หลวงปบู่ วั บอกวา่ ใหผ้ า่ นทกุ ข์
อยู่มาวนั หน่งึ หลวงปู่บวั พูดวา่ ทลู เคยน่งั สมาธิผา่ นทุกข์
หรอื เปลา่ ตอบหลวงปวู่ ่า ขอโอกาส กระผมไมเ่ คยผา่ นทกุ ขเ์ ลย
หลวงปพู่ ดู วา่ ในคนื นผ้ี า่ นทกุ ขใ์ หไ้ ดน้ ะ อยา่ แพผ้ หู้ ญงิ เขา จงึ ถาม
หลวงปู่ว่า ขอโอกาสหลวงปู่ ผู้หญิงท่ีเขาผ่านทุกข์ได้เป็นใคร
หลวงปู่บอกว่า ก็แม่สายบัวนั้นไงละ เขามีความอดทนเป็น
อยา่ งมากทเี ดยี ว ในวนั นน้ั ขา้ พเจา้ ไดไ้ ปถามแมส่ ายบวั ดวู า่ อบุ าย
ผ่านทุกข์ท�ำอย่างไร แม่สายบัวก็เล่าให้ฟังเป็นตอนๆ ไปว่า นี่
ครบู า การจะผา่ นทกุ ขไ์ ปไดน้ น้ั เปน็ สง่ิ ทผี่ า่ นไดย้ ากมาก ตอ้ งเปน็
ผทู้ ีม่ ีขันติอดทนจรงิ ๆ จึงจะผ่านทุกขไ์ ปได้ หลวงปบู่ อกให้ดิฉนั
ผา่ นทกุ ขใ์ นครง้ั แรก เกอื บจะเอาตวั ไปไมร่ อด แตก่ ผ็ า่ นไปไดด้ ว้ ย
น้ำ� ตา คิดวา่ ชวี ติ คงจะสน้ิ สุดกันเพียงเทา่ น้ี ฉนั เองเคยคลอดลูก
๒๔๒ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
มาแล้ว ๖ คน ความทุกข์ทรมานในการเจ็บปวดนั้นทุกข์มาก
ทีเดียว ถึงขนาดน้ันน�้ำตาก็ไม่ได้ออก ในเมื่อมาน่ังภาวนาเพ่ือ
ผา่ นทกุ ขใ์ นครง้ั แรก ความทกุ ขม์ คี วามรนุ แรงมาก เอาความเจบ็ ปวด
การคลอดลกู ทง้ั ๖ คนมารวมกนั ถงึ กระนนั้ กย็ งั ไมเ่ ทา่ ความทกุ ข์
ในคนื นนั้ ความทกุ ขใ์ นการคลอดลกู นำ้� ตาไมอ่ อก แตก่ ารผา่ นทกุ ข์
ในครั้งนี้น้�ำตาไหลพรากเลยทีเดียว เร่ิมเข้าท่ีนั่งแต่ ๖ โมงเย็น
ไปถึง ๖ โมงเช้าในวนั รุ่งข้นึ โดยไม่ตอ้ งขยบั ไปมา น่งั อยูอ่ ยา่ งไร
ก็ใหน้ ั่งอยู่ในทา่ เดียว ไมต่ ้องใหจ้ ติ สงบ ไมต่ อ้ งเขา้ ฌาน ใช้วิธีนง่ั
ดิบๆ สดๆ ไปเลย ถ้าไปท�ำความสงบเข้าฌาน วิธีน้ันไม่นับว่า
เปน็ การผา่ นทกุ ขแ์ ตอ่ ยา่ งใด นน่ั เปน็ เพยี งอบุ ายหลบทกุ ขเ์ ทา่ นน้ั
เมอ่ื ผา่ นทกุ ขไ์ ดใ้ นครงั้ หนง่ึ แลว้ จะเกดิ มกี ำ� ลงั ใจเชอ่ื มน่ั ในตวั เอง
ครง้ั ต่อไปจะตอ้ งผ่านทุกขก์ ็ท�ำได้งา่ ย เพราะมกี �ำลังใจเป็นหลัก
อยู่แล้ว
เมอื่ ขา้ พเจา้ ไดฟ้ งั แมส่ ายบวั พดู เรอื่ งการผา่ นทกุ ขใ์ หฟ้ งั ก็
เกดิ ความคดิ ขน้ึ ไดว้ า่ เขาเปน็ ผหู้ ญงิ แทๆ้ ทำ� ไมเขาถงึ มคี วามกลา้ หาญ
ถงึ ขนาดนนั้ นเ้ี ราเปน็ ผชู้ ายเตม็ ตวั และยงั เปน็ พระกรรมฐานดว้ ย
เราจะไมย่ อมแพผ้ หู้ ญิงแต่อยา่ งใด ในคืนนี้เราจะผา่ นทกุ ขใ์ ห้ได้
ชวี ติ จะเปน็ อยา่ งไร กจ็ ะตงั้ ใจอยา่ งเตม็ ท่ี นเ่ี ราเปน็ พระกรรมฐาน
หลวงปบู่ ัวบอกวา่ ให้ผา่ นทุกข์ ๒๔๓
เต็มตัว จะยอมแพ้ผหู้ ญิง กรรมฐานอย่างน้ีใชไ้ ม่ไดเ้ ลย ในคนื นี้
จะต้องเหน็ ดำ� เห็นแดงกนั
ในบ่ายวนั น้นั กร็ บี เดินจงกรมแต่หวั คำ�่ เมือ่ ไดเ้ วลาแล้วก็
ข้ึนกฏุ ิ เพอื่ จัดทนี่ ัง่ ใหเ้ รยี บรอ้ ย หลงั จากไหว้พระเสรจ็ แลว้ กไ็ ด้
ตั้งสัจจะอธิษฐานว่า ในคืนนี้เราจะนั่งสมาธิในอิริยาบถเดียวไป
จนถึงสวา่ งของวนั ใหม่ จะเป็นตายร้ายดีอย่างไร ชวี ติ จะสนิ้ สุด
ในคนื นก้ี พ็ รอ้ มแลว้ ทจ่ี ะเสยี สละ จากนนั้ กเ็ รม่ิ เขา้ ที่ ตงั้ ใจใหม้ สี ติ
อยา่ งแนว่ แน่ เปน็ ไดแ้ คส่ มาธคิ วามตง้ั ใจมนั่ เทา่ นน้ั ไมม่ คี วามสงบ
แต่อย่างใด จะเป็นเพราะว่าตั้งใจไว้สูงน่ันเอง จิตจึงสงบไม่ได้
เมอ่ื ทำ� สมาธิไปประมาณ ๓ ท่มุ ความเจ็บปวดตามขาท้ังสองกม็ ี
ความรนุ แรงขน้ึ มาเรอื่ ยๆ จนถงึ เวลาประมาณ ๔ ทมุ่ ความเจบ็ ปวด
กม็ คี วามรนุ แรงมากขน้ึ อยา่ งเตม็ ที่ แตก่ ต็ อ้ งกดั ฟนั อดทนตอ่ สกู้ นั
อยา่ งเอาเป็นเอาตายเลยทีเดยี ว
ในขณะทเ่ี กดิ ความทกุ ขอ์ ยนู่ น้ั มากำ� หนดสตริ ะลกึ รทู้ กุ ขท์ ี่
เกดิ ขนึ้ โดยวธิ เี พง่ ดู ในเมอื่ เพง่ ดเู ทา่ ไร เหมอื นกบั วา่ เพมิ่ ความทกุ ข์
มากขึ้นเท่าน้ัน แทบจะทนน่ังต่อไปไม่ได้เลย แต่ก็นึกถึงค�ำสั่ง
ของหลวงปู่บัวข้ึนมาว่า นี้เราได้รับค�ำสัญญากับหลวงปู่มาแล้ว
มิใช่หรือ ถ้าตัวเองยอมแพ้ในคร้ังนี้แลว้ ในครง้ั ตอ่ ไปกจ็ ะแพก้ ัน
๒๔๔ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ไปตลอด ความชนะจะไม่มีในตัวเราเลย เม่ือหลวงปู่ถามว่า
ผา่ นทกุ ขไ์ ดห้ รอื ยงั จะตอบทา่ นวา่ ผา่ นไมไ่ ดไ้ ดอ้ ยา่ งไร แลว้ ทา่ น
จะมคี วามคดิ วา่ พระกรรมฐานไมจ่ รงิ พระกรรมฐานขขี้ ลาดตาขาว
เราจะเขา้ หนา้ ทา่ นตดิ หรอื ไม่ ทา่ นกจ็ ะวา่ พระกรรมฐานขโ้ี ง่ ไมม่ ี
ความอดทน ไมม่ คี วามเดด็ เดยี่ วกลา้ หาญ เปน็ พระกรรมฐานไมม่ ี
ความจริงจงั ในตวั เอง จะขาดความเชือ่ ถือจากหลวงปเู่ ป็นอยา่ ง
มากทเี ดยี ว ขณะนห้ี ลวงปไู่ ดต้ งั้ ความหวงั ไวก้ บั เราวา่ เปน็ พระองค์
หนง่ึ ทจี่ ะไดส้ บื ทอดพระพทุ ธศาสนาตอ่ ไปในอนาคต ทา่ นจงึ บอกวา่
ใหร้ บี เรง่ ภาวนาปฏบิ ตั ผิ า่ นทกุ ขใ์ หไ้ ด้ เมอื่ ผา่ นไปไดค้ รงั้ หนง่ึ แลว้
ต่อไปจะผ่านทุกข์ได้ง่ายขึ้น จะเป็นก�ำลังแก่พระพุทธศาสนา
จะเป็นท่ีพ่งึ ใหแ้ ก่หมู่คณะตอ่ ไป น้ที ลู หลวงปตู่ ง้ั ความหวงั ไว้กบั
เราแลว้ เราอย่าท�ำให้หลวงปู่ไดผ้ ดิ หวัง ทา่ นคงมองการณไ์ กลไว้
แลว้ วา่ เราจะเปน็ ผู้หนกั แน่นในพระธรรมวินยั นี้ อย่าท�ำตวั เปน็
ผเู้ หลวไหลไรค้ วามสามารถ ก่อนจะไดเ้ ป็นผ้นู �ำของคณะได้ ตอ้ ง
ได้ผ่านการปฏิบัติมาในทุกรูปแบบ จึงจะเป็นผู้น�ำของหมู่คณะ
ได้ดี
หลวงปเู่ คยยกตวั อยา่ งของทา่ นในการปฏบิ ตั มิ าเลา่ ใหเ้ รา
ฟงั หลายครงั้ แตล่ ะครงั้ แทบจะเอาชวี ติ ไปไมร่ อด ทา่ นจงึ นำ� อบุ าย
หลวงปบู่ วั บอกว่าใหผ้ า่ นทกุ ข์ ๒๔๕
นั้นๆ มาสอนเรา เราต้องมีความเข้มแข็งเหมือนหลวงปู่บ้างซิ
ถ้าตัวเองได้ยอมแพ้ในครั้งน้ี ถึงจะอยู่ในที่ใดก็จะรู้ตัวเองอยู่ว่า
พระกรรมฐานขี้แพ้ จะไม่มีความละอายแก่กิเลสตัณหาหรือไง
เมือ่ ตวั เองไดต้ งั้ สจั จะอธษิ ฐานลงไปอย่างน้ี แลว้ มายอมแพ้ จะ
ทำ� ใหเ้ กดิ ความเชอื่ มน่ั ในตวั เองไดอ้ ยา่ งไร มแี ตจ่ ะเปน็ ผลู้ ม้ เหลว
เลวทราม จะเปน็ ผมู้ นี สิ ยั หลอกตวั เองพง่ึ ตวั เองไมไ่ ดเ้ ลยจนตลอด
วนั ตาย เมอ่ื มาถงึ จดุ นแี้ ลว้ จะถอนกลบั ไมไ่ ดอ้ กี แลว้ เปน็ อยา่ งไร
กเ็ ป็นกนั ขามนั ปวดกใ็ หม้ นั ปวดไป จะขาดออกเป็นทอ่ นๆ ก็ให้
มันขาดไป ใจเรากเ็ ป็นเพียงรบั รู้ไว้เท่าน้นั เมอ่ื ใชป้ ญั ญาอบรมใจ
ให้เกิดความกล้าหาญได้แล้ว ความปวดขานั้นก็ค่อยๆ ลดลงๆ
ความเหนบ็ ชาในขากป็ รากฏขน้ึ แทน แลว้ ตงั้ ใจนง่ั อยอู่ ยา่ งนต้ี อ่ ไป
ถงึ ไมห่ ายปวดกพ็ อทนอยไู่ ด้ นบั จาก ๔ ทมุ่ ขน้ึ ไป อาการอยา่ งอนื่
ก็ปรากฏขน้ึ มาอกี นนั้ คือความรอ้ นข้ึนที่ขา
ความร้อนท่ีเกิดขึ้นท่ีขานี้มีความร้อนมากข้ึน ความร้อน
เพมิ่ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ ยง่ิ นงั่ นานเทา่ ไร ความรอ้ นกม็ คี วามรนุ แรงมากขน้ึ
เท่าน้ัน ความร้อนในขาเหมือนกับนั่งในกองถ่านไฟเลยทีเดียว
ขาทง้ั สองเหมอื นกบั ถกู ไฟเผาอยตู่ ลอดเวลา เหมอื นกบั วา่ ขาทงั้ สอง
ถูกไฟเผาไหม้เกรียมหมด เมื่อเกิดความร้อนจนถึงท่ีสุดแล้ว
๒๔๖ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
มคี วามคดิ วา่ เราจะนงั่ ตอ่ ไปอกี ไดห้ รอื ไมห่ นอ แตเ่ มอื่ คดิ ยอ้ นหลงั
ไปถงึ การปวดขาท่ผี า่ นมา เราก็ไดผ้ า่ นมาแลว้ เมื่อมคี วามรอ้ น
อยา่ งนเ้ี กดิ ขนึ้ มาอกี เรากต็ อ้ งอดทนตอ่ สใู้ หเ้ ตม็ ที่ สจั จะอธษิ ฐาน
