ตัง้ หลกั ปฏบิ ตั ใิ หม่ ๑๔๑
ฉะน้ัน ผู้ท�ำสมาธิต้องมีความช�ำนาญในอิริยาบถท้ังส่ี
จึงจะมีความสมบูรณ์ จะเป็นเพราะว่าผู้สอนไม่เข้าใจในวิธีท�ำ
สมาธกิ อ็ าจเปน็ ได้ จงึ สอนกันอย่างนี้ หน�ำซ้ำ� ยังสอนกนั ต่อไปวา่
ท�ำสมาธิไปเถอะ เมื่อจิตมีความสงบแล้วปัญญาจะเกิดข้ึน ยัง
สอนใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทผ่ี ดิ ๆ นต้ี อ่ ไป ความไมเ่ ขา้ ใจของผปู้ ฏบิ ตั ิ
ตามก็เชอื่ วา่ เป็นอย่างนที้ นั ที
บัดน้ีข้าพเจ้ามีความเข้าใจในหลักมัชฌิมาทางสายกลาง
แล้ว แต่ก็เป็นทางสายกลางเฉพาะตัวเอง จึงได้ใช้สติปัญญา
พจิ ารณาในสัจธรรมให้เปน็ ไปตามไตรลกั ษณ์ คอื อนจิ จัง ทุกขงั
อนตั ตา เปน็ หลักยืนตัว จะเป็นรูปธรรม นามธรรม ทงั้ ภายใน
และภายนอก สง่ิ ท่มี ชี ีวติ และสงิ่ ไม่มีชีวิต ทั้งเป็นของสว่ นหยาบ
และสง่ิ ทลี่ ะเอยี ด ทงั้ ใกลแ้ ละไกล ทง้ั เราและเขา พจิ ารณาใหล้ งสู่
ไตรลักษณ์น้ีท้ังหมด ให้รู้เห็นตามความเป็นจริงในส่ิงน้ันๆ ว่า
ความจรงิ ในการเปลย่ี นแปลงของธาตขุ นั ธ์ ความจรงิ ทเี่ ปน็ ไปใน
ความทกุ ขข์ องธาตขุ นั ธ์ ความจรงิ ทเี่ ปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ขท์ ง้ั กายและ
ใจ ตอ้ งใช้ปัญญาพจิ ารณาอยูเ่ สมอ ความจรงิ ท่เี ปน็ ไปในอนตั ตา
อนั เปน็ สง่ิ ทหี่ มดสภาพไป ไมม่ สี งิ่ ใดเปน็ สตั ว์ เปน็ บคุ คลตวั ตนเราเขา
ทกุ อยา่ งเปน็ สจั ธรรม มกี ารเกดิ ดบั อยใู่ นตวั มนั เอง ถา้ ปญั ญาไมม่ ี
๑๔๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ความรู้ความฉลาดพอ ก็ไม่สามารถรู้เหน็ ในความเป็นจรงิ ได้
ฉะนนั้ ปญั ญาจงึ เปน็ แสงสวา่ งสอ่ งทางใหใ้ จไดร้ เู้ หน็ เหมอื น
กบั การเดนิ ทางในทมี่ ดื ถา้ ไฟฉายไม่มหี รือมีแตไ่ มส่ ว่าง ก็จะเกิด
การหลงทางไดง้ า่ ย หรอื ไฟฉายมคี วามสวา่ งดี แตผ่ ถู้ อื ไฟฉายนนั้
ตาบอด การเดินทางก็ไปไม่ถึงไหนเช่นกัน น้ีฉันใด ถ้าใจขาด
ปัญญาเป็นตัวน�ำใหแ้ กใ่ จแลว้ ถึงของจริงจะมอี ย่ทู ่กี ายทใี่ จก็ไม่
สามารถรเู้ หน็ ของจรงิ ได้ เชน่ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ที่
มอี ยใู่ นตวั เรานท้ี ง้ั หมด กไ็ มส่ ามารถรเู้ หน็ ได้ นก่ี เ็ พราะขาดปญั ญา
ความสวา่ งทางใจนนั่ เอง หรอื มตี า หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ทไ่ี ปสมั ผสั
ในรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และอารมณ์ที่ฝังอยู่ที่ใจ ก็
ไมร่ เู้ หน็ ไดเ้ ชน่ กนั ทงั้ ทส่ี ง่ิ เหลา่ นมี้ อี ยใู่ นตวั เราทงั้ หมด และแสดง
ความไม่เท่ียงอยู่ตลอดเวลา แต่เราก็ไม่รู้เห็นได้ น้ีก็เพราะขาด
ปญั ญามาพิจารณาใหแ้ ยบคายนนั่ เอง อาการทง้ั หมดนี้ ต้องใช้
ปัญญาพิจารณาแต่ละอย่างให้ใจได้รู้เห็นตามความเป็นจริง
อยู่เสมอ ค�ำวา่ อนิจจงั ความไม่เทยี่ งน้ัน ก็จะถูกเปิดเผยให้ใจได้
รเู้ หน็ เปน็ ไปตามความเปน็ จรงิ ทกุ ประการ ทง้ั หมดนมี้ อี ยใู่ นตวั เรา
อยู่แล้ว ไม่ได้เอามาจากที่ไหนเลย ถ้ามีการรู้เห็นในลักษณะน้ี
จึงเป็นสัมมาทฏิ ฐิ มีปญั ญารูเ้ ห็นอยา่ งชอบธรรม สัมมาสังกัปโป
ตัง้ หลักปฏบิ ตั ใิ หม่ ๑๔๓
การดำ� รพิ จิ ารณาในสจั ธรรมนนั้ ใหแ้ ยบคาย จงึ เรยี กวา่ การดำ� รชิ อบ
ท�ำใหใ้ จมีความรเู้ ห็นไดอ้ ย่างชดั เจน
การใชป้ ญั ญาพจิ ารณาความทกุ ข์
การใช้ปญั ญาพจิ ารณาความทุกขน์ ้ี ใหพ้ ิจารณาอย่ทู ีก่ าย
ทใ่ี จของตวั เราเอง ความทกุ ขเ์ นอื่ งจากรา่ งกายเปน็ ตน้ เหตุ สง่ิ ใด
เปน็ เหตใุ หท้ กุ ขเ์ กดิ ขนึ้ มเี หตปุ จั จยั เนอื่ งจากอะไร ตอ้ งใชป้ ญั ญา
ค้นหาเหตุที่เกิดทุกข์ให้ได้ ให้ใจได้รู้เห็นในเหตุน้ันอย่างชัดเจน
เมอ่ื รเู้ หน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ขแ์ ลว้ จะไปละถอนปลอ่ ยวางนน้ั ทำ� ไมไ่ ด้
เพราะเป็นสภาวทุกข์ คือทุกข์มีอยู่ประจ�ำธาตุขันธ์ เป็นทุกข์
ดงั้ เดมิ มาแตก่ ำ� เนดิ เมอื่ ไรธาตขุ นั ธย์ งั มอี ยู่ สภาวทกุ ขน์ ก้ี ต็ อ้ งมอี ยู่
เพราะทุกข์น้ีมันเป็นที่เกิดขึ้นพร้อมกับร่างกาย มีทางเดียวคือ
ตอ้ งรบั รใู้ นทกุ ขน์ น้ั ๆ เรยี กวา่ ทกุ ขค์ วรกำ� หนดใหร้ เู้ ทา่ ความจรงิ
ของทกุ ขน์ ไี้ วเ้ ทา่ นน้ั มวี ธิ ที จี่ ะหลบหลกี ไปในบางเวลาเทา่ นนั้ เชน่
ทุกข์ในการน่ังนานในท่านี้ ก็หาวิธีเปลี่ยนทางในการน่ังวิธีใหม่
การใช้ปญั ญาพิจารณาความทกุ ข์ ๑๔๕
พลิกแพลงกันไปมาอยู่เสมอ นี้เป็นธรรมชาติในวิธีหลบทุกข์ไป
ในชวั่ ขณะหนงึ่ หรอื นอน ไมม่ ที า่ นอนไหนมคี วามสขุ ตลอดไปได้
ทีแรกก็คิดว่านอนท่าน้ีมีความสุข เมื่อนอนในท่าเดียวนานๆ ก็
เปน็ ทกุ ข์ข้นึ มาได้ ก็ต้องพลกิ แพลงไปมาในท่านอนหลายวธิ ี น่กี ็
เปน็ อบุ ายวธิ หี ลบทกุ ขไ์ ปเรอื่ ยๆ หรอื ยนื ตอ่ กนั นานๆ กเ็ ปน็ ทกุ ข์
ก็ต้องมีวธิ ีหลบทกุ ขด์ ้วยการเดนิ การนง่ั การนอน สลบั กันไปมา
หรอื เดนิ นานๆ กเ็ ปน็ ทกุ ข์ กห็ าวธิ หี ลบดว้ ยการยนื การนงั่ การนอน
ฉะนน้ั จงึ ท�ำความเขา้ ใจว่าสภาวทกุ ขน์ ี้มันละไมไ่ ด้ เพยี ง
ใหก้ ำ� หนดรเู้ ทา่ นนั้ ความทกุ ขใ์ นลกั ษณะน้มี อี ย่กู ับทกุ คนในโลก
เรียกว่า ทุกขังอริยสัจจัง เป็นความทุกข์ท่ีเป็นจริง จะหลีกหนี
ไมพ่ น้ แมพ้ ระพทุ ธเจา้ และพระอรยิ เจา้ ทงั้ หลายกย็ งั มสี ภาวทกุ ข์
นเี้ ช่นเดียวกันกบั พวกเราทงั้ หลาย
อกี อยา่ งหนงึ่ เรยี กวา่ ทกุ ขจ์ ร ทกุ ขจ์ รนเี้ ขา้ มาทางรา่ งกาย
ได้ และเข้ามากระทบทางใจได้ เช่น อากาศที่เกินความพอดี
มกี ารรอ้ นจดั มกี ารหนาวจดั เยน็ จดั ทกุ อยา่ งทม่ี ากระทบทางกาย
ที่เกนิ ความพอดี เปน็ ทกุ ข์เนอ่ื งจากทางกายไดท้ ั้งน้นั จึงเรยี กว่า
ปกณิ ณกทกุ ข์ เปน็ ทกุ ขท์ ม่ี ผี ลกระทบในบางครง้ั คราว หรอื ตา หู
จมกู ลิน้ กาย ท่ไี ดส้ มั ผัสในสง่ิ ทีไ่ ม่ชอบใจ กเ็ กิดมอี ารมณ์ทางใจ
๑๔๖ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ให้เป็นทุกข์ได้ทั้งนั้น ศูนย์รวมทุกข์อยู่ที่ใจทั้งหมด ทุกข์ทางใจ
เนอื่ งจากการสมั ผสั ทางอายตนะนี้ จะตอ้ งหาวธิ หี ลกี เลย่ี งในทางสติ
ปญั ญา จงึ จะหลกี เลยี่ งได้ ไมเ่ หมอื นการหลกี เลย่ี งทกุ ขใ์ นอริ ยิ าบถ
แตอ่ ยา่ งใด ทกุ ขท์ างใจทเ่ี กดิ จากอายตนะ ตอ้ งใชป้ ญั ญาอบรมใจ
ใหใ้ จไดร้ บั รผู้ ลทเ่ี ปน็ ทกุ ขโ์ ทษภยั ในอารมณท์ ไ่ี มช่ อบใจ และใหใ้ จ
ไดร้ ผู้ ลของอารมณท์ ช่ี อบใจ จงึ ทำ� ใหใ้ จเกดิ เปน็ อารมณแ์ หง่ ความรกั
อารมณแ์ หง่ ความรกั กเ็ ปน็ สง่ิ ทไี่ มเ่ ทย่ี ง ยอ่ มมกี ารเปลยี่ นแปลงได้
ที่เรียกวา่ ความรักอยู่ที่ไหน ความชังกอ็ ยู่ในทีน่ ้นั ดังมภี าษติ ว่า
