The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสังเคราะห์ SAR 64 สพป.ชม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by evealistra, 2022-11-02 00:47:06

รายงานสังเคราะห์ SAR 64 สพป.ชม.3

รายงานสังเคราะห์ SAR 64 สพป.ชม.3

รายงานการสังเคราะห

ปการศึกษา 2564

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 3

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ

กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ได้กล่าวถึง การประกันคุณภาพการศึกษา
ว่าเป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษา
ดำเนินการพัฒนาขึ้น เพื่อให้เป็นสิ่งยืนยันและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแ ละสาธารณชนว่า
สถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของ
หน่วยงานต้นสงั กัด สถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งตอ้ งจัดให้มีระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ที่
มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึก ษาแต่ละระดับและประเภท
การศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา การ
ดำเนนิ การตามแผนท่กี ำหนดไวจ้ ดั ใหม้ กี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา การ
ตดิ ตามผลการดำเนินการเพอ่ื พฒั นาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และจัดส่งรายงานผลการ
ประเมินตนเองให้แกห่ น่วยงานต้นสังกัดเป็นประจำทุกปี พร้อมทง้ั กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกดั มีหน้าท่ี ในการ
ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แนะนำสถานศึกษา ที่ส่งผลให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนา
อย่างตอ่ เน่ือง

การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยกำหนดใหส้ ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามีผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
และข้อมลู แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษาที่ได้จากการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และสรปุ ผลการดำเนนิ งานของ
สถานศึกษาจากรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษา ขั้น
พื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศสำหรับการส่งเสริม สนับสนุน วางแผนพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามทีก่ ำหนด

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 จงึ จดั ทำรายงานการสังเคราะหร์ ายงานผล
การประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) และการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสของสถานศึกษา
ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้เครื่องมือของสำนักทดสอบทางการศึกษาและ ของทาง
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและ
โอกาสในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาซึง่ เป็นหน่วยงานต้นสงั กัดสามารถนำ
ข้อมูลทไ่ี ด้ มาพฒั นาและยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาใหไ้ ด้ตามที่กำหนด

ขอขอบพระคุณ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะทำงานและผเู้ กี่ยวข้องทุกท่านที่มี
ส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้ จะสามารถใช้เป็นแนวทางในการ
พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาใหบ้ รรลเุ ป้าหมายได้อยา่ งยัง่ ยนื

นายอนุกลู ศรสี มบัติ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564



สารบัญ

หน้า
คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………………. ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข
สารบญั ตาราง…………………………………………………………………………………………………………………………….. ค
บทสรุปสำหรบั ผูบ้ ริหาร………………………………………………………………………………………............................ 1
ส่วนท่ี 1 บทนำ........................................................................................................................................... 6

- ภารกจิ ของสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา............................................................................. 7
- ข้อมลู ท่ัวไปของสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา...................................................................... 8
สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา………………………………………………………………………........... 26
- ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา

ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3………………………………………………………………………………… 31
ส่วนท่ี 3 ผลการสงั เคราะห์รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา…………………………………….......... 48

ระดับปฐมวัย
- มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก……………………………………….……………………………….. 48
- มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ……….………………………………. 51
- มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ……………………………….. 55

ระดบั ข้นั พ้นื ฐาน
- มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน………………………………….………………………………... 59
- มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ…….…………………………………. 68
- มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ……………………… 73

ผลการวเิ คราะหต์ นเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย.......................................................... 79
ผลการวเิ คราะห์ตนเองของสถานศึกษา ระดบั ขน้ั พ้ืนฐาน..................................................... 204
ส่วนที่ 4 ประสทิ ธิภาพและโอกาสในการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา................................................. 392
คณะทำงาน……………………………………….………………………………………………….……………………………..……… 396

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564



สารบัญตาราง

ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก ระดบั ปฐมวยั จำนวน 129 แหง่ ……. หนา้
ตารางท่ี 2 1
ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก ระดบั ขน้ั พ้ืนฐาน จำนวน 138 แหง่ . 1
แสดงจำนวนสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวยั ที่มีผลการประเมินตาม
ตารางที่ 4 ระบบประกนั คุณภาพภายในจำแนกตามระดบั คณุ ภาพ…………………………… 2
แสดงจำนวนสถานศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวยั ที่มีผลการประเมินตาม
ตารางที่ 5 ระบบประกนั คุณภาพภายในจำแนกตามระดบั คุณภาพ…………………………… 2
เปรยี บเทยี บผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน เพ่ือการประกัน
ตารางที่ 6 คุณภาพผ้เู รยี น (National Test : NT) ปี 2561 – 2564 ระดับชน้ั 22
ตารางที่ 7 ประถมศกึ ษาปีที่ 3……………………………………………………………………………… 23
ตารางที่ 8 ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6. 24
ตารางท่ี 9 ผลการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3.. 25
ตารางท่ี 10 ผลการทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6.. 36
ตารางที่ 11 การแสดงตัวชว้ี ัดความสำเร็จในกลยุทธ์ที่ 1……………………………………………. 38
ตารางที่ 12 การแสดงตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ ในกลยทุ ธ์ที่ 2……………………………………………. 40
ตารางที่ 13 การแสดงตัวชี้วดั ความสำเรจ็ ในกลยทุ ธท์ ี่ 3……………………………………………. 41
ตารางที่ 14 การแสดงตัวช้วี ดั ความสำเร็จในกลยทุ ธท์ ่ี 4……………………………………………. 42
ตารางที่ 15 การแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จในกลยทุ ธท์ ี่ 5……………………………………………. 43
ตารางท่ี 16 การแสดงตวั ชีว้ ัดความสำเร็จในกลยุทธท์ ่ี 6……………………………………………. 48
ตารางที่ 17 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้………. 49
ตารางท่ี 18 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้………. 49
มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดีของสังคม………
ตารางท่ี 19 มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหา 50
ตารางท่ี 20 ความรูไ้ ด…้ ………………………………………………………………………………………… 51
ตารางที่ 21 หลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการท้งั 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิน่ … 51
ตารางท่ี 22 จัดครูให้เพียงพอกับชน้ั เรียน………………………………………………………………… 52
ตารางที่ 23 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความเชีย่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์………………………….. 53
จดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพอ่ื การเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพยี ง………………
ให้บริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู้ พ่ือสนับสนุนการ 53

จดั การสำหรับคร…ู ………………………………………………………………………………

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564



สารบญั ตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 24 ระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม…………….. หน้า
ตารางท่ี 25 การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ 54
ศักยภาพ…………………………………………………………………………………………….
ตารางที่ 26 การสร้างโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัตอิ ย่างมี 55
ความสขุ ……………………………………………………………………………………………..
ตารางที่ 27 การจดั บรรยากาศทเี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้ ใช้สอื่ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วัย…… 56
ตารางที่ 28 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพฒั นาการเด็ก 56
ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก………………………………………
ตารางที่ 29 แผนการดำเนินงานเพื่อให้ระดับคุณภาพให้สูงขึ้น…………………………………… 57
ตารางท่ี 30 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและการคิดคำนวณ………… 58
ตารางท่ี 31 ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ น 59
ความคดิ เห็นและแก้ปัญหา…………………………………………………………………..
ตารางท่ี 32 ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม……………………………………………………… 60
ตารางท่ี 33 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร…………………… 61
ตารางที่ 34 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา………………………………….. 61
ตารางที่ 35 มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติต่องานอาชีพ………………………………….…. 62
ตารางที่ 36 การมีคุณลักษณะและค่านยิ มทดี่ ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด……………………… 63
ตารางที่ 37 ความภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย………………………………………………… 64
ตารางที่ 38 การยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย……………………. 65
ตารางที่ 39 สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม……………………………………………………….. 66
ตารางที่ 40 มีเป้าหมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน…………………… 67
ตารางที่ 41 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา…………………………………………….. 68
ตารางที่ 42 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทเี่ น้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สูตร 69
สถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย…………………………………………………….……
ตารางที่ 43 พฒั นาครู และบคุ ลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ…………………………… 70
ตารางที่ 44 จดั สภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออื้ ต่อการจัดการเรียนรู้ 71
อย่างมีคุณภาพ…………………………………………………….……………………………..
71

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564



สารบญั ตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 45 จัดเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การ หน้า
เรยี นรู้………………………………………………………………………………………………...
ตารางท่ี 46 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถนำไป 72
ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้…………………………………………………………………………….
ตารางที่ 47 ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้……………… 73
ตารางที่ 48 มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก……………………………………………………… 74
ตารางท่ี 49 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน….. 75
ตารางที่ 50 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุง 76
การจดั การเรียนรู้…………………………………………………………………………………
ตารางท่ี 51 แผนการดำเนนิ งานเพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใหส้ ูงขึ้น………………….… 77
ตารางที่ 52 ผลการวเิ คราะหต์ นเองของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั …………………………….. 78
ตารางที่ 53 ตารางวิเคราะห์ จุดเด่น จดุ ท่ีควรพฒั นา ของสถานศึกษาระดบั พน้ื ฐาน……… 79
ตารางท่ี 54 ผลการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงาน 204
เขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่เขต 3 จำนวน 153 แหง่ …………..
393

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564

บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ได้ดำเนนิ การสงั เคราะห์ผลการ

ประเมิน ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 153 แห่ง

1. ดา้ นขอ้ มูลพืน้ ฐาน ในปกี ารศึกษา 2564 พบวา่
1.สถานศกึ ษามผี ู้อำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน 128 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.66 มีรักษาราชการใน

ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาจำนวน 25 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 16.34

2.สถานศกึ ษามจี ำนวนครูน้อยกวา่ 20 คน จำนวน 123 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.39

3.สถานศึกษา มนี กั เรียน 119 คน ลงมา จำนวน 49 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 32.03

มนี ักเรยี น 120 – 719 คน จำนวน 98 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 64.05

มนี ักเรียน 720 – 1,679 คน จำนวน 5 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 3.27

มีนกั เรยี น 1,680 คน ขึ้นไป จำนวน 1 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.65

2. ผลการประเมนิ ภายนอก

สถานศึกษาในสังกัด จำนวน 153 แหง่ ไดร้ บั การประเมินคุณภาพภายนอก จำนวน 138 แหง่ คดิ เป็น

ร้อยละ 90.20 และมีสถานศกึ ษาในสังกดั ท่ยี งั ไมไ่ ดร้ บั การประเมิน จำนวน 15 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 9.80

ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอก ระดบั ปฐมวยั จำนวน 129 แหง่

