The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อัตโนประวัติ ๑ โดย หลวงพ่อทูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-05 21:44:03

อัตโนประวัติ ๑ โดย หลวงพ่อทูล

อัตโนประวัติ ๑ โดย หลวงพ่อทูล

Keywords: อัตโนประวัติ ๑,หลวงพ่อทูล

วปิ สั สนาได้เกดิ ขน้ึ ๓๙๑

นนั่ เอง สมบตั ขิ องโลกทง้ั หมดน้ี ถา้ ใจเขา้ ไปยดึ ตดิ วา่ เปน็ ของเรา
เมอื่ ไร เมอื่ ตายไปใจที่มีความหว่ งอาลยั ในสมบัติ ก็จะได้กลับมา
เกิดรักษาสมบตั นิ อ้ี ีกได้ แทนที่จะไปพกั ผ่อนอย่เู มืองสวรรคก์ ไ็ ป
ไม่ได้ หรือบางทีอาจเป็นเปรตมาเฝ้าสมบัติน้ีอยู่ก็อาจเป็นได้
เชน่ กนั ฉะนน้ั อยา่ มาหลงในสมบตั ขิ องโลกนเ้ี ลย สมบตั ขิ องโลก
ยอ่ มท�ำใหม้ ีความสุขทางใจ แตไ่ มม่ ากนกั ส่วนมากจะกอ่ ใหเ้ กดิ
ความทุกข์ทางใจแทบทั้งสิ้น น้ีจึงเป็นหน้าท่ีของผู้ปฏิบัติน�ำมา
พจิ ารณาอยู่เสมอ เพือ่ จะไดล้ ดความยดึ มั่นถอื มนั่ ภายในใจลง

กิเลสกาม หมายถึงความรักความใคร่อันเป็นไปในทาง
ราคะ สือ่ ที่จะกอ่ ใหเ้ กิดราคะขน้ึ ภายในใจน้นั คือรูป เสยี ง กลน่ิ
รส โผฏฐพั พะ ทีน่ �ำมาสมมติใหเ้ กดิ ความก�ำเริบทางใจได้ ถึงจะ
มกี เิ ลสราคะฝงั อย่ทู ่ีใจกต็ าม ถ้าไมส่ มมตเิ อารปู เสยี ง กล่นิ รส
โผฏฐัพพะ มาประกอบเข้า กิเลสตัวราคะก็ไม่ก�ำเริบขึ้นมาได้
เหมือนกบั ถ่านไฟท่ีมไี ฟอยู่ ถา้ ไมเ่ อาเชือ้ ของไฟเขา้ ไปใส่ ไฟกไ็ ม่
ลกุ ขนึ้ มาได้ ถา้ เอาเชอื้ ของไฟเขา้ ไปใสใ่ นไฟเมอ่ื ไร กจ็ ะเปน็ ไฟลกุ
รนุ แรงมากขนึ้ นฉ้ี นั ใด ถงึ ใจจะมรี าคะ ถา้ ไมไ่ ปสมมตเิ อารปู เสยี ง
กล่ิน รส โผฏฐพั พะ ขึ้นมาสมมตปิ รุงแต่ง ขยายผลแหง่ ความรัก
ความใคร่ ใจก็จะไม่ก�ำเริบเป็นอารมณ์ข้ึนมา นี่ก็เป็นกามภพท่ี

๓๙๒ อัตโนประวัติ ภาค ๑

มนุษย์และสัตว์โลกมีความข้องอยู่ มีความผูกพัน มีความยินดี
มีความรักความใคร่จนเกิดความเคยชิน ท�ำให้ใจเกิดความหลง
ในส่ิงเหล่านี้จนลืมตัว เรียกว่า กาม เสพติด เสพจนลืมตัว
มนษุ ยโ์ ลกทง้ั หลายถอื วา่ เปน็ เรอ่ื งปกติ ถอื วา่ เปน็ เรอื่ งธรรมดาไป
การมีความเข้าใจอย่างนี้ มีความเห็นเข้าข้างตัวเองหรือเปล่า
ส่งิ ใดที่ถกู กับกิเลสตวั เอง กถ็ อื วา่ เป็นเรื่องธรรมดาใช่ไหม ฉะน้นั
ค�ำว่าหลงในส่ิงท่ีเป็นธรรมดาก็เป็นดังน้ีนี่เอง จึงได้เกิดตายใน
กามภพนี้มายาวนานจนถึงปจั จบุ นั และจะหลงธรรมดาอย่างนี้
ตอ่ ไปในอนาคตชาติหนา้ โดยไมม่ เี วลาจะจบส้ินลงได้

ในกามภพอกี รูปแบบหน่งึ ท่ีมนษุ ย์เรามคี วามตอ้ งการกัน
อยมู่ ากทเี ดยี ว นนั้ คอื ภพของสวรรค์ กามภพในสวรรคน์ ท้ี เี่ รยี กวา่
เป็นของทิพย์ มีความเพลิดเพลินหลงอยู่ในของทิพย์ พวกน้ี
เสพกามทางใจ ย่ิงมีความหลงใหลในกามยิ่งกว่าเมืองมนุษย์นี้
เสียอีก ในเมืองสวรรค์น้ีเป็นสถานท่ีเริงรมย์ ถ้าใครได้ไปอยู่ก็
จะเพิ่มความหลงมากข้ึน หารู้ไม่ว่าสวรรค์ก็ยังตกอยู่ในอนิจจัง
ความไม่เท่ยี ง ทุกชวี ติ ไม่อยากจะลงมาเกดิ เมืองมนุษย์ แต่ก็อยู่
ไมไ่ ด้ เพราะบญุ กศุ ลทสี่ รา้ งไวม้ สี ว่ นจำ� กดั ถงึ กาลเวลากไ็ ดล้ งมา
เกิดเป็นมนุษย์ตามเดิม ไม่มีใครๆ จะอยู่บนสวรรค์ตลอดไปได้

วิปสั สนาได้เกดิ ขน้ึ ๓๙๓

ฉะนน้ั กามภพ ซงึ่ เปน็ ภพทห่ี มกมนุ่ อยใู่ นกามคณุ จงึ ยากทคี่ นจะ
รตู้ วั ไดว้ ่าเราตกอย่ใู นความหลง นนั่ คอื หลงบญุ ตัวเอง หารู้ไม่ว่า
บญุ กบั บาปเปน็ ของคกู่ นั แยกกนั ไมไ่ ด้ เหมอื นกบั หว่ งเกาะกนั อยู่
ถ้าหว่ งฝา่ ยบุญมีกำ� ลงั ใจก็มีความสุขอยบู่ ้าง ถา้ ห่วงของบาปมี
กำ� ลงั กเ็ กดิ ความทุกข์ข้ึนมาทใี่ จ ฉะน้นั ใจดวงเดียวจงึ รับทั้งบุญ
รับทง้ั บาปที่มอี ยใู่ นกามภพนี้

บุญอีกประเภทหนง่ึ คอื ผ้ทู ีท่ ำ� สมาธิท�ำใหจ้ ิตมีความสงบ
ในรปู ฌาน เมอื่ ตายไปกไ็ ดไ้ ปเกดิ เปน็ รปู พรหม บญุ อกี ประเภทหนงึ่
เปน็ บุญท่เี กดิ จากการทำ� สมาธิใหจ้ ติ มีความสงบถงึ ขั้นอรูปฌาน
เปน็ บญุ ขน้ั ละเอยี ดออ่ น บญุ ดงั กลา่ วนไ้ี มส่ ามารถทจ่ี ะไปลบลา้ ง
บาปได้ เปน็ เพยี งอำ� นาจของบญุ ทม่ี กี ำ� ลงั มากกวา่ บงั คบั ไมใ่ หบ้ าป
ฟตู วั ขน้ึ มาไดเ้ ทา่ นนั้ เพราะบญุ นเี้ กดิ ขนึ้ จากตณั หาคอื ความอยาก
ตณั หามสี องอยา่ ง

๑) ตัณหาความอยากเปน็ ไปในทางที่เป็นบาป
๒) ตณั หาความอยากทีเ่ ปน็ ไปในทางกุศล
ฉะนน้ั บญุ กศุ ลจะเวยี นวนอยใู่ นภพทง้ั สามนเี้ ทา่ นน้ั แมแ้ ต่
บาปก็วนเวียนไปมาอยู่ในภพท้ังสามนี้เช่นกัน เมื่อมารู้เห็นด้วย
ปัญญาว่าบุญและบาปเกิดข้ึนจากตัณหาคือความอยากอย่างนี้

๓๙๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑

และรู้ว่าตัณหาพาให้ใจมีความหมุนเวียนไปมาในภพท้ังสาม
ต้องมีอุบายทำ� ลายแหง่ ตัณหาเสีย เมื่อท�ำลายตณั หาให้หมดไป
จากใจไดเ้ ม่อื ไร เท่ากบั ว่าตัดเสน้ ทางของวัฏจกั รการหมุนเวียน
ในภพท้งั สามน้ไี ดแ้ ล้ว

เม่ือปัญญามารู้เห็นตามความเป็นจริงอย่างน้ี จึงไม่มี
ภพใดเป็นทอี่ ย่อู าศัยไดเ้ ลย ใจไมม่ คี วามยดึ ตดิ อยกู่ ับสิ่งใดๆ จงึ
เรยี กวา่ ใจมคี วามวา่ งเปลา่ ใจไมม่ นี มิ ติ หมายในสงิ่ ใดๆ ในสามภพ
จึงมีความเว้ิงว้างในสามโลกธาตุนี้ ไม่มีสิ่งใดมาลี้ลับปิดบังใน
ปัญญาระดับนี้แต่อย่างใด ความเป็นไปในความรู้สึกทางใจมี
การเปลย่ี นไป ในอดตี ทผี่ า่ นไปหลายปที ผี่ า่ นมา เหมอื นกบั วา่ ใจได้
รบั ภาระอนั หนกั หนว่ งในธาตขุ นั ธ์ ไมม่ วี นั เลยทจ่ี ะมคี วามเบากาย
และเบาใจได้เลย ใจจะอยเู่ ฉยไม่ได้ จะหมนุ ไปตามกิเลสตณั หา
อยู่ในกระแสโลกตลอดเวลา ใจได้หมุนไปตามกิเลสตัณหาไม่มี
เวลาพักผอ่ นแต่อย่างใด ไปรับเอาอารมณ์ท่ีชอบใจและอารมณ์
ทไ่ี มช่ อบใจ ทำ� ใหเ้ กดิ ความวา้ วนุ่ ขนุ่ มวั เศรา้ หมองเรอื่ ยมา หาเวลา
เป็นของตัวเองไม่ได้เลย

ฉะนนั้ การใชป้ ญั ญาพจิ ารณาในสง่ิ ทไี่ มเ่ ทยี่ ง และพจิ ารณาใน
ทกุ ขแ์ ละเหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ จะเปน็ ความทกุ ขท์ างกายและความทกุ ข์

วปิ สั สนาได้เกดิ ขนึ้ ๓๙๕

ทางใจ ใชป้ ญั ญาอบรมสง่ั สอนใจอยเู่ สมอ เพราะใจมคี วามลมุ่ หลง
ในกามคุณนี้เป็นอย่างมาก จึงเกิดความเห็นผิดความเข้าใจผิด
มีความยึดติดอยู่ในกามคุณอย่างแนบแน่นทีเดียว ในเม่ือใจได้
เหน็ ทกุ ข์ โทษ ภยั ในกามคณุ แลว้ กจ็ ะเกดิ ความกลวั ไมก่ ลา้ ทจี่ ะ
เขา้ ไปผกู พนั ยดึ มนั่ ในกามคณุ นอ้ี กี ปลกี ตวั ออกจากความหว่ งอาลยั
ในภาพเก่าๆ ดังท่ีเคยเป็นมาให้ห่างไกล ใช้ปัญญามาพิจารณา
ทบทวนกระแสของกิเลสตัณหา จนใจได้รู้ว่ามีแต่ทุกข์เท่าน้ัน
เกิดขนึ้ มีแตท่ ุกขเ์ ทา่ น้ันทีต่ ้ังอยู่เป็นของคู่ของใจตลอดมา

