ งเกดิ อกี
เปนตน เมอ่ื ยงั มเี ชอ้ื ใหง อกทพ่ี าใหเ กดิ อยภู ายในใจ ตอ งเกดิ อีกอยูราํ่ ไปไมเปนอยางอ่นื
เชน ตายแลว สญู เปนตน

พระพุทธเจาทานทรงสอนใหดูตัวเรื่อง คอื ดใู จตวั เองผพู าใหเ กดิ ตาย ถายังไม
เขา ใจกต็ อ งบอกวธิ กี ารในแงต า งๆ จนเปน ทเ่ี ขา ใจและปฏบิ ตั ไิ ดถ กู ตอ ง เฉพาะอยา ง
ยิ่งการสอนใหภ าวนา โดยนําธรรมบทใดก็ตามมาบริกรรมภาวนา เพื่อใหจิตดวงที่หา
หลักยึดยังไมได กาํ ลังวุนวายหาท่พี ึ่งยงั ไมเ จอ จนกลายเปนความหลงใหลใฝฝนไมมี
ประมาณ ไดยึดเปนหลักพอตั้งตัวได และมคี วามสงบเยน็ ใจไมว อกแวกคลอนแคลน
อนั เปน การทาํ ลายความสงบสขุ ทางใจทเ่ี ราตอ งการ เชน ทานสอนใหภาวนา “พุทโธ ธมั
โม สังโฆ” หรือ “อฏั ฐิ เกสา โลมา” บทใดบทหนง่ึ ตามแตจ รติ ชอบ โดยความมสี ตคิ วบ
คมุ ในคาํ บรกิ รรมภาวนาของตน อยา ใหเ ผลอสง ใจไปทอ่ี น่ื จากคาํ บรกิ รรมภาวนา เพื่อ
ใหจ ติ ที่เคยสงไปในที่ตางๆ นน้ั ไดเ กาะหรอื อาศยั อยกู บั อารมณแ หง ธรรม คือคํา
บรกิ รรมภาวนานน้ั ๆ ความรทู ี่เคยฟุงซานไปในอารมณตางๆ กจ็ ะรวมตวั เขา มาอยใู น
จุดนั้น คือจิตซึ่งเปนที่รวมแหงความรู กระแสแหงความรูทั้งหมดจะรวมตัวเขามาสู
อารมณแหงธรรม ทบ่ี รกิ รรมหรอื ภาวนาอยดู ว ยความสนใจ ก็เพราะบทธรรมบรกิ รรม
อันเปน เครอ่ื งเกาะของจิต เปน เครือ่ งยึดของจิต ใหต ง้ั หลกั ขน้ึ มา เปน ความรอู ยา ง
เดน ชดั เปน ลาํ ดบั นน้ั แล ฉะนน้ั ขน้ั เรม่ิ แรกของการภาวนา คาํ บรกิ รรมจงึ สาํ คญั มาก

เมอ่ื ไดเ หน็ คณุ คา สารธรรม ทป่ี รากฏขน้ึ เปน ความสงบสขุ เชน นแ้ี ลว ในขณะ
เดียวกันกเ็ หน็ โทษแหง ความฟงุ ซา นวนุ วายของจติ ทห่ี าหลกั ยดึ ไมไ ด และกอ ความ
เดอื ดรอ นใหแ กต วั อยา งประจกั ษใ จในขณะนน้ั โดยไมตองไปถามใคร คณุ และโทษของ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๖

๑๕๗

จติ ทสี่ งบและฟุงซาน เราทราบภายในจติ ของเราเองดว ยการปฏิบัตจิ ิตตภาวนา นี่
เปน ขน้ั หนง่ึ อนั เปน ขน้ั เรม่ิ แรกทท่ี า นสอนใหร เู รอ่ื งของจติ

แลว พยายามทาํ จติ ใหม คี วามสงบแนว แนล งไปเปน ลาํ ดบั ดว ยการภาวนากบั บท
ธรรมดังที่กลาวมานี้ เจรญิ แลว เจรญิ เลา จนมคี วามชาํ นชิ าํ นาญ กระทั่งจิตสงบไดตาม
ความตอ งการ ความสุขเกิดขึ้นเพราะใจสงบก็ยิ่งเดนชัดขึ้นทุกวันเวลา พอจิตสงบตัวขึ้น
มาปรากฏเปน ความรเู ดน ชดั แลว ในขณะเดยี วกนั กเ็ ปน การรวมกเิ ลสเขา มาสจู ดุ
เดยี วกนั เพอ่ื เหน็ ไดช ดั และสังเกตความเคลื่อนไหวของมันไดงายขึ้น และสะดวกแก
การแกก ารถอดถอนดว ยปญ ญา ตามขน้ั ของปญญาทีค่ วรแกก เิ ลสประเภทหยาบ กลาง
ละเอยี ด ตามลาํ ดบั ไป

คาํ วา “กเิ ลส” ซึ่งเปนเครื่องบังคับจิตใจใหฟุงซานไปในแงตางๆ จนคาํ นงึ
คํานวณไมไดนั้น เราไมส ามารถทจ่ี ะจบั ตวั ของมนั ไดว า อะไรเปน กเิ ลส อะไรเปน จติ
เปน ธรรม ตอ งอาศยั ความสงบของใจเปน พน้ื ฐานกอ น เมื่อจติ สงบตัวเขามา กเิ ลสก็
สงบตัวเขา มาดว ย เมอ่ื จติ หดตวั เขา มาเปน ตวั ของตวั หรอื เปน จดุ หมายพอเขา ใจได
เรอ่ื งของกเิ ลสกร็ วมตวั เขา สวู งแคบในจดุ เดยี วกนั คือรวมตัวเขามาที่จิต ไมค อ ยออก
เพน พา นกอ กวนจิตใจเหมอื นแตก อ นทจ่ี ติ ยงั ไมส งบ พอจิตสงบเย็นพอตง้ั ตวั ไดบ า ง
แลว หรือตั้งตัวไดแลว จากนน้ั ทา นสอนใหพ จิ ารณาคลค่ี ลายดอู าการตางๆ ของรา ง
กายอนั เปน ทซ่ี มุ ซอ นของกเิ ลสทางดา นปญ ญาวา “จิตไปสนใจกับอะไร? ในขณะที่ไม
สงบใจไปยงุ กบั เรอ่ื งอะไรบา ง?” แตใ นขณะทใ่ี จสงบเปน อยา งน้ี ไมก อ กวนตวั เอง

แตปกตินิสัยของคนเรา พอมคี วามสงบสบายบา งมกั ขเ้ี กยี จ คอยแตล ม ลง
หมอน ไมอ ยากคลค่ี ลายรา งกายธาตขุ นั ธด ว ยสตปิ ญ ญาเพอ่ื รคู วามจรงิ และถอดถอน
กิเลสตางๆ ออกจากใจ โดยไมคํานึงวาการละการตัดกิเลสประเภทตางๆ ที่แทรกสิงอยู
ในกายในขนั ธน น้ั ทา นละทา นถอนดว ยสตปิ ญ ญา สว นความสงบของจติ หรอื “สมาธ”ิ
นน้ั เปน เพยี งการรวมตวั ของกเิ ลสเขา มาสวู งแคบเทา นน้ั มใิ ชเ ปน การละการถอน
กเิ ลส จงึ กรณุ าทราบไวอ ยา งถงึ ใจ

ใจขณะที่ยังไมสงบ มกั ไมย งุ กบั รปู เสยี ง กลน่ิ รส เครื่องสัมผัส แลว นํามาเปน
อารมณก วนใจ บรรดารปู เสยี ง ฯลฯ นั้น จิตไปหนักในอารมณอะไร ซึ่งพอทราบได
ดวยสติปญญา ขณะพจิ ารณาจิตแสดงออกไปเก่ยี วของกบั อารมณอันใด กพ็ อทราบกนั
ไดโดยทางสติปญญา เร่อื งราวของจิตกพ็ อมองเห็นได เพราะจติ เคยสงบ พอเริ่มออกไป
สูอารมณตางๆ กท็ ราบ ทา นจงึ สอนใหพ จิ ารณาคลค่ี ลายดว ยปญ ญาเพอ่ื ใหท ราบวา สง่ิ
ทจ่ี ติ ไปเกย่ี วขอ งนน้ั คอื อะไรบา ง พยายามดูใหรูใหเห็นอยางชัดเจนดวยสติปญญาขณะ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๗

๑๕๘

ออกพจิ ารณา เวนแตข ณะทาํ ใจใหส งบโดยทางสมาธกิ ไ็ มพ จิ ารณา เพราะ “สมาธ”ิ
กบั “ปญ ญา” นน้ั ผลดั เปลย่ี นทาํ งานคนละวาระ ดงั ทไ่ี ดเ คยอธบิ ายแลว

ขณะที่พิจารณา “รูป” คอื รปู อะไรทใ่ี จไปเกย่ี วขอ งมากกวา เพอ่ื น เพราะเหตุใด?
ดรู ูปขยายรูป แยกสว นแบง สว นรปู นน้ั ใหเห็นชัดเจนตามความจริงของมัน เม่ือแยก
แยะสว นรปู จะเปนรูปอะไรก็ตาม ใหเห็นตามเปนจริงของมันดวยปญญา ในขณะเดียว
กนั กจ็ ะไดเ หน็ ความเหลวไหลหลอกลวงของจติ ทไ่ี ปยดึ มน่ั ถอื มน่ั สาํ คญั ผดิ ตา งๆ โดย
หาสาเหตุอะไรไมได หามูลความจริงไมได เพราะเมอ่ื พจิ ารณาละเอยี ดแลว ไมม อี ะไร
เปน สาระตามทใ่ี จไปสาํ คญั มน่ั หมาย มแี ตค วามสําคญั ของจิตไปลมุ หลงเขาเทา น้นั
เมอ่ื พจิ ารณาแยกแยะสว นตา งๆ ของรางกาย “เขา” หรอื รา งกาย “เรา” ออกดโู ดย
ละเอยี ดถถ่ี ว นแลว ไมเ หน็ สาระอะไร ใจกเ็ หน็ โทษของความสาํ คญั มน่ั หมาย ความยดึ
มน่ั ถอื มน่ั ของใจไปเอง เมื่อพิจารณาหลายครั้งหลายหนเทาไรก็ยิ่งชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งรูป
และเสยี ง กลน่ิ รส เครื่องสัมผัสตางๆ ทง้ั อาการของจติ ทไ่ี ปเกย่ี วขอ งกบั อาการนน้ั ๆ
จนรูแจงเห็นชัดดวยปญญา เพราะคลค่ี ลายอยอู ยา งสมาํ่ เสมอทง้ั ภายนอกและภายใน รู
แจงเห็นชัดอาการของจิตทางภายในที่ไปเกี่ยวของวา เปนเพราะเหตุนั้นๆ อันเปนเร่อื ง
เหลวไหลทั้งเพ

แตก อนไมทราบวามันเก่ียวของกนั เพราะเหตุไร ตอ มากท็ ราบชดั วา มนั ไปเกย่ี ว
ของเพราะเหตุนั้นๆ คือเพราะความหลงความสําคัญผิด เมื่อพิจารณาตามความจริง
เหน็ ความจรงิ ในสง่ิ ภายนอกแลว กท็ ราบชดั ทางภายในวา “จิต ไปสาํ คญั วา สภาวธรรม
ตางๆ เปน อยา งนน้ั ๆ จงึ เกดิ อปุ าทานความยดึ มน่ั ถอื มน่ั หรอื เกดิ ความรกั ความชงั ขน้ึ
มา เปนกิเลสเพิ่มพูนไปเรื่อยๆ ใจก็ทราบถึงความเหลวไหลของตน

จิตเมอ่ื ทราบวาตวั เปน ผูลมุ หลงเหลวไหลแลวกถ็ อนตัวเขามา เพราะแมจะฝน
คิดไปยึดมั่นถือมั่น สง่ิ เหลานั้นก็ถูกปญญาแทงทะลไุ ปหมดแลว ไปยดึ มน่ั ถอื มน่ั หา
อะไร! การพจิ ารณาทราบชดั แลว วา สง่ิ นน้ั เปน นน้ั สง่ิ นเ้ี ปน น้ี ตามความจริงของแตละสิ่ง
ละอยา ง นีแ่ หละคือวิธีคลี่คลาย “กองปญ หาใหญ” ทร่ี วมแลว เปน ผลคอื กองทกุ ขภ าย
ในใจ ทา นสอนใหค ลค่ี ลายอยา งน้ี

เม่อื ปญญาคล่ีคลายอยูโดยสม่าํ เสมอไมล ดละ จนเขาใจแจมแจงชัดเจนแลว ไม
ตอ งบอกใหป ลอ ย จิตรแู ลว ปลอ ยเอง ยอ มปลอ ยเอง จิตที่ยึดคือจิตที่ยังไมรูไมเขาใจ
ดวยปญญา เมื่อรูอยางเต็มใจแลวก็ตองปลอยเต็มที่ ไมม อี าลยั เสยี ดาย ความกงั วลทง้ั
หลายทจ่ี ติ เคยกงั วลเสยี ดายนน้ั กห็ ายไปเอง เพราะปญญาสอดสองมองทะลุเห็นแจง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๘

๑๕๙

เห็นชัดไปหมดแลวจะไปงมอะไรอีก ปญหาของใจทีเ่ คยกวา งขวางก็แคบเขามา เกย่ี วกบั
เรื่องตางๆ ภายนอกกห็ มดไป ๆ เขาทํานองที่เคยเทศนนั้นเอง

จากนน้ั กม็ าคลค่ี ลายดจู ติ อนั เปน ทร่ี วมของกเิ ลสสว นละเอยี ดวา แยบ็ ออกไป
หาเรอ่ื งอะไรบา ง?” และ “แยบ็ ออกไปจากทไ่ี หน? มอี ะไรเปน เครอ่ื งผลกั ดนั ใหจ ติ
คิดปรุงเรอื่ งตา งๆข้นึ มา?” พอสตปิ ญ ญาทนั ความคดิ ปรงุ ทแ่ี ยบ็ ออกในขณะนน้ั มนั ก็
ดบั ในขณะนน้ั ไมถ งึ กบั เปน เรอ่ื งเปน ราวอะไรขน้ึ มาใหย งุ ยากเหมอื นแตก อ น เพราะ

สตทิ นั ปญ ญาทนั คอยตีตอนปราบปรามกนั อยูเสมอ เพราะขยบั ตามรอ งรอยแหง ตน
เหตเุ ขา ไปเรอ่ื ยๆ จนถึง “ตน ตอกเิ ลส” วา มอี ยู ณ ทใ่ี ดกนั แน ลกู เตา หลานเหลน
กเิ ลสมนั ออกมาจากไหน สัตวตางๆ ยังมีพอแม พอ แมข องกเิ ลสเหลา นค้ี อื อะไร? และ
อยทู ไ่ี หน? ทําไมจึงปรุงแลวปรุงเลา คิดแลวคิดเลา ทาํ ใหเ กดิ ความสาํ คญั มน่ั หมาย
ขยายทุกขอยูไมหยดุ ไมถอย?

ความจริงการคิดปรุงก็คิดปรุงขึ้นที่จิต ไมไ ดค ดิ ปรงุ จากที่อนื่ จงพิจารณาตาม
เขา ไปโดยลาํ ดบั ๆ ไมล ดละรอ งรอยอันจะเขาหาความจรงิ จนถงึ ตวั นคี่ อื การคิดคนดู

เรอ่ื งของกเิ ลสทง้ั มวลดว ยกาํ ลงั ของสตปิ ญ ญาอยางแทจริง จนทราบวา จิตนีไ้ ดขาด

จากสง่ิ ใดแลว สง่ิ ใดทย่ี งั มคี วามสมั ผสั สมั พนั ธ และสนใจอยากรอู ยากเหน็ กนั อยเู วลาน้ี

จงึ ตามสอ่ื ตามเชอ้ื นเ้ี ขา ไป กเิ ลสกน็ บั วนั เวลาแคบเขา มา ๆ เพราะถกู ตดั สะพานท่ี

สบื ตอ กบั รูป เสียง กลน่ิ รส เครอ่ื งสมั ผสั สมั พนั ธ และสิ่งตางๆ ทั่วโลกดินแดน ออก
จากใจดวยสติปญญาไปเรื่อยๆ จนหายสงสัย เหมอื นโลกภายนอกไมม ี เหลือแต
อารมณท ี่ปรงุ ยบิ แยบ็ ๆ ไปภายในจติ เทา นน้ั ซึ่ง “กษตั รยิ ใ หญต วั คะนอง” กอ็ ยทู น่ี ้ี ตัว
ปรุงแตง ตวั ดน้ิ รนกระวนกระวายนอ ยใหญ จึงอยูที่นี่

แตก อ นใจดนิ้ ไปไหนบางก็ไมทราบ ทราบแตผลท่ปี รากฏขึน้ มาเทาน้ัน ซึ่งไม
เปนที่พึงใจเลยทุกระยะไป คือมีแตความทกุ ขซึ่งโลกไมต อ งการกนั ใจเราเองก็แบกแต
กองทกุ ขจ นหาทางออกไมไ ด เพราะไมทราบเงื่อนแกเ งื่อนไขกัน ทนี พ้ี อทราบแลว เรื่อง
เหลา นี้คอยหมดไปส้นิ ไป ก็ยิ่งรูชัดเห็นชัดที่จิต ซึ่ง”อวชิ ชา” มาแสดงเปนตัวละคร เปน
ตวั เรอ่ื งราวอยภู ายในตวั เอง หาทีย่ ดึ ที่เกาะอะไรกบั ภายนอกไมไ ด เปน แตแ สดงอยภู าย
ในตัว เพราะเหตุใดจึงไมยึดไมเกาะ ก็เพราะสติปญญาเขาใจและหวานลอมไวแลว จะ
ไปยึดไปเกาะอะไรไดอีก เรื่องมันก็มีแต “ยบิ แยบ็ ๆๆ” อยเู ฉพาะภายในจติ ยงิ่ เหน็ ได
ชดั กาํ หนดเขาไปพิจารณาเขาไป คยุ เขย่ี ขดุ คน ดว ยสตปิ ญ ญาเขาไปจนรอบตัว ทุก

ขณะทอ่ี าการของจติ เคลอ่ื นไหวไมม กี ารพลง้ั เผลอ ดังสติปญญาขั้นเริ่มแรกที่ลมลุก
คลกุ คลาน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๕๙

๑๖๐

ความเพยี รขณะนไ้ี มว า ทกุ อริ ยิ าบถเสยี แลว แตก ลายเปน ทุกขณะทจี่ ิตกระเพอื่ ม
ตวั ออกมา สตปิ ญ ญาตอ งรทู ง้ั ขณะทก่ี ระเพอ่ื มออก รูทั้งขณะที่ดับไป เรื่องราวที่จะเกิด
ขึ้นขณะที่จิตปรุงแตงและสําคัญมั่นหมายจึงไมมี เพราะสติปญญาประเภทจรวดดาว
เทียมตามทันกัน พอกระเพื่อมก็รู รูแลวก็ดับ เรื่องราวไมเกิดไมตอ เกิดขึ้นมาขณะใดก็
ดับไปพรอมขณะนั้น ไมแ ตกกง่ิ แตกกา นออกไปไหนได เพราะถกู ตดั สะพานออกแลว
จากเรื่องภายนอกดวยปญญา

เมอ่ื สตปิ ญ ญาคน ควา อยอู ยา งไมล ดละไมท อ ถอย ดว ยความสนใจอยากรอู ยาก
เหน็ และอยากทาํ ลายสง่ิ ที่เปนภัย ทใ่ี หก อ กาํ เนดิ เกดิ เปน สตั วเ ปน บคุ คล พาทอง
เทย่ี วในวฏั สงสาร คอื อะไรกนั ? อะไรเปน เหตเุ ปน ปจ จยั ใหส บื ตอ และมอี ยทู ไ่ี หน
เวลาน้?ี นี่เรียกวา “คยุ เขย่ี ขดุ คน ” จิตอวชิ ชาดวยสตปิ ญญา กไ็ มพ น ทจ่ี ะรจู ะเหน็ และ
ตดั ขาดตวั เหตปุ จ จยั อนั สาํ คญั ทก่ี อ ทกุ ขใ หแ กส ตั วโ ลก คอื กเิ ลสอวชิ ชา ที่แทรกอยู
ในจติ อยา งลกึ ลบั นี้ไปได นน่ั ! เหน็ ไหม อาํ นาจของสตปิ ญ ญา ศรัทธา ความเพียรขั้นนี้
ทีผ่ ูปฏิบัตทิ งั้ หลายไมเ คยคาดคดิ มากอ น วาจะเปนไปไดถงึ ขนาดนี้