มาตรฐาน กำลัง ปาน ดี ดีเลิศ ยอด รวม

พฒั นา กลาง เยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก 0 0 126 2 1 129

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 0 0 124 4 1 129

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สำคญั 0 0 126 2 1 129

ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับขั้นพน้ื ฐาน จำนวน 138 แหง่

มาตรฐาน กำลงั ปาน ดี ดีเลศิ ยอด รวม

พัฒนา กลาง เย่ียม

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 0 0 135 2 1 138

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 0 0 131 6 1 138

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเป็นสำคัญ 0 0 133 4 1 138

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

2

3.ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาในสังกัด
ระดับปฐมวัย

จำนวนสถานศกึ ษาท่จี ดั การเรียนการสอนระดบั การศึกษาปฐมวัย จำนวน 144 แห่ง
ตารางที่ 3 แสดงจำนวนสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยที่มีผลการประเมินตามระบบประกัน
คณุ ภาพภายในจำแนกตามระดบั คุณภาพ

มาตรฐาน กำลงั ปาน ดี ดีเลิศ ยอด รวม

พัฒนา กลาง เยีย่ ม

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 0 0 77 54 13 144

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 0 0 77 63 4 144

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเป็นสำคญั 0 0 81 58 5 144

จากตารางที่ 3 พบว่า สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3
ที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย จำนวน 144 แห่ง มีมาตรฐานการศึกษาระดับดีขึ้นไป ทั้ง 3 มาตรฐาน
จำนวน 144 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 100

ระดับขัน้ พ้ืนฐาน
จำนวนสถานศึกษาที่จัดการเรยี นการสอนระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน จำนวน 153 แห่ง

ตารางที่ 4 แสดงจำนวนสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยที่มีผลการประเมินตามระบบประกัน
คณุ ภาพภายในจำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐาน กำลัง ปาน ดี ดเี ลศิ ยอด รวม

พัฒนา กลาง เย่ยี ม

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ 0 0 103 47 3 153

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 0 0 82 64 7 153

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ 0 0 97 52 4 153

จากตารางที่ 4 พบว่า สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3
ที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัยบ จำนวน 153 แห่ง มีมาตรฐานการศึกษาระดับดีขึ้นไป ทั้ง 3 มาตรฐาน
จำนวน 153 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 100

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

3

จดุ เด่นของสถานศกึ ษาในสังกดั

ด้านคุณภาพผ้เู รียน/คณุ ภาพเด็ก
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจบหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์

และเวลาที่กำหนด มีทักษะการทำงานร่วมกันและมีทักษะด้านอาชีพ ผู้เรียนมีมารยาท สุภาพ มีความ
รับผิดชอบต่อหน้าที่ สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไ้ ด้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมใช้
เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีจิตสาธารณะ รู้จักบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม มีความรักความสามัคคี กล้า
แสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันกันในการเรียนรู้ จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาผู้เรียนมีสุขภาพกาย และ
สขุ ภาพจิตท่ีดี สามารถอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งทางเชอื้ ชาติ ภาษาและวฒั นธรรม ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3 มีการดำเนินงานตาม

ขั้นตอนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ ทั้ง 6 ขั้นตอนโดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดมาตรการ
ศึกษาของสถานศึกษา และกำหนดค่าเป้าหมาย มีการจัดทำ/ทบทวนแผนพัฒนาการจัดการศึกษาอันนำไปสู่
การจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารที่มุ้งเนน้ พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นใหม้ ีมาตรฐานการศึกษา โดยกำหนดวสิ ัยทัศน์และพันธ
กิจที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายปฏิรูปการศึกษา ความต้องการ
ของชุมชน ท้องถน่ิ และสอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ มีการติดตามตรวจสอบและ
ประเมินผลการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีความรู้ ความชำนาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง มีการจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศท่มี ี
ความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้มีการ
ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่
เรยี นรู้ และรายงานผลการประเมนิ ตนเองตอ่ หน่วยงานต้นสงั กดั และเผยแพรต่ ่อสาธารณะชนอยา่ งต่อเนื่อง

ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ/การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคัญ
สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่เขต 3 ส่วนใหญม่ ีนกั เรียนเป็น

กลุ่มชาติพันธุ์และลักษณะทางภูมิศาสตร์ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน จึงทำให้สถานศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาที่ปลูก
จิกสำนึกเพื่อความมั่นคงของประเทศและเรียนการสอนที่มุ่งเน้นด้านงานอาชีพ เช่น โครงการส่งเสริมทักษะ
อาชีพ การยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง,โครงการเราทำความดีด้วยหัวใจ สพป.เชียงใหม่ เขต3 , โรงเรียนเสริมสร้างอาชีพบนพื้นฐานความ
พอเพียง และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 อักทั้งยังปลูกฝังค่านิยมเรื่อง
การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นจัดกจิ กรรมการตอกลาย โครงการสง่ เสริมเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของโรงเรยี น

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

4

การส่งเสรมิ ดนตรีพ้ืนเมอื ง , งานหัตกรรมชนเผา่ ,มคั คเุ ทศก์น้อย,เกษตรบนพ้นื ทส่ี ูงและการอยรู่ ว่ มกันบนความ
แตกต่างและหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื่อชาติและภาษา อีกทั้งยังส่งเสริมด้านการพูด อ่าน และเขียน
ภาษาไทย เช่น โครงการทวิ/พหภุ าษา นอกเหนือจากนค้ี รูยังจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนเรยี นร้กู ารคิด ไดป้ ฏิบัติจริง
ด้วยวธิ ีการและแหล่งเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย มีกจิ กรรมทีม่ ุ่งเน้นและส่งเสริมความสามารถดา้ นภาษาไทย และการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning อาทิ
กิจกรรม Maker space, STEAM Design Process, กิจกรรมการเรยี นการสอน แบบ BBL และ มอนเตสเซอรี่
เป็นต้น โดยครูมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่น ในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มเวลาและ
ความสามารถ มีกิจกรรม PLC เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอน อีกทั้งครูจัดกิจกรรมให้นักเรียน
แสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการทำวิจัยในชั้นเรียนและพัฒนานวัตกรรมการ
จัดการเรียนการสอน และให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศทัง้ ในและนอกห้องเรียนสภาพแวดล้อมที่
เอือ้ ตอ่ การเรียนรแู้ ละมคี วามปลอดภัย

จดุ ทค่ี วรพัฒนาของสถานศึกษาในสงั กดั

ดา้ นคุณภาพผู้เรยี น/คุณภาพเดก็
การยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนให้สูงขน้ึ (ผลการทดสอบ NT, O-NET) โดยการร่วมมือ

กับทุกภาคส่วน การจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานตวั ชี้วัดของหลักสูตร ใช้สื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน มีการแบ่งกลุ่มเพื่อให้ง่ายต่อการจัดการเรียนรู้ และมีการวัดผลเพื่อทดสอบความรู้และ
ความพร้อมในการทำข้อสอบระดับชาติ การยกระดบั การจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ โดยการให้ครูเข้า
รับการพัฒนา เช่น Boot camp การใช้สื่อเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาการวัด
และประเมินผลในห้องเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัด เน้นการประเมินโดยใช้ข้อสอบอัตนัยและ
ประเมินตามสภาพจรงิ และสง่ เสริมนกั เรยี นจดั ทำโครงงานเชงิ บรู ณาการด้านคุณธรรม งานอาชีพเนน้ ใหผ้ เู้ รียน
คิดเองทำเอง โดยใชส้ อ่ื แหล่งเรียนรู้ การคน้ ควา้ ออกแบบ เพือ่ พฒั นาสมรรถนะทีจ่ ำเป็นตามหลักสูตร

ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา

ผเู้ รียน สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือของผู้มีสว่ นเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ เข้มแข็ง มี
ส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาส่งเสริม ให้ครูและ
บุคลากร นำกระบวนการวิจัยมาใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น การพัฒนาครแู ละบุคลากรควรมีการจดั การอบรมให้ครู
ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ผลักดันให้ครูเข้า รับการพัฒนาตามมาตรฐานตำแหน่งและมีการปรับวิทยฐานะให้
มากขึ้น และสร้างความร่วมมือแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาการ โดยจัดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับ

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

5

การฝึกอบรม ดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ซ่อมแซม
บำรุงรักษาอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมให้มีความสะอาด ร่มรื่นและมีห้องเรียนและห้องพิเศษที่เหมาะสม
และเพียงพอ สนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนเข้าใช้ห้องสมุดให้มากขึ้น และมีกิจกรรมเสริมสร้างความรู้กับ
นักเรียนเพือ่ สุขอนามัยท่ีดีของตัว นักเรียนเอง มีกิจกรรมเปิดโลกอาชีพ โดยการนำอาชีพต่าง ๆ มาสาธิต หรือ
นำเสนอ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์ตรง ดำเนินการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชุมชนอย่างยั่งยืน สามารถ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ตลอดเวลา ทั้งครู ผู้ปกครอง นักเรียน และรวมไปถึง
หน่วยงานราชการอืน่ ๆ ท่ีใกลเ้ คยี ง

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ/การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเปน็ สำคญั
เนื่องจากครสู ังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหมเ่ ขต 3 ส่วนใหญ่เป็นครูต่างถ่ินท่ี

บรรจุใหม่ ดังนั้นประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนยังมีน้อย จึงควรให้คณะครูได้รับการอบรมการ
พัฒนาศักยภาพของด้านการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชีวิดโดยครูควรจัดทำแผนการจัดการ
เรียนรู้แบบ Active Learning โดยทุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดและฝึกปฏิบัติจริง และสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ครูควรกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอื้ หาสาระสำคัญของบทเรียน และใหค้ รอบคลมุ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
สมรรถนะสำคัญ 5 ด้าน ที่โรงเรียนกำหนดไว้ เมื่อสอนจบรายวิชานั้นครูควรตระหนักและให้ความสำคัญกับ
การวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายบนความแตกต่างของผู้เรียน ส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC)
มีการวิจัยในช้ันเรียน การพัฒนาเรื่องนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพด้านการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ และให้มีการนิเทศภายในโดยผู้บริหารและให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้ ควรมีการส่งเสริมให้ครูนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน และ
ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ควรส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด
กิจกรรมใหน้ ักเรยี นได้เรียนรูอ้ ีกทางหน่งึ

แผนการดำเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา
1. สง่ เสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามกี ารจดั ทำระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็น