สว่ นอบุ ายปญั ญาทนี่ ำ� มาเปน็ ขอ้ มลู สอนใจนน้ั ตอ้ งมพี ยาน
หลักฐานที่เป็นจริง มีความเช่ือถือได้อย่างฝังใจในเหตุและผล
เมื่อใจได้รับข้อมูลที่เป็นจริงอย่างน้ี ใจพร้อมที่จะรับความจริง
พรอ้ มทจ่ี ะตดั สนิ ชขี้ าดในทนั ที ไมม่ คี วามอาลยั ตดิ ใจในหมกู่ เิ ลส
ตณั หานี้เลย เพราะใจได้ร้ตู ัวแล้วว่าได้ถกู กิเลสตณั หาหลอกลวง
ให้เกิดความหลงใหล ท�ำให้ใจได้ลอยตามกระแสของโลกมา
ยาวนาน มีความทุกขท์ รมานในการเกิดแก่เจ็บตายตลอดมา ถ้า
ปล่อยใจไปตามกิเลสตัณหานี้ต่อไป จะไม่มีช่องทางหลีกเล่ียง
จากความทกุ ข์นไ้ี ปได้เลย มีแต่จะจมอย่ใู นความทกุ ขอ์ นั เป็นผล
ที่เกดิ จากกามคุณนี้อยา่ งถอนตวั ไม่ขึ้นเลยทีเดียว นับวนั จะเปน็

๓๙๖ อตั โนประวัติ ภาค ๑

ข้าทาสของกิเลสตัณหาตลอดไป ในเหตุการณ์อย่างนี้ไม่มีใคร
จะชว่ ยเราได้แล้ว เราจะตอ้ งพงึ่ สตปิ ญั ญาพ่ึงความสามารถของ
ตัวเองเท่านั้น ให้สมกับค�ำว่าตนแลเป็นท่ีพ่ึงของตน จะไปพึ่ง
คนอนื่ ทำ� ไมเล่า

ใจในอดีตที่ผ่านมาได้ถูกกิเลสตัณหาพาลอยแพไปใน
มหาสมมตนิ มี้ ายาวนาน ไมม่ กี าลเวลาเปน็ อสิ ระเสรเี ฉพาะตวั เอง
เลย อยใู่ ตอ้ ำ� นาจของกเิ ลสตณั หามาตลอด ในอดตี เปน็ มาอยา่ งไร
ในชาติปัจจุบนั ก็เป็นอยอู่ ยา่ งนัน้ ในชาตปิ ัจจบุ นั เปน็ อย่างไร ใน
ชาติอนาคตก็ต้องเป็นไปอย่างน้ัน น้ีคือใจได้ถูกกิเลสสังขาร
ล้างสมองมาแลว้ จึงเรียกว่า ตโม ตมปรายโน มดื มาแล้วและจะ
มดื ตอ่ ไปไมม่ ที สี่ น้ิ สดุ ลงได้ มแี ตค่ วามหลงใหลในสมมตนิ โ้ี ดยไมม่ ี
ขอบเขต จะเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ขโ์ ทษภยั อยา่ งไร กม็ คี วามเขา้ ใจวา่
ถอื เปน็ เรอื่ งธรรมดาไป ความเสยี ใจความทกุ ขใ์ จอยา่ งไรกใ็ หเ้ ปน็
เรื่องธรรมดาไป ไมม่ ีปญั ญามาแก้ไขในสิง่ ท่เี ปน็ ธรรมดาอยา่ งน้ี
บา้ งเลย ในทสี่ ดุ กจ็ ะลอยไปตามกระแสโลกตอ่ ไป กย็ ากทจี่ ะรตู้ วั
ตนื่ ตวั ขน้ึ มาได้ กจ็ ะปลอ่ ยใหเ้ ปน็ ไปตามความหลงของใจ ไมร่ วู้ า่
อีกนานเทา่ ไรจงึ จะรู้ตัว

ใจมีความโลภ ใจมีความโกรธ ใจมีราคะ ใจมีความหลง

วิปัสสนาได้เกดิ ข้นึ ๓๙๗

ก็จะปล่อยให้มีความโลภ มีความโกรธ มีราคะ มีความหลง ก็
ถอื วา่ เปน็ เรอ่ื งธรรมดาไป ใจมอี วชิ ชาตณั หา กเิ ลสสงั ขาร กถ็ อื วา่
เป็นเรื่องธรรมดา ไม่มีสติปัญญาศึกษาในเหตุผลของธรรมดา
นบี้ า้ งเลย ลกั ษณะอยา่ งนจี้ งึ อยใู่ นขนั้ ปทปรมะ เปน็ ใจทดี่ า้ นไมม่ ี
สิทธ์ิที่จะดึงดูดธรรมะได้เลย เป็นใจที่พระพุทธเจ้าโปรดไม่ได้
หรอื เปน็ ตโม ตมะ เปน็ ใจทมี่ ดื มาแลว้ มดื ไป ไมม่ ปี ญั ญามาแกไ้ ข
ปัญหาภายในใจนี้เลย ถ้าหากเป็นดอกบัว ก็ยังไม่มีตุ่มอยู่ใน
เหงา้ บัวก็วา่ ได้ ถา้ เป็นม้า ถึงจะเอาปฏกั แทงลงไปจนถงึ กระดกู
ก็จะไม่ยอมว่ิงอยู่นั่นเอง ฉะน้ัน เรื่องของธรรมดา จึงเป็นวิธีท่ี
ผูไ้ ร้ปญั ญานำ� มาแก้ตัวและหาข้ออา้ งอยู่ตลอดเวลา และจะเอา
ธรรมดานเ้ี ปน็ ขอ้ อา้ ง จงึ เปน็ ความเหน็ ทเี่ ขา้ ทางของกเิ ลสตณั หา
อยา่ งนา่ เสยี ดาย

ในชว่ งนนั้ สตปิ ญั ญา ศรทั ธา ความเพยี ร ความรเู้ หน็ ทางใจ
มีความพร้อมมากท่ีสุด พิจารณาในสัจธรรมใด ใจจะมีปัญญา
รอบรู้ไปทั้งหมด ไม่มีสิ่งใดตกค้างอยู่ภายในใจอันจะท�ำให้เกิด
ความงุนงงสงสัยลังเลแม้แต่น้อยเลย ทุกอย่างจะรู้เห็นตาม
ความเปน็ จรงิ นอี้ ยา่ งแจม่ แจง้ ไมม่ สี งิ่ ใดมาลลี้ บั ปดิ บงั ถงึ สายทาง
ของวัฏสงสาร จะมีความสลับซับซ้อนอย่างไรก็มีความเข้าใจได้

๓๙๘ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑

ทง้ั หมด เวน้ เสยี แตผ่ ไู้ มม่ สี ตปิ ญั ญาเทา่ นน้ั จงึ จะเกดิ หลงทางของ
วัฏฏะนี้ต่อไป ถึงตัวเองจะเคยเกิดเคยตายในวัฏจักรนี้มาแล้ว
ก็ถือว่าเป็นของความฝันไป ไม่ต้องไปสนใจในส่ิงท่ีผ่านมาแล้ว
นน้ั เปน็ เพยี งการทอ่ งเทยี่ วในอดตี จะไปคดิ หาเพอ่ื ประโยชนอ์ ะไร
เพราะไดผ้ ่านมาแล้ว

ฉะน้ัน การเกิดตายในภพทั้งสามท่ีผ่านมา มันเป็นเรื่อง
ของบญุ และบาปทเี่ กดิ ขน้ึ จากตณั หา คำ� วา่ โลกวทิ ู ทพี่ ระพทุ ธเจา้
ทรงประกาศวา่ มปี ญั ญารแู้ จง้ เหน็ จรงิ ในโลกทงั้ สาม คอื กามโลก
รูปโลก อรูปโลก โลกทั้งสามน้ีเป็นที่ท่องเที่ยวของสัตว์โลก
ทง้ั หลายเท่าน้นั เรียกว่าวฏั จกั ร เปน็ สถานท่วี นเวยี นไปมาของ
หม่สู ัตว์โลกทั้งหลาย บางภพก็มคี วามสขุ บางภพก็มคี วามทกุ ข์
ขึน้ อยู่กบั ผลบุญและบาปท่ีตวั เองสร้างมา

ผู้ได้บ�ำเพ็ญสมาธิท�ำให้ฌานเกิดข้ึนได้ ก็มีความสามารถ
บงั คบั ควบคมุ กเิ ลสตณั หาไวไ้ ด้ กพ็ อมคี วามสขุ อยบู่ า้ ง เมอ่ื อำ� นาจ
ของฌานไดเ้ สื่อมไป ก็ไดก้ ลบั มาเกดิ ในกามโลกน้ีเช่นเคย กิเลส
ตัณหาก็แสดงตัวขึ้นมาท่ีใจ มีความรักมีความใคร่ในกามคุณ
เหมอื นคนทวั่ ไป มผี วั เมยี ลกู หลานเหมอื นมนษุ ยโ์ ลกทวั่ ไป ฉะนนั้
ผไู้ ปเกดิ ในรปู โลก อรปู โลก กไ็ มไ่ ดพ้ น้ ไปจากความทกุ ขอ์ ยนู่ น่ั เอง

วปิ สั สนาไดเ้ กดิ ขน้ึ ๓๙๙

ถ้าเช่นนั้น จะไปมัวเมาลุ่มหลงในภพท้ังสามน้ีท�ำไม ใช้ปัญญา
พิจารณาดูให้รู้เห็นภพท้ังสามนี้ ให้ใจได้รู้เห็นความไม่เท่ียง
การเปลย่ี นแปลงในภพทัง้ สามนี้ใหช้ ดั เจน

ผู้จะหนีจากโลกทั้งสามนี้ไปได้ ต้องเป็นผู้ท่ีเพียบพร้อม
ด้วยสติปัญญาอันมีความฉลาดเฉียบแหลม ให้เข้าใจในค�ำว่า
สัพเพ สังขารา อนิจจา สรรพสังขารทั้งหลายเป็นส่ิงที่ไม่เท่ียง
ไม่มีส่ิงใดเป็นของที่แน่นอน มีความเกิดแล้วมีความเปล่ียนไป
สลายไปไมค่ งท่ี ไมว่ า่ สงั ขารนน้ั เกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาติ หรอื สงั ขาร
นนั้ เกดิ ขน้ึ จากมนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ มา จะเปน็ สงั ขารทมี่ วี ญิ ญาณครอง
หรอื สงั ขารทไ่ี มม่ วี ญิ ญาณครอง ทง้ั หมดนน้ั ยอ่ มมกี ารเปลยี่ นแปลง
ไปทัง้ สน้ิ จะเปล่ียนไปเร็วหรือช้านน้ั ขึ้นอยกู่ บั เหตุและปัจจัยใน
ตัวสังขารเอง แม้แต่สามภพก็ยังตกอยู่ในอ�ำนาจของสังขารน้ี
ทัง้ หมด

ฉะน้ัน ไม่ควรไปยึดถือในรูปสังขาร จิตสังขาร ว่าเป็น
ของของเรา และเป็นตัวตนของเรา จะเป็นสังขารภายในและ
สังขารภายนอก สังขารทอ่ี ยู่ใกล้ สงั ขารท่อี ยู่ไกล สงั ขารท่ีเปน็
ส่วนหยาบ และสังขารท่ีเป็นส่วนละเอียด ล้วนแล้วแต่เป็น
ของทไ่ี มเ่ ทยี่ งทง้ั นน้ั แมแ้ ตบ่ าปบญุ คณุ โทษ กย็ งั ตกอยใู่ นอำ� นาจ