ปิยโต ชายเตโสโก ความโศกเศร้าเสียใจย่อมเกิดจากความรัก
เมอ่ื หากมปี ญั ญารเู้ ทา่ ในอารมณแ์ หง่ ความรกั และรเู้ ทา่ ในอารมณ์
แห่งความชังได้ ใจที่มีปัญญาจะรู้จักวิธีการรักษาตัวไม่ให้เกิด
ความทกุ ข์ข้ึนได้
ความทุกขท์ งั้ หลายมีเหตมุ าจากความอยาก ตัวเราเป็นผู้
สรา้ งเหตแุ หง่ ความอยากขนึ้ มาอยา่ งไร ผลกอ็ อกมาเปน็ อยา่ งนนั้
ความทกุ ขท์ ที่ กุ คนไดร้ บั กนั อยใู่ นขณะนี้ เนอ่ื งจากตวั เองไมย่ อมรบั
ความจริงที่ตัวเองสร้างขึ้น หรือท�ำเหตุช่ัวแต่ต้องการรับผลที่ดี
เมอื่ ไมไ่ ดต้ ามความต้องการกเ็ กิดความทุกข์ท่ีใจ ความทกุ ข์เป็น
สง่ิ ทท่ี กุ คนไมป่ รารถนา แตก่ เ็ ปน็ ผลพลอยไดจ้ ากการกระทำ� ของ
การใชป้ ญั ญาพจิ ารณาความทุกข์ ๑๔๗
ตวั เราเอง ความทกุ ขท์ ี่มนษุ ย์และสตั ว์ในโลกนี้ไดร้ บั อยเู่ นือ่ งมา
จากความอยากน้ีท้ังนั้น ฉะนั้น ความอยากจึงเป็นเหตุให้เกิด
ความทกุ ข์นานาประการ ดังเห็นกันอยูใ่ นทที่ ว่ั ไป ใครจะเกิดใน
ท่ีไหน ในฐานะอะไร ไม่สำ� คัญ เพราะธาตุ ๔ ขนั ธ์ ๕ เป็นสถานท่ี
รวมทุกข์ทั้งปวงอยู่แล้ว ความทุกข์น้ีจะอยู่เป็นคู่กับกายและใจ
ต่อไปจนตลอดวันตาย ในอดีตชาติที่ผ่านมา ในชาติปัจจุบันท่ี
เปน็ อยู่ และเกดิ มาใหมใ่ นชาตติ อ่ ไป ในเมอื่ ไดเ้ กดิ มาแลว้ กจ็ ะได้
รับความทุกข์ด้วยกันท้ังสิ้น ฉะนั้น ความทุกข์จึงได้เกิดมาจาก
ความอยากเปน็ ตน้ เหตนุ านาประการ เมอื่ ดบั ตณั หาคอื ความอยาก
ได้แล้ว ความทกุ ข์จะมมี าจากที่ไหน ในค�ำสอนของพระพทุ ธเจ้า
ไดต้ รสั ไวว้ า่ ตณั หาเปน็ กงจกั รหมนุ ไปสคู่ วามทกุ ขอ์ ยตู่ ลอดเวลา
ไมม่ ีกาลสมยั ตอ้ งเปน็ ไปตามหนา้ ที่ในตวั มันเอง
ค�ำว่าอนัตตา เป็นส่ิงที่ท�ำให้เราผิดหวังมาตลอด แต่เรา
ยังไม่รู้ไม่เห็น จึงได้หมายม่ันปั้นมือว่าส่ิงน้ีเป็นเราและเป็น
ของของเราเรอื่ ยมา ไมอ่ ยากใหพ้ ลดั พรากจากเราไป มอี ยอู่ ยา่ งไร
ก็อยากให้เป็นอยู่อย่างนั้นตลอดไป ค�ำว่าความตายก็ไม่อยาก
ใหม้ ใี นตัวเรา ตลอดทง้ั ลกู หลานเหลน ก็ไมอ่ ยากให้สญู หายตาย
จากกัน อยากให้อยู่ในอ้อมอกของเราตลอดไป แต่ความจริงก็
๑๔๘ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
หนีจากความจริงไปไม่ได้ ถึงจะมีความรักหวงแหนสักปานใดก็
จะตายจากกันไปอยู่น่ันเอง
เหมอื นเราไดส้ รา้ งบา้ นพกั อาศยั ชว่ั คราว ในเมอื่ บา้ นพกั นน้ั
ผพุ งั ลงไป เรากจ็ ะออกจากบา้ นหลังนั้นไปสรา้ งบา้ นหลงั ใหมอ่ ยู่
ต่อไป เมอื่ บ้านนัน้ พังลงอีกก็จะสรา้ งบา้ นพักอาศัยอยู่ใหม่ไปอกี
ไมม่ คี วามสน้ิ สดุ ลงไดเ้ ลย นฉี้ นั ใด ใจผทู้ สี่ รา้ งภพสรา้ งชาติ มธี าตุ ๔
ขันธ์ ๕ เป็นท่อี าศยั ชว่ั คราว อกี ไมน่ านบ้านพักของใจคือธาตุ ๔
ขันธ์ ๕ ก็พงั ทลายไปตามหลักอนตั ตา มีการสูญหายจากอตั ตา
ตวั ตนไป จะไมม่ คี น จะไมม่ สี ตั วอ์ กี ตอ่ ไป กฉ็ นั นนั้ รา่ งกายทกุ สว่ น
กจ็ ะแปรสภาพไปสธู่ าตเุ ดมิ คอื ธาตดุ นิ ธาตนุ ำ้� ธาตลุ ม ธาตไุ ฟ ไป
เทา่ นน้ั สว่ นจติ ใจกจ็ ะไปหาเกดิ เอาภพชาตใิ หมต่ ามเหตปุ จั จยั ใน
ตวั มนั เอง สว่ นการทำ� การพดู และความเหน็ ผดิ ถกู ชวั่ ดอี ยา่ งไร
ใจจะเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบทงั้ หมด กายวาจาจะไมม่ คี วามเกยี่ วขอ้ งแต่
อยา่ งใด ไมว่ า่ สงิ่ นน้ั จะเปน็ บญุ และเปน็ บาป ใจจะเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ในผลชว่ั ดีจากการกระท�ำของความอยากน้ที ้งั น้ัน
ฉะนนั้ การใชป้ ญั ญาอบรมใจสอนใจจงึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั อยา่ งยงิ่
อบุ ายทจี่ ะนำ� มาอบรมใจได้ เนอื่ งดว้ ยปญั ญาทม่ี คี วามฉลาดรอบรู้
ตามหลักความเป็นจริงเท่านั้น ดังบาลีที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า
การใช้ปญั ญาพจิ ารณาความทกุ ข์ ๑๔๙
จติ ตฺ ํ ทนตฺ ํ สขุ าวหํ จติ นเ้ี มอ่ื ปญั ญาอบรมสง่ั สอนอยบู่ อ่ ยๆ จติ จะ
มีความรู้ความฉลาดและมีความสุขเป็นผลตอบแทน ดังบาลีว่า
จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี มีปัญญาที่มีความฉลาดรอบรู้เท่านั้นจึง
จะรักษาจิตได้ ฉะนั้น การอบรมจิต การสอนจิต การฝึกจิต
การรกั ษาจติ ตอ้ งมอี บุ ายปญั ญาทด่ี เี ทา่ นนั้ เพราะจติ ไดถ้ กู กเิ ลส
ตัณหา สังขาร อบรมมานาน จึงได้เกิดความหลงและไม่รู้ตาม
หลกั สจั ธรรมอนั เปน็ ความจรงิ แตอ่ ยา่ งใด ตอ้ งใชป้ ญั ญาอบรมใจ
ให้มากเอาไว้
๑๕๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
นิมิตเห็นทางเดินจงกรม
ขวางหนา้ ๓ เส้น
ในคนื หนง่ึ ขณะกำ� หนดจติ ใหล้ งสคู่ วามสงบในสมาธไิ ดท้ แี่ ลว้
เกดิ นมิ ติ เหน็ ทางเดนิ จงกรมขวางหนา้ อยู่ ๓ เสน้ ทางเดนิ จงกรม
เส้นท่ี ๑ มีหญา้ เกดิ ขึน้ รกรุงรงั เต็มไปหมด แตก่ ็เห็นเปน็ รูปทาง
เดินจงกรมอยู่ ไม่ได้เดินจงกรมในเส้นทางนเี้ ลย ทางเดินจงกรม
เสน้ ที่ ๒ ก็มหี ญ้าเกิดข้นึ เหมอื นกันกับทางเดินจงกรมเส้นท่ี ๑
แต่ไม่มีหญ้าเกิดหนาแน่น ทางเดินจงกรมเส้นที่ ๓ สุดท้าย มี
ความเตียนสะอาดราบรื่นดี เหมือนได้เดินจงกรมในเส้นทางนี้
ทกุ ๆ ชัว่ โมง ในขณะน้นั ปรากฏว่าขา้ พเจ้าไดเ้ ดนิ จงกรมในทาง
เส้นท่ี ๓ นี้ ในขณะเดียวกันได้ยินเสียงประกาศออกมาว่า ให้
๑๕๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
กลบั ถอยออกมาสูท่ างเดนิ จงกรมเส้นท่ี ๒ อนั เปน็ ทางสายกลาง
เสีย ในขณะนนั้ ข้าพเจ้ากไ็ ดถ้ อยกลับมาเดินจงกรมเส้นท่ี ๒ อัน
เป็นทางสายกลางในทันที ในขณะเดียวกันปรากฏว่า ทางเดิน
จงกรมน้ันได้ขยายออกอย่างกว้างขวางเท่ากันกับทางรถยนต์
ขนาดใหญ่ ยาวตรงมองจนสดุ สายตา
ในขณะนั้นมีม้าขาวตัวหนึ่ง มีตัวใหญ่สวยงามมาก ใส่
บังเหียนใส่อานพร้อมเสร็จ ได้มายืนอยู่เทียมข้างของข้าพเจ้า
แล้วมีเสียงประกาศบอกมาว่า จงข้ึนข่ีม้าตัวนี้เสีย ข้าพเจ้าก็
กระโดดขนึ้ ขมี่ า้ ในทนั ที แลว้ มเี สยี งบอกวา่ ใหข้ มี่ า้ ไปตามเสน้ ทาง
นี้ นค่ี อื เสน้ ทางทจ่ี ะไปใหถ้ งึ ทส่ี ดุ แหง่ ความทกุ ขท์ งั้ หลาย จากนน้ั
ม้าก็ได้พาข้าพเจ้าว่ิงไปตามเส้นทางน้ันอย่างรวดเร็ว ในขณะ
เดยี วกนั มอี ีกคนหนึ่งขีม่ า้ ตัวเลก็ ๆ สีแดงวงิ่ ในเสน้ ทางน้อี ยู่ เขา
ไดต้ ะโกนขน้ึ มาว่า ขีม่ า้ แข่งกนั ไหมๆ ขา้ พเจา้ ไม่พดู อะไร เพราะ
คดิ วา่ ไรส้ าระไมม่ ปี ระโยชนอ์ ะไร เพราะมา้ เขากบั มา้ เรามใี นฐานะ
ตา่ งกนั โดยสนิ้ เชงิ มา้ ของขา้ พเจา้ กว็ ง่ิ ผา่ นไปมคี วามรวดเรว็ มาก
เม่ือม้าพาข้าพเจ้าว่ิงไปใกล้จวนจะถึงจุดหมายปลายทาง ก็ได้
มองเห็นที่สุดของเส้นทางน้ันได้อย่างชัดเจน จากนั้น ม้าก็พา