ระบบ โดยการสร้างคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา การตดิ ตามและตรวจสอบการ
ดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2. สง่ เสริมและสนับสนนุ ให้สถานศกึ ษามีใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายใน เพอ่ื ช่วยกระตุ้นใหค้ รูบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจและมีการทำงานเปน็ ทีม

3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รูมกี ารอบรมพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ เพ่ือใหม้ ีการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่
หลากหลาย มกี ารพฒั นานวัตกรรมเพื่อใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ใช้ส่ือและเทคโนโลยที ่เี หมาะสมในการ
จัดการเรยี นรู้ มีการวดั และประเมินผลท่หี ลากหลายและเหมาะสมกับผเู้ รยี น

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564

ส่วนท่ี 1
บทนำ

กระบวนการวางแผนเป็นการกำหนดทิศทางหรือแนวทางการดำเนินงานในอนาคตขององค์กร โดยเน้น
กระบวนการและจดุ มุ่งหมายรวมทีห่ นว่ ยงานหรือองค์กรมุ่งหวังให้เกิดขึ้นในอนาคต และเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้
การบริหารและการจัดการขององค์กรมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ในหมวดที่ 3 มาตรา 16 วรรคสอง ได้ระบุไว้ว่า “ในแต่ละปีงบประมาณ
ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการ เปา้ หมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทัง้ ประมาณการรายได้และรายจา่ ยและทรัพยากรอ่ืนที่ต้องใช้”
และหมวด 4 มาตรา 20 ได้ระบุว่า “เพื่อให้การปฏิบัติราชการภายในส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้
ส่วนราชการกำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแลว้ เสรจ็ ของงานหรอื โครงการ และงบประมาณท่ีจะต้อง
ใช้ในแต่ละงานหรือโครงการ และต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชนทราบทั่วกันด้วย” ดังนั้น ในแต่ละ
ปีงบประมาณ หน่วยงานจะต้องนำแผนกลยุทธ์ที่ทันสมัยมาแปลงไปสู่การปฏิบัติ โดยการจัดทำแผนปฏิบัติการ
ประจำปีงบประมาณ เพื่อเป็นการกำหนดแนวปฏิบัติในการดำเนินงาน รวมทั้งการกำหนดวิธีการใช้ทรัพยากรที่มี
อยู่ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ไว้ล่วงหน้า แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการนำกลยุทธ์
ไปสู่การปฏิบัติ เป็นเครื่องมือในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามโครงการต่างๆ ให้เกิด
ประโยชนส์ งู สดุ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ 2565 ข้ึน เพื่อใช้เปน็ เคร่ืองมือสำคัญในการบรหิ ารจดั การศึกษาและการขับเคล่ือนนโยบายให้กับกลุ่ม
งานในสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

7

ภารกจิ ของสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวง ศึกษาธกิ าร มหี นา้ ทดี่ ำเนินการใหเ้ ป็นไปตามอำนาจหน้าท่ี
ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขต
พนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา พ.ศ. 2560 และฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2561 โดยมีอำนาจหนา้ ทด่ี ังนี้

1. จัดทำนโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย
มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและความต้องการของท้องถิน่

2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษาและหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษา
และแจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับตรวจสอบติดตาม การใช้จ่าย
งบประมาณของหน่วยงานดงั กลา่ ว

3. ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาหลกั สูตรรว่ มกบั สถานศกึ ษาในเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
4. กำกบั ดแู ล ติดตาม และประเมินผลสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานและในเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
5. ศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาในเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคลเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดและ
พฒั นาการศึกษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
7. จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาและประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
รปู แบบท่หี ลากหลายในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
9. ดำเนนิ การและประสาน สง่ เสริม สนบั สนุนการวจิ ัย และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
10. ประสาน สง่ เสรมิ การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานดา้ นการศึกษา
11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชนและองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในฐานะสำนักงานผแู้ ทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
12. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษาที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใด
โดยเฉพาะหรอื ปฏบิ ัติงานอน่ื ท่ีได้รับมอบหมาย

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

8

ข้อมูลทั่วไปของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 มีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 5 อำเภอ

ประกอบด้วย อำเภอฝาง อำเภอแมอ่ าย อำเภอไชยปราการ อำเภอเชียงดาว และอำเภอเวียงแหง

ท่ตี ัง้ สำนกั งาน : 177 ถนนโชตนา หม่ทู ่ี 12 ต.แมส่ นู อ.ฝาง เชียงใหม่ 50110
โทรศพั ท์ : 053 - 346666, 053 – 346661 – 65
โทรสาร : 053 – 346660
เว็บไซต์ : https://www.cmarea3.go.th/2020
Facebook : สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3
การจดั การศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 มีความซับซ้อนเนื่องจาก
มพี น้ื ทร่ี ับผดิ ชอบถงึ 4,893 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมปิ ระเทศสว่ นใหญ่เป็นภูเขา ปา่ ไม้ และเปน็ เขตชายแดนซึ่ง
มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาเป็นแนวยาวกว่า 100 กิโลเมตร จากอำเภอฝาง
อำเภอแมอ่ าย อำเภอเชยี งดาว จนถึงอำเภอเวียงแหง

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

9

การคมนาคมและการติดต่อระหว่างสถานศึกษาเป็นไปด้วยความยากลำบากเนื่องจากสถานศึกษาส่วน
ใหญจ่ ะตง้ั อย่ใู นพืน้ ที่ทุรกันดาร หา่ งไกล โดยสถานศกึ ษาท่ตี ั้งอยู่ห่างจากสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา
เชยี งใหม่ เขต 3 ทไ่ี กลที่สดุ มรี ะยะทางเกือบ 200 กโิ ลเมตร และมสี ถานศกึ ษาที่ต้ังอยู่บนภเู ขาสูงอกี จำนวนมาก

ผู้รับบริการประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายเผ่าพันธุ์ มีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม
ประเพณี สังคม และภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร และจำนวนหนึ่งยังเป็นผู้อพยพจากประเทศเพื่อนบ้านที่เข้ามา
ขายแรงงาน ทำให้มีเด็กวัยเรียนจำนวนมากที่ไม่มีเอกสารทางทะเบียนราษฎร์ ส่งผลกระทบต่อการให้บริการ
การจัดการศึกษาขั้นพนื้ ฐานทำใหม้ คี วามย่งุ ยากและซบั ซอ้ นมากข้นึ

จากสภาพภูมิประเทศซึ่งอยู่ในพื้นที่ภูเขาสูง ทุรกันดาร ส่งผลให้ผู้เรียนจำนวนหนึ่งซึ่งเข้าเรียนใน
สถานศึกษาที่อยู่ห่างไกลจากชุมชนของตนไม่สะดวกต่อการเดินทางไป-กลับในวันเดียว ต้องเข้าพักนอนใน
สถานศึกษา ซึ่งต้องเป็นธุระจัดหาที่พักให้ตามสภาพความขาดแคลนในรูปแบบของโรงเรียนพักนอน จำนวน 13
โรงเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2563) ทั้งนี้ เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กในพื้นที่ ให้
ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
กระทรวงศึกษาธิการ

ขอ้ มูลจำนวนสถานศกึ ษา/ผเู้ รียน

1. จำนวนสถานศึกษาในสังกดั และนอกสังกัด (ข้อมลู ณ วันที่ 25 มถิ ุนายน 2565)

อำเภอ สถานศกึ ษาสงั กัด สพป.ชม 3 โรงเรยี น โรงเรยี น สพม. โรงเรียน ตชด. การ
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม ขนาดเล็ก พกั นอน เอกชน ศึกษา
พเิ ศษ

เชียงดาว 22 16 1 39 15 7 2 4 2 1

ฝาง 27 20 1 48 16 0 1 6 1 0

แม่อาย 23 12 1 36 3 5 0 0 2 1

เวยี งแหง 6 3 0 9 0 1 1 0 1 0

ไชยปราการ 13 8 0 21 7 0 1 5 00

รวม 91 59 3 153 41 13 5 15 6 2

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

10

2. จำนวนโรงเรยี นขนาดเล็กจำแนกรายอำเภอ (ขอ้ มูล ณ วันที่ 25 มถิ ุนายน 2564)

จำนวนโรงเรียน โรงเรียนขนาดเลก็
ทงั้ หมด
อำเภอ จำนวน รอ้ ยละ
39
เชียงดาว 48 (โรงเรียน) (ของ รร. ทั้งหมด)
ฝาง 36
แมอ่ าย 9 15 9.80
เวียงแหง 21
ไชยปราการ 153 16 10.46

รวม 3 1.96

--

7 4.58

41 26.80

3. จำนวนผเู้ รยี นจำแนกตามระดับท่ีจัดการเรยี นการสอน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2564)

ระดบั ชน้ั ฝาง อำเภอ รวม
278 แม่อาย ไชยปราการ เชียงดาว เวียงแหง
อ.1 973 106 63 115 34 596
อ.2 1,131 850 444 676 311 3,254
อ.3 2,382 1,015 516 898 312 3,872
รวมปฐมวัย 1,410 1,971 1,023 1,689 657 7,722
ป.1 1,313 1,249 617 1,430 459 5,165
ป.2 1,319 1,102 603 1,477 429 4,924
ป.3 1,244 1,036 596 1,404 405 4,760
ป.4 1,109 1,004 524 1,327 391 4,490
ป.5 1,017 893 506 1,272 350 4,130
ป.6 7,412 860 479 1,109 381 3,846
รวมประถม 856 6,144 3,325 8,019 2,415 27,315
ม.1 734 490 252 610 187 2,395
ม.2 623 468 226 524 193 2,145
ม.3 2,213 435 213 482 175 1,928
รวม ม.ต้น 1,398 691 1,616 555 6,468

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

ระดับช้ัน ฝาง อำเภอ 11
13 แมอ่ าย ไชยปราการ เชยี งดาว เวยี งแหง
ม.4 9 รวม
ม.5 6 0 0 50 27
ม.6 28 0 0 30 26 90
รวม ม.ปลาย 12,305 0 0 37 21 65
รวมท้ังสิน้ 0 0 117 74 64
9,508 5,039 11,441 3,701 219
41,724

4. จำนวนผู้เรยี นของโรงเรยี นขนาดเล็กในสงั กัด (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2564)