ท่เี ราตง้ั ไวแ้ ลว้ น้นั จะตอ้ งเปน็ สัจจะของลูกผู้ชาย เปน็ สจั จะของ
พระกรรมฐานอยา่ งเตม็ ตวั ตงั้ ลงไปอยา่ งไรกต็ อ้ งหนกั แนน่ อยา่ ง
เด็ดขาด ไม่หลอกลวงตัวเอง จะเกิดเป็นไฟลุกไหม้เผาร่างกาย
ให้ย่อยยับไปก็ตาม เราจะไม่ลุกหนีจากที่แห่งนี้อย่างเด็ดขาด
ชวี ติ จะหมดไปเพราะความรอ้ นนก้ี ย็ อม ตอ้ งใชอ้ บุ ายปญั ญาสอน
ใจอยู่เสมอวา่ ความรอ้ นนีเ้ ปน็ แผนการของกเิ ลสตัณหาแน่นอน
กิเลสใช้กลอุบายต่อต้านเรา เอาความร้อนมาเป็นการก่อกวน
เราจะฝืนให้ไดใ้ นขณะน้ี
ทผี่ า่ นมาเม่อื กน้ี ้ี กิเลสใช้ความทุกขค์ วามเจบ็ ปวดมาเปน็
อุบายก่อกวนขัดขวาง เราก็ได้ใช้ความอดทนต่อสู้ผ่านมาแล้ว
บดั นก้ี ลบั มาใชว้ ธิ เี ปน็ อบุ ายความรอ้ นเพอื่ ใหเ้ ราไดถ้ อนออกจาก
การปฏิบัติอีก น่ีเรารู้เท่าทันกลอุบายของกิเลสแล้วว่าเป็น
ตัวขัดขวางไม่ให้เราหลุดพ้นไปจากวัฏสงสาร มีแต่จะผลักดัน
ใหเ้ ราลอยอยใู่ นกระแสโลกดงั ทเ่ี คยเปน็ มา กเิ ลสตณั หาไดพ้ าเรา
ไปเกิดในท่ีต่างๆ ไม่มีที่ส้ินสุด แต่ก่อนมาใจเราขาดสติปัญญา
หลวงปูบ่ ัวบอกวา่ ใหผ้ ่านทกุ ข์ ๒๔๗
ความฉลาดรอบรู้ จึงได้ตกเป็นทาสของกิเลสตัณหาตลอดมา
บัดน้ีใจมีสติปัญญาอบรมส่ังสอนแล้ว ใจได้เกิดความรู้เห็น
ตามความเป็นจริงว่าทุกส่ิงย่อมมีการเกิดดับตามธรรมชาติของ
ตัวมันเอง ถึงกิเลสตัณหาจะเอาความร้อนมาบังคับให้เราเสีย
สจั จะนี้ เราจะไมห่ ลงกลของกเิ ลสตณั หาอกี ตอ่ ไป เพราะใจไดร้ บั รู้
ขา่ วสารจากปัญญามาแลว้ เปน็ อย่างดี มคี วามรอบร้ใู นเหตุและ
ผล รอบรู้ในกลลวงของกิเลสตัณหาน้ีแล้ว จากน้ีไปเราจะไม่
หลงกลลวงของกเิ ลสตณั หาอกี ตอ่ ไป พระพทุ ธเจา้ และพระอรยิ เจา้
ทงั้ หลายทไี่ ดห้ ลดุ พน้ ไปแลว้ นน้ั ลว้ นแลว้ แตม่ คี วามกลา้ หาญและ
อดทน นเ่ี ราผกู้ ำ� ลงั เดนิ ตามรอยของทา่ น กจ็ ะตอ้ งเปน็ ผกู้ ลา้ หาญ
อดทนเช่นกัน ขณะน้นั เวลาประมาณ ๖ ทุ่ม ความรอ้ นทก่ี ำ� ลัง
เกดิ ขึน้ อย่างรนุ แรงกค็ ่อยๆ ออ่ นตัวลงๆ ในท่ีสดุ ความร้อนกไ็ ด้
หายไป สภาพความรสู้ กึ กก็ ลบั คนื มาสปู่ กติ จากนไี้ ปคดิ วา่ จะไมม่ ี
เหตกุ ารณอ์ ะไรเกดิ ขน้ึ อกี แตก่ ไ็ มป่ ระมาทในตวั เอง จงึ ใชป้ ญั ญา
อบรมใจอยู่ตลอดเวลา
จากนนั้ มาประมาณตสี องจงึ เกดิ เหตกุ ารณอ์ กี รปู หนง่ึ ขนึ้ มา
นนั่ คอื ความหนาวเยน็ ความหนาวเยน็ นเ้ี กดิ ขน้ึ ทกุ หนแหง่ ทว่ั ตวั
แล้วเพ่ิมความหนาวเย็นขึ้นเร่ือยๆ และหนาวเย็นจนถึงที่สุด
๒๔๘ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
เหมอื นกบั วา่ รา่ งกายทกุ สว่ นเปน็ กอ้ นนำ�้ แขง็ ไปทง้ั ตวั ความทกุ ข์
ทรมานในการเกิดขึ้นจากความหนาวเย็นนั้น หนาวจนตัวสั่น
หายใจไม่สะดวกเลย ในขณะน้นั แทบลมหายใจจะหมดไป จึงใช้
ปญั ญาปลอบใจตวั เองวา่ ครง้ั แรกเกดิ ความทกุ ขใ์ นขาอยา่ งรนุ แรง
เราก็ผ่านมาได้ด้วยความอดทน ต่อมาเกิดความร้อนไปทั่วตัว
เหมือนนั่งอยู่ในกองไฟ เราก็มีความอดทนผ่านมาได้อีกเช่นกัน
แตบ่ ดั นม้ี อี าการหนาวเยน็ เกดิ ขนึ้ เรากต็ อ้ งอดทนตอ่ สใู้ นความหนาว
นนั้ อยา่ งถงึ ทสี่ ดุ ใชอ้ บุ ายปญั ญาปลอบใจตวั เองใหม้ คี วามกลา้ หาญ
อยู่ตลอดเวลา เมื่อความทกุ ข์ ความรอ้ น เรากไ็ ดอ้ ดทนผา่ นมา
แลว้ เม่ือความหนาวเย็นเกิดขน้ึ มาอีก ทำ� ไมเราจะผ่านไมไ่ ด้
ในขณะท่ีน่ังอยู่น้ัน นั่งสั่นไปท้ังตัว จึงปลอบใจตัวเองว่า
นท่ี ลู ตวั เองกำ� ลงั ตกนรกขมุ นำ�้ แขง็ แลว้ นะ ความปวดกเ็ ปน็ นรก
ขมุ หนงึ่ ผา่ นมาแลว้ ความรอ้ นกเ็ ปน็ นรกขมุ หนงึ่ กไ็ ดผ้ า่ นมาแลว้
ในขณะนี้ตัวเองก�ำลังตกนรกขุมน้�ำแข็ง หนาวเย็นอย่างเต็มที่
ในขณะยังมีชีวิตอยู่ก็ได้ตกนรกถึงเพียงน้ี หากเม่ือตัวเองได้
ตายไปก็จะได้ตกนรกขุมจริง ย่ิงจะมีความรุนแรงมากกว่าน้ี
หลายร้อยเท่า ประสาอะไรเรื่องเกิดความหนาวเย็นเพียงแค่น้ี
ยงั ไมเ่ ท่าหนึ่งสว่ นร้อยของนรกขุมจริงนี้เลย
หลวงปู่บวั บอกว่าให้ผา่ นทุกข์ ๒๔๙
เม่ือตัวเองยังมีความพอใจในกามคุณอยู่ ผลท่ีได้รับคือ
ความทกุ ขก์ ายและทกุ ขใ์ จใหต้ วั เองไดร้ บั อยตู่ ลอดเวลา ไฉนเราจงึ
มากลวั ในการเกดิ ขนึ้ แหง่ ความทกุ ข์ เพราะความทกุ ขท์ เี่ กดิ ขนึ้ นี้
เปน็ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากกามคณุ ทง้ั นน้ั หารไู้ มว่ า่ กามคณุ เปรยี บเสมอื น
น�้ำตาลเคลือบยาพิษ เม่อื นำ้� ตาลละลายไป ยาพิษกจ็ ะออกฤทธ์ิ
ข้นึ มาทนั ที จะมีความไม่พอใจในสิ่งที่เกดิ ขึน้ นคี่ อื วิบากกรรมท่ี
ตวั เองจะตอ้ งไดร้ บั ทงั้ หมดนเ้ี กดิ ขน้ึ จากอตั ตา ทยี่ ดึ ถอื วา่ รา่ งกาย
นี้เป็นตวั ตน เมือ่ ตนมอี ยู่ในท่ไี หน ความทกุ ขก์ ต็ ้องมีอยูใ่ นที่น้นั
แตก่ ต็ อ้ งอดทนตอ่ ไป ไหนๆ กไ็ ดเ้ กดิ มาแลว้ จงึ ไดใ้ หส้ ตกิ บั ตวั เอง
วา่ นท่ี ูล ความทุกขท์ ่เี กดิ ขึน้ จากชาติภพน้ี ใหเ้ ปน็ ชาติสุดท้ายก็
แลว้ กนั
ฉะนั้น เราตอ้ งใช้อุบายปัญญามาอบรมใจอยู่เสมอ ใหใ้ จ
ไดเ้ กดิ ความกลวั ในภพชาตทิ งั้ หลาย ใหใ้ จไดเ้ กดิ ความเบอื่ หนา่ ยใน
สรรพสงั ขาร ทจ่ี ะพาใจใหไ้ ปเกดิ รบั ทกุ ขต์ อ่ ไป อยา่ ใหก้ เิ ลสจงู ใจ
หลงใหลในกามคณุ อกี ตอ่ ไป ในขณะทเี่ กดิ ความหนาวเยน็ อยนู่ น้ั
ตอ้ งใชป้ ญั ญาสอนใจอยตู่ ลอดเวลา ประมาณตี ๓ ความหนาวเยน็
กอ็ อ่ นลงๆ จนความหนาวเยน็ นน้ั หมดไป ในชว่ งนไ้ี ดผ้ า่ นชยั ชนะ
มาแลว้ ๓ ขนั้ ตอน ในขณะนนั้ รสู้ กึ วา่ ใจมกี ำ� ลงั เกดิ ความกลา้ หาญ
๒๕๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
เปน็ อยา่ งมาก จากนไี้ ปไมว่ า่ อะไรจะเกดิ ขน้ึ มาอกี กพ็ รอ้ มทจ่ี ะตอ่ สู้
กันจนถึงที่สุด แม้กระทั่งชีวิตจะดับสูญไปก็พร้อมที่จะเสียสละ
น้ีเป็นอุบายธรรมทเี่ กิดขึ้นในคนื นนั้
ในขณะนนั้ จติ มคี วามตอ้ งการพกั ผอ่ นในสมาธิ จงึ ไดก้ ำ� หนด
จติ นกึ คำ� บรกิ รรมวา่ พทุ โธ รวมกนั กบั อานาปานสติ คอื ลมหายใจ
เขา้ ออก จติ กเ็ รมิ่ สงบลงๆ แลว้ หยดุ คำ� บรกิ รรมเอาไว้ มสี ตกิ ำ� หนด
เอาเพียงลมหายใจเข้าออกกับผู้รู้เท่าน้ัน เมื่อก�ำหนดลมหายใจ
เขา้ ออกประกอบกบั ผรู้ ไู้ ดอ้ ยา่ งละเอยี ดแลว้ กป็ ลอ่ ยลมหายใจออก
เพียงมีสติกับผู้รู้เท่าน้ัน จิตไม่มีความสุขและไม่มีความทุกข์แต่
อยา่ งใด เปน็ เพยี งรอู้ ยใู่ นความวา่ งเปลา่ เทา่ นน้ั เปน็ เอกเทศรอู้ ยู่
เฉพาะรู้ ไม่กระเพ่ือมไปมาแต่อย่างใด เม่ือจิตมีความทรงอยู่
อยา่ งนี้ นานจนถงึ ร่งุ สวา่ งของวนั ใหม่
ในขณะนน้ั ปรากฏนมิ ติ เหน็ หลวงปขู่ าวมายนื กน้ั รม่ ขนาดใหญ่
อยดู่ ้านขวามอื หลวงปขู่ าวได้พูดวา่ ลกู หลา้ ตงั้ ใจใหเ้ ข้มแขง็ นะ
อย่าทอ้ ถอย ตอ้ งใช้ความกล้าหาญในความเพียรอย่างเตม็ ท่ี ใช้
สตปิ ญั ญาพจิ ารณาใหร้ เู้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ อยเู่ สมอ ไมม่ ใี ครชว่ ย
เรานะ เราเท่านั้นจะชว่ ยตัวเองได้ ต่อไปก็จะเป็นท่ีพึ่งแก่ตัวเอง
อยา่ งถาวรมนั่ คง จากนนั้ จติ กไ็ ดถ้ อนออกจากสมาธิ จงึ เปน็ เวลา
หลวงปู่บวั บอกว่าใหผ้ า่ นทกุ ข์ ๒๕๑
๒๕๒ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
สวา่ งพอดี เมอ่ื จติ ถอนออกจากสมาธแิ ลว้ กม็ คี วามเวง้ิ วา้ งภายในใจ
มคี วามเอบิ อม่ิ ภายในใจ ความตง้ั มน่ั ของใจมอี ยตู่ ลอดเวลา ไมว่ า่