ขา้ พเจา้ เหาะลอยขน้ึ ไปบนอากาศ เหมอื นกนั กบั จรวดทะยานขน้ึ
นมิ ิตเหน็ ทางเดนิ จงกรมขวางหน้า ๓ เสน้ ๑๕๓
๑๕๔ อตั โนประวัติ ภาค ๑
สู่ท้องฟ้านั่นเอง ม้าก็พาข้าพเจ้าเหาะลอยข้ึนสูงเหนือก้อนเมฆ
จนมองลงมาดโู ลกมนษุ ยไ์ มเ่ หน็ เลย ตวั ขา้ พเจ้านงั่ อยบู่ นหลงั มา้
อยา่ งแนบแนน่ ไดด้ ี
จากน้นั ม้าก็พาข้าพเจ้าลอยขนึ้ ไปสูงถึงชนั้ อวกาศ ในชั้น
อวกาศน้ีมีความเวิ้งว้าง มองไปไหนจนสุดสายตา แล้วมีเสียง
ประกาศมาวา่ ใหข้ ี่ม้ารอบจกั รวาล ๓ รอบ ม้าก็พาขา้ พเจา้ วิ่ง
รอบจักรวาล ๓ รอบอย่างรวดเรว็ เม่ือรอบจักรวาล ๓ รอบแลว้
ก็มีเสยี งประกาศวา่ ให้พาม้าลงไปสู่มนษุ ย์โลกเสยี ขา้ พเจา้ กพ็ า
มา้ ลอยลงสู่มนุษย์โลก ลงมาหา่ งจากพื้นดินประมาณ ๔๐ เมตร
แล้วมีเสียงประกาศว่า ให้ขี่ม้าส�ำรวจดูโลกมนุษย์น้ีให้ทั่วถึง
จากนนั้ กพ็ าขา้ พเจา้ เหาะลอยไปสงู จากพนื้ ดนิ ประมาณ ๔๐ เมตร
มตี น้ ไมใ้ หญน่ านาชนดิ ใหญส่ งู อยา่ งหนาแนน่ ทเี ดยี ว ในขณะมา้
พาขา้ พเจา้ เหาะลอยไปทไ่ี หน ตน้ ไมใ้ หญท่ ง้ั หลายกแ็ ยกชอ่ งทาง
ให้ม้าพาข้าพเจ้าเหาะไปตามช่องน้ันอย่างรวดเร็ว เหาะลอยไป
มาในโลกมนษุ ยน์ ท้ี ง้ั ๘ ทศิ ขา้ พเจา้ ไดร้ เู้ หน็ ในโลกมนษุ ยน์ อ้ี ยา่ ง
ทวั่ ถงึ แลว้ มเี สยี งประกาศบอกวา่ เมอื่ รเู้ หน็ ในโลกมนษุ ยน์ อี้ ยา่ ง
ท่ัวถงึ แลว้ ใหพ้ าม้าลงสู่พืน้ ดินเสีย จากนนั้ มา้ ก็พาขา้ พเจ้าลอย
ลงสพู่ น้ื ดนิ พอเทา้ มา้ แตะกบั พนื้ ดนิ เทา่ นนั้ จติ กไ็ ดถ้ อนออกจาก
นมิ ิตเห็นทางเดนิ จงกรมขวางหนา้ ๓ เสน้ ๑๕๕
สมาธิพอดี
จากน้ันก็ได้ใช้ปัญญาพิจารณาดูในเรื่องนิมิตที่เกิดข้ึน
เริ่มต้นจากเห็นทางเดนิ จงกรม ๓ เสน้ มีความหมายเป็นอยา่ งไร
กม็ คี วามเขา้ ใจในความหมายโดยทนั ที ทางจงกรมเสน้ ท่ี ๑ มหี ญา้
เกิดขน้ึ ในทางเดินจงกรมหนาแนน่ นั้น หมายความว่าการปฏบิ ัติ
ทยี่ อ่ หยอ่ นหละหลวม ในความเพยี รนน้ั ไมม่ ี จงึ ไดเ้ กดิ หญา้ ขนึ้ มา
อยา่ งหนาแนน่ เสน้ ที่ ๒ หญา้ เกดิ ขน้ึ ในทางเดนิ จงกรมนน้ั มนี อ้ ย
หมายความว่าการปฏิบัติไม่ได้อยู่ในมัชฌิมาทางสายกลาง
บ่อยครงั้ ถงึ จะมีอยูบ่ า้ งในบางคร้ังคราวเทา่ นนั้ ฉะนั้น หญ้าจึง
ได้เกิดขึ้นอยู่บ้างแต่ไม่มากนัก เส้นที่ ๓ ไม่มีหญ้าเกิดข้ึนใน
ทางเดินจงกรมเลยแม้แต่กอเดียว ทางนั้นเตียนสะอาดราบรื่น
เหมือนกับนายช่างได้ขดั มันเอาไว้ นนั้ หมายความวา่ การภาวนา
ปฏบิ ตั เิ รามคี วามจรงิ จงั เปน็ อยา่ งมาก หาเวลาพกั ผอ่ นหลบั นอน
แทบไมม่ ี การปฏบิ ตั อิ ยใู่ นขน้ั อกุ ฤษฏอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี ถา้ เปน็ สายพณิ
ก็ตึงจวนจะขาดอยแู่ ลว้
การถอยออกมาเดนิ จงกรมในทางสายกลางนนั้ หมายความ
ว่าเป็นการปฏิบัติอยู่ในมัชฌิมา คือทางสายกลาง ทางจงกรม
ขยายออกอยา่ งกวา้ งขวางเหมอื นทางรถขนาดใหญน่ น้ั หมายความ
๑๕๖ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
วา่ การปฏบิ ตั นิ นั้ มคี วามสะดวก ไมม่ คี วามตดิ ขดั แตอ่ ยา่ งใด ไมม่ ี
อปุ สรรคในการบบี บงั คบั ตวั เองใหไ้ ดใ้ หถ้ งึ ไปตามกำ� หนดวนั เวลา
มา้ ขาวทีไ่ ดข้ ่วี ิ่งตามเส้นทางนน้ั หมายถงึ ปญั ญาทมี่ คี วามฉลาด
เฉยี บแหลม พจิ ารณาในสงิ่ ใดเกดิ มคี วามแยบคายและหายสงสยั
ในสง่ิ นน้ั ๆ คนทขี่ ม่ี า้ สแี ดงตวั เลก็ ๆ ตะโกนวา่ จะแขง่ นนั้ หมายถงึ
ตวั สงั ขารการคิดปรงุ แตง่ ในสมมติทั้งหลาย แต่บดั นีค้ วามคดิ ใน
สังขารนั้นหมดสิทธิ์ท่ีจะมาคิดแข่งกับปัญญาอีกแล้ว ดังค�ำว่า
มา้ ตวั มฝี เี ทา้ ดี ยอ่ มวง่ิ ทงิ้ หา่ งกบั มา้ ตวั ทไี่ มม่ ฝี เี ทา้ ดไี ปแลว้ นฉี้ นั ใด
ความคดิ ในทางปญั ญาท่ีฉลาดรอบรู้ ยอ่ มทงิ้ ความคิดในสงั ขาร
ไปฉันน้นั
นมิ ติ ทเี่ กดิ ขนึ้ นน้ั ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ความหมาย เปน็ อบุ ายใน
การปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ความเชอื่ มน่ั วา่ มชั ฌมิ าปฏปิ ทา เรารแู้ ละเขา้ ใจ
ในมชั ฌมิ าทางสายกลาง ความเหมาะสม ความพอดใี นการปฏบิ ตั ิ
ของตัวเรา การปฏิบัติต้องรู้จักในจุดยืนของตัวเองให้เหมาะสม
เหมอื นกบั การทำ� อาหารรบั ประทานดว้ ยตนเอง ตอ้ งรจู้ กั ในคำ� วา่
รสจดื และใหร้ จู้ กั ในคำ� วา่ รสจดั ถา้ รจู้ กั สองรสนแ้ี ลว้ เรากจ็ ะรวู้ ธิ ี
เพิม่ รสจดื ขึน้ และรจู้ ักการผอ่ นรสจดั ลง กจ็ ะเกิดรสของอาหาร
ทอ่ี รอ่ ยพอดกี บั ลนิ้ และธาตขุ องตวั เอง นฉี้ นั ใด การปฏบิ ตั เิ พอื่ ให้
นมิ ติ เหน็ ทางเดนิ จงกรมขวางหน้า ๓ เสน้ ๑๕๗
เป็นไปในแนวทางมัชฌิมาของตัวเอง ก็ต้องรู้จักการปฏิบัติท่ี
ย่อหย่อนของตัวเอง และรู้จักการปฏิบัติที่ตึงเกินไปของตัวเอง
ถา้ รใู้ นสองอย่างนแี้ ล้ว มชั ฌมิ า การปฏิบัติอยู่ในทางสายกลาง
จะหาอุบายมาปฏบิ ตั ิไม่ยากเลย กฉ็ ันนนั้
ไม่ต้องไปให้ใครๆ ก�ำหนดให้เราว่าเป็นผู้ปฏิบัติอยู่ใน
ทางสายกลางแลว้ ค�ำว่าทางสายกลางเป็นความพอดเี ฉพาะตวั
ไมเ่ ทา่ กนั เหมอื นรบั ประทานอาหาร ความอมิ่ พอดขี องแตล่ ะคน
จะไมเ่ ทา่ กนั คนหนง่ึ อาจจะอม่ิ ไดภ้ ายในหนงึ่ จาน และอกี คนหนง่ึ
อาจจะอิ่มสองหรือสามจานก็อาจเป็นได้ นี้ฉันใด การปฏิบัติท่ี
เป็นมัชฌิมาของแต่ละคนก็เป็นในลักษณะฉันน้ัน พระพุทธเจ้า
ได้ตรัสไวว้ ่า สขุ าปฏิปทา ขปิ ปาภญิ ญา การปฏิบตั อิ ย่างสบาย
ไมม่ อี ปุ สรรคใดๆ แลว้ บรรลธุ รรมไดเ้ รว็ สขุ าปฏปิ ทา ทนั ธาภญิ ญา
การปฏบิ ตั อิ ยา่ งสบาย แตก่ ารบรรลธุ รรมชา้ ฉะนน้ั การปฏบิ ตั ใิ ห้
เปน็ ไปในมชั ฌมิ าของตวั เองนน้ั ตอ้ งรไู้ ดเ้ หน็ ไดด้ ว้ ยตวั เอง คนอนื่
บอกแทนไม่ได้
เรอื่ งนมิ ิตนนั้ เกิดจากการทำ� สมาธิทีเ่ รยี กว่า อคุ คหนมิ ติ
นิมิตที่เกิดขึ้นมีหลายรูปแบบด้วยกัน เป็นส่ิงท่ีให้เกิดความรัก
เปน็ สงิ่ ทใี่ หเ้ กดิ ความชงั เหน็ เปน็ ซากผี สงิ่ ทน่ี า่ กลวั เหน็ สงิ่ สกปรก
๑๕๘ อตั โนประวัติ ภาค ๑
โสโครกนา่ ขยะแขยง เหน็ เป็นบ่อเงนิ บอ่ ทองนา่ ชอบใจ และเป็น
ไดห้ ลายๆ อยา่ งมากทเี ดยี ว อกี อยา่ งหนง่ึ เมอื่ นอนหลบั ไป แลว้ ฝนั
เห็นส่ิงต่างๆ เป็นส่ิงท่ีน่ารักน่ากลัว สิ่งท่ีชอบใจและไม่ชอบใจ
ขึ้นอย่กู บั นสิ ยั ของคนชอบฝันเป็นอยา่ งน้นั ชอบฝันเปน็ อย่างนี้
จึงเรียกว่า สุบินนิมิต จะเป็นอุคคหนิมิตหรือสุบินนิมิตก็ตาม
จะเป็นคุณเป็นโทษด้วยกันทั้งสองอย่าง ถ้ามีนิมิตเกิดข้ึนแล้ว
แต่ไม่มีปฏิภาคนิมิตมาเป็นองค์ประกอบแล้ว นิมิตต่างๆ ก็จะ
ไมม่ ีประโยชนอ์ ะไร หรอื หากมปี ฏิภาคนิมติ อยู่ แต่ตคี วามหมาย
ในนิมิตน้ันไม่ถกู ก็ไมไ่ ดป้ ระโยชนอ์ ะไร และอาจเกดิ เปน็ โทษได้