ที่ โรงเรยี น อำเภอ ปฐมวัย ประถม ม.ต้น รวมทั้งส้นิ ระดับ
นร. หอ้ ง นร. หอ้ ง นร. หอ้ ง ทีเ่ ปิดสอน
1. บ้านถำ้ เชียงดาว นร. ห้อง
62 6 - - 62 6 ประถม
2. บา้ นทงุ่ หลุก เชียงดาว -- 86 6 - - 102 8 ปฐมวัย-ประถม
16 2 68 6 - - 68 6 ประถม
3. บ้านท่งุ ละคร เชยี งดาว 79 6 - - 79 6 ประถม
-- 56 6 - - 78 8 ปฐมวยั -ประถม
4. บา้ นดอน เชยี งดาว -- 58 6 - - 85 8 ปฐมวยั -ประถม
22 2 73 6 - - 73 6 ประถม
5. บา้ นห้วยทรายขาว เชียงดาว 27 2 85 6 - - 85 6 ประถม
-- 37 6 23 3 60 9 ประถม-ม.ต้น
6. บา้ นออน เชยี งดาว -- 64 6 - - 75 9 ปฐมวยั -ประถม
-- 71 6 - - 116 9 ปฐมวยั -ประถม
7. บ้านวังมะรวิ เชยี งดาว 11 3 93 6 - - 107 8 ปฐมวยั -ประถม
45 3 58 6 - - 73 9 ปฐมวัย-ประถม
8. บ้านหนองบวั เชยี งดาว 14 2 71 6 - - 86 8 ปฐมวยั -ประถม
15 3 12 6 - - 19 8 ปฐมวยั -ประถม
9. ดอยสามหมืน่ เชียงดาว 15 2 973 90 23 3 1,168 114
72 103 6 - - 108 8 ปฐมวัย-ประถม
10. บา้ นแมแ่ มะ เชยี งดาว 172 21 82 6 - - 104 8 ปฐมวยั -ประถม
52
11. บ้านสันปา่ เก๊ยี ะ เชียงดาว 22 2

12. บา้ นปา่ บง เชียงดาว

13. วัดจอมครี ี เชียงดาว

14. บ้านสบคาบ เชยี งดาว

15. วัดปางมะโอ เชียงดาว

รวมเชียงดาว

16. บ้านหัวฝาย ฝาง

17. บา้ นป่าบง ฝาง

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

12

ที่ โรงเรยี น อำเภอ ปฐมวัย ประถม ม.ตน้ รวมทั้งส้ิน ระดับ
ท่เี ปิดสอน
นร. ห้อง นร. ห้อง นร. ห้อง นร. หอ้ ง

18. บา้ นโปง่ น้ำร้อน ฝาง 23 2 68 6 - - 91 8 ปฐมวัย-ประถม

19. บา้ นสนั ม่วง ฝาง 20 3 31 6 - - 51 9 ปฐมวัย-ประถม

20. บ้านดงป่าลนั ฝาง 27 3 39 6 - - 66 9 ปฐมวัย-ประถม

21. บ้านสนั ต้นเปา ฝาง 8 3 26 6 - - 34 9 ปฐมวัย-ประถม

22. บ้านหว้ ยหอ้ ม ฝาง 31 3 67 6 - - 98 9 ปฐมวยั -ประถม

23. บา้ นหนองขวาง ฝาง 17 3 57 6 - - 74 9 ปฐมวัย-ประถม

24. บ้านแม่งอนกลาง ฝาง 23 2 45 6 - - 68 8 ปฐมวัย-ประถม

25. บ้านตน้ ส้าน ฝาง 30 2 59 6 - - 89 8 ปฐมวยั -ประถม

26. ชมุ ชนบ้านแม่สนู หลวง ฝาง 28 3 32 6 28 3 88 12 ปฐมวยั - ม.ตน้

27. บา้ นแม่ใจ ฝาง 42 3 48 6 - - 90 9 ปฐมวัย-ประถม

28. บา้ นห้วยบอน ฝาง 28 2 75 6 - - 103 8 ปฐมวัย-ประถม

29. บ้านศรีดอนชยั ฝาง 16 3 47 6 - - 63 9 ปฐมวัย-ประถม

30. บ้านสันทราย ฝาง 8 2 44 6 - - 52 8 ปฐมวัย-ประถม

31. วดั ศรบี ุญเรอื ง ฝาง 17 2 100 6 - - 117 8 ปฐมวยั -ประถม

รวมฝาง 345 40 923 96 28 3 1,296 139

32. บา้ นหว้ ยปู แมอ่ าย 22 2 82 6 - - 104 8 ปฐมวยั -ประถม

33. บา้ นสันปา่ เหยี ว แม่อาย 14 2 78 6 - - 92 8 ปฐมวยั -ประถม

34. บ้านดอนชัย แมอ่ าย 22 2 92 6 - - 114 8 ปฐมวยั -ประถม

รวมแม่อาย 58 6 252 18 - - 310 24

35. บ้านปงตำ ไชยปราการ 18 2 54 6 25 3 97 11 ปฐมวัย-ม.ตน้

36. บา้ นห้วยบง ไชยปราการ 15 2 50 6 - - 65 8 ปฐมวยั -ประถม

37. วดั อรัญญวาสี ไชยปราการ 20 2 50 6 - - 70 8 ปฐมวยั -ประถม

38. บา้ นหว้ ยต้นตอง ไชยปราการ 40 3 67 6 - - 107 9 ปฐมวยั -ประถม

39. บ้านเวียงผาพฒั นา ไชยปราการ 27 2 42 6 - - 69 8 ปฐมวยั -ประถม

40. บ้านถำ้ ตบั เตา ไชยปราการ 35 3 66 6 - - 101 9 ปฐมวยั -ประถม

41. บา้ นผาแดง ไชยปราการ 31 3 57 6 - - 88 9 ปฐมวัย-ประถม

รวมไชยปราการ 186 17 386 42 25 3 597 62

รวมทั้งสิน้ 761 84 2,534 246 76 9 3,371 339

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

13

5. จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา

บุคลากร จำนวน (คน)
ข้าราชการปฏิบตั ิหนา้ ทีใ่ นสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
1
* ผอ.สพป. 3
* รอง ผอ.สพป. 12
* ศึกษานเิ ทศก์ 37
* บคุ ลากรทางการศึกษา 2
* ลูกจา้ งประจำ 11
* ลกู จา้ งชว่ั คราว
ขา้ ราชการครปู ฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นสถานศึกษา 126
* ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน 25
* รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น 1,879
* ข้าราชการครู 113
* พนักงานราชการ 28
* ลกู จ้างประจำ 28
* ลูกจ้างรายเดือนนักการภารโรง 20
* ลูกจา้ งรายเดือนนักการภารโรง (จากโครงการคืนครฯู )
* ลูกจ้างช่ัวคราว (งบ สพฐ.) ดงั น้ี 153
- ครูธุรการ 59
- ครูพ่ีเล้ยี งเดก็ พิการ 65
- ครวู ิกฤต 12
- ครูวิทย์-คณติ 3
- ครผู ูท้ รงคุณคา่ แห่งแผน่ ดิน 15
- บคุ ลากรปฏิบตั งิ านในสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

14

6. รายชอ่ื โรงเรียนในฝนั 3 รุน่ จำนวน 10 โรงเรยี น

โรงเรยี นในฝัน โรงเรยี น อำเภอ
แมอ่ าย
รุ่นที่ 1 1. โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา 12 (บ้านเอก) เชียงดาว
ไชยปราการ
2. โรงเรยี นบ้านแม่นะ เวยี งแหง
ฝาง
รนุ่ ท่ี 2 1. โรงเรยี นชุมชนวดั ศรีดงเยน็ แม่อาย
เชียงดาว
2. โรงเรียนบา้ นเปยี งหลวง ฝาง
แมอ่ าย
3. โรงเรยี นบา้ นเวียงฝาง ฝาง

4. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30*

รุ่นท่ี 3 1. โรงเรยี นมิตรมวลชนเชียงใหม่

2. โรงเรยี นบา้ นมว่ งชมุ

3. โรงเรียนบ้านสันตน้ หมอ้ื

4. โรงเรยี นบา้ นเหมอื งแร่

หมายเหตุ *สังกดั สำนักบริหารการศกึ ษาพิเศษ

7. รายชื่อโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล จำนวน 27 โรงเรียน
1. โรงเรียนบ้านเชยี งดาว 2. โรงเรยี นบ้านทงุ่ ข้าวพวง
3. โรงเรยี นบา้ นปางเฟือง 4. โรงเรียนบ้านเมอื งคอง
5. โรงเรียนชมุ ชนบ้านเมอื งงาย 6. โรงเรยี นบา้ นรนิ หลวง
7. โรงเรียนบ้านแมน่ ะ 8. โรงเรียนบา้ นปงตำ
9. โรงเรียนวดั ป่าแดง 10. โรงเรยี นชุมชนวัดศรดี งเยน็
11. โรงเรียนบา้ นใหม่หนองบัว 12. โรงเรียนบ้านต้นผึ้ง
13. โรงเรียนบา้ นม่อนปิน่ 14. โรงเรียนบา้ นแม่ข่า
15. โรงเรยี นบา้ นแมค่ ะ 16. โรงเรียนเจา้ แมห่ ลวงอุปถัมภ์ 1
17. โรงเรยี นบา้ นปางสัก 18. โรงเรียนบ้านเวียงฝาง
19. โรงเรยี นวดั นันทาราม 20. โรงเรียนเพยี งหลวง 1 (บ้านท่าตอน)
21. โรงเรียนบ้านปา่ ก๊อ 22. โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา 12 (บ้านเอก)
23. โรงเรยี นชมุ ชนบ้านคาย 24. โรงเรยี นชุมชนบ้านแมฮ่ ่าง
25. โรงเรียนบ้านสนั ตน้ หม้ือ 26. บ้านจอง
27. บ้านเวียงแหง

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

15

8. โรงเรียนคณุ ภาพ (โรงเรียนคุณภาพของชุมชน) จำนวน 3 โรงเรยี น
1. โรงเรยี นบ้านเมอื งคอง
2. โรงเรยี นบา้ นเวยี งฝาง อำเภอเชียงดาว
3. โรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา 12 (บ้านเอก) อำเภอฝาง
อำเภอแม่อาย

9. โรงเรียนต้นแบบ Stand Alone จำนวน 1 โรงเรียน
1. โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ 9 ฯ
อำเภอฝาง

10. โรงเรียนพกั นอนและจำนวนนกั เรยี นพกั นอน ภาคเรยี นที่ 2/2564 จำนวน 13 โรงเรียน