ทีนี้กิเลสเริ่มเปดเผยตัวขึ้นมาแลว เพราะไมมีที่หลบซอน รูป เสยี ง กลน่ิ รส
เครื่องสัมผัส ซ่ึงเปน ท่เี คยหลบซอ นแตกอนไมมแี ลว เพราะไดตัดสะพานออกหมดแลว
กม็ ที ห่ี ลบซอ นอยเู ฉพาะจิตแหง เดยี วเทา นน้ั คอื จติ เปน ทห่ี ลบซอ นของ “อวชิ ชา” เมื่อ
คนควาลงไปที่จิตจนแหลกแตกกระจายไปหมดไมมีอะไรเหลือ เหมอื นกบั พจิ ารณา
สภาวธรรมทว่ั ๆ ไปที่เคยดําเนินมาโดยทางปญญา “จติ อวชิ ชา” นก่ี ถ็ กู พจิ ารณาแบบ
นน้ั สุดทายกเิ ลสช้นั ยอดคืออวชิ ชา จอมกษตั รยิ ข องวฏั จกั ร กแ็ ตกกระจายออกจากใจ
หมด! ทนี เ้ี ราจะไมท ราบยงั ไงวา ตวั ไหนเปน ตวั กอ เหตใุ หเ กดิ ภพนน้ั ภพน้ี สว นจะ
เกิดที่ไหนไมเกิดที่ไหนนั้นไมสําคัญ สาํ คญั ทต่ี วั นเ้ี ปน ตวั เหตใุ หเ กดิ ตายอยางประจกั ษ
ใจ

นแ้ี ลการพสิ จู นก ารตายแลว เกดิ อกี หรอื ตายแลว สญู ตองพิสูจนตัวจิตดวย
การปฏบิ ตั ติ ามหลกั จติ ตภาวนา ดังพระพุทธเจาและสาวกทรงปฏิบัติและทรงรูเห็น
ประจักษพระทัยมาแลว อยา งอน่ื ๆ ไมม ที างรไู ด อยา พากนั ลบู คลาํ ดน เดาเกาหมดั จะ
กลายเปนขี้เรื้อนเปอนไปทั้งตัว โดยไมเกิดผลใดๆ เลย

เมอ่ื ถงึ ขน้ั น้ี เรยี กวา ไดท าํ ลายความเกดิ ซง่ึ เปน เชอ้ื สาํ คญั อยภู ายใน ออกโดยสน้ิ
เชิงแลว ตั้งแตบัดนี้เปนตนไปไมมีสิ่งใดจะสืบตอกอแขนงไปอีกแลว สติปญญาขั้น
“ธรรมภิสมัย” ทราบไดอยา งสมบรู ณ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๐

๑๖๑

นแ่ี หละทว่ี า “โลกหนา มไี หม?” คอื ตวั นแ้ี ลเปน ผไู ปจบั จองโลกหนา ตวั นแ้ี ลเปน

ผเู คยจองโลกทผ่ี า นมาแลว ตวั นแ้ี ลเปน ตวั ทเ่ี คยเกดิ เคยตายซาํ้ ๆ ซากๆ ไมห ยดุ ไมถ อย

จนไมส ามารถจดจาํ เรอ่ื งความเกดิ ความตาย ความสขุ ความทุกข ความลาํ บากมากนอ ย
ในภพกาํ เนดิ นน้ั ๆ ของตนได คือตัวนี้แล!

กรณุ าจาํ หนา ตาของมนั ไวใ หถ งึ ใจ และขดุ คน ฟน ลงไปอยา งสะบน้ั หน่ั แหลกอยา

ออมแรง จะเปนการทําอาหารไปเลี้ยงมันใหอิ่มหมีพีมัน แลว กลบั มาทาํ ลายเราอกี

เมื่อประมวลกิเลสทั้งหลายก็มาอยูที่จิตดวงเดียว รวมกันที่นี่ ทาํ ลายกนั ทน่ี ่ี พอ

ทาํ ลายมนั เสรจ็ สน้ิ ลงไปโดยไมมีอะไรเหลือแลว ปญ หาเรอ่ื งความเกดิ ความตาย

ความทกุ ขค วามลาํ บาก อนั เปน ผลมาจากความเกดิ ความตายน้ีกไ็ มม ี รูไดอยางชัดๆ
โดย “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” อยางเต็มภูมิ

เรอ่ื งโลกหนา มีไหม? กห็ มดปญ หา โลกทเ่ี คยผา นมาแลว กล็ ะมาแลว โลกหนา ก็

ตดั สะพานขาดกระเด็นออกไปหมดแลว ปจจุบันก็รูเทา ไมม อี นั ใดเหลอื อยใู นจติ นน้ั เลย
ขน้ึ ชอ่ื วา “สมมุติ” แลวแมละเอียดเพียงไร! นแี่ ลคอื จิตที่หมดปญหาแท! การแกป ญ หา
ใหจิตก็แกที่ตรงนี้ เมื่อแกตรงนี้หมดแลวจะไมมีปญหาอะไรอีก!

โลกจะกวา งแสนกวา งหรอื มกี จ่ี กั รวาลนน้ั เปน เรอ่ื งหนง่ึ ตา งหากของ “สมมุติ”

ซึ่งหาประมาณไมได ใจทร่ี รู อบตวั แลว ไมย งุ เกย่ี วดว ย

เร่อื งสาํ คญั ที่ทําความกระทบกระเทอื นแกต นอยูเสมอมาไมล ดละกระทั่งปจจบุ ัน

และจะเปนไปขางหนาก็คือเรื่องของจิต ตวั มภี ยั ฝง จมอยภู ายในตวั นเ้ี ทา นน้ั เมอ่ื แกภ ยั

นอ้ี อกหมดแลว ก็ไมมีอะไรจะเปนพิษเปนภัยตอไปอีก เรอ่ื งโลกหนา โลกหลงั จะมหี รอื

ไมมนี ั้นหมดความสนใจท่ีจะคดิ เพราะทราบอยางถึงใจแลววาตัวนี้หมดปญหาที่จะไป

สบื ตอ ในโลกไหนๆ อกี แลว นแ่ี หละการเรยี นแกป ญ หาตนเอง จงแกลงที่ตรงนี้จะมี

ทางสิ้นสุดลงได ทง้ั ไมเ ปน โทษภยั แกต วั และผอู น่ื แตอ ยา งใด

พระพุทธเจาก็ทรงแกที่ตรงนี้ สาวกอรหตั อรหนั ตท า นกแ็ กท ต่ี รงน้ี รูกันที่ตรงนี้
ตัดไดขาดโดยสิ้นเชิงที่ตรงนี้ การประกาศองคศ าสดาขน้ึ มาวา “เปน ผสู น้ิ แลว จากทกุ ข
เปน ศาสดาเอกของโลก” กป็ ระกาศขน้ึ มาจากความรแู ละความหมดเรอ่ื งอนั นเ้ี อง การ
เรยี น”โลก” จบก็จบลงที่จิตอันนี้เอง! การเรียนธรรมจบก็จบโดยสมบูรณที่ตรงนี้

“โลก” คอื หมสู ตั ว สตั วแ ปลวา “ผูของ” ของอยูที่จิต ตัดขาดกันตรงนี้ เรียนรูกัน
ทน่ี ่ี สาวกอรหตั อรหนั ตก เ็ รยี นรกู นั ทน่ี อ่ี ยา งเตม็ ใจ หมดปญ หา! ทา นเหลา นเ้ี ปน ผแู ก

ปญ หาตก ไมมีสิ่งใดเหลือหลอเลย

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๑

๑๖๒

พวกเราเปน ผูรับเหมากองทุกขท ้ังมวล เปน ผรู บั เหมาปญ หาทง้ั มวล แตไ มย อม

แกป ญ หา มแี ตจ ะกวาดตอ นเขา มาแบกหามอยตู ลอดเวลา กองทุกขจึงเต็มที่หัวใจอะไร

ก็ไมเทา เพราะไมหนกั เทาหวั ใจท่แี บกกองทุกข การแบกกองทกุ ขแ ละปญ หาทง้ั หลาย
มนั หนกั ทห่ี วั ใจ เพราะเรียนไมจบ แบกแตก องทกุ ขเ พราะความลมุ หลง!

เรื่อง “วชิ ชา” คือ ความรจู รงิ ไดป รากฏขน้ึ แลว และทาํ ลายสง่ิ ทเ่ี ปน ภยั ทง้ั
หมดออกจากใจแลว ชื่อวา ‘เปนผูเรียนจบ” โดยหลักธรรมชาติ ไมมีการเสกสรรปนยอ
ทั้งที่หลอกตัวเองใหลุมหลงเพิ่มเขาไปอีก แตการเรียน “ธรรมในดวงใจ” จบ เปน การ

ลบลา งความลมุ หลงออกไดโ ดยสน้ิ เชงิ ไมม ซี ากเหลอื อยเู ลย
คาํ วา ‘ไตรภพ” กามภพ รูปภพ อรปู ภพ กห็ มดปญ หาลงในขณะนน้ั เพราะมนั

อยทู ใ่ี จ “กามภพ” กค็ อื จติ ใจทก่ี อ ตวั ดว ยสง่ิ นน้ั (กาม) “รูปภพ อรูปภพ” กค็ อื สมมุติสิ่ง

นน้ั ๆ ในสามภพนฝ้ี ง อยทู ใ่ี จ เมอ่ื ใจไดถ อดถอนสง่ิ เหลา นอ้ี อกไปแลว กเ็ ปน อนั หมด

ปญ หา นแ่ี กป ญ หาแกท ต่ี รงน้ี โลกนโ้ี ลกหนา อยทู น่ี ่ี เพราะการกาวไปในโลกไหนๆ กอ็ ยู

ทน่ี ่ี จะกา วไปรบั ทกุ ขม ากนอ ย ก็ตัวจิตนี้แล กงจกั รเครอ่ื งพดั ผนั มอี ยภู ายในใจน้ีไม

มใี นทอ่ี น่ื

พระพุทธเจาจึงทรงสอนลงที่จุดอันถูกตองเหมาะสมที่สุด คอื ใจ อนั เปน ตวั การ

สาํ คญั สง่ิ ทก่ี ลา วมาเหลา นม้ี อี ยกู บั ใคร ถา ไมม อี ยกู บั เราทกุ ๆ คน การแกถ า ไมแ กท ต่ี รง
นจ้ี ะไปแกท ไ่ี หนกนั ?

สตั วโ ลกจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งไปตามโลกนน้ั ๆ ดว ยอาํ นาจแหง กรรมด-ี ชว่ั ทม่ี อี ยู

กบั ใจ ผทู จ่ี ะไปสโู ลกสกู องฟน กองไฟคอื ใจน้ี ถา ไมแ กต รงนแ้ี ลว กไ็ มพ น จะไปโดนกอง

ไฟคือความทุกขรอ น ถา แกต รงนไ้ี ดแ ลว กไ็ มม ปี ญ หาวา ไฟอยทู ไ่ี หน เพราะรกั ษาตวั ได
แลว มันก็มีเทานั้น! เหลา นเ้ี ปน โลกหนกั มากสาํ หรบั มวลสตั ว ปญหาอะไรเกดิ ขึ้นมันก็
เกิดขึ้นที่ตรงนี้ วา “ตายแลว เกดิ หรอื ตายแลว สญู ” “โลกหนา มไี หม?” นรกมไี หม?
สวรรคมีไหม? “บาป บญุ มีไหม?”

ไปทไ่ี หนมแี ตค าํ ถามวา “นรก สวรรค มีไหม?” เราขี้เกียจจะตอบ ไมทราบจะ

ตอบไปทาํ ไมกนั กผ็ แู บกนรก สวรรค กค็ อื หวั ใจซง่ึ มอี ยกู บั ทกุ คนอยแู ลว จะตอบไป
ใหเ สยี เวลาํ่ เวลาทาํ ไมกนั เพราะเราไมไดเปน “สมุหบัญชนี รก สวรรค น”่ี

แกตัวเหตุที่จะไปนรกสวรรคนี่ซ!ิ แกเ หตชุ ว่ั และบาํ รงุ เหตดุ ี คําวา “ทุกข” มนั ก็
ไมม ี ถา แกถ กู จดุ แลว มนั จะผดิ ไปไหน! เพราะ “สวากขาตธรรม” สอนใหแ กถ กู จดุ ไม
ผิดจุด! คาํ วา “นยิ ยานกิ ธรรม” กเ็ ปน เครอ่ื งนาํ ผทู ต่ี ดิ อยใู นความทกุ ขร อ นดว ยอาํ นาจ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๒

๑๖๓

แหง ความลมุ หลงออกไป ดวย “สวากขตธรรม” อยแู ลว จะแกท ไ่ี หนถา ไมแ กท จ่ี ติ
ปญ หาอนั ใหญโ ตกม็ อี ยทู จ่ี ติ นเ่ี ทา นน้ั ความรอู นั นแ้ี หละ หยาบกอ็ ยกู บั ความรนู ้ี
ละเอยี ดกอ็ ยกู บั ความรนู ้ี ทาํ ใหค นหยาบทาํ ใหค นละเอยี ดกค็ อื ความรนู ้ี เพราะกเิ ลส

เปน ผหู นนุ หลงั ทําใหค นละเอยี ดใจละเอียด ก็เพราะความดีเปนเครื่องหนุน ละเอยี ด

จนกระทง่ั สดุ ความละเอยี ดแลว กส็ ดุ สมมตุ ิ ยตุ ดิ ว ยความพน ทกุ ข ไมม เี ชอ้ื สบื ตอ อกี

ตอไป
มปี ญ หาทม่ี คี นมกั ถามอยเู สมอวา การแกค วามขเ้ี กยี จจะแกว ธิ ไี หน? ถา จะเอา

ความขี้เกียจไปแกความขี้เกียจ มนั กเ็ ทา กบั สอนคนนน้ั ใหเ ปน ขา ศกึ กบั ทน่ี อนหมอนมงุ
ดว ยการนอนจนไมร จู กั ตน่ื และเหมอื นคนนน้ั ตายแลว นน่ั เอง เพราะความขี้เกียจมันทํา
ใหอ อ นเปย กไปหมดเหมอื นคนจะตายอยแู ลว จะเอาความขเ้ี กยี จไปแกค วามขเ้ี กยี จ
อยา งไรกนั เมอ่ื ไดทีน่ อนดๆี กเ็ ปน เครอ่ื งกลอ มใหค นนอนจมแบบตายแลว นน่ั เอง ตาย
อยบู นหมอน นะ ! จะวายังไง! ตน่ื แลว กย็ งั ไมย อมลกุ กค็ วามขเ้ี กยี จมนั เหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย
และบงั คบั ไมใ หล กุ น่ี การเอาความขเ้ี กยี จไปแกค วามขเ้ี กยี จมนั กเ็ ปน อยา งนน้ั แหละ

ถาเอาความขยันหม่ันเพียรเขาไปแก กล็ กุ ปบุ ปบ ขน้ึ มาสกู นั ถา มกี ารตอ สมู นั กม็ ี
หวงั ชนะจนได ถา ยอมหมอบราบไปเลยมนั กม็ แี ตแ พท า เดยี ว แตจะเรียกวา “แพ” หรือ
เรียกอะไรก็เรียกไมถูก เพราะไมม กี ารตอ สจู ะวาแพอยางไรได ถา มกี ารตอ สู สูเขาไมได
เชน คนนี้แพ คนนน้ั ชนะ แตน หี่ าทางตอ สูไมม เี ลย ยอมราบไปโดยถา ยเดยี ว จะไมวา
“บอ ยกลางเรือนของกเิ ลส” จะวาอะไร? มัน กบ็ อ ยกลางเรอื นของมนั นน่ั แหละ จะเอา
ความขเ้ี กยี จจนเปน บอ ยมนั ไปแกก เิ ลส กย็ ง่ิ กลบั เสรมิ กเิ ลสใหม ากมนู ยง่ิ ขน้ึ จะวา ยงั ไง!
โดยปกตมิ นั กเ็ ตม็ หวั ใจอยแู ลว จะสงเสริมใหม ากมายอะไรอีก จะเอาไปไวที่ตรงไหน?
ใจก็มีดวงเดียว นอกจากจะแกม นั ออกพอใหห ายใจไดบ า ง ไมย อมใหม นั นง่ั ทบั นอนทบั
จมูกจนหายใจไมไดตลอดไป

จงปลดเปลื้องมันออกพอใหม องดูตวั เองไดบ างวา ‘โอโห! นบั แตเ รม่ิ ภาวนามา
วนั นเ้ี หน็ เหลนของกเิ ลส คอื ตวั ขเ้ี กยี จ หลดุ ลอยจากตวั ไปหนง่ึ สะเกด็ เทา กนั กบั สะเกด็
ไมห ลดุ ออกจากตน ของมนั วนั นพ้ี อดตู วั เองไดบ า ง ไมมีแตกิเลสเอาปากเอาจมูกไปใช
เสียหมด นาโมโห!”

ความขยนั หมน่ั เพยี ร ความอตุ สา หพ ยายาม โดยทางเหตุผลที่เกิดประโยชน
เปน ทางของปราชญท า นดาํ เนนิ กนั แมย ากลาํ บากเรากส็ ู เหมอื นถอนหวั หนามออกจาก
เทาของเรา เจ็บก็ตองทนเอา ถาจะยอมใหมนั ฝงจมอยอู ยางน้นั ฝาเทาก็จะเนาเฟะไปทั้ง
เทาแลวกาวไปไหนไมไดเลย และเสียกระทั่งเทาดวย เพราะฉะนน้ั เหตผุ ลมอี ยอู ยา ง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๓

๑๖๔

เดียว คอื ตอ งถอนหนามออกใหไ ด! เจบ็ ขนาดไหนตอ งอดทน ถอนหนามออกใหไ ด
เหตุผลนี้ตองยอมรับ เมอ่ื ถอนออกหมดแลว มนั กห็ มดพษิ ใสยาลงไปเทาก็จะหายเจ็บ

ไมม กี ารกําเริบอกี ตอไปเหมือนท่หี นามยงั จมอยู

กเิ ลสกค็ อื หวั หนามเราดๆี นเ่ี อง เราจะยอมใหมันฝงจมอยูในหัวใจตลอดเวลา
มนั กฝ็ ง จมอยอู ยา งนน้ั ใจเนาเฟะอยูใน “วฏั สงสาร” เปนทน่ี าเบอื่ หนา ยรําคาญไมมีทส่ี น้ิ
สดุ เราตองการอยูหรือ? การเปน คนเนา เฟะนะ จงถามตัวเองอยาไปถามกิเลส จะเพิ่ม

โทษเขาอีก ถา ไมต อ งการตอ งตอ สมู นั เมื่อตอสูแลวตองมีทางชนะจนได หรอื จะแพก ่ี

ครั้งก็ตาม แตจะตองมีทางชนะมันครั้งหนึ่งจนได ลงชนะครั้งนี้ตอไปก็ชนะไปเรื่อยๆ
ชนะๆๆ เรื่อยไปเลย กระทั่งไมมีอะไรจะมาใหเราตอสู เพราะกเิ ลสหมดประตสู แู ลว !

คาํ วา “ชนะ” นน้ั ชนะอะไร! กช็ นะความขเ้ี กยี จดว ยความขยนั ชนะกเิ ลสดว ยวริ ยิ

ธรรมนะซี แลว กพ็ น จากทกุ ข นแ่ี หละการแกป ญ หาเรอ่ื งความเกดิ ตาย คอื แกท ด่ี วงใจ

มจี ดุ นเ้ี ทา นน้ั ทค่ี วรแกท ส่ี ดุ เปนจดุ ที่เหมาะสมอยางยิ่ง เปน จดุ ทถ่ี กู ตอ งในการแก แกท ่ี

ตรงนี้ แกที่อื่นไมมีทาง จะสําคัญมั่นหมายไปตงั้ กัปตงั้ กลั ป กแ็ บกปญ หาพาเกดิ พาตาย

พาทกุ ขพ าลาํ บากไปอยนู น่ั แหละ จึงไมค วรหาญคิดดน เดาเสียเวลาและตายเปลา เพราะ
เปน “อฐานะ” คือสิ่งเปนไปไมไดตามความคาดหมายดนเดา

วา “ทุกขไมมี บญุ บาปไมม ี หรือทุกขมี บญุ บาปม”ี เรากเ็ สวยกนั อยทู กุ คนไมม ี
การหลกี เวน ได คาํ วา ‘บาป” กค็ อื ความเศรา หมองความทกุ ข “คาํ วา บญุ ” กค็ อื ความสขุ
ความสบายใจนน่ั เอง กม็ อี ยใู นกายในใจของคนทกุ คนแลว จะปฏเิ สธอยา งไร? คาํ วา
“บญุ ” กช็ อ่ื ความสขุ นน้ั แลทา นใหช อ่ื วา ‘บญุ ” ความทกุ ขท า นใหช อ่ื วา “บาป” ทั้งบุญทั้ง
บาปเรากส็ มั ผสั อยทู กุ วนั เวลา จะอยโู ลกนห้ี รอื ไปโลกหนา กต็ อ งเจอ “บญุ บาป” อยโู ดย
ดี!

นรกหรอื ไมน รกกต็ ามเถอะ ถามีทุกขอยูเต็มกายเต็มใจแลว ใครอยากมาเกดิ มา
เจอละ? เรารอู ยดู ว ยกนั อยา งน้ี จะไปถามเร่อื งนรกนเรกทไี่ หนอกี เลา เพราะอยดู ว ยกนั

อยา งน้ี ทกุ ขม นั เผาอยทู ไ่ี หนกร็ อ นเชน เดยี วกบั ไฟจน้ี น่ั แล จี้เขาตรงไหนก็จี้เขาซิ มัน

ตอ งรอ นเหมอื นกนั หมด จะวา นรกหรอื ไมน รกกต็ ามใจ แตใ ครกไ็ มต องการ เพราะ
ความทกุ ขร อู ยกู บั ตวั จะหาสวรรคท ไ่ี หน? ใหย งุ ยากในหวั ใจละ

เจอความสุขซึ่งเกิดขึ้นจากการปฏิบัติธรรม เฉพาะอยา งยง่ิ คอื ความสขุ ทางใจ

นับตั้งแตความสงบเย็นใจขึ้นไปโดยลําดับ จนกระทั่งตั้งหลักตั้งฐานของจิตไดแนนหนา

มน่ั คงภายในใจ แนใ จในตวั เอง ยง่ิ กวา นน้ั เราไดห ลดุ พน ไป แลว จะไปถามหาทไ่ี หน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๔

๑๖๕

สวรรค นพิ พานนะ ไมจําเปนตองถาม เรารอู ยกู ับใจของเรา เราเปนเจาของใจ ซึ่งเปน
ตวั เหตตุ วั การอยอู ยา งชดั ๆ และครองกนั อยเู วลาน้ี จะไปหากนั ทไ่ี หนอกี ชอ่ื นรกสวรรค
นะ งมหาอะไร!

เราไดต วั มนั แลว กอ็ ยกู บั ตวั นน่ั ซิ เรื่องก็มีเทานั้น ธรรมของพระพุทธเจาไมได
หลอกคนใหล บู นน้ั คลาํ น้ี เอาตัวจริงที่ตรงน!ี้

เอาละ การแสดงกเ็ หน็ วา สมควรฯ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๕

๑๖๖

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๘

อบุ ายชาํ ระจติ ใหเ ปน ธรรม

จิตที่ไดชําระดวยดีมีความผองใสเปนประจํา ขณะทเี่ ราอยใู นสถานทท่ี ีเ่ งียบๆ ไม
มีเสียงตางๆ ปรากฏเลย เชน เวลากลางคนื ดกึ สงดั จิตทั้งๆ ที่ไมรวมไมสงบลงเปน
สมาธกิ ต็ าม เมอ่ื กาํ หนดดทู จ่ี ดุ แหง ความรนู น้ั จะเหน็ วา เปน ความละเอยี ดออ นมากท่ี
สุดจนพูดอะไรไมถูก ความละเอยี ดนน้ั เลยกลายเปน เหมอื นกบั รศั มแี ผก ระจายไป
รอบตวั และรอบทศิ สิ่งที่มากระทบทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย กไ็ ม
ปรากฏในขณะนน้ั ทั้งๆ ทจ่ี ติ ไมไ ดร วม ไมไ ดเ ปน องคแ หง สมาธิ แตเ ปน ฐานมน่ั คง
ของจติ ทช่ี าํ ระกนั ดว ยดมี าแลว แสดงความรคู วามสงา งามออ ยอง่ิ ใหเ ดน ชดั อยภู าย
ในตวั เอง

ความรชู นดิ นเ้ี หมอื นไมม รี า งมกี ายเปน ทอ่ี าศยั อยเู ลย เปน ความรทู ล่ี ะเอยี ด
มาก เดน อยเู ฉพาะตวั แมจิตไมรวมเปนสมาธิก็ตาม เพราะความละเอียดของจิต
เพราะความเดนของจิต เลยกลายเปน ความรเู ดน ทไ่ี มม ภี าพนมิ ติ ใดๆ มาปรากฏ รู
เดนอยูโดยลําพังตนเอง นเ่ี ปน ระยะหนง่ึ ของจติ

อกี ระยะหนง่ึ จิตท่ไี ดช ําระดว ยดีแลวน้หี ยงั่ เขาสูความสงบ ไมคิดไมปรุงอะไร
พักกิริยาคอื ความกระเพ่ือมความคิดความปรงุ ตางๆ ภายในจติ พกั โดยส้นิ เชงิ เหลือ
แตค วามรลู ว นๆ ทเ่ี รยี กวา “จติ เขาสคู วามสงบ” ยิ่งไมมีอะไรๆ ปรากฏเลย จะปรากฏ
เฉพาะความรนู น้ั อยา งเดยี ว เหมอื นครอบโลกธาตไุ ปหมด เพราะกระแสของจติ ไม
เหมอื นกระแสของไฟ กระแสของไฟมที ส่ี น้ิ สดุ มรี ะยะใกลห รอื ไกลตามกาํ ลงั ของไฟ
เชน แสงสวา งของไฟฟา ถา แรงเทยี นสงู กส็ วา งไปไกล แรงเทยี นตาํ่ กส็ วา งใกล

แตกระแสจิตนี้ไมเปนเชนนั้น คาํ วา “ใกล ไกล”ไมมี ทพ่ี ดู ไดช ดั ๆ กว็ า ไมม ี
กาลสถานทน่ี น่ั แหละ จิตครอบไปไดหมด ไกลกเ็ หมอื นใกล ใกลห รอื ไกลพดู ไมถ กู
เหน็ แตค วามรนู น้ั ครอบไปหมดสดุ ขอบจกั รวาล โลกทั้งโลกเลยปรากฏมแี ตความรูอัน
เดียวเทานั้น เหมือนไมมีอะไรเลยในความรูสึก ทง้ั ทท่ี กุ สง่ิ ทกุ อยา งทเ่ี คยมกี ม็ อี ยตู าม
ปกติของตน นี่แหละอํานาจของจิต กระแสของจติ ทช่ี าํ ระสง่ิ ปด บงั มวั หมองออกไป
แลว เปน อยา งนน้ั

ยิ่งจติ มคี วามบริสุทธิห์ มดจดดว ยแลว อนั นย้ี ง่ิ พดู ไมถ กู เลย ไมทราบจะพูดจะ
คาดวา อยา งไร เพราะไมใชสิ่งที่คาดไมใชสิ่งที่หมาย ไมใชสิ่งที่จะนํามาพูดไดเชนสมมุติ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๖

๑๖๗

ทว่ั ๆ ไป เนอ่ื งจากสง่ิ นน้ั ไมใ ชส มมตุ แิ ลว เปน วสิ ยั ของผมู ใิ ชส มมตุ ิ รูเรื่องความไม
ใชส มมตุ ขิ องตนเทา นน้ั จงึ นาํ มาพูดอะไรไมไ ด

ทีนี้โลกเต็มไปดวยสมมุติ พูดอะไรก็ตองมีภาพสมมุติขึ้นมาเปรียบเทียบทุกๆ
เรื่องไป เชนเห็นจะเปน อยา งนนั้ เห็นจะเปนอยางนี้ หรอื เปน อยา งนน้ั เปนอยา งน้ี
คลา ยกบั สง่ิ นน้ั เปนตน ยกตัวอยางเชน ยกคาํ วา “นพิ พาน” ขน้ึ มาพดู เร่ืองของกเิ ลส
สามญั คือจิตสามัญธรรมดาเรา จะตอ งคาดวา นพิ พานจะตอ งกวา งขวางเวง้ิ วา งไปหมด
ไมมีอะไรปรากฏอยูในนั้นเลย แตไมไดคิดในคําวา ‘นพิ พาน” ที่เปนคําสมมุติที่ยังมีหลง
เหลอื อยู ดไี มด กี อ็ าจคดิ ไปวา มแี ตผคู นทีบ่ ริสุทธ์ิเดนิ ขวักไขวกันอยใู นพระนพิ พานนนั้
เทาน้นั ซึ่งมีทั้งหญิงทั้งชายเพราะถึงความบริสุทธิ์ดวยกัน มีแตพ วกทบี่ รสิ ทุ ธ์เิ ทาน้นั เดิน
ขวกั ไขวก นั ไปมา หรอื นง่ั อยอู ยา งสะดวกสบายผาสกุ เจรญิ ไมมีความโศกเศราเหงา
หงอยเขา ไปเกย่ี วขอ งพวั พนั เหมอื นโลกสมมตุ เิ รา ที่เต็มไปดวยความทุกขวุนวาย

ความจริงหาไดทราบไมวา ความที่วามีผูหญงิ ผชู ายทบี่ รสิ ุทธเ์ิ ดินขวักไขว หรือ
นั่งอยูตามธรรมชาติตามธรรมดาของตน ดว ยความสขุ ความเกษม ไมมีอะไรเขาไปยุง
กวนนน้ั กเ็ ปน สมมตุ อิ นั หนง่ึ ซง่ึ เขา กบั “วิมุตต”ิ นพิ พานแทๆ ไมไ ด การทน่ี าํ มา
กลาวในสิ่งที่สุดวิสัยของสมมุติ แมผ นู น้ั ไมส ดุ วสิ ยั แหง ความรกู ต็ าม เปน วสิ ยั แหง ความ
รขู องตนดวยดกี ็ตาม แตไมสามารถที่จะนําออกมาพูดไดในทางสมมุติ พดู ออกมากต็ ี
ความหมายไปผดิ ๆ ถกู ๆ เพราะตามธรรมดาจิตก็คอยแตจะผิดอยูแลว หรอื ยงั มคี วาม
ผดิ ภายในตวั อยู พอแยบ็ อะไรออกมากต็ อ งคาด และดนเดาไปตามความเขาใจที่ไมถูก
ตอ งไมแ นน อนเสมอไป

อยางพระยมกพูดกับพระสารีบุตรวา “พระอรหนั ตต ายแลวสญู ” เพราะพระ
ยมกเปน ปถุ ชุ นอยู พระสารีบุตรเปนพระอรหันต และเปนผูชี้แจงใหฟงยังไมยอมเขาใจ
จนพระพุทธเจา เสด็จมาชี้แจงใหฟงเสียเอง แมเชนนั้นถาจําไมผิดก็ปรากฏวาพระยมก
ยังไมเขาใจตามความจริงที่ทรงชี้แจงนั้น ตามคัมภีรวา พระยมกก็ดูเหมือนไมไดสําเร็จ
มรรคผลนิพพานอะไร แตตองมีเหตุผลพระพุทธเจาจงึ จะทรงแสดง หากไมม คี วาม
หมายในการแสดงนั้นพระองคจะไมแสดงเลย เพราะธรรมบางอยางแมผูฟงนั้นจะไมได
รับประโยชนเทาที่ควร แตผอู นื่ ท่เี กีย่ วของยอ มไดร ับ วสิ ยั ของพระพทุ ธเจา เปน อยา งนน้ั
จะรับสั่งเรื่องอะไรออกมาตองมีเหตุมีผล คือมีสิ่งที่จะไดรับประโยชนสําหรับผูฟง จงึ จะ
ทรงแสดงออกมา หากไมมีอะไรเลยก็ไมทรงแสดง

นี่เปนเรื่องของพระพุทธเจาที่พรอมดวยเหตุดวยผล รูรอบขอบชิดทุกสิ่งทุก
อยา ง ไมพูดไปแบบปาวๆ เปลาๆ เหมอื นโลกทว่ั ๆ ไป เพราะฉะนั้นในเวลารับสั่งอะไร
กับพระยมกนน้ั เราชกั ลมื เสียแลว เพราะผา นเรอ่ื งนม้ี านานแลว จนลืมวามีใครไดผล

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๗

๑๖๘

บา งในเวลานน้ั หรือวาพระยมกก็ได น่สี งสยั ไมแนใจแลว เรามาถอื เอาตอนทว่ี า “พระ
อรหนั ตต ายแลว สญู ” เปน ธรรมอนั สาํ คญั กแ็ ลว กนั

พระองคทรงแสดงวา “พระอรหนั ตเปนรูปหรือถึงตายแลวสูญจากรูป พระ
อรหนั ตเ ปน เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ” หรือ พระอรหันตเปน ดนิ นาํ้ ลม ไฟหรือ
เมอ่ื ตายแลว จงึ ไดส ญู จากสง่ิ นน้ั ๆ” รับสั่งถามไปเรื่อย สรปุ ความแลว วา รูปไมเที่ยง รูป
กส็ ลายไป,เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ ไมเที่ยง กม็ คี วามสลายไป เมอ่ื เรอ่ื งของ

สมมุติ เปนไปตามสมมุติอยางนั้น
สว นเรอ่ื งของ “วิมุตต”ิ คอื เร่อื งของความบรสิ ทุ ธ์ิ จะใหเ ปน อยา งนน้ั ไมไ ด

เพราะไมใ ชอ นั เดยี วกนั จะนาํ เรอ่ื ง “วิมุตติธรรม” หรือ “วิมุตติจติ ” เขามาคละเคลา

หรอื มาบวกกบั ขนั ธห า ซง่ึ เปน เรอ่ื งของสมมตุ ยิ อ มไมถ กู ไมใชฐานะจะเปนไปได ขนั ธ
หา เปน สมมตุ ขิ น้ั หนง่ึ จติ แบบเปน “สามญั จติ ” กเ็ ปน สมมตุ ขิ น้ั หนง่ึ

ความละเอยี ดของจิต ละเอียดจนอัศจรรย แมขณะที่ยังมีสิ่งพัวพันอยู กอ็ อก

แสดงความอัศจรรยตามขั้นภูมิของตนใหเห็นไดอยางชัดเจน ยิ่งสิ่งที่พัวพันทั้งหลาย

หมดไปแลว ก็จิตนั้นแลเปนดวงธรรม หรอื ธรรมนนั้ แลคอื จติ หรือจิตนั้นแลคือ

ธรรม ธรรมทั้งแทงก็คือจิตทั้งดวง จิตทั้งดวงก็คือธรรมทั้งแทงอยูโดยดี ทนี ก้ี ส็ มมตุ ิ

อะไรไมไ ด เพราะเปน ธรรมลว นๆ แลว แมทา นจะครองขันธอ ยู ธรรมชาตนิ น้ั กเ็ ปน

อยา งนน้ั โดยสมบรู ณ

ขนั ธก เ็ ปน ขนั ธอ ยอู ยา งพวกเราๆ ทา นๆ นเ้ี อง ใครมีรูปลักษณะมีกิริยามารยาท

มจี รติ นสิ ยั อยา งใด ก็แสดงออกตามจริตนิสัยของตน ตามเรื่องของสมมุติที่มีการแสดง

ตวั อยา งนน้ั จึงนาํ มาคละเคลา ใหเปนอนั หนง่ึ อนั เดยี วกันไมได เมื่อจิตหลุดพนแลว
ธรรมชาติของ “วมิ ตุ ต”ิ นน้ั เปน อกี อยา งหนง่ึ

ขนั ธโ ลกกเ็ ปน อกี โลกหนง่ึ แมใ จทบ่ี รสิ ทุ ธจ์ิ ะอยใู นโลกแหง ขนั ธ ก็เปน “จิต
วิมุตต”ิ อยตู ลอดเวลา จะเรียกวา “โลกุตรจิต” ก็ไมผิด เพราะอยเู หนอื สมมตุ คิ อื ธาตุ

ขนั ธแ ลว
“โลกุตรธรรม” คอื ธรรมเหนอื โลก ทา นถงึ ทราบไดใ นเรอ่ื งความสบื ตอ ของจติ

เมื่อชําระเขามาโดยลําดับๆ ยอ มเหน็ เงอ่ื นตน เงอ่ื นปลาย เห็นความแสดงออกของ

จติ วา หนกั ไปทางใด ยงั มอี ะไรเปน เครอ่ื งใหส บื ตอ หรอื เกย่ี วขอ งกนั อยู ทา นกท็ ราบ

ทานทราบชัด เมอ่ื ทราบชดั ทา นกห็ าวธิ ตี ดั วธิ ปี ลดเปลอ้ื งสง่ิ ทส่ี บื ตอ นน้ั ออกจากจติ

โดยลําดับ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๘

๑๖๙

เวลากเิ ลสมนั หนาแนน ภายในจติ มดื ดาํ ไปหมด ระยะนไ้ี มท ราบวา จติ เปน

อะไร และสง่ิ ทม่ี าเกย่ี วขอ งพวั พนั คอื อะไร เลยถอื เปน อนั เดยี วกนั หมด ทั้งสิ่งที่มา
ขอ งทง้ั ตวั จติ เองคละเคลา เปน อนั เดยี วกนั ไมมีทางทราบได ตอ เมอ่ื ไดช าํ ระสะสางไป
โดยลําดับๆ จึงมีทางทราบไดเปนระยะๆ ไป จนทราบไดอยางชัดเจนวา เวลานี้จิตยังมี
อะไรอยภู ายในตวั มากนอ ย แมย งั มอี ยนู ดิ กท็ ราบวา มอี ยนู ดิ เพราะความสืบตอใหเห็น
ชัดเจนวา นค่ี อื เชอ้ื ทจ่ี ะทาํ ใหไ ปเกดิ ในสถานทใ่ี ดทห่ี นง่ึ ซง่ึ บอกอยภู ายในจติ เมื่อได
ทราบชดั อยา งนก้ี ต็ อ งพยายามแกไ ข ดว ยวธิ กี ารตา งๆ ของสติปญญา จนกระทั่งสิ่งนั้น
ขาดไปจากจิตไมมีอะไรติดตอกันแลว จิตก็เปนจิตที่บริสุทธิ์ลวนๆ หมดทางติดตอ เห็น
ไดอยางชัดเจนแลว นี่คือ “ผูหลุดพนแลว” นค่ี อื ผไู มไ ดต าย

เพราะการปฏิบัติจริง เปนผูรูจริงๆ ตามหลักความจริง เห็นไดชัดเจนประจกั ษ
ใจ ทานพูดจริงทําจริงและรูจริง แลว นาํ สง่ิ ทร่ี จู รงิ เหน็ จรงิ ออกมาพดู จะผิดไปไดอยาง
ไร! พระพุทธเจาของเราแตกอนพระองคก็ไมทรงทราบวาเคยเกิดมากี่ภพกี่ชาติ เกิด
เปนอะไรบาง แมป จ จบุ นั จติ มคี วามตดิ ตอ เกย่ี วเนอ่ื งกบั อะไรบา ง เพราะกิเลสมีมากตอ
มาก ในระยะนั้นพระองคก็ยังไมทราบไดเหมือนกัน

ตอเมื่อทรงบําเพ็ญ จนกระทั่งตรัสรูเปนธรรมทั้งดวงขึ้นมาในพระทัยแลว จึง
ทราบไดชัด เมื่อทรงทราบอยางชัดเจนแลว จงึ ทรงนาํ ความจรงิ อนั นน้ั ออกมาประกาศ
ธรรมสอนโลก และใครผูที่จะสามารถรูธรรมประเภทนี้ไดอยางรวดเร็ว กท็ รงเล็งญาณ
ทราบ ดังทา นทราบวา ดาบสท้งั สองและปญจวัคคยี ทัง้ หา มีอุปนิสัยพรอมจะบรรลุธรรม
อยแู ลว เปนตน แลวเสด็จมาโปรดปญจวัคคียทั้งหา ก็สมพระประสงคที่ทรงกําหนด
ทราบดวยพระญาณไวแ ลว

ทานเหลานี้ก็ไดบรรลุธรรมเปนขั้นๆ โดยลาํ ดบั จนกระทั่งบรรลุธรรมเปน “พระ
ขณี าสพ” ดว ยกนั ทง้ั ๕ องค เพราะเอาของจริงออกมาแสดงตอ ผูมุงความจริงอยูด วยกนั
อยางเต็มใจอยูแลว จึงรับกันไดง าย ผูตองการหาความจริงกับผูแสดงความจรงิ สมดุล
กนั แลว เมอ่ื แสดงออกตามหลกั ความจรงิ ผูนั้นจึงรับไดอยางรวดเร็ว และรูตามพระ
องคเปนลําดับจนรูแจงแทงตลอด บรรดากเิ ลสทม่ี อี ยมู ากนอ ยสลายตวั ไปหมด คว่ํา
“วฏั จกั ร” ลงไดอ ยา งหายหว ง นี้แลผูรูจริงเห็นจริงแสดงธรรม ไมวาจะเปนแงธรรมเกี่ยว
กับทางโลกหรือทางธรรม ยอมเปนที่แนใจได เพราะเห็นมาดวยตา ไดย นิ มาดว ยหู ได
สมั ผสั ดว ยใจตวั เอง แลวจาํ นํามาพูดจะผิดไปไหน ผิดไมได เชนรสเค็ม ไดท ราบทล่ี น้ิ
แลว วา เคม็ พดู ออกมาจากความเคม็ ของเกลอื นน้ั จะผดิ ไปไหน รสเผ็ด พริกมันเผ็ด มา
สมั ผสั ลน้ิ กท็ ราบแลว วา พรกิ นเ้ี ผด็ แลว พดู ออกดว ยความจรงิ วา พรกิ นเ้ี ผด็ จะผิดไปที่
ตรงไหน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๖๙

๑๗๐

การรูธรรมก็เหมือนกัน ปฏิบัติถึงขั้นที่ควรรูตองรูเปนลําดับลําดา รธู รรมหรอื
การละกิเลสยอมเปน ไปในขณะเดียวกันนน้ั กเิ ลสสลายตวั ลงไป ความสวา งทถ่ี กู ปด บงั
อยนู น้ั กแ็ สดงขน้ึ มาในขณะเดยี วกนั กบั กเิ ลสสลายตวั ไป ความจริงไดปรากฏอยางชัด
เจน กเิ ลสซง่ึ เปน ความจรงิ อนั หนง่ึ กท็ ราบอยา งชดั เจน แลวตัดขาดไดดวย “มรรค” อนั
เปนหลักความจริง คือสติปญญา แลวนํามาพูดมาแสดงเพื่อผูฟงดวยความตั้งใจตองเขา
ใจ

ธรรมเหลานี้พระองคแสดงไว ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ ไมไ ดน อกเหนอื ไป
จาก “เบญจขนั ธข องเรา” มใี จเปน ประธานสาํ หรบั รบั ผดิ ชอบชว่ั ดที กุ สง่ิ ทม่ี าเกย่ี วขอ ง
สัมผัส ธรรมแมจะมากถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธก็ตาม ทา นแสดงไปตามอาการ
ของจิต อาการของกเิ ลส อาการของธรรม เพื่อบรรดาสัตวทม่ี ีนิสยั ตา งๆ กนั จึง
ตอ งแสดงออกอยา งกวา งขวางถงึ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ เพื่อใหเหมาะสมกับจริต
นสิ ยั นน้ั ๆ จะไดนําไปประพฤติปฏิบัติและแกไขตนเองในวาระตอไป และควรจะทราบ
ไวว า ผูฟงธรรมจากผูรูจริงเห็นจริง ควรจะแกก เิ ลสอาสวะได ในขณะสดับธรรมจาก
พระพุทธเจาและพระอรหันต หรอื ครอู าจารยท ง้ั หลาย โดยไมเ ลอื กกาลสถานท่ี

ธรรมทั้งหลายรวมลงที่จิต จิตเปนภาชนะที่เหมาะสมอยางยิ่งในธรรมทุกขั้น การ
แสดงธรรมมีอะไรเปนเครื่องเกี่ยวเนื่องพัวพันกันอยู ที่จําตองพูดถึงสิ่งนั้นๆ เพอ่ื ความ
เขา ใจและปลอ ยวาง สาํ หรบั ผฟู ง ทง้ั หลายกม็ ธี าตขุ นั ธ รูป เสยี ง กลน่ิ รส เครื่องสัมผัส
ภายนอกอันหาประมาณมิได เขามาเกี่ยวของกับตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ ของเรา ซึ่งเปน
ภายในตัวเรา จึงตองแสดงทั้งภายนอกแสดงทั้งภายใน เพราะจิตหลงและติดไดทั้งภาย
นอกและภายใน รกั ไดช งั ไดท ัง้ ภายนอกภายใน

เมอื่ แสดงใหท ราบตามเหตผุ ลท้งั ขางนอกขางในตามหลกั ความจรงิ จิตที่
ใครครวญหรือพิจารณาตามหลักความจริงอยูโดยเฉพาะแลว ตองทราบไดโดยลําดบั
และปลอยวางได เมอ่ื ทราบสง่ิ ใดแลว กย็ อ มปลอ ยวางสง่ิ นน้ั และหมดปญ หาในการทจ่ี ะ
พสิ จู นพ จิ ารณาอกี ตอ ไป คือสิ่งใดที่เขาใจแลว ส่งิ น้นั กห็ มดปญหา เพราะเมื่อเขาใจแลว
กป็ ลอ ยวางสง่ิ นน้ั ๆ ปลดปลอ ยไปเรอื่ ยๆ เพราะความเขา ใจถงึ ความจรงิ ของสิ่งน้นั ๆ
โดยสมบูรณแลว

การพจิ ารณาธรรมในขน้ั ทค่ี วรแคบกแ็ คบ ในขน้ั ทค่ี วรกวา งกต็ อ งกวา งขวางเตม็
ภูมิจิตภูมิธรรม ดงั นน้ั ใจของนกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทค่ี วรใหอ ยใู นวงแคบ กต็ อ งจาํ กดั ใหอ ยใู น
วงนั้น เชน การอบรมในเบอ้ื งตน จติ มแี ตค วามวา วนุ ขนุ มวั อยตู ลอดเวลาหาความ
สงบสขุ ไมไ ด จึงตองบังคับใหจิตอยูในวงแคบ เชน ใหอ ยกู บั คาํ บรกิ รรม “พุทโธ”
หรอื ลมหายใจเขา ออก เปนตน เพื่อจะตั้งตัวไดดวยบทบริกรรม เพอื่ ความสงบนัน้

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๐

๑๗๑

เปน บาทเปน ฐานหรือเปน รากฐานของใจพอตั้งตัวไดในการปฏิบัติตอไป จึงตองสอน
ใหจ ิตมีความสงบจากอารมณตา งๆ ดวยธรรมบทใดบทหนึ่งตามจริตชอบไปกอน พอ
เปน ทพ่ี ักผอ นหยอนใจทางความสงบ

เมื่อจิตไดรับความสงบเพราะธรรมบทนั้นๆ พอเปนปากเปนทางแลว กเ็ รม่ิ พนิ จิ
พิจารณาปญญา ความรกู ค็ อ ยแตกแขนงออกไปโดยลาํ ดบั หรือตีวงกวางออกไปจนไมมี
ประมาณ เมอ่ื ถงึ กาลอนั ควรทจ่ี ะพกั จติ ดว ยสมาธภิ าวนา กก็ าํ หนดทาง “สมถะ” ดว ยบท
ธรรมดงั ทเ่ี คยทาํ มาแลว โดยไมต อ งสนใจทางดา นปญ ญาแตอ ยา งใด ในขณะนน้ั ตง้ั หนา
ตั้งตาทําความสงบดวยธรรม บทที่เคยเปนคูเคียงของใจ หรอื ทเ่ี คยไดป ฏบิ ตั เิ พอ่ื ความ
สงบมาแลว กาํ หนดธรรมบทนน้ั เขา ไปโดยลาํ ดบั ดว ยความมสี ติควบคุม จนปรากฏเปน
ความสงบขึ้นมา แลว มคี วามสขุ ความเยน็ ใจ เรยี กวา “การพกั ผอ นหยอ นจติ ดว ยสมาธิ
ภาวนา”

เมอ่ื จติ ถอนออกจากการพกั สงบนน้ั แลว ปญ ญากต็ อ งคลค่ี ลายพจิ ารณาดสู ง่ิ
ตางๆ อันใดที่ควรจะพิจารณาในระยะใดเวลาใด กพ็ จิ ารณาในเวลานน้ั ๆ จนเปนที่เขา
ใจ เมอ่ื ปญ ญาไดเ รม่ิ ไหวตวั เพราะพลงั คอื สมาธเิ ปน เครอ่ื งหนนุ แลว ปญ ญาจะตอ ง
ทาํ การพจิ ารณาอยา งกวา งขวางโดยลาํ ดบั ๆ ตอนนป้ี ญ ญาจะวา กวา งกก็ วา ง ธรรมจะวา
กวา งกก็ วา งตอนน้ี ปญ ญามคี วามเฉลยี วฉลาดมากนอ ยเพยี งใด ก็ยิ่งพิจารณากระจาย
ออกไปจนรูเ หตุรูผลในสภาวธรรมทง้ั หลายตามความเปน จรงิ แลว หายสงสยั และปลอ ย
วางไปโดยลาํ ดบั ตามขน้ั ของสตปิ ญ ญาทค่ี วรแกก ารถอดถอนกเิ ลสประเภทนน้ั ๆ ออก
จากใจเปน ลาํ ดบั ๆ ไป

จิตคอยถอนตวั เขา มาสวู งแคบเทา ที่เหน็ จําเปนโดยลาํ พงั ไมต อ งถกู บงั คบั
เหมอื นแตก อ น ก็เมื่อพิจารณารูตามความเปนจริงแลว จะไปพัวพันไปกังวลกับสิ่งใดอีก
เลา เทา ทก่ี งั วลวนุ วายนน้ั ก็เพราะความไมเขาใจจึงไดเปนเชนนั้น เมื่อเขาใจดวยปญญา
ที่ไดพิจารณาคลี่คลายเห็นความจริงของสิ่งนั้นๆ แลว จติ กถ็ อยและปลอ ยกงั วลเขา มา
เรื่อยๆ จนกลายเปนวงแคบเขามา ๆ จนถงึ ธาตถุ งึ ขนั ธถ งึ จติ ตวั เองโดยเฉพาะ ระยะนี้
จติ ทาํ งานในวงแคบ เพราะตัดภาระเขามาโดยลําดับแลว

ธาตขุ นั ธม อี ะไรบา ง? แจงลงไป ทั้งรูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ พิจารณา
จนหายสงสยั ในเงอ่ื นหนง่ึ เงอ่ื นใดกต็ าม เชน พิจารณาในรูป เร่อื งเวทนานนั้ ก็เปนอัน
เขาใจไปตามๆ กนั หรือพิจารณาเวทนา กว็ ง่ิ มาถงึ รปู ถึงสัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ อันมี
ลักษณะเชนเดยี วกนั เพราะออกจากกระแสจิตอนั เดียวกัน สรปุ ความแลว ขนั ธท ง้ั หา
ทา นกบ็ อกวา “เปนคลังแหงไตรลักษณ หรือเปนกองแหงไตรลักษณ” ทง้ั สน้ิ อยา ง
สมบรู ณอ ยแู ลว

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๑

๑๗๒

มสี ง่ิ ใดทค่ี วรจะถอื เอา รูปธาตุรูปขันธ รูปทั้งปวง กเ็ ปน กองแหง ธาตอุ ยแู ลว
เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ แตล ะอยา ง ก็เปนเพียงนามธรรม ปรากฏ “ยบิ
แยบ็ ๆๆ” แลว หายไปในขณะๆ จะถอื เปนสาระแกน สารอะไรจากสิง่ เหลานเี้ ลา ปญญา

หยั่งทราบเขาไปโดยลําดับคือทราบความจริง และซง้ึ ถงึ จติ จรงิ ๆ แลว กป็ ลอ ยวางดว ย

ความรูซึ้งนั้น คอื ปลอ ยวางอยา งถงึ ใจ เพราะรอู ยางถงึ ใจก็ปลอ ยอยา งถงึ ใจ งานกแ็ คบ

เขาไป ๆ ตามความจาํ เปน ของการทาํ งานทางดานปญ ญา

นแ่ี หละการพจิ ารณาและรวู ถิ ที างเดนิ ของจติ ทไ่ี ปเกย่ี วขอ งกบั อารมณต า งๆ

ยอมทราบเขา มาและปลอ ยวางเขา มาโดยลําดบั ตัดทางเสือโครงที่เคยออกเที่ยวหากิน
ดงั ทา นวา ไวใ นหนงั สอื ธรรมบทหนง่ึ “ตัดทางเสือโครงออกเที่ยวหากิน” คอื ออกจากทาง

ตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ไปเทีย่ วเก่ียวขอ งกบั ทางรปู ทางเสยี ง กลน่ิ รส

เครื่องสัมผัส แลว กวา นเอาอาหารทเ่ี ปน พษิ เขา มาเผาใจ ปญญาจึงตอ งเทย่ี วพจิ ารณา

ตามรูป ตามเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เพื่อตัดทางเสือโครงที่เคยหากิน โดยการ

คิดคนเขาไป ๆ ตามสายทางเสอื โครง เสอื ดาวทช่ี อบเทย่ี วทางน้ี ทา นวา คนเขามาตัด
ทางของมันเขามา จนกระทั่งเอาเสือโครงเขาใสกรงได คอื “อวชิ ชา” ทเ่ี ปรยี บเหมอื น
เสือโครงเขารวมตัวในจิตดวงเดียว กเิ ลสอาสวะท้งั มวลรวมลงในจิตดวงเดยี ว กง่ิ กา น

สาขาตัดขาดไปหมด เหลือแตจิต กิเลสอยูในจิตดวงเดียว ไมม ที อ่ี อกเทย่ี วเพน พา นหา

อาหารกนิ ไดด งั แตก อ น
“จิตอวิชชา” นจ้ี ะวา เปน เหมอื นลกู ฟตุ บอลกไ็ ด เพราะปญญาคลี่คลายถีบเตะไป

เตะมาจนแตกแหลกละเอียด คอื กเิ ลสอวชิ ชาแตกกระจายภายในนน้ั จติ ขน้ั นเ้ี ปน ขน้ั

รวมตวั ของกเิ ลส ขณะท่ีถกู ปญญาคลีค่ ลายไปมา จงึ เหมอื นลกู ฟตุ บอลถกู ถบี ถกู เตะ

นน่ั แหละ ถกู เตะไปเตะมาอยใู นวงขนั ธเสยี จนแตกกระจายดว ยปญ ญา เมอ่ื จติ ทเ่ี ปน
“สมมตุ ”ิ แตกกระจายไป จิตที่เปน “วมิ ตุ ต”ิ กแ็ สดงตวั ขน้ึ มาอยา งเตม็ ท่ี

ทาํ ไมจงึ เรยี กวา “จติ เปน สมมตุ ิ” กบั “จติ เปน วมิ ตุ ติ” เลา ? มนั กลายเปน จติ
สองดวงอยางนั้นเหรอ? ไมใ ชอ ยา งนน้ั ! จิตดวงเดียวนั้นแหละที่มี “สมมตุ ิ คือกิเลส
อาสวะครอบอยนู น้ั ” เปนจิตลักษณะหนึ่ง แตเมื่อไดถูกชําระขยี้ขยําดวยปญญาจนจิต
ลกั ษณะนั้นแตกกระจายไปหมดแลว สวนจิตแทธรรมแทที่ทนตอการพิสูจนไ มได
สลายไปดว ย สลายไปแตส ง่ิ ทเ่ี ปน “อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า” ทแ่ี ทรกอยใู นจติ เทา นน้ั
เพราะกิเลสอาสวะแมจะละเอียดเพียงใดก็ตาม มันกเ็ ปน “อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา” และ
เปน “สมมุต”ิ อยโู ดยดนี น่ั แล

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๒

๑๗๓

เมอ่ื สง่ิ นส้ี ลายไป จติ แทเหนือสมมุติจึงปรากฏตัวอยางเต็มที่ ทีเ่ รยี กวา “วิมุตติ
จติ ” สง่ิ นแ้ี ลทา นเรยี กวา “จติ บริสุทธ”์ิ ขาดจากความสบื ตอ เกย่ี วเนอ่ื งใดๆ ทง้ั สน้ิ

เหลอื แตค วามรลู ว นๆ ทบ่ี ริสุทธสิ์ ดุ สว นอยา งเดียว

ความรลู ว นๆ นี้ เราพดู ไมไ ดว า เปน จดุ อยู ณ ทใ่ี ดในรา งกายเรา แตก อ น

เปน จดุ เดน รูเห็นไดอยางชัดเจน เชน สมาธิ เราก็ทราบวาอยใู นทา มกลางอก ความรู

เดนอยูตรงนั้น ความสงบเดนอยูที่ตรงนั้น ความสวา งความผอ งใสของจติ เดนอยทู ต่ี รง

นั้นอยางชัดเจนโดยไมตองไปถามใคร บรรดาทา นผมู จี ติ สงบเปน ฐานแหง สมาธแิ ลว จะ

ปรากฏชดั เจนวา จุดผูรเู ดน อยใู นทามกลางอกนีจ้ ริงๆ ทั้งสิ้น ไมม กี ารถกเถยี งกนั วา

อยมู นั สมอง เปน ตน ดงั ทผ่ี ไู มเ คยรเู หน็ ทางดา นสมาธภิ าวนาพดู กนั หรอื ถกเถยี งกนั

เสมอในที่ทั่วไป

ทนี เ้ี วลาจติ นก้ี ลายเปน จติ ทบ่ี รสิ ทุ ธแ์ิ ลว จดุ นน้ั หายไป จึงพูดไมไดวาจิตอยู

เบื้องบน เบอ้ื งลา ง หรอื อยสู ถานทใ่ี ด เพราะเปนความรูที่บริสุทธิ์ดวย เปนความรูที่
ละเอียดสุขุมเหนือสมมุติใดๆ ดวย แมเชนนั้นก็ยังแยกเปนสมมุติมาพูดวา “ละเอยี ด
สดุ ” ซึ่งไมตรงตอความจริงนั่นนักเลย คาํ วา “ละเอียดสุด” นม่ี นั ตอ งเปน สมมตุ อิ นั หนง่ึ
นะ ซิ พดู ไมไ ดว า อยสู งู อยตู าํ่ มจี ดุ มตี อ มอยทู ไ่ี หน ไมม เี ลย! มีแตความรูเทานั้นไมมี
อะไรเขาไปแทรกซึม แมจ ะอยใู นธาตใุ นขนั ธซ ง่ึ เคยคละเคลา กนั มากอ น กไ็ มเ ปน เชน
นน้ั อกี แลว กลบั เปน คนละโลกไปแลว !