ถา้ ตคี วามหมายในนมิ ติ นน้ั ถกู ตอ้ ง กจ็ ะเกดิ ประโยชนม์ ากทเี ดยี ว
ฉะนั้น ผู้ปฏิบัติต้องมีความเข้าใจในนิมิตให้ถูกต้อง
นิมิตนั้นจะเป็นอุบายในทางปัญญาได้เป็นอย่างดี จะมีกำ� ลังใจ
ปฏบิ ัติภาวนาไดม้ ากทเี ดยี ว ถ้าปัญญาไมด่ ี ไม่มคี วามฉลาดและ
ขาดเหตผุ ล ถงึ จะมนี มิ ติ เกดิ ขน้ึ เปน็ ในลกั ษณะใด เชน่ เหน็ รา่ งกาย
ตวั เองมแี ต่สง่ิ เปื่อยเนา่ มีแต่ความสกปรกโสโครก หรอื เปน็ รา่ ง
กระดกู กต็ าม เมอ่ื จติ ถอนออกจากสมาธแิ ลว้ กเ็ ฉยๆ ไมม่ ปี ฏภิ าค
คอื ปญั ญาพจิ ารณาอะไรเลย นมิ ติ นนั้ กไ็ มม่ ปี ระโยชนแ์ ตอ่ ยา่ งใด
จะมีความเข้าใจว่าเราได้อสุภะ หรือเกิดอสุภะแก่ตัวเราแล้ว
นมิ ิตเหน็ ทางเดินจงกรมขวางหน้า ๓ เสน้ ๑๕๙
หาใช่ไม่ นั้นเป็นเพียงนิมิตในภาพอสุภะเท่านั้น อสุภะของจริง
ต้องรู้เห็นเน่ืองด้วยสติปัญญาเท่าน้ัน จึงท�ำให้ใจเกิดนิพพิทา
มีความเบอื่ หน่ายเกดิ ข้ึนทใ่ี จได้
เมื่อข้าพเจ้าได้ใช้ปัญญาพิจารณาในนิมิตท่ีเกิดขึ้น ก็
ตคี วามหมายไดใ้ นทนั ทวี า่ เปน็ เรอ่ื งอะไร กร็ วู้ า่ เปน็ เรอื่ งการปฏบิ ตั ิ
ของตวั เองทงั้ หมด จากนน้ั มากร็ วู้ ธิ กี ารผอ่ นปรนในวธิ กี ารบงั คบั
ธาตุขันธ์ของตัวเองลง ให้อาหารพอดีกับธาตุขันธ์ที่ต้องการ
พอทรงตวั อยไู่ ดไ้ มเ่ หนอื่ ยจนเกนิ ไป การเดนิ จงกรม การนง่ั สมาธิ
กไ็ มต่ อ้ งบบี รา่ งกายใหม้ ากนกั แตส่ ตปิ ญั ญาใหค้ งเสน้ คงวา ไมว่ า่
จะยนื เดนิ นง่ั นอน พกั ผอ่ นในอริ ยิ าบถตา่ งๆ มสี ตปิ ญั ญาพจิ ารณา
ในหลักความเป็นจริงต่อเน่ืองกันอยู่เสมอ และมีความเข้าใจได้
อย่างชดั เจนวา่ การท�ำความเพียรในอบุ ายใดก็ตาม จะต้องมีสติ
ปัญญารอบร้เู ป็นหลักยืนตัวอยา่ งม่ันคง สว่ นอิริยาบถต่างๆ น้ัน
เป็นเพียงอุบายประกอบของสติปัญญา เป็นอุบายวิธีคลาย
ความเครียดทางร่างกายเท่าน้ัน ส่วนความเพียรทางใจ ต้องใช้
สติปญั ญาพจิ ารณาในสจั ธรรมตามความเป็นจรงิ อยเู่ สมอ น้ีคอื
ความเพียรอย่างแทจ้ ริง
เมอื่ ไดว้ างพนื้ ฐานของการปฏบิ ตั ไิ วด้ แี ลว้ แนวทางปฏบิ ตั ิ
๑๖๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ก็ตรงต่อมัชฌิมาทางสายกลางเท่านั้นเอง การท�ำความเพียร
ไม่ตึงเครียดดังที่เคยเป็นมา สติปัญญาพิจารณาในสัจธรรมใด
รู้สึกว่าเกิดความแยบคายภายในใจได้ง่าย จึงมีความมั่นใจใน
ตัวเองขึ้นมาว่า มัชฌิมาปฏิปทาอันเป็นทางสายกลางนั้นอยู่ใน
ตรงน้เี อง และร้ตู วั ว่าเราเข้าทางสายกลางได้แลว้
เมื่อเข้าพรรษามาย่างเข้าเดือนท่ี ๓ การปฏิบัติภาวนา
ก็มีความหนักแน่นในอุบายเดิม ผลของการปฏิบัติก็รู้ว่ามี
ความก้าวหน้าต่อเนื่องกัน เกิดมีก�ำลังใจและมีความเชื่อมั่นใน
ตัวเองสูง มีความมนั่ ใจในตัวเองว่า ถ้าเราปฏิบตั ิตอ่ เน่ืองกันอยู่
อย่างน้ี มรรคผลนิพพานก็จะได้จะถึงในชาตินี้อย่างแน่นอน
ความตงั้ ใจทตี่ ง้ั ไวเ้ ดมิ วา่ วนั ออกพรรษาจะเปน็ วนั ตดั สนิ ชข้ี าดวา่
จะหลุดพน้ หรอื จะตายในวนั นน้ั กเ็ ปน็ อนั วา่ เป็นโมฆะไป เพราะ
มาเข้าใจในมัชฌิมาทางสายกลางของตัวเราแล้ว ถึงจะรู้ว่าเรา
เขา้ เสน้ ทางมชั ฌมิ าไดแ้ ลว้ ความยาวสน้ั ของเสน้ ทางทเี่ ราจะตอ้ ง
ถึงในจุดน้ันยังไม่ทราบว่าใกล้ไกลแค่ไหน แต่มีความม่ันใจ
ในตวั เองวา่ เหมอื นการเดนิ ทางไปยงั สถานทเ่ี รายงั ไมเ่ คยไป เรา
ตอ้ งดแู ผนทใ่ี หด้ ี จำ� เลขหมายของเสน้ ทางใหแ้ มน่ ยำ� ถงึ จะมที าง
หลายเสน้ สวนกันไปมาแยกซา้ ยขวาอยกู่ ต็ าม แต่เลขหมายของ
นิมิตเหน็ ทางเดินจงกรมขวางหนา้ ๓ เส้น ๑๖๑
เสน้ ทางเราจะไมใ่ หห้ ลง นนั้ คอื เสน้ ทางทตี่ รงตอ่ จดุ หมายทเี่ ราจะ
ตอ้ งถงึ นฉี้ นั ใด ผปู้ ฏบิ ตั ิ เมอ่ื รแู้ นวทางของมชั ฌมิ าทางสายกลาง
ของตวั เองได้ชัดเจนแล้ว จะไมม่ ีการหลงทางใหเ้ กิดความล่าชา้
แต่อย่างใด ไม่มีการสมุ่ เดาในการปฏิบตั ิแต่อย่างใด
จะเรียกวา่ มคฺคา มคคฺ ญาณ ก็เปน็ อันถกู ต้องแล้ว นั้นคือ
รจู้ กั การปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ งตรงตอ่ มรรคผลนพิ พานไดแ้ ลว้ จะถงึ เรว็
หรือช้านั้นขนึ้ อย่กู ับเราผปู้ ฏิบตั เิ ท่านัน้ เอง เหมอื นกับการขับรถ
ท่เี ข้าทางตรงได้แล้ว จะสปดี ขบั เรว็ หรือชา้ น้นั ข้ึนอยูก่ ับรถหรอื
ผขู้ ับรถเทา่ น้นั ถ้ารถดี คนขับดี ก็ถงึ เรว็ ถา้ รถไมด่ ี คนขับไม่ดี
กจ็ ะถงึ ชา้ ขอ้ สำ� คญั ขออยา่ ใหร้ ถตายกลางทางกแ็ ลว้ กนั นฉ้ี นั ใด
ถึงจะเข้าเส้นทางปฏิบัติเป็นมัชฌิมาได้แล้ว แต่นิสัยจะเป็น
ตวั กำ� หนด เชน่ นสิ ยั เปน็ ขปิ ปาภญิ ญา หรอื นสิ ยั เปน็ ทนั ธาภญิ ญา
จะเป็นตวั ก�ำหนด เรยี กว่า ปฏปิ ทา ๔
๑) สขุ าปฏปิ ทา ขปิ ปาภญิ ญา ปฏบิ ตั มิ คี วามสะดวกสบาย
บรรลุธรรมไดเ้ รว็
๒) สขุ าปฏิปทา ทันธาภญิ ญา ปฏบิ ัติธรรมมีความสะดวก
สบาย แตบ่ รรลุธรรมไดช้ า้
๓) ทกุ ขาปฏปิ ทา ขปิ ปาภญิ ญา ปฏบิ ตั ธิ รรมมคี วามลำ� บาก
๑๖๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ยากเข็ญ แต่บรรลธุ รรมไดเ้ รว็
๔) ทกุ ขาปฏปิ ทา ทนั ธาภญิ ญา ปฏบิ ตั ธิ รรมมคี วามลำ� บาก
แสนสาหัสสากรรจ์ แตก่ ารบรรลธุ รรมไดช้ ้า น้เี ราจะอย่ใู นนิสยั
ประเภทไหนนั้นไมส่ ำ� คญั ขอใหเ้ ราไดพ้ น้ จาก ๓ ภพในชาตนิ ี้ก็
ดแี ล้ว
ก่อนออกพรรษา ๗ วัน พยายามเร่งท�ำความเพียรดูซิ
จะผ่านไปได้ไหม ถ้าผ่านไปได้ก็เป็นอันว่าเรามีความโชคดีไป
ถา้ ผา่ นไมไ่ ดก้ ไ็ มเ่ ปน็ ไร ในทสี่ ดุ กไ็ มผ่ า่ นจรงิ ๆ กเ็ ปน็ อนั วา่ อนิ ทรยี ์
เรายังออ่ น ผลไม้เพง่ิ เกิด จะบีบบังคับให้สกุ ในช่วงเวลา ๓ เดอื น
ไม่ได้ ก็ต้องคอยในวันข้างหน้า จะต้องได้กินผลไม้ที่สุกหวาน
อยา่ งแนน่ อน นเี่ รากต็ อ้ งบำ� เพญ็ ใหอ้ นิ ทรยี ใ์ หแ้ กก่ ลา้ ใหต้ อ่ เนอ่ื ง
สำ� รวมกาย วาจา ใจ อย่เู สมอ การภาวนาปฏิบตั ิจะตอ้ งยืนหยัด
อยู่ในความเข้มแข็ง จะไม่ยอมเป็นทาสให้ความเกียจคร้าน
เข้ามาหลอกใจได้เลย จะอยู่ในท่ีไหน จะต้องฝึกใจเอาไว้ อย่า
ประมาทในชีวิต ไม่รู้ว่ามัจจุมารคือความตายจะมาตัดรอนใน
มรรคผลนิพพานเราเมอ่ื ไร ในเมือ่ มัจจุมารยังให้โอกาสเรา เราก็
ต้องปฏิบตั ิอย่างเตม็ ทใ่ี นชวี ติ น้ี
ออกพรรษาแลว้ ไปธุดงค์
เม่ือออกพรรษาแล้วก็ได้ชักชวนเพ่ือนได้องค์หนึ่ง ชื่อ
ครบู าคำ� ปนุ่ ทบี่ วชในปเี ดยี วกนั เพอ่ื ออกธดุ งคไ์ ปในทต่ี า่ งๆ กไ็ ด้
ไปปรึกษาครูอาจารย์ผู้ที่ท่านเคยออกธุดงค์มาก่อนแล้ว ท่านก็
ให้ค�ำแนะน�ำในวิธีออกไปอยู่ป่าในเขตท่ีกันดาร อาหารการฉัน
ในการไปจะไมม่ อี าหารตามทเ่ี ราตอ้ งการ ชาวบา้ นเขากนิ อยา่ งไร
เรากต็ อ้ งฉนั อยา่ งนนั้ ฝกึ ตวั เปน็ ผเู้ ลยี้ งงา่ ย อยา่ ใหเ้ กดิ ความกงั วล