นกั เรียน จำนวนนกั เรยี นพักนอน
ท้งั หมด
ที่ โรงเรยี น ระดบั ระดับ ระดับ ระดบั รวม
192 ปฐมวัย
1. บ้านหว้ ยมว่ ง 73 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย 41
2. บ้านวงั มะริว 715 1 15
3. เพยี งหลวง 1 (บา้ นท่าตอน) 75 - 40 - - 19
4. บา้ นแมแ่ มะ 239 - 70
5. บา้ นนามน 214 12 15 - - 90
6. ศึกษานารอี นสุ รณ์ 2 569 - 94
7. บ้านสนั ต้นหมอื้ 60 31 11 8 - 14
8. ดอยสามหมน่ื 85 - 28
9. บ้านหนองบัว 426 - 58 - - 69
10. โชตคิ ณุ เกษมบา้ นเมืองงาม 209 - 109
11. บา้ นห้วยจะค่านฯ 148 6 50 40 - 49
12. บา้ นเมืองคอง 309 - 34
13. บา้ นแมน่ ะ 3,314 - 63 - - 12
- 644
รวม 50 - 11 3

19 9 -

69 - -

75 28 -

35 14 -

20 14 -

- 12 -

455 136 3

11. โรงเรยี นคุณธรรมชน้ั นำ สพฐ. ระดับ 3 ดาว จำนวน 3 โรงเรยี น
1. โรงเรียนเจ้าพอ่ หลวงอปุ ถัมภ์ 9 2. โรงเรยี นบ้านแม่สาว
3. โรงเรียนบ้านเวยี งหวาย

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

16

12. โรงเรยี นศูนยเ์ ดก็ ปฐมวัยต้นแบบ/ศนู ยเ์ ดก็ ปฐมวัยต้นแบบเครือขา่ ย จำนวน 10 โรงเรียน

- โรงเรียนศูนยเ์ ด็กปฐมวยั ต้นแบบ

1. โรงเรยี นบา้ นเวยี งฝาง 2. โรงเรยี นบ้านแมส่ าว

3. โรงเรียนชุมชนวดั ศรดี งเยน็ 4. โรงเรียนบ้านเปียงหลวง

5. โรงเรยี นบ้านเชียงดาว

- ศูนย์เดก็ ปฐมวัยต้นแบบเครือข่าย

1. โรงเรยี นบ้านแม่คะ 2. โรงเรยี นบา้ นสนั ปา่ เหยี ว

3. โรงเรยี นบา้ นอ่าย 4. โรงเรียนบา้ นอรโุ ณทยั

5. โรงเรียนบา้ นปางปอ๋

13. โรงเรยี นต้นแบบศูนย์ PEER (Primary Education English Resource Center) จำนวน 5 โรงเรยี น

1. โรงเรยี นบา้ นเวยี งฝาง 2. โรงเรียนชุมชนวัดศรดี งเยน็

3. โรงเรยี นบ้านเชียงดาว 4. โรงเรียนบ้านเวียงแหง

3. โรงเรียนบ้านแม่สาว

14. โรงเรียนทผ่ี า่ นการประเมินโรงเรยี นสุจริตพระราชทาน จำนวน 1 โรงเรียน
1. โรงเรียนบา้ นเวียงฝาง

15. โรงเรียนตน้ แบบศนู ยแ์ นะแนว และศูนยแ์ นะแนวเครือข่ายระดับเขตพ้นื ท่ี จำนวน 13 โรงเรยี น
- โรงเรียนต้นแบบศูนยแ์ นะแนวระดบั เขตพ้นื ท่ี จำนวน 1 โรงเรยี น
1. โรงเรียนบา้ นเหมืองแร่

- โรงเรียนศนู ย์แนะแนวเครือข่ายระดับเขตพืน้ ที่ จำนวน 12 โรงเรยี น
1. โรงเรียนบา้ นเมอื งนะ 2. โรงเรียนบ้านห้วยงกู ลาง
3. โรงเรยี นบา้ นแมค่ ะ 4. โรงเรยี นบา้ นเชียงดาว
5. โรงเรียนบา้ นแม่ข่า 6. โรงเรียนบา้ นทงุ่ หลกุ (อ.ฝาง)
7. โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา 12 8. โรงเรยี นชุมชนบา้ นแม่ฮา่ ง
9. โรงเรียนบา้ นสันทรายคองนอ้ ย 10. โรงเรยี นเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ 9
11. โรงเรยี นบ้านนามน 12. โรงเรียนชมุ ชนวัดศรีดงเยน็

16. โรงเรียนสหกรณต์ ้นแบบ จำนวน 1 โรงเรยี น
1. โรงเรียนบา้ นใหม่หนองบวั

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

17

17. โรงเรยี นในโครงการพระราชดำริ จำนวน 3 โรงเรยี น
1. โรงเรียนเจ้าแม่หลวงอปุ ถัมภ์ 1
2. โรงเรียนเจา้ พ่อหลวงอุปถัมภ์ 9
3. โรงเรียนเพยี งหลวง 1 (บา้ นทา่ ตอน)

18. โรงเรียนโครงการหลวง จำนวน 4 โรงเรยี น
1. โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ 9ฯ
2. โรงเรยี นบ้านหว้ ยจะคา่ น ตชด. อนุสรณ์
3. โรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย
4. โรงเรียนมติ รมวลชนเชียงใหม่

19. โรงเรยี นจัดการเรยี นวชิ าชีพร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพฝาง (เพื่อการมีงานทำ) จำนวน 4 โรงเรยี น
1. โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
2. โรงเรยี นเพยี งหลวง 1 (บ้านท่าตอน)
3. โรงเรยี นบ้านสนั ตน้ หมื้อ (จดั การศึกษาแบบทวศิ ึกษา)
4. โรงเรยี นบ้านใหมห่ นองบวั

20. โรงเรียนทเ่ี ป็นศนู ยส์ ะเต็มศกึ ษา (STEM) เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา จำนวน 1 โรงเรียน
1. โรงเรียนบา้ นบา้ นสนั ต้นหม้อื

21. ศูนยก์ ารเรียนรแู้ ละสถานศึกษาพอเพยี งต้นแบบการจัดการเรยี นรู้และบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา

- ศูนยก์ ารเรียนรู้ จำนวน 6 โรงเรียน

1. โรงเรียนบ้านโปง่ นก 2. โรงเรียนบา้ นเหมอื งแร่

3. โรงเรียนบ้านใหมห่ นองบัว 4. โรงเรยี นชุมชนวัดศรีดงเยน็

5. โรงเรียนบ้านแม่ออ้ ใน 6. โรงเรยี นบา้ นแมท่ ะลบ

- สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ จำนวน 41 โรงเรยี น
อำเภอฝาง
1. โรงเรยี นบ้านม่วงชุม 2. โรงเรยี นบ้านเหมืองแร่
3. โรงเรยี นบ้านห้วยไคร้ 4. โรงเรียนบา้ นโป่งน้ำร้อน
5. โรงเรยี นบา้ นสันป่าแดง 6. โรงเรียนวัดศรบี ุญเรอื ง
7. โรงเรยี นบ้านโปง่ นก 8. โรงเรียนบา้ นแม่คะ

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

18

9. โรงเรยี นบ้านห้วยงูกลาง 10. โรงเรียนบา้ นเวียงหวาย
11. โรงเรียนบา้ นหนองขวาง 12. โรงเรยี นบา้ นปางสัก

อำเภอแมอ่ าย 2. โรงเรยี นบ้านห้วยปู
1. โรงเรยี นบ้านหว้ ยคอกหมู 4. โรงเรียนบ้านฮา่ งตำ่
3. โรงเรียนบา้ นสันต้นหม้อื 6. โรงเรียนบา้ นโล๊ะ
5. โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นแมฮ่ า่ ง 8. โรงเรยี นโชติคณุ เกษมบา้ นเมืองงาม
7. โรงเรยี นบา้ นสขุ ฤทัย 10. โรงเรยี นบ้านหว้ ยป่าซาง
9. โรงเรยี นเพยี งหลวง 1 (บา้ นทา่ ตอน) ฯ
11. โรงเรียนบ้านทา่ มะแกง

อำเภอไชยปราการ 2. โรงเรยี นแมท่ ะลบ
1. โรงเรยี นชมุ ชนวดั ศรีดงเยน็ 4. โรงเรยี นบา้ นผาแดง
3. โรงเรียนบ้านถ้ำตบั เตา
5. โรงเรียนบา้ นใหมห่ นองบวั

อำเภอเชยี งดาว 2. โรงเรยี นบ้านแม่อ้อใน
1. โรงเรยี นบา้ นปางเฟือง 4. โรงเรยี นมิตรมวลชนเชียงใหม่
3. โรงเรยี นบ้านแมน่ ะ 6. โรงเรียนบา้ นทงุ่ ละคร
5. โรงเรยี นบ้านใหม่ 8. โรงเรียนพัฒนาตน้ น้ำขุนคอง
7. โรงเรียนบ้านรนิ หลวง
9. โรงเรยี นบา้ นปา่ บง

อำเภอเวียงแหง 2. โรงเรียนบ้านเวียงแหง
1. โรงเรยี นบ้านนามน 4. โรงเรียนบา้ นปางปอ๋
3. โรงเรียนบา้ นเปยี งหลวง

22. โรงเรียนท่ีมผี ลการปฏิบัติทด่ี ี (Best Practice) ดา้ นการดำเนินงานตามระบบประกนั คุณภาพภายใน

ของโรงเรยี น จำนวน 7 โรงเรียน

โรงเรียนขนาดเล็ก

1. โรงเรยี นบ้านแมท่ ะลบ 2. โรงเรยี นบา้ นบ้านผาแดง

3. โรงเรยี นบ้านโป่งนำ้ รอ้ น

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

19

โรงเรยี นขนาดกลาง 2. โรงเรยี นเจ้าแมห่ ลวงอปุ ถมั ภ์ 1
1. โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
3. โรงเรยี นไทยรัฐวิทยา 12 (บ้านเอก) จำนวน 16 โรงเรียน
2. โรงเรียนชุมชนบา้ นคาย
โรงเรียนขนาดใหญ่ 4. โรงเรยี นบา้ นปงตำ
1. โรงเรยี นบ้านเวยี งฝาง 6. โรงเรยี นบา้ นเมอื งคอง
8. โรงเรียนบา้ นแม่ขา่
23. โรงเรียนภายใตโ้ ครงการคอนเนก็ ซ์อดี ี (CONNEXT ED) 10. โรงเรียนชุมชนบา้ นแมฮ่ ่าง
โรงเรียนประชารฐั รุ่นท่ี 1 พ.ศ. 2559
1. โรงเรยี นบ้านปางตน้ เดื่อ 13. โรงเรียนบา้ นทงุ่ หลุก (ฝาง)
3. โรงเรียนวัดปา่ แดง 15. โรงเรียนเพยี งหลวง 1 (บา้ นท่าตอน)ฯ
5. โรงเรียนบ้านทุง่ ขา้ วพวง
7. โรงเรยี นชุมชนบา้ นเมอื งงาย
9. โรงเรียนบ้านป่าก๊อ
11. โรงเรยี นมิตรมวลชนเชยี งใหม่
โรงเรยี นประชารัฐ รนุ่ ท่ี 2 พ.ศ. 2561
12. โรงเรยี นบ้านเชยี งดาว
โรงเรยี นในอุปถัมภข์ องภาคเอกชน
14. โรงเรยี นบ้านหลวง (ฝาง)
โรงเรียนกองทุนทางการศกึ ษา
16. โรงเรยี นเจ้าพอ่ หลวงอุปถัมภ์ 9