จิตถอนออกจากสมาธแิ ลว้ ก็เป็นอยอู่ ยา่ งน้ัน
เมื่อถึงเวลาบิณฑบาต ฉันอาหาร ตลอดการท�ำกิจวัตร
ต่างๆ ใจก็มีความต้งั มั่นอย่ตู ลอดเวลา พอตกเยน็ ในวันนัน้ ก็ไป
สรงนำ้� ใหห้ ลวงปตู่ ามปกติ เสรจ็ แลว้ กข็ น้ึ ไปกฏุ เิ พอ่ื รบั ฟงั โอวาท
จากทา่ น หลวงปกู่ เ็ ตอื นสตสิ น้ั ๆ วา่ ทกุ องคใ์ หต้ งั้ ใจภาวนาปฏบิ ตั นิ ะ
อย่าเห็นแกห่ ลับนอน กินมาก นอนมาก พูดมาก เลน่ มาก ไม่ดี
ทงั้ นนั้ จากนน้ั พระเณรองคอ์ นื่ ๆ กก็ ราบหลวงปแู่ ลว้ ลงจากกฏุ ไิ ป
ขา้ พเจา้ ยงั ทำ� ธรุ ะอยทู่ น่ี นั่ เมอื่ พระเณรไปหมดแลว้ หลวงปกู่ พ็ ดู วา่
ทูล ผ่านทุกข์ได้หรือยัง ก็ตอบหลวงปู่ไปว่า ขอโอกาสหลวงปู่
กระผมผา่ นไดแ้ ลว้ ครบั หลวงปถู่ ามอกี วา่ ผา่ นทกุ ขเ์ มอ่ื ไร กต็ อบ
หลวงปวู่ า่ ขอโอกาส ผา่ นเมอื่ คนื นแ้ี ลว้ ครบั หลวงปกู่ ไ็ ดถ้ ามเรอื่ ง
ขา้ พเจา้ ผ่านทกุ ข์ในคืนนั้นว่าเป็นอย่างไร ข้าพเจ้ากไ็ ด้เล่าถวาย
เรอ่ื งความทกุ ข์ ความรอ้ น ความหนาวเยน็ ใหห้ ลวงปฟู่ งั หลวงปู่
ฟงั แลว้ กพ็ ดู ขน้ึ วา่ จากนไี้ ปใหผ้ า่ นทกุ ขต์ ลอดนะ ผจู้ ะผา่ นไดต้ อ้ งมี
ความกลา้ หาญ มคี วามเขม้ แขง็ ไมก่ ลวั ตาย ใหม้ คี วามขยนั หมน่ั เพยี ร
อยเู่ สมอ อยา่ ปลอ่ ยใหจ้ ติ เปน็ หมนั ดอ้ื ดา้ นเปน็ เหลก็ กน้ เตา ใหใ้ ช้
หลวงป่บู ัวบอกว่าให้ผา่ นทกุ ข์ ๒๕๓
อุบายปัญญาอบรมใจอยู่บ่อยๆ ใจก็จะค่อยรู้เห็นความเป็นจริง
ข้ึนมาได้
ในวนั ต่อมา หลงั จากกวาดลานวดั เสรจ็ แลว้ ไดม้ ารวมกัน
ฉันน้�ำร้อนตามปกติ พระอาจารย์สิงหท์ องพดู ขน้ึ วา่ ในวันพร่งุ นี้
หลงั ฉนั อาหารเสรจ็ ใครจะไปฟงั เทศนห์ ลวงปขู่ าว วดั ถำ�้ กลองเพล
ใครจะไปกไ็ ปได้ แต่ตอ้ งเดินไปนะ ทางประมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร
เม่ือรวู้ ่าไปฟังเทศน์หลวงป่ขู าวเท่านนั้ ใจมีความยนิ ดีมาก ได้คิด
ในใจอยู่หลายวันแล้วว่าอยากฟังเทศน์หลวงปู่ขาว ในชีวิตนี้
ไมเ่ คยเหน็ หลวงปขู่ าวเลย เมอื่ ฉนั เสรจ็ แลว้ กพ็ ากนั ออกเดนิ ทาง
เม่ือไปถึงแล้ว พระอาจารย์สิงห์ทองก็พาหมู่คณะเข้าไป
กราบคารวะหลวงปู่ หลวงปู่ขาวก็ให้ความเมตตาอธิบายธรรม
ใหฟ้ งั มีข้อส�ำคัญท่ีจำ� ได้ดงั นี้ ผู้ปฏบิ ตั ิ ถ้าเอาความตายไว้หลงั
การปฏบิ ตั จิ ะไมม่ อี ปุ สรรคแตอ่ ยา่ งใด การภาวนามแี ตค่ วามเจรญิ
กา้ วหน้าไปด้วยดี ถา้ เอาความตายไว้ข้างหน้า การภาวนามีแต่
ความหดตวั ไม่กลา้ ที่จะตอ่ สใู้ นทกุ ขเวทนา เพราะเอาความกลวั
ตายมาเป็นเครื่องขดั ขวาง เปน็ ผไู้ มก่ ล้าทีจ่ ะท่มุ เทความเพยี รได้
อยา่ งเตม็ ท่ี น่ังสมาธิ มกี ารปวดแข้งปวดขานิดหน่อยกก็ ลวั ตาย
เดินจงกรมไม่ก่ีชั่วโมงกก็ ลัวตาย ก็หยุดเสยี อดนอนผ่อนอาหาร
๒๕๔ อตั โนประวัติ ภาค ๑
มีความหิวนิดหน่อยก็ไม่มีความอดทน ถ้าเป็นอย่างน้ีจะเกิด
ความรจู้ ริงเห็นจรงิ ในธรรมไมไ่ ด้เลย
ฉะนนั้ อยา่ พากนั กลวั ตาย ถา้ ทำ� ความเพยี รแลว้ ตายกใ็ ห้
มันตายไป จะไปกลัวท�ำไม นักปฏิบัติ ถ้ามีความกลัวตายอยู่
ใชไ้ มไ่ ดเ้ ลย มนั ตอ้ งมคี วามเขม้ แขง็ กลา้ หาญ ใหส้ ญั ญากบั ตวั เอง
ว่า ถ้ากูไม่ตาย ให้กิเลสตาย ถ้ากิเลสไม่ตาย กูยอมตาย น้ีคือ
ผู้ปฏิบัติที่เด็ดเด่ียวกล้าหาญจริงจัง ถ้าต้ังใจปฏิบัติอยู่อย่างน้ี
บ่อยๆ ก็จะรู้เห็นในสัจธรรมอย่างแน่นอน ฉะนั้น เราอย่าเป็น
ผู้หลอกลวงตวั เอง ตอ้ งฝึกตวั ใหเ้ ป็นผจู้ ริงจงั เอาไว้ ในวนั หนึง่ ก็
จะรู้เหน็ ความจรงิ ได้ เม่ือหลวงปูเ่ ทศน์จบแล้ว ก็พากนั กราบลา
หลวงปกู่ ลบั วดั ปา่ หนองแซง ในพรรษานี้ พระอาจารยส์ งิ หท์ องพา
พระเณรไปฟงั เทศนห์ ลวงปขู่ าวสองครงั้ ไปแตล่ ะครงั้ ไดอ้ บุ ายธรรม
จากหลวงปู่ขาวมากทีเดียว เม่ือออกพรรษารับกฐินแล้ว ก็ได้
กราบลาหลวงปบู่ วั ออกวเิ วกไปในทตี่ า่ งๆ ตามปา่ เขาลำ� เนาไพร
ต่อไป
อทิ ธบิ าท ๔ ฝงั ใจในครง้ั น้นั
จากนน้ั กไ็ ดเ้ ทย่ี วไปในทตี่ า่ งๆ หลายแหง่ ไดไ้ ปพกั ภาวนา
อยู่ท่ีห้วยกอกยอดทอน อ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
ในวันหนึ่งได้ขึ้นไปท�ำความสะอาดท่ีศาลา เสร็จแล้วจะไปกุฏิ
ได้มองเห็นมดฝูงหน่ึงก�ำลังช่วยกันท�ำรูเป็นท่ีอยู่อาศัย พากัน
คาบเอาดนิ ขนึ้ มาวางรอบปากรเู อาไว้ ขา้ พเจา้ กน็ งั่ พจิ ารณาดวู า่
มดฝงู น้มี ีความขยนั หมั่นเพียรมาก มดตวั เล็กๆ มนั ยังรจู้ ักวิธีทำ�
ท่ีอยอู่ าศัยได้ ทุกตัวมีความสามคั คพี รอ้ มเพรียงกนั มีความขยัน
ขันแข็งในการท�ำงาน ไม่มีการเอาเปรียบกัน ต่างตัวก็ท�ำตาม
หนา้ ท่ี ไม่มตี ัวใดพกั ผอ่ นแตอ่ ยา่ งใด นีฉ้ ันใด ถา้ เรามีความขยัน
หมั่นเพียรเหมือนมดฝูงนี้ ฝึกสติปัญญาพิจารณาในธรรมตาม
ความเป็นจริงอยู่บ่อยๆ ใจก็จะมีท่ีพึ่งในทางธรรมอย่างมั่นคง
๒๕๖ อตั โนประวัติ ภาค ๑
เปน็ วหิ ารธรรมทพ่ี กั ทางใจได้ ถา้ ใจมธี รรมเปน็ ทพ่ี ง่ึ แลว้ ความเจรญิ
กา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั กิ จ็ ะเปน็ ไปในธรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ฐานของ
ใจกจ็ ะเกดิ ความมน่ั คง จากนไี้ ปตวั เราตอ้ งมคี วามขยนั หมนั่ เพยี ร
ใหม้ ากขนึ้ ดมู ดเปน็ ตวั อยา่ งเอาไว้ มดมคี วามขยนั อยา่ งไร การปฏบิ ตั ิ
ของเรากต็ ้องมคี วามขยนั อย่างน้นั
ในขณะท่ีเอามดมาเป็นอุบายใช้ปัญญาพิจารณาอยู่น้ัน
ไดเ้ กิดความรขู้ ึ้นทใ่ี จอย่างชัดเจนวา่ ใหต้ ัง้ มัน่ อยู่ในอิทธิบาท ๔
เม่อื รขู้ ้นึ มาอยา่ งน้ีแล้ว กลับนึกไม่ได้เลยวา่ อิทธบิ าท ๔ มีอะไร
บา้ ง และมีความหมายเปน็ อย่างไร ใช้ความพยายามอยา่ งเตม็ ท่ี
ในอทิ ธิบาท ๔ มีขอ้ ไหนบ้าง แล้วคดิ แปลกใจตัวเองวา่ แต่ก่อน
เคยเอาอทิ ธิบาท ๔ นไี้ ปสอนคนอ่นื มาแลว้ เคยเรียนในต�ำรามา
อย่างคล่องตัว แต่บัดน้ีนึกไม่ออกเลยว่าอิทธิบาท ๔ คืออะไร
และมคี วามหมายเปน็ อย่างไร นกึ ไม่ได้เลย
ในศาลานั้นมหี นังสือนวโกวาทเต็มตู้ แลว้ ขนึ้ ไปบนศาลา
คดิ ว่าจะเปิดหนังสอื ดู กม็ ีความคิดเกดิ ขึ้นมาว่า พระกรรมฐาน
อะไร ตดั สนิ ใจโดยถอื เอาตำ� รามาเปน็ ตวั ตดั สนิ เมอ่ื คดิ ไดอ้ ยา่ งนี้
ก็เกิดความละอายในตัวเองว่าท�ำไมจึงรีบด่วนหาต�ำรามาอ่าน
เพราะความรู้ท่ีเกิดขึ้นน้ันเป็นความรู้เกิดจากการปฏิบัติ เราก็
อทิ ธบิ าท ๔ ฝงั ใจในคร้ังนั้น ๒๕๗
ต้องปฏิบัติให้รู้ในอิทธิบาท ๔ เองซิ ในเมื่อยังนึกไม่ได้ก็อย่า
ไปกังวล เอาธรรมหมวดอ่ืนๆ มาปฏิบัติต่อไปได้ แต่ก็ยังรู้สึก
คับข้องใจอยู่นั่นเอง พยายามนึกคิดในอิทธิบาท ๔ อยู่บ่อยๆ
แต่ก็นึกไม่ได้อยู่นั่นเอง จะท�ำกิจวัตรอื่นๆ ปัดกวาดลานวัดอยู่
กต็ าม ก็นึกหาคำ� ตอบไม่ไดอ้ ยนู่ ่ันเอง
หลายวันท่ีผ่านมา พอตกค่�ำในวันนั้น ทั้งน่ังสมาธิ ทั้ง
เดินจงกรม คิดหาอิทธิบาท ๔ ทั้งคืนก็นึกไม่ออก จึงตัดสินใจ
ทอดอาลัยไปว่า ถ้านึกไม่ได้ก็อย่าไปนึกหาเลย จะไปเอาต�ำรา
มาดูก็ไม่เอา อีกสักวันหนึ่งข้างหน้ามันก็จะรู้ข้ึนมาเองได้ เม่ือ
ตัดสินใจได้อย่างนี้ ก็ท�ำใจให้ลืมอิทธิบาท ๔ น้ันเสีย เม่ือ
ภาวนาปฏบิ ตั มิ าได้ ๗ วนั ในขณะทเ่ี ดนิ จงกรมอยู่นน้ั กไ็ ด้เกิด
ความรู้ขึ้นมาว่า อิทธิบาท ๔ คอื ฉนั ทะ วิริยะ จิตตะ วมิ งั สา
พร้อมทั้งความหมาย รู้ข้ึนมาพร้อมๆ กัน ชั่วกะพริบตาเดียว
อทิ ธบิ าท ๔ จงึ ไดเ้ กดิ ฝงั ใจในขณะนนั้ เปน็ ตน้ มา รตู้ วั เองในทนั ที