ในเรื่องอาหาร การหลับนอนไมม่ คี วามสบายเลย ไปในหมูบ่ ้าน
ที่เขาไม่เคยท�ำบุญ เพียงได้ข้าวเปล่าก็ต้องฉันเพียงข้าวเปล่า
เทา่ นนั้ ในบางหมูบ่ ้านเขาจะมาท�ำแครใ่ ห้ อาจจะมเี สื่อมหี มอน
ใหบ้ า้ ง บางหมบู่ า้ นกต็ อ้ งนอนตามพน้ื ดนิ ตอ้ งรกั ษาตวั อยา่ งหนงึ่
นนั้ คอื อาการไขป้ า่ มาลาเรยี เมอ่ื ไขแ้ ลว้ จะไมม่ ยี ารกั ษา ตอ้ งศกึ ษา
๑๖๔ อตั โนประวัติ ภาค ๑
ยาสมนุ ไพรอยใู่ นปา่ เอาไว้ เพอื่ จะไดน้ ำ� มารกั ษาตวั ในเวลาไมส่ บาย
ไปพกั นอนอยทู่ ไ่ี หนใหไ้ หวพ้ ระแผเ่ มตตาใหแ้ กภ่ มู เิ จา้ ที่ อยา่ ใหม้ ี
ไสยศาสตร์เวทมนตรไ์ ปบน่ สาธยายใดๆ
ผู้ไปธุดงค์ต้องเชื่อกรรม ถ้าเราไม่เคยท�ำกรรมชั่วเอาไว้
ในชาตกิ อ่ น จะไมม่ ศี ตั รทู ำ� อะไรแกเ่ ราได้ หรอื เราเคยสรา้ งกรรม
ท่ไี ม่ดีเอาไวใ้ นครงั้ ก่อน กรรมนน้ั จะตามสนองเรา กย็ อมรับผล
ของกรรมน้ัน ข้อส�ำคัญต้องเชื่อในคุณของพระพุทธเจ้า เชื่อใน
คุณของพระธรรม เช่ือในคุณของพระอริยสงฆ์อย่างหนักแน่น
ทเี ดยี ว อกี ประการหนง่ึ เราตอ้ งเปน็ ผปู้ รารภความเพยี รอยเู่ สมอ
การประพฤติปฏิบัติธรรมน้ีมีความส�ำคัญเป็นอย่างมากทีเดียว
ถ้าเป็นผู้ต้ังอยู่ในศีล ตั้งอยู่ในธรรมดีแล้ว จะไม่มีภัยอันตราย
เกดิ ขึ้น ดังภาษิตว่า ธมฺโม หเว รกขฺ ติ ธมฺมจารึ ผู้ประพฤตธิ รรม
ปฏิบัติธรรม พระธรรมย่อมตามรักษาไม่ให้ตกไปในทางท่ีชั่ว
จะเปน็ ผเู้ จริญในธรรมตลอดไป
เมื่อได้ศึกษาในวิธีการออกธุดงค์จากครูอาจารย์มี
ความเข้าใจดีแลว้ ทัง้ สององค์กไ็ ดล้ าครูอาจารยอ์ อกเดินทางไป
ธุดงค์ต่อไป ในชวี ติ เราไมเ่ คยออกธดุ งคม์ ากอ่ น สมั ภาระบริขาร
เหน็ วา่ มคี วามจำ� เปน็ ประจำ� วนั กเ็ กบ็ ใสย่ า่ มเกบ็ ใสบ่ าตรเตม็ พอดี
ออกพรรษาแลว้ ไปธุดงค์ ๑๖๕
ในขณะที่ออกเดินใหม่ๆ การแบกกลด สะพายบาตร สะพาย
กระตกิ น�้ำเยน็ กไ็ มห่ นักเทา่ ไรนัก เม่อื เดนิ ทางไปนานๆ บรขิ าร
ต่างๆ เหมือนกับหนักเอาการเลยทีเดียว ไปพักนอนอยู่ในป่า
หา่ งหมบู่ า้ นพอประมาณ พอจะไปบณิ ฑบาต ถงึ บางบ้านทีเ่ ขา
เคยรู้จักพระธุดงค์อยู่บ้างก็พอได้อาหารได้ฉันอยู่บ้าง บางบ้าน
เขาไมร่ กู้ ใ็ สแ่ ตข่ า้ วเปลา่ กฉ็ นั ขา้ วเปลา่ ไป บางบา้ นกใ็ หก้ ลว้ ยบา้ ง
แหม! กลว้ ยสกุ ลกู เดยี วมคี ณุ คา่ มากทเี ดยี ว การจะพรรณนาเรอ่ื ง
ความไมส่ ะดวกในการออกธดุ งคใ์ หฟ้ งั นนั้ เปน็ เรอื่ งทยี่ ดื ยาวมาก
จะหาความสะดวกสบายในความเป็นอยู่น้ันไม่มีเลย แต่ก็มี
ความพอใจในการไป ถือว่าเราได้ปฏิบัติตามเยี่ยงอย่างของ
พระอรยิ เจ้าท้งั หลายแล้ว
๑๖๖
นมิ ิตเห็นคนจ�ำนวนมาก
ในคนื หนง่ึ นมิ ติ เหน็ คนเปน็ จำ� นวนมากมายหลายลา้ นคน
มที งั้ ผชู้ าย ผหู้ ญิง เฒา่ แก่ ปานกลาง หนุ่มสาว และเด็กเกาะกนั
เป็นหมู่ๆ เล่นกันอย่างสนุกสนาน ผู้ใหญ่ท้ังผู้หญิงผู้ชายพากัน
เตน้ รำ� ขบั รอ้ งดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ อยา่ เมามนั ลกั ษณะอาการของทกุ ๆ คน
อยใู่ นความมนึ เมาดว้ ยกนั ทงั้ นนั้ คนทง้ั หลายนน้ั ไมม่ คี วามละอาย
ตอ่ กนั และกนั แต่อยา่ งใด มีผู้ชายกอดจบู หญิง มีทง้ั ผหู้ ญงิ กอด
จบู ชาย กอดคอกันเตน้ รำ� เกาะเกีย่ วกันเป็นหมู่ๆ อยนู่ ้ัน พวก
หนมุ่ สาวกพ็ ากนั กอดจบู กนั ไป เตน้ รำ� ขบั รอ้ งกนั ไปตามหนมุ่ สาว
พากนั ม่ัวสุมกันในทางโลกยี ์ เหมอื นคนไมม่ สี ตลิ ะอายตอ่ กนั แต่
อยา่ งใด ไมร่ วู้ า่ ผวั ใครเมยี ใคร ลกู ใครหลานใคร ในกริ ยิ าทที่ ำ� ตอ่ กนั
เหมอื นกบั สตั ว์ดิรจั ฉาน ชายแก่ๆ จนหวั ขาวจวนจะเขา้ โลงเผา
๑๖๘ อัตโนประวัติ ภาค ๑
อยแู่ ล้วกย็ ังมาเตน้ รำ� ขบั รอ้ งเกาะเก่ยี วกันกบั หญิงสาว หญิงสาว
กม็ คี วามพอใจยนิ ดเี กาะเกยี่ วกบั ชายแกเ่ หลา่ น้ี อายหุ า่ งกนั รนุ่ ลกู
หลาน เหลน ทุกคนอยู่ในอาการความมึนเมาด้วยกันทั้งน้ัน
พวกขเี้ หลา้ เมายากฆ็ า่ กนั ตกี นั ดว้ ยอาวธุ ตา่ งๆ มที ง้ั หวั แตก ขาหกั
ล้มตายกันไปเปน็ จ�ำนวนมาก
ในขณะนั้นก็มีเสียงประกาศว่า ถ้าใครต้องการไปสู่
พระบรมสุข สถานท่ีส้ินทุกข์ในวัฏสงสาร ไม่ต้องกลับมาเกิด
ในโลกมนษุ ยอ์ กี จงพากนั ไปตามเสน้ ทางสายนี้ เมอ่ื ขา้ พเจา้ มอง
ไปดูก็เห็นเส้นทางสายใหญ่เท่ากันกับทางรถยนต์ ปากทางท่ีมี
เสียงประกาศอยู่น้ันมีซุ้มประตูขนาดใหญ่ท่ีเรียกว่าประตูโขง
และมปี า้ ยตดิ อยตู่ รงกลางประตู อา่ นไดช้ ดั เจนทเี ดยี ว มขี อ้ ความ
เขยี นบอกวา่ ใครมคี วามตอ้ งการพน้ จากทกุ ขเ์ พอื่ พบกบั สขุ นริ นั ดร์
จงพากันไปตามเส้นทางสายน้ี และเสียงก็ประกาศต่อเน่ืองกัน
บางคนก็ยืนอ่านป้ายแล้วก็เดินหนีไป ไม่มีความสนใจกับเสียง
ประกาศนั้นเลย บางคนก็เดินไปตามเส้นทางน้ันได้ ๒-๓ วา
แลว้ หันหนา้ กลบั มาดหู ม่ทู ี่กำ� ลงั ขับรอ้ งเตน้ รำ� แล้วกว็ ง่ิ กลับมา
เตน้ รำ� ขบั รอ้ งกบั หมตู่ อ่ ไป บางคนกเ็ ดนิ ตามทางนนั้ ไปไดป้ ระมาณ
๑๐-๒๐ วา แลว้ เหลยี วหนา้ กลบั มาดเู พอ่ื นๆ เลน่ กนั อยา่ งสนกุ สนาน
นิมติ เห็นคนจ�ำนวนมาก ๑๖๙
ก็รีบวิ่งกลับคืนมาเล่นกับหมู่อีกต่อไป เหมือนไม่มีใครๆ สนใจ
อยากจะไปสู่พระบรมสุขอันเป็นสถานที่พ้นจากทุกข์นี้เลย ฟัง
เสียงประกาศแล้วก็เฉยๆ ไม่ให้ความสนใจอะไร หลายคนเป็น
จ�ำนวนมากเหมือนกับไม่ได้ยินเสียงประกาศนี้เลย เหมือนกับ
เปน็ งานมหรสพโลก มที ง้ั เสยี งปเ่ี สยี งกลอง มเี สยี งดงั กกึ กอ้ งสนน่ั
หวัน่ ไหวไปทวั่ โลกทีเดยี ว
๑๗๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
อยากไปใหพ้ ้นทุกข์ในขณะนี้
ทีเดยี ว
เม่อื ข้าพเจ้าได้ยินเสยี งประกาศนแ้ี ล้ว และได้อา่ นปา้ ยที่
ประตูที่เขียนเอาไว้ เกดิ มีก�ำลังใจอยากจะไปตามเส้นทางนเ้ี ปน็
อยา่ งมาก แตก่ ไ็ มม่ ชี อ่ งทางทจี่ ะผา่ นฝงู ชนนไ้ี ปได้ จากนนั้ ขา้ พเจา้
จงึ หาวธิ เี ดนิ ออ้ มในฝงู ชนนนั้ ไปในทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก แลว้ เดนิ
โคง้ เขา้ มาหาเสน้ ทางเดมิ เมอ่ื เดนิ มาถงึ เสน้ ทางแลว้ กห็ าชอ่ งทาง
ท่ีจะขึ้นไปสู่ถนนใหญ่ แล้วมองไปเห็นช่องทางเล็กๆ เส้นหน่ึง
เปน็ ชอ่ งทางทเี่ ดนิ ไปไดเ้ พยี งคนเดยี ว เมอื่ มองดเู สน้ ทางนนั้ อยกู่ ็
เหน็ รอยคนเดนิ ไปกอ่ นแลว้ มที ง้ั รอยเกา่ และรอยใหม่ แตไ่ มร่ วู้ า่
เป็นรอยเท้าของใคร
๑๗๒ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
ในขณะน้ันก็มีเสียงประกาศบอกมาว่า นี่คือเส้นทางที่
พระอาจารย์ม่ันได้พาหมู่คณะเดินทางไปก่อนแล้ว ท่านจงเดิน
ตามเส้นทางนี้ไปเถิด ข้าพเจ้าได้ยินเสียงประกาศน้ันแล้วก็มี