24. โรงเรียนโครงการรว่ มพัฒนา Partnership School Project จำนวน 1 โรงเรยี น
1. โรงเรียนมิตรมวลชนเชียงใหม่

25. โรงเรียนในโครงการรอ้ ยใจรกั ษ์ จำนวน 3 โรงเรียน

1. โรงเรียนศึกษานารีอนุสรณ์ 3 2. โรงเรียนบ้านสขุ ฤทัย

3. โรงเรียนโชตคิ ุณะเกษมบ้านเมืองงาม

26. โรงเรยี นทจี่ ัดการเรียนการสอนแบบมอนเตสซอร่ี (Montessori) จำนวน 3 โรงเรียน

1. โรงเรยี นศึกษานารีอนสุ รณ์ 3 2. โรงเรยี นบา้ นสุขฤทยั

3. โรงเรียนโชติคณุ ะเกษมบา้ นเมอื งงาม

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

20

27. โรงเรียนในโครงการอ่างขางโมเดล จำนวน 5 โรงเรียน
1. โรงเรยี นบา้ นขอบดง้ 2. โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ 9 ฯ
3. โรงเรยี นบ้านหลวง (ฝาง) 4. โรงเรียนสันตวิ นา
5. โรงเรียนบ้านผาแดง

28. โรงเรยี นนำรอ่ งพื้นที่นวัตกรรมการศกึ ษาจงั หวัดเชยี งใหม่ จำนวน 19 โรงเรยี น
1. โรงเรียนบา้ นขอบด้ง 2. โรงเรียนบ้านหลวง (ฝาง)
3. โรงเรยี นบ้านผาแดง 4. โรงเรียนสันตวิ นา
5. โรงเรยี นบ้านหว้ ยคอกหมู 6. โรงเรียนบา้ นสันตน้ หม้อื
7. โรงเรยี นเพยี งหลวง 1 (บา้ นท่าตอน)ฯ 8. โรงเรียนเทพศริ ินทร์ 9 ฯ
9. โรงเรยี นบา้ นดงปา่ ลัน 10. โรงเรียนบ้านแม่งอนกลาง
11. โรงเรยี นบา้ นเวยี งฝาง 12. โรงเรยี นบ้านหนองขวาง
13. โรงเรยี นวิรุณเทพ 14. โรงเรียนบา้ นกองลม
15. โรงเรียนบา้ นเปยี งหลวง 16. โรงเรยี นบ้านนาหวาย
17. โรงเรียนบ้านแม่อ้อใน 18. โรงเรียนบ้านรินหลวง
19. โรงเรียนบา้ นออน

29. โรงเรยี นคพู่ ฒั นา (โรงเรียน ตชด. สังกดั กก.ตชด.33) จำนวน 6 โรงเรยี น
โรงเรยี น ตชด. เฮียงไทยธำรงค์
1. โรงเรยี นบ้านแมส่ าว โรงเรยี นคู่พัฒนา โรงเรียน ตชด. ทตุ ิยะโพธ์ิอนุสรณ์
โรงเรียน ตชด. อาโอยาม่า
2. โรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา 12 (บา้ นเอก) โรงเรียนค่พู ัฒนา โรงเรยี น ตชด. เฉลมิ พระเกยี รตฯิ
โรงเรยี น ตชด. บ้านหนองแขม
3. โรงเรยี นบ้านม่วงชุม โรงเรียนคพู่ ฒั นา โรงเรียน ตชด. เบญจม 1

4. โรงเรยี นแกนอ้ ยศึกษา โรงเรยี นค่พู ฒั นา

5. โรงเรียนบา้ นหว้ ยจะค่าน ตชด. อนุสรณ์ โรงเรยี นคพู่ ฒั นา

6. โรงเรยี นดอยสามหม่นื โรงเรยี นคพู่ ัฒนา

30. โรงเรียนทดี่ ำเนนิ งานโครงการอนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพืช (สวนพฤษศาสตร์โรงเรยี น) จำนวน 30 โรงเรียน

1. โรงเรยี นบ้านม่วงชุม 2. โรงเรียนบ้านเหมืองแร่

3. โรงเรยี นบา้ นห้วยไคร้ (ฝาง) 4. โรงเรยี นบ้านโป่งนก

5. โรงเรยี นบ้านแมค่ ะ 6. โรงเรยี นบา้ นปางปอย

7. โรงเรียนบา้ นสันทรายคองนอ้ ย 8. โรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน

9. โรงเรียนบา้ นสนั ปา่ แดง 10. โรงเรยี นวดั ศรบี ุญเร่อื ง

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

11. โรงเรียนบ้านแมส่ ูนนอ้ ย 21
13. โรงเรยี นบ้านหนองยาว
15. โรงเรียนบา้ นแม่งอนกลาง 12. โรงเรยี นชุมชนบา้ นแม่สนู หลวง
17. โรงเรียนบ้านรินหลวง 14. โรงเรยี นบ้านหลวง (ฝาง)
19. โรงเรียนบา้ นแมแ่ มะ 16. โรงเรยี นบา้ นนาหวาย
21. โรงเรยี นบ้านหว้ ยปู 18. โรงเรียนบา้ นปางเฟือง
23. โรงเรียนบ้านหว้ ยปา่ ซาง 20. โรงเรียนบ้านสนั ตน้ หมอื้
25. โรงเรยี นบา้ นทา่ มะแกง 22. โรงเรยี นชุมชนบ้านคาย
27. โรงเรยี นบ้านหวั ฝาย 24. โรงเรียนเพียงหลวง 1 (บ้านท่าตอน) ฯ
29. โรงเรยี นบ้านเวยี งแหง 26. โรงเรยี นบา้ นสันป่าเหียว
28. โรงเรยี นบา้ นห้วยไคร้ (เวยี งแหง)
30. โรงเรยี นบ้านเปยี งหลวง

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

22

ผลการจดั การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

1. เปรยี บเทียบผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน เพอื่ การประกันคณุ ภาพผู้เรียน
(National Test : NT) ปี 2562 – 2564 ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

50

40

30

20

10

0 ด้านคานวณ ดา้ นเหตุผล
ดา้ นภาษาไทย

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ประเทศ 63

ตารางท่ี 5 เปรยี บเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน เพ่ือการประกนั คณุ ภาพผู้เรียน
(National Test : NT) ปี 2562 – 2564 ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3

ด้าน ระดับประเทศ ปี 2562 สพป.ชม.3 ปี 2564 ต่ำกว่า/
ปี 2564 46.85 ปี 2563 50.16 สงู กว่า ปท.
ภาษาไทย 49.44 46.15 46.22 54.30
คณิตศาสตร์ 52.80 ไม่จัดสอบ 41.21 ไม่จัดสอบ 0.72
ดา้ นเหตุผล ไม่จัดสอบ ไมจ่ ดั สอบ -1.84

-

จากตารางที่ 5 พบว่า ผลการประเมิน NT ปีการศึกษา 2562 – 2564 ของ สพป.ชม.3 พบว่า ผลการประเมิน
ด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2564 ของ สพป.ชม.3 เทา่ กบั 50.16 ซง่ึ สงู กวา่ กวา่ ปกี ารศึกษา 2563 เทา่ กบั (46.22)
และปีการศึกษา 2562 (46.85) และสูงกว่าระดับประเทศ 0.72 (49.44) ส่วนผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์ ปี
การศึกษา 2564 ของ สพป.ชม.3 เท่ากับ 54.30 ซึ่งสูงกว่าปีการศึกษา 2562 (46.15) และปีการศึกษา 2563
(41.21) แตต่ ำ่ กว่าระดบั ประเทศ 1.84 (52.80)

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

23

ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564

1) ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

60 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลีย่ รวม 4 สาระ
50
40
30
20
10
0

ภาษาไทย

2562 2563 2564 ระดบั ประเทศ 64

ตารางท่ี 6 ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

สาระ คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพนื้ ท่ี เปรยี บเทียบกับระดับประเทศ 2564

ปกี ารศึกษา เพ่มิ ขึ้น/ลดลง สพป.ชม 3 ประเทศ สูงกว่า/
ตำ่ กว่า
2562 2563 2564 จากปี 63

ภาษาไทย 44.45 51.17 46.74 -2.80 49.54 50.38 -3.64

ภาษาอังกฤษ 27.51 33.47 30.70 -4.76 35.46 39.22 -8.52

คณติ ศาสตร์ 28.99 25.95 33.34 +7.39 35.85 36.83 -3.49

วทิ ยาศาสตร์ 32.54 35.36 32.53 -2.83 33.68 34.31 -1.78

เฉลี่ยรวม 4 สาระ 33.37 36.49 35.83 -0.75 38.63 40.19 -4.36

จากตารางที่ 6 พบวา่ ผลการทดสอบ O-NET ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 ของ สพป.ชม.3

พบว่า คะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษา 2564 ของ สพป.ชม.3 วิชาภาษาไทย เท่ากับ 46.74 ลดลงจากปีการศึกษา

2563 เท่ากับ 2.80 แต่ยังต่ำกว่าระดับประเทศ 3.64 (50.38), วิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับ 30.70 ลดลงจากปี

การศึกษา 2563 เท่ากับ 4.76 แต่ยังต่ำกว่าระดับประเทศ 8.52 (39.22), วิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับ 33.34 ลดลง

จาก ปีการศึกษา 2563 เท่ากับ 7.39 และต่ำกว่าระดับประเทศ 3.49 (36.83), วิชาวิทยาศาสตร์ เท่ากับ 32.53

เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 เท่ากับ 1.15 แต่ยังต่ำกว่าระดับประเทศ 1.78 (38.63), โดยเฉลี่ยรวม 4 สาระ

เทา่ กบั 35.83 ลดลงจากปกี ารศึกษา 2563 เทา่ กบั 0.75 แตย่ งั ต่ำกว่าระดับประเทศ 4.36 (40.19)