ทราบไดอยางชัดเจน ขนั ธก เ็ ปน ขนั ธ จิตก็เปนจิต กายกเ็ ปนกาย เวทนา สัญญา

สังขาร วิญญาณ ทม่ี อี ยภู ายในรา งกายน้ี ก็เปนขนั ธแ ตล ะอยางๆ สว นเวทนาในจติ นน้ั
ไมม ี นบั แตจ ติ ไดห ลดุ พน กเิ ลสทง้ั มวลไปแลว เพราะฉะนน้ั คาํ วา “ไตรลกั ษณ” ใดก็
ตามซง่ึ เปน ตวั สมมตุ ิ จึงไมมใี นจิตดวงนั้น จติ ดวงนน้ั ไมม กี ารเสวยเวทนา นอกจาก
“ปรมํ สขุ ํ” อนั เปนธรรมชาติของตัวเอง และคาํ วา “ปรมํ สุข”ํ ไมใ ชส ขุ เวทนา

ทท่ี า นวา “นพิ ฺพานํ ปรมํ สขุ ’ํ พระนิพพานเปนสุขอยางยิ่ง คาํ วา “สุขอยางยิ่ง”

นน้ั ไมใ ชส ขุ เวทนา เหมอื นเวทนาของจติ ทย่ี งั มกี เิ ลส และเวทนาของกายซึ่งเปนสุข
เปนทุกขแสดงอยูเสมอๆ “ปรมํ สุข”ํ นน้ั ไมใ ชเ วทนาเหลา น้ี ทานนักปฏิบัติพึงทราบ
อยา งถงึ ใจ และปฏบิ ตั ใิ หร ดู ว ยตวั เองนน่ั แลจะหมดปญหา สมดังธรรมทานวา “สนทฺ ฏิ 
ฐิโก” ซึ่งไมทรงผูกขาดไวโดยเฉพาะพระองคผูเดียว

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๓

๑๗๔

จิตที่ “บรสิ ทุ ธล์ิ ว นๆแลว ” เราจะเรียกวา “จิตมีเวทนา” จึงเรียกไมได จติ นไ้ี มม ี
เวทนา คาํ วา “ปรมํ สขุ ”ํ นน้ั เปน สขุ ในหลกั ธรรมชาตแิ หง ความบรสิ ทุ ธ์ิ จึงหา อนิจฺจํ
ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา เขา ไปแทรกใน “ปรมํ สขุ ํ” นน้ั ไมไ ด

นพิ พานเทย่ี ง ปรมํ สขุ ํ เที่ยง อนั เดยี วกนั ทา นวา “นพิ พานเทย่ี ง ปรมํ สขุ ํ ก็
เที่ยง ปรมํ สุ ญฺ ํ ก็เที่ยง เปน อนั เดยี วกนั ” แตสูญแบบพระนิพพานที่นอกสมมุติ ไมไ ด

สญู แบบโลกสมมตุ กิ นั

จะพูดอะไรแยกอะไรก็ไดถารูประจักษใจแลว ถา ไมเ ขา ใจพดู วนั ยงั คาํ่ กผ็ ดิ วนั ยงั

ค่ําไมมีทางถูก เพราะจิตไมถูก พูดออกมาดว ยความเขา ใจวา ถกู ตามอรรถตามธรรม

เพียงใดก็ตาม แตจ ติ ผแู สดงตวั ออกมานน้ั ไมถ กู อยแู ลว จะถกู ไดอ ยา งไร เหมอื นอยา ง
เราเรียกคําวา “นพิ ฺพานํ ปรมํ สขุ ํ นพิ ฺพานํ ปรมํ สุ ญฺ ํ” เรียกจนติดปากติดใจก็ตาม

จติ กค็ อื จติ ทม่ี กี เิ ลสอยนู น่ั แล มันถูกไปไมได เม่ือจติ ไมพ าถูกเสยี อยา งเดยี วอะไรกถ็ กู
ไปไมได!

พอจติ ถูกเสยี อยา งเดียว ไมพ ดู ก็ถูก เพราะธรรมชาตินั้นถูกอยูแลว พูดหรือไม

พดู กถ็ กู เมอ่ื ถงึ ขน้ั ทถ่ี กู แลว ไมม ีผดิ นแ่ี หละความอศั จรรยท เ่ี กดิ ขน้ึ จากการปฏบิ ตั ิ

ศาสนธรรม

พระพุทธเจาก็ทรงสอนถึงภูมินี้เทานั้น ไมทรงสอนอะไรตอไปอีก หมดสมมตุ ิ
หมดบญั ญตั ิ หมดกเิ ลส หมดทกุ ข ดว ยประการทง้ั ปวง! จึงไมทรงแสดงอะไรตอไป
อกี เพราะถงึ จุดท่มี ุงหมายอยางเต็มท่แี ลว หรือเตม็ ภูมิของจิตของธรรมแลว

ในเวลาจะปรนิ พิ พานทรงแสดงพระโอวาท เรยี กวา “ปจฉมิ โอวาท”วา

ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราเตอื นทา นทง้ั หลาย สังขารมีความเกิดขึ้นและดับไป

ตลอดเวลา ทานทั้งหลายจงพิจารณาสังขารที่เจริญขึ้นแลวเสื่อมไป หรอื เกดิ แลวดบั ไป
ดว ยความไมป ระมาทเถดิ !”

เทา นน้ั แลว ปด พระโอษฐไ มรับสั่งอะไรอีกตอไปเลย
ในพระโอวาททเ่ี ปนขนาดนั้น “ปจ ฉมิ โอวาท” แลว เราจะถอื หรือเขาใจคําวา
“สงั ขาร” นี้เปนสังขารประเภทใด โดยแยกออกเปน สงั ขารภายนอกหรอื สงั ขารภายในก็

ไดไมผิด

แตใ นขณะนน้ั สว นมากแนใ จวา มีแตพระสงฆผูเปนนักปฏิบัติที่มีภูมิจิตภูมิธรรม
สูงทั้งนั้น นับแตพ ระอรหันตลงมา ที่เขาเฝาพระองคในขณะที่ประทาน “ปจ ฉิมโอวาท”

ในปจฉิมยามนั้น

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๔

๑๗๕

หลกั ใหญจ งึ คดิ วา พระองคประทานเพื่อสังขารภายในที่คิดปรุงอยูภายในจิต รบ
กวนจติ อยตู ลอดเวลา ใหพ จิ ารณาถงึ ความเกดิ ความดบั แหง สงั ขารอนั นน้ั ดวยความไม
ประมาท คือพจิ ารณาดวยสติปญญาอยตู ลอดเวลานั่นเอง สงั ขารอนั นค้ี รอบโลกธาต!ุ

ถา เราจะแยกไปเปน “สงั ขารภายนอก” กไ็ ด เชน ตนไม ภเู ขา สตั ว บคุ คล ก็ได
แตไ มเหมาะกับภมู พิ ระสงฆที่สันนิบาตอยูในทีน่ ัน่ และไมเ หมาะกบั กาลเวลาทเ่ี ปน เวลา
สุดทายของพระพุทธเจาที่จะปรินิพพาน แลว ประทานพระโอวาทอนั เปน ยอดคาํ สอนใน
วาระสุดทายใหแกพระสงฆในขณะนนั้

การแสดงปจ ฉมิ โอวาทเกย่ี วกบั เรอ่ื งสงั ขารในขณะทจ่ี ะปรนิ พิ พานนน้ั จึง
ควรหมายถงึ สงั ขารทล่ี ะเอยี ดทส่ี ดุ ทม่ี อี ยภู ายในใจโดยเฉพาะ เมอ่ื ทราบ “สงั ขารภาย
ใน” นี้ชัดเจนแลว ทําไมจะไมทราบรากฐานของสังขารนี้วามันเกิดขึ้นมาจากอะไร กต็ อ ง
หยั่งเขาไปถึง ‘บอแหงวัฏจักร” คอื “จิตอวิชชา” อนั เปน ทางทีจ่ ะหย่ังเขาในจดุ สําคญั น้นั
ผทู อ่ี ยใู นภมู นิ น้ั จะตอ งทราบ ผทู ก่ี าํ ลงั กา วเขา ไปโดยลาํ ดบั ลาํ ดาทย่ี งั ไมถ งึ ภมู นิ น้ั สนทิ ก็
ทราบชัดเจน เพราะกําลังพิจารณาอยูแลว ซึ่งเปนพระโอวาทในทามกลางเหตุการณอ นั
สาํ คญั อยา งยง่ิ ดว ย

นค่ี ดิ วา เหมาะกบั โอกาสและเวลาํ่ เวลาทพ่ี ระองคป ระทานพระโอวาท เพราะเหตุ
ใด เพราะปกติของจิตที่ไดพิจารณา มีภมู ธิ รรมสูงขนึ้ ไปโดยลําดับแลว สงั ขารภายในคอื
ความคิดปรุงตางๆ จงึ เปน สง่ิ สาํ คญั มากตอ การพจิ ารณา เพราะอนั นี้แสดงอยทู ั้งวันท้งั
คนื และเปน ไปอยูท กุ ระยะภายในจิต จติ ทม่ี ภี มู คิ วรพจิ ารณาธรรมขน้ั ภายในแลว กต็ อ ง
ถอื เอาสงั ขารนน้ั เปน เปา หมายแหง การพจิ ารณา ซง่ึ เปน เรอ่ื งเกย่ี วเนอ่ื งกนั กบั ปจ ฉมิ
โอวาทอยางยิ่งทีเดียว

การทจ่ี ะ ‘ควาํ่ อวชิ ชา” ใหลมจมลงไปได ก็ตองสืบทอดไปจากการพิจารณา
“สงั ขารภายใน” เปน สาํ คญั พอกาํ หนดตามลงไป ๆ เขาไปถึงรากเหงาเคามูลของกิเลส
และทาํ ลายสงั หารกนั ลงได หลงั จากนน้ั สงั ขารนก้ี ไ็ มม คี วามหมายทจ่ี ะยงั กเิ ลสใหเ กดิ
อีก นอกจากนํามาใชใหเปนประโยชนในดานอรรถธรรม ใชคิดปรุงแตงอรรถธรรมเพื่อ
ประโยชนแ กโ ลก การแสดงธรรมกต็ องใชสงั ขาร สงั ขารประเภทนก้ี เ็ ลยกลายเปน เครอ่ื ง
มือของธรรมไป

สังขารที่เปนเครื่องมือของ “อวิชชา” บงั คบั ใหใ ชน น้ั เปน อนั วา เปลย่ี นตวั ผปู ก
ครองขันธไปแลว กลายมาเปนสังขารซึ่งเปนเครื่องมือของธรรมไป คือเครื่องมือของใจ
ทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ ทา นนาํ สงั ขารนอ้ี อกแสดงธรรมแกโ ลก ดวยการปรุงอรรถปรุงธรรมตางๆ
ธรรมที่กลาวมาทั้งนี้ไมไดมีอยูในครั้งพุทธกาล หรอื อดตี ทผ่ี า นมาแลว ไมไดมีอยู

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๕

๑๗๖

อนาคตที่ยังไมมาถึงโดยถายเดียว พอท่จี ะใหผูปฏิบตั ดิ ปี ฏบิ ัตชิ อบหมดหวงั แตม อี ยใู น
ระหวางขันธกบั จิตของเราเอง หรอื อยใู นธาตใุ นขนั ธใ นจติ ใจของเราน้ี ไมม อี ยทู อ่ี น่ื ใด
นอกจากกายกบั จติ ของมนษุ ยห ญงิ ชาย ทั้งฝายกิเลสทั้งฝายมรรค ทง้ั ความบรสิ ทุ ธม์ิ อี ยู
ที่ใจนี้ ไมอ ยทู ก่ี าลโนน สมยั โนน กบั คนโนน คนน้ี แตอ ยูกับผูปฏิบตั ิ ผูมีสติปญญา
พจิ ารณาอยเู วลาน้ี

เพราะเหตุไร เพราะวาเราตางคนตางมุงตออรรถตอธรรม มุงตอความจริง เชน
เดียวกบั ธรรมของจรงิ ทที่ า นแสดงไวแลว ในสมัยน้ันๆ และเขา กบั หลกั วา “มชั ฌมิ า”
เปน ศูนยกลางเสมอ ไมเอียงไปสมัยโนน ไมเอียงมาสมัยนี้ ไมเอียงไปกาลโนน สถานท่ี
น้ี เปนธรรมคงเสนคงวา เพราะอยใู นทามกลางแหงธาตุแหง ขันธข องเราน้ี มชั ฌมิ า
ทา มกลางหรอื เหมาะกบั การแกก เิ ลสอยตู ลอดเวลา ขอจงปฏิบัติใหถูกตองตามธรรมนี้
เถิด จะเห็นผลแหง “มชั ฌมิ า” อนั เปน ธรรมเหมาะสมตลอดกาลสถานทแ่ี สดงออก ดงั
กลา วมาวา ‘นิพฺพานํ ปรมํ สขุ ํ” จะไมพนไปจากจิตดวงรูๆ นเ้ี ลย จึงขอยุติเพียงเทานี้

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๖

๑๗๗

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วันที่ ๙ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๑๙

จติ ตานปุ ส สนา

“จติ ” “ธรรม”
จติ ทห่ี วิ ธรรมและอม่ิ ธรรม ผดิ กบั ความหวิ และอม่ิ ในสง่ิ ทง้ั หลาย
คาํ วา “หวิ ธรรม” นี่เรามาแยกออกพูด จติ มคี วามรกั ใครช อบใจพอใจในธรรม
อา นธรรมฟง ธรรมปฏบิ ตั ธิ รรมไมเ บอ่ื หนา ยจดื จาง จิตมีความดูดดื่มอยูกับธรรมมากนอย
เพียงไร ยอมมีความสุขมากนอยเพียงนั้น ไมเหมือนความดูดดื่มกับสิ่งอื่นๆ มี รปู เสยี ง
กลิ่น รส เปน ตน ซึ่งมีเคลือบแฝงกันไป และอยางหลังนี้มีทุกขสอดแทรกสับปนไปดวย
เสมอ
ความ “อม่ิ ธรรม” ตง้ั แตเ รม่ิ แรกปฏบิ ตั บิ าํ เพญ็ ทา นเรยี กวา “ปต”ิ คือความอิ่ม
ใจ ปตินี้จะมีไปเรื่อยๆ ตามขน้ั แหง ธรรม ถา ทาํ จติ ใจใหล ะเอยี ด ปติก็ละเอียด จติ ใจหยาบ
คือยงั หยาบอยู ปติแสดงขึ้นกห็ ยาบ บางรายและบางครง้ั ทา นกเ็ รยี ก “อุเพงคาปต”ิ คือ
เกิดปติอยางผาดโผนก็มี อนั นก้ี ข็ น้ึ อยกู บั นสิ ยั เปน รายๆ ไป ไมใชจะปรุงแตงใหเปนดังนั้น
ได
การแนะนาํ สง่ั สอนบรรดาทา นผมู าอบรมศกึ ษาไมว า พระไมว า ฆราวาส มีความมุง
หวังอยางเต็มใจ อยากใหไ ดอยากใหเ หน็ อยากใหร ใู นธรรมทง้ั หลาย เพราะความรคู วาม
เหน็ ความไดธ รรม ผดิ กบั ความรคู วามเหน็ ความไดส ง่ิ อน่ื ใดในโลก ฉะนน้ั เวลาครบู า
อาจารยท า นแสดงธรรม ย่งิ แสดงธรรมข้ันสูงเทาไร ลักษณะสุมเสียงและเนื้อธรรมจะมี
ความเขม ขน ขน้ึ เปน ลาํ ดบั ๆ จนถึงกับอาจคิดไดวาทานอาจมีโทสะ หรือมีอะไรในทํานอง
นน้ั ขณะไดยินสมุ เสยี งและเนื้อธรรมเขม ขนมากๆ ความจรงิ แลว เพราะความอยากใหร ู
อยากใหเ ห็นเปนพลังอนั หนงึ่ เหมอื นกนั ที่ใหแสดงออกมาดวยความเขมขนนั้น ทา นแสดง
ออกมาจากจิตใจที่มีความมุงมั่น มคี วามหวงั ตอ บรรดาทา นผฟู ง ทง้ั หลาย และถอดออกมา
จากความจริงทไี่ ดรูไดเหน็ อยแู ลวประจกั ษใ จ ไมตองไปควาเอามาจากที่ใด ไมว า ฝา ยเหตุ
และฝา ยผล เปน สง่ิ ทส่ี มบรู ณอ ยกู บั ใจทไ่ี ดร ไู ดเ หน็ จากการบาํ เพญ็ มาแลว ทง้ั นน้ั
การรกู ารเหน็ ซง่ึ เปน ผลของการปฏบิ ตั จิ ากหลกั ธรรมชาติ เปนสิง่ ทีเ่ ปด เผยอยกู บั ใจ
ตลอดเวลา ไมม คี วามปด บงั ลล้ี บั แมแ ตว นิ าทหี นง่ึ เปนสิ่งเปดเผยอยูตามความจริงของตน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๗

๑๗๘

ทุกๆ สภาวธรรม ไมว า ภายในรา งกายและจติ ใจ ตลอดจนกิจการภายนอก เปนสิ่งที่มีอยู
ตามหลักธรรมชาติของตน และรูไดตามหลักธรรมชาติของจิตที่ไดรับการอบรมมาจนพอ
ตวั แลว

แตค วามลมุ หลง ที่จะไปติดอยูในสิ่งตางๆ ของผูไมไดรับการฝกฝนอบรมมากอน
หรอื เคยอบรมแตย งั ไมส มบรู ณ จึงมักหลงและติดไดไมเลือกกาลสถานที่ ท่ีใจมีความคดิ
ความปรุงได สําคัญมัน่ หมายได รักได ชังได เกลียดได โกรธได ทกุ กาลสถานทแ่ี ละ
อิริยาบถตางๆ เพราะสิ่งที่จิตไปคิดไปเกี่ยวของ ก็เปนของที่มีอยูตามธรรมชาติของตน สิ่งที่
คดิ ทป่ี รงุ ขน้ึ มาภายในจติ ใจ ก็ปรุงออกจากสิ่งที่มีอยู ตางอันตางมีอยูดวยกันจึงคิดไดติดได
ดวยกัน

ทา นวา “ธรรม” นน้ั เปด เผยอยตู ลอดเวลา นอกจากสติปญญาของเรายังไม
สามารถทจ่ี ะทราบความจรงิ นน้ั ได แมส ง่ิ นน้ั ๆ จะเปด เผยความจริงน้นั ออกมาตลอดเวลา
นาที สง่ิ เหลา นน้ั เราจะพงึ ทราบไดด ว ยอาํ นาจของสตปิ ญ ญานเ้ี ทา นน้ั ฉะนั้นใจของปุถุชน
เราจึงมักเปน ลกั ษณะลมุ ๆ ดอนๆ อยเู สมอ วนั นภ้ี าวนาเปน อยา งน้ี แตว นั นน้ั เปน อยา งนน้ั
ไมสม่ําเสมอ บางวนั ไมร เู รอ่ื งอะไรเลย บางวนั ใจมคี วามสวา งไสว บางวนั มคี วามสงบเยน็ ใจ
เพราะจติ ขน้ั นเ้ี ปน ลมุ ๆ ดอนๆ ยังไมสม่ําเสมอ เรยี กวา “ตั้งตัวยังไมได” จึงตองมีไดบาง
เสยี บา งเปน ธรรมดา

อยา งไรกต็ ามเราไมต อ งเสยี อกเสยี ใจกบั การไดก ารเสยี เหลา น้ี เพราะเปน การเรม่ิ
แรก จิตของเรายังตั้งตัวไมไดแนนอน หรือยังเกาะธรรมไมไดถนัด ก็เปนอยางนี้เหมือนกัน
แมค รอู าจารยท ส่ี ง่ั สอนพวกเราทา นกเ็ คยเปน อยา งนน้ั มาแลว ไมใชปุบปบก็จะตั้งเนื้อตั้งตัว
ไดปจจุบันทันที แลว เปน ครสู อนโลกไดดีเตม็ ภูมิจิตภมู ิธรรมถา ยเดยี ว ตองผา นความลม
ลุกคลกุ คลานมาดว ยกนั แทบท้งั น้ัน

คิดดู พระพทุ ธเจากท็ รงบําเพ็ญดวยความลาํ บากอยา งยิง่ อยถู ึง ๖ พรรษา ชนิดเอา
จรงิ เอาจงั เอาเปน เอาตายเขา วา ทเ่ี รยี กวา “ตกนรกทั้งเปน” ดว ยความอตุ สา หพ ยายาม
ตะเกียกตะกายทุกดานทุกทาง ซง่ึ ลว นแตเ ปน ความทกุ ขเ พราะความเพยี รทง้ั นน้ั ตลอดเวลา
๖ ป จะไมเ รยี กวา ลาํ บากลาํ บนไดอ ยา งไร ขนาดสลบไสลไปก็มี พวกเรากเ็ ปน ลกู ศษิ ยท า น
มคี วามหนาบางตางกนั ตามจริตนิสยั หรืออุปนสิ ัยของแตละคน เชน เดยี วกบั นาํ้ ในพน้ื ดนิ

ในพน้ื ดนิ นน้ี าํ้ มอี ยู ขุดลงไปก็เจอ เปนแตลึกตื้นตางกัน บางแหงขุดลงไปไมกี่เมตร
ก็เจอน้ํา บางแหงขุดลงไปเสียจนลึกแสนลึกถึงเจอน้ําก็มี เรอ่ื งเจอนาํ้ นน้ั ตอ งเจอเพราะแผน
ดินนเ้ี ตม็ ไปดว ยนา้ํ ทําไมจะไมเ จอ ถา ขดุ ไมห ยดุ กอ นทจ่ี ะถงึ นาํ้ !

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๘

๑๗๙

ความเพยี รเพอ่ื เจออรรถเจอธรรมกเ็ ชน เดยี วกนั ตองเจอโดยไมตองสงสัย เพราะ
ธรรมมีอยูตลอดเวลา “อกาลิโก” เรอ่ื งความจรงิ มอี ยู เปน แตสติปญญาของเราอาจรไู ด
เพยี งเทา นน้ั ซึ่งตางกันเกี่ยวกับ “อุปนิสัย” การปฏิบตั ิจงึ มียากมีงาย มชี า มเี รว็ ตางกัน ดัง
ทท่ี า นสอนไวว า

“ทุกขาปฏิปทา ทันธาภิญญา” ทง้ั ปฏบิ ตั ลิ าํ บาก ทั้งรูไดชา นป่ี ระเภทหนง่ึ
“ทุกขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา” ปฏบิ ตั ลิ าํ บาก แตร ไู ดเ รว็ นป่ี ระเภทหนง่ึ
“สุขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา” ทั้งปฏิบัติสะดวก ท้ังรไู ดเ รว็ นป่ี ระเภทหนง่ึ
“สุขาปฏิปทา ทันธาภิญญา” ปฏบิ ตั สิ ะดวก แตรูไดชา นป่ี ระเภทหนง่ึ
นเ่ี ปน พน้ื ฐานแหง อปุ นสิ ยั ของสตั วโ ลกผจู ะควรบรรลธุ รรมทง้ั หลาย ซึ่งจะตอง
เปนไปตามธรรมสี่ประการน้ีอยา งหลกี เลยี่ งไมไ ด เปน แตเ พยี งไมท ราบวา รายใดจะเขา ใน
ลักษณะใดแหง การปฏบิ ตั แิ ละรธู รรมตามปฏิปทาสีน่ ้ี เราเองก็นาจะอยูในขายแหงปฏิปทา
ทั้ง ๔ นอี้ ยางใดอยา งหนึ่ง
แตจ ะเปน ประการใดกต็ าม กเ็ ปน หนาทข่ี องเราควรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ตะเกียกตะกาย
ไปตามความสามารถและวาสนาของตน เพราะไมใช “อภัพบุคคล” ถา เราอยปู ระเภททว่ี า
“ตานาํ้ อยลู กึ ”ก็ตองขุดลงไปจนถึงน้ํา ถา อยใู นประเภท “ตานาํ้ ตน้ื ” เรากข็ ดุ ไดสะดวก
และเจอนาํ้ เรว็ นา น !
เรอ่ื งสัจธรรมน้ันนะมอี ยตู น้ื ๆ รไู ดเ หน็ ไดด ว ยตาดว ยใจธรรมดาอยา งชดั เจน แต
ความรคู วามเขา ใจ ความสามารถของสติปญญา อาจมีกําลังยังไมพอ ซึ่งกวาจะพอใหขุดคน
สจั ธรรม คอื ความจรงิ นข้ี น้ึ มาอยา งเปด เผยและประจกั ษภ ายในเวลาอนั สมควร จึงตอง
อาศยั ความพยายาม แตส าํ คญั ทค่ี วามพากเพยี รพยายามเปน เครอ่ื งหนนุ
เราอยาทอถอย นี่เปนทางของนักปราชญ เปนทางแหงความพนทุกขไปโดยลําดับ
ไมใ ชท างอบั เฉาเบาปญ ญาหรอื ตกนรก เปน ทางทจ่ี ะพยงุ เราใหม คี วามเจรญิ รงุ เรอื งโดย
ลาํ ดบั การปฏบิ ตั เิ ราอยา ไปคาดวนั นน้ั เดอื นน้ี ปน ้นั ซึ่งจะทําใหเรามีความทอถอยออนแอ
ทอใจ แลวหมดกําลังใจไปดวย
เมอื่ หมดกาํ ลงั ใจเสยี อยา งเดียว ความพากเพียรโดยวธิ ตี างๆ นั้นจะลดลงไปโดย
ลาํ ดบั จนกระทั่งไมมีความพากเพียรเอาเลยซึ่งไมใชของดี พึงระมัดระวังเรื่องความคิดที่จะ
เปนภัยตอ การดําเนนิ ของตน!

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๗๙

๑๘๐

เราตง้ั หนา เขา สแู นวรบดว ยกนั อยแู ลว ตั้งหนาจะถอดถอนสิ่งที่เปนขาศึกอยูแลว
ดวยกัน ทําไมเราจะเปนคนนอกบัญชีไปได บญั ชมี อี ยกู บั การกระทาํ ของเราอยแู ลว เวลาน้ี
บญั ชเี พอ่ื ความรแู จง เหน็ จรงิ เพื่อความปลดเปลื้องทุกขไปโดยลําดับๆ อยูกับการกระทํา
ของเราซึ่งกระทําอยูทุกวันทุกเวลา เราเองจะเปน ผรู บั รอง หรอื เปน ผปู ระกนั ตวั ของเรา โดย
อาศัยธรรมของพระพุทธเจามาเปนเครื่องมือพิสูจนหรือขุดคน

ทา นไดมอบใหแ ลว เปน หนา ทข่ี องเราจะเขา สแู นวรบ เมื่อไดอาวุธแลวก็ไมใชหนา
ที่ของผูอื่นใด ทจ่ี ะทาํ หนา ทใ่ี นการรบดว ยเครอ่ื งมอื ทไ่ี ดร บั มาแลว นน้ั ทุกขเพียงไรก็ให
ทราบ ทุกขเพราะความเพียรไมใชทุกขที่ไรประโยชน ไมใชทุกขที่ทรมานอยางการเจ็บไขได
ปว ย ซง่ึ ไมม ปี ระโยชนอ ะไรสาํ หรบั ผทู ไ่ี มพ จิ ารณาใหเ ปน อรรถเปน ธรรม นเ่ี ราพจิ ารณาเปน
อรรถเปน ธรรมอยแู ลว ทุกขจะเกิดขึ้นมากนอย กใ็ หท ราบไปในตวั วา นค้ี อื สจั ธรรม ซึ่งเปน
“หนิ ลบั สติปญ ญา” ใหค มกลาไปกับความเพยี รของเรา

คนมคี วามเพยี ร คนมีสติปญญา ยอมจะทราบเรื่องตางๆ ที่ปรากฏขึ้นกับตัวไดเปน
อยางดีมีทุกขสัจ เปน ตน เราอยาไปทอถอยในเรื่องความทุกข อยาไปออนใจในเรือ่ งความ
ทุกข การออ นใจในเรือ่ งความทกุ ข คือการออนใจตอการประพฤติปฏิบัติ คอื ความออ นใจ
ตอ ทางดาํ เนนิ เพอ่ื ความพน ทกุ ขข องตน ซึ่งไมใชของดีเลย

ทุกขมากทุกขนอยในขณะปฏิบัติ เปนหนาที่ของสติ ปญญา ศรัทธา ความเพยี ร
หรือกําลังวังชาของเราจะขุดคน เพื่อเห็นความจริงของทุกขทุกดาน จะเกดิ ในดา นใดสว นใด
ของอวัยวะ หรอื จะเกดิ ขน้ึ ภายในจติ กเ็ รยี กวา “ทุกข” เชน เดยี วกนั สง่ิ เหลา นจ้ี ะเหน็ จรงิ
เหน็ แจง กนั ดว ยสติปญ ญา ศรัทธา ความเพยี รของเราเทา นน้ั ไมมีอยางอื่นที่จะขุดคนความ
จริงที่มีอยูนี้ใหเห็นไดอยางประจักษใจจนกระทั่งปลอยวางกันได เรยี กวา “หมดคดีเกี่ยว
ของกัน” ทจ่ี ะพาเราใหห มนุ เวยี นเกดิ ตาย ซง่ึ เปน เหมอื นหลมุ ถา นเพลงิ เผามวลสตั ว

ครบู าอาจารยท พ่ี าดาํ เนนิ และทด่ี าํ เนนิ มาแลว มาสอนพวกเรา องคไหนที่ปรากฏชื่อ
ลือนามวาเปน ท่เี คารพนบั ถอื ของประชาชนพระเณรมากๆ รสู กึ วา ทา นจะเปน “พระที่เดน
ตาย” มาแลว ดว ยกนั ไมใชคอยๆ ทาํ ความเพยี รธรรมดา แลว รขู น้ึ มาเปน ครเู ปน อาจารย
ของบรรดาลูกศิษยทัง้ หลาย ควรเรยี กไดว า “เปน อาจารยเ ดนตายมาแลว ” ดว ยกนั แทบท้งั
นน้ั

องคทา นเองมแี ตบ าตร บาตรกม็ ีแตบ าตรเปลา ๆ ผา สามผนื เปน ไตรจวี ร คือ
สบง จวี ร สงั ฆาฏิ และผา อาบนาํ้ เทา นน้ั ความที่ไมมีอะไรเปนของของตัว ตองอาศัยคนอื่น

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๐

๑๘๑

ทุกชิ้นทุกอันเชนนี้ จะหาความสะดวกความสบายมาจากไหน เพราะเรอ่ื งของพระจะตอ ง
เปน ผสู มาํ่ เสมอ เปนผูอ ดผทู น จะหวิ กระหาย จะลาํ บากลาํ บนแคไ หน ตองอดตองทนเต็ม
ความสามารถ ดว ยความพากเพยี รแหง สมณะ หรอื แหง “ศากยบตุ ร”หรอื “ลูก
ตถาคต” เพ่อื อรรถเพอ่ื ธรรมทต่ี นมุงหวงั เปน สําคญั กวาสงิ่ อ่นื ใด

เวลาทําความเพียรกไ็ ปทุกขอ ยูก ับความเพียร การแกก เิ ลส สกู นั กบั กเิ ลสประเภท
ตางๆ เพราะกเิ ลสบางประเภทนน้ั ผาดโผนมาก เนอ่ื งจากเคยอยบู นหวั ใจของเรามานาน
การที่จะกดเขาลงอยูใตอํานาจนั้นยอมเปนของลําบากไมใชนอย แมเราเองก็ยังไมอยากจะ
ปลดเปลื้องเขาอีกดวย ความรสู กึ บางเวลาแทรกขน้ึ มาวา “เขาดอี ยแู ลว ” บา งวา “เขากค็ ือ
เรานน่ั เอง” บา ง “ความขเ้ี กยี จ” กค็ อื เรานน่ั เองบา ง “เห็นจะไปไมไหว” กค็ อื เรานน้ั เอง
บา ง “พกั ผอ นนอนหลบั ใหส บาย” กค็ อื เรานน่ั เองบา ง “ทอดธรุ ะเสยี บา ง” “วาสนานอ ย
คอยเปนคอยไปเถอะ” กค็ อื เราบา ง หลายๆ อยางบวกกันเขา แทนทจ่ี ะเปน ความเพยี ร
เพื่อแกกิเลส เลยกลายเปน เรอ่ื ง “พอกพูนกิเลส” โดยเจา ตวั ไมร ตู วั เพราะฉะนน้ั ในการ
ประกอบความเพยี รในทา ตา งๆ เชน ในทา ยนื ทา เดนิ ทา นง่ั หรือทานอน จงึ เปน ความ
ลําบากไปตามกัน

คาํ วา “ทานอน”ไมใชนอนหลบั ทา นอนคอื ทา ทาํ ความเพยี รของผปู ฏบิ ตั ธิ รรม เชน
เดยี วกบั ทา ยนื ทา เดนิ ทา นง่ั นน่ั เอง บางจริตนิสัยชอบนอนก็มี แตไมหลับ นอนพจิ ารณา
อยอู ยา งนน้ั เชน เดยี วกบั นง่ั พจิ ารณา ทา นจงึ เรยี กวา “จรติ นิสัยตางกนั ” ชอบภาวนาดี
เวลานอน เวลานง่ั เวลายนื เวลาเดนิ ตา งกันอยางน้ตี ามจริตนสิ ยั และความพากเพยี รทกุ
ประเภทเปนเรื่องที่จะถอดถอนกิเลส ขุดคนกิเลสออกจากใจของตน จะเปน เรอ่ื งงา ยๆ
เบาๆ สบายๆ ไดอยางไร ตอ งลาํ บาก เพราะความรกั กเ็ หนยี ว ความเกลยี ดกเ็ หนยี ว ความ
โกรธกเ็ หนยี ว ขึ้นชื่อวา “กเิ ลส” แลว เหนยี วแนน และฝงหยั่งลกึ ลงถึงขว้ั หวั ใจน่นั แล

เราจะถอดถอนไดงายๆ เมื่อไร และเคยฝงมากี่กัปกี่กัลป ฝงอยูที่หัวใจของสัตวโลก
นะ การถอดถอนสิ่งที่ฝงจมลึกอยางนี้ตองเปนของยาก เปน ภาระอนั หนกั ไมใ ชน อย เมอ่ื
เปน ภาระอนั หนกั ความทุกขเ พราะความเพียรก็ตองมาก ไมว า จะเปน กเิ ลสประเภทใดก็
ตาม มนั ออกมาจากรากเหงา เคา มูลของมนั คอื หวั ใจ ฝงอยางลึกดวยกันทั้งนั้น เพราะฝง จม
กนั มานาน เราตองใชความพยายามเต็มที่เพื่อถอดถอนตัวอุบาทวเหลานี้ออกใหได จะได
เปน บคุ คลสน้ิ เคราะหส น้ิ กรรมเสยี ที ไมเปนคนอุบาทวโดนแตทุกขถายเดียวตลอดไป

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๑

๑๘๒

แตก ารกลา วดงั นอ้ี ยา คาดคะเนหรอื สาํ คญั เอาวา “เรานย้ี ง่ิ ลกึ กวา เพอ่ื น” นี่ก็จะยิ่ง
เปนการจมลงไปอกี ดว ยอุบายของกิเลสหลอกเรา

นเ่ี ราพดู ถงึ ความเพยี ร หรือความทุกขค วามลาํ บากของครูของอาจารย ที่ทานมา
แนะนาํ สง่ั สอนใหเ รา ทา นตองใชความอุตสาหพยายาม จนกระทั่งไดเหตุไดผลจากการ
ประพฤติปฏิบัติ เรยี กวา “มตี น ทนุ ขน้ึ มาภายในจติ ใจ” ใจก็ตั้งหลักได สติปญญาก็พอคิด
อานไตรตรองได

ตอนน้ันแหละเปน ตอนท่เี พลิน เพลินตอการถอดถอนกิเลสทุกประเภท ไมมีการทอ
ถอยออนใจ มุงหนามุงตาที่จะถอดถอนใหหมด จนไมม อี ะไรเหลอื อยภู ายในจติ ใจเลย ทีนี้
ความเพยี รกเ็ กง ไมวาทาไหนเกง ท้ังนนั้ อตุ สาหพยายามพากเพยี ร ความคดิ ใครค รวญ
ตางๆ ละเอียดลออไปตามๆ กัน หรอื “สุขุมไปตามๆ กัน” เพราะธรรมรวมตวั เขา แลว มี
กําลังดวยกัน ศรทั ธากร็ วม วริ ยิ ะกร็ วม รวมไปในจุดเดยี วกนั “พละ ๕” รวมอยใู นนน้ั
“อทิ ธบิ าท ๔” รวมลงไปภายในจติ ทเ่ี คยเตม็ ไปดว ยกเิ ลสทง้ั หลาย

แมจะยากก็เถิด ! อารมณค าํ วา “ยาก” ก็คอยหมดไปเมื่อปรากฏผลขึ้นภายในที่
เรยี กวา “ตนทุน” นน้ั แลว ยากกเ็ หมอื นไมยาก แตกอนเรายังไมมีตนทุน คาดวยกาํ ปน มัน
กล็ าํ บากอยบู า ง พอมีเครื่องมือมีตนทุนบางแลว ถงึ จะลาํ บากกเ็ หมอื นไมล าํ บาก เพราะ
ความพอใจ สติปญญามีพอตอสู ความพากเพียรไมถอยหลังไมลดละ จติ ใจกม็ คี วามเจรญิ
รงุ เรอื งขน้ึ โดยลาํ ดบั ๆ เปน ความสงา ผา เผยขน้ึ ทด่ี วงใจดวงทเ่ี คยอบั เฉามาเปน เวลานานนน้ั
แล นค่ี อื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั การปฏบิ ตั ดิ ว ยความทกุ ขย ากลาํ บาก ดว ยความเพยี รทา ตา งๆ จติ
โลงดวยความสงบเย็น พูดถึงความสงบก็สงบ คือสงบจิต ไมใ ชส งบแบบคนสน้ิ ทา สงบ
อยางเยือกเย็น เวลาถงึ กาลปญ ญาจะออกพจิ ารณาคน ควา กเ็ ตม็ เมด็ เตม็ หนว ย สูไมถอย
กลางคนื กลางวันเตม็ ไปดวยความพากเพยี ร ความลาํ บากลาํ บนดว ยปจ จยั สไ่ี มส นใจ ขอให
ไดป ระกอบความพากเพียรเตม็ สตกิ ําลังความสามารถ เปนที่พอใจของนักปฏิบัติเพื่อหวังรู
ธรรม ผหู วงั รแู จง เหน็ จรงิ ในธรรมโดยถา ยเดยี วเทา นน้ั

ผลสุดทายจิตที่เคยมืดดําก็เปดเผยตัวออกมา ใหเ หน็ เปน ความสวา งกระจา งแจง
เปน ความอศั จรรย ! อุบายสติปญญาที่เคยมืดมิดปดตาคิดอะไรไมออก กก็ ลายเปนสติ
ปญ ญาทห่ี มนุ ตวั ออกมาดว ยลวดลายแหง ความเฉลยี วฉลาด ทันกบั เหตุการณข องกิเลสท่ี
แสดงตัวออกมาทุกแงทุกมุม

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๒

๑๘๓

เมอ่ื สตปิ ญ ญาเขา ขน้ั นแ้ี ลว กเิ ลสท่ีเคยสง่ั สมตัว สัง่ สมกาํ ลงั มาน้ัน ก็ลดนอยลงไป
โดยลาํ ดบั ๆ จนสามารถพูดไดวากิเลสไมมีทางสั่งสมตัวได แมแตกิเลสที่มีอยูก็ถูกทําลายไป
โดยลําดบั ดวยสติปญญาขุดคน ไมมีวันมีคืน มีปมีเดือน มอี ริ ยิ าบถใดๆ เปน อปุ สรรคกดี
ขวางความเพยี ร มีแตธาตุแหงความเพียรไปทั้งวันทั้งคืน นห่ี มายถงึ สตปิ ญ ญาหมนุ ตวั อยู
ตลอดเวลาไมว า อริ ยิ าบถใดๆ

ยง่ิ เหน็ ชดั เจน จิตยิ่งเดน เหนอื กเิ ลสขน้ึ มาเปน ลาํ ดบั ๆ เพราะฉะนน้ั คาํ วา “ไมยอม
แพก เิ ลสน”้ี ทําไมจะพูดไมได ! เมอ่ื เหน็ ประจกั ษใ จในกาํ ลงั ของตวั วา เปน ผสู ามารถแค
ไหนอยแู ลว

สตปิ ญ ญาทอ่ี อกตระเวนคน ควา หากเิ ลสนน้ั หมนุ รอบตวั อยตู ลอดเวลา กเิ ลสตวั ไหน
จะสามารถออกมาเพนพานกลาหาญตอสติปญญาประเภทนี้ก็ออกมา ตองโดนดีกับสติ
ปญญาชนิดสะบ้นั ห่นั แหลกแตกกระจายไมสงสยั นอกจากจะหลบซอนตัว แมหลบซอนก็
ตองตามขุดคนกันไมหยุดหยอนอยูนั่นแล เพราะถงึ คราวธรรมะไดท แี ลว นแ่ี หละทท่ี า นวา
“สติปญญาอัตโนมัต”ิ หรอื “มหาสติ มหาปญญา” ตองทํางานขุดคนไมหยุดไมถอย
อยางน้ีแล

เวลาไปเจอกบั กเิ ลสชนดิ ใดเขา แลว นน่ั ถอื วา เจอขา ศกึ เขา แลว และพลั วนั หรอื
ตะลมุ บอนกนั เลยจนเหน็ เหตเุ หน็ ผล จนกระทงั่ ถึงความปลอ ยวาง หรอื ละกเิ ลสประเภทนน้ั
ได เมื่อหมดประเภทนี้แลวก็เหมือนไมมีอะไรปรากฏ แตสติปญญาขั้นนี้จะไมมีหยุดไมมี
ถอย จะคุยเขี่ยขุดคนอยูอยางนั้น มนั อยูทีต่ รงไหนขดุ คนหาสาเหตุ เสาะทา นน้ั แสวงทา น้ี
ขุดคน ไปมาจนเจอ พอปรากฏตัวกิเลสขึ้นมาปบ จบั เงอ่ื นนน้ั ปบุ ตามเขา ไปคน ควา เขา ไป
ทนั ทจี นไดเ หตไุ ดผ ลแลว ปลอ ยวาง

นก่ี ารแกก เิ ลสขน้ั น้ี ตองแกไปเปนลําดับๆ เชนนี้กอน จนกระทง่ั กเิ ลสมนั รวมตวั ที่
เคยพดู เสมอวา “อวิชชา” นน่ั นะ รวมตวั ธรรมชาตนิ น้ั ตอ งผา นการขดุ คน ภายในจติ
ขดุ คน เฉพาะจติ เมื่อไดที่แลว เวลาถอนกถ็ อนพรวดเดยี วไมมีเหลอื เลย สวนกิ่งกานของ
มนั นน้ั ตองไดตัดกานนั้นกิ่งนี้เรื่อยไป สาขาไหนที่ออกมากนอย เล็กโตขนาดไหน ตัดดวย
ปญญา ๆ ขาดลงไป ๆ ผลสดุ ทา ยกย็ งั เหลอื “หวั ตอ” ถอดหัวตอถอนหัวตอนี้ยากแสน
ยาก แตถอนเพียงครัง้ เดยี วเทานัน้ คือพรวดเดยี วหมด ! ก็ไมมีอะไรเหลือแลว ! สน้ิ วฏั
จกั รสน้ิ ทจ่ี ติ พน ทจ่ี ติ บรสิ ทุ ธท์ิ จ่ี ติ หมดปญ หาเกิดตายทั้งมวลที่จิตนี่แล

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๓

๑๘๔

นแ่ี หละความทกุ ขค วามลาํ บากในการประกอบความเพยี รมามากนอ ย เราจะไมเ หน็
คณุ คา อยา งไรเลา เมื่อกองทุกขทั้งมวลมากนอยซึ่งทับอยูบนหัวใจ ไดทลายลงไปหมดดวย
อาํ นาจแหง ความเพยี รทว่ี า ทุกขๆ ยากๆ ลาํ บากของเรานน้ั คมุ คา ! ตายก็ตายไปเถอะตาย
ดว ยความทกุ ขเ พราะความเพยี ร ไมเ สยี ดายชวี ติ เพราะไดเ หน็ คณุ คา หรือไดเห็นผลของ
ความเพียรเปนอยางไรบางประจักษกับจิตของตนเองแลว

ฉะนน้ั การบาํ เพญ็ เพยี ร ตองเปนผูไมทอถอย มอี ะไรพจิ ารณากนั ภายในจติ ใจ มืด
เรากท็ ราบวา มดื จิตไมเคยมืด ความรจู รงิ ๆ ไมปดตัวเอง ทุกขขนาดไหนก็ทราบวาทุกข
สขุ ขนาดไหนกท็ ราบ มดื กท็ ราบวา มดื สวา งกท็ ราบวา สวา ง หนกั เบาแคไ หน ผรู บั รู รบั รอู ยู
ตลอดเวลา ไมยอมอาภัพกับสิ่งใดทั้งหมด ไมปดกั้นตัวเองเลย ผนู ค้ี อื ผรู บั รอู ยตู ลอดเวลา
แมจะถูกกิเลสรุมลอมอยูขนาดไหน ความรอู นั นจ้ี ะรเู ดน อยเู สมอ รูต ัวเองอยเู สมอ สมกับ
ชื่อวา “ผรู คู อื จติ ”

นแ่ี หละจะเอาผนู แ้ี หละใหพ น จากสง่ิ เกย่ี วขอ งหรอื สง่ิ พวั พนั ทง้ั หลาย มาเปน อสิ ระ
ภายในตนเอง เหลอื แตค วามรลู ว นๆ น้ี จึงตองไดพิจารณาแกไขกันเต็มกําลัง ยากงา ย
ลําบากเพียงไรก็ตองทํา เพราะสง่ิ เหลา นน้ั เปน ภยั ตอ เรา ไมม ีช้ินสวนท่ปี ราชญท ้งั หลายนา
จะยกยองกันบางเลย! เรารเู หน็ มนั วา เปน ตวั ทกุ ขป ระจกั ษใ จ ถาไมถอดถอนพิษภัยออก
จากจติ ใจแลว เราก็ไมมีทางกาวเดินออกจากทุกขไดเลย เชน เดยี วกบั การถอนหวั หนาม
ออกจากเทา เรานน่ั แล

การถอดถอนหัวหนามออกจากเทา ถาเราถือวาเจ็บปวดมากไมกลาถอน นน่ั แหละ
คือเทาจะเสียหมด เพราะหนามฝงจมอยทู ีน่ นั่ เปน ตน เหตสุ าํ คญั ทจ่ี ะทาํ ใหเ ทา เรากาํ เรบิ
มากถึงกับเสียไปหมด เพราะฉะนน้ั โดยทางเหตผุ ลแลว จะทุกขล าํ บากขนาดไหน ตองถอน
หวั หนามออกจากเทาจนได ไมถอนหนามนั้นออกเสียเปนไปไมได เทา จะกาํ เรบิ ใหญ และ
จะทาํ ใหอ วยั วะสว นอน่ื เสยี ไปดว ยมากมาย ฉะนั้นแมจะทุกขขนาดไหน ก็ตองถอนออกให
ไดโดยถายเดียว

การบาํ เพ็ญเพียรเพ่อื ถอดถอนหนาม คือกิเลสเปนเครื่องเสียดแทงจิตใจอยูตลอด
เวลา ถาไมถอนมันเสียจะเปนอยางไร? การถอนหวั หนามคอื กเิ ลสดว ยความเพยี ร จะทุกข
ยากลําบากขนาดไหนก็ตอ งทาํ โดยเหตุผล ตายก็ตองยอม เพื่อใหหนามนี้ออกจากจิตใจ จะ
ไมตองเสียดแทงกันไปนานตลอดกัปนับไมจบสิ้นได!

พูดถึงกิเลส มอี ยทู กุ แหง หนในบรรดาสตั วบ คุ คล มีอยูรอบตัวของเรามากมายไมมี
เวลาบกพรอ งเบาบางลงบา งเลย แตห าไดท ราบไมว า นน่ั คอื กเิ ลสทง้ั มวล เวลาพจิ ารณาแลว

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๔

๑๘๕

ถงึ ไดร วู า มนั มอี ยรู อบตวั เรา และกวาดเขา มาหาตวั เราทกุ วนั เวลา ไมม ีคําวา “หนกั ” วา
“พอแลว” เลย มันติดรูป ตดิ เสยี ง ติดกลิ่น ติดรส ติดสมบัติพัสถานตางๆ มากตอมากจน
กลายเปน กิเลสไปหมด เพราะจติ พาใหเ ปน สง่ิ เหลา นน้ั เขาไมเ ปน กเิ ลส แตจิตไปติดกับ
สง่ิ ใด เรากถ็ อื วา สง่ิ นน้ั เปน กเิ ลส จาํ ตอ งพจิ ารณาใหเ หน็ ชดั เจนตามสง่ิ นน้ั เพื่อจิตจะได
หายสงสยั และถอนตวั เขา มาสว นแคบ และพจิ ารณางา ยเขา จนสุดทายก็มาอยูที่ในธาตุขันธ
ของเรานแ่ี หละ!

กเิ ลสคอื ความรกั ความสงวนตวั นส่ี าํ คญั มาก ไมมอี ันใดจะเหนอื ความรักตัวสงวน
ตัวไปได เมื่อกิเลสประเภทนไี้ มมีทเ่ี กาะแลว จึงตอ งยอ นกลับเขา มารวมตวั อยูในใจดวง
เดยี ว มันตองไดใชสติปญญาขับไลกันที่ตรงนี้ ไลตรงนี้ไลยากหนอย ยากก็ไล เพราะแมต วั
จญั ไรเขา มารวมทน่ี ่ี กม็ าเปนกิเลสอยูทน่ี ่ีเหมอื นกนั กบั เวลาซา นอยขู า งนอก เปน เสย้ี นเปน
หนามทิ่มแทงเหมือนกัน เปนพิษเปน ภัยเหมอื นกัน ตองไลใ หออกดว ยการพจิ ารณาเรอื่ ง
ธาตุขันธ แยกแยะออกดูใหเห็นตามความเปนจริงทุกแงทุกมุม พจิ ารณาแลว พจิ ารณาอกี
จนเปนพื้นเพของจิตไดอยางมั่นคงและชัดเจนวา “สกั แตวา ธาตุ สักแตวาขันธ เทา นน้ั ”!

เมอ่ื พจิ ารณาเตม็ เมด็ เตม็ หนว ยแลว มนั เปน เชน นน้ั “มนั สกั แตวา .ๆ” เมอ่ื
พจิ ารณาถึงขน้ั “สกั แตว า แลว ” จะไปยึดมั่นถือมั่นไดอยางไร! เพราะปญ ญาหวา นลอ มไป
หมด ปญญาชําระไปหมด ชะลางไปหมด มลทินคือกิเลสที่ไปติดพันอยูกับใจ ความสาํ คญั
มนั่ หมายตางๆ ที่เกี่ยวของติดพันอยูที่ตรงไหน สติปญญาชะลางไปหมด ปลดเปลื้องไป
โดยลาํ ดบั ๆ สดุ ทา ยกร็ ขู น้ึ มาอยา งชดั เจน “สวากขาตธรรมทง้ั ปวง ก็เปน ธรรมทซ่ี ึง้ ใจ
สดุ สว น ใจไมย ดึ มน่ั ถอื มน่ั ในธรรมและสง่ิ ใด”

รปู กส็ กั แตว า รปู ไมว า อาการใดทเ่ี ปน อยใู นรา งกายเราทใ่ี หน ามวา “รปู ” ก็สัก
แตว า เทา นน้ั ไมยิ่งกวานั้นไป จะยิ่งไปไดอยางไรเมื่อจิตไมสงเสริมใหมันยิ่ง ความจรงิ จติ
เปน ผสู ง เสรมิ จติ เปน ผกู ดถว งตวั เองตา งหาก เมอ่ื สตปิ ญ ญาพจิ ารณารตู ามหลกั ความ
จรงิ แลว ทุกสิ่งทุกอยางก็จริงของมันเอง “สักแตวา” นน่ั ! เมอ่ื “สักแตว า” แลว จติ ไม
เหน็ สง่ิ นน้ั สง่ิ นม้ี คี ณุ คา มรี าคายง่ิ กวา ตนพอจะไปหลงยดึ ถอื จติ กห็ ายกงั วล รูปกส็ กั
แตว า ถึงยังเปนอยูก็สักแตวา ตายไปแลว กส็ กั แตว า ความเปลย่ี นแปรสภาพของมนั เทา นน้ั

เวทนาเกดิ ขน้ึ มากส็ กั แตว า เมื่อสลายลงไปก็สักแตวา ตามสภาพของมันและตาม
สภาพของทุกอาการ ๆ ปญหาทั้งปวงในขันธในจิตก็หมดไปโดยลําดับ

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๕

๑๘๖

สดุ ทา ยจติ ทม่ี คี วามรกั ความสงวนดว ยอาํ นาจแหง กเิ ลสประเภทหนง่ึ ซ่งึ เปน สง่ิ
สาํ คญั ทเ่ี กาะอยใู นนน้ั กพ็ จิ ารณาลงไป ซึ่งเรียกวา “จติ ตานปุ ส สนา” คอื ความเหน็
แจงในจิตและอาการของจิตทุกอาการวา “สกั แตว า จติ ” คอื เปน สภาพหนง่ึ ๆ เชน เดยี ว
กบั สภาวธรรมทง้ั หลาย ไมถือจิตเปนตน ไมสําคัญจติ วาเปน ตน ถา ถอื จติ วา เปน ตนเปน
ของตนจะพจิ ารณาไมไ ด เพราะความรกั ความสงวนความหงึ หวง กลัววาจิตจะเปนอะไร
ตออะไรไปเสีย แลว กลายเปน กาํ แพงกน้ั ไว จึงตอ งพจิ ารณาตามท่ีทา นวา “จติ ตานปุ ส ส
นา” พจิ ารณาลงไปใหเ หน็ “สกั แตว า จติ ” คิดก็สักแตวาคิด ปรุงขึ้นมาดีชั่วก็สักแตวา
ปรงุ แลวกด็ ับไป ๆ สกั แตว า ๆ จนถงึ รากฐานของ “จิตอวิชชา”

รากฐานของ “จิตอวิชชา” คืออะไร? คอื กเิ ลสชนดิ ละเอยี ดสดุ อยภู ายในจติ
ไมพ จิ ารณาจติ นน้ั ไมไ ด จติ จะสงวนจติ ไว แลว พจิ ารณากเิ ลสประเภทนต้ี า งหากนน้ั
ยอ มหาทางไมได! เพราะกเิ ลสประเภทสงวนตวั มนั หลบอยใู นอโุ มงค คอื จติ นแ้ี หละ!
จะเสียดายอุโมงคอยูไมได ถา โจรเขา ไปอาศยั อยใู นอโุ มงคน เ้ี ราจะเสยี ดายอโุ มงคไ มไ ด
ตองระเบิดหมดทั้งอุโมงคนั่นนะ ใหม นั แตกทลายกลายเปน ชน้ิ สว นไปหมด นี่ก็เหมือน
กัน ระเบดิ ดว ยสตปิ ญ ญาใหห มดเลยทต่ี รง “อุโมงค คือจิตอวิชชา” นใ้ี หส น้ิ ซากไป

เอา ถา จติ เปน จติ จรงิ ทนตอการพิสจู น ทนตอความจริงจริงๆ จติ จะไมฉ บิ หาย
จะฉบิ หายไปแตส ง่ิ ทเ่ี ปน สมมตุ เิ ทา นน้ั ! ธรรมชาติตัวจริงของจิตแทๆ จะไมฉ บิ หาย
และอะไรจะเปน “วิมุตต”ิ ? ถาจิตสามารถเปน วมิ ุตตไิ ด ทนตอการพิสูจน ทนตอการ
พิจารณาทุกอยางได กใ็ หจ ติ รตู ัวเอง จิตนั้นจะยังคงเหลืออยู

อันใดที่ไมทนตอการพิจารณา อันใดที่เปนสิ่งจอมปลอม ก็จะสลายตัวของมันไป จง
พจิ ารณาลงทจ่ี ติ ดีชั่วเกิดขึ้นก็แตเพียงแย็บๆๆ อยภู ายในจติ ดับไปก็ดับที่จิต คนลงไป
พจิ ารณาลงไป เอาจติ เปน สนามรบ

เราเอาเสยี ง เอากล่ิน เอารส เปน สนามรบ พจิ ารณาดว ยปญ ญา ผา นเขา มาถึงข้นั
เอารปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ เปน สนามรบ พจิ ารณาจนรแู จง เหน็ จรงิ แลว ปลอ ย
วาง ๆ ปลอ ยวางไปตามเปนจริง

อา ว!ที่นี่กิเลสมันไมมีที่ซอนก็วิ่งเขาไปอยูในจิต ตอ งเอาจติ เปน สนามรบอกี ฟาด
ฟน กนั ดว ยปญ ญาสะบน้ั หน่ั แหลกลงไปเปน ลาํ ดบั ๆ โดยไมมีขอแมขอยกเวนวาจะควร
สงวนอะไรไวเ ลย อันใดทีป่ รากฏจะพจิ ารณาฟาดฟนใหอนั นัน้ แหลกไปหมด ใหร เู ขา ใจไป
หมด นน่ั !

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๖

๑๘๗

สุดทายกิเลสก็ทนตัวอยูไมได กระจายออกไป นน่ั ! ของจอมปลอมตองสลายตัวไป
ของจริงอันดั้งเดิมแทไดแกจิต กเ็ ปนธรรมชาติทีบ่ รสิ ทุ ธขิ์ ้ึนมาแทนทท่ี ก่ี เิ ลสหายไป หา
ความสลายหาความฉบิ หายไปไมม เี ลย นแ้ี ลคอื ความประเสรฐิ แท เราชนะเพอ่ื อนั น้ี
ธรรมชาติแทไมตายไมฉ บิ หาย ถงึ จะถกู พจิ ารณาขนาดไหนกต็ าม แตส ตปิ ญ ญาจะฟาด
ฟน จติ ใหแ หลกละเอยี ดจนฉบิ หายไปหมดนน้ั เปน ไปไมไ ด นน่ั

สุดทายจิตก็บริสุทธิ์ไดดวยปญญา พอจิตบริสุทธิ์เต็มที่แลว ปญญาก็หมดหนาที่ไป
เอง หรือหมดภาระหนาที่ของตนไปเองตามหลักธรรมชาติของสติปญญา พอจิตบริสุทธิ์
เต็มที่แลวปญญาก็หมดหนาที่ไปเอง หนาที่ของตนไปเอง ตามหลักธรรมชาติของสติปญญา
ที่เปนสมมุติฝายแกกิเลสทั้งมวล นอกจากเราจะนาํ ไปใชบ างกาลบางเวลาในแงธ รรมตา งๆ
หรอื ธรุ ะหนาทตี่ า งๆ เทา นน้ั

ท่จี ะนาํ มาแก มาทาํ ลายกเิ ลส ถอดถอนกิเลสดวยปญญาดังที่ไดทํามาแลวนั้น ไมมี
กิเลสจะใหแกใหถอน สติปญญาจะถอนอะไร ตางอันตางหมดหนาที่ของตัวไปเองโดย
อัตโนมัติหรือธรรมชาติ

สิ่งที่ยังเหลืออยู เหนอื สจั ธรรมทง้ั ส่ี คือ ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค กไ็ ดแ กค วาม
บรสิ ทุ ธ์ิ คอื ผรู ลู ว นๆ ผนู ีแ้ ลเปน ผูพน จากสมมุตโิ ดยประการทงั้ ปวง พนจากกิเลสโดย
ประการทั้งปวง ทรงไวซึ่งความบริสุทธิ์ที่ทานเรียกวา“วิมุตต”ิ เราจะไปหา “วิมุตต”ิ ที่
ไหน? ความหลุดพน อยูท ไ่ี หน? ก็มันติดของอยูที่ไหน? เมื่อพนจากความติดของแลว มัน
กเ็ ปน ความหลดุ พน ทเ่ี รยี กวา “วิมุตต”ิ เทา นน้ั เอง การแสดงธรรมจงึ ยุตเิ พียงเทา นี้ ไมมี
ความรคู วามสามารถแสดงใหย ง่ิ กวา นไ้ี ด

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๗

๑๘๘

เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๙

จิตผองใส คอื อวชิ ชา

ปกติจิตเปนสิ่งที่ผองใส และพรอมที่จะสัมผัสสัมพันธกับทุกสิ่งทุกอยางอยูเสมอ
สภาพทง้ั หลายเปน “ไตรลักษณ” ตกอยูในกฎแหง อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา ดวยกันทั้งนั้นไม
มเี วน แตธรรมชาติของจิตที่แทจริงนั้นไมไดอยูในกฎนี้ เทาที่จิตเปนไปตามกฎของ “อนจิ จฺ ํ
ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา ” ก็เพราะสิ่งที่เปนไตรลักษณ คอื สง่ิ ทห่ี มุนเวียนเขาไปเก่ยี วขอ งกับจติ จิตจึง
หมนุ เวยี นไปตามเขา แตหมนุ เวียนไปดวยธรรมชาติที่ไมแตกไมส ลาย หมุนไปตามสิ่งที่มี
อาํ นาจใหห มนุ ไป แตที่เปนอํานาจของจิตอยูโดยหลักธรรมชาตินั้น คือ “รแู ละไมต าย”
ความไมต ายนแ้ี ลเปน สง่ิ ทเ่ี หนอื ความแตก ความไมแตกสลายนีแ้ ลเปน สิ่งทเี่ หนอื กฎไตร
ลักษณและ “หลกั สากลนยิ ม” ทง้ั หลาย แตท ไ่ี มทราบก็เพราะธรรมชาติทเ่ี ปนสมมตุ เิ ขาไป
เกี่ยวของรุมลอมจิตเสียหมด จิตจงึ กลมกลืนกบั เรื่องเหลานี้ไปเสยี

ทเ่ี ราไมท ราบวา การเกดิ ตายเปน ของมมี าดง้ั เดมิ ประจาํ จติ ทม่ี กี เิ ลสเปน เชอ้ื กเ็ พราะ
ความไมทราบเปน เรื่องของกเิ ลส ความเกดิ ตายเปนเรอ่ื งของกเิ ลส เรอ่ื งเราจรงิ ๆ เรอ่ื งเรา
ลว นๆ คอื เร่อื งจิตลวนๆ ไมมีอํานาจเปนตัวของตัวเองได อาศัยของจอมปลอมมาเปนตัว
ของตัวเรื่อยมา การแสดงออกของจิตจึงไมตรงตามความจริง มีการแสดงออกตางๆ ตาม
กลมารยาของกิเลส เชน ทาํ ใหก ลวั ทําใหสะทกสะทา น กลวั จะเปน กลวั จะตาย กลัวอะไร
กลัวไปหมด แมทุกขนอยทุกขใหญอะไรมาปรากฏก็กลัว อะไรกระทบกระเทือนไมไดเลยมี
แตกลัว ผลทส่ี ดุ ในจติ จงึ เตม็ ไปดว ยความหวาดความกลวั ไปเสยี สน้ิ นน่ั ! ทั้งๆ ทเ่ี รอ่ื งความ
หวาดความกลวั เหลา นไ้ี มใ ชเ รอ่ื งของจติ โดยตรงเลย แตกท็ าํ ใหจิตหว่นั ไหวไปตามจนได

เราจะเหน็ ไดเ วลาทจ่ี ติ ชาํ ระจนบรสิ ทุ ธล์ิ ว น ๆ แลว ไมมีอะไรเขาไปเกี่ยวของไดแลว
จะไมป รากฏเลยวา จติ นก้ี ลวั กลาก็ไมปรากฏ กลัวก็ไมปรากฏ ปรากฏแตธรรมชาติของตัว
เองอยูโดยลาํ พงั หรอื โดยหลกั ธรรมชาติตลอดเวลา “อกาลิโก” เทา นน้ั นเ้ี ปน จติ แท จิตแท
นี้ตองเปน “ความบรสิ ทุ ธ”์ิ หรอื “สอุปาทิเสสนิพพาน” ของพระอรหนั ตท านเทาน้นั นอก
จากนไ้ี มอ าจเรยี ก “จิตแท” อยางเต็มปากเต็มใจได สาํ หรบั ผแู สดงกระดากใจไมอ าจเรยี ก
ได

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๘

๑๘๙

“จิตดั้งเดิม” หมายถึงจิตดั้งเดิมแหง “วฏั ฏะ” ของจิตที่เปนอยูนี่ ซึ่งหมุนไปเวยี น
มา ดังที่พระพุทธเจาทรงสอนไวในหลักธรรมวา “ดูกอน ภกิ ษทุ ัง้ หลาย จิตเดิมแทผองใส”
นน่ั ! “แตอ าศยั ความคละเคลา ของกเิ ลสหรอื กเิ ลสจรมา จงึ ทาํ ใหจ ติ เศรา หมอง” ทา นวา

“จิตเดิมแท” นั้นหมายถึงเดิมแทของสมมุติตางหาก ไมไดหมายถึงความเดิมแท
ของความบริสุทธิ์ เวลาทานแยกออกมา “ปภสฺสรมิทํ จิตตฺ ํ ภกิ ขฺ เว” “ปภสสฺ ร” หมายถึง
ประภสั สร คือความผองใส ไมไดหมายถึงความบริสุทธิ์ นี่หลักเกณฑของทานพูดถูกตองหา
ที่แยงไมไดเลย ถา วา จติ เดมิ เปน จติ ทบ่ี รสิ ทุ ธน์ิ น้ั จะมที ค่ี า นกนั วา “ถา บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว มาเกดิ
ทําไม?” นน่ั แนะ !

ทานผชู ําระจิตบรสิ ุทธ์ิแลว ทา นไมไ ดมาเกิดอีก ถา จติ บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว ชาํ ระกนั ทาํ ไม มัน
มีที่แยงกันตรงนี้ จะชําระเพื่ออะไร? ถาจิตผองใสก็ชําระ เพราะความผอ งใสนน้ั แลคอื ตวั
“อวิชชา” แทไมใชอื่นใด ผปู ฏิบัตจิ ะทราบประจกั ษใจของตนในขณะท่จี ิตไดผา นจากความ
ผอ งใสนไี้ ปแลวเขา ถึง “วิมุตติจิต” ความผอ งใสนจ้ี ะไมป รากฏตวั เลย นน่ั ! ทราบไดต รงน้ี
อยางประจักษกับผูปฏิบัติ และคา นกันไดกค็ านกนั ตรงนี้ เพราะความจริงนัน้ จะตอ งจริงกบั
ใจของบุคคล เมื่อใครทราบใครรูก็ตองพูดไดเต็มปากทีเดียว

ฉะนั้นจิตของพวกเรากําลังตกอยูในวงลอม ทาํ ใหห วาดใหก ลวั ใหร กั ใหช งั ใหเ ปน
ทุกสิ่งทุกอยางชื่อวาเปนอาการของสมมุติ เปน อาการของกเิ ลสโดยสน้ิ เชงิ ตัวเราเองไมได
พลังจิตเปนของตนเอง มีแตพลังของกิเลสตัณหาอาสวะ มันผลักมันดันอยูทั้งวันทั้งคืน ยนื
เดนิ นง่ั นอน แลว เราจะหาความสขุ ความสบายมาจากทไ่ี หน เมื่อธรรมชาตินี้ซึ่งเปนของ
แปรสภาพอยตู ลอดเวลา ยังมาย่ัวยจุ ติ ใหเ ปนไปตามอีกดว ยโดยทเี่ ราไมร สู กึ

โลกนจ้ี ะหาความสขุ ทไ่ี หน หาไมได ถาไมไดถอดถอนธรรมชาติเหลานี้ออกจากจิต
ใจโดยสน้ิ เชงิ เสียเมื่อไร จะหาความทรงตวั อยอู ยา งสบายหายหว งไมไ ดเ ลย จะตองกระดิก
พลิกแพลงหรือตองเอนโนนเอนนี้ ตามสิ่งที่มาเกี่ยวของยั่วยวนมากนอย ฉะนั้นทานจึงสอน
ใหช าํ ระจติ ซง่ึ เปน การชําระความทุกขท รมานของตนนัน้ แล

ไมมีผูใดที่จะหยั่งถึงหลักความจริงไดอยางแทจริงดั่งพระพุทธเจา มีพระองคเดียวที่
เรยี กวา “สยมั ภู” โดยไมตอ งไดร บั การอบรมสัง่ สอนจากผูหน่งึ ผูใดเลย ในการแกก เิ ลส
ออกจากพระทัยของพระองค ทรงทาํ หนา ท่ีทง้ั เปน นักศึกษาท้งั เปน ครไู ปในตัวลําพังพระ
องคเดียว จนไดตรัสรูถึงขั้น “ยอดธรรม ยอดคน ยอดศาสดา”

สว นทางสมาธดิ า นความสงบนน้ั ทานคงไดศกึ ษาอบรมมาบา งเหมือนกันกบั ดาบส
ทั้งสอง ไมปฏิเสธ แตนั่นไมใชทางถอดถอนถึงความเปน “สัพพัญู” ได เวลาจะเปน

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๘๙

๑๙๐

“สัพพัญู” ก็เสด็จออกจากดาบสทั้งสองไปบําเพ็ญลําพังพระองคเดียว และทรงรเู องเหน็
เองโดยไมม ีครสู ง่ั สอนเลย แลว นาํ ธรรมนน้ั มาสง่ั สอนโลก พอไดร บู ญุ รบู าป รนู รกสวรรค
ตลอดนิพพานมาจนกระทั่งปจจุบันนี้ หากไมม ใี ครมาสง่ั สอนเลย สัตวโลกก็จะแบกแตกอง
เพลงิ เตม็ หวั ใจไมม วี นั เวลาปลอ ยวางไดเ ลย เมอ่ื เปน เชน นค้ี วรจะเหน็ คณุ คา แหง ธรรมท่ี
ทา นนาํ มาสอนโลกไดโ ดยยาก ไมม ใี ครในโลกสามารถทาํ ไดอ ยา งทา นเลย

เวลานอ้ี ะไรเปน เครอ่ื งหมุ หอ จติ ใจ หาความ “ผองใส” และ “ความบรสิ ทุ ธ”์ิ ไมได
ทั้งๆ ทเ่ี ราตอ งการหาความบรสิ ทุ ธด์ิ ว ยกนั ทกุ คน อะไรเปน เครอ่ื งปด บงั อยเู วลาน้ี? ถาพูด
ตามหลกั ธรรมชาตแิ ลว ก็มีขันธห า เปนท่ีหนงึ่ สว น “จิตอวิชชา” นั้นยกไวกอน เอาแตที่
เดน ๆ คอื ขนั ธห า นน้ั เปน ทห่ี นง่ึ และทเ่ี ปน สหายกนั นน้ั กค็ อื รปู เสยี ง กลิ่น รส เครือ่ งสมั ผัส
ซึ่งติดตอสื่อสารกันกับตา หู จมูก ลน้ิ กาย และเขา ไปประสานกบั ใจ จากนน้ั กเ็ ปน “ความ
สาํ คญั ” ขน้ึ มาอยา งนน้ั อยา งนจ้ี ากรปู เสยี ง กลิ่น รส เคร่ืองสัมผสั แลว นาํ เอาอารมณท ผ่ี า น
ไปแลว นน้ั แล เขา มาผกู มดั วนุ วาย หรือมาหุมหอตัวเองใหมืดมิดปดตาไปดวยความรัก
ความชงั ความเกลยี ด ความโกรธ และอะไรๆ เต็มไปหมด ซึ่งไดมาจากสิ่งดังกลาวทั้งนั้น

สวนที่ฝงอยูลึกก็คือขันธของเรานี้ เราถอื วาเปน ตัวเปน ตนของเรามาตงั้ แตดกึ ดาํ
บรรพก าลไหนๆ ทุกชาติทุกภาษา แมจ ะเปน สตั วกต็ อ งถอื วาเรานเ้ี ปน ของเรา นเ้ี ปน สตั ว
เปนตัวของสัตว เปนตวั ของเรา จะเปนกายทิพย รางกายทิพยก็เปนตัวของเรา จะเปน เปรต
เปนผีเปนอะไรก็ตามเถอะ สง่ิ ทอ่ี าศยั อยรู า งหยาบรา งละเอยี ด ตอ งถือวา เปนเราเปนของ
เราดว ยกนั ทง้ั นน้ั จนกระทง่ั ทม่ี าเปน มนุษยท ่รี จู กั ดรี ูจกั ชวั่ บางแลว ก็ยังตองถือวา “นเ้ี ปน
เราเปน ของเรา” ในขนั ธห า รปู กเ็ ปน เรา เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ กเ็ ปน เราเปน ของ
เรา เหลา นี้ยังฝงอยูอยางลกึ ลับ

ฉะนน้ั ทา นจงึ สอนใหพ จิ ารณา การพจิ ารณากเ็ พอ่ื จะใหร ชู ดั เจนตามความจรงิ ของ
มัน แลวถอนความยึดมัน่ ถือม่นั สําคญั ผดิ วา ตน เพื่อความเปนอิสระนั่นเองไมใชเพื่ออะไร
ตามปกติของเขาแลวจะพจิ ารณาเขาทาํ ไม? รปู กเ็ ปน รปู เสยี งเปน เสยี ง กล่ินเปน กลิน่ รสก็
เปน รส เครื่องสัมผัสตางๆ เปนธรรมชาติของเขาอยูดั้งเดิม เขาไมไดวาเขาเปนขาศึกอะไร
ตอ เราเลย ไปพจิ ารณาเขาทาํ ไม?

การพจิ ารณากเ็ พอ่ื ใหท ราบความจรงิ ของสง่ิ นน้ั ๆ ตามความเปนจรงิ ของเขา แลว
ทราบความลมุ หลงของตนดว ยการพจิ ารณาน้ี และถอนตวั เขา มาดว ยความรู การที่จิตเขา
ไปจับจองยึดขันธวาเปนตนเปนของตน กเ็ พราะความลมุ หลงนน่ั เอง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๙๐

๑๙๑

เมอ่ื พจิ ารณาเขา ใจวา สง่ิ นน้ั เปน อะไรอยา งชดั เจนแลว จติ ก็ถอนตวั เขามาดว ยความ
รคู วามเขา ใจดว ยปญ ญา หมดกงั วลกบั สง่ิ เหลา นน้ั การพจิ ารณาอนั ใดทเ่ี ดน ชดั ในบรรดา
ขนั ธห า น้ี ไมตองไปสําคัญมั่นหมาย คอื คาดคะเนวา เราไมไ ดพ จิ ารณาขนั ธห า โดยทว่ั ถงึ คือ
ทุกขันธไปโดยลําดับ ไมตองไปทําความสําคัญ ขอแตวาขันธใดเปนที่เดนชัดซึ่งควร
พจิ ารณาในเวลานน้ั และเหมาะสมกบั จรติ นสิ ยั ของเรา กใ็ หพ จิ ารณาคน ควา ในขนั ธน น้ั ให
ชดั เจน เชน รูปขันธ เปน ตน

ในรูปขันธ มอี าการใดเดน ในความรสู กึ ของเรา ทเ่ี กดิ ความสนใจอยากจะพจิ ารณา
มากกวาอาการอนื่ ๆ เราพงึ จบั จดุ นน้ั กาํ หนดพจิ ารณาใหเ หน็ ความจรงิ ของมนั วา “ทกุ ขฺ ํ
คืออะไร?”

ตามหลกั ธรรมทา นกลา วไวว า “ทกุ ขฺ ํ” คือความทนไมได มนั ไมค อ ยสนทิ ใจเราซง่ึ
เปน คนมนี สิ ยั หยาบ จงึ ชอบแปลแบบลางเนอ้ื ชอบลางยาเปน สว นมากวา “ทกุ ขฺ ํ คอื ความ
บบี บงั คบั อยตู ลอดเวลานแ้ี ล” นเ่ี หมาะกบั ใจเราทห่ี ยาบมาก ดังธรรมบทวา “ยมปฺ จ ฉฺ ํ น
ลภติ ตมฺป ทกุ ขฺ ํ” นต้ี รงกบั คาํ ทว่ี า น้ี คือปรารถนาสิ่งใดไมไดสมใจก็เปนทุกข เปนทุกขคือ
อะไร? กค็ อื บบี คน้ั ตวั เองนน้ั แล หรอื เกดิ ความไมส บายนน่ั แลว ปรารถนาสง่ิ ใดไมไดสง่ิ น้ัน
ก็ไมสบาย ปรารถนาสง่ิ ใดแมไ ดแ ลว แตสิ่งนั้นพลัดพรากจากไปเสียก็เปนความทุกขขึ้นมา
ความทุกขอ นั น้ีเขา กันไดก ับคาํ วา “มนั บบี บงั คบั ” ความบบี บงั คบั นน้ั แลคอื ความทกุ ข
ความทนไมได เมื่อทนไมไดก็เปนไปตามเรื่องของเขา ไปยุงกับเขาทําไม! ความจรงิ จะเปน
ขันธใดหรือไตรลักษณใดก็ตาม ใจของเราไปยึดไปถือเขาตางหาก จงึ ตองมาพิจารณาใหชดั
เจนในขนั ธ

รูปขันธ อาการใดดใู หเ หน็ ชดั เจน ถายงั ไมทราบชัดใน “ปฏิกูล” ซึ่งมีอยูในรูปขันธ
ของเรา กใ็ หด ปู า ชา ในตวั ของเรานใ้ี หเ หน็ ชดั เจน คาํ วา “เยย่ี มปา ชา ” ใหเ ยย่ี มทน่ี ่ี แมเ ยย่ี ม
ปาชา นอกกเ็ พ่อื นอ มเขามาสปู าชา ในตวั ของเรา “ปา ชา นอก” คนตายในครั้งพุทธกาล มัน
ปาชาผีดิบทิ้งเกลื่อน ไมคอยจะเผาจะฝงกันเหมือนอยางทุกวันนี้ ทานจึงสอนใหพระไป
เยย่ี มปา ชา ทต่ี ายเกา ตายใหมเ กลอ่ื นกลาดเตม็ ไปหมดในบรเิ วณนน้ั เวลาเขา ใหเ ขา ทางทศิ
นน้ั ทศิ น้ี ทานก็สอนไวโดยละเอียดถี่ถวน ดวยความฉลาดแหลมคมของพระพุทธเจาผูเปน
“สยมั ภู” หรอื “ผเู ปน ศาสดาของโลก” ทา นสอนใหไ ปทางเหนอื ลม ไมใหไปทางใตลม จะ
เปน อนั ตรายตอ สขุ ภาพ เพราะกลน่ิ ซากศพทต่ี ายเกา ตายใหมน น้ั ๆ

เมอ่ื ไปเจอซากศพเชน นีเ้ ขา แลว ความรสู กึ เปน อยา งไร แลวใหไปดูซากศพชนิด
นน้ั ๆ ความรสู กึ เปน อยา งไร ใหป ระมวลหรอื “โอปนยิโก” นอมเขามาสตู ัวเองซง่ึ เปนซาก

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๙๑


Click to View FlipBook Version