ความต้ังใจเป็นอย่างยิ่งว่าจะเดินตามเส้นทางน้ีไป จากน้ันก็รีบ
เดนิ ตามทางนไี้ ปดว้ ยความตงั้ ใจเพอื่ จะใหถ้ งึ ทางเสน้ ใหญท่ มี่ อี ยู่
ข้างหนา้ เพราะทางใหญน่ ้นั ยกคนั สูงประมาณ ๘ เมตร มีไม้ไผ่
ขนาดใหญเ่ กิดหนาแน่นตามไหล่ทาง เม่อื เดนิ ข้ึนไปได้ประมาณ
๒ เมตร ปรากฏวา่ ดนิ ที่เหยยี บขึ้นไปน้นั อ่อนยุ่ยไปหมด เหยียบ
ในทตี่ รงไหน ดนิ กไ็ ดพ้ งั ไปในทแี่ หง่ นนั้ มอื กก็ ำ� ตน้ ไผเ่ หนยี่ วรงั้ ไว้
อยา่ งแนบแนน่ ใชเ้ ทา้ ยนั กอไผอ่ กี กอหนงึ่ เอาไว้ แตก่ อไผท่ ถี่ กู ยนั
ก็ได้โค่นล้มลงไป ด้วยก�ำลังเท้ายันกอไผ่อีกก็โค่นลงอีก ต้องใช้
ความพยายามอยา่ งเตม็ ที่ ในทสี่ ดุ กข็ น้ึ ไปถงึ เสน้ ทางใหญไ่ ดต้ าม
ความตง้ั ใจ เมอ่ื มองลงไปในเสน้ ทางทขี่ นึ้ มา เหน็ กอไผข่ นาดใหญ่
โคน่ ลงไปหลายกอ และยังเห็นกอไผเ่ ก่าๆ โคน่ ลงไปเป็นจำ� นวน
มากทีเดียว จึงได้รู้ว่าครูอาจารย์ท่ีไปก่อนเราท่านก็ใช้เท้ายัน
กอไผน่ ีโ้ ค่นลม้ ลงไปเหมอื นกนั
จากน้ันก็ได้มองไปดูปากทางท่ีมีฝูงชนแออัดกันอยู่เป็น
จำ� นวนมาก ขา้ พเจา้ กใ็ ชม้ อื กวกั เรยี กเพอ่ื ใหเ้ ขาเดนิ ทางมากบั เรา
อยากไปให้พน้ ทกุ ข์ในขณะนีท้ เี ดียว ๑๗๓
บางคนกเ็ ดนิ ทางมาไมก่ วี่ าแลว้ หนั หนา้ ไปดบู รรดาเพอ่ื นๆ ทกี่ ำ� ลงั
เตน้ รำ� ขบั รอ้ งกนั อยอู่ ยา่ งสนกุ สนาน กร็ บี วงิ่ กลบั คนื ไปเตน้ รำ� กบั
เพื่อนฝูงต่อไป แต่คนส่วนใหญ่ไม่มีความสนใจจะตามข้าพเจ้า
มาเลย กป็ ลอ่ ยตามเรอ่ื งของเขาไป ไฉนเราจะมาคอยเขาใหเ้ สยี เวลา
แตบ่ างคนกป็ ระนมมอื แสดงความยนิ ดตี อ่ ขา้ พเจา้ อยบู่ า้ ง แตก่ ย็ งั
ไมพ่ ร้อมทีจ่ ะมากบั ขา้ พเจา้ ในขณะนี้ ขณะนี้เราจะออกเดินทาง
ไปให้ถึงท่ีสุดแห่งความพ้นทุกข์เท่าน้ัน เม่ือเริ่มก้าวขาออกไป
จติ กไ็ ดถ้ อนออกมาจากสมาธใิ นขณะน้นั
พจิ ารณาดเู รอ่ื งนมิ ติ ทเี่ กดิ ขน้ึ
ในช่วงที่จิตได้ถอนออกจากสมาธิแล้ว ได้พิจารณาดูใน
เหตกุ ารณใ์ นนมิ ติ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดค้ วามวา่ โลกมนษุ ยน์ ม้ี คี วามเปน็ อยู่
อยา่ งนมี้ าแตก่ าลไหนๆ ทกุ คนตอ้ งมคี วามหลงใหลซงึ่ กนั และกนั
มีความผกู พันกนั ดว้ ยความรัก ความใคร่ ในกามคณุ มรี ูป เสยี ง
กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ หลงในความสขุ ของโลกยี ์ จงึ ยากทจ่ี ะออกหนี
จากโลกน้ไี ปได้ ในโลกนีก้ ็จะต้องเป็นอยอู่ ย่างนต้ี ลอดไป ไม่มีท่ี
สน้ิ สุดลงได้ จะมองเหน็ กงจกั รเปน็ ดอกบวั เห็นชัว่ ว่าเปน็ สง่ิ ที่ดี
เหน็ สดี �ำวา่ เปน็ สขี าว เหน็ ผดิ เปน็ ถกู ตลอดไป แมต้ วั เราเองก็เคย
ได้อยใู่ นโลกน้ีมาแล้ว
จากนี้ไปเราจะไม่หลงใหลปล่อยใจให้เป็นไปในลักษณะ
อยา่ งนอ้ี กี ใครมคี วามเขา้ ใจวา่ โลกนเ้ี ปน็ สถานทน่ี า่ อยอู่ าศยั กใ็ ห้
พจิ ารณาดเู รือ่ งนิมิตทเ่ี กดิ ข้นึ ๑๗๕
เขาอย่กู ันตอ่ ไป จะใหค้ นท้งั หลายในโลกนไ้ี ดร้ เู้ ห็นทกุ ข์ โทษ ภยั
ในโลกนี้พร้อมกันนั้น เป็นไปไม่ได้เลย ใครมีสติปัญญาท่ีดี
มีความฉลาดรอบรู้ตามความเป็นจริงของโลกน้ีได้อย่างฉับไว
ไมม่ ีส่ิงใดๆ มาปิดบัง ดงั คำ� วา่ นตถฺ ิ โลเก รโหนาม ความล้ีลับ
ปิดบังในโลกนี้ จะไม่มีปิดกั้นสติปัญญาได้เลย ทุกอย่างจะต้อง
ถกู เปดิ เผยความจรงิ เนอื่ งดว้ ยสตปิ ญั ญานท้ี ง้ั หมด จงึ รเู้ หน็ โลกน้ี
ไดอ้ ยา่ งชัดเจนว่าความเป็นมาของโลกเปน็ อยา่ งน้ี ความเป็นอยู่
ของโลกมคี วามเปน็ อยูอ่ ย่างนี้ ความเป็นไปของโลกกจ็ ะเป็นอยู่
เหมือนในยคุ ปจั จบุ ันนีต้ ่อไป ใครได้มาเกิดในโลกนี้กจ็ ะตอ้ งเป็น
อย่างน้ี และมาพบเหน็ อย่างนท้ี ุกภพทุกชาติไป ใครจะลอยตาม
กระแสของโลก หรอื ใครจะทวนกระแสของโลกนีไ้ ปได้ กข็ น้ึ อยู่
กับสตปิ ญั ญาและความสามารถแต่ละบุคคล ถา้ ผูม้ ีสตปิ ัญญาท่ี
ดีก็ผ่านโลกน้ีไปได้ ถ้ามีปัญญาในระดับกลางก็พอทรงตัวอยู่ได้
ถา้ ผมู้ ีปัญญาทรามกจ็ ะหลงระเรงิ ลอยตามกระแสโลกน้ตี ่อไป
จงึ ใชส้ ตปิ ญั ญาสอนตวั เองวา่ นเี่ รามคี วามยนิ ดอี ยใู่ นโลกนี้
อยหู่ รอื เราเกดิ มาไดว้ ตั ถสุ มบตั ขิ องโลกนมี้ อี ะไรบา้ ง และความสขุ
ของโลกท่ีแทจ้ ริงมอี ย่ทู ไี่ หน ความเขา้ ใจวา่ กามคณุ เป็นความสขุ
หาใชไ่ ม่ เพราะกามคณุ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ความทกุ ขโ์ ดยตรง กามคณุ
๑๗๖ อัตโนประวตั ิ ภาค ๑
เปรียบเหมือนกับน�้ำตาลเคลือบยาพิษ เม่ือติดลิ้นในครั้งแรก
เหมือนมรี สหวาน เมอ่ื น�้ำตาลหมดความหวานไปแล้ว ยาพิษจะ
ใหผ้ ลในทนั ที นฉ้ี นั ใด ความเขา้ ใจผดิ ในกามคณุ กฉ็ นั นน้ั กามคณุ
เปรียบเหมือนเหยอ่ื หมุ้ เบ็ด ปลาตาบอดมากลนื เมื่อไร เบ็ดกจ็ ะ
เกาะติดปากด้ินไม่หลุด ทั้งเจ็บปวดปากตัวเองและตายอยู่กับ
เบ็ดนัน้ นฉ้ี นั ใด ใจทีห่ ลงอยู่กบั กามคณุ กเ็ ป็นในลักษณะฉันนน้ั
จะไมม่ ีวนั ผอ่ นคลายความทกุ ข์ทใี่ จยงั ผูกพนั อยกู่ ับกามคุณน้ีแต่
อยา่ งใด
นเ่ี ราผหู้ นงึ่ เคยมคี วามผกู พนั ในกามคณุ มาแลว้ ในอดตี ชาติ
เราก็เคยผูกพันกับกามคุณนี้มา ในชาติปัจจุบันก็เหมือนกันกับ
ชาตใิ นอดตี ทผี่ า่ นมา ในชาตอิ นาคตเมอื่ ไปเกดิ ใหม่ กามคณุ กจ็ ะ
เหมือนชาติปัจจุบัน ในคืนน้ันจึงจ�ำเป็นต้องใช้ปัญญาอบรมใจ
สอนใจอยตู่ ลอดทง้ั คนื เพอื่ ใหใ้ จไดร้ เู้ หน็ ทกุ ข์ โทษ ภยั ทเี่ กดิ จาก
กามคุณให้มากทีเดียว เพ่ือเป็นอุบายป้องกันความหลงใหล
งมงายเข้าใจผิดในกามคุณให้หมดไป อาศัยนิมิตในคืนน้ีมาเป็น
อุบาย ใช้ความเปรียบเทียบในความเป็นอยู่ของโลกนี้ ใจจึงมี
ความกระจ่างเข้าใจในความเป็นอยู่ของโลกน้ีได้เป็นอย่างดี มี
จดุ ไหนบา้ งทค่ี นเราตดิ พนั อยกู่ บั โลกน้ี มจี ดุ ใหญๆ่ ทมี่ คี วามพอใจ
พจิ ารณาดูเรอื่ งนมิ ติ ทเี่ กดิ ขน้ึ ๑๗๗
ยินดอี ยใู่ นกามคณุ เทา่ น้ัน ความยดึ มน่ั ถอื มั่นกย็ ดึ อยใู่ นกามคณุ
คอื รูป เสยี ง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ อยา่ งเหนยี วแนน่ ทเี ดียว
ใจมีความเกี่ยวพันอย่างเหนียวแน่น ยากที่จะแก้ไขได้
แตก่ ไ็ มเ่ หลอื วสิ ยั ถา้ หากมสี ตปิ ญั ญาทดี่ ี มอี บุ ายสอนใจอยบู่ อ่ ยๆ
ใจก็จะค่อยรู้เห็นตามปัญญาน้ีอย่างมีเหตุผล ใจมีความมืดมน
หลงอยู่ในสิ่งใด ปัญญาต้องเข้าไปแก้ ใช้การพิจารณาอยู่เสมอ
ใจก็จะรับรู้เห็นจริงตามปัญญานี้ไปเร่ือยๆ ในวันหนึ่งใจก็จะ
รเู้ ห็นตามปญั ญาได้อย่างชัดเจน ใจก็จะรู้เหน็ ทกุ ข์ โทษ ภยั ใน
ความหลงผิดได้อย่างเปิดเผย เมื่อใจรู้เห็นตามปัญญาอย่างน้ี
ใจก็จะละวางจากความเห็นผิดเอง นี้จึงเรียกว่าปัญญาอบรมใจ
สอนใจ ไม่ใหเ้ กดิ ความหลงอีกตอ่ ไป
ออกธุดงคไ์ ปในทอี่ ่ืนๆ