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

24

2) ผลการทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3

60 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉล่ียรวม 4 สาระ
50
40
30
20
10
0

ภาษาไทย

2562 2563 2564 ระดบั ประเทศ 64

ตารางท่ี 7 ผลการทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

สาระ คะแนนเฉลยี่ ระดบั เขตพืน้ ที่ เปรียบเทยี บกบั ระดับประเทศ

ปกี ารศึกษา เพม่ิ ขึ้น/ลดลง สพป.ชม 3 ประเทศ สงู กวา่ /
ตำ่ กว่า
2562 2563 2564 จากปี 63

ภาษาไทย 53.23 52.18 51.24 -0.94 51.24 51.19 +0.05

ภาษาอังกฤษ 29.12 28.97 26.75 -2.22 26.75 31.11 -4.36

คณติ ศาสตร์ 23.25 22.25 23.18 +0.93 23.18 24.47 -1.29

วทิ ยาศาสตร์ 29.62 28.76 30.86 +2.10 30.86 31.45 -0.59

เฉล่ียรวม 4 สาระ 33.81 33.04 33.01 -0.03 33.01 34.56 -1.03

จากตารางที่ 7 พบวา่ ผลการทดสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564 ของ สพป.ชม.3

พบว่า คะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษา 2563 ของ สพป.ชม.3 วิชาภาษาไทย เท่ากับ 51.24 ลดลงจากปีการศึกษา

2563 เท่ากับ 0.94 และสูงกว่าระดับประเทศ 0.05 (51.24), วิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับ 26.75 ลดลงจากปี

การศึกษา 2563 เท่ากับ 2.22 และต่ำกว่าระดับประเทศ 4.36 (31.11), วิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับ 23.18 สูงกว่า

จากปีการศกึ ษา 2563 เท่ากบั 0.93 และต่ำกวา่ ระดบั ประเทศ 1.29 (24.47), วิชาวิทยาศาสตร์ เท่ากบั 30.86 สูง

กว่าจากปีการศึกษา 2563 เท่ากับ 2.10 และต่ำกว่าระดับประเทศ 0.59 (31.45), โดยเฉลี่ยรวม 4 สาระ เท่ากับ

33.01 ลดลงจากปกี ารศกึ ษา 2563 เทา่ กบั 0.03 และตำ่ กว่าระดบั ประเทศ 1.03 (34.56)

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

25

3) ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6

50
40
30
20
10
0

ภาษาไทย สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลย่ี รวม 5 สาระ

2562 2563 2564 ระดบั ประเทศ 64

จากตารางที่ 8 ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

คะแนนเฉลย่ี ระดบั เขตพนื้ ที่ เปรยี บเทยี บกบั ระดับประเทศ

สาระ ปกี ารศกึ ษา เพม่ิ ข้ึน/ลดลง สพป.ชม 3 ประเทศ สูงกวา่ /
2562 2563 2564 จากปี 62 ต่ำกว่า

ภาษาไทย 28.90 28.97 43.08 +14.11 43.08 46.40 -3.32

สังคมศึกษา 29.95 29.53 35.61 +6.08 35.61 36.87 -1.26

ภาษาองั กฤษ 20.82 22.48 20.39 -2.09 20.39 25.56 -5.17

คณติ ศาสตร์ 16.21 16.14 19.00 +2.86 19.00 21.28 -2.28

วทิ ยาศาสตร์ 23.81 23.45 28.42 +4.97 28.42 28.65 -0.23

เฉลีย่ รวม 5 สาระ 23.93 24.11 29.30 +5.19 29.30 31.75 -1.23

จากตารางที่ 8 พบว่า ผลการทดสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 - 2564 ของ สพป.ชม.3

พบว่า คะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษา 2564 ของ สพป.ชม.3 วิชาภาษาไทย เท่ากับ 43.08 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา

2563 เท่ากับ 14.11 แต่ต่ำกว่าระดับประเทศ 3.32 (46.40), วิชาสังคมศึกษา เท่ากับ 35.61 เพิ่มขึ้นจากปี

การศึกษา 2563 เท่ากับ 6.08 และต่ำกว่าระดับประเทศ 3.32 (46.40), วิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับ 20.39 ลดลง

จากปีการศึกษา 2563 เท่ากับ 2.09 แต่ต่ำกว่าระดับประเทศ 5.17 (25.56), วิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับ 19.00

เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 เท่ากับ 2.86 และต่ำกว่าระดับประเทศ 2.28 (21.28), วิชาวิทยาศาสตร์ เท่ากับ

28.42 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 เท่ากับ 4.97 และต่ำกว่าระดับประเทศ 0.23 (28.65), โดยเฉลี่ยรวม 5

สาระ เท่ากบั 29.30 เพ่มิ ขนึ้ จากปีการศึกษา 2563 เท่ากบั 5.19 แต่ตำ่ กวา่ ระดับประเทศ 1.23 (31.75)

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3ประจำปกี ารศึกษา 2564

สว่ นท่ี 2
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ไดด้ ำเนนิ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามภารกิจที่ได้รับผิดชอบและจากการประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งได้น้อมนำแนว
พระราชดำริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ พระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (National Strategy) นำมาวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในสู่การกำหนด
ในทิศทางการพัฒนาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 อีกทั้งได้นำจุดเน้น
เชิงนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานมาวิเคราะห์ นโยบายพิเศษของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่
เขต 3 สู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาใหม่ เขต 3

2.1 น้อมนำแนวพระราชดำริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทร
เทพยวรางกูร มาขับเคลื่อนงานด้านการศึกษาให้เกิดเป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณิธานของพระองค์ท่าน
ถือเปน็ พรอันสูงสดุ และมอบเป็นนโยบาย เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิแกห่ น่วยงานในสังกดั ดังนี้

1. พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกรู การศกึ ษาต้องมงุ่ สร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรยี น 4 ด้าน

1) มีทศั นคติทถ่ี กู ต้องต่อบ้านเมือง
1.1 มีความร้คู วามเข้าใจต่อชาตบิ ้านเมอื ง
1.2 ยดึ ม่นั ในศาสนา
1.3 ม่ันคงในสถาบันพระมหากษตั ริย์
1.4 มีความเอ้ืออาทรต่อครอบครวั และชมุ ชนของตน

2) มีพืน้ ฐานชีวติ ที่ม่นั คง – มีคณุ ธรรม
2.1 รจู้ ักแยกแยะสิ่งทีผ่ ิด – ชอบ / ช่วั – ดี
2.2 ปฏิบัตแิ ตส่ ง่ ท่ชี อบ สิง่ ท่ีดงี าม
2.3 ปฏเิ สธส่ิงท่ผี ิด ส่งิ ท่ชี ่วั
2.4 ช่วยกันสร้างคนดีให้แก่บา้ นเมอื ง

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564

27

3) มงี านทำ – มอี าชพี
3.1 การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้

เด็กและเยาวชนรกั งาน สูง้ าน ทำจนงานสำเรจ็
3.2 การฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียน

ทำงานและมีงานทำในทีส่ ุด
3.3 ต้องสนับสนุนผู้สำเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลี้ยง ตัวเองและ

ครอบครัว
4) เป็นพลเมอื งดี
4.1 การเป็นพลเมืองดี เปน็ หนา้ ทีข่ องทกุ คน
4.2 ครอบครัว – สถานศึกษาและสถานประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาส

ทำหนา้ ทีเ่ ป็นพลเมอื งดี
4.3 การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ เช่น งาน

อาสาสมัคร งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลให้ทำดว้ ยความมนี ำ้ ใจและเอื้ออาทร”

2. สืบสานพระราชปณิธานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
ดลุ ยเดชท่ที รงมแี นวพระราชกระแสฯ ทรงพระราชทานในวโรกาสตา่ งๆ เกย่ี วกบั นักเรียน ครู และการศกึ ษา

2.1 นักเรยี น
- “ครูต้องสอนให้เด็กนักเรียนมีน้ำใจ เช่น คนเรียนเก่งช่วยติวเพื่อนที่เรียนล้าหลัง

มใิ ช่สอนให้เด็กคิดแต่จะแข่งขัน (Compete) กบั เพ่ือน เพ่อื ให้คนเก่งไดล้ ำดับดๆี เชน่ สอบไดท้ หี่ นึ่งของชนั้ แต่
ต้องใหเ้ ดก็ แข่งขันกับตนเอง” (11 ม.ิ ย. 2555)

- “ครูไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก แต่ต้องมุ่งปลูกฝังความดีให้นักเรียน
ชั้นตน้ ต้องอบรมบม่ นิสัยให้เปน็ พลเมืองดี เด็กโตกต็ อ้ งทำเช่นกนั ” (6 มิ.ย. 2555)

- “เราต้องฝึกหัดให้นักเรียนรู้จักทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะมากขึ้น จะได้มี
ความสามคั คี รจู้ ักดูแลชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกัน เอื้อเฟ้อื เผื่อแผ่ความร้แู ละประสบการณแ์ ก่กนั ”
(5 ก.ค. 2555)

- “ทำเป็นตัวอย่างให้นกั เรยี นเป็นคนดี นักเรียนรักครู ครูรกั นกั เรยี น” (9 ก.ค.2555)
2.2 ครู

- “เรื่องครูมีความสำคัญไม่น้อยกว่านักเรียน ปัญหาหนึ่ง คือ การขาดครู เพราะ
จำนวนไมพ่ อ และครูย้ายบอ่ ย ดังนัน้ กอ่ นคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อน ใหพ้ ร้อมท่ีจะสอนเด็ก
ให้ได้ผลตามที่ต้องการ จึงจะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องตั้งฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสม และ
ปลูกจิตสำนึก โดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การให้ทุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้
ทางวิชาการในสาขาที่เหมาะสมที่จะสอน ต้องอบรมวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพ มีความเป็นครูที่แท้จริง

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564

28

คือ มีความรักความเมตตาตอ่ เด็ก ควรเป็นครูท้องท่ีเพื่อจะได้มีความผูกพันและคิดที่จะพัฒนาท้องถิ่นที่เกิด
ของตน ไม่คิดย้ายไปยา้ ยมา” (11 มิ.ย. 2555)

- “ต้องปรับปรุงครู ครูจะอายุ 40 - 50 ปี ก็ต้องเรียนใหม่ ต้องปฏิวัติครูอย่างจริงจัง”
(6 ม.ิ ย. 2555)

- “ปัญหาปัจจุบันคือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์เขียนตำราส่งผู้บริหารเพื่อให้ได้
ตำแหน่งและเงินเดอื นสูงขึ้น แล้วบางทีก็ย้ายไปที่ใหม่ ส่วนครูที่มุ่งการสอนหนังสอื กลับไม่ได้อะไรตอบแทน
ระบบไม่ยุติธรรม เราต้องเปลี่ยนระเบียบตรงจดุ นี้ การสอนหนังสือตอ้ งถือว่าเป็นความดคี วามชอบ หากคน
ใดสอนดี ซ่ึงส่วนมากคือมีคุณภาพและปริมาณ ต้องมี reward” (5 ก.ค. 2555)

- “ครูบางส่วนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไม่หมดแตเ่ ก็บไว้บางสว่ น หากนกั เรยี นต้องการ
รู้ทั้งหมดวิชา ก็ต้องเสียเงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูท่านนั้น จะเป็นการสอนในโรงเรียนหรือส่วนตั ว
กต็ าม” (5 ก.ค. 2555)

2.2 แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความ

มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งได้
กำหนดไว้ในรฐั ธรรมนญู ฯ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติเป็นจุดเนน้ ดา้ นการศึกษาทจ่ี ะดำเนินการ 6 ดา้ น คอื

1) ความมั่นคง
2) การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
3) การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน
4) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทยี มกนั ทางสังคม
5) การสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม
6) การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

2.3 นโยบายของ สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิรูปประเทศด้าน

การศึกษากำหนดใหม้ กี ารพัฒนาเดก็ ตงั้ แตร่ ะดับปฐมวยั ให้มสี มรรถนะและคณุ ลักษณะทดี่ ี สมวยั ทกุ ดา้ นโดย
การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของ
มนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะท่ี
จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มี
วินัย มีนสิ ัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ รวมท้งั เปน็ พลเมืองทีร่ ู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบและ
มีจิตสาธารณะ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้
เป็น “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาส
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบาย
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ดงั นี้

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564

29

1. ด้านความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภยั ให้กบั ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ
สถานศึกษา จากภัยพิบตั แิ ละภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
สามารถปรับตัวต่อโรคอบุ ัตใิ หม่และโรคอุบตั ิซ้ำ

2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนบั สนุน ให้เดก็ ปฐมวยั ได้เข้าเรยี นทุกคน มีพฒั นาการท่ีดี ทงั้ ทางร่างกาย จิตใจ วินัย

อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา ให้สมกบั วัย
2.2 ดำเนนิ การ ให้เด็กและเยาวชนไดร้ บั การศึกษาจนจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน อย่างมี

คุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาตอ่ และ
ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมท้ังสง่ เสรมิ และพฒั นาผู้เรียนท่มี ี
ความสามารถพเิ ศษสูค่ วามเป็นเลิศ เพอ่ื เพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือป้องกัน
ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานอย่างเท่าเทียมกัน

2.4 ส่งเสริมให้เด็กพกิ ารและผู้ด้อยโอกาส ใหไ้ ดร้ ับโอกาสทางการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ มีทักษะ
ในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมี
ศกั ดิศ์ รีความเป็นมนษุ ยต์ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3. ด้านคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของ

โลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมั่นการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มที ศั นคติท่ีถกู ต้องต่อบ้านเมือง

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขัน และการเลอื กศึกษาต่อเพ่ือการมีงานทำ

3.3 ปรับหลกั สูตรเปน็ หลักสตู รฐานสมรรถนะ ทเ่ี น้นการพัฒนาสมรรถนะหลักท่จี ำเป็นในแต่
ละระดับ จดั กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้าน
ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นทุกระดับ

3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียน
การสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัล มีการพฒั นาตนเองทางวิชาชีพอย่างตอ่ เนื่อง รวมท้งั มีจติ วิญญาณความเปน็ ครู

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

30

4. ดา้ นประสิทธภิ าพ
4.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชพ้ ื้นท่ีเปน็ ฐาน มีนวัตกรรมเปน็ กลไกหลกั การขบั เคล่ือน

บนฐานขอ้ มลู สารสนเทศทถ่ี ูกตอ้ ง ทันสมยั และการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและ

โรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับบริบท
ของพืน้ ท่ี

4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปี
ที่ 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพ
ของชุมชน

4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และ
สถานศกึ ษาที่ตั้งในพ้นื ทลี่ ักษณะพเิ ศษ

4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและ
การเพ่มิ ความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

4.6 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564

31

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สพป.ชม.3

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ได้กำหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นแนวทางการบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย มีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพในปี พ.ศ. 2565 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายและแนวทางการดำเนินงานของ
หน่วยงานตน้ สังกดั ในระดับตา่ ง ๆ ดังน้ี

ค่านยิ ม (Core Values) We’re SMART

S Strategy เป็นองค์กรท่ีใช้กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนเป้าหมาย เพื่อให้เป็น
(มีกลยทุ ธ)์ องค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร
บุคลากร ผูร้ ับบรกิ าร และประเทศชาติ

Modern เป็นองค์กรมีความคิดสร้างสรรค์ พร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ โดยใช้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารจัดการ รวมทั้งมี
M (มีความทนั สมัย) อาคารสถานท่มี ั่นคงปลอดภัย มภี มู ิทศั นส์ วยงาม

บุคลากรมคี วามรู้ มที กั ษะในการทำงาน ชำนาญการในหน้าท่ี มีความคิด

Achievement ริเริ่มสร้างสรรค์ ยิ้มไหว้ด้วยไมตรี วจีไพเราะ บริการกระชับฉับไวด้วย
A (การมงุ่ ผลสมั ฤทธ)์ ความเต็มใจและเสมอภาค จนเป็นองค์กรที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ และ
ความสำเรจ็ ในการทำงาน

Research & เป็นองค์กรที่ใช้การวิจัยเป็นฐานในการพัฒนางาน และมีการ
พฒั นานวตั กรรมเพ่ือกา้ วสู่องค์กรคุณภาพ
R Development
(การวจิ ยั และพฒั นา)

เป็นองค์กรที่มีความสามัคคี ร่วมมือกันในการทำงาน มีการแลกเปลี่ยน

T Team work(การทำงานเป็นทมี ) เรียนรู้ และรบั ฟงั ความคิดเหน็ ซึ่งกันและกัน เพือ่ มงุ่ ไปสู่เปา้ หมายเดียวกัน
และใหค้ วามสำคัญกับการประสานงานท้ังหน่วยงานภายในและหน่วยงาน

ภายนอกองคก์ ร

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

32

วิสัยทัศน์ (Vision)

“สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
บนพ้ืนฐานพหุวัฒนธรรม ด้วยนวตั กรรม และเทคโนโลยี”

“Creating Educational Opportunity and Equality and Developing Student’s Quality
Along Multicultural Process utilizing Innovation and Technology”

พนั ธกิจ (Mission)

1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาบนพื้นฐานพหุวัฒนธรรม เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก
ของชาติ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

2. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ มีทักษะอาชีพ มีสมรรถนะตามหลักสูตร และมี
คณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 โดยการจัดกระบวนการเรยี นการสอนด้วยวธิ ีการ Active Learning

3. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ พัฒนาทักษะการใช้
ภาษาองั กฤษและเทคโนโลยี แพลต็ ฟอรม์ เพ่ือสง่ เสริมความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่อื มลำ้ ของผู้เรยี นอย่างท่ัวถึงและเท่าเทยี ม
5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. พัฒนาระบบบริหารจดั การศกึ ษาของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาและสถานศึกษาให้เป็นองค์กร
ที่มีระบบการบริหารการจัดการที่ดี (Good Governance) ส่งเสริมการจัดการศึกษาโดยใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Technology) เพือ่ พฒั นามงุ่ สู่องค์กรที่มีคุณภาพ

เปา้ ประสงคห์ ลัก (Goals)
4Qs

1. สำนักงานเขตพ้นื ทคี่ ุณภาพ (Quality Office) สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามีระบบบริหาร
จัดการท่ดี ี (Good Governance) ใชข้ ้อมลู สารสนเทศท่ีทันสมัย (Big Data) และเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital
Technology) สรา้ งค่านยิ มองคก์ ร พฒั นานวตั กรรมสู่องค์กรคุณภาพ

2.โรงเรยี นคุณภาพ (Quality Schools)
1) สถานศึกษาน้อมนำพระบรมราโชบายของรชั กาลท่ี 10 และส่งเสริมการจดั การศึกษาบน
พ้ืนฐานพหวุ ฒั นธรรม เพือ่ สร้างความม่นั คงของสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ภายใตก้ ารปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
2) สถานศึกษาจัดใหป้ ระชากรวยั เรียนทุกคน รวมท้งั ผู้เรยี นท่ีมคี วามตอ้ งการพิเศษ กล่มุ ชาติ

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

33

พันธุ์ กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส และกลมุ่ ท่ีอย่พู ้ืนทห่ี ่างไกลทุรกันดาร ไดร้ ับการศกึ ษาอย่างเท่าเทียม ทว่ั ถงึ และม
คณุ ภาพ

3) สถานศึกษาเปน็ โรงเรยี นนา่ ดู นา่ อยู่ น่าเรยี น มีระบบประกันคุณภาพภายในและระบบการ
นเิ ทศภายในทเ่ี ขม้ แข็ง พัฒนาหน่งึ โรงเรียน หน่งึ นวัตกรรม มงุ่ สอู่ งค์กรท่ีมีคณุ ภาพ

4) สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสริมสรา้ งคุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม ตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.หอ้ งเรยี นคุณภาพ (Quality Classrooms)
1) จัดหอ้ งเรยี นสะอาด บรรยากาศน่าเรยี น มีระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
2) ครูเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ มีทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Leaning คิดและมี
เหตผุ ลและเป็นข้ันตอน (Coding) และสรา้ งแพล็ตฟอร์มดิจิทัลเพอื่ การจัดการเรยี นรู้
3) ครพู ัฒนางานด้วยชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
4) พัฒนาหนง่ึ ห้องเรยี น หน่ึงนวัตกรรม เพื่อพฒั นาการเรียนร้แู ละสง่ เสรมิ ความก้าวหนา้ ทาง
วิชาชพี
4.นักเรยี นคุณภาพ (Quality Students)
1) นกั เรียนมีความรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยดึ ม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มที ัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มหี ลกั คดิ ที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของ
ชาติ มีคุณธรรมจริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้ อื่น ซื่อสัตย์
สจุ ริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ยั รักษาศีลธรรