พรรษาที่ ๒ จ�ำอยทู่ ี่ยอดทอน ๑๙๑
กลางคนื เสือกลวั จรงิ หรอื นายพรานเขาบอกว่า ไมไ่ ดน้ ะครูบา
เสือเห็นไฟมันจะไปหาทันที มันเข้าใจว่าในที่น้ันต้องมีหมา
นอนอยู่ จะได้กนิ หมาเป็นอาหารตอ่ ไป นค้ี รูบายงั โชคดนี ะ เสือ
ไมค่ าบเอาครบู าไปกนิ ตอ่ ไปครบู าอยา่ กอ่ ไฟอกี นะ ถา้ เสอื หวิ มา
อาจกินครูบาก็เป็นได้
ในคืนต่อมาก็เดินจงกรมนั่งสมาธิเป็นนิสัย ในขณะน้ัน
เหมอื นมปี ระตขู นาดใหญไ่ หลเลอื่ นปดิ ปากถำ�้ ทง้ั หมด มบี านประตู
ท่ีเดียว ในขณะเดียวกันได้ยินเสียงผู้หญิงเคาะประตูแล้วพูดว่า
อาจารย์ๆ เปดิ ประตใู หด้ ้วย เรากร็ วู้ า่ ผู้หญิงเขา้ มาหาพระไมไ่ ด้
จงึ บอกไปวา่ ไมน่ ะ ผหู้ ญงิ เขา้ มาไมไ่ ด้ อาตมาอยใู่ นทนี่ อี้ งคเ์ ดยี ว
หา้ มเขา้ มา ผู้หญิงพูดว่า ถา้ อาจารย์ไมเ่ ปดิ ฉันเปิดเองได้ ผู้หญิง
กเ็ ปดิ ประตเู ข้ามาจรงิ ๆ เราต้งั ตวั ไม่ทนั ในขณะน้ัน ผู้หญิงกเ็ ขา้
มากอดรอบขา้ พเจา้ ดา้ นหลงั แลว้ พดู วา่ อาจารยต์ อ้ งสกึ มาอยกู่ บั
ฉันนะ เป็นผัวเมียกัน ฉันนึกชอบอาจารย์ตั้งแต่อาจารย์เข้ามา
อยถู่ ำ�้ นี้ในครงั้ แรก ขา้ พเจ้ากบ็ อกผู้หญิงไปวา่ อาตมาตัง้ ใจบวช
ตลอดชีวิต จะไม่สึกเป็นฆราวาสอย่างเดด็ ขาด ผู้หญิงยนื่ ค�ำขาด
มาว่า ถา้ อาจารย์ไมร่ ับค�ำวา่ จะสึกละก็ ฉันจะกอดใหอ้ าจารย์ได้
ตายคามอื นเ้ี อง วา่ แลว้ กก็ อดรดั แนน่ หายใจไมไ่ ดเ้ ลย เหน็ ทา่ ไมด่ ี
๑๙๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ขา้ พเจา้ กค็ ดิ วางแผนไปวา่ เดย๋ี วกอ่ นอาตมาตง้ั ใจจะมาจำ� พรรษา
อยูใ่ นถ้ำ� แหง่ นี้ ให้ออกพรรษาก่อนจงึ พูดกันในภายหลัง ผหู้ ญิง
ก็ตกลง ก่อนจะวางมือยังพูดอีกว่า อย่าลืมสัญญาท่ีให้ไว้นะ
ออกพรรษาแล้วจะมาทวงเอา วา่ แล้วก็เดนิ ออกไป จติ ก็ไดถ้ อน
ออกจากสมาธิพอดี หน้าถ�้ำก็เป็นปกติ ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง
ฝาผนงั ท่เี ล่ือนปิดปากถ�ำ้ กไ็ มม่ ีอะไร
จากน้ันก็ได้ใช้ปัญญาพิจารณาดูในเร่ืองท่ีเกิดข้ึนว่า ใน
ความหมายกับผหู้ ญิงน้ีเป็นอย่างไร ก็เขา้ ใจได้ในทนั ที นมี้ นั เปน็
เร่ืองของส่วนตัว ถ้าไปตีความว่าเป็นผีจริงๆ นั้น จะท�ำให้เกิด
ความกงั วลเสยี เปลา่ ก็ได้พจิ ารณาว่าในช่วงน้ีจะท�ำสมาธิใหจ้ ิต
มีความสงบลึกเอาไว้ ให้ใจได้มีก�ำลังต่อสู้กับความกลัวเอาไว้
เมื่อนึกค�ำบริกรรมมากข้ึนเท่าไร ใจก็เร่ิมสงบเป็นสมาธิมากข้ึน
เทา่ นนั้ ในคนื หนงึ่ จติ มคี วามตอ้ งการความสงบมาก กก็ ำ� หนดจติ
ลงสคู่ วามสงบอยา่ งเต็มที่ ในทแี รกกอ็ าศัยการนึกค�ำบริกรรมวา่
พุทโธๆ เปน็ ค่กู ับจิตเอาไว้ เมอ่ื จติ เริ่มมีความสงบได้แลว้ ก็หยดุ
ในการนึกบริกรรม แล้วต้ังสติก�ำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก เอา
ลมหายใจเป็นนมิ ติ หมายของสตไิ มใ่ ห้เผลอ เมอ่ื กำ� หนดเขา้ ๆ ก็
รู้ว่าลมหายใจมีลักษณะหยาบอยู่อย่างรู้ได้ชัดทีเดียว จากนั้นก็
พรรษาท่ี ๒ จำ� อยู่ทย่ี อดทอน ๑๙๓
มากำ� หนดรใู้ นลมหายใจใหม้ คี วามละเอยี ดมากขน้ึ ๆ จนลมหายใจ
มีความละเอียดอย่างเต็มท่ี จากน้ันก็ใช้ในอุบายในการปล่อย
ลมหายใจทิ้งไป เพียงมีสติก�ำหนดดูเพียงผู้รู้อย่างเดียวเท่านั้น
ไมส่ ง่ ผู้รู้ไปตามดลู มหายใจอีกแตอ่ ย่างใด มแี ตใ่ ชส้ ตริ ะลึกอยู่กบั
ผูร้ เู้ ท่าน้ัน
ในคนื นนั้ ไมท่ ราบว่าจิตมีความสงบแตเ่ วลาไหน เม่ือจวน
สว่างในวันใหม่ จติ กไ็ ด้ถอนออกจากสมาธิมา เมอื่ จิตถอนออก
จากสมาธมิ าแลว้ กเ็ หมอื นตัวเองไม่มลี มหายใจ ถงึ มลี มหายใจก็
เหมือนกับไม่หายใจอยู่นั่นเอง มีลักษณะเฉยๆ อยู่ตลอดเวลา
จะมานึกค�ำบริกรรมว่า พุทโธ ก็หยาบไปหมด จะมาก�ำหนดดู
ลมหายใจเข้าออก ก็หยาบเชน่ เดียวกัน มีวธิ ีเดยี วคอื กำ� หนดผรู้ ู้
อยกู่ บั ผรู้ เู้ ทา่ นน้ั จะอยใู่ นอริ ยิ าบถไหนกเ็ ปน็ อเุ บกขาความวางเฉย
อยู่ตลอดเวลา เปน็ ในลกั ษณะนีน้ านประมาณ ๗ วนั
การมีความเปน็ อยอู่ ย่างนี้ ในความรู้สึกลกึ ๆ รู้วา่ ถา้ เปน็
ในลกั ษณะนไ้ี มใ่ ชเ่ ปน็ แนวทางทถี่ กู ตอ้ ง ในทางมรรคผลนพิ พาน
แน่นอน คงจะเปน็ อรูปฌานขน้ั ละเอียดเท่านัน้ เมื่อเป็นอย่างน้ี
ก็ต้องคิดหาวิธีที่จะต้องแก้ไข นึกไปหาครูอาจารย์ทั้งหลายว่า
องค์ไหนจะแก้ให้เราได้ ก็รู้ว่าไม่มีใครแก้ให้เราได้เลย ก็ต้องหา
๑๙๔ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
วิธีแก้ด้วยตัวเอง จะหาอุบายธรรมมาพิจารณาเพื่อให้จิตถอน
แตก่ ไ็ มม่ ปี ญั ญาทจ่ี ะพจิ ารณาอะไรเลย มแี ตอ่ ยเู่ ฉยๆ อยตู่ ลอดเวลา
อบุ ายปญั ญาเคยคดิ พจิ ารณาทม่ี คี วามฉลาดปราดเปรอ่ื งมาแลว้
กลับนึกคิดพิจารณาอะไรไม่ได้เลย ถ้าอยู่ในเวลาปกติ ธาตุสี่ก็
เพียงเป็นธาตุส่ีเท่าน้ัน ไม่เกี่ยวกันกับอาการที่เกิดทางจิตเลย
ก็นึกได้ว่า ถ้าท�ำให้ใจเกิดมีความยินดีพอใจในส่ิงท่ีเกิดข้ึนน้ี
เปน็ วธิ ีหลงช่องทางเข้าสู่พรหมโลกแน่นอน แตเ่ ราตัง้ ใจไวว้ ่าจะ
ปฏบิ ตั เิ พอื่ มรรคผลนพิ พานเทา่ นน้ั ฉะนน้ั เราตอ้ งหาวธิ อี อกจาก
อรูปฌานใหไ้ ดใ้ นขณะนี้
ในช่วงน้ัน ก็นึกขึ้นได้ว่าต้องอ่านหนังสือให้มาก เม่ือได้
อุบายน้ีแล้วก็หยิบเอาหนังสือปาฏิโมกข์มาอ่าน คร้ังแรกก็ไม่
อยากอ่านแต่กต็ ้องฝนื ใจอ่าน ในครัง้ แรกกน็ ึกอา่ นในใจ ต่อไปก็
อ่านออกเสียง เมื่ออ่านออกเสียงนานๆ เข้า จิตก็เร่ิมถอนตัว
ออกมานิดๆ ก็รู้ว่าจิตได้เร่ิมถอนตัวออกมาแล้ว พอรู้ว่าจิตเร่ิม
ถอนออกจากอรูปฌาน จากน้ันก็เร่งอ่านหนังสือให้มากขึ้น ใน
ขณะนั้นอา่ นหนงั สือมาได้ ๓ วัน จิตก็ได้ถอนออกจากความสงบ
มาเปน็ ปกติ จงึ ได้คดิ ด�ำริพิจารณาดวู า่ อาการแห่งความสงบนม้ี ี
ข้ึนด้วยเหตุอันใด ก็มีความเข้าใจว่าเนื่องมาจากกลัวเสือมาก
พรรษาท่ี ๒ จำ� อยู่ทีย่ อดทอน ๑๙๕
เกินไป และเพ่ือป้องกันผู้หญิงมาทวงสัญญาท่ีให้ไว้ จึงได้ตั้งใจ
นกึ คำ� บรกิ รรมทำ� สมาธมิ าตลอด ไมว่ า่ จะอยใู่ นอริ ยิ าบถใดๆ ทำ� ใจ
ให้อยู่ในเอกัคคตา ก�ำหนดสตริ ะลึกรอู้ ย่กู บั ใจตลอดเวลา จงึ ได้
เกิดความสงบเป็นสมาธิอย่างต่อเนื่อง ในท่ีสุดจิตก็ตกเข้าไปสู่
ในอรูปฌานดงั กลา่ วมาแล้ว
แต่ก็โชคดีที่ข้าพเจ้ามีนิสัยทางปัญญามาก่อน ไม่เช่นน้ัน
ก็จะตายอยู่กับความสงบในอรูปฌานน้ีไปจนวันตายแน่นอน
ไมม่ ชี อ่ งทางออกจากอรปู ฌานนเี้ ลย ถา้ หากตายไปกจ็ ะตายฟรๆี
ในชีวิตน้ีก็จะหมดความหมาย จะไม่ได้เข้าสู่ในพระนิพพานใน
ชาตนิ แี้ ตอ่ ยา่ งใด การทไ่ี ดส้ มั ผสั ในความสงบในอรปู ฌานอยา่ งนี้
ถือว่าเป็นบทเรียนทสี่ �ำคญั ย่งิ ทีหลงั จะไม่ฝกึ ใหจ้ ิตเป็นสมาธทิ ม่ี ี
ความสงบลกึ อย่างนี้อีกต่อไป
จากนน้ั กไ็ ดเ้ รม่ิ วางฐานการปฏบิ ตั เิ สยี ใหม่ ในวธิ กี ารทำ� สมาธิ
น้นั ก็ทำ� ใหม้ ีความสงบพอประมาณ จากนั้นก็ใชป้ ัญญาพจิ ารณา
ให้ต่อเน่ืองอยู่เสมอ จะไม่ปลอ่ ยใหจ้ ิตมคี วามสงบตลอดไปดงั ที่
เป็นมาแล้ว เว้นเสียในบางกรณีท่ีจิตมีความต้องการอยาก
จะเข้าพักลึกๆ ในบางครั้งเท่านั้น ก็จะปล่อยให้จิตมีความสงบ
เป็นคร้ังเป็นคราวไป แตก่ ต็ ั้งใจเอาไวว้ ่า เม่อื จติ ไดถ้ อนออกจาก
๑๙๖ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
สมาธิมา จะต้องใชป้ ัญญาพิจารณาในทนั ที ตามปกติแลว้ ไม่ว่า
จะอย่ใู นอริ ยิ าบถใด ข้าพเจา้ มีนิสยั ในการใช้ปัญญาพิจารณาใน
สจั ธรรมอยเู่ สมอ หรอื เรยี กวา่ ใชอ้ บุ ายปญั ญามากกวา่ การทำ� สมาธิ
นั่นเอง ในนิสัยการใช้ปัญญาพิจารณานี้ จะถือว่าเป็นกิจวัตร
ประจำ� วนั เลยทีเดียว เม่อื หากเหนอ่ื ยในการใชป้ ญั ญากห็ ยดุ มา
ก�ำหนดจิตท�ำสมาธิต้ังใจม่ันเอาไว้ เพ่ือจะได้ก�ำลังใจใช้ปัญญา
พิจารณาต่อไป
ฉะนนั้ สมถกรรมฐาน และวปิ สั สนากรรมฐาน ทงั้ สองอบุ าย
นม้ี ผี ลตอ่ เนอ่ื งถงึ กนั จะขาดเสยี อยา่ งหนงึ่ มไิ ด้ จะเอาวธิ กี รรมฐาน
ใดขึน้ ก่อนและหลงั นน้ั ข้นึ อย่กู ับนสิ ยั ของแต่ละท่าน หรอื ข้ึนอยู่
กบั กาลเวลา ในบางครง้ั ชอบทำ� สมาธกิ อ่ นปญั ญา ในบางครง้ั ชอบ
ใช้ปัญญาก่อนสมาธิ ท่ีเรียกว่าสมาธิอมรมปัญญา หรือเรียกว่า
ปัญญาอบรมสมาธิ ใครมคี วามถนัดวิธีไหนกใ็ ห้เป็นไปตามนิสัย
ของแตล่ ะทา่ น เหมอื นการกา้ วขาในเวลาเดนิ ทาง จะกา้ วขาซา้ ย
กอ่ นขาขวา หรอื จะกา้ วขาขวากอ่ นขาซา้ ย สลบั กนั ไปมา ในทส่ี ดุ
กถ็ ึงจดุ หมายปลายทางไดเ้ หมอื นกนั น้ฉี นั ใด การภาวนาปฏิบัติ
ทงั้ สองอบุ ายนก้ี ฉ็ นั นนั้ เมอื่ เรามคี วามเขา้ ใจในการปฏบิ ตั ไิ ดด้ แี ลว้
การปฏบิ ัติจะไม่มอี ปุ สรรคแตอ่ ย่างใด จะไม่เกดิ ความสับสนใน
พรรษาท่ี ๒ จำ� อยทู่ ่ยี อดทอน ๑๙๗
ตวั เองวา่ เราปฏบิ ตั ผิ ดิ หรอื เราปฏบิ ตั ถิ กู เราจะไมม่ คี วามกงั วลใน
สงิ่ เหลา่ นี้ เรยี กวา่ ไมเ่ ปน็ ผลู้ งั เลในการปฏบิ ตั ใิ หเ้ สยี เวลาเทา่ นน้ั เอง
ขอฝากเตอื นผูท้ �ำสมาธิ
ท้งั หลาย
การไดอ้ ธบิ ายเรอื่ งภาวนาปฏบิ ตั ขิ องขา้ พเจา้ ใหท้ า่ นรบั รนู้ ้ี
ขอใหท้ า่ นไดส้ งั เกตดเู หตผุ ลดงั ทข่ี า้ พเจา้ ไดเ้ ปน็ มาแลว้ แลว้ ใหท้ า่ น
น�ำไปปรับปรุงแก้ไขให้ถูกกับจริตนิสัยของตัวท่านเอง ถ้าหาก
ท่านท�ำสมาธิ จติ มคี วามสงบบ้างหรอื มคี วามสงบขัน้ ละเอยี ดดงิ่
ลึกลงไปอย่างเต็มท่ี หรือมีความสงบต่อกันหลายๆ วันจนเป็น
อรปู ฌาน ท่านจะมีอุบายใดมาถอนตวั ออกจากอรูปฌานก็ตอ้ ง
เตรยี มการเอาไว้ ถา้ ผไู้ มม่ ฐี านปญั ญามากอ่ น รบั รองวา่ จะตอ้ งจม
อยใู่ นอรปู ฌานนไี้ ปจนตลอดวนั ตาย จะไมม่ อี บุ ายถอนตวั ไดเ้ ลย
ดงั พดู กนั อยเู่ สมอวา่ เมอื่ จติ มคี วามสงบแลว้ จะเกดิ ปญั ญาขน้ึ นนั้
ขอฝากเตือนผู้ท�ำสมาธทิ ้ังหลาย ๑๙๙
ค�ำพูดน้ีไม่จริง แสดงว่าผู้พูดนั้นยังไม่เคยมีประสบการณ์ใน
ความสงบของสมาธิข้ันละเอียดน้ีเลย พูดกันไปแบบไร้สาระ
พาใหค้ นจำ� นวนมากเกดิ ความเข้าใจผดิ มากเลย
ดังค�ำว่า ผู้มีความเห็นผดิ เพยี งคนเดยี ว ย่อมทำ� ใหค้ นอ่นื
เกดิ ความเหน็ ผดิ ไปตามๆ กนั เปน็ หมน่ื เปน็ แสน เมอื่ ความเหน็ ผดิ
ได้เกิดข้ึนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น จะเป็นเหตุให้เกิดความคิดที่
ผิดๆ ตามมา การพดู การกระท�ำ การเลีย้ งชีพ จะเปน็ ความผดิ
เนอื่ งจากความเหน็ ผดิ นไี้ ปทงั้ หมด ความเพยี รในวธิ ตี า่ งๆ การตง้ั สติ
การท�ำสมาธิ ล้วนแล้วแต่ผิดกันไปทั้งส้ิน เหมือนเงินปลอมอยู่
ในถงุ มลี กั ษณะเหมอื นเงินจรงิ จะไปเหมาเอาวา่ เปน็ เงนิ จรงิ หา
ใช่ไม่ เงินปลอมก็จะเป็นเงินปลอมตลอดไปอยู่น้ันเอง น้ีฉันใด
ความเหน็ ผดิ อยใู่ นสว่ นลกึ ของใจนนั้ มอี ยู่ ใจกจ็ ะเกดิ เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ
ความเห็นผิดตลอดไปก็ฉันนั้น จึงยากที่จะกลับตัวได้ เพราะ
ความเขลาปัญญาทรามและขาดเหตุผลก็จะเกิดเป็นมิจฉาทิฏฐิ
ความเห็นผิดโดยไมร่ ้ตู ัว ตวั เองมคี วามเหน็ ผดิ แตม่ าเข้าใจว่าเรา
มีความเห็นถูก จะมปี ัญหามากมาย
ฉะนนั้ จงึ ขอฝากขอ้ คดิ ไวแ้ กน่ กั ปฏบิ ตั ทิ ง้ั หลายทมี่ คี วามตงั้ ใจ
จรงิ จงใชว้ จิ ารณญาณของทา่ นใหด้ ี ใหส้ มกบั ความตง้ั ใจวา่ เราจะ
๒๐๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
เดินตามรอยยคุ ลบาทของพระศาสดาและพระอริยเจ้าทงั้ หลาย
เราก็ต้องศึกษาประวัติของพระอริยเจ้าทั้งหลายให้เข้าใจว่า
องค์ไหนเร่ิมต้นในการปฏิบัติอย่างไร มีอุบายใดเป็นสื่อที่จะน�ำ
ไปสสู่ จั ธรรมได้ เราจะนำ� มาเปน็ อบุ ายปรบั ปรงุ แกไ้ ขในความเหน็
ของตัวเราเองเป็นสัมมาทิฏฐิ ความเห็นที่ถูกต้องชอบธรรม
เพอ่ื เปน็ ฐานรองรบั ในความเหน็ ชอบอนื่ ๆ ใหม้ ารวมในจดุ เดยี วกนั
การปฏบิ ตั ิ ถา้ เราไดว้ างรากฐานในจดุ เรม่ิ ตน้ ถกู ตอ้ งแลว้ การปฏบิ ตั ิ
ในขั้นตอ่ ไปกถ็ กู ต้องตลอดแนวทาง ทกุ อยา่ งจะมคี วามกา้ วหนา้
อยา่ งราบรน่ื ตอ่ ไป จงึ เรยี กวา่ ตนแลเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตนอยา่ งแทจ้ รงิ
เป็นผู้มีความสามารถต้ังอยู่ในเหตุผลของตนเองได้ ดังบาลีว่า
มคฺคา มคฺคญาณ วิสุทฺธิ ความรู้เห็นในเส้นทางที่จะก้าวไปสู่
ความบริสุทธ์อิ ยา่ งแทจ้ รงิ
เหมอื นการเดินทางท่ีเสน้ ทางไม่เคยไป ต้องศึกษาแผนท่ี
ใหด้ ี จะมที างอน่ื สลบั ซบั ซอ้ นหลายเสน้ กต็ าม ตอ้ งดเู สน้ ทางหลกั
ใหร้ ู้ จำ� ใหแ้ มน่ และหนั แผนทใ่ี หถ้ กู ทศิ ตอ้ งมอี ปุ กรณค์ อื แสงสวา่ ง
ให้พร้อม และไปแบบระมัดระวัง มีความรอบรู้ในเส้นทางท่ี
จะต้องไป รับรองได้ว่าถึงจุดหมายปลายทางแน่นอน นี้ฉันใด
การภาวนาปฏบิ ตั กิ ฉ็ นั นน้ั ผภู้ าวนาปฏบิ ตั ติ อ้ งศกึ ษาในสมั มาทฏิ ฐิ
ขอฝากเตอื นผู้ทำ� สมาธิท้ังหลาย ๒๐๑
ปญั ญาความเหน็ ชอบใหเ้ ขา้ ใจ เพราะเปน็ การเรม่ิ ตน้ ในการปฏบิ ตั ิ
ถ้าตคี วามในสัมมาทิฏฐิความเห็นชอบไมถ่ กู ต้อง กจ็ ะกลายเป็น
มิจฉาทิฏฐิความเห็นผิดในทันที ก็จะเกิดความเข้าใจผิดโดย
ไมร่ ตู้ วั หลงเอามจิ ฉาทฏิ ฐคิ วามเหน็ ผดิ วา่ เปน็ ความเหน็ ถกู ในทนั ที
ถ้าเป็นอยา่ งน้ี การปฏิบัตกิ ็จะเกิดมีปัญหาทนั ที ถึงจะเรียกร้อง
ในมรรคผลนพิ พาน ก็จะไม่เป็นไปตามทเ่ี ราต้ังใจเอาไว้เลย
ฉะนั้น ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติ ต้องเตรียมพร้อมด้วยสติ
ปญั ญา ศรัทธาความเพยี รเอาไว้อย่างเต็มที่ ปัญญาคอื แสงสว่าง
ทางใจ เม่ือเรามีปัญญารอบรู้ในเหตุและผลอยู่ การตัดสินใจ
ก็มีความถูกต้องและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ความลังเลสงสัย
ในอบุ ายการปฏิบัติวา่ อะไรควรอะไรไมค่ วร ถกู หรอื ผิด จะไม่มี
ความสงสัยแต่อย่างใด นี้คือผู้ปฏิบัติตามรอยของพระพุทธเจ้า
อย่างถูกต้อง เราคนหน่ึงก�ำลังเร่ิมออกเดินทาง ถ้าไม่เข้าใจ
ในแนวทางปฏิบัติ ก็ต้องศึกษากับท่านผู้รู้ท้ังหลาย เพื่อให้เกิด
ความมน่ั ใจในตวั เองวา่ มคี วามถกู ตอ้ งตรงตามความเปน็ จรงิ แลว้
ขอ้ ส�ำคัญ กค็ วรระวงั อยา่ ไปถามกับผู้กำ� ลังหลงทาง เราก็
หลงทาง ผบู้ อกเสน้ ทางกม็ คี วามหลงทางเหมอื นกนั กบั เรา มนั จะ
เขา้ ตำ� ราทว่ี า่ บอดจงู บอด ไปไมร่ อดเพราะตาบอดจงู กนั ถา้ เปน็
๒๐๒ อตั โนประวัติ ภาค ๑
อยา่ งนกี้ ส็ ดุ วสิ ยั ทจ่ี ะชว่ ยกนั ได้ ใหถ้ อื วา่ มคี วามโชครา้ ยกแ็ ลว้ กนั
อีกวันหนึ่งข้างหน้า เราอาจจะได้พบคนตาดี จูงเราไปให้ถึง
ฝั่งอย่างแน่นอน ถ้าเรามีปัญญาดี การแสวงหาครูผู้ปฏิบัติดี
ปฏบิ ตั ชิ อบนนั้ หาไมย่ ากเลย เราตอ้ งฝกึ ตวั ใหอ้ ยใู่ นธมั มาธปิ ไตย
เอาความจริงเป็นหลักเอาไว้ ใครก็ตามท่ีจะมาให้ธรรมแก่เรา
ต้องเอาสติปัญญาเข้าไปวัดดูในเหตุผลในทันที ถ้าเป็นอย่างน้ี
การเลอื กเอาธัมมาธิปไตยไมย่ ากเลย
อยกู่ บั หมู่เสือจนเคยชิน
การอยกู่ บั หมเู่ สอื ในครงั้ แรกกม็ คี วามกลวั เขาอยบู่ า้ ง เมอ่ื
อยกู่ ันมานานๆ ก็เกิดความเคยชิน วนั ไหนไมไ่ ด้ยินเสียงเสอื รอ้ ง
เหมือนขาดอะไรสักอย่างหนึ่ง เพราะมคี วามเชอื่ มั่นในตวั เองว่า
เสอื จะไมท่ ำ� อนั ตรายแกเ่ ราในชาตนิ ้ี อยมู่ าในวนั หนง่ึ ไปเทย่ี วปา่
คนเดียวกลับมาท่ีพักมืดแล้ว คิดว่าน�้ำในกระบอกไม้ไผ่มีอยู่ก็
ไม่ได้ดู เม่ือตื่นเช้ามาน�้ำในกระบอกไม้ไผ่หมด ไม่มีน้�ำล้างหน้า
แปรงฟนั เลย ในเช้าวันนนั้ เสือก็มาร้องอยู่ทบี่ ่อนำ�้ หา่ งกับท่ีอยู่
ประมาณ ๓๐ เมตร รอ้ งเสียงดังมาก แทบจะทำ� ให้ตน้ หญา้ และ
ปา่ แถวนนั้ สะเทอื นไปหมด ขา้ พเจา้ กน็ ง่ั คอยใหเ้ สอื ออกจากทนี่ นั้
ไปก่อนจึงไปเอาน้�ำ คอยอยู่นานจนตะวันส่องแสงข้ึนมา เสือก็
ยังร้องอยู่ไม่หยุด ข้าพเจ้าก็ได้ตะโกนไปเสียงดังๆ ว่า อ้ายเสือ
๒๐๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑
อย่กู ับหมเู่ สอื จนเคยชนิ ๒๐๕
เธอจะมารอ้ งทำ� ไมอยใู่ นทน่ี ่ี ตะวนั ขนึ้ มาแลว้ นะ ไปหาทห่ี ลบั นอน
บ้างซิ จากน้นั เสยี งเสือเงียบ อกี ประมาณ ๑๐ นาที ขา้ พเจ้าลง
ไปตักนำ�้ ในบอ่ หิน เห็นแต่รอยอยใู่ นทน่ี ั้น เมือ่ ตักน�ำ้ มาแลว้ กไ็ ด้
ออกไปบิณฑบาตตอ่ ไป ไม่คิดกลวั เสอื อะไรเลย
อกี คนื หนง่ึ ตอ่ มา จวนสวา่ งประมาณตี ๔ ขา้ พเจา้ ตนื่ นอน
ขึ้นมาก็ได้มาน่ังสมาธิ ในขณะน้ันได้ยินเสียงหายใจอยู่ลานหิน
บนศรี ษะ กพ็ จิ ารณาดวู า่ นเ่ี ปน็ เสยี งอะไร กม็ าเขา้ ใจวา่ นเี่ ปน็ เสยี ง
เสอื หายใจ ในขณะนนั้ เสอื ไดม้ าพกั นอนอยใู่ นทนี่ นั้ จนหลบั เสยี ง
หายใจเหมือนกบั แมวนอนหลบั แต่เสียงใหญ่ เสียงดังกว่าแมว
ข้าพเจ้าน่ังฟังเสือหายใจไปบ้าง ตัวเองก็ก�ำหนดลมหายใจ ใช้
อานาปานสติไปด้วย แล้วก็มาพิจารณาดูว่าสัตว์ทุกประเภท
ต้องมีลมหายใจเป็นตัวกำ� หนดของชวี ิต ถา้ ลมหายใจเขา้ ไมอ่ อก
หรือลมหายใจออกไม่เข้า นั่นคือความสิ้นสุดของชีวิต เสือ
ท่ีนอนหลับอยู่ที่ก้อนหินบนศีรษะเรานี้ มันก็อาศัยลมหายใจ
เหมือนกันกับเรา ทดลองดูลมหายใจว่า ลมหายใจเรากับเสือ
หายใจอยู่ เอาอานาปานสตเิ ขา้ กนั ไดไ้ หม ทำ� ดแู ลว้ เข้ากนั ไม่ได้
เสอื จะมกี ารหายใจชา้ กวา่ เราไปนดิ หนงึ่ เขา้ กนั ไมไ่ ด้ ในขณะนน้ั
เร่มิ สว่างออกมาแลว้ นกต่างๆ กพ็ ากันร้องจอแจ กำ� ลงั จะออก
๒๐๖ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
ไปหากิน แต่เสือยังนอนหลับไม่ต่ืน ข้าพเจ้าก็ได้ออกจากท่ีมา
แล้วร้องตะโกนวา่ อ้ายเสือ ตน่ื ซิ จะมานอนหลับอยู่ท�ำไม ไปหา
นอนอยู่ที่อ่นื แลว้ เสยี งหายใจเงยี บไป ขา้ พเจา้ จะไปบณิ ฑบาต
จงึ ไปดทู เี่ สอื นอน เหน็ รอยขนาดใหญท่ เี ดยี ว ขา้ พเจา้ กเ็ ฉยๆ ไมม่ ี
ความกลัวอะไร เพราะอยดู่ ว้ ยกันมาจนเคยชินเสียแล้ว
เสอื โคร่งใหญ่ ให้กำ� ลงั ใจ
เมอ่ื ออกพรรษามาแลว้ ฝนไดห้ ยดุ ตกในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์
ได้ไปเก็บเอาใบไม้แห้งมาร้อยเป็นแถบๆ ไปท�ำซุ้มใบไม้อยู่ที่
ลานหนิ ห่างจากทเี่ ดิมไปประมาณ ๑ กโิ ลเมตร ท่ีนั่นมีลานหนิ
กว้างใหญเ่ รียบราบดี มลี านทรายอ่อนสวยงามมาก ไดไ้ ปท�ำซ้มุ
กางกลดอยใู่ นทแี่ หง่ นน้ั เมอื่ อยมู่ าได้ ๑๐ วนั ในวนั หนงึ่ ประมาณ
๕ โมงเย็น มีนายพราน ๓ คนหาบสัมภาระลงมาจากเขาใหญ่
เขาเหลา่ นไี้ ปนอนปา่ เพอื่ ลา่ เนอ้ื มวี วั ปา่ ทเ่ี ขายงิ ไดบ้ อ่ ยครงั้ เขา้ มา
หาขา้ พเจา้ พดู ออกมาอยา่ งรบี รอ้ นลกุ ลล้ี กุ ลน แลว้ บอกขา้ พเจา้
ว่า ครูบาๆ รีบเก็บสิ่งของเร็วเข้าก่อนจะมืดค่�ำ จึงได้ถามพวก
นายพรานไปว่า มีเร่ืองอะไรท่ีจะให้อาตมาเก็บของ นายพราน
พูดว่า ในคืนนี้เสือโคร่งใหญ่ตัวเก่ามาอีกแล้ว เสือตัวน้ีชอบกิน
๒๐๘ อตั โนประวัติ ภาค ๑
คนแถบภฟู า้ ภหู ลวงมามากแลว้ เหน็ คนในทไี่ หน มนั ตอ้ งไดก้ นิ ทกุ ที
สัตว์อ่ืนมันไม่ชอบเท่าไร แต่คนน้ีมันชอบมากทีเดียว เสือตัวนี้
เคยมาเท่ยี วที่แหง่ น้ีปลี ะครงั้ ไดพ้ บรอยใหม่ๆ ในวันนี้เอง ถ้ามนั
มาในถ่ินนี้ ก็จะมาวิ่งเล่นในลานทรายที่ครูบาอยู่น้ี และมาร้อง
เสยี งดงั กระหมึ่ สะเทอื นปา่ ไปหมด หมกู่ ระผมมารบั เอาครบู าไป
ข้างล่างก่อน อกี ภายใน ๕ วนั มนั ก็จะหนจี ากถน่ิ นี้ไป ครบู าจงึ
กลบั มาอยใู่ หม่ ขา้ พเจา้ กไ็ ดต้ ดั สนิ ใจพดู กบั นายพรานวา่ อาตมา
ไม่หนี เสือจะมาในท่ีน่ีก็ให้มันมา มันจะกินก็ยอมให้มันกิน ให้
สน้ิ เวรส้นิ กรรมต่อกันไป
นายพรานไม่ยอมฟังเสียงค�ำที่เราพูดแต่อย่างใด พากัน
เข้ามาเก็บเอาบาตร เก็บเอากลด จะพาลงไปให้ได้ เขาพูดว่า
ถงึ ยงั ไงกต็ อ้ งใหช้ วี ติ ปลอดภยั ไวก้ อ่ นเถอะครบู า ขา้ พเจา้ กท็ ำ� ทา่
ดุไปวา่ อาตมาไมใ่ ช่พระกรรมฐานที่กลวั ตาย ถ้ากลวั ตายจะมา
อยู่ในที่แห่งน้ีคนเดียวท�ำไม เสือโคร่งจะกินตัวอาตมาในคืนนี้ก็
ให้มันกินไปซิ เอาเถอะนะ ถ้ากรรมเวรไม่เคยกระท�ำต่อกันมา
เสือโคร่งกจ็ ะไม่ท�ำอะไรใหแ้ กอ่ าตมาแตอ่ ยา่ งใด เมือ่ นายพราน
มาอ้อนวอนขา้ พเจา้ ไมส่ ำ� เรจ็ กพ็ ากันลงไป
พอตกค่�ำตะวันลับแสง ก็เกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางใจ
เสอื โครง่ ใหญ่ ใหก้ �ำลังใจ ๒๐๙
ขนึ้ มา บรรยากาศในปา่ ใหญก่ ็เหมือนผดิ ปกตไิ ปหมด แสงเดือน
ทเ่ี คยมแี สงสวา่ งเจดิ จา้ เหมอื นกบั ว่าเป็นแสงมืดสลัวไป สัตวป์ า่
นานาชนิดเคยร้องประสานเสียงกัน เย็นในวันน้ันสงบเงียบ
เหมอื นไมม่ สี ตั ว์ในถนิ่ นนั้ เลย เม่ือตกค�ำ่ เข้าจริงๆ สง่ิ ที่ทำ� ใหเ้ รา
มีความเพลิดเพลินเจริญใจ ก็ท�ำให้เกิดความวิตกกังวลข้ึนมา
มองไปดกู อ้ นหนิ และพมุ่ ไม้ ใจกค็ ดิ วา่ เปน็ เสอื ไปทง้ั หมด หไู ดย้ นิ
เสียงใบไม้หล่น กิ่งไมห้ กั หล่นลงมา กม็ ีความเขา้ ใจว่าเสอื ไปเสีย
ทั้งหมด
นายพรานบอกว่า เวลาประมาณ ๓ ท่มุ เสอื ตวั นั้นจะมา
ว่ิงเล่น รอ้ งคำ� รามอยูใ่ นทแ่ี ห่งน้ี น่ีเวลาประมาณ ๒ ทมุ่ เข้ามา
แลว้ ความกลวั และความกลา้ รสู้ กึ วา่ มเี ทา่ กนั สญั ญาเกา่ อกี อยา่ ง
ในสมัยเดก็ ผู้เฒา่ ได้เลา่ ใหฟ้ ังวา่ เมือ่ เวลาเสือโคร่งใหญจ่ ะออก
ไปหากินในทางทิศไหน ก็จะมีลมพัดผ่านล่วงหน้าไปก่อน เพ่ือ
เป็นสัญญาณเตือนให้สัตว์ท้ังหลายรู้ตัวเอาไว้ สัตว์ตัวที่ยังไม่ถึง
ความตายก็จะได้กลิ่นเสือ แล้วหาที่หลบซ่อนตัวในที่ต่างๆ ให้
ปลอดภัย สัตว์ตัวไหนจะเป็นอาหารเสือก็จะไม่ได้กลิ่นเสือ
แต่อย่างใด น้ีเป็นอาถรรพณ์ลางท่ีบอกเหตุให้แก่สัตว์ทั้งหลาย
เป็นธรรมชาติของเสือใหญ่ ต้องเปน็ ไปในลกั ษณะน้ี
๒๑๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
ในขณะที่ข้าพเจ้าก�ำลังเดินจงกรมอยู่นั้น ก็ปรากฏว่ามี
ลมพัดผ่านมาเบาๆ เร่ียราดมาตามใบหญ้า ก็เกิดเป็นสัญญา
ความจำ� นกึ ถึงคำ� พดู ของผู้เฒ่าเข้ามาฝังใจว่า เสือโครง่ ตวั ใหญ่นี้
ก�ำลังเดินทางมายังสถานท่ีเราอยู่นี้แล้ว เมื่อเสือตัวนี้เห็นเรา
ก็จะกระโจนกัดกินเราเป็นอาหารทันที ถ้าคิดว่าจะหนีจากใน
ที่แห่งนี้ไป ก็คิดละอายตัวเองว่าท�ำไมพระกรรมฐานจึงขี้ขลาด
กลวั ตาย ไมล่ ะอายหมู่เทวดาบา้ งหรือไง เราเป็นพระกรรมฐาน
ผอู้ ทุ ศิ ตวั ไวใ้ นพระพทุ ธศาสนาแลว้ ชวี ติ จะเปน็ อยา่ งไรนน้ั กรรม
จะเปน็ ผู้ตดั สนิ ให้เอง เมอ่ื เรามาถงึ จดุ นแ้ี ล้ว จะถดถอยตัวออก
ไปไมส่ มควรเลย จะเปน็ ตายรา้ ยดีอยา่ งไร ก็ขอมอบกายมอบใจ
ถวายชวี ติ นเ้ี พอ่ื บชู าคณุ พระพทุ ธเจา้ ขอบชู าคณุ พระธรรม ขอบชู า
คณุ พระอรยิ สงฆ์ จงึ ไดอ้ ธษิ ฐานวา่ ถา้ หากเราไดท้ ำ� กรรมตอ่ กนั มา
กบั เสอื ตวั น้ี ก็ขอให้เสอื กินเราเป็นอาหารไปเสีย ขอใหห้ มดเวร
หมดกรรมต่อกนั ไป ถ้าไมเ่ คยทำ� กรรมชว่ั ตอ่ กันมา ก็อย่าใหเ้ สอื
โครง่ ตัวนท้ี �ำอันตรายแก่ข้าพเจา้ เลย ดังค�ำวา่ ธมโฺ มหเว รกฺขติ
ธมฺมจารึ ธรรมยอ่ มตามรักษาผ้ปู ระพฤติธรรมปฏบิ ตั ธิ รรมไม่ให้
ตกไปในทางทชี่ ว่ั กรรมชัว่ ยังไม่ถึงทสี่ ุด จะไม่ได้รับอนั ตราย
เม่ือมีปัญญาพิจารณาได้อย่างน้ี จึงเกิดมีก�ำลังใจขึ้นมา
เสอื โครง่ ใหญ่ ให้กำ� ลังใจ ๒๑๑
และมีความกล้าหาญภายในใจอย่างเข้มแข็ง พร้อมที่จะเผชิญ
เสือโคร่งตัวน้ีได้อย่างม่ันใจ อย่างไรก็ตามเราจะนั่งสมาธิอยู่ใน
ทน่ี ก้ี อ่ นเสอื จะมาถงึ ทน่ี มี่ ชี อ่ งทางเดยี วทเ่ี สอื ตวั นขี้ นึ้ ลงเปน็ ประจำ�
ถ้าเรานั่งหันหน้าไปในช่องทางเสือขึ้นมา ก็คิดว่าจะอดลืมตาดู
เสือไม่ได้ ถา้ จะน่งั หันข้างให้เสน้ ทางเสอื กก็ ลวั อดชำ� เลอื งตาดู
เสือไม่ได้เช่นกัน ฉะน้ัน จึงตัดสินใจนั่งหันหลังให้กับช่องทางท่ี
เสอื จะขน้ึ มานเี้ สยี เมอื่ มนั ขนึ้ มาเหน็ เรา กจ็ ะกระโจนคาบคอเรา
ไปกนิ ในทนั ที ในขณะน้เี ราจะนงั่ สมาธิเปน็ ครั้งสดุ ท้ายของชีวิต
ก็อาจเป็นได้ ถงึ อายเุ รายังน้อย การบวชมาก็เพยี งพรรษาท่ี ๒
ชีวิตเราอาจจะจบสิ้นลงในคืนนี้ ชีวิตจะจบลงในคืนน้ีหรือไม่
อยา่ งไร เสอื โครง่ จะเปน็ ผู้ตดั สนิ ใหเ้ อง ในบดั นเี้ ราได้ทอดอาลัย
ในชวี ติ แลว้ ถงึ เรายงั ไมถ่ งึ นพิ พานในขณะนก้ี ต็ าม เมอ่ื อาสวะยงั
มอี ยู่ กต็ อ้ งมาเกดิ ใหมแ่ นน่ อน และขอใหไ้ ดม้ าเกดิ เรว็ ทส่ี ดุ เพอื่ จะ
ไดบ้ วชและปฏบิ ตั ใิ หร้ แู้ จง้ เหน็ จรงิ ในสจั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา
ของพระพทุ ธเจา้ องคป์ จั จบุ นั และขออธษิ ฐานวา่ อยา่ ใหข้ า้ พเจา้
ไดไ้ ปเกดิ ในสวรรคช์ ้นั ใดๆ เลย
เมอื่ อธษิ ฐานและทอดอาลยั ในชวี ติ แลว้ กน็ ง่ั สมาธหิ นั หลงั
ให้ทางเสือขึ้นมาในทันที ครั้งแรกก็นึกค�ำบริกรรมว่า พุทโธ
๒๑๒ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ประกอบกับลมหายใจ เมื่อจิตเริ่มมีความละเอียดแล้ว ก็ไม่นึก
ค�ำบริกรรมว่า พุทโธ เพียงก�ำหนดสติระลึกรู้อยู่กับลมหายใจ
เข้าออก จนลมหายใจมีความละเอียดอยา่ งเตม็ ท่ี และลมหายใจ
ได้หมดไป ในขณะนั้นจิตก็มีความสงบอย่างเต็มท่ี ไม่รู้สึกตัว
แต่อย่างใด ในขณะนั้นเริ่มเข้าที่ท�ำสมาธิเวลาประมาณ ๓ ทุ่ม
จติ ไดถ้ อนตวั ออกมาเวลาประมาณตี ๒ เมอื่ จติ ถอนออกมา กค็ ดิ
ว่าเสือโคร่งตัวใหญ่ตัวนี้ไม่มาที่น่ีแล้ว ก็ลุกเดินไปสู่กระต๊อบ
เดนิ จงกรมจนสวา่ ง เพ่อื ความมน่ั ใจวา่ ในขณะทเ่ี ราท�ำสมาธอิ ยู่
กไ็ มเ่ ห็นเสอื เสอื อาจจะขึน้ มาก็ได้ จึงไดเ้ ดินไปดูท่ีชอ่ งทางเสือ
ขน้ึ มา พทุ โธเ่ อย๋ รอยเสอื โครง่ ใหญต่ วั นนั้ ไดย้ นื ดเู รานง่ั สมาธอิ ยู่
หา่ งจากตวั เราเพยี ง ๓ เมตรเทา่ นนั้ จากนน้ั ก็เกดิ ความมั่นใจใน
ตัวเองว่า ชีวิตน้ีเราจะไม่ตายในปากเสืออย่างแน่นอน และมี
ความเชอ่ื มน่ั อยา่ งสนทิ ใจวา่ พระธรรมยอ่ มรกั ษาผปู้ ระพฤตธิ รรม
ได้อย่างฝงั ใจ ในคืนตอ่ ไปเราจะไม่ระแวงระวงั ในเสืออีกต่อไป
จากน้ันก็ลงมาบิณฑบาตตามปกติ ในขณะที่เดินมาก็ได้
พบกับนายพรานกลุ่มเดิม เดินมาอย่างรีบร้อน มีอาวุธครบมือ
เม่ือเห็นหน้าข้าพเจ้าเข้าก็พูดว่า แหม หมู่กระผมนอนไม่หลับ
ทั้งคืน คดิ เปน็ ห่วงครูบามาก คดิ วา่ เสอื ไดค้ าบครูบาไปกินแล้ว
เสอื โคร่งใหญ่ ให้ก�ำลังใจ ๒๑๓
หมู่กระผมจึงได้พากันตามขึ้นมาดู นายพรานพูดว่า เม่ือคืนนี้
เสือโคร่งตัวใหญ่น้ี ได้เข้าไปเอาควายในหมู่บ้านมากินอยู่ใน
คานอีสุกนี้เอง ท่ีน้ันห่างจากที่ข้าพเจ้าอยู่ไม่เกิน ๑ กิโลเมตร
จงึ ไดบ้ อกกบั หมนู่ ายพรานไปวา่ เมอื่ คนื นเ้ี หน็ รอยเขา้ มาหาเชน่ กนั
แต่มันก็ไม่ท�ำอะไร จากนั้นก็ลงมาบิณฑบาต พวกนายพรานก็
พากนั กลับบา้ นไป
ในช่วงน้ันพระเณรพากันเป็นไข้ป่ามาลาเรียมาก ในช่วง
ขา้ พเจา้ ยงั เปน็ ฆราวาส กไ็ ดศ้ กึ ษายาแผนปจั จบุ นั และไดศ้ กึ ษายา
แผนโบราณมาบา้ ง ไดก้ ลายเปน็ หมอจำ� เปน็ ขนึ้ มา ไดล้ งไปซอื้ ยา
ในอ�ำเภอศรีเชียงใหม่ ทางก็เดินไกลหลายกิโลเมตร ท้ังยาฉีด
ยาเมด็ ทง้ั นำ�้ เกลอื นำ� มารกั ษาหมคู่ ณะ แตล่ ะองคอ์ ยไู่ กลกนั มาก
ในเวลากลางวันและกลางคืนต้องเดนิ ลดั เข้าไปฉดี ยาใหห้ มคู่ ณะ
จึงโชคดีในปีนั้นไม่มีพระเณรตาย ข้าพเจ้าก็ได้เป็นไข้ป่าเช่นกัน
กต็ อ้ งฉดี ยาใหแ้ กต่ วั เอง ทง้ั ฉดี เขา้ กลา้ มและฉดี เขา้ เสน้ ดว้ ยตวั เอง
ทง้ั นน้ั กอ่ นจะออกจากทนี่ นั่ ไป กลอ่ งยาฉดี และถงุ นำ้� เกลอื รวมกนั
ได้ ๒ ถงุ ปุ๋ยเลยทีเดยี ว เข็มฉดี ยาอันเดียวใช้ไดน้ าน เม่ือแทงเขม็
ฉดี ยา ถา้ เจบ็ มากกใ็ ชว้ ธิ เี อาเขม็ ลบั กบั หนิ กอ่ นฉดี กนั ตอ่ ไป เพราะ
ไมม่ เี งนิ ทจ่ี ะซอ้ื เขม็ ฉดี ยา จำ� เปน็ ตอ้ งใชว้ ธิ ปี ระหยดั ลบั เขม็ ฉดี ยา
๒๑๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ใชก้ ันเท่านนั้
ความไมส่ ะดวกในการออกธดุ งคใ์ นครง้ั นนั้ มคี วามลำ� บาก
มาก ไม่มเี งินท่จี ะต้องข้นึ รถ ถึงจะอ่อนเพลียก็อดทนเดินต่อไป
ในบางครั้งคิดว่าจะโบกมือขี่รถ แต่ไม่กล้าเพราะไม่มีเงินค่ารถ
แม้แต่ยาปวดหายแต่ละซองก็ไม่มีคนถวายเลย ไปถึงบ้านหนึ่ง
เขาจะทำ� บญุ บา้ น ไดม้ านิมนตว์ า่ อกี ๓ วันจะท�ำบญุ บา้ น นมิ นต์
ทา่ นอยกู่ อ่ น พอไดเ้ งนิ ซอื้ ยาปวดหายแกไ้ ขบ้ า้ ง ดซู คิ นไมม่ ปี ญั ญา
ตอ้ งให้รบั จา้ งสวดมนตก์ ่อนจึงจะถวายเงนิ ซือ้ ยา
นมิ ติ เห็นหน้าผาสูงชัน
ในชว่ งนนั้ ไดเ้ พอ่ื นองคห์ นง่ึ ไดอ้ อกธดุ งคไ์ ปในทต่ี า่ งๆ พกั
แหง่ ละคนื สองคนื ทไี่ หนภาวนาดกี ห็ ยดุ พกั หลายคนื เดนิ ไปเรอ่ื ยๆ
คำ�่ ทีไ่ หนก็พักนอนในที่นนั้ บางแหง่ ไมม่ บี ้านคนอยู่ใกลเ้ ลย ตื่น
แตเ่ ชา้ มดื เดนิ ทางตอ่ ไป กวา่ จะถงึ บา้ นคนกส็ ายไป สะพายบาตร
ไปตามหมู่บ้าน ได้ข้าวเหนียวก้อนหน่ึงสองก้อนพอได้ฉันพอ
ประทงั ชวี ติ ใหอ้ ยไู่ ด้ แตก่ พ็ อใจในชวี ติ ทเ่ี ปน็ พระกรรมฐาน คดิ วา่
ในสมยั คร้ังพุทธกาล พระท่านไปธดุ งคก์ ็คงจะเปน็ อย่างน้ี จะมี
อาหารทช่ี อบใจนัน้ คงเปน็ ของยาก ถงึ ครัง้ นกี้ ็เปน็ ไปในลกั ษณะ
เดยี วกนั อ่มิ บ้างไม่อ่ิมบ้าง ไดฉ้ ันบา้ งไมไ่ ดฉ้ นั บา้ ง กไ็ มถ่ อื ว่าเป็น
เรอ่ื งสำ� คัญ ขอให้ชีวิตอยู่ไดใ้ นวันหน่ึงคนื หน่ึงก็พอแล้ว
ในคนื หนง่ึ ขณะทจี่ ติ มคี วามสงบไดท้ แ่ี ลว้ จงึ มนี มิ ติ เกดิ ขน้ึ
๒๑๖ อัตโนประวัติ ภาค ๑
นมิ ิตเห็นหน้าผาสูงชนั ๒๑๗
เป็นภเู ขาสงู มองสดุ สายตา เป็นหนา้ ผาชันสงู พอๆ กนั กบั สันเขา
หน้าผานั้นมีความเรียบราบเป็นมันทีเดียว ในขณะน้ันมีคน
จ�ำนวนมากหลายล้านคนอยู่ในที่แห่งน้ัน มีเสียงประกาศว่า
ใครตอ้ งการพน้ จากทกุ ขใ์ นวฏั สงสาร ตอ้ งปนี ปา่ ยตามหนา้ ผานไี้ ป
เม่ือถึงที่สูงสุดแล้วจะไม่ได้ลงมาเกิดในโลกมนุษย์น้ีอีก มีเสียง
ประกาศอยูอ่ ย่างน้ตี อ่ เนอื่ งกนั อย่เู สมอ คนในจำ� นวนนั้นเป็นใน
ลกั ษณะ ๓ กล่มุ กลุ่มหน่ึง ไมส่ นใจในเสียงประกาศน้เี ลย พากัน
เดนิ ไปมาไมร่ วู้ า่ ไปทำ� อะไร อกี กลมุ่ หนง่ึ เพยี งยนื ฟงั นงั่ ฟงั ในเสยี ง
ประกาศนนั้ ฟังเฉยๆ คุยกันไปบ้าง ฟงั เสียงไปบ้าง แต่ก็ไมส่ นใจ
ทจี่ ะไปปนี ป่ายหน้าผานั้นเลย อกี กลุ่มหนง่ึ มคี วามยนิ ดพี อใจที่
จะไปปีนหน้าผานั้น พากันกระโดดปีนป่ายหน้าผาเป็นหมู่ๆ
หนา้ ผาลื่นเกาะไม่ติดกต็ กลงมา พักได้ก�ำลังแลว้ กระโดดขน้ึ ใหม่
ยังไมเ่ หน็ ใครๆ ปนี ป่ายหนา้ ผาขน้ึ ไปไดเ้ ลย
ในขณะนน้ั ขา้ พเจา้ มคี วามเชอ่ื มนั่ ในตวั เองวา่ เราตอ้ งปนี ปา่ ย
หนา้ ผานขี้ นึ้ ไปไดอ้ ยา่ งแนน่ อน ขา้ พเจา้ ไดเ้ ดนิ ออกไป เมอื่ แหวก
ฝงู ชนเขา้ ไปถงึ หนา้ ผาแลว้ กย็ กมอื อธษิ ฐานวา่ ถา้ ขา้ พเจา้ จะถงึ ท่ี
สุดแห่งทุกข์ในชาตินี้ ขอให้ข้าพเจ้าปีนป่ายหน้าผานี้ขึ้นไปได้
ดว้ ยเถดิ พออธษิ ฐานจบกก็ ระโดดขนึ้ อยา่ งเตม็ กำ� ลงั สงู ประมาณ
๒๑๘ อัตโนประวัติ ภาค ๑
นมิ ิตเหน็ หนา้ ผาสงู ชนั ๒๑๙
๖ เมตร มือและเท้าก็ติดกับหน้าผาอย่างเหนียวหนึบทีเดียว
จากนน้ั กไ็ ดว้ งิ่ ขนึ้ ไปตามหนา้ ผาอยา่ งรวดเรว็ ดว้ ยกำ� ลงั ทม่ี อี ยใู่ น
กายในใจ ไม่ได้หยดุ พักแตอ่ ยา่ งใด
ในขณะนนั้ ขนึ้ จากหนา้ ผาไดแ้ ลว้ ไดห้ นั หนา้ ลงมาดฝู งู ชน
ได้โบกมือบอกว่า ข้าพเจ้าขึ้นหน้าผาได้แล้ว หลายคนพูดว่า
ชว่ ยดว้ ยๆ และหลายคนประนมมอื แลว้ พดู วา่ ขออนโุ มทนาดว้ ยๆ
จากนัน้ ก็มเี สียงประกาศมาว่า ท่านตอ้ งไปตามเส้นทางน้ี นี่เป็น
เส้นทางไปให้ถึงที่สูงสุด เม่ือไปถึงแล้วไม่ต้องกลับลงมาเกิดอีก
ขา้ พเจ้าก็ได้เดินตามเส้นทางนั้นไป เหมือนเดินขึน้ เนินเขาสงู ไป
เรื่อยๆ แล้วปรากฏมีลานพัก แต่ข้าพเจ้าไม่ได้พัก เดินทางไป
เร่ือยๆ เหมอื นกบั เดินขึน้ ภูเขาสูง แตก่ ไ็ มม่ ีความเหน่อื ยเมือ่ ยล้า
แตอ่ ยา่ งใด ทางเดนิ ข้นึ ชน้ั ท่ี ๓ นส้ี งู ชันมาก แต่กเ็ ดินข้ึนไปโดย
สะดวกดี ไม่มอี ปุ สรรคใดๆ
เดนิ ขน้ึ ไปถึงชนั้ ที่ ๓ แลว้ ในชนั้ น้ีไดพ้ บปราสาทช้ันเดยี ว
มีความสวยงามมาก อยู่ติดกับริมทางพอดี เมื่อข้ึนไปถึงก็มี
โยมผู้หญิงคนหนึ่งออกมาจากปราสาทมาต้อนรับ ผู้หญิงน้ันมี
ความสวยงามมาก และอย่ใู นวัยสาวอยา่ งเตม็ ที่ กริ ยิ าท่าทางให้
ความเปน็ กนั เองทง้ั หมด การนอบนอ้ มกราบไหวม้ คี วามออ่ นชอ้ ย
๒๒๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
สวยงามดี ประนมมอื แลว้ พดู ออกมาวา่ พระคณุ เจา้ เดนิ ทางมาไกล
มีความเหน็ดเหนื่อย ขอนิมนต์พระคุณเจ้าเข้าไปพักผ่อนใน
ปราสาทน้ีก่อน ฉันน�้ำให้มีความสบายก่อนเจ้าค่ะ ขอนิมนต์
พระคุณเจ้าโปรดพักอยู่ในท่ีปราสาทน้ีนานๆ ข้าพเจ้าพูดบอก
โยมผหู้ ญงิ ไปวา่ นโ่ี ยม อาตมาตอ้ งการไปใหถ้ งึ ในชน้ั ท่ี ๔ อนั เปน็
ทสี่ งู สดุ เทา่ นน้ั อาตมายงั ไมเ่ หนอ่ื ย ยงั ไมห่ วิ นำ้� แตอ่ ยา่ งใด อาตมา
จะไปใหถ้ งึ ชัน้ ท่ี ๔ ในขณะนี้ แตผ่ ้หู ญิงกใ็ ช้ค�ำออดออ้ นวิงวอน
ไปวา่ พระคณุ เจา้ ขา ชน้ั ที่ ๔ ระยะทางจากนไ้ี ปไมไ่ กลเลย ไปอกี
นดิ เดยี วก็ถึงแล้ว พกั ผอ่ นในปราสาทนกี้ อ่ น ไปเวลาไหนก็จะถึง
อยู่แล้ว อาตมาพูดค�ำสุดท้ายว่า ขอบใจนะโยมท่ีมีความหวังดี
แตอ่ าตมาจะไมพ่ กั ในทนี่ ี่ ผหู้ ญงิ พดู วา่ ถา้ พระคณุ เจา้ ไมต่ อ้ งการ
จะพกั กข็ อนิมนต์ขน้ึ ช้นั ๔ เลยเจา้ คะ่
จากน้ันข้าพเจ้าก็ได้เดินตามทางน้ันขึ้นเขาสูงต่อไป ใน
ชน้ั ที่ ๔ นม้ี คี วามสงู และชนั มาก แตเ่ สน้ ทางเดนิ ราบเรยี บดี ขนึ้ ไป
ได้สะดวก เม่ือเดินข้ึนไปตามเส้นทางน้ี ไม่มีความอ่อนเพลีย
เหน็ดเหนื่อยเม่ือยล้าแต่อย่างใด เม่ือขึ้นไปถึงช้ันท่ี ๔ แล้ว
สภาพรอบด้านมีการเปลี่ยนไปท้ังหมด มองไปที่ไหนไม่มีอะไร
เลย มีแต่ความเว้งิ ว้างไปเสยี ท้ังหมด ตน้ ไมก้ ไ็ ม่มี เมื่อถงึ ชั้นท่ี ๔
นมิ ิตเหน็ หนา้ ผาสงู ชนั ๒๒๑
แลว้ ไมม่ สี งิ่ ใดจะนำ� มาอธบิ ายใหท้ า่ นผอู้ า่ นไดร้ ตู้ ามและมองภาพ
ออกเลย หาสมมตมิ าเปรยี บเทยี บประกอบภาพออกมาใหส้ มกบั
ที่ปรากฏนั้นไม่ได้เลย เพราะเป็นสถานที่ไม่มีอะไร ก็ไม่มีอะไร
จะน�ำมาพูดได้
จากนนั้ จติ กไ็ ดถ้ อนออกจากสมาธมิ า ในขณะนน้ั เหมอื นกบั
อยู่ในเหตุการณ์จริง ใช้ปัญญาพิจารณาเรียบเรียงดูในนิมิตท่ี
เกดิ ขนึ้ วา่ มคี วามหมายเปน็ อยา่ งไร จงึ มคี วามเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งชดั เจน
เพราะนมิ ติ นน้ั มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั สิ ว่ นตวั ทง้ั หมด เปน็
นมิ ติ หมายไปในทางทด่ี ี ทำ� ใหม้ กี ำ� ลงั ใจในการปฏบิ ตั อิ ยา่ งเตม็ ที่
การมนี มิ ติ เกดิ ขนึ้ นมี้ ใี นลกั ษณะไมเ่ หมอื นกนั ในบางอยา่ งเปน็ นมิ ติ
เกย่ี วกบั เรอ่ื งในอดตี นมิ ติ บางอยา่ งเกยี่ วกบั ปจั จบุ นั นมิ ติ บางอยา่ ง
เกี่ยวกับอนาคต นิมติ บางอยา่ งเก่ียวกบั ทางโลก นมิ ิตบางอยา่ ง
เกย่ี วกบั ทางธรรม นมิ ติ บางอยา่ งเปน็ เรอื่ งของตวั เอง นมิ ติ บางอยา่ ง
เปน็ เรอ่ื งของคนอน่ื การเกดิ ขนึ้ ของนมิ ติ มหี ลายรปู แบบ เมอ่ื นมิ ติ
เกิดขึน้ กับใคร ผูน้ นั้ จะต้องตคี วามหมายในนิมิตของตวั เองให้ได้
จะไปถามคนอน่ื ใหต้ คี วามหมายนมิ ติ ให้ อาจจะไมต่ รงกบั ความเขา้ ใจ
ของตวั เอง นมิ ติ แปลวา่ ความหมาย วา่ นมิ ติ อยา่ งนนั้ เปน็ อยา่ งนน้ั
มคี วามหมายเปน็ อยา่ งไร การตคี วามหมายในนมิ ติ เรยี กวา่ ปฏภิ าค
๒๒๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ปฏภิ าค หมายถงึ ปญั ญานนั่ เอง ปญั ญานแี้ หละเอามาแยกแยะแจกแจง
กระจายในความหมายในนิมติ นัน้ ๆ ถา้ จะใหเ้ กดิ ความเป็นธรรม
กต็ ้องตีความหมายในนิมิตนนั้ ลงสู่ไตรลักษณไ์ ดเ้ ปน็ การดี
พรรษาที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๐๖
เมื่อได้ออกธุดงค์ไปในที่ต่างๆ มาแล้ว ในช่วงฤดูกาล
เขา้ พรรษา ไดต้ ัง้ ใจไวว้ า่ ปนี จี้ ะไปจำ� พรรษาอยทู่ ว่ี ดั ปา่ หนองแซง
กบั หลวงป่บู ัว สิรปิ ุณโฺ ณ มพี ระอาจารย์สิงหท์ อง เปน็ พระเถระ
ผใู้ หญจ่ ำ� พรรษาอยดู่ ว้ ย จะเลา่ ประวตั ขิ องหลวงปบู่ วั ใหท้ า่ นรไู้ ว้
สักเล็กน้อย หลวงปู่บัวเป็นพระมหาเถระผู้ใหญ่องค์หน่ึง เป็น
ลกู ศษิ ย์หลวงปมู่ ่ัน เดิมทา่ นอยูจ่ งั หวัดร้อยเอ็ด ท่านไมไ่ ดศ้ กึ ษา
ในหลกั วิชาการทางโลกมาเลย อา่ นหนงั สือไมไ่ ด้ เขียนหนงั สอื
ไมเ่ ปน็ ทา่ นมนี สิ ยั ชอบปฏบิ ตั ธิ รรมมาตงั้ แตว่ ยั หนมุ่ จากนนั้ ทา่ น
กไ็ ดแ้ ตง่ งานไปตามประเพณนี ยิ ม ทา่ นกไ็ ดภ้ าวนาปฏบิ ตั มิ ไิ ดข้ าด
สว่ นมากทา่ นหนกั ไปในวธิ ที ำ� สมาธกิ อ่ นปญั ญา เรยี กวา่ ทำ� สมาธิ
กอ่ นแลว้ ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาในภายหลงั ดำ� รงชพี อยดู่ ว้ ยการทำ� นา
๒๒๔ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
เปน็ ฆราวาสมาจนถึงอายุ ๕๐ ปี ท่านก็ไดอ้ อกบวชเป็น
ตาปะขาว ตดิ ตามครูอาจารยไ์ ปในหลายที่หลายแหง่ ท่านเปน็
ผู้มนี สิ ัยอ่อนนอ้ มถอ่ มตวั ปรนนิบัติครูอาจารย์ด้วยความเคารพ
ครอู าจารยเ์ หน็ วา่ มนี สิ ยั พอจะบวชเปน็ พระไดแ้ ลว้ กใ็ หฝ้ กึ วธิ กี าร
ขานนาค ทเ่ี รยี กวา่ กลา่ วคำ� ขอบวชนนั้ เอง ฝกึ วา่ ตามครอู าจารย์
ดว้ ยปากเปลา่ กวา่ จะวา่ คำ� ขอบวชไดก้ ใ็ ชเ้ วลานานถงึ ๓ ปี จงึ บวช
เป็นพระ ท่านมีความตัง้ ใจในการปฏิบตั มิ าก และมคี วามจริงจัง
ตั้งใจปฏิบัติไม่ให้ขาด ได้ฟังธรรมจากหลวงปู่มั่นเป็นประจ�ำ
ฟงั ธรรมมาแลว้ กน็ ำ� มาพจิ ารณาในหมวดธรรมนนั้ ดว้ ยเหตดุ ว้ ยผล
ไมม่ คี วามรใู้ นทางปรยิ ตั มิ ากอ่ น การพจิ ารณาธรรมตอ้ งใชเ้ หตผุ ล
ใชค้ วามสามารถจากความคิดของตวั เองเป็นหลกั ยนื ตวั
การพจิ ารณาในสจั ธรรมใด ไมไ่ ดเ้ ทยี บหลกั ปรยิ ตั แิ ตอ่ ยา่ งใด
แต่ก็เปรียบเทียบในหลักความเป็นจริงให้เป็นไปในหลักอนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา จึงเป็นการรู้เห็นในหลักไตรลักษณ์ด้วยปัญญา
ของตวั เองลว้ นๆ การปฏบิ ตั ธิ รรมเปน็ ไปไดง้ า่ ย ไมม่ คี วามลงั เลวา่
ผิดในปริยัติหมวดน้ันหมวดน้ี ความจริงเป็นอย่างไรก็เข้าใจไป
ตามความจริงเป็นอย่างนั้น จึงต่างกับผู้เรียนรู้ในทางปริยัติมา
มากทเี ดยี ว เพราะปญั ญานน้ั เปน็ ปญั ญาทฝี่ กึ ออกมาจากใจลว้ นๆ
พรรษาท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๐๖ ๒๒๕
ไมม่ ปี รยิ ตั เิ ขา้ มาเจอื ปนแตอ่ ยา่ งใด ทา่ นจงึ มคี วามเขา้ ใจในสจั ธรรม
ด้วยปัญญาของท่านเอง การใช้ปัญญาในเรื่องใด มีความรู้เห็น
ได้ง่าย เช่นพิจารณาในเร่ืองอสุภะ ก็มีความเบ่ือหน่ายคลาย
กำ� หนดั ไดง้ า่ ย พจิ ารณาในสจั ธรรมใดกเ็ กดิ ความแยบคายไดง้ า่ ย
ถ้าปญั ญานน้ั เปน็ ของตัวเอง ทำ� อะไรพจิ ารณาในส่งิ ใด จะเปน็ ท่ี
งา่ ยไปเสียทงั้ หมด เพราะไม่มคี วามลงั เลอะไรเลย
นสิ ยั ไมช่ อบฟงั เทศนม์ ากนกั
นสิ ยั ของขา้ พเจา้ เองไมช่ อบฟงั เทศนม์ ากนกั ชอบฟงั นอ้ ยๆ
แล้วน�ำมาพิจารณาด้วยปัญญาให้มาก ส่วนตัวแล้วถ้าฟังเทศน์
มากไป ความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการฟงั เทศนก์ ็จะจดจำ� มากเกินไป จะไม่
ได้ใช้ปัญญาคิดหาเหตุผลด้วยตนเอง แต่มีความต้ังใจฟังเทศน์
ด้วยความเคารพ และจดจ�ำเอาธรรมะของท่านไปบางอุบาย
เทา่ นนั้ เหน็ วา่ ธรรมนนั้ เขา้ กนั ไดก้ บั นสิ ยั ของตวั เอง ไมจ่ ำ� เปน็ ไป
เลยี นอย่างตามประโยคท่ีทา่ นอธบิ ายไปทงั้ หมด นน้ั เปน็ ส�ำนวน
โวหารปฏภิ าณของทา่ น สว่ นโวหารปฏภิ าณของเรา ตอ้ งใชส้ ตปิ ญั ญา
และความสามารถของตัวเราเอง ปัญญาจะมีความรอบรู้ฉลาด
มากนอ้ ยแคไ่ หน กจ็ ะเปน็ ความฉลาดรอบรดู้ ว้ ยปญั ญาทเี่ ราสรา้ ง
ข้ึนมาเอง ถ้าไปเลียนเอาความรู้จากผู้อ่ืนมากเกินไป ก็จะเป็น
นิสัยไมช่ อบฟงั เทศน์มากนกั ๒๒๗
ปญั ญาในสญั ญาทางปรยิ ตั ไิ ปเสยี ทง้ั หมด ผลของการปฏบิ ตั กิ จ็ ะ
ออกมาไมห่ นกั แนน่ พอ
เหมือนกับสิ่งของที่เราสร้างข้ึนมา ด้วยก�ำลังหยาดเหง่ือ
แรงงานเรา ในความรู้สึกภายในใจแล้ว ต้องเอาใจใส่รักษาเป็น
พเิ ศษ สว่ นสง่ิ ของทข่ี อมาจากคนอนื่ หรอื สงิ่ ของยมื จากคนอน่ื มา
การเกบ็ รกั ษา การดแู ล ความเอาใจใส่ จะลดนอ้ ยลง หรอื เหมอื นกบั
ลกู ทเี่ กดิ จากกอ้ นเลอื ดของเราโดยตรง กบั ลกู ทข่ี อมาจากคนอนื่
ความรักความเอาใจใสจ่ ะมคี วามแตกต่างกัน นฉ้ี ันใด ปัญญาที่
เราสรา้ งขนึ้ มาไดเ้ อง จะมนี อ้ ยมมี าก เรากม็ คี วามภมู ใิ จในปญั ญา
ของตวั เอง เหมอื นกบั การนบั เงนิ ในธนาคาร เงนิ ผา่ นมอื ไปวนั หนงึ่
หลายสิบล้านก็ตาม ในความรู้สึกทางใจก็เป็นในลักษณะเฉยๆ
ถา้ เราเองนบั เงนิ เราเอง แมเ้ งนิ นนั้ จะไมม่ ากนกั เรากม็ คี วามภมู ใิ จ
เราจะได้เอาเงินเราไปซ้ืออะไรก็ได้ น้ีฉันใด ถ้าปัญญาเราสร้าง
ขนึ้ เอง กส็ ามารถนำ� มาแกป้ ญั หาได้ จงึ วา่ ตนแลเปน็ ทพ่ี ง่ึ ของตน
ถา้ หากศกึ ษารเู้ ลยี นแบบอยา่ งในตำ� รามากไป การใชป้ ญั ญา
พิจารณาก็จะเป็นปัญญาเลียนแบบจากผู้อื่นมา ตัวเองจะไม่มี
ปัญญาแตอ่ ย่างใด อยากรู้ธรรมะหมวดไหนกไ็ ปดูในตำ� รา เม่อื มี
ปญั หาเกดิ ขึน้ ความรู้กจ็ ะแกป้ ญั หาไมไ่ ดอ้ ยนู่ น่ั เอง เหมอื นกบั
๒๒๘ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
พระโปฐลิ ะ แบกตำ� ราศกึ ษาในพระไตรปฎิ ก จำ� ไดอ้ ยา่ งแตกฉาน
ธรรมหมวดไหนมคี วามหมายเปน็ อยา่ งไรรไู้ ปหมด การแสดงธรรม
นั้นแสดงได้ แต่ธรรมทน่ี �ำมาแสดงนนั้ เป็นธรรมเลียนแบบอยา่ ง
จากผู้อ่ืน ธรรมะที่เป็นของตัวเองน้ันไม่มีเลย อาจลืมตัวไปว่า
ธรรมะนนั้ เป็นของของเราไป จะเขา้ ในต�ำราทว่ี ่า ความร้ทู ว่ มหวั
เอาตัวไม่รอด ที่เรียกว่า เป็นผู้แบกคัมภีร์เปล่า เม่ือข้าพเจ้าได้
อา่ นประวัตขิ องพระโปฐลิ ะแล้ว จึงเป็นคติเตอื นใจตัวเองไดเ้ ป็น
อยา่ งดี
ฉะน้ัน การฟังเทศน์จากครูอาจารย์น้ัน ถ้าเรามีปัญญา
ความฉลาดอยู่บ้างก็พอจะเลือกเฟ้นเอาหมวดธรรมมาปฏิบตั ไิ ด้
ถา้ ปัญญาไมม่ ีกจ็ ะเป็นเหมอื นพระโปฐลิ ะนั้นเอง การใหเ้ หตผุ ล
มาอย่างนี้ กเ็ พื่อใหข้ อ้ คิดวา่ อย่าเอาเพียงปรยิ ตั เิ พียงอย่างเดยี ว
หรอื รชู้ อ่ื ของธรรมะเทา่ นก้ี พ็ อ การเรยี นรชู้ อ่ื ของธรรมะเทา่ นยี้ งั
ไมพ่ อ เราตอ้ งเลอื กเอาหมวดธรรมทเ่ี หมาะสมกบั เรามาปฏบิ ตั บิ า้ ง
ท่ีเรียกว่า ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
ธรรมะหมวดไหนเหน็ วา่ จะแก้ปญั หาของตัวเราได้ กเ็ อาธรรมะ
หมวดนั้นมาปฏิบัติให้มาก เหมือนกับรู้การเจ็บป่วยของตัวเอง
วา่ เปน็ อยา่ งไร ตอ้ งใชย้ าเฉพาะทางใหต้ รงกบั โรคนนั้ ๆ เมอื่ ยาถกู
นสิ ยั ไม่ชอบฟังเทศนม์ ากนกั ๒๒๙
กับโรค โรคก็จะบรรเทาและหายไปในที่สุด มิใช่ว่าชื่อของยา
รทู้ งั้ หมด เมอื่ เวลาเจบ็ ปว่ ยขนึ้ มา ไมร่ วู้ า่ จะกนิ ยาอยา่ งไหน นฉ้ี นั ใด
ความรทู้ เี่ รยี นมาทงั้ หมดนนั้ เปน็ ชอ่ื ของธรรมะเทา่ นนั้ แตธ่ รรมะ
ตวั จรงิ ยงั ไมร่ ไู้ มเ่ หน็ เพราะขาดในทางของสตปิ ญั ญา จงึ เลอื กหา
เอาหมวดธรรมมาแก้ไขปัญหาของตวั เองไม่ได้เลย จำ� เป็นต้องมี
การลบู คลำ� ในตำ� ราไป ในคำ� โบราณพดู วา่ บอดชอบอวดรู้ โงช่ อบ
อวดฉลาด นเ้ี ปน็ ธรรมชาติของความจริง
ข้าพเจ้าชอบอุบายธรรมะของหลวงปู่บัวมากทีเดียว
ท่านชอบให้อบุ ายธรรมแกพ่ ระเณรส้นั ๆ ต้องการให้พระเณรฝึก
ปญั ญาดว้ ยตวั เอง ใหพ้ ระเณรเปน็ คนนสิ ยั ชา่ งคดิ ชอบสงั เกตใน
เหตแุ ละผล เป็นผู้ฝึกตนใหเ้ ป็นผรู้ อบร้ใู นความเป็นจรงิ อยูเ่ สมอ
ในวนั หนึ่งหลังจากทสี่ รงน้�ำหลวงปู่แล้ว พากันขน้ึ ไปบนกฏุ เิ พอ่ื
คอยรบั ฟงั อบุ ายธรรมจากหลวงปู่ วนั นนั้ หลวงปใู่ หอ้ บุ ายธรรมวา่
หมามันมีอารมณ์ชอบเที่ยวไปตามกาลเวลาของมัน นั้นก็ยังไม่
ถือว่าเลวมากนัก แต่ใจพระกรรมฐานย่ิงเลวกว่าหมา ไปเท่ียว
ไมม่ กี าลเวลา แหม! พอไดร้ บั ฟงั อบุ ายธรรมเพยี งเทา่ นี้ จงึ กระตกุ
เส้นของพระกรรมฐานจริงๆ จากน้ันก็พากันกราบลงจากกุฏิ
หลวงปไู่ ป ทกุ องคม์ องหนา้ กนั แทบไมต่ ดิ ไมร่ วู้ า่ อบุ ายธรรมนไี้ ป
๒๓๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
โดนหวั ใจพระกรรมฐานองคไ์ หนบา้ ง แตข่ า้ พเจา้ โดนเขา้ อยา่ งจงั
เชยี วแหละ จากนน้ั มากส็ งั วรระวงั ไมใ่ หใ้ จคดิ ออกนอกลนู่ อกทาง
ใหม้ ีสตสิ �ำนกึ ในตัวเองมากขน้ึ ถา้ ไมส่ �ำรวมระวงั ใจกจ็ ะไปเที่ยว
ยิง่ กว่าหมา จิตก็จะตกต่�ำยงิ่ กวา่ หมาอกี
ทกุ ครง้ั เมอ่ื หลวงปพู่ ดู ออกมา ไมว่ า่ จะอยใู่ นสถานทแ่ี หง่ ใด
จะเปน็ อบุ ายธรรมใหไ้ ดค้ ดิ พจิ ารณาอยเู่ สมอ ในวนั หนง่ึ พระ ๒ องค์
มที ฏิ ฐคิ วามเหน็ ไมต่ รงกนั จงึ เกดิ การถกเถยี งกนั ขน้ึ มา เมอื่ สรงนำ้�
หลวงปเู่ สรจ็ แลว้ พากนั ขน้ึ ไปกฏุ หิ ลวงปเู่ พอ่ื ฟงั อบุ ายธรรม วนั นนั้
หลวงปพู่ ดู วา่ เอ .. เมอ่ื คนื นเี้ หน็ หมาสองตวั แยกเขย้ี วใสก่ นั เทา่ นี้
หลวงปไู่ มอ่ ธบิ ายตอ่ พระเณรกราบหลวงปแู่ ลว้ พากนั ลงมาจากกฏุ ิ
พากันกระซบิ กระซาบกันว่ามเี ร่อื งอะไรเกดิ ขึน้ หรอื เมื่อสืบถาม
กันไปมาก็รู้ว่ามีพระสององค์ขัดแย้งกันจริงๆ พระสององค์นั้น
รสู้ กึ วา่ มคี วามละอายตอ่ หมคู่ ณะเปน็ อยา่ งมากทเี ดยี ว องคอ์ นื่ ๆ
ไมม่ เี รอื่ งอะไรตอ่ กนั เลย จากนน้ั มาพระเณรกพ็ ากนั สำ� รวมคำ� พดู
ของตวั เองอยูเ่ สมอ ต่อมาหลังสวดปาฏโิ มกขเ์ สร็จแล้ว หลวงปู่
ไดพ้ ดู ว่า ในวัดนีต้ อ้ งการความสงบ ใครจะมาถกเถยี งกนั ในวดั น้ี
ไมไ่ ด้ ตอ่ ไปถา้ ใครมาขดั แย้งกันภายในวัดนี้ จะให้ออกจากวัดน้ี
ไปในทันที ในช่วงน้ันเป็นช่วงเข้าพรรษาอยู่ด้วย แต่ก็โชคดีไป
นิสัยไม่ชอบฟงั เทศนม์ ากนกั ๒๓๑
ไม่มีพระเณรองค์ใดขัดแย้งกันอีกเลย ทุกองค์มีแต่ความต้ังใจ
ภาวนาปฏิบัตอิ ย่างเตม็ ที่
๒๓๒
นมิ ติ วา่ หลวงป่พู าขา้ ม
ล�ำธารใหญ่
ในคืนหน่ึง นิมิตเห็นหลวงปู่บัวเดินเข้ามาหา แล้วพูดว่า
ท่านทูลๆ ลงมานี่ จะพาไปเทย่ี ว เม่ือขา้ พเจ้าลงจากกฏุ ิมาแลว้
กเ็ ดนิ ตามหลงั หลวงปไู่ ป ในขณะนนั้ เหน็ ลำ� ธารใหญข่ วางหนา้ อยู่
ล�ำธารน้ันกว้างประมาณ ๘ เมตร ความลกึ ประมาณ ๘ เมตร
มีฝั่งชันมาก มีไม้ไผ่ล�ำหนึ่งขนาดแขนพาดเป็นสะพานเอาไว้
เมอื่ ไปถงึ ทนี่ นั่ แลว้ หลวงปบู่ วั พดู วา่ จะพาขา้ มสะพานไปฝง่ั โนน้
วา่ แลว้ ทา่ นเดนิ ตามไมไ้ ผน่ น้ั ไป ไมไ้ ผน่ น้ั วางไวธ้ รรมดา ไมย่ ดึ ตดิ
กบั สงิ่ ใด และไมม่ รี าวจบั ปอ้ งกนั พลดั ตกเลย แตห่ ลวงปกู่ เ็ ดนิ ขา้ ม
ไปได้ ไมไ้ ผท่ ว่ี างอยนู่ น้ั ไมเ่ คลอ่ื นไหวแตอ่ ยา่ งใด เมอ่ื หลวงปขู่ า้ ม
๒๓๔ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ไปไดแ้ ลว้ หลวงปกู่ ห็ นั หนา้ กลบั คนื มา แลว้ กวกั มอื เรยี กวา่ ทา่ นทลู
ให้รีบข้ามสะพานตามผมมาเดย๋ี วนี้ ก็คดิ อยู่ในใจว่า เมอื่ หลวงปู่
ขา้ มไปได้ ทำ� ไมเราจะขา้ มไมไ่ ด้ จากนนั้ กต็ งั้ ใจเดนิ ไปตามไมไ้ ผน่ นั้
ไม้ไผว่ างไวเ้ ฉยๆ แทนทีจ่ ะกระดกไปมา ในขณะเดนิ ไปน้นั ไม้ไผ่
แนน่ แขง็ แรงมาก ไมม่ กี ารออ่ นไหวแตอ่ ยา่ งใด การเดนิ ไปกท็ รงตวั
ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ไมม่ กี ารเอนเอยี งแตอ่ ยา่ งใด ขา้ พเจา้ กเ็ ดนิ ขา้ มไป
ตามหลวงปไู่ ด้ง่ายและปลอดภัย
เม่อื ถึงฝัง่ ด้านหนงึ่ แลว้ หลวงป่พู ดู วา่ เหน็ อะไรในลำ� ธาร
น้ันไหม ก็ตอบหลวงปู่ไปว่า เห็นครับ หลวงปู่พูดว่า โลกนี้มี
ความเปน็ อยอู่ ยา่ งนี้ ขา้ พเจ้าได้ยืนดูฝงู ชนท้ังหลายท่ีไหลมาน้ัน
มที งั้ เฒา่ แก่ ปานกลาง หนมุ่ สาว วยั เดก็ เลก็ ถกู กระแสนำ้� พดั ไหล
มาเป็นแพ ดูแล้วทุกคนมีความกลัวตายกันอย่างมากทีเดียว
ต่างคนก็พยายามเพ่ือเอาตัวรอดในชีวิต เพ่ือไม่ให้ตัวเองตาย
ใครทม่ี กี ำ� ลงั ดกี ก็ อดเอาผมู้ กี ำ� ลงั นอ้ ยเปน็ เรอื ลอยพาไป ผมู้ กี ำ� ลงั
เสมอกันก็กอดรัดฟัดเหว่ียงกันไปมา หวังว่าจะเอาเป็นเรือข่ี
ไปตามน้�ำน้ีให้ได้ ใครอยู่ข้างบนได้ถือว่าเป็นผู้ชนะ ไม่ว่าชาย
กอดหญงิ หรอื หญงิ กอดชาย มว่ั กนั ไปหมด บางกลมุ่ พากนั รอ้ งไห้
ขอความชว่ ยเหลอื จากคนอนื่ หลายคนพากนั ปนี ปา่ ยไหลไปตาม
นิมติ ว่าหลวงปพู่ าข้ามล�ำธารใหญ่ ๒๓๕
ขอบลำ� ธารเพ่อื หาชอ่ งทางขึ้นฝงั่ แตเ่ กาะฝั่งไวไ้ ม่อย่กู ห็ ลดุ ลอย
ตามกันไป บางคนเป็นศพเน่าเหม็นลอยปะปนกันมากับผู้ยัง
ไม่ตาย น่าอนาถใจ คนที่ไหลไปตามล�ำธารน้ันก็คงไหลลงสู่
มหาสมทุ รกนั ทกุ คน จะพากนั ไปลอยวนไปมาอยกู่ บั มหาสมทุ รนน้ั
และจะตายอยกู่ บั มหาสมมตนิ แ้ี นน่ อน ตน้ ทางของลำ� ธารนน้ั ไมร่ ู้
วา่ ไหลมาจากไหน มองไปจนสดุ สายตากไ็ มเ่ หน็ ทม่ี าของหมมู่ หาชน
น้เี ลย
จากนั้นจิตกไ็ ดถ้ อนออกจากสมาธิ เมื่อจิตถอนจากสมาธิ
แลว้ กไ็ ดเ้ รยี บเรยี งดเู หตกุ ารณใ์ นนมิ ติ ทเี่ กดิ ขน้ึ ใชป้ ญั ญาพจิ ารณา
ในความหมายก็มีความเข้าใจในนิมิตนั้นได้อย่างชัดเจน รู้เห็น
ความเปน็ จรงิ ในหมมู่ นษุ ยน์ ไี้ ดท้ งั้ หมดวา่ ลำ� ธารนำ้� ทไ่ี หลเชยี่ วนนั้
หมายถึงความอยากคือตัณหา ไม้ไผ่พาดล�ำธารนั้น หมายถึง
อริยมรรคมีองค์แปด มหาชนท่ีไหลตามกระแสนำ้� นัน้ หมายถึง
ความอยากของหมู่มนษุ ยท์ ้งั หลาย มนุษย์ทีเ่ กดิ มาในโลกนีแ้ ล้ว
ผไู้ ม่ตกอยู่ในกระแสแหง่ ความอยากนั้นมจี �ำนวนนอ้ ย สว่ นใหญ่
จะมีความหลงใหลไปตามกามคุณนี้ท้ังน้ัน ผู้มีบุญได้บ�ำเพ็ญ
มาแล้ว เมื่อตายก็จะได้ไปพักแรมอยู่สวรรค์ชั่วคราว เมื่อ
หมดบุญก็ได้ลงมาเกิดในโลกมนุษย์อีก ใจก็ลอยตามตัณหาคือ
๒๓๖ อตั โนประวัติ ภาค ๑
ความอยากนี้ต่อไป ใจท่ียังมีราคะตัณหามากเท่าไรก็ย่ิงตกไป
ตามกระแสโลกลึกลงไป ไม่รู้ว่าจะเอาตัวให้พ้นจากกระแสโลก
เม่ือไร เม่ือใจยังมีความยินดีอยู่กับโลกนี้อยู่ จะไม่รู้ตัวเลยว่า
จะลอยไปตามกระแสโลกนี้ต่อไปอีกนานเท่าไร จะไม่รู้เลยว่า
ความส้ินสดุ ของกระแสโลกอย่ทู ่ตี รงไหน ตราบใดใจท่ยี งั มีกิเลส
ตณั หาฝังอย่ใู นใจ การลอยไปตามกระแสโลกกไ็ มม่ ีความส้ินสดุ
ลงได้
ใช้ปัญญาสอนตัวเองว่า ท�ำไมใจเราจึงได้มาหลงอยู่
กับกามคุณถึงขนาดน้ี ความสุขของโลกนี้ไม่มีอยู่ในท่ีไหนเลย
ความเข้าใจวา่ กามคุณพาใหเ้ กดิ ความสขุ นั้น เป็นความเข้าใจผดิ
เทา่ นั้นเอง ดังคำ� ว่า ปิยโต ชายเต โสโก ความโศกเศรา้ เสียใจ
เป็นทุกข์ เกิดขึ้นจากความรักมิใช่หรือ ความทุกข์ย่อมเกิดข้ึน
จากความรกั ความทกุ ขเ์ ปน็ ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากตณั หาคอื ความอยาก
น้ที ง้ั นนั้
ตณั หา คอื ความอยาก เปน็ รากแกว้ ของวฏั สงสาร ทงั้ สาม
ภพคอื กามภพ รูปภพ อรปู ภพ ยอ่ มตกอยู่ในความอยากของ
ตณั หานี้ทัง้ ส้นิ ดงั คำ� ว่า นตฺถิ ตณหฺ า สมา นที แมน่ �ำ้ เสมอด้วย
ตัณหาไม่มี ท�ำไมใจจึงไม่เหน็ ทุกข์ เห็นโทษ เหน็ ภยั อนั มีอยใู่ น
นมิ ติ ว่าหลวงปู่พาข้ามลำ� ธารใหญ่ ๒๓๗
โลกนี้เล่า จะเอาสมบัตขิ องโลก มาเป็นของส่วนตัวนนั้ ไม่ไดเ้ ลย
ความยึดม่ันถือมั่นในส่ิงใดก็จะเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดความทุกข์
จะหาความสขุ ทแ่ี ท้จรงิ ในโลกนีไ้ มม่ ีเลย
การเกิดนิมิตในครั้งนี้เป็นอุบายท่ีดีให้แก่ปัญญาเป็น
อยา่ งมาก ได้ข้อคิดในความเป็นอยขู่ องโลกนไ้ี ดเ้ ป็นอยา่ งดี ถ้า
ไม่มีปัญญาก็จะตีความหมายในนิมิตนี้ไม่ได้เลย นิมิตก็จะไม่มี
ความหมายแต่อย่างใด ฉะนั้น จงสร้างปัญญาให้เกิดข้ึนกับ
ตัวเองให้ได้ เพื่อจะน�ำเอานิมติ มาสอนใจตวั เอง ถา้ ขาดปญั ญา
อบรมส่ังสอนใจไปในทางที่ดแี ล้ว เหมือนกบั ใจไดห้ มดคณุ คา่ ไป
เพราะขณะน้ีใจเราถูกกิเลสตัณหาชักจูงไปในทางท่ีต�่ำอยู่
ตลอดเวลา ความคดิ ความเหน็ จงึ ไดเ้ อนเอยี งไปตามกเิ ลสอยมู่ าก
จนเปน็ นสิ ยั คนุ้ เคยไปในทางทตี่ ำ่� จนลมื ตวั เราจะปลอ่ ยใหใ้ จเปน็
ไปในความเห็นผิดอยู่อยา่ งนหี้ รือ ทำ� ไมเราจงึ ไมส่ รา้ งปัญญาขน้ึ
มาอบรมใจตัวเอง ถ้าปัญญาหาข้อมูลท่ีเป็นจริงมาสอนใจอยู่
บ่อยๆ ใจก็จะค่อยเกิดความฉลาดรอบรู้ตามความเป็นจริงได้
เพราะสรรพสังขารทั้งหลายในโลกนี้ย่อมมีมูลความจริงอยู่ใน
ตวั มนั เอง เราไมต่ ้องไปบังคับอะไร มันตอ้ งเป็นไปอย่างนี้
สพฺเพ สงฺขารา อนิจจฺ า ในสรรพสังขารทงั้ หลาย ยอ่ มมี
๒๓๘ อตั โนประวัติ ภาค ๑
ความแปรปรวนเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา จะเปน็ สงั ขารภายใน
และสังขารภายนอก เป็นสังขารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ หรือ
สังขารท่ีเราสร้างขึ้นเอง สังขารทุกอย่างไม่มีสังขารใดอยู่คงที่
ยอ่ มมกี ารหมนุ ตวั เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดกาลของมนั เอง ถา้ เรามี
ปญั ญามาเขา้ ใจรเู้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ อยา่ งนี้ ความทกุ ขภ์ ายในใจ
กจ็ ะลดลง เพราะมารเู้ ทา่ ตามความเปน็ จรงิ ในสรรพสงั ขารนแี้ ลว้
จึงเรียกวา่ ใจรู้เหน็ ตามความเปน็ จริง
ฉะน้นั จงสร้างปัญญาขน้ึ มาใหแ้ ก่ตัวเราเองให้ได้ เพื่อจะ
ไดเ้ อาปญั ญานมี้ าแกค้ วามเหน็ ผดิ ของใจ ถา้ ไมม่ คี วามฉลาดทาง
ปญั ญา กไ็ มส่ ามารถรเู้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ ได้ ถงึ ครอู าจารยจ์ ะ
อธิบายความจริงให้ฟัง ก็ยังเกิดความลังเลสงสัยภายในใจอยู่
นนั่ เอง ไมก่ ลา้ ทจี่ ะตดั สนิ ใจในตวั เองได้ กเ็ พราะความไมแ่ นใ่ จวา่
สิ่งนนั้ ผดิ หรือถูก หลวงปบู่ ัวเป็นคนนสิ ยั ไม่ชอบพดู มาก แต่แนะ
ในอบุ ายธรรมในวธิ ตี า่ งๆ เพอื่ ใหพ้ ระเณรใชป้ ญั ญาตคี วามหมาย
เอาเอง ถา้ ผู้มีปญั ญาดกี ็สามารถตีความหมายได้ ถ้าปัญญาไมด่ ี
ก็จะไมร่ ้เู รอื่ งอะไรเลย
สพเฺ พ สงขฺ ารา ทกุ ขฺ า สรรพสงั ขารทงั้ หลาย ถา้ เขา้ ไปยดึ มนั่
จะเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ขึ้นได้ เพราะเราต้องการให้สังขารน้ัน
นมิ ติ ว่าหลวงปพู่ าขา้ มลำ� ธารใหญ่ ๒๓๙
อยูใ่ นอำ� นาจของเรา ในเมอื่ สังขารนน้ั ไม่อยูใ่ นอ�ำนาจ เรากเ็ กดิ
ความทุกข์ ทุกข์ท่ีเป็นสภาวทุกข์ มีประจ�ำตัวเรามาแต่วันเกิด
เมอื่ เกดิ ขน้ึ มาแลว้ กม็ าเจอกบั ปกณิ ณกทกุ ข์ คอื ทกุ ขจ์ ร เพม่ิ เขา้ อกี
จึงได้เกิดความด้ินรนหลบหลีกทุกข์อยู่ตลอดเวลา หาส่ิงนั้นมา
ปิดบังอ�ำพรางความจริงอยู่เร่ือยไป ใจจึงมีความเดือดร้อนทน
ทุกข์อยู่เป็นนิสัยความเคยชิน อดทนต่อทุกข์นับแต่วันเกิด
จนถึงวันตาย ไม่มอี ุบายมาแก้ไขได้เลย ถา้ เรามารูเ้ ทา่ ความทุกข์
และมารู้เท่าเหตุให้เกิดทุกข์แล้ว ถึงจะมีความทุกข์ก็ไม่มี
ความเดอื ดรอ้ นถงึ ใจ เพยี งใหม้ คี วามรบั รใู้ นทกุ ขแ์ ละรบั รใู้ นเหตุ
ใหเ้ กดิ ทกุ ข์เทา่ นน้ั
สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ า สรรพสังขารทง้ั หลายเป็นอนัตตา
ค�ำว่าอนัตตา หมายถึงหมดสภาพจากอัตตานี้ไป ถ้าไม่มีอัตตา
เปน็ สมมติเอาไว้ อนัตตาจะมีมาจากไหน ฉะน้นั การทจี่ ะรู้จักว่า
อนัตตา ต้องรู้จักอัตตาเอาไว้ เพราะอัตตายังเป็นก้อนเป็นรูป
สมมตวิ า่ เปน็ สตั วเ์ ปน็ บคุ คลไดอ้ ยู่ อตั ตามอี ยสู่ องอยา่ ง ๑) อตั ตา
ในรปู ๒) อัตตาในนาม อตั ตาทง้ั สองนตี้ ้องรดู้ ว้ ยปญั ญาญาณ ท่ี
เรยี กว่า ทัสสนญาณ เหน็ แล้วต้องรู้ ญาณทสั สนะ รู้แล้วต้องเห็น
ถา้ เหน็ แล้วแตไ่ ม่รู้ ถ้ารแู้ ลว้ แต่ไม่เห็น เปน็ เพียงเทา่ น้ี จะทำ� ลาย
๒๔๐ อตั โนประวัติ ภาค ๑
อัตตาลงสู่อนัตตาไม่ได้เลย เพราะไม่สมบูรณ์ในญาณทัสสนะ
อัตตาในรปู หมายถึงธาตสุ ี่ คอื ธาตดุ นิ ธาตุนำ้� ธาตุลม ธาตุไฟ
ที่รวมกนั เรียกวา่ รปู ฉะนน้ั ปัญญาตอ้ งตรี ูปให้แตก แยกแยะใน
ธาตสุ ใี่ ห้รู้เหน็ ส่วนรูปในนาม หมายถึง เวทนา สญั ญา สงั ขาร
วญิ ญาณ ทงั้ ส่นี ้ีต้องรู้เห็นด้วยปัญญา