จากนั้นก็ได้ออกธุดงค์ในท่ีแห่งอ่ืนไปเร่ือยๆ จนถึงบ้าน
โคกตังแคน เข้าเขตอ�ำเภอสุวรรณคูหา ที่นี่เป็นสถานที่หลวงปู่
มหาบุญมีเคยจ�ำพรรษามาแล้ว ๑ ปี มีกุฏิมุงด้วยหญ้าคาเป็น
กระต๊อบอย่หู ลายหลงั จงึ ได้หยดุ พกั ภาวนาปฏบิ ตั อิ ยใู่ นทแ่ี หง่ นี้
เมอ่ื ปฏบิ ตั มิ าไดป้ ระมาณ ๑๐ วนั กเ็ กดิ มนี มิ ติ ขน้ึ มาอกี ในคนื นนั้
เมอ่ื ทำ� สมาธจิ ติ มคี วามสงบไดท้ แ่ี ลว้ กเ็ กดิ เปน็ นมิ ติ ขนึ้ มา ปรากฏ
เหน็ จักรคนั หนึง่ มีการเย็บผ้าได้เอง ไม่มีคนอยใู่ นทน่ี น้ั เหน็ ผา้ ที่
เย็บเสร็จแล้วไหลออกมาเป็นตัวๆ กองกันอยู่เป็นจ�ำนวนมาก
อยากเห็นผ้าออกมาเป็นชุดอะไร ผ้าก็จะไหลออกมาตามที่เรา
อยากจะเห็น
จากนั้นจิตก็ได้ถอนออกจากสมาธิมา ปรากฏว่าจิตเป็น
ออกธุดงค์ไปในทอ่ี น่ื ๆ ๑๗๙
ลักษณะหววิ ๆ เกดิ ข้นึ มคี วามคิดความรใู้ นแง่ตา่ งๆ ไมท่ ราบวา่
เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ไม่ว่าความรู้ในทางโลกและความรู้ในทาง
ธรรม จะรขู้ นึ้ พสิ ดารอยา่ งกวา้ งขวาง เหมอื นกบั วา่ ใครจะมาถาม
ในเรอ่ื งอะไรและปญั หาอะไร จะตอบได้ทั้งหมด ไมว่ ่าปญั หาใน
ทางโลกและปญั หาในทางธรรม ไมม่ ปี ญั หาใดจะตอบไมไ่ ด้ จากนน้ั
กไ็ ปบงั คบั ใหค้ รบู าคำ� ปนุ่ ทไี่ ปดว้ ยกนั ถามปญั หา เมอ่ื ถามปญั หา
เพียงนิดเดียวก็ตอบปัญหานั้นไปอย่างยืดยาว จนเพื่อนเกิด
ความรำ� คาญ เมอ่ื ฉนั อาหารเสร็จ เพื่อนกห็ ลบหนีเข้าป่าไปเสีย
ความอยากพดู ธรรมใหใ้ ครๆ ฟงั และอยากตอบปญั หาทคี่ นถาม
ก็มีความรู้ไหลเอื่อยอยู่ในใจตลอดเวลา จนภาวนาปฏิบัติไม่ได้
เลย แตล่ ะวนั ตอ้ งเดนิ รอบวดั เพอื่ หาคนมาถามปญั หาและหาคน
มาฟงั ธรรม
ในวันหนึ่งมีโยมเอาน�้ำอ้อยสดมาถวาย ๑ ขวด เม่ือฉัน
เสร็จแลว้ เขาจะลากลบั บา้ น จบั แขนเขาเอาไวแ้ ล้วบอกวา่ เดยี๋ ว
ฟังธรรมก่อน โยมกน็ ง่ั ฟงั แสดงธรรมอยปู่ ระมาณ ๒ ช่ัวโมง จน
เวลาค่ำ� มืด โยมพดู ว่า ครบู า ผมจะรบี กลบั บา้ น ขณะน้ีควายกบั
ลกู คอยผมอย่กู ระตอ๊ บ บา้ นอยู่ไกล กระผมขอลากอ่ น ไม่ทราบ
วา่ ธรรมะทนี่ ำ� มาอธบิ ายนนั้ เกดิ จากอะไร คำ� พดู นน้ั ไหลเปน็ เรอ่ื ง
๑๘๐ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ราวตดิ ตอ่ กนั จากวนั นน้ั มา โยมไมเ่ อานำ�้ ออ้ ยสดมาถวายอกี เลย
คงจะเขด็ หลาบตอ่ พระบ้าน้�ำลายนไ้ี ปอกี นาน
จากนนั้ มาถงึ วนั พระ ๘ คำ�่ มโี ยมตามมาสง่ อาหารประมาณ
๑๐ กว่าคน เมื่อฉันเสร็จแล้ว มีโยมคนหนึ่งพูดข้ึนว่า ครูบา
หมกู่ ระผมไมไ่ ดฟ้ งั เทศนจ์ ากครบู าอาจารยม์ านานแลว้ หมกู่ ระผม
จึงขออาราธนานิมนต์ท่านครูบาเทศน์ให้หมู่กระผมฟังด้วย
พอได้ยินว่าโยมอยากฟังเทศน์เท่าน้ัน ธรรมะที่มีอยู่ก็ไหลเอ่ือย
ออกมารบั ทนั ทวี า่ ในวนั นเี้ ราจะไดเ้ ทศนอ์ ยา่ งเตม็ ทแ่ี ลว้ ในขณะนน้ั
คดิ วา่ ครบู าทเี่ ปน็ หวั หนา้ ตอ้ งบอกใหเ้ ราเทศนแ์ น่ กำ� ลงั เตรยี มตวั
ทจี่ ะบรรยายธรรมะอยนู่ น้ั ครบู าผเู้ ปน็ หวั หนา้ ไดพ้ ดู ขน้ึ วา่ พอ่ ออก
แมอ่ อก อาตมาทงั้ สองเปน็ พระบวชใหม่ เทศนย์ งั ไมเ่ ปน็ ขออภยั
ด้วยนะท่อี ยากฟงั เทศน์ พอไดย้ ินเท่านัน้ แหละ อยากตะโกนขนึ้
วา่ ผมนแี้ หละเปน็ ผเู้ ทศนเ์ ปน็ อยากพดู วา่ อยา่ งนนั้ แตอ่ ดใจไวไ้ ด้
เพราะหัวหนา้ ไดพ้ ูดอยา่ งนัน้ แล้ว แต่ธรรมะอยากออกมาแสดง
เตน้ อยใู่ นใจขณะน้นั ตึกตกั ๆ อยากเทศนม์ ากทเี ดยี ว
เม่ือโยมกลับบ้านไปแล้ว จึงท�ำใจดีๆ พูดกับหัวหน้าว่า
ครบู า เมอื่ กนี้ ท้ี ำ� ไมจงึ ไมเ่ ทศนใ์ หโ้ ยมฟงั ดว้ ย ทา่ นพดู วา่ ผมเทศน์
ไมเ่ ป็น พูดสวนไปว่า ถ้าเทศน์ไมเ่ ปน็ ท�ำไมจงึ ไม่บอกให้ผมเป็น
ออกธดุ งค์ไปในที่อื่นๆ ๑๘๑
ผู้เทศน์แทนละ ทา่ นจงึ นกึ ได้วา่ อ้อ ผมลมื อย่างสนิทเลย กรรม
อะไรมาปดิ บงั กไ็ มร่ ู้ วนั พระหนา้ จะไดเ้ ทศนแ์ นน่ อน นบั แตว่ นั นนั้
ไปถึงวันพระหน้านานถึง ๗ วันเลยทีเดียว ก็นึกในใจว่าจะถึง
วันพระอีกนานเท่าไหร่ พอดีมาถึงวันพระ ๑๕ ค�่ำ พอดีใน
วันพระใหญน่ ม้ี โี ยมไปวดั มากเปน็ พิเศษ เม่อื ฉนั เสรจ็ แลว้ ครูบา
ก็ถามโยมทันทีว่า พ่อออก แม่ออก วันน้ีอยากฟังเทศน์ไหม
ทกุ คนตอบรบั วา่ อยาก อยากฟังข้าน้อย วันนี้ใหค้ รูบาทูลเทศน์
ใหฟ้ งั นะ ไดฟ้ งั ว่าให้ครบู าทูลเทศนเ์ ท่าน้ัน ใจตอบรบั ในทันที
จากนน้ั กเ็ รม่ิ พธิ อี าราธนาธรรม ใชห้ วั ขอ้ ในการแสดงธรรม
ว่า กุสลา ธัมมา อกุสลา ธมั มา แล้วก็ขยายความออกไปอย่าง
พิสดารกวา้ งขวาง ไม่รวู้ ่าตวั เองไดพ้ ดู ไดอ้ ยา่ งไร เทศน์ประมาณ
๑ ชัว่ โมงจึงหยดุ ลง จากน้นั โยมผชู้ ายหลายคนก็พากนั คลานเขา้
มาหา แลว้ จบั เอาฝา่ เทา้ ของขา้ พเจา้ ยกใสห่ วั แลว้ พดู วา่ กระผมเคย
ไดฟ้ งั เทศนค์ รบู าอาจารยม์ าแลว้ หลายองค์ แตล่ ะองคแ์ สดงธรรม
ไมด่ อี ยา่ งนเี้ ลย นคี้ รบู าเพง่ิ บวชเพยี ง ๑ พรรษา ยงั แสดงธรรมไดด้ ี
ถึงขนาดน้ี เมื่อครูบาบวชตอ่ ไปอกี หลายปี คงจะแสดงธรรมไม่มี
ใครเทียบได้เลย ทกุ คนยอมรับว่าครูบาทูลไดแ้ สดงดีมาก ครบู า
ทไี่ ปดว้ ยกนั กย็ อมรบั วา่ เทศนไ์ ดด้ มี าก ไมเ่ คยไดย้ นิ ครบู าอาจารย์
๑๘๒ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ออกธดุ งค์ไปในท่อี น่ื ๆ ๑๘๓
องค์ไหนเทศนเ์ รอ่ื ง กุสลา ธัมมา อกสุ ลา ธมั มา ไดด้ ีถึงขนาดนี้
จากนนั้ กไ็ ดเ้ ลกิ รากนั ไป ในขณะทขี่ า้ พเจา้ เทศนน์ น้ั ธรรมะ
ไหลออกมาได้อย่างไร คิดว่าธรรมะท่ีเทศน์ไปแล้วจะหมดไป
ทไี่ หนไดธ้ รรมะหมวดอน่ื เกดิ มาทดแทน ยง่ิ มากกวา่ เกา่ ไปเสยี อกี
เร่ืองทั้งหมดนี้เกิดข้ึนกับตัวเอง แต่ก็รู้ตัวอยู่ว่าพระใหม่ไม่ควร
แสดงตวั ออกมาอยา่ งน้ี แตก่ อ็ ดใจไมไ่ ด้ มแี ตอ่ ยากเทศนใ์ หค้ นฟงั
อยากตอบปัญหาที่คนถาม ยิ่งมีความรุนแรงมากข้ึน ไม่รู้ว่าจะ
ท�ำอย่างไรกับตวั เอง
ในวนั หนงึ่ ไดเ้ ขา้ ไปในหอ้ งสว้ ม หลมุ สว้ มนน้ั ขดุ ลกึ ประมาณ
๑ เมตร มกี ระดานเหยยี บขา้ งละ ๑ แผน่ ในขณะทน่ี งั่ ถา่ ยอยนู่ นั้
ไดม้ องลงไปในหลมุ สว้ ม เหน็ หนอนเปน็ จำ� นวนมากพากนั แยง่ ชงิ
กนั กนิ คถู อยนู่ นั้ ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาในหมหู่ นอนนน้ั วา่ หมหู่ นอน
ทง้ั หลายมคี วามพอใจในสงิ่ บดู เนา่ ตดิ ใจในสง่ิ สกปรก คดิ วา่ เปน็
สงิ่ ทดี่ มี คี ณุ คา่ อยกู่ นิ กนั ทงั้ วนั ทงั้ คนื นคี้ อื หมหู่ นอนทล่ี มื ตวั เหน็
ของชว่ั วา่ เปน็ ของดี เหน็ ของเหมน็ วา่ เปน็ ของหอม จงึ ไดน้ อ้ มเอา
เรอ่ื งของหนอนเขา้ มาเปรยี บเทยี บกบั ตวั เองวา่ เรากม็ คี วามลมื ตวั
ไปว่าเป็นผู้มีความสามารถแสดงธรรมได้ มีความสามารถแก้
ปัญหาได้ทุกประเด็น เกิดความลืมตัวไปว่าตัวเองเก่งกว่าใครๆ