วา่ จากนไี้ ปเราจะไดใ้ ชอ้ ิทธิบาท ๔ น้เี ป็นแนวทางปฏบิ ตั ิอยา่ ง
จรงิ จังตอ่ ไป หากใครๆ มปี ัญหาในลกั ษณะอยา่ งนีเ้ กดิ ขน้ึ เม่อื
นกึ ไม่ได้ กค็ งวิ่งหาตำ� รามาอา่ นในทนั ที มิฉะนนั้ กจ็ ะไปหาถาม
ครอู าจารยม์ าเปน็ ผตู้ ดั สนิ ให้ เพอื่ ใหห้ ายความสงสยั ในหมวดธรรม
๒๕๘ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
นั้นๆ ไป ก็จะเปน็ ความหายสงสยั ในปรยิ ตั ิ ความหายสงสยั ใน
ภาคปฏิบตั ินน้ั ท่านจะไมร่ เู้ ลย
เล่นกับผีกองกอยสนุกดี
ในที่แห่งนั้นมีผีกองกอยมากทีเดียว ข้าพเจ้าก็ไม่เคย
เห็นผกี องกอยมาก่อน มแี ตค่ นแกค่ นเฒ่าเลา่ ให้ฟงั ว่า ถา้ ไปอยู่
ปา่ ทม่ี ีผีกองกอย ตอ้ งระวังตวั ให้มาก ถ้าหากทำ� ผดิ เชน่ ลากไม้
ลากฟนื หรอื บน่ คาถาอาคม รบั รองวา่ เจอผกี องกอยอยา่ งแนน่ อน
เมอื่ นอนหลบั ไปผกี องกอยจะอำ� แลว้ ลว้ งกนิ ตบั ไตไสพ้ งุ จนหมด
แล้วตายไปในคืนน้ันเลย ในวันหน่ึงข้าพเจ้าจะทดลองดูว่า
ผกี องกอยจะมากนิ เราไดห้ รอื ไม่ ตกเยน็ ในวนั นน้ั ขา้ พเจา้ ลากไม้
ทจี่ ะมากอ่ ไฟเพอ่ื ระงบั เวทนาคอื ความหนาวเยน็ เดนิ จงกรมแลว้
ก็เข้าที่ภาวนา ในขณะเดียวกันฟังเสียงผีกองกอยร้องเข้ามาหา
เมื่อร้องเข้ามาใกล้ๆ เสียงจะเย็นเยือกๆ เหมือนกับมนต์ขลัง
เกิดความรู้สึกว่าผีกองกอยเอาเราจริงแล้วในคืนน้ี จากน้ันก็
๒๖๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
เลน่ กบั ผีกองกอยสนุกดี ๒๖๑
ก�ำหนดจิตลงสู่สมาธิในทันที เมื่อจิตมีความสงบได้ที่แล้ว ก็ได้
กำ� หนดจติ ดวู า่ ผกี องกอยเปน็ ตวั อยา่ งไร กเ็ หน็ ไดช้ ดั วา่ เปน็ ตวั ใหญ่
ขนาดลงิ ดตู าแดงลกุ เปน็ ไฟเลยทเี ดยี ว เหมอื นกบั โกรธกนั มานาน
ในขณะเดยี วกนั มนั มาวง่ิ รอบกลดอยหู่ ลายรอบ แลว้ จอ้ งดขู า้ พเจา้
อยู่ มนั เอามอื ยนื่ สอดเขา้ มาเพอ่ื จบั ขาขา้ พเจา้ ในขณะนนั้ ขา้ พเจา้
กไ็ ดเ้ พง่ พลงั จติ ใหเ้ ปน็ ไฟไปใสม่ อื ผกี องกอยนนั้ เสยี งรอ้ งกรดี ขน้ึ
ดว้ ยความรอ้ น กระโดดออกไปนง่ั หา่ งจากขา้ พเจา้ ประมาณ ๑ วา
มนั จะเขา้ มาอกี บดั นตี้ อ้ งเพง่ กระแสไฟใสใ่ หเ้ ตม็ ตวั พอกระแสไฟ
ถูกตัว ก็ร้องกรีดขึ้นแล้ววิ่งหนีไป มันไปเกาะอยู่กับต้นไม้อีก
ตน้ หนง่ึ แลว้ โหนตวั เขา้ มา ครงั้ ท่ี ๑-๒ มนั ยงั ไมท่ ำ� อะไร พอโหนตวั
ครงั้ ท่ี ๓ มันโหนตวั อยา่ งแรง พร้อมกับวางต้นไผ่ มันหวงั วา่ จะ
กดั คอเราใหไ้ ด้ พอดขี า้ พเจา้ กก็ ำ� หนดจติ ตง้ั ไวแ้ ลว้ พอผกี องกอย
กระโดดมา กไ็ ดก้ ำ� หนดจติ ปะทะเอาไว้ ผกี องกอยกลวั รอ้ งเสยี งหลง
แลว้ หนไี ป ในขณะนั้นจติ กถ็ อนออกจากสมาธมิ าพอดี
เม่อื จับได้ไฟฉาย กล็ ุกตามออกไปดู กไ็ มม่ อี ะไร จากนั้น
มาผีกองกอยไม่มาร้องในที่นั้นอีกเลย ในคืนหน่ึงผีกองกอย
ร้องอยูไ่ กล ก็ร้อู ย่วู ่าผกี องกอยจะมาทางน้ี ขา้ พเจ้าก็ไปดกั ทาง
เอาไว้ เมื่อร้องเข้ามาใกล้ๆ ขา้ พเจ้าแลว้ ก็หยดุ ร้องไป ฉายไฟหา
๒๖๒ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
ตัวผีกองกอยแต่ก็ไม่เจอ ในวันหน่ึงนายพรานเขาเล่าให้ฟังว่า
ผีกองกอยเป็นในลักษณะเหมือนกับลิง แต่ก็หายตัวได้ จะฆ่า
อย่างไรก็ไมต่ าย ในวนั หนงึ่ นายพรานเขา้ ไปดักยิงววั ปา่ แตไ่ ม่ได้
อะไร กอ่ นออกจากดงใหญม่ า เหน็ ลงิ ใหญต่ วั หนง่ึ นายพรานกย็ งิ
เพอื่ จะเอามากนิ ลงิ กต็ กลงมา นายพรานกเ็ อาเชอื กมดั รอบ ๔ ขา
พนั ใหแ้ นน่ แลว้ คอนมา กอ่ นจะออกจากดงใหญ่ ลงิ ตวั นนั้ กถ็ อดมอื
ออกจากเชอื กแลว้ ตะปบกน้ มาเรอื่ ยๆ นายพรานกไ็ มส่ นใจ ตะปบ
ก้นแรงขึ้นๆ จนผิดสังเกต แล้วหันไปดูลิง ท่ีไหนได้มันไม่ใช่ลิง
เสียแล้ว มันเปน็ ผีกองกอยเสยี แล้ว รอ้ งเสียงหลง พรอ้ มกบั โยน
ทิง้ ไป เชือกท่ีมดั ขาไวอ้ ย่างแนน่ ไม่มคี วามหมายอะไร ดตู าแดง
แยกเขย้ี ว จะวงิ่ มากดั นายพรานกว็ งิ่ หนดี ว้ ยความกลวั ผกี องกอย
ผเู้ ฒา่ เลา่ ใหฟ้ งั วา่ ถา้ มนั จะกนิ คนจะมเี สยี งรอ้ งคำ� หนงึ่ วา่ กกั๊ ถา้
มนั รอ้ งธรรมดาจะรอ้ งวา่ กองกอยๆๆ เสยี งเยน็ มาก ถา้ มนั รอ้ งไปมี
กก๊ั ลงท้ายแล้ว มันจะได้กนิ คนแนน่ อน เช่น รอ้ งว่า กองกอยๆๆ
กกั๊ ถา้ เปน็ เสยี ง กก๊ั ตอ่ ทา้ ย อยา่ ไปนอนอยา่ งเดด็ ขาด เตรยี มผา้
อุดกน้ เอาไวก้ แ็ ล้วกัน
พรรษาท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๐๗
ในพรรษาท่ี ๔ น้ี ได้มาจ�ำพรรษาอยู่วัดอรัญญบรรพต
กับหลวงปู่เหรียญ วรลาโภ ในพรรษานี้ การภาวนาปฏิบัติมี
ความก้าวหน้าเปน็ อยา่ งดี เพราะมีอุบายธรรม คือ อิทธิบาท ๔
เปน็ ทร่ี องรบั ในการปฏบิ ตั ขิ องตวั เอง คำ� วา่ ฉนั ทะ คอื ความพอใจ
นี้เป็นข้อสังเกตดูใจได้เป็นอย่างดี เรามีการพิจารณาในธรรม
หมวดใด กต็ ้องดูใจตวั เองก่อนวา่ ความพอใจมีในใจเรามากน้อย
แคไ่ หน ถา้ ฉนั ทะความพอใจมนี อ้ ย กต็ อ้ งใชว้ ธิ ปี ลอบใจตวั เองให้
เกดิ ขน้ึ เพราะความพอใจนนั้ จะเปน็ ฐานรองรบั ใหก้ บั ความขยนั
หมน่ั เพยี ร จะท�ำให้ใจมีความเข้มแขง็ จรงิ จงั ในการปฏบิ ตั ธิ รรม
มคี วามฝกั ใฝใ่ นความเพยี รสมำ�่ เสมอ มคี วามตง้ั ใจ ใชค้ วามพยายาม
อยา่ งต่อเนื่อง
๒๖๔ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ฉนั ทะยงั เปน็ ดาบสองคมได้ ถา้ รจู้ กั ใชก้ เ็ ปน็ คณุ ถา้ ไมร่ จู้ กั
ใช้ก็เปน็ โทษได้ เช่น ฉนั ทะ ความพอใจ ถา้ อยกู่ บั คนพาล ก็จะ
เอาความพอใจนไ้ี ปทำ� ในทางผดิ ศลี ผดิ ธรรมได้ ไปฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์
ประพฤติในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดค�ำหยาบ พูดส�ำราก
เพอ้ เจอ้ และพอใจในการกินเหล้าเมายาได้ นี้เรยี กว่าเอาฉันทะ
ความพอใจไปใชใ้ นทางทผี่ ดิ การทำ� อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ กลมุ่ ของคนพาล
ถ้านักปราชญ์น�ำเอาฉันทะความพอใจไปใช้ ก็จะเป็นไปในทาง
ท่ดี ี มีประโยชน์กับตวั เอง และประโยชน์คนอนื่ ฉะนัน้ ผูจ้ ะน�ำ
ฉันทะมาใช้ ตอ้ งเป็นผ้มู ีสตปิ ัญญาทด่ี ี มีเหตุผล รวู้ ่าสิง่ ใดควรท�ำ
และไมค่ วรทำ� เปน็ ผมู้ คี วามละอายในบาปอกศุ ล เปน็ ผมู้ คี วามเหน็
ในทางสจุ รติ ยุตธิ รรม
ฉนั ทะความพอใจ ใหเ้ ปน็ ไปในสัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ
จงึ จะเปน็ ไปในทางทถ่ี กู ตอ้ งเปน็ ธรรม จะนำ� ไปสคู่ วามสขุ ความเจรญิ
ไม่ว่าในทางโลกหรือในทางธรรม ย่อมน�ำไปสู่ในทางที่ดีท้ังน้ัน
ถ้าเอาฉันทะไปบวกกับมิจฉาทิฏฐิความเห็นผิดเมื่อไร ก็จะเกิด
เปน็ ทกุ ขโ์ ทษภยั แกต่ วั เอง และทำ� ใหค้ นอนื่ เดอื ดรอ้ นไปดว้ ย หรอื
เอาฉนั ทะไปบวกกบั ความอยาก ความอยากนนั้ มใิ ชจ่ ะดที ง้ั หมด
และชวั่ ทงั้ หมด ความอยากฝา่ ยดกี ม็ ี เชน่ อยากไหวพ้ ระสวดมนต์
พรรษาที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๐๗ ๒๖๕
อยากรกั ษาศลี อยากภาวนาปฏบิ ตั ิ หรอื อยากทางทดี่ มี มี ากมาย
นี่เรียกว่าเป็นความอยากของผู้มีศีลมีธรรมประจ�ำใจ ถ้าเป็น
ความอยากของผู้ทุศีลทุธรรม ฉันทะความพอใจก็จะเป็นไปใน
ทางบาปอกุศล เปน็ ความอยากฝ่ายตำ�่ ของหมู่คนพาลทัง้ หลาย
ฉะนั้น ต้องเป็นผู้มีปัญญารอบรู้ว่าอะไรควร อะไรไม่ควร ผู้มี
ปญั ญาดีจะร้วู ิธีเลอื กเอาได้
วริ ยิ ะ หมายถงึ ความเพยี รพยายาม นกี้ เ็ ชน่ กนั ความเพยี ร