๔๐๐ อตั โนประวัติ ภาค ๑

ของสังขารนี้ทั้งส้ิน จะเอาสังขารในสิ่งใดเป็นที่พึ่งท่ีแน่นอน
ไม่ได้เลย สตั วโ์ ลกทงั้ หลายทีม่ คี วามทกุ ข์ รอ้ งไห้น�ำ้ ตาแทบเป็น
สายเลอื ด กเ็ พราะมาหลงใหลในสงั ขารเหลา่ นน้ี เ่ี อง ถงึ สงั ขารนน้ั
จะสมมติให้เปน็ ตวั ตนของเรา หรอื สมมติว่าเป็นของของเราอยู่
ก็ตาม นนั่ เปน็ เพียงสมมตเิ ท่าน้นั เมื่อสมมตนิ ้ันมกี ารเปลย่ี นไป
ก็เกิดความทุกข์ใจมิใช่หรือ ดังน้ันความทุกข์ใจจึงมีให้เกิดจาก
เหตุปัจจัยได้หลายอย่าง แต่ละอย่าง ถึงเหตุจะไม่เหมือนกัน
แต่ผลทุกข์เหมอื นกนั

ค�ำวา่ ทกุ ข์น้ัน มศี นู ยร์ วมแหง่ เดียวคอื ใจ หรอื สขุ ก็มารวม
แห่งเดียวคือใจเช่นกนั ฉะน้นั ความทกุ ข์จงึ ไมม่ ใี ครๆ ตอ้ งการ
ตลอดถึงสัตว์ดิรัจฉานก็แสดงความไม่ต้องการเช่นกัน ถึงจะ
ไมต่ ้องการ เมอื่ เกิดขน้ึ มาแล้วกต็ อ้ งได้รบั ทุกข์อยนู่ น่ั เอง เพราะ
เหตุให้เกดิ ทกุ ขไ์ ดส้ รา้ งไว้แลว้ จะต้องไดร้ บั ผลเหมอื นกนั ทุกคน
เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ขน์ น้ั เราจะสรา้ งขนึ้ ดว้ ยความเจตนาหรอื ไมเ่ จตนา
ก็ตาม เม่ือผลเกิดขึ้น จะต้องกระทบถึงใจแน่นอน จะกระทบ
มากน้อยอยา่ งไรน้ันข้ึนอยู่กบั เหตปุ จั จัยทีส่ รา้ งขน้ึ มา เหตปุ ัจจัย
ภายนอกทที่ ำ� ใหใ้ จไดร้ บั ทกุ ขน์ น้ั มมี าก แมฤ้ ดกู าลทเ่ี ปน็ ธรรมชาติ
ของโลกกท็ ำ� ใหใ้ จเกดิ ความเปน็ ทกุ ขไ์ ด้ เชน่ รอ้ นเกนิ ไป หนาวเยน็

วปิ สั สนาไดเ้ กิดข้นึ ๔๐๑

เกินไป ฝนตกหนัก เกิดน�้ำท่วม ไปมาไม่สะดวก ก็ท�ำให้เกิด
ความทุกข์ได้เช่นกัน ร่างกายมีการเจ็บป่วยด้วยโรคนานาชนิด
แมก้ ระทงั่ อริ ยิ าบถตา่ งๆ ทใี่ ชก้ นั อยปู่ ระจำ� วนั กเ็ ปน็ ทกุ ขข์ นึ้ มาได้
ยนื นานเกนิ ไป นง่ั นานเกนิ ไป นอนนานเกนิ ไป ถงึ จะเปน็ เรอ่ื งของ
ร่างกาย แตก่ ก็ ระทบทางใจใหเ้ กดิ เปน็ ทุกข์ได้ ฉะน้นั จงึ เปลี่ยน
อิริยาบถอยู่บ่อยๆ เห็นรูปท่ีไม่ชอบใจ ได้ฟังเสียงท่ีไม่ชอบใจ
มคี นว่ารา้ ยใส่ความ ดุดา่ ว่าคำ� หยาบคาย กเ็ กดิ ทุกข์ทางใจ แมม้ ี
ความปรารถนาในสง่ิ ใด ไมส่ มความตง้ั ใจทต่ี อ้ งการ กเ็ กดิ ทกุ ขใ์ น
ทางใจได้ทั้งนั้น อุปาทาน ความยึดม่ันถือม่ันในขันธ์ห้า มีรูป
เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ วา่ เปน็ อตั ตาตัวตน ไมว่ ่าผนู้ ้ัน
จะอยใู่ นฐานะอะไร ยอ่ มไดร้ บั ผลกระทบในความทกุ ขท์ างใจดว้ ย
กนั จึงเรียกว่าเป็นศนู ย์รวมแห่งทกุ ข์ท้งั ปวงก็วา่ ได้

นสิ ยั ของผจู้ ะหนไี ปจากภพทง้ั สามนน้ั ไมม่ กี ารตอ่ รองกบั
กเิ ลสตณั หาอกี ตอ่ ไป ไมเ่ ปน็ มติ รกบั กเิ ลส ไมเ่ ปน็ เพอ่ื นกบั ตณั หา
เพราะชาติภพท่ีผ่านมาเราเสียเปรียบกับกิเลสตัณหามาแล้ว
ในชาติน้ีจะเป็นชาติสุดท้ายของเรา กิเลสตัณหาจะเอาอะไรมา
ต่อรองอีก สติปัญญาจะไม่รับเงื่อนไขอะไรทั้งส้ิน กิเลสตัณหา
หลอกเราใหห้ ลงในขันธ์ห้าวา่ เป็นตน ใจไดห้ ลงกลลวงของกเิ ลส

๔๐๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑

ตณั หามาแลว้ บดั นเ้ี รามสี ตปิ ญั ญารเู้ ทา่ ทนั เลห่ เ์ หลยี่ มของกเิ ลส
ตณั หา จะไม่หลงในรูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ว่าเป็น
ตวั ตนอกี แตอ่ ยา่ งใด ใจไดเ้ คยอาศยั อยกู่ บั รปู ธรรมและนามธรรม
นี้มาแล้ว ในชาติน้ีจะได้อาศัยธาตุส่ีขันธ์ห้าอันเป็นชาติสุดท้าย
เพราะธาตุสี่ขันธ์ห้ายังมีการเกิดดับไปตามเหตุปัจจัยในโลกน้ี
ดังค�ำว่า สง่ิ ใดสิ่งหนึง่ เกิดขึน้ เป็นธรรมดา ส่งิ น้ันกม็ กี ารแตกดับ
ไปเปน็ ธรรมดา ใจไดม้ าหลงผดิ ในสง่ิ ทเี่ กดิ ดบั นจี้ นนบั ชาตไิ มถ่ ว้ น
ประมวลไมไ่ ด้ ในชาตกิ อ่ นเปน็ มาอยา่ งไร เกดิ มาในชาตปิ จั จบุ นั น้ี
กเ็ ป็นอย่างน้นั หรือชาติอนาคตท่ีจะไปเกดิ ใหม่ กจ็ ะเปน็ ธาตสุ ี่
ขนั ธ์หา้ น้เี ช่นกนั ธาตุสีแ่ ละขันธ์ห้า เกดิ มาในชาติไหนก็ตอ้ งดบั
ไปในชาตินั้น เมื่อมีสติปัญญารู้เท่าเห็นจริงของธาตุส่ีขันธ์ห้า
ว่ามีการเกิดดับซ้�ำซากอยู่อย่างน้ี จิตก็จะเกิดความเบ่ือหน่าย
ทอดอาลัยในเรือ่ งธาตุสขี่ นั ธ์หา้ โดยไม่มคี วามหว่ งใยแต่อย่างใด

วปิ สั สนาญาณไดเ้ กิดขนึ้

วิปัสสนาญาณนี้เป็นญาณที่กล้า เกิดข้ึนเพ่ือประหาร
อาสวะกเิ ลสตณั หาโดยเฉพาะ ญาณนเ้ี กดิ ขนึ้ แลว้ ตง้ั อยไู่ ดไ้ มน่ าน
เมอ่ื ประหารกเิ ลสตณั หาอาสวะหมดไปจากใจโดยตรงแลว้ กย็ บุ ตวั
อนั ตรธานไป เหมอื นไฟทไ่ี หมก้ ระดาษ หรอื ไหมน้ นุ่ และสำ� ลี เมอ่ื
กระดาษ นุ่น ส�ำลี หมดเช้ือไฟแล้ว ไฟก็ต้องหมดไป นี้ฉันใด
วิปัสสนาญาณเผาผลาญอาสวะกิเลสตัณหาให้หมดไปจากใจก็
ฉนั นนั้ ถา้ วปิ สั สนาไดเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผปู้ ฏบิ ตั เิ มอ่ื ไร วปิ สั สนาญาณจะ
ไม่มีการเส่ือมไปในท่ามกลางเหมือนสมาธิหรือฌานแต่อย่างใด
เพราะสมาธิและฌานยังตกอยู่ในขั้นสังขารฝ่ายโลกีย์ ยังตกอยู่
ในอนจิ จงั ความไมเ่ ทย่ี ง เกดิ ขน้ึ ไดต้ อ้ งเสอื่ มไปได้ และทำ� ใหเ้ กดิ
ขึ้นได้ ส่วนวิปัสสนาญาณน้ัน เม่ือเกิดข้ึนแล้วไม่มีการเสื่อมใน

๔๐๔ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑

ท่ามกลาง จนกว่าจะท�ำลายอาสวะกิเลสตัณหาให้หมดไป
วิปัสสนาญาณ ก็หมายถึงปัญญาขั้นละเอียดสูงสุด ท่ี

ผปู้ ฏบิ ตั ทิ งั้ หลายตอ้ งการใหป้ ญั ญาในระดบั นเ้ี กดิ ขนึ้ เปน็ อยา่ งมาก
แมค้ วามอยากใหเ้ กดิ ปญั ญาขนึ้ จะเปน็ ตณั หาความอยากในทาง
ท่ีดี แต่อุบายวิธีที่น�ำมาภาวนาปฏิบัตินั้นเป็นคนละสายทางกัน
เขา้ กนั ไมไ่ ดเ้ ลย สว่ นใหญจ่ ะสอนกนั วา่ ทำ� สมาธใิ หจ้ ติ มคี วามสงบ
แลว้ ปญั ญาจะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ปญั ญาเกดิ ขนึ้ แลว้ กจ็ ะละในกเิ ลสตณั หา
ท�ำลายอาสวะให้หมดไปจากใจ ส่วนใหญ่จะสอนกันอย่างนี้
ผปู้ ฏบิ ตั ทิ ไ่ี มม่ กี ารศกึ ษากเ็ ชอื่ ตามครอู าจารยข์ องตวั เอง กต็ อ้ งทำ�
ตามทค่ี รอู าจารยส์ อน คดิ วา่ ปญั ญาตอ้ งเกดิ จากสมาธคิ วามสงบ
แน่นอน นค้ี อื ความไมเ่ ข้าใจในวปิ สั สนาญาณว่ามอี ุบายวิธีทีเ่ ปน็
แนวทางในการปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ใหต้ ามอ่านตอ่ ไปทา่ นจะไดร้ ู้

อบุ ายวธิ กี ารทำ� สมาธใิ หจ้ ติ มคี วามสงบนนั้ ขอปฏเิ สธมาใน
ทีน่ ี้เลยวา่ จะไมท่ �ำใหเ้ กิดปญั ญาแตอ่ ยา่ งใด ในสมยั พระพทุ ธเจา้
ของเรา เมอื่ ครงั้ พระองคย์ งั บวชใหมๆ่ พระองคก์ ไ็ ดไ้ ปฝกึ ทำ� สมาธิ
ความสงบไดถ้ งึ ฌานระดบั สงู มาแลว้ และทำ� สมาธคิ วามสงบตอ่ เนอ่ื ง
กนั อยนู่ าน พระองคเ์ จา้ ของพวกเราเปน็ ผสู้ รา้ งบารมดี ว้ ยปญั ญาธกิ ะ
มปี ญั ญาในการสรา้ งบารมมี ามคี วามสมบรู ณอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี เรยี กวา่

วปิ สั สนาญาณไดเ้ กิดข้นึ ๔๐๕

เป็นผู้มีปัญญาบารมีมาแล้วอย่างพอตัว ในเมื่อพระองค์ได้ฝึก
ท�ำสมาธิกับดาบสทั้งสอง ก็มีความสงบอย่างเต็มที่แล้ว ท�ำไม
ปัญญาของพระองคจ์ งึ ไม่เกิดขนึ้ บา้ ง ไปอา่ นต�ำราดบู ้างซิ หรอื
สมาธเิ ราเปน็ สมาธคิ วามสงบแบบใด หรอื สมาธคิ วามสงบของเรา
มีความยิ่งใหญ่ไปกว่าสมาธิของพระพุทธองค์อย่างน้ันหรือ เรา
นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ กค็ วรสอนกนั ในวธิ ปี ฏบิ ตั แิ บบชาวพทุ ธ และ
ภาวนาปฏิบตั ิกันแบบผู้นบั ถือศาสนาพุทธบ้างซิ ไม่ควรทจี่ ะเอา
หลักการของพวกดาบสฤๅษีเข้ามาปนเปกับพุทธศาสนามากนัก
ตวั เองภาวนาแบบดาบสฤๅษี แตม่ าประกาศตวั เองวา่ ภาวนาแบบ
ชาวพทุ ธนกี่ ระไรอยู่

ผสู้ อนควรได้ศกึ ษาหลักปญั ญาวิมุติและหลกั เจโตวิมตุ ิให้
เขา้ ใจ แยกหมวดหมใู่ หเ้ ปน็ และอา่ นประวตั ขิ องพระอรยิ สาวกใน
สมยั ครงั้ พทุ ธกาลใหเ้ ขา้ ใจ วา่ กลมุ่ มนี สิ ยั ปญั ญาวมิ ตุ มิ กี ารเรมิ่ ตน้
ในการปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร กลมุ่ มนี สิ ยั เจโตวมิ ตุ มิ กี ารเรมิ่ ตน้ ปฏบิ ตั กิ นั
อยา่ งไร ตอ้ งแยกออกจากกนั มใิ ชว่ า่ มกี ารสอนและปฏบิ ตั เิ หมอื นกนั
ทั้งหมด เพราะนิสัยผู้เป็นปัญญาวิมุติและนิสัยผู้เป็นเจโตวิมุติ
ไม่เหมือนกัน เหมือนโรคของคนป่วยไม่เหมือนกัน หมอก็ต้อง
แยกยาใหถ้ กู กบั โรคคนปว่ ยแตล่ ะคนแตล่ ะกลมุ่ ไป นฉ้ี นั ใด อบุ าย

๔๐๖ อัตโนประวัติ ภาค ๑

วธิ ีการปฏิบตั ิของผมู้ ีนสิ ยั ปญั ญาวิมตุ แิ ละเจโตวิมตุ กิ ฉ็ ันนนั้
ขออภยั ทอี่ ธบิ ายนอกเรอื่ งของวปิ สั สนาญาณไป การอธบิ าย

อยา่ งนก้ี เ็ พอ่ื ใหเ้ ราไดร้ ทู้ เ่ี กดิ ขนึ้ ของ วปิ สั สนาญาณ ใหท้ า่ นผอู้ า่ น
ได้รู้และได้เข้าใจในเหตุผล ไม่ให้เกิดความสับสนแก่ท่านผู้อ่าน
วา่ วปิ สั สนาญาณมสี ายทางใหเ้ กดิ ดว้ ยอบุ ายวธิ ใี ดกนั แน่ ทา่ นจะ
ได้เขา้ ใจในค�ำวา่ วปิ สั สนาญาณได้อย่างถูกต้อง เมอ่ื หากท่านไม่
เข้าใจในจุดใด ข้าพเจ้าพร้อมท่ีจะให้ความกระจ่างและเป็นที่
ปรกึ ษาแกท่ า่ นได้ แตก่ ต็ อ้ งพดู กนั อยา่ งมเี หตผุ ล เพราะความจรงิ
จะหนจี ากหลักความจริงไม่ได้

ข้าพเจ้าจะอธิบายในจุดเริ่มต้นที่เป็นจุดแรก มีอุบายใน
การปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ใหเ้ ราไดส้ งั เกตดวู า่ มบี คุ คลทเ่ี ปน็ ปถุ ชุ นธรรมดา
เมอื่ เขาเหลา่ นนั้ เขา้ ไปหาพระพทุ ธเจา้ แลว้ พระพทุ ธเจา้ ใหอ้ บุ าย
ในการเปลยี่ นมจิ ฉาทฏิ ฐิ ความเหน็ ผดิ ใหเ้ ขาตง้ั อยใู่ นสมั มาทฏิ ฐิ
ความเห็นท่ถี ูกต้องชอบธรรม เพราะทุกคนท่ไี ปหาพระพุทธเจ้า
น้ันมีแนวความคิดเป็นของตัวเองอยู่แล้ว แต่ความคิดนั้นเป็น
ความคิดไปตามกระแสโลก จึงขัดต่อแนวทางมรรคผลนิพพาน
ฉะนน้ั พระพทุ ธเจา้ จงึ ใหอ้ บุ ายเปลย่ี นความคดิ ทเี่ ปน็ ทางโลกให้
กลบั มาคดิ ในทางธรรม เอาอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา มาเปน็ อบุ ายใน

วปิ สั สนาญาณไดเ้ กดิ ขึ้น ๔๐๗

การคดิ ใหเ้ ขาเหลา่ นน้ั ไดร้ เู้ หน็ ในหลกั ความเปน็ จรงิ เมอื่ เขาคดิ ตาม
หลกั ความเปน็ จรงิ อยบู่ อ่ ยๆ กจ็ ะเกดิ ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ งชอบธรรม
ตามความเปน็ จรงิ จึงเรยี กว่าสมั มาทิฏฐิ ปัญญาความเหน็ ชอบ
เอาปัญญาความเห็นชอบน้ีพิจารณาในความเป็นจริงอยู่บ่อยๆ
จงึ เป็นสัมมาสังกปั โป จึงเรยี กวา่ ปญั ญาได้เริม่ กอ่ ตัวข้นึ แล้ว ใช้
ปญั ญาพจิ ารณาในสงิ่ ตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามไตรลกั ษณ์ ความแตกฉาน
ของปญั ญา ความรเู้ หน็ ทางปญั ญา กเ็ กดิ ความชดั เจนมากขน้ึ จงึ
เรียกว่า วปิ สั สนา

ในค�ำว่าวิปสั สนา กห็ มายถงึ ปัญญานั่นเอง จงึ เป็นปัญญา
ในวิปัสสนา เม่ือมาถึงข้ันวิปัสสนาปัญญาแล้ว ความรู้เห็นใน
สจั ธรรมกเ็ ปน็ ไปในไตรลกั ษณ์ มคี วามชดั เจน ตดั ความงนุ งงสงสยั
ลังเล พิจารณาในสิ่งใดกเ็ กิดความแยบคาย ความยดึ ม่ันถอื มนั่ ก็
มีการถอนตัว เพราะรู้เห็นในความจริงในสรรพสังขารท้ังหลาย
เมือ่ ปัญญาในวปิ ัสสนาเกดิ มีความสมบรู ณ์อยา่ งเตม็ ที่แล้ว จึงได้
เกิดปัญญาขัน้ ละเอียดสงู สุดยอดขน้ึ จึงเรียกวา่ วิปัสสนาญาณ
ให้ท่านท้ังหลายได้พิจารณาเรียบเรียงให้ถูกกับความหมายใน
ค�ำวา่ ปัญญาเกดิ ดังทไ่ี ดอ้ ธิบายและเรยี บเรียงมานี้ ไมม่ ใี นคำ� ว่า
ปญั ญาเกดิ จากสมาธคิ วามสงบแตอ่ ยา่ งใด สมาธเิ ปน็ เพยี งอบุ าย

๔๐๘ อตั โนประวัติ ภาค ๑

เสรมิ ให้ปัญญาเกิดความชดั เจนเทา่ นั้น
วปิ สั สนาญาณ เรยี กอกี คำ� หนง่ึ วา่ ภาวนามยปญั ญา นนั่ เอง

ปญั ญาในระดบั นนี้ เี่ องจะทำ� ใหเ้ กดิ ผลเปน็ ปฏเิ วธ หมายถงึ มรรคผล
นิพพาน ในเมอ่ื ปัญญาในวิปัสสนาญาณเกดิ ขึ้น จะเขา้ ไปลบล้าง
กิเลสตัณหาในข้ันละเอียดให้หมดไปจากใจ ไม่มีอาสวะส่วนใด
หลงเหลืออยู่ในขันธ์ทั้งห้าแต่อย่างใด ตัวสมุทัย คือกามตัณหา
ภวตณั หา วภิ วตัณหา เคยฝงั แนน่ อยูใ่ นใจมากอ่ น ทพี่ าใหใ้ จได้
ไปก่อภพก่อชาติ เวียนไปมาอยู่ในวัฏสงสาร ก็จะถูกวิปัสสนา
ญาณสังหารใหห้ มดสิ้น ความเกิดเป็นภพเป็นชาตอิ กี ต่อไปจะมี
มาจากไหน ถ้าภพชาติไมม่ ี ความสขุ ความทกุ ขก์ ห็ มดสภาพไป
เมอ่ื ใจไมม่ ีเชอื้ คอื กิเลสตัณหา ในเมอื่ นัน้ ประตูแหง่ พระนพิ พาน
กเ็ ปิดรับทันที

ค�ำว่ากระแสแห่งพระนิพพาน จะมีเฉพาะพระอริยเจ้า
เทา่ นนั้ จะเขา้ ถงึ ได้ ขน้ั ตำ�่ คอื พระอรยิ เจา้ ขนั้ พระโสดาบนั เสน้ ทาง
ทต่ี รงตอ่ กระแสพระนพิ พานนนั้ มเี ฉพาะพระพทุ ธศาสนาเทา่ นน้ั
ชาวพทุ ธทง้ั หลายอยากจะไปพระนพิ พานกนั ทงั้ นน้ั แตจ่ ะมสี กั ก่ี
ท่านท่ีจะเข้ากระแสแห่งพระนิพพานได้ในชาตินี้ ส่วนพวกเรา
ก�ำลังเดินตามรอยของพระพุทธเจ้าอยู่ ก็ต้องปฏิบัติให้เป็นไป

วปิ สั สนาญาณได้เกิดขึน้ ๔๐๙

ตามแนวทางของพระพุทธเจ้าใหถ้ กู ตอ้ ง
พระพทุ ธเจา้ ไดว้ างเสน้ ทางไวแ้ ลว้ อยา่ งชดั เจน ดงั พวกเรา

ไดร้ กู้ นั อยใู่ นมรรค ๘ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ไดเ้ รยี บเรยี งในวธิ ปี ฏบิ ตั เิ อา
ไวแ้ ล้ว ไม่ควรทีจ่ ะไปแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงจากแนวทางเดมิ ถา้ เอา
ตามหลักเดิมที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสเอาไว้เป็นดังน้ี สัมมาทิฏฐิ
ปญั ญาความเห็นชอบ สัมมาสงั กัปโป การด�ำริพิจารณาใหเ้ ปน็
ไปตามหลกั ความเปน็ จรงิ อยา่ งชอบธรรม นเี้ ปน็ หลกั ของปญั ญา
ต้องต้ังหลักไว้ก่อน สัมมาวาจา เจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ มี
การงานที่ชอบ สัมมาอาชีวะ หาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบ น่ีเป็น
หลกั ของหมวดศีล สมั มาวายามะ สมั มาสติ สัมมาสมาธิ น่ีเป็น
หลักของสมาธิ ถ้าจะปฏิบตั ิตามเส้นทางเดมิ ของพระพุทธเจา้ ท่ี
วางเอาไว้ จะออกมาเปน็ ปญั ญา ศลี สมาธิ ถา้ ไมเ่ ชอ่ื ตามนี้ ใหท้ า่ น
ไดไ้ ปเปดิ ดูในมรรค ๘ กแ็ ล้วกัน นเ่ี ป็นหลกั เดมิ ท่ีพระพุทธเจ้าได้
ตรสั เอาไวอ้ ยา่ งชดั เจน

ขอย้อนกลับมาหาเครือกระพังโหมอีกคร้ัง ข้าพเจ้าได้
เครอื กระพงั โหมมาเปน็ อบุ ายในการใชป้ ญั ญาพจิ ารณา ปญั ญาท่ี
เกิดข้ึนในครั้งน้ันไม่เหมือนกับปัญญาท่ีเคยพิจารณามาก่อน
ปัญญาในระดับน้ีเพ่ิงเกดิ ขึ้นในคร้งั นั้น และกร็ ู้ชัดเลยว่าปญั ญา

๔๑๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑

เราได้เกิดข้ึนแล้ว เป็นปัญญาท่ีมีความกล้าหาญเด็ดเด่ียว มี
ความละเอียดแหลมลึกเลยทีเดียว เมื่อปัญญามีความละเอียด
ขนาดไหน ญาณรกู้ ร็ ลู้ ะเอยี ดไปพรอ้ มๆ กนั จงึ เปน็ ภาวนามยปญั ญา
หรอื วปิ สั สนาญาณ เปน็ ปญั ญาญาณประหารกเิ ลสตณั หาใหห้ มด
ไปจากใจโดยตรง เปน็ ปญั ญาทถ่ี อนรากถอนโคน ดงั คำ� วา่ สะมลู งั
ตณั หงั อพั ภยุ หะ เปน็ ปญั ญาทถ่ี อดถอนกเิ ลสตณั หากบั ทง้ั มลู ราก
ได้แลว้ เป็นปญั ญาทเี่ ขา้ ไปท�ำลายกงกำ� ของวฏั จกั รให้หยุดหมนุ
พังทลายลง เป็นปัญญาท่ีลบล้างสังขารและสมมติทั้งหลายให้
สญู สนิ้ ไป เปน็ ปญั ญาทเ่ี ปดิ เผยความลบั ของทงั้ สามโลก โดยไมม่ ี
สิ่งอ่ืนใดมาปิดบัง เป็นปัญญาที่ตัดกระแสท้ังสามโลกให้พ้นไป
เป็นปัญญาที่ไปลบล้างกิเลสตัณหาน้อยใหญ่ ท่ีอาศัยอยู่กับ
รปู ธรรมและนามธรรมใหห้ มดสน้ิ ไป ถงึ จะมรี ปู ขนั ธ์ คอื ธาตทุ ง้ั ส่ี
มธี าตดุ นิ ธาตุน้ำ� ธาตลุ ม ธาตไุ ฟ ก็เปน็ ธาตุอนั บรสิ ุทธ์ิ ถงึ จะมี
ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ก็ไมม่ กี เิ ลสตณั หาอะไรมาแอบแฝง เป็น
อายตนะล้วนๆ นามขันธ์คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กเ็ ป็นนามขันธล์ ว้ นๆ ไมม่ ีกิเลสตัณหาจะนำ� พาให้ไปเกดิ เป็นภพ
เปน็ ชาตอิ กี ตอ่ ไป จงึ ใหน้ ามช่ือวา่ นิโรธ ดังนี้

นมิ ิตเห็นผหู้ ญงิ เข้ามาหา

หลังจากได้อุบายธรรมจากเครือตูดหมูตูดหมาในบ่าย
วนั นนั้ แลว้ อบุ ายปญั ญาก็เกิดต่อเน่อื งกนั ดังท่ไี ดอ้ ธบิ ายผา่ นมา
แล้ว ใชป้ ัญญาพจิ ารณาตอ่ เนอ่ื งกัน ต้ังแต่บา่ ย ๓ โมงเยน็ จนถึง
เวลา ๑๘.๐๐ น. เมอ่ื ปัญญาพิจารณารแู้ จง้ เห็นจริงในสามแดน
โลกธาตุส้นิ ไปแลว้ ไม่มีสิ่งใดเหลอื หลอในสามภพ ไมม่ สี ่งิ ใดจะ
ไม่รู้จะไม่เห็น หรือจะเรียกว่าปัญญาล้างโลกก็ว่าได้ ใจไม่มี
ความติดใจในสามโลก ทั้งสามโลกก็ไม่มีจุดใดใจจะไม่รู้ โลกก็
เปน็ โลก ธรรมกเ็ ปน็ ธรรม แยกกนั ออกอยา่ งรเู้ หน็ ไดช้ ดั เลยทเี ดยี ว
เรยี กวา่ ธรรมไมต่ ดิ กบั โลก โลกไมต่ ดิ กบั ธรรม เหมอื นกบั ทองคำ�
อนั บรสิ ทุ ธท์ิ ไี่ ดแ้ ยกออกจากกอ้ นแรไ่ ดแ้ ลว้ ไมม่ ที างจะเขา้ ไปเปน็
อันหนึ่งอนั เดียวกนั ได้อีกเลย

๔๑๒ อตั โนประวัติ ภาค ๑

ในขณะใจต้องการพักอยู่ในความสงบ ก็เร่ิมเข้าที่ต้ังแต่
เวลา ๑๘.๐๐ น. ตามปกตขิ า้ พเจา้ เปน็ นสิ ยั ทำ� สมาธมิ จี ติ สงบงา่ ย
อยแู่ ลว้ เมอื่ กำ� หนดจติ ลงสสู่ มาธไิ มก่ นี่ าที จติ กล็ งถงึ ความสงบได้
อยา่ งเตม็ ท่ี จนถงึ เวลาตี ๔ จติ กเ็ รมิ่ ถอนออกมานดิ ๆ ในขณะนน้ั
ปรากฏเปน็ นมิ ติ เกดิ ขนึ้ มผี หู้ ญงิ สาวคนหนง่ึ มคี วามสวยงามมาก
ไมม่ ผี ใู้ ดในโลกนจ้ี ะมคี วามสวยเทยี บเทา่ ไดเ้ ลย มรี ปู รา่ งกลางตวั
สวยไดส้ ดั ส่วน เครอื่ งแตง่ ตวั เคร่อื งประดบั ผา้ น่งุ ห่มไม่รู้ว่าทำ�
ด้วยอะไร มีความสวยไปเสียทงั้ หมด ในขณะนัน้ นางไดเ้ ดินเข้า
มาหาขา้ พเจ้าบนกุฏิ มีความย้ิมแยม้ เหมือนกับว่าเป็นคนที่เคย
รู้จักกันมาก่อนหลายชาติแล้ว ขณะน้ันเหมือนกุฏิเล็กๆ ได้
ขยายออกเปน็ กฏุ ใิ หญพ่ อสมควร

ในขณะนนั้ ขา้ พเจา้ กไ็ มถ่ ามอะไร เพยี งคดิ ไดว้ า่ ผหู้ ญงิ สาว
น้ีเข้ามาในที่นี้เพ่ือต้องการอะไร ในขณะนั้นหญิงสาวก็เปลื้อง
เสื้อผ้าชนั้ นอกออก มีสายตาย้ิมใส่ขา้ พเจ้าอย่างหวานหยดยอ้ ย
ทีเดียว แสดงความรักใคร่ต่อข้าพเจ้าอย่างเห็นได้ชัดทีเดียว
จติ ขา้ พเจา้ กเ็ ฉยๆ ไม่มีความรู้สกึ อะไร จากน้นั อีก หญงิ สาวกไ็ ด้
ถอดเสื้อผ้าท่ีนุ่งห่มออกหมดท้ังตัว แล้วแสดงมายาออกมา
หลายทาง เพ่ือให้ข้าพเจ้าเกิดความรัก สนองความต้องการ

นมิ ติ เหน็ ผ้หู ญงิ เขา้ มาหา ๔๑๓

๔๑๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑

นมิ ติ เหน็ ผ้หู ญงิ เขา้ มาหา ๔๑๕

๔๑๖ อัตโนประวัติ ภาค ๑

ข้าพเจ้าก็มีจิตท่ีน่ิงเฉย มีความระวังตัวอยู่ว่าหญิงสาวคนน้ีจะ
ทำ� อะไรกนั กบั เรา ในขณะเดยี วกนั หญงิ สาวกก็ ระโดดเขา้ มาหวงั
กอดตัวของข้าพเจ้า ในขณะน้ันข้าพเจ้าก็ได้ก�ำหนดจิตเพ่ือเพ่ง
เอาไวแ้ ลว้ ในขณะทห่ี ญงิ สาวกระโดดเขา้ มา ขา้ พเจา้ กไ็ ดก้ ำ� หนด
จติ ปะทะเอาไวอ้ ยา่ งรนุ แรง หญงิ สาวกก็ ระเด็นออกไป

หญงิ สาวเหน็ ทา่ ไมเ่ ปน็ ผลส�ำเรจ็ กห็ อบเอาเส้ือผา้ ทง้ั หมด
ออกจากกุฏิไป แล้วไปนั่งร้องไห้อยู่ข้างกุฏิ มีการพรรณนาทั้ง
รอ้ งไห้ดว้ ยความผิดหวัง ทง้ั รอ้ งไหท้ ัง้ บ่นว่า นับแตพ่ ่ีกับตัวดิฉัน
ไดร้ ่วมสุขไดร้ ว่ มทกุ ขก์ ันมายาวนานนับกัปนับกลั ป์ไมไ่ ด้ ดฉิ ันมี
ความผิดอะไรจึงได้ละทิ้งดิฉันไป ท�ำไมจึงไม่คิดถึงความหลังใน
ครั้งที่มีความรักกัน อยู่ร่วมกันมาก็มีความสุขดีต่อกันอยู่แล้ว
ท�ำไมพี่จึงได้ตัดช่องแคบไปเพียงผู้เดียว นับแต่บัดนี้เป็นต้นไป
พ่ีกับน้องจะไม่มีความสัมพันธ์ต่อกันอีกแล้ว ท้ังร้องไห้ท้ังบ่น
พรรณนาแหง่ ความรกั ตอ่ กนั ไดพ้ งั ทลายลง นบั แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ตน้ ไป
ดิฉันจะไม่พบเหน็ หน้าพ่ีตอ่ ไปอกี จนกวา่ ดินฟา้ จะสลาย จากน้ัน
หญิงสาวก็ได้เดินลงบันไดไป ทั้งเดินทั้งบ่นท้ังร้องไห้ไปด้วย
ความผิดหวงั จากนนั้ จติ ก็ได้ถอนออกจากสมาธมิ า

จากนน้ั กไ็ ดใ้ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาดวู า่ หญงิ สาวคนนน้ั เปน็ ใคร

นิมติ เห็นผูห้ ญิงเข้ามาหา ๔๑๗

มาจากไหน ในญาณทัสสนะ ก็มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
ของหญิงสาวนี้ท้ังหมดว่าเป็นมาอย่างไร มีความเกี่ยวข้องกับ
ข้าพเจ้าอย่างไรบ้าง เร่ืองหญิงสาวดังกล่าวน้ี ขอมอบให้ท่าน
ผูอ้ ่านพากันวิจยั พิจารณก์ นั เอง ใครจะตคี วามกนั อย่างไร คดิ วา่
ทา่ นคงตีความหมายกันไดพ้ อสมควร

หลงั จากนนั้ แลว้ ขา้ พเจา้ กไ็ ดเ้ ขา้ ทท่ี ำ� สมาธิ จติ กม็ คี วามสงบ
อยา่ งเตม็ ที่ จนถงึ เวลา ๖ โมงเชา้ จติ กไ็ ดถ้ อนออกจากสมาธสิ ว่ น
ละเอียดออกมา แต่ก็ไมไ่ ดถ้ อนออกมาหมดดงั ท่เี คยเปน็ มา ใน
ระหว่างท่จี ติ กับกายยังแยกออกจากกนั อยู่ จะเคลือ่ นไหวไปมา
ทางกายแตล่ ะครง้ั ต้องมีความตง้ั ใจเคล่อื นไหวจรงิ ๆ จะยกแขน
ยกขา มองซ้ายแลขวา หรือก้าวขาเดิน ก็ตั้งใจก้าวขาจริงๆ
จึงจะกา้ วขาเดินได้ ในลกั ษณะอย่างนี้ไมเ่ คยเปน็ มากอ่ น ในเม่อื
จติ กบั ขนั ธ์ ๕ แยกกนั อยู่ ไม่มคี วามสมั ปยตุ กนั ขันธก์ ็เปน็ ขันธ์
จิตก็เป็นจิต จึงได้เกิดความว่างเปล่า ไม่มีอะไรมาเป็นเราและ
ตวั ตนแตอ่ ยา่ งใด ในขณะนัน้ จงึ ได้เกิดความดบั ท่ีเรยี กวา่ นโิ รธ
ความดบั ทกุ ข์ ใหเ้ ขา้ ใจไวว้ า่ ความสงบของสมาธิ ความสงบในฌาน
ไมเ่ หมอื นกนั กบั ความดบั คอื นโิ รธนแี้ ตอ่ ยา่ งใด เพราะความสงบ
ในสมาธิในระดับไหนก็ตาม ยังมีวิญญาณการรับรู้ของสติอยู่

๔๑๘ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑

นนั่ เอง สว่ นนโิ รธความดบั ทกุ ขน์ ้ี ไมม่ วี ญิ ญาณการรบั รใู้ นสง่ิ ใดๆ
อะไรท้ังสน้ิ นน่ั คือวญิ ญาณการรไู้ มม่ ใี นสง่ิ ใดๆ

นิโรธ ความดบั ทกุ ข์ และ
ดบั เหตุแหง่ ทกุ ข์

เม่ือวิญญาณการรับรู้ได้ดับไปเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
ในรูปขันธ์ นามขันธ์ ก็หมดสภาพไป ไม่มีความรู้สึกอะไรและ
ไม่รับรู้ในสิ่งใดๆ ท้ังส้ิน เพราะตามปกติ วิญญาณการรับรู้จะ
มีอยู่ในรูปขันธ์ นามขันธ์ น้ีท้ังหมด แต่บัดนี้วิญญาณได้ดับไป
ความสัมผสั ในอายตนะภายใน คอื ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ ก็
หมดสภาพไป ไมม่ ีวญิ ญาณการรบั รใู้ นสง่ิ ใดเลย มีตาก็สกั ว่าตา
มหี กู ส็ กั วา่ หู มจี มกู กส็ กั วา่ จมกู มลี น้ิ กส็ กั วา่ ลนิ้ มกี ายกส็ กั วา่ กาย
มีใจก็สักว่าใจ ไม่มีการรับรู้ในอายตนะภายนอกแต่อย่างใด ถึง
สิง่ ภายนอกจะมีอยกู่ ็สมั ผสั ต่อกันไม่ได้ เชน่ รปู เสยี ง กล่ิน รส

๔๒๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑

โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ กไ็ มม่ ีการรบั ร้อู ะไรท้ังสนิ้ แม้ธาตขุ ันธท์ ี่
เป็นรูปนามยังมีอยู่ กไ็ มม่ ีการรบั ร้ใู นรปู นามนีเ้ ชน่ กัน ไม่รับร้วู า่
นเี่ ปน็ เรา นเ่ี ปน็ เขา นเี่ ปน็ สตั ว์ นเ่ี ปน็ บคุ คล ไมม่ กี ารรบั รวู้ า่ นเี่ ปน็
ตนแตอ่ ยา่ งใด อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เชอ่ื มโยงตอ่ กนั
ไมไ่ ด้เลย เพราะตัวสื่อสารใหอ้ ายตนะภายในคอื วิญญาณไดด้ ับ
ไปแล้ว ไม่มีสื่อสัมพันธ์กันกับอายตนะภายนอกแต่อย่างใด
น่เี ปน็ การดับในรปู ธรรม

การดับในนามธรรม คอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
น้ีเป็นนามธรรมล้วนๆ เวทนา หมายถึงอารมณ์ที่ใจได้รับอยู่
อารมณต์ วั นมี้ กี ารสะสมมาจากกามคณุ ทง้ั หา้ คอื รปู เสยี ง กลน่ิ รส
โผฏฐพั พะ ทเี่ รยี กวา่ ธรรมารมณ์ ทง้ั เปน็ สงิ่ ทชี่ อบใจ และไมช่ อบใจ
หรอื เฉยๆ อารมณป์ ระเภทนน้ี เี่ องจงึ ไดม้ าเชอ่ื มโยงใหเ้ ปน็ อารมณ์
ของเวทนา สญั ญากไ็ ปจ�ำในอายตนะภายใน และจ�ำในอายตนะ
ภายนอก สังขาร การปรุงแต่ง กป็ รุงแต่งในอายตนะภายในและ
ปรงุ แตง่ ในอายตนะภายนอก วญิ ญาณ หมายถงึ การรบั รใู้ นรปู ธรรม
รบั รใู้ นนามธรรม รบั ร้ทู ้ังภายใน รบั รทู้ ้งั ภายนอกทั้งหมด

ตัววิญญาณ การรับรู้ เป็นเบรกเกอร์ใหญ่ เป็นสวิตช์
ปิดเปิดไฟท้ังหมดทพี่ ว่ งกันอยู่ ถ้าปดิ สวิตชเ์ พยี งตัวเดียวเท่าน้ัน

นิโรธ ความดับทกุ ข์ และดบั เหตแุ หง่ ทุกข์ ๔๒๑

กระแสไฟทง้ั หลายกไ็ ดห้ ยดุ ในการทำ� งานในทนั ที นฉี้ นั ใด วญิ ญาณ
ได้ดับไปเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน การรับรู้ในรูปและนามก็ได้
หมดสภาพไป ไม่มอี ารมณใ์ ดๆ ใหเ้ ป็นเวทนา ไมม่ คี วามจำ� อะไร
ไว้ในสญั ญา ไม่มกี ารปรุงแต่งอะไรในสังขาร การรับรู้ใดๆ ก็ไมม่ ี
ในวิญญาณ กเิ ลส ตัณหา โมหะ อวชิ ชา อาสวะนอ้ ยใหญ่ เคยมี
ในใจมาก่อน แม้เชื้อท่จี ะไปก่อเกดิ เปน็ ภพเป็นชาตอิ ีกต่อไปก็ได้
ดบั ไปสน้ิ ไปจากใจนท้ี งั้ หมด นโิ รธ ความดบั ทกุ ข์ หมายถงึ ดบั เหตุ
ที่จะไปก่อให้เกิดเป็นภพชาติน้ัน ถ้าภพชาติไม่มี น่ันหมายถึง
การดบั ทกุ ขโ์ ดยประการทงั้ ปวง

ดงั คำ� วา่ อวชิ ชาดบั สังขารดบั , สังขารดับ วิญญาณก็ดับ,
วญิ ญาณดบั นามรปู กด็ บั , นามรปู ดบั สฬายตนะกด็ บั , สฬายตนะดบั
ผสั สะกด็ บั , ผสั สะดบั เวทนากด็ บั , เวทนาดบั ตณั หากด็ บั , ตณั หาดบั
อปุ าทานกด็ บั , อปุ าทานดบั ภพกด็ บั , เมอ่ื ภพดบั ชาตแิ หง่ ความเกดิ
กด็ บั , เมอื่ ชาตแิ หง่ ความเกดิ อกี ไมม่ ี ชราความแก่ มรณะความตาย
จะมมี าจากทไี่ หน ความโศกเศรา้ โศกา ความทกุ ขใ์ จนานาประการ
กด็ บั อยา่ งสนทิ ไปเสยี ทงั้ หมด ไมม่ เี ชอ้ื แหง่ ความเกดิ อะไรทตี่ กคา้ ง
ภายในใจนี้อีกตอ่ ไป จึงเรียกว่า นโิ รโธโหติ ความดบั ทกุ ขจ์ งึ ได้
หมดไปอยา่ งสน้ิ เชงิ ไมม่ มี ลทนิ ตกค้างอยู่ภายในใจนเี้ ลย

๔๒๒ อตั โนประวัติ ภาค ๑

จงึ เรยี กวา่ รปู ไมม่ ใี นตน ตนไมม่ ใี นรปู รปู ไมใ่ ชต่ น ตนไมใ่ ชร่ ปู
เวทนาไมใ่ ชต่ น ตนไมใ่ ชเ่ วทนา เวทนาไมม่ ใี นตน ตนไมม่ ใี นเวทนา
สญั ญาไมใ่ ชต่ น ตนไมใ่ ชส่ ญั ญา สญั ญาไมม่ ใี นตน ตนไมม่ ใี นสญั ญา
สงั ขารไมใ่ ชต่ น ตนไมใ่ ชส่ งั ขาร สงั ขารไมม่ ใี นตน ตนไมม่ ใี นสงั ขาร
วิญญาณไม่ใชต่ น ตนไม่ใช่วิญญาณ วญิ ญาณไมม่ ใี นตน ตนไม่มี
ในวญิ ญาณ เมอื่ มคี วามรสู้ กึ ภายในใจอยอู่ ยา่ งนี้ จงึ เรยี กวา่ อนตั ตา
คอื สง่ิ ทหี่ มดสภาพไปอยา่ งสมบรู ณ์ ถงึ จะมชี วี ติ อยู่ แตใ่ นความรสู้ กึ
ภายในใจก็เปน็ ไปในลกั ษณะอยา่ งน้ี จึงไม่มอี ะไรเปน็ เขาเปน็ เรา
ทุกอย่างเปน็ สภาวะทีเ่ กดิ ขึ้นและดับไปเทา่ นั้น จงึ เรียกว่านิโรธ
ความดบั ทุกข์

ก่อนจะมาถึงความดบั ทกุ ขไ์ ด้น้ี มีความรู้เหน็ ในวิปสั สนา
และมีความรเู้ ห็นในวิปัสสนาญาณมาแลว้ จึงเรียกวา่ ปัญญาเกิด
คือเกิดความรู้แจ้งเห็นจริงในส่ิงท่ีเกิดข้ึนและดับไปในสามภพนี้
ท้ังหมด ทุกอย่างเป็นเพียงสมมติบัญญัติท่ีเรียกกันอยู่ในโลกน้ี
เท่าน้ัน สิ่งที่ถกู บญั ญัติ มนั กไ็ มร่ ตู้ วั เองว่ามนั เป็นอะไร ในสิ่งนน้ั
ก็เป็นธรรมชาติที่เกิดขึ้นแล้วดับไปตามธรรมชาติในตัวมันเอง
มนั ไมร่ เู้ ลยวา่ มนษุ ยไ์ ปตง้ั ชอื่ ใหเ้ ขา และมนั กไ็ มอ่ ยใู่ นอำ� นาจของ
ใครๆ มนั เกดิ ขน้ึ แลว้ กม็ กี ารดบั ไปเปน็ ธรรมดา แตม่ นษุ ยก์ อ็ ยาก

นโิ รธ ความดับทกุ ข์ และดับเหตแุ ห่งทุกข์ ๔๒๓

ให้ส่ิงน้ันเป็นไปตามความอยากความต้องการของตัวเอง เมื่อ
สง่ิ นน้ั ไมเ่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของตวั เอง จงึ ไดเ้ กดิ ความทกุ ข์
มใิ ช่หรอื

ในขณะทม่ี ีความดบั ทุกขอ์ ยู่น้ัน จะมคี วามรอู้ กี อยา่ งหนงึ่
ท่ีเรียกว่ารู้ใต้ส�ำนึก มีความละเอียดอ่อนมาก แต่มิใช่ความรู้ท่ี
เกดิ จากวญิ ญาณการรบั รแู้ ตอ่ ยา่ งใด มใิ ชค่ วามรทู้ เ่ี กดิ จากรปู นาม
แตอ่ ยา่ งใด เป็นรู้ท่ไี ม่มีในสมมติ แต่เปน็ ความรู้เหนือสมมติ เปน็
ความรู้ไมม่ นี ิมติ หมายในสมมติใดๆ ไม่สามารถอธิบายให้เปน็ ไป
ในสมมตไิ ด้ เป็นรทู้ ี่มคี วามโดดเด่นอยู่เฉพาะรู้เท่านนั้ ความรู้นี้
เหมอื นไมม่ คี ณุ ค่าอะไร ไม่ไปเกาะตดิ อยู่ในสงิ่ ใดๆ เป็นร้ไู ม่มีใน
สมมตทิ จ่ี ะอธบิ ายได้ เหมอื นกบั เลข ๐ ศนู ย์ จะเขยี นเลข ๐ ศนู ย์
สกั รอ้ ยตวั กไ็ มม่ คี ณุ คา่ อะไร หรอื เขยี นเลข ๐ ศนู ยร์ อ้ ยตวั นำ� หนา้
แล้วเขียนเลข ๑ ตามหลงั กม็ คี ่าเท่ากบั ๑ เทา่ น้นั ความร้นู ีก้ ็
เชน่ กนั เปน็ รไู้ มม่ สี มมตปิ ระกอบ จงึ เปน็ ความรไู้ รค้ วามหมายใดๆ
ข้าพเจ้าเป็นนักสังเกต ในลักษณะอาการท่ีเกิดข้ึนทั้งหมด จึง
สามารถเรยี บเรยี งในอาการท่เี กิดขึ้นทงั้ หมดไดอ้ ย่างชดั เจน

ความดบั น้อี ยู่ไดไ้ ม่นาน

ความดบั ทกุ ขน์ อี้ ยไู่ ดป้ ระมาณ ๑ ชว่ั โมง แลว้ มใี นลกั ษณะ
วูบวาบขึ้นมานิดหน่ึง จากน้ันก็เกิดความกล้าหาญขึ้นมาที่ใจ
เมื่อใจเกิดความกล้าหาญ สติปัญญาก็เกิดความกล้าหาญไป
ด้วยกัน ความกล้าหาญนี้มีความรุนแรงมาก เหมือนกับว่าจะ
ท�ำลายของสิ่งใด ท�ำไดท้ ุกอย่าง เหมอื นกับว่าจะเหยยี บกระทบื
ภูเขาทั้งลูกให้พังพินาศไปในชั่วกระพริบตาก็ย่อมท�ำได้ หรือ
ราวกับว่าจะท�ำลายอะไรในโลกนี้ให้เป็นจุลไปในชั่วขณะเดียว
หรือจะน่งั สมาธเิ ป็นเวลา ๑ ชวั่ โมงก็เหมอื นจะนัง่ ได้ ๑ นาที จะ
น่งั สมาธิเปน็ ปีก็เหมือนจะไดน้ งั่ ๑ ชั่วโมง จะเดนิ จงกรมต่อกัน
นานเป็นเดือนเปน็ ปตี ิดต่อกันกเ็ หมอื นจะท�ำได้ น่ีเป็นความรสู้ กึ
ทเี่ กดิ ขน้ึ ในความกลา้ หาญในขณะนนั้ เปน็ ความกลา้ หาญทไี่ มเ่ คย

ความดับน้ี อยไู่ ดไ้ มน่ าน ๔๒๕

เกิดข้นึ มากอ่ น นเ่ี องจึงเรยี กว่า มหาสติ มหาปัญญา ไดเ้ กิดข้ึน
เพราะความกล้าท่ีเกิดขึ้นอย่างน้ี และเป็นความกล้าที่เกิดข้ึน
อันเป็นผลต่อเน่ืองจากนโิ รธ ความดับทกุ ขน์ น่ั เอง

อาสวักขยญาณ ได้เกิดขึ้น
ในขณะนนั้

ในขณะท่ีเกิดความกล้าหาญอย่างเต็มท่ีอยู่นั้น แล้วเกิด
ความรู้อีกอย่างหน่ึงซ้อนขึ้นมาในความกล้าหาญนั้น และรู้ว่า
อาสวะจะสนิ้ ไปในขณะน้ี ทเ่ี รยี กเปน็ ภาษาบาลวี า่ อาสวกั ขยญาณ
ในอาสวักขยญาณ นักปราชญ์เจ้าทั้งหลายได้แปลไว้ในต�ำราว่า
อาสวกั ขยญาณแปลวา่ รจู้ กั ทำ� ใหอ้ าสวะสน้ิ ไป แตต่ วั ขา้ พเจา้ เอง
ขอแปลว่าดังน้ี อาสวักขยญาณ รู้ว่าอาสวะจะสิ้นไปเท่าน้ัน
ไม่มีในค�ำว่ารู้จักท�ำให้อาสวะได้ส้ินไปแต่อย่างใด เพราะค�ำว่า
รู้จักท�ำนั้น ได้ผ่านข้ันตอนมาแล้ว เช่น การเจริญในวิปัสสนา
จนถึงขั้นการเจริญในวิปัสสนาญาณมาแล้ว จนเกิดเป็นนิโรธ

อาสวักขยญาณ ไดเ้ กิดขึ้นในขณะน้นั ๔๒๗

ความดับทุกข์ และดับเช้ือที่เป็นต้นเหตุให้เกิดทุกข์ไปหมดแล้ว
ไม่มีภพชาติใดๆ ท่ีจะเกิดอกี ตอ่ ไป กเิ ลสตณั หาน้อยใหญ่ หยาบ
ละเอียด ท่ีแอบแฝงอยู่กับธาตุส่ีขนั ธ์ห้า หรอื กเิ ลสตณั หาทีม่ อี ยู่
ภายในใจไดถ้ กู วปิ สั สนาญาณ ถกู นโิ รธ ชำ� ระลบลา้ งใหห้ มดไปจาก
ใจท้ังหมดแลว้ จึงไมม่ ใี นคำ� วา่ รจู้ ักทำ� ใหอ้ าสวะได้สนิ้ ไปอย่างใด

ฉะนนั้ อาสวกั ขยญาณ จงึ แปลไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ รวู้ า่ อาสวะ
จะสน้ิ ไปเทา่ นนั้ ถา้ หากขา้ พเจา้ แปลผดิ อยา่ งไร จงึ ขออภยั มาใน
ทน่ี ด้ี ว้ ย คดิ วา่ ทา่ นผรู้ ทู้ งั้ หลายคงใหอ้ ภยั ในขณะความกลา้ หาญ
และอาสวกั ขยญาณไดเ้ กดิ ขน้ึ ในขณะเดยี วกนั น้ี และกร็ ตู้ วั เองอยู่
ว่าอาสวะจะส้ินไปในขณะน้ีอยู่แล้ว ถ้าจะต้ังปณิธาน เหมือน
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ ง้ั ไวใ้ นใตต้ น้ พระศรมี หาโพธใ์ิ นครงั้ นนั้ จะเปน็ การ
ไม่เหมาะสม ข้าพเจ้าจึงได้ตั้งไว้ว่าชีวิตท่ีเกิดตายในโลกนี้มา
ยาวนาน แผน่ ดนิ นไี้ ดเ้ หยยี บยำ่� มายาวนานแลว้ ในขณะนี้ ขา้ พเจา้
ขอเหยียบย่�ำแผ่นดินนี้เป็นครั้งสุดท้าย นั่นหมายความว่าจะ
เดนิ จงกรมเหยยี บแผน่ ดนิ เปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ยของชวี ติ แลว้ กจ็ ะกลบั
มานงั่ เม่ือนง่ั แลว้ ถ้าอาสวะไม่สิ้นไปเมื่อไร ขา้ พเจา้ จะไม่ยอม
ลกุ ออกจากในที่แห่งนม้ี าเหยียบแผน่ ดนิ นี้อีก

จากนน้ั กอ็ อกไปเดนิ จงกรม เมอื่ เดนิ จงกรมไปมาประมาณ

๔๒๘ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑

๑๐ รอบเทา่ นน้ั ไดเ้ กดิ ความอศั จรรยข์ นึ้ ในชวั่ จรมิ กจติ ตบ๊ั เดยี ว
เท่านั้น ในความรู้สึกว่าแผ่นดินส่ันสะเทือน เหมือนกับโลกได้
หวัน่ ไหวในขณะน้นั และร้วู า่ นิพพฺ ินทฺ ํ วริ ชชฺ ติ วิราคา วมิ จุ ฺจติ
วิมุตฺตสฺมึ วิมุตตฺมิติ าณํ โหติ ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ
กตํ กรณียํ ปริสทุ ฺธิ อตตฺ านํ สมาหติ ํ ถงึ คำ� นม้ี อี ยูใ่ นต�ำรากต็ าม
เมอ่ื มารทู้ ง้ั เหตุ รทู้ งั้ ผล ในขณะเดยี วกนั จงึ เปน็ ธรรมหมวดสรปุ ใน
ผลของการปฏบิ ตั ธิ รรมทง้ั หมด เปน็ อรรถ พยญั ชนะ มคี วามหมาย
อยา่ งลกึ ซ้ึงเฉพาะตัวเองเปน็ อยา่ งยิง่

ในความรู้สึกเฉพาะตัวแล้ว เราได้เดินตามกระแสโลก
เกดิ ตายในภพน้อยใหญม่ ายาวนาน นับกปั นบั กัลป์ไม่ถว้ น หาที่
จบสน้ิ ไมไ่ ด้ บดั นก้ี งกำ� ของวฏั จกั ร คอื ตณั หา ไดถ้ กู วปิ สั สนาญาณ
ถูกนิโรธ ถูกอาสวักขยญาณ ท�ำลายไปอย่างหมดสิ้นแล้ว ไม่มี
การเกดิ ตายในภพน้อยใหญอ่ ีกต่อไป การเวยี นว่ายในวัฏสงสาร
ก็ไดถ้ งึ จุดจบกนั เพยี งเท่าน้ี

ในขณะเดยี วกนั มคี วามนกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ เปน็ อยา่ งมาก
ถ้าหากพระพุทธเจ้าทรงมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ ถึงพระองค์จะอยู่ใน
ทไ่ี หนกจ็ ะไปกราบพระพทุ ธเจา้ ใหส้ มใจ การไปกราบพระพทุ ธเจา้
นั้น ไมม่ ีความประสงค์อยากไดค้ �ำรับรองจากพระพทุ ธเจ้า และ

อาสวักขยญาณ ไดเ้ กิดขึ้นในขณะน้นั ๔๒๙

ไม่ต้องการรับค�ำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าแต่อย่างใด แต่ไป
กราบเพอ่ื สนองพระกรณุ าธคิ ณุ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงพระเมตตา
ได้วางหลักค�ำสอนของพระองค์เอาไว้ ให้ผู้ปฏิบัติตามได้รับผล
พ้นจากความทกุ ข์ในการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ในโลกน้ีเท่านนั้

จากน้ันก็ได้นึกถึงหลวงปู่ม่ันมากทีเดียว เพราะในยุคน้ี
ได้ขาดช่วงสาวกะทายาทองค์ที่มีคุณธรรมในระดับสูงมานาน
หลวงปู่ม่ันได้ค้นพบแนวทางเดิมที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้แล้ว
หลวงปู่ม่ันได้น�ำเอาอุบายธรรมนั้นมาปฏิบัติ จึงได้รับผลเป็น
วสิ ทุ ธธิ รรมอนั บรสิ ทุ ธส์ิ มบรู ณ์ ไดถ้ า่ ยทอดในอบุ ายการปฏบิ ตั นิ นั้
ใหแ้ กล่ กู ศษิ ยท์ ง้ั หลายไดป้ ฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั มผี ไู้ ด้
ดวงตาเห็นธรรม ได้รับความบริสุทธ์ิเป็นจ�ำนวนมาก ถ้าไม่มี
หลวงปมู่ นั่ ไมท่ ราบวา่ วงศพ์ ระกรรมฐานจะมใี นวนั นห้ี รอื ไม่ นเ่ี อง
จึงไดน้ กึ ถึงหลวงปู่มนั่ เป็นอยา่ งมากในขณะน้ัน

ในวนั นนั้ ขา้ พเจา้ ทำ� อยา่ งไร เปน็ อยา่ งไร ใหเ้ ปน็ เรอื่ งของ
ข้าพเจ้าเอง ถ้าหากจะพรรณนาในเรื่องส่วนตัวในวันนั้นเป็น
เร่ืองยาวมาก แต่ก็ไม่จ�ำเป็นจะเขียนไว้ในที่นี่ ในคืนวันน้ันก็ได้
เข้าพักในวิหารธรรมตามปกติ ในขณะเดียวกัน ปรากฏเห็น
พระมหาเถระองคห์ นง่ึ เดนิ เขา้ มาหา ทา่ นกไ็ ดข้ นึ้ มาบนกฏุ ิ ในขณะ

๔๓๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑

นนั้ คดิ วา่ จะปอู าสนะใหท้ า่ นนงั่ ดว้ ยการตอ้ นรบั ยงั ไมท่ นั ปอู าสนะ
ให้ทา่ นนัง่ เลย ทา่ นก็ได้นอนในกฏุ ิฟากไมไ้ ผ่ เป็นพระมหาเถระ
องคแ์ รกทป่ี รากฏใหข้ า้ พเจา้ ไดเ้ หน็ หลังจากไดร้ บั ผลการปฏบิ ัติ
แล้ว ท่านก็ได้พูดออกมาประโยคหนึ่งว่า ท่านทูล นับแต่บัดนี้
เปน็ ตน้ ไป ใหเ้ ปน็ ตวั ใครตวั มนั นะ วา่ แลว้ ทา่ นกไ็ ดล้ กุ จากทน่ี อน
เดนิ ออกจากกฏุ ไิ ป พระมหาเถระองค์นั้นเป็นพ่อแมค่ รูอาจารย์
ที่พวกเรารู้จักกันทั่วไปในขณะนั้น จากน้ันจิตก็ได้ถอนออกมา
ไดพ้ จิ ารณาในคำ� ทที่ า่ นพดู วา่ ทา่ นทลู ตอ่ ไปนี้ เปน็ ตวั ใครตวั มนั นะ
ค�ำนีม้ คี วามหมายอยา่ งไร และเป็นเรอ่ื งอะไร

ในขณะนั้น ได้พิจารณาได้ความว่า ในอดีตที่ผ่านมา
ปีพ.ศ. ๒๕๐๖ ในปีนั้นข้าพเจ้าได้จ�ำพรรษาอยู่ท่ีป่าหนองแซง
กบั หลวงปบู่ วั ในปนี น้ั หลงั จากงานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปู่
เจ้าคุณธรรมเจดีย์ ท่ีวัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงเป็น
พระอปุ ชั ฌายข์ องขา้ พเจา้ เอง ขา้ พเจา้ ไดอ้ ปุ สมบทเปน็ ลทั ธวิ หิ ารกิ
ของท่านเป็นองค์สุดท้าย ในปีพ.ศ. ๒๕๐๔ บวชองค์ที่อันดับ
๙,๑๑๗ ข้าพเจ้าก็ได้ไปในงานน้ีด้วย แต่ไม่ได้รับหนังสืออะไร
เม่ืองานเสร็จก็ได้กลับมาอยู่ที่วัดป่าหนองแซง อีกไม่กี่วันต่อมา
พอ่ แม่ครอู าจารย์ หลวงปู่บัว วดั ปา่ หนองแซง กไ็ ด้เอาหนงั สอื

อาสวกั ขยญาณ ไดเ้ กดิ ขน้ึ ในขณะนน้ั ๔๓๑

ธรรมะที่ท่านผู้รู้ได้เรียบเรียงเอาไว้ ไปแจกให้พระเณร และได้
อธิบายเร่ืองงานในวันน้ันเล็กน้อย หนังสือเล่มน้ันช่ืออย่างไรได้
ลมื ไปแลว้

ในคืนนั้น ข้าพเจ้าได้เอาหนังสือเล่มน้ันมาอ่าน ได้เกิด
ความปีติ มีความเอิบอม่ิ ใจเป็นอย่างมาก ธรรมะแตล่ ะประโยค
ในหนังสือนั้นมีความหมายลึกซึ้งเป็นอย่างมาก อ่านหนังสือไป
นำ�้ ตาไหลไปดว้ ยความดใี จในชวี ติ เคยอา่ นหนงั สอื ธรรมะมามาก
กเ็ ปน็ ธรรมดาไป ในเม่อื ได้อา่ นหนังสือธรรมะของท่านผู้รู้ ผตู้ ื่น
ผเู้ บกิ บาน องคจ์ รงิ อดกลนั้ นำ�้ ตาไวไ้ มอ่ ยู่ เพราะธรรมะนน้ั ถกู กบั
จริตของข้าพเจ้าเป็นอย่างมาก เหมือนกับท่านผู้รู้ได้ถอดหัวใจ
ของขา้ พเจ้าไปเขียนไว้ท้งั หมด ถึงขา้ พเจ้าไมไ่ ดเ้ ปน็ ลูกศษิ ยท์ า่ น
โดยตรง แต่ข้าพเจ้าก็ได้ปณิธานขอเป็นลูกศิษย์ท่านภายในใจ
ดว้ ยความสตั ยจ์ รงิ จะเอาหนงั สอื เลม่ นนั้ เกบ็ ไวใ้ นทสี่ งู กราบไหว้
เป็นประจำ� และได้น�ำอบุ ายธรรมะในหนงั สอื น้ันมาปฏบิ ตั อิ ยา่ ง
ต่อเนื่อง ไปทไี่ หนเอาหนังสือเลม่ นั้นไปด้วย จนได้รับผลปฏบิ ตั ิ
อยา่ งเต็มท่ใี นปีพ.ศ. ๒๕๑๒

เหมือนกับหนังสือเล่มนี้ เป็นก�ำลังหนุนส่งให้ข้าพเจ้าได้
รูเ้ ห็นความจริงในสัจธรรม หนังสือเล่มน้ีก็หมดภาระกนั เพราะ

๔๓๒ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑

ข้าพเจ้าเองพ่ึงตัวเองได้แล้ว เรียกว่าเป็นตัวของตัวเองได้แล้ว
อย่างเต็มที่ ถึงไม่มีหนังสือเล่มนี้ก็ไม่มีปัญหาอะไร ถึงจะไม่ได้
ฟงั ธรรมะจากทา่ นองค์ทีเ่ ขยี นหนงั สือโดยตรง ธรรมะในหนังสือ
ก็เหมือนได้ฟังธรรมะจากท่านอยู่แล้ว นี่เองท่านจึงได้ปรากฏ
อยใู่ นนิมิต และไดพ้ ูดว่า จากนี้ไป เปน็ ตวั ใครตัวมัน นน่ั หมายถึง
กตํ กรณียํ หมดกจิ ท่จี ะพึงทำ� ไมต่ ้องไปอาศยั อุบายการปฏบิ ตั ิ
จากท่านอีกต่อไป และไม่ตอ้ งศกึ ษาหาเอาหมวดธรรมมาปฏบิ ัติ
เพอื่ ใหเ้ ป็นอยา่ งน้นั อย่างน้ีตอ่ ไป



อตั โนประวัติ ภาค ๑

พระอาจารย์ทูล ขิปปฺ ปญฺโ

พระอาจารย์ทูล ได้เขียนอัตโนประวัติเล่มน้ีข้ึน เพ่ือให้นักปฏิบัติรุ่นหลังได้
ศกึ ษาประวตั คิ วามเปน็ มาและอบุ ายการปฏบิ ตั ขิ องทา่ น ซงึ่ มงุ่ เนน้ การพจิ ารณา
สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวดว้ ยเหตุและผล เพ่ือสร้างปญั ญาความเหน็ ชอบใหเ้ กดิ
ขึ้นท่ีใจ โดยได้รวบรวมคติข้อคิดและเกร็ดธรรมะไว้มากมาย รวมถึงประวัติ
ความเป็นมาของครบู าอาจารยห์ ลายท่านดว้ ย
ผู้จัดพิมพ์ตน้ ฉบบั : มูลนธิ วิ วิ ฏั ธรรม วดั ปา่ บา้ ค้อ
ปีทีพ่ ิมพ ์ : ๒๕๔๘
ISBN : ๙๗๔-๙๒๘๓๐-๐-๗
ผ้จู ัดหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส ์ : วัดซานฟรานธมั มาราม

สงวนลิขสิทธิ์
ห้ามพิมพ์จ�ำหน่าย คัดลอก และพิมพ์ซ�้ำเน้ือหาในหนังสือเล่มนี้ไปเผยแพร่
ทางสื่อทุกชนิดโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต ผสู้ นใจกรุณาติดตอ่
วัดซานฟรานธัมมาราม 2645 Lincoln Way, San Francisco, CA 94122
โทร. ๑-๔๑๕-๗๕๓-๐๘๕๗ • watsanfran.org • [email protected]
วดั ป่าบา้ นค้อ หมู่ ๗ ต.เขอื นำ้� อ.บา้ นผอื จ.อดุ รธานี ๔๑๑๖๐
โทร. ๐๘๙-๔๑๖-๗๘๒๕ • watpabankoh.com • [email protected]

ผสู้ นใจอา่ นหนงั สอื ธรรมะและฟังบันทกึ เสยี งธรรมเทศนา
ของพระอาจารย์ทูล ขิปปฺ ปญโฺ  สามารถดาวนโ์ หลดได้ท่ี

http://watpabankoh.com
http://kpyusa.org

http://luangporthoon.net

ผใู้ ดมีความประสงค์จะสมทบทนุ ในการจดั พิมพ์หนงั สอื ธรรมะ
กรณุ าติดต่อ คุณโสรัตยา สุริย์จามร [email protected]
ธนาคารกรุงเทพ บัญชอี อมทรัพย์ เลขทบ่ี ญั ชี 650-0-12774-8


Click to View FlipBook Version