๑๘๔ อัตโนประวัติ ภาค ๑
ออกธดุ งค์ไปในที่อน่ื ๆ ๑๘๕
ความรู้ท่ีเกิดข้ึนกับเราทั้งหมดนี้ก็เหมือนกับหนอนที่หลงผิด
กินมูตรคถู เปน็ อาหารน่ันเอง
ในขณะนนั้ กำ� ลงั นงั่ ถา่ ย ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาไปดว้ ย ในขณะ
พิจารณาเรื่องหนอนกินคูถอยู่ และน้อมหนอนเข้ามาหาตัวเอง
เหมอื นจติ เกดิ อาการวบู วาบสงบลง ความรทู้ ง้ั หมด ความสามารถ
ตอบปัญหาได้หายไปเป็นปลิดทิ้งทีเดียว จะนึกหาความรู้ท่ีเคย
เปน็ มาไมไ่ ดเ้ ลย นีเ้ ปน็ วธิ แี กป้ ัญหาของตวั เอง ถ้าไม่ได้หนอนมา
เป็นครอู าจารยแ์ ล้วกค็ งจะเป็นบ้านำ�้ ลายไปอีกนานทเี ดียว
ฉะนนั้ อุบายปัญญาท่จี ำ� นำ� มาแก้ไขปัญหาตวั เองจงึ มีอยู่
ทกุ สถานที่ แตเ่ ราจะมคี วามรอบรู้ฉลาดเอาปญั ญามาแก้ปัญหา
แกต่ วั เองไดแ้ คไ่ หน การใชป้ ญั ญาไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมพี ธิ รี ตี อง จะตอ้ ง
เดนิ จงกรมอยา่ งนนั้ ตอ้ งนง่ั สมาธอิ ยา่ งนี้ การใชป้ ญั ญาพจิ ารณา
ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมรี ปู แบบในพธิ ี อยใู่ นทอ่ี ยา่ งไรกใ็ ชป้ ญั ญาพจิ ารณา
ได้ทุกกาลเวลา ฉะนั้น การแก้ปัญหาต้องรู้จักต้นเหตุ จึงจะใช้
อบุ ายปญั ญาหกั ลา้ งแกป้ ญั หาใหถ้ กู จดุ ได้ ปญั หานนั้ กจ็ ะหลดุ ออก
จากใจไดง้ า่ ยทเี ดยี ว ไมว่ า่ ปญั หานนั้ จะเปน็ ทางโลกหรอื ทางธรรม
จะน�ำมาพิจารณาใหเ้ กิดความแยบคายในทกุ ครัง้ ไป
พรรษาที่ ๒ จำ� อยทู่ ย่ี อดทอน
เม่ือออกจากบ้านโคกตังแคน ก็ได้ออกธุดงค์ไปเรื่อยๆ
จนถึงเวลาเข้าพรรษา ปีนี้ไปจ�ำพรรษาอยู่ที่ยอดทอน อ�ำเภอ
ศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย มีพระเณรอยู่ร่วมกัน ๑๐ รูป
ท่ีแหง่ น้ีเปน็ ป่าใหญ่ มีสัตวอ์ าศัยอยู่นานาชนดิ เช่น เสอื วัวป่า
หมปู า่ เกง้ กวาง และสตั วอ์ ยา่ งอน่ื อกี มากมาย เมอ่ื ขา้ พเจา้ เขา้ ไป
ท่แี ห่งนใี้ นครง้ั แรก พระเณรองคท์ ่ที า่ นเคยอยกู่ ่อน ทา่ นรจู้ ักใน
พืน้ ที่ดวี ่าในท่แี ห่งไหนมีเสือชกุ ชุม มผี ีดุ ทา่ นกจ็ ะจัดใหข้ า้ พเจ้า
ไปอยูใ่ นทแี่ ห่งนั้น มถี ำ้� แห่งหนึง่ ช่ือว่าถ้�ำจันใด ห่างจากหมคู่ ณะ
ไปประมาณ ๒ กโิ ลเมตร เมอื่ เวลาจะคำ่� มดื ไดย้ ินเสยี งครูบากับ
เณรกระซบิ บอกกนั วา่ ใหป้ ดิ เปน็ ความลบั นะ ดซู วิ า่ พระกรรมฐาน
จะเก่งกล้าขนาดไหน เมื่อข้าพเจ้าได้ยินค�ำนี้ก็แปลกใจว่ามัน
พรรษาที่ ๒ จำ� อยู่ท่ยี อดทอน ๑๘๗
๑๘๘ อัตโนประวัติ ภาค ๑
เปน็ เรอ่ื งอะไร จึงเดินเข้าไปถามดวู า่ พดู เร่อื งอะไรกัน แต่ครบู า
กับเณรก็พูดบ่ายเบี่ยงไปว่า ไม่หรอก ปีน้ีมีพระกรรมฐานที่มี
ความเดด็ เดยี่ วกลา้ หาญ ดซู วิ า่ จะภาวนาดขี นาดไหน เมอื่ ไดเ้ วลา
แลว้ เณรกพ็ าไปสง่ ถึงถ�้ำจนั ใด อยใู่ กล้กนั กับถ�้ำโคกฮอม มีแคร่
อยู่ตัวหนึ่ง มีทางเดินจงกรมพร้อม เม่ือถึงเวลาจวนค�่ำ เณรก็
ลากลับ เม่ือเณรเดินไปไม่ไกลก็บอกมาว่า ครูบาๆ ในคืนน้ี
อยา่ หอบบาตรว่งิ หนกี ลางคืนนะ ว่าแลว้ เณรก็รีบไป ขา้ พเจ้ามา
คดิ ในใจว่าจะมเี รื่องแปลกๆ เกดิ ข้นึ ในคนื น้แี น่ กท็ ำ� ใจเอาไวว้ ่า
จะมีเร่ืองอะไรก็ตาม จะไม่หนีจากท่ีน้ีเป็นเด็ดขาด แม้ชีวิตจะ
ตายไปก็ตอ้ งยอม
จากนนั้ ก็จัดเตรยี มกางกลด ทำ� ความสะอาดในถำ้� หาน้�ำ
มาเพ่ือใช้ให้เรียบร้อย ก็ตั้งใจเดินจงกรมต่อไป ใจมีความวิเวก
ดีมากในเวลานน้ั พอพลบคำ่� ตะวนั ตกดินไปแลว้ ไดย้ ินเสียงเสือ
ร้องค�ำรามข้ึนมาแต่ไกลเป็นช่วงๆ เมื่อเสือตัวหน่ึงร้องขึ้น เสือ
ตวั ท่ี ๒-๓ กร็ ้องต่อกันเร่อื ยๆ ตวั นน้ั ร้องในทน่ี นั่ ตวั หนึ่งร้องใน
ทนี่ ี่ ส่งเสยี งหากนั สัตว์ท้งั หลายในที่แห่งนน้ั พากนั เกบ็ ตัวเงยี บ
ไปหมด บรรยากาศในความมืดก็มีความระวังตัวมากขึ้น เสียง
เสือก็ร้องเข้ามาใกล้ทุกที มีความรู้สึกว่าตัวเองมีความกลัวเสือ
พรรษาที่ ๒ จำ� อย่ทู ยี่ อดทอน ๑๘๙
เกดิ ขน้ึ ในขณะนน้ั กไ็ ดต้ ง้ั สจั จะอธษิ ฐานภายในใจวา่ ถา้ ขา้ พเจา้
เคยได้ท�ำบาปกรรมกับเสือเหล่าน้ีมาก่อน ข้าพเจ้าก็พร้อมที่จะ
ชดใช้กรรมที่ได้ท�ำมาแล้ว ถ้าไม่เคยสร้างกรรมเวรต่อกันมา ก็
อยา่ ใหเ้ สอื มาทำ� อนั ตรายใหแ้ กข่ า้ พเจา้ เลย จากนน้ั กเ็ ขา้ ทภ่ี าวนา
ปฏบิ ัติต่อไป
ในคืนนัน้ จิตไม่มคี วามสงบเป็นสมาธิได้เลย เพราะเสอื ได้
มารอ้ งครวญครางหา่ งตวั ไปไมไ่ กลนกั จำ� เปน็ ตอ้ งนง่ั ฟงั เสยี งเสอื
ร้องด้วยความระวัง น่ังลืมตาเอาไว้เพ่ือจะได้เห็นเสือเข้ามาหา
ในคืนน้ันไม่ได้หลับนอนตลอดท้ังคืนจนถึงสว่าง เมื่อได้เวลาก็
ออกมาบณิ ฑบาตตามปกติ มีพระเณรคอยสงั เกตตัวข้าพเจา้ อยู่
แตข่ า้ พเจา้ กไ็ มแ่ สดงอาการใดๆ ใหใ้ ครๆ ไดร้ ู้ เกบ็ ตวั เฉยเหมอื น
ไม่มอี ะไรเกดิ ขึน้
เมอ่ื พบครบู ากบั เณร ทา่ นกถ็ ามวา่ เปน็ อยา่ งไร ภาวนาใน
คืนนดี้ ีไหม ข้าพเจา้ ก็ได้ตอบไปส้ันๆ วา่ ภาวนาในคืนน้ีดี เมือ่ มี
เวลาทเ่ี หมาะสม กไ็ ดไ้ ปถามพระอาจารยส์ มบรู ณว์ า่ อาจารยค์ รบั
ทำ� อยา่ งไรจะไมใ่ หเ้ สอื เขา้ มาหาตวั เราได้ อาจารยต์ อบวา่ ไมย่ าก
เลย ถึงเวลากลางคืนก็ก่อไฟขึ้นในถ�้ำ เสือกลัวไฟจะหนีไปเอง
เมื่อข้าพเจ้ารู้วิธีแล้ว ในคืนน้ันได้ก่อไฟ แล้วเดินจงกรมต่อไป
๑๙๐ อตั โนประวตั ิ ภาค ๑
เมื่อได้เวลาแล้วก็เข้ามานั่งสมาธิ ส่วนเสือก็พากันร้องประสาน
เสียงกันไปมาอยู่อยา่ งนน้ั ในคนื ทีผ่ ่านมาไมไ่ ดน้ อนเลย ขณะนี้
งว่ งนอนแลว้ กเ็ อนตัวลงนอนแลว้ หลบั ไป
ประมาณตี ๒ กต็ น่ื ขึน้ มา มองไปหากองไฟก็เห็นนิดเดยี ว
กลวั ไฟจะดบั กร็ บี เปดิ มงุ้ กลดออกไปเพอ่ื จะกอ่ ไฟใหม่ ในขณะที่
เปดิ มุ้งออกเท่านนั้ กม็ องเหน็ เสือน่งั บังกองไฟอย่กู อ่ นแลว้ พอ
เสอื เหน็ ขา้ พเจา้ กก็ ระโดดเขา้ ปา่ ไป ขา้ พเจา้ กม็ ดุ เขา้ ไปอยใู่ นกลด
จะนอนตอ่ ไปอกี ไมไ่ ดเ้ ลย มแี ตน่ ง่ั นกึ คำ� บรกิ รรมบา้ ง มเี สยี งอะไร
กอ๊ กแกก๊ กล็ มื ตาดบู า้ งตลอดคนื กน็ กึ ไดว้ า่ เสอื ตวั นม้ี านงั่ เฝา้ เรา
แต่เม่ือไรไม่รู้ มุ้งกลดห่างๆ มองเห็นเราได้ท้ังหมด ถ้าเสือจะ
คาบเราไปกินในคืนนี้ก็ได้ แต่เราไม่เคยมีเวรกรรมกับเสือตัวน้ี
ให้ก�ำลังใจตัวเองว่า ต่อไปเสือทั้งหมดนี้ก็จะไม่กินเราแน่นอน
ตอ่ ไปนเ้ี ราจะรวมพลงั ใจเอาไวใ้ หม้ าก จะฝกึ ทำ� สมาธใิ หม้ ากเอาไว้
เพื่อมีก�ำลังใจต่อสู้กับความกลัวเสือให้ได้ ทุกอิริยาบถ เราจะ
ส�ำรวมใจให้อยู่ในสมาธิอยู่ตลอดเวลา ส่วนปัญญาพิจารณาใน
ไตรลักษณ์ให้เป็นไปในสัจธรรมนั้น ให้น้อยเอาไว้ ต้องสร้าง
พลงั ใจให้แกต่ ัวเองจงได้
ในวนั ตอ่ มาได้ถามกบั พวกนายพรานว่า การก่อไฟขน้ึ ใน