ของนักปราชญ์ก็เปน็ อีกอย่างหนึ่ง ความเพียรของคนพาลก็เป็น
อีกอย่างหน่ึง ความเพียรจะผิดจะถูกได้ก็ขึ้นอยู่กับความเห็น
ถา้ มคี วามเหน็ ถกู ความเพยี รกถ็ กู ถา้ มคี วามเหน็ ผดิ ความเพยี รก็
ผดิ ไปดว้ ย ทเ่ี รยี กวา่ สมั มาวายามะ คอื ความเพยี รทถ่ี กู เพยี รทำ� ใน
ทางทเ่ี ปน็ ศลี เปน็ ธรรม เพยี รในการบำ� เพญ็ กศุ ล ใหเ้ ปน็ ไปในทาง
สจุ รติ ทน่ี กั ปราชญเ์ จา้ สรรเสรญิ ถา้ มคี วามเพยี รทเ่ี ปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ
ความเหน็ ผดิ จงึ เรยี กวา่ มจิ ฉาวายามะ เปน็ ความเพยี รผดิ เพยี รทำ�
ทางกายกผ็ ดิ เพยี รพดู ทางวาจากผ็ ดิ และความเพยี รทางใจกผ็ ดิ
ไปดว้ ย จงึ เปน็ ความเพยี รของหมคู่ นพาลสนั ดานชวั่ เปน็ ความเพยี ร
ทเ่ี หน็ แกต่ วั ขอใหไ้ ดส้ มใจในความอยากของตวั เอง คนอนื่ จะเปน็
อย่างไรก็ไม่มีน�้ำใจแก่คนอ่ืน เป็นความเพียรท่ีไม่เป็นธรรมแก่
๒๖๖ อตั โนประวัติ ภาค ๑
คนอ่นื เลย
ฉะนน้ั วริ ยิ ะ ความเพยี ร จงึ มีความเชอื่ มโยงกันกบั ฉันทะ
ความพอใจ ถา้ ความพอใจในทางทถ่ี กู ตอ้ ง ความเพยี รกม็ คี วามถกู ตอ้ ง
เช่นกัน ถ้าความพอใจไปในทางที่ผิด ความเพียรก็ผิดไปด้วย
ฉะนนั้ ตอ้ งฝกึ ปญั ญาขนึ้ มาเพอ่ื ความรอบรวู้ า่ ความเพยี รเราเปน็
ไปในทางทผี่ ดิ หรอื เปน็ ไปในทางทถี่ กู ปญั ญาตอ้ งรอบรู้ แลว้ เลอื ก
เอาในความเพยี รทถ่ี กู ตอ้ งเทา่ นน้ั ถา้ มคี วามเพยี ร แตไ่ มม่ ปี ญั ญา
เป็นเคร่ืองรอบรู้เอาไว้ อาจเป็นความเพียรที่ผิดไปโดยไม่รู้ตัว
ถ้ามปี ญั ญาประกอบความเพยี รอยู่ ก็จะนำ� ไปสู่ความเจรญิ ยิ่งๆ
ข้ึนไป
จติ ตะ เอาใจฝกั ใฝใ่ นสงิ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ใหเ้ ปน็ ไปในศลี ธรรมอนั
ดงี าม ถา้ ฝกั ใฝใ่ นทางทผี่ ดิ ศลี ผดิ ธรรม กจ็ ะเปน็ บาปอกศุ ลเกดิ ขนึ้
ในตวั เอง ฉะนน้ั ความฝกั ใฝจ่ งึ เปน็ ดาบสองคมไดเ้ ชน่ กนั ผปู้ ฏบิ ตั ิ
ต้องเลือกความฝกั ใฝ่ใหถ้ ูกทาง ถ้าฝักใฝ่ไปตามความอยากของ
กิเลสตัณหา ก็จะพาให้ใจตกต่�ำไปได้ ต้องดูใจของตัวเองให้ได้
ใช้ปัญญาพิจารณาในเหตุผลว่า ถ้าฝักใฝ่ไปในทางที่ไม่ดี ก็ให้
รีบถอนตัว ถ้าฝักใฝ่ไปในทางท่ีดี ก็ให้มีฉันทะความพอใจใน
สิ่งนั้นให้มากข้ึน และมีความเพียรพยายามฝักใฝ่ในทางท่ีดีให้
พรรษาที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๐๗ ๒๖๗
ต่อเนือ่ ง ต้องเลือกความฝักใฝใ่ หเ้ ปน็ อยา่ เห็นว่าสงิ่ นน้ั ถูกใจเรา
เพยี งอย่างเดียวไมไ่ ด้ เพราะความถูกใจจะทำ� ใหผ้ ิดศีลผดิ ธรรม
ไปได้ ตอ้ งใชเ้ หตผุ ลมาประกอบกบั การตดั สนิ ใจ ใชป้ ญั ญาพจิ ารณา
ให้รูเ้ ห็นว่าความฝักใฝอ่ ยา่ งนน้ั ผิด ความฝกั ใฝอ่ ย่างน้ันถกู ถ้ารู้
ในความฝักใฝ่ท่ีผิดถูกได้แล้ว เราก็จะเลือกเอาในความฝักใฝ่
ในทางทถ่ี ูกได้
วิมังสา หม่นั ตรติ รองพจิ ารณาอยู่เสมอวา่ อะไรควร อะไร
ไม่ควร เช่น ฉันทะ ความพอใจ ก็ต้องใช้ปัญญามาตริตรองว่า
ความพอใจอยา่ งนผี้ ดิ หรอื ถกู วริ ยิ ะ ความเพยี รพยายามในทางผดิ
หรือถกู ช่วั หรือดอี ย่างไรเรากจ็ ะไดร้ ูเ้ หน็ จิตตะ ความฝกั ใฝ่เป็น
ไปในทางไหน กจ็ ะไดเ้ ขา้ ใจวา่ ความฝกั ใฝน่ นั้ ดชี วั่ อยา่ งไร กจ็ ะใช้
วมิ ังสาตริตรองให้รูเ้ หน็ เพือ่ จะไดเ้ ลอื กในทางตรติ รองใหถ้ กู ศีล
ถกู ธรรมได้ ถา้ ตรติ รองเป็นไปในสังขาร ก็จะเกดิ การปรงุ แต่งไป
ตามสมมตทิ ั้งหลายไปโดยไม่รู้ตวั
การตรติ รองเปน็ ตวั ปญั ญา อกี อยา่ งหนง่ึ เรยี กวา่ โยนโิ สมนสกิ าร
พิจารณาให้รู้แจ้งเห็นจริงด้วยเหตุและผลจนเกิดความแยบคาย
หากมคี วามสงสยั วา่ ความแยบคายจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไร ความหายสงสยั
ในสงิ่ นนั้ ๆ เปน็ ตวั ตดั สนิ ถา้ ยงั ไมห่ ายความสงสยั กแ็ สดงวา่ ยงั ไม่
๒๖๘ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
เกดิ ความแยบคายภายในใจ ฉะนน้ั การตรติ รองกค็ อื การสำ� รวจ
ความผดิ และความถกู ทง้ั สองอยา่ งนม้ี คี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
ต้องใช้ปัญญาพิจารณาตริตรองอยู่บ่อยๆ ถ้าพูดธรรมดาก็คือ
ความขยันคิดน่ันเอง ถ้ามีความหมั่นขยันคิดพิจารณาในส่ิงใด
ความเข้าใจในสงิ่ น้ันกจ็ ะเกดิ ความชัดเจนมากข้นึ
คำ� วา่ ตรติ รอง หมายถงึ การขยายหรอื กระจายออกเพอื่ จะ
ให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น เพราะสัจธรรมทั้งหลายยังเกาะกัน
เป็นกลุ่ม เรียกว่า ฆนะ แปลว่าก้อน เช่น ก้อนรูปธรรม ก้อน
นามธรรม แตล่ ะกอ้ นมคี วามเปน็ อนจิ จงั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร
ก้อนทุกขงั มีความเปน็ อย่ทู นไดย้ ากอย่างไร กอ้ นอนตั ตา สงิ่ ท่ี
หมดสภาพไปเป็นอย่างไร ถ้าเราแยกออกดูแล้วจะรู้เห็นชัดใน
สงิ่ เหล่านั้น
ฉะนน้ั วมิ งั สา กค็ ือปัญญาน่ันเอง จึงเรียกวา่ ดำ� รติ ริตรอง
ในสง่ิ นน้ั ๆ อยเู่ สมอ งานทกุ ประเภท จะเปน็ งานทางโลกหรอื งาน
ในทางธรรม ก็ใช้การตริตรองมาเป็นหลักวินิจฉัย วิเคราะห์
ใครค่ รวญ ใหร้ ถู้ งึ เหตผุ ลและปจั จยั ในสง่ิ นน้ั ๆ ถา้ ขาดการตรติ รอง
แล้วท�ำไปพูดไป จะท�ำให้การท�ำผิดพูดผิดไปโดยไม่ได้ต้ังใจ
ผลเสียหายก็จะเป็นผลตามมา ก็จะเกิดเป็นปัญหาในส่ิงท่ีเรา
พรรษาท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๐๗ ๒๖๙
ไม่ต้องการ ฉะนั้น การตริตรองไว้ก่อนท�ำ ตริตรองไว้ก่อนพูด
ผลทจี่ ะเกดิ ความเสียหายแทบไมม่ เี ลย
จงึ นบั ไดว้ า่ ในพรรษานไี้ ดใ้ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาในอทิ ธบิ าท ๔
มีความสอดคล้องกันเป็นอย่างดี เพราะธรรมทั้ง ๔ ข้อน้ีมี
ความเกย่ี วโยงซง่ึ กนั และกนั จงึ เปน็ หลกั สำ� คญั ทถี่ กู กบั จรติ นสิ ยั
ของตวั เอง ในอทิ ธบิ าท ๔ นี้ มีอยู่ในโพธปิ กั ขยิ ธรรม ๓๗ โดย
แยกออกเปน็ ๗ หมวดดงั น้ี คือ สติปฏั ฐาน ๔ สมั มัปปธาน ๔
อทิ ธบิ าท ๔ อนิ ทรยี ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘ ทุกขอ้
ทุกหมวดเปน็ ธรรมท่สี ำ� คญั ดว้ ยกนั ท้ังนน้ั เปน็ ธรรมทเี่ กอื้ กูลซงึ่
กันและกัน ใครมีนิสัยตั้งอยู่ในธรรมหมวดใดหมวดหนึ่งได้แล้ว
ก็จะโยงเข้าหากันท้ังหมด เหมือนห่วงสายโซ่อยู่ในเส้นเดียวกัน
เมอื่ จบั หว่ งโซอ่ นั ใดอนั หนง่ึ ไดแ้ ลว้ หว่ งโซอ่ นื่ ๆ กจ็ ะไหลไปดว้ ยกนั
ทัง้ หมด
ในโพธิปกั ขยิ ธรรมทั้ง ๗ หมวด มี ๓๗ ขอ้ น้ี จะมีขอ้ ธรรม
ขอ้ หน่งึ เปน็ ประธาน นนั้ คอื สมั มาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ปญั ญา
ความเหน็ ชอบน้ีเองจึงเป็นสง่ิ สำ� คญั ย่ิง ดังทีพ่ ระพทุ ธเจ้าได้ตรสั
ไวว้ ่า ดกู ่อนภิกษทุ ้ังหลาย บรรดารอยเทา้ สัตวท์ งั้ หลายยอ่ มมา
รวมลงในรอยเทา้ ชา้ งแหง่ เดยี ว นฉ้ี ันใด ภกิ ษทุ งั้ หลาย บรรดา
๒๗๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
ธรรมท่ีจะน�ำไปสู่มรรคผลนิพพานอันเราตถาคตได้ตรัสไว้ชอบ
แล้ว ย่อมมารวมลงสู่สัมมาทิฏฐิปัญญาความเห็นชอบน้ีท้ังน้ัน
ฉะน้นั สัมมาทิฏฐปิ ญั ญาความเห็นชอบนี้ จึงเป็นหลักเริ่มต้นใน
การปฏบิ ตั ธิ รรม ถา้ เรม่ิ ตน้ ในสมั มาทฏิ ฐปิ ญั ญาความเหน็ ชอบเปน็
หลกั ยนื ตวั เอาไว้ เรยี กวา่ เปน็ ประธานใหแ้ กห่ มวดธรรมทง้ั หลาย
สัมมาสังกัปโป การด�ำริพิจารณาให้ถูกต้องชอบธรรม
กต็ อ้ งดำ� รจิ ากความเหน็ ชอบ สมั มาวาจา การเจรจาชอบ กม็ าจาก
ปัญญาความเห็นชอบ สัมมากัมมันโต การงานชอบ ก็มาจาก
ปญั ญาความเหน็ ชอบ สัมมาอาชโี ว การเลยี้ งชวี ติ ชอบ กม็ าจาก
ปัญญาความเห็นชอบ สัมมาวายาโม ความเพยี รชอบ ก็มาจาก
ปัญญาความเห็นชอบ สัมมาสติ มีความระลึกชอบ ก็มาจาก
ปญั ญาความเหน็ ชอบ สมั มาสมาธิ ความสงบทชี่ อบ กม็ าจากปญั ญา
ความเห็นชอบน้ที ้งั น้ัน ฉะนน้ั สัมมาทิฏฐปิ ญั ญาความเหน็ ชอบ
นี้จงึ เปน็ หลักเรม่ิ ตน้ ทสี่ �ำคัญยงิ่ การปฏบิ ัตินัน้ ถ้าตัง้ หลกั ปัญญา
ความเห็นชอบไวต้ รงแลว้ การปฏบิ ัติในธรรมหมวดอ่ืนๆ ก็ตรง
ไปดว้ ย
ฉะนน้ั ในพรรษานี้ การภาวนาปฏบิ ตั จิ งึ มคี วามกา้ วหนา้ เปน็
อยา่ งดีทีเดียว ขา้ พเจ้าเองได้ความรู้ได้ขอ้ คดิ จากหลวงปู่เหรยี ญ
พรรษาท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๐๗ ๒๗๑
มากมาย เพราะหลวงปู่ท่านมีความขยันอบรมธรรมะ ไม่ว่า
พระเณรหรือฆราวาส หลวงปู่จะให้ความเมตตาเท่าเทียมกัน
หรือเรียกว่าเป็นผู้มีความเมตตาสูง และมีความเมตตาทั่วไป
ถงึ วยั ของหลวงปู่จะแก่ ท่านก็พยงุ สงั ขารไปแสดงธรรมอย่เู สมอ
เรียกว่าเป็นพระมหาเถระองค์หน่ึงท่ีเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้
มากทีส่ ดุ ในยคุ น้ี จงึ มีประชาชนทั่วประเทศไทยใหค้ วามเคารพ
เช่ือถือ จึงขอกราบคารวะหลวงปไู่ ว้ในทน่ี ้ีด้วย
๒๗๒
๒๗๓
กราบลาหลวงป่ไู ปธดุ งค์ใน
ที่ต่างๆ
เม่ือออกพรรษา รับกฐินเสร็จเรียบร้อยแล้ว ได้กราบลา
หลวงปู่เหรียญออกธุดงค์ในที่ต่างๆ ต่อไป โดยตั้งใจว่าจะไป
ภาวนาปฏบิ ตั อิ ยทู่ คี่ ำ� ชะโนด ในเขตหมบู่ า้ นวงั ทอง อำ� เภอบา้ นดงุ
มเี ณรองคห์ นงึ่ ตดิ ตามไปดว้ ย เดนิ ทางไปเรอ่ื ยๆ คำ�่ ทไ่ี หนนอนทนี่ นั่
เดนิ ออกจากอำ� เภอศรเี ชยี งใหม่ ผา่ นอำ� เภอทา่ บอ่ บา้ นหนองสองหอ้ ง
เข้าเขตอ�ำเภอเพ็ญ ได้พักนอนในท่ีต่างๆ หลายแห่ง จึงมาถึง
วัดรา้ งแหง่ หนงึ่ มคี นเรียกวา่ วัดปา่ พระนาไฮ อ�ำเภอเพ็ญ ในที่
แหง่ นม้ี ผี ดี มุ าก พระกรรมฐานหลายองคไ์ ปพกั ในทแี่ หง่ นี้ อาจจะ
ไปบ่นคาถาอะไรก็ไม่รู้ มีเปรตท่ีเขารักษาสมบัติในวัดร้างแห่งนี้
๒๗๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ไม่พอใจ มเี ปรตนอนทบั ตัวบา้ ง ดงึ ขาบา้ ง ไมไ่ ด้หลับนอนตอ้ ง
แบกกลดสะพายบาตรหนีไปในกลางคนื เพราะทแี่ ห่งน้มี สี มบัติ
เกา่ แกใ่ นโบสถ์รา้ งนั้นมาก
ขา้ พเจ้าก็เขา้ ไปนอนอยใู่ นโบสถร์ ้างน้นั แผ่เมตตาด้วยใจ
อนั บริสุทธใ์ิ ห้แกพ่ วกเปรตทัง้ หลาย ในคืนที่ ๑-๒ ไมม่ อี ะไร ใน
คนื ที่ ๓ ผเี ปรตมาแสดงตวั ใหเ้ หน็ เปน็ ในลกั ษณะตวั ใหญด่ ำ� ทะมนึ
เข้ามายืนดูข้าพเจ้าอยู่ ก็แผ่เมตตาให้เขา และบอกเขาไปว่า
ข้าพเจ้ามาอยู่ในที่นี่ ไม่มีเจตนาจะมาหาสมบัติอะไร ตั้งใจมา
ภาวนาปฏิบตั เิ พือ่ ให้เป็นไปในมรรคผลนพิ พานเทา่ นัน้ จากนัน้
ผีเปรตก็หายตัวไป ภายใน ๓ วันต่อมาผีเปรตก็มาปรากฏให้
เหน็ อกี มาในครงั้ นแ้ี สดงความเคารพโดยวธิ ปี ระนมมอื ไหว้ แลว้
ถามผีเปรตไปว่า มาอยู่ในทน่ี ้ที �ำไม ผีเปรตตอบวา่ ห่วงสมบัตทิ ี่
ฝงั อยใู่ ต้แท่นพระประธานน้ี ถามต่อ ทำ� ไมจงึ ไม่ไปเกดิ ละ่ เปรต
ตอบว่า ไปยังไมไ่ ด้ กลัวมนษุ ยจ์ ะมาขดุ เอาสมบตั ิไป เปรตพดู วา่
ถ้าท่านจะใหผ้ มไปเกดิ ผมจะยกสมบัติท่ีมอี ย่ทู ้งั หมดให้แกท่ า่ น
จะเอาไหม กบ็ อกผเี ปรตไปว่า อาตมาไม่เอาสมบตั ิอะไรเลยใน
โลกน้ี มนั จะเปน็ ภาระในการดแู ลรกั ษา มแี ตต่ งั้ ใจภาวนาปฏิบตั ิ
เพื่อมรรคผลนพิ พานเทา่ นนั้
กราบลาหลวงปู่ไปธุดงค์ในทตี่ า่ งๆ ๒๗๕
จากน้ันผีเปรตก็หายไป เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิ
ก็พิจารณาดูว่าผีเปรตน้ีไม่เป็นศัตรูกับเรา จากนั้นก็ให้เณร
และฆราวาส ๓ คนท�ำความสะอาดในโบสถ์นั้นให้เรียบร้อย
มีบาตรโบราณลูกหน่งึ ตั้งอยู่หนา้ พระประธาน เมือ่ ไปดใู นบาตร
มีเงินเหรียญอยู่ครึ่งบาตร ให้โยมนับดูมีเงิน ๕๐๐ กว่าบาท
กบ็ อกโยมเอาไปซอื้ ยาแกโ้ รค ซอ้ื นมมาให้ โยมเขาไมก่ ลา้ เอาเงนิ
ไปกลัวจะตาย ก็ขู่โยมไปว่าเอาไปเถอะ เงนิ นี้เขาเอามาถวายต่อ
อาตมา อาตมาจะรบั ผดิ ชอบในเงนิ นที้ ง้ั หมด เขยี นรายการซอ้ื ของ
ให้แล้ว เขาก็ซื้อมาตามความต้องการ โยมท่ีมาน้ันก็ไปเล่าให้
ชาวบ้านฟัง โยมทุกคนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าพระอาจารย์ทูล
ตอ้ งตายแน่นอน เพราะผเี ปรตนดี้ ุมาก เขาหาร้ไู ม่ว่าผีเปรตนั้น
มีความเคารพในตัวข้าพเจ้า เมื่อรู้แล้ว เจ้าคณะต�ำบลและโยม
จำ� นวนมาก พากนั มานมิ นตใ์ หอ้ ยวู่ ดั นตี้ อ่ ไป และพรอ้ มใจกนั จะยก
วดั แหง่ นใี้ หแ้ กข่ า้ พเจา้ ดว้ ย แตข่ า้ พเจา้ ไมร่ บั เพราะมคี วามประสงค์
จะออกธดุ งคไ์ ปเรอื่ ยๆ ไมอ่ ยากเปน็ ภาระรบั ผดิ ชอบในการสรา้ งวดั
แต่อย่างใด
๒๗๖
นมิ ติ เหน็ มหาสมทุ รอัน
กว้างใหญ่
ในคืนหนึ่ง เมื่อเข้าสมาธิได้ท่ีแล้ว ปรากฏเห็นภาพนิมิต
เปน็ แมน่ ำ้� มหาสมทุ รสดุ สาครอนั กวา้ งใหญ่ มองสดุ สายตา มคี นั คู
ด้านหนึ่งกันเอาไว้ เป็นคันคูขนาดใหญ่ ทอดยาวประมาณ ๔
กิโลเมตร มีมหาชนเป็นจ�ำนวนมากหลายล้านคน มาแออัดกัน
อยรู่ มิ ฝง่ั มหาสมทุ รนนั้ อยา่ งหนาแนน่ ทเี ดยี ว พรอ้ มกบั มคี ลนื่ นำ�้
ขนาดใหญ่ในมหาสมุทรซัดเข้ามาหาฝั่ง ดังสนั่นหวั่นไหวอยู่
ตลอดเวลา ในขณะนนั้ มเี สยี งประกาศวา่ พวกทา่ นทง้ั หลาย ใคร
มคี วามประสงค์จะขา้ มมหาสมุทรไปฝั่งโนน้ ได้ ถา้ ขา้ มไปไดแ้ ล้ว
ไม่ต้องกลับมาเกิดในมนุษยโลกนี้อีก มีเสียงประกาศอยู่อย่างน้ี
๒๗๘ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ตอ่ เนอ่ื งกนั ในขณะนนั้ มคี นอกี กลมุ่ หนง่ึ อยากจะขา้ มมหาสมทุ ร
ไป กพ็ ากันกระโดดลงน�ำ้ เพ่อื จะลอยไป กถ็ ูกคลน่ื นำ้� มหาสมุทร
ขนาดใหญซ่ ดั ทอดเขา้ หาฝง่ั แลว้ ตงั้ ใจกระโดดใหม่ คลน่ื มหาสมทุ ร
ก็ซัดทอดเข้าฝั่งอีก ในขณะนั้นยังไม่เห็นใครๆ ลอยผ่านคลื่น
มหาสมทุ รไปไดเ้ ลยแมแ้ ตค่ นเดยี ว บางคนดมู ลี กั ษณะเหนด็ เหนอื่ ย
ออ่ นเพลยี มาก เพราะถกู คลน่ื มหาสมทุ รตเี ขา้ ฝง่ั อยา่ งแรง บางคน
ก็นอนด้วยความเมื่อยล้า นอนแผ่หลาอยู่ตามฝั่งมหาสมุทร
บางคนกน็ ง่ั กอดเขา่ ดนู ำ�้ มหาสมทุ รแบบหมดอาลยั หลายๆ คนท่ี
ถูกคลื่นมหาสมทุ รซดั ทอดข้นึ ฝ่ัง ดแู ล้วเหมือนหมดกำ� ลังใจที่จะ
ลอยขา้ มมหาสมุทรนไี้ ป มแี ตน่ ั่งๆ นอนๆ เดินไปมา เหมอื นกบั
นึกคิดในใจว่าในชาติน้ีเราคงข้ามมหาสมุทรไปฝั่งโน้นไม่ได้แล้ว
คนสว่ นใหญไ่ มส่ นใจทจี่ ะขา้ มกระแสไปฝง่ั นนั้ เลย พากนั เดนิ เลน่
ดเู ขากระโดดนำ้� เทา่ นน้ั ถงึ จะมเี สยี งประกาศเขากไ็ มส่ นใจ เพยี งยนื
ดคู นอน่ื เขาเทา่ นน้ั คนทงั้ หลายมที กุ เพศทกุ วยั หม่ เหลอื ง หม่ ขาว
และคนธรรมดา พากนั แออดั อยตู่ ามฝง่ั มหาสมทุ รนน้ั เพอื่ จะขา้ ม
ไปฝง่ั โน้นให้ไดส้ มใจ
ข้าพเจ้าไดน้ ัง่ ดฝู ูงชนเหลา่ นี้อยู่ ทง้ั ไดย้ ินเสียงประกาศว่า
ถ้าใครลอยขา้ มมหาสมทุ รไปฝงั่ โน้นไดแ้ ลว้ จะไม่ไดก้ ลับมาเกิด
นิมิตเห็นมหาสมทุ รอันกว้างใหญ่ ๒๗๙
ในโลกมนษุ ยอ์ กี เพยี งเทา่ นกี้ เ็ กดิ มกี ำ� ลงั ใจขนึ้ มาวา่ คลน่ื มหาสมทุ ร
เท่าน้ี เรามีก�ำลังพอท่ีจะลอยข้ามให้ถึงฝั่งโน้นได้อย่างแน่นอน
ในขณะนั้นข้าพเจ้าได้ลุกเดินไป และมีความมั่นใจในตัวเองว่า
ข้ามไปได้แน่นอน จึงแหวกฝูงชนมหาชนไปยืนอยู่ริมฝั่ง แล้ว
ยกมืออธิษฐานว่า บัดนี้ข้าพเจ้าจะข้ามกระแสมหาสมุทรน้ีไป
ฝั่งโนน้ บารมที ่ีขา้ พเจา้ ได้บ�ำเพญ็ มาแลว้ ในชาติอดตี และบารมี
ทข่ี า้ พเจา้ ไดส้ รา้ งในชาตปิ จั จบุ นั ขอจงเปน็ พละกำ� ลงั ใหข้ า้ พเจา้
ได้ว่ายขา้ มมหาสมุทรนไี้ ปใหถ้ งึ ฝงั่ โน้นด้วยเถิด
เมอื่ อธษิ ฐานจบแลว้ กก็ ระโดดออกไปอยา่ งเตม็ แรง เหมอื นตวั
ขา้ พเจ้าได้เหาะลอยไปไกลประมาณ ๔๐ เมตร ในเมือ่ หนา้ อก
จะแตะกับพื้นน้�ำน้ัน ก็ปรากฏว่ามีสัตว์ชนิดหน่ึง ไม่รู้ว่าเป็น
สตั วอ์ ะไร จะเปน็ ปลาหรอื เปน็ ควายกนั แน่ ไดเ้ อาหลงั เขามาหนนุ
หนา้ อกของขา้ พเจา้ เอาไว้ เมอ่ื หนา้ อกลงตดิ กนั กบั หลงั สตั วเ์ ทา่ นน้ั
ความดดู กนั ระหวา่ งหนา้ อกกบั หลงั สตั วด์ ดู กนั แนน่ ทเี ดยี ว จากนน้ั
สัตว์ก็พาข้าพเจ้าลอยแหวกคล่ืนน้�ำมหาสมุทรไปอย่างรวดเร็ว
ข้าพเจ้าก็ใช้มือว่ายน้�ำไปด้วยกัน และใช้ขาใช้เท้าถีบยันน�้ำไป
อยา่ งแรง
ในขณะน้ันมีคลื่นมหาสมุทรขนาดใหญ่ตีมาอย่างรุนแรง
๒๘๐ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ข้าพเจ้าก็ใช้ก�ำลังท่ีมีอยู่พร้อมทั้งสัตว์ท่ีหนุนอยู่ท่ีหน้าอกชนกับ
คลนื่ มหาสมุทรนัน้ อยา่ งจัง ใชก้ �ำลงั แหวกฝา่ คล่นื มหาสมทุ รนัน้
ไป คล่นื มหาสมุทรไดแ้ ตกกระจายออกไปคนละดา้ น เหมอื นกบั
เรอื ขนาดใหญช่ นกบั คลนื่ มหาสมทุ รผา่ นไป เมอื่ ผา่ นคลนื่ มหาสมทุ ร
ลกู หนงึ่ แลว้ ยงั มคี ลน่ื มหาสมทุ รลกู ท่ี ๒-๓-๔-๕ มขี นาดคลน่ื ใหญ่
พอๆ กนั ซดั ทอดเขา้ มาหาตวั ขา้ พเจ้าอย่างรนุ แรง ข้าพเจา้ ก็ใช้
กำ� ลงั แหวกคลน่ื มหาสมทุ รนนั้ ไป จากนน้ั กไ็ ดม้ าเจอคลนื่ มหาสมทุ ร
ที่ ๖ คล่ืนที่ ๖ น้ีไม่เหมือนคลื่นท่ีผ่านมา เป็นในลักษณะเป็น
คลน่ื ใหญ่ มคี วามกระเพอื่ มตเี ขา้ หากนั ไปมาอยา่ งรนุ แรง มบี รเิ วณ
กวา้ งขวางทเี ดยี ว ขา้ พเจา้ กใ็ ชก้ ำ� ลงั แหวกวา่ ยฝา่ คลนื่ มหาสมทุ ร
นั้นไปได้ โดยไม่มีความเหน็ดเหนื่อยเม่ือยล้าแต่อย่างใด ยังมี
กำ� ลงั ใจทไ่ี ปถงึ ฝง่ั โน้นให้ไดต้ ามความตง้ั ใจ
เมื่อได้ว่ายน้�ำมาถึงกลางมหาสมุทรอันกว้างใหญ่นี้แล้ว
มองไปหาฝั่งที่ไหนไม่เจอเลย มีแต่ความเวิ้งว้าง ฟ้าจรดน้�ำอัน
กวา้ งไกล ในขณะนนั้ ไดว้ า่ ยนำ้� ไปเรอ่ื ยๆ แลว้ มองเหน็ เกาะขนาดใหญ่
กลางมหาสมทุ รน้นั ไกลจากตวั ขา้ พเจา้ ไปประมาณ ๘ กโิ ลเมตร
แลว้ มเี สยี งประกาศบอกมาวา่ อยา่ เขา้ ไปใกลเ้ กาะนนั้ นะ ถา้ เขา้ ไป
ใกลจ้ ะถกู กระแสนำ้� วนดดู เขา้ ไปในเกาะนนั้ ถา้ เขา้ ไปในเกาะนนั้ แลว้
นมิ ติ เห็นมหาสมุทรอันกวา้ งใหญ่ ๒๘๑
จะวา่ ยน้�ำต่อไปให้ถึงฝั่งไม่ได้เลย นอกจากจะกลับคนื สูท่ างเดมิ
เทา่ นนั้ เมอ่ื ขา้ พเจา้ ไดย้ นิ เสยี งประกาศนนั้ แลว้ กม็ คี วามระวงั ตวั
มากขึน้ เพือ่ จะไม่ใหห้ ลุดเขา้ ไปในกระแสนำ�้ ท่ไี หลวนรอบเกาะ
อยู่นั้น จากนน้ั ก็ไดว้ ่ายน้�ำหลบไปในทางด้านซ้ายมือ ถึงกระนนั้
กย็ งั ถกู กระแสนำ้� ดดู ขาขา้ งขวาอยา่ งแรง ขา้ พเจา้ กใ็ ชก้ ำ� ลงั ดดี ขา
อย่างแรง ก็สามารถหลุดออกจากกระแสน้�ำดูดน้ันออกมาได้
กระแสนำ�้ ไหลรอบเกาะนี้ จะไหลเวยี นซา้ ยวนมาดา้ นขวา มรี ศั มี
กวา้ งไกลมาก ในกระแสนำ้� วนนมี้ พี ลงั มาก เปน็ ในลกั ษณะเปน็ เกลยี ว
ถ้าใครได้หลงเข้าไปในกระแสน�้ำวนนแี้ ล้ว กจ็ ะดึงดูดหมนุ เขา้ ไป
สเู่ กาะนัน้ อย่างรวดเร็ว จะกลบั ตวั ออกมาไมไ่ ดเ้ ลย จะตดิ อยใู่ น
เกาะน้ันต่อไปชวั่ กาลนานทีเดียว
มองเหน็ ฝ่ังมหาสมุทรได้
อยา่ งชดั เจน
เมื่อข้าพเจ้าว่ายน�้ำหลบออกจากเกาะนั้นได้แล้ว ก็มี
ความต้งั ใจลอยนำ�้ ไปเรอื่ ยๆ ไม่ลดละความพยายามแต่อย่างใด
มคี วามตั้งใจไว้ว่า เม่อื เราว่ายนำ�้ ต่อไปไมห่ ยดุ ยง้ั อีกสักวันหนึ่ง
ก็จะถึงฝั่งที่จะไม่ให้เกิดอีกแน่นอน ในช่ัวขณะนั้นเอง ข้าพเจ้า
มองไปขา้ งหนา้ กส็ ามารถมองเห็นฝ่ังโน้นพอรบิ หร่ี ห่างไกลมาก
แตก่ ม็ องเหน็ ไดช้ ดั เจนทเี ดยี ว ขา้ พเจา้ เกดิ มกี ำ� ลงั ใจในชว่ งทมี่ อง
เหน็ ฝง่ั จงึ ไดร้ บี วา่ ยนำ้� ตรงไปหาฝง่ั อยา่ งรวดเรว็ เมอื่ เขา้ ถงึ ฝง่ั ได้
แล้ว สัตว์ท่ีพาข้าพเจ้าว่ายน�้ำข้ามมหาสมุทรน้ันก็ได้หายไป
ขา้ พเจา้ กไ็ ดเ้ ดนิ ขนึ้ ฝง่ั โดยลำ� พงั ในบรเิ วณนน้ั เปน็ หาดทรายลว้ นๆ
มองเห็นฝ่งั มหาสมุทรได้อย่างชดั เจน ๒๘๓
มองไปข้างหน้าไดม้ องเหน็ ตล่ิงสูงชนั อยู่
อกี พกั หนง่ึ ขา้ พเจา้ เดนิ ไปเพอื่ หาชอ่ งทางขน้ึ ไปบนตลง่ิ นนั้
กพ็ อดีเหน็ ชอ่ งทางเล็กๆ เส้นหนงึ่ เปน็ รอ่ งลกึ ขอบสงู ประมาณ
เพียงกับหัวคน เป็นเส้นทางเล็กๆ หลวมตัวพอดีๆ ในเส้นทาง
สายนม้ี รี อยคนเดนิ ไปกอ่ นแลว้ มที ง้ั รอยเกา่ และรอยใหม่ ขา้ พเจา้
คิดอยู่ในใจว่าใครกันหนอเดินไปก่อนเรา ถึงอย่างไรก็ตามคง
ได้พบกบั ทา่ นเหล่านน้ั อย่างแน่นอน เมอื่ ขา้ พเจา้ ได้เดนิ ขน้ึ ฝง่ั ที่
ลาดสูงไปได้แล้ว กม็ ีทางเลก็ ๆ ตอ่ เน่อื งกันไป ขา้ พเจา้ กเ็ ดนิ ตาม
เสน้ ทางนนั้ ไป รอยเท้าท่ีคนเดนิ ไปก่อนนน้ั กเ็ หน็ ชัดเจนมากขึ้น
และมหี ลายรอยทเี ดียว
เมอื่ เดนิ ไปไมน่ าน กเ็ ปน็ ท่เี ว้ิงวา้ งมองสดุ สายตา แล้วมอง
เหน็ ปราสาทขนาดใหญ่ชน้ั เดยี วอย่ขู ้างหนา้ ก็คดิ อย่ใู นใจว่า ผทู้ ่ี
เดนิ ไปกอ่ นเราแลว้ กค็ งพกั อยใู่ นปราสาทหลงั นแ้ี นน่ อน ขา้ พเจา้
กไ็ ดเ้ ดนิ ตรงเขา้ ไปในทป่ี ราสาทหลงั นน้ั เมอ่ื มองดอู กี ดา้ นหนงึ่ ก็
มองเหน็ ผา้ เหลอื งหลายผนื ตากเอาไว้ เมอื่ เดนิ ไปหา่ งจากปราสาท
ประมาณ ๔๐ เมตร กม็ องเหน็ พระแกๆ่ องค์หน่ึง ยืนจบั เสามอง
ข้าพเจา้ อยู่ เม่ือเดินเขา้ ไปใกล้ๆ ทา่ นก็ได้เดินออกมารบั ขา้ พเจ้า
ขา้ พเจา้ กเ็ ดนิ ตรงเขา้ ไปหาทา่ น ทา่ นกไ็ ดจ้ บั แขนขา้ พเจา้ แลว้ พดู ขนึ้
๒๘๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑
มองเหน็ ฝงั่ มหาสมุทรไดอ้ ยา่ งชัดเจน ๒๘๕
วา่ ทา่ นทลู ขา้ มมหาสมทุ รมาไดแ้ ลว้ ๆ พรอ้ มทง้ั แสดงความยนิ ดี
มีความยม้ิ แยม้ แจ่มใส กไ็ ด้พาขา้ พเจา้ เข้าไปในปราสาทหลังน้ัน
พระท่ีออกไปรับข้าพเจ้าเข้ามาในปราสาทน้ัน ก็คือ
หลวงปขู่ าว อนาลโย วดั ถำ้� กลองเพลนน่ั เอง ทา่ นกไ็ ดพ้ ดู ทกั ทาย
ขา้ พเจา้ วา่ เปน็ อยา่ งไร วา่ ยนำ้� ขา้ มกระแสมหาสมทุ รยากลำ� บาก
ไหม ข้าพเจ้าก็ตอบหลวงปู่ไปว่า ขอโอกาสหลวงปู่ ลอยข้าม
กระแสมหาสมุทรน้ันไม่ยากเลยครับ ท่านถามว่ามากันก่ีองค์
ตอบทา่ นไปวา่ มาองคเ์ ดยี วครบั ผม หลวงปถู่ ามอกี วา่ เขาเหลา่ นนั้
ไมอ่ ยากขา้ มมาหรอื ตอบวา่ ขอโอกาส เขาอยากจะมามากทเี ดยี ว
แต่ก�ำลงั เขายงั ไม่พรอ้ มทีจ่ ะข้ามกระแสมหาสมทุ รมาได้ พากนั
กระโดดลงนำ้� ทไี ร กถ็ กู คลน่ื มหาสมทุ รพดั ซดั ทอดเขา้ หาฝง่ั ดว้ ยกนั
ทกุ คน แต่พวกเขาก็ต้งั ใจ มีความพยายามกนั อย่างเตม็ ท่ี แตไ่ มร่ ู้
วา่ เขาจะขา้ มมหาสมทุ รมาไดเ้ มอื่ ไร หลวงปบู่ อกวา่ เอาผา้ ทเ่ี ปยี ก
ไปตากใหม้ ันแห้งเสีย แลว้ กเ็ ข้าไปพักในปราสาทร่วมกัน
ในขณะพดู คยุ กับหลวงป่ขู าวอยนู่ ้ัน หลวงปบู่ วั สริ ปิ ุณโฺ ณ
วัดปา่ บา้ นหนองแซง ท่านน่ังอยูอ่ กี เตยี งหนึง่ ได้ถามข้าพเจ้าว่า
เปน็ อยา่ งไร คลน่ื มหาสมทุ รลกู ใหญไ่ หม วา่ ยอยา่ งไรจงึ ตดั กระแส
คลนื่ กระแสมหาสมุทรผ่านมาได้ ก็เล่าถวายใหห้ ลวงปบู่ ัวฟังว่า
๒๘๖ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
ขอโอกาส กระผมมีความม่ันใจในตัวเองมาก ในขณะท่ีกระผม
กระโดดออกจากฝั่ง ตัวได้ลอยมาไกล เม่ือหน้าอกจะถึงพ้ืนน้�ำ
มีสัตว์ประเภทหน่ึงเอาหลังมารองรับไว้ แล้วพากระผมว่ายน้�ำ
ตัดกระแสคลื่นมหาสมุทรมาได้ ทา่ นถามอีกวา่ เห็นเกาะอยใู่ น
กลางมหาสมทุ รไหม กต็ อบทา่ นว่า เห็นครบั ผม ทา่ นพูดว่า ผจู้ ะ
ข้ามมหาสมุทรมาได้น้ี ถือว่ามคี วามพรอ้ มทุกอยา่ ง ทา่ นถามวา่
มผี วู้ า่ ยนำ�้ ตามหลงั มาอกี ไหม ขอโอกาส กระผมไมไ่ ดม้ องคนื หลงั
เลย แตม่ คี นเปน็ จำ� นวนมากกำ� ลงั เตรยี มตวั จะตามมา แตไ่ มท่ ราบ
ว่าจะมาได้หรือไม่ เพราะคล่ืนมหาสมุทรมีความรุนแรงมาก
ในขณะพูดคุยกนั กับหลวงปู่ขาว หลวงปู่บวั อย่นู ัน้ กม็ ีอาจารย์
องคอ์ นื่ คอยฟงั อยดู่ ว้ ย ในขณะนน้ั จติ กไ็ ดถ้ อนออกจากสมาธมิ า
ไมร่ ู้ว่าเหตุการณ์ที่เป็นนิมิตเกิดขึน้ นัน้ นานเทา่ ไร
เมอ่ื จติ ไดถ้ อนออกจากสมาธมิ าแลว้ กใ็ ชป้ ญั ญาพจิ ารณา
ในเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนว่าในความหมายของนิมิตน้ันเป็นอย่างไร
กใ็ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาเรยี บเรยี งในความหมายในนมิ ติ นน้ั ทกุ ขน้ั ตอน
คำ� วา่ ฝงู มหาชนเปน็ จำ� นวนมากนนั้ เปน็ กลมุ่ ทนี่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา
ที่พากันสร้างบารมีด้วยกันทั้งน้ัน แต่ก็มีบารมีมากน้อยต่างกัน
และมีจดุ ประสงค์เดยี วกนั น่นั คือเพอ่ื จะท�ำใหอ้ าสวกิเลสตัณหา
มองเห็นฝั่งมหาสมุทรไดอ้ ย่างชัดเจน ๒๘๗
ท้ังหลายได้หมดไปจากใจด้วยกัน แต่ใครจะท�ำให้อาสวกิเลส
ตัณหาได้หมดไปจากใจเร็วหรือช้าน้ัน ก็ขึ้นอยู่กับสติปัญญา
ศรัทธา ความเพียร ของแต่ละบคุ คล
ผู้ที่กระโดดลงไปแล้ว ถูกคลื่นมหาสมุทรซัดทอดเข้าหา
ฝั่งนั้น หมายถึงผู้มีความตั้งใจพยายาม หวังจะข้ามมหาสมุทร
นั้นอยู่ เมื่อบารมียังไม่พร้อม ก็กลับไปบ�ำเพ็ญบารมีเพิ่มใหม่
ใช้สติปัญญาพิจารณาใหร้ ู้เห็นใน สัจธรรมตามความเปน็ จริงให้
มากขนึ้ เพียงอยากพน้ ไปโดยไม่มีสตปิ ัญญาทฉ่ี ลาดรอบรู้ ก็ไม่
สามารถทจี่ ะข้ามมหาสมทุ รน้ไี ปได้เลย
คล่นื มหาสมทุ รขนาดใหญ่ ๕ คลน่ื นัน้ หมายถึงกามคุณ
ท้ัง ๕ คือ รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ จึงยากที่บุคคลน้ัน
จะผ่านไปได้ ถ้ามีสติปัญญาก็ไม่มีปัญหาอะไร คลื่นมหาสมุทร
อีกรูปแบบหน่ึงท่ีไหลกระทบกันเองอย่างรุนแรงนั้น หมายถึง
ธมั มารมณ์ เปน็ ศนู ยร์ วมของอารมณท์ งั้ หลาย ทไ่ี ดร้ บั มาจาก รปู
เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐพั พะ จึงได้เกดิ เป็น อิฏฐารมณ์ เป็นอารมณ์
ท่ชี อบใจ อนฏิ ฐารมณ์ เป็นอารมณ์ที่ไมช่ อบใจ ทเ่ี รยี กวา่ เวทนา
ก็คืออารมณ์ท่ีใจได้เสวยอยู่ประจ�ำวันนั่นเอง จึงท�ำให้ใจเกิด
ความรกั เกดิ ความใคร่ ความยนิ ดคี วามยนิ รา้ ยไปตามกเิ ลสตณั หา
๒๘๘ อตั โนประวัติ ภาค ๑
นั้นเอง
สตั วท์ ่เี อาหลงั มารองรบั หน้าอกเอาไว้น้ัน หมายถงึ สัจจะ
ทไี่ ดต้ ง้ั ไวแ้ ลว้ อยา่ งมนั่ คง มคี วามจรงิ ใจจรงิ จงั ในตวั เอง เมอื่ ตง้ั ใจ
ไวด้ แี ลว้ ตอ้ งทำ� ตามสจั จะนนั้ ใหไ้ ด้ อยา่ เปน็ นสิ ยั หลอกลวงตวั เอง
ที่พาว่ายตัดคล่ืนกระแสมหาสมุทรไปได้นั้น หมายถึงก�ำลังของ
สจั จะ เปน็ พลงั ใหญ่ ไดพ้ าพลงั ในบารมีอ่ืนๆ มีพลงั รว่ มกนั อยา่ ง
เตม็ ท่ี ปญั ญาบารมเี ปน็ พลงั ผลกั ดนั ใหไ้ ปสจู่ ดุ หมายปลายทางได้
อยา่ งถกู ตอ้ ง และเปน็ แสงสวา่ งในการปฏบิ ตั ธิ รรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ตรงตอ่ มรรคผลนพิ พาน
ความเวง้ิ วา้ งในทา่ มกลางมหาสมทุ รนน้ั หมายถงึ จติ เปน็ กลาง
ไมม่ คี วามยนิ ดี ไมม่ คี วามยนิ รา้ ยในสงิ่ ใดๆ ไมม่ คี วามหวนั่ ไหวไป
ตามในอารมณข์ องกามคณุ ทงั้ หลาย จติ ไมก่ ระเพอื่ มไปตามอารมณ์
ในทางโลก มีความเป็นกลางอยู่ตลอดเวลา ไม่มีความหว่ันไหว
ไปในกามคณุ ไมม่ คี วามยนิ ดี ไมม่ คี วามยนิ รา้ ยไปตามกเิ ลสตณั หา
แต่อยา่ งใด
เกาะใหญ่ท่ีอยู่กลางมหาสมุทรนั้น หมายถึง พรหมโลก
ท่ีพวกดาบสฤๅษที ่พี ากนั บ�ำเพญ็ ฌาน เม่อื ตายไปย่อมไปตกคา้ ง
อยู่ในพรหมโลกน้ี จะต่อไปให้ถึงมรรคผลนิพพานอีกไม่ได้เลย
มองเห็นฝ่ังมหาสมทุ รได้อย่างชดั เจน ๒๘๙
แม้ในยุคนี้ ผู้ที่ท�ำสมาธิ จิตมีความสงบเป็นฌานได้แล้ว เม่ือ
ตายไป กจ็ ะไดเ้ กดิ เปน็ พรหมนเี้ ชน่ กนั กระแสนำ�้ ทไี่ หลรอบเกาะ
เวียนซ้ายนน้ั หมายถงึ จติ ที่ตดิ อยู่ในความสงบ ตดิ อยใู่ นฌาน มี
ความยินดีพอใจในความสุขแห่งความสงบนั้นอย่างฝังใจ ไม่มี
ปัญญามาพิจารณาให้รู้เห็นตามความเป็นจริงในสรรพสังขาร
ท้งั หลายแต่อย่างใด หรอื เรยี กวา่ เปน็ ท่พี ักอาศัยของจติ โง่ ไม่มี
ความฉลาดรอบรใู้ นทางสตปิ ญั ญาแตอ่ ยา่ งใด ขาขวาทไ่ี ปกระทบ
ในคลืน่ กระแสนำ�้ ทไ่ี หลรอบเกาะน้ัน แล้วดิ้นหลดุ ออกมาไดน้ น้ั
หมายถงึ ขา้ พเจา้ ไดท้ ำ� สมาธมิ คี วามสงบถงึ อรปู ฌานมาแลว้ ใหเ้ ปดิ
อ่านในพรรษา ๒ ว่าข้าพเจ้าหลุดออกจากอรูปฌานด้วยวธิ ีการ
อย่างไร ท่านอาจจะได้เป็นอบุ ายสอนตวั เองไดบ้ า้ ง
การทถี่ งึ ฝง่ั มหาสมทุ รไดแ้ ลว้ สตั วน์ นั้ กห็ ายไป นน้ั หมายถงึ
บารมีทั้งหมดที่ได้บ�ำเพ็ญมาแล้วในอดีตและในชาติปัจจุบันได้
เป็นพลังส่งให้ถึงฝั่งแล้ว บุญกุศลน้อยใหญ่ก็หมดภาระหน้าที่
เพยี งเทา่ นี้ จะตามไปในมรรคผลนพิ พานอกี ตอ่ ไปไมไ่ ดเ้ ลย ทางท่ี
เดินขึ้นฝั่งไปเป็นทางเล็กๆ เดินได้เพียงคนเดียวนั้น หมายถึง
เอโก มคฺโค มีทางเส้นเดียวเท่าน้ัน ท่ีเป็นเส้นทางอันเอกท่ี
พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว
๒๙๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
คำ� วา่ มหาสมทุ รนน้ั กห็ มายถงึ มหาสมมตนิ นั่ เอง ในหมมู่ นษุ ย์
และสัตว์โลกทั้งหลายนั้นย่อมตกอยู่ในความหลงในมหาสมมติ
ทั้งน้ัน มหา แปลว่ามาก หรือความย่ิงใหญ่ สมมติ หมายถึง
ความหลงอยู่ในภพท้ังสาม มีกามภพ รูปภพ อรูปภพ หลงใน
ความอยาก หลงวา่ ธาตสุ ข่ี นั ธห์ า้ นเี้ ปน็ ตน และหลงในวตั ถธุ าตขุ อง
โลกว่าเป็นของของตน มีสิ่งใดก็สมมติว่าส่ิงนั้นเป็นของของตน
จึงได้เกดิ ความหลงผิด เกดิ ความเข้าใจผิด และเกิดความเห็นผิด
เกิดความยึดติดอย่างมั่นคงว่าส่ิงนี้เป็นเราและเป็นของของเรา
จรงิ ๆ จึงเกดิ เปน็ มิจฉาทฏิ ฐิ ความเห็นผดิ เกดิ ขนึ้ ภายในใจเปน็
อย่างมากทเี ดยี ว
ตวั มจิ ฉาทฏิ ฐคิ วามเหน็ ผดิ เพยี งอยา่ งเดยี วเทา่ นเ้ี ปน็ ตน้ เหตุ
จึงได้เกิดความหลงในมหาสมมติโลกนี้ว่าเป็นสิ่งที่น่าอยู่อาศัย
จิตท่ีโง่เขลาเท่าน้ันข้องอยู่ จิตท่ีมีสติปัญญาที่ดีหาข้องอยู่ไม่
ในความหมายอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ กามโอฆะ แมน่ ำ�้ หมายถงึ กามคณุ
ท่ีสัตว์โลกท้ังหลายมีความใฝ่ฝันกันอยู่ เป็นสิ่งท่ีข้ามได้ยาก
ทฏิ ฐโิ อฆะ ความเหน็ ผดิ ภายในใจ เปน็ สง่ิ ทแี่ กไ้ ดย้ าก อวชิ ชาโอฆะ
ความไมร่ ตู้ ามความเปน็ จรงิ ในสมมตโิ ลกทง้ั หลาย จะทำ� ความเขา้ ใจ
ได้อย่างถูกต้องน้ันเป็นไปได้ยาก ภวโอฆะ ความหลงติดอยู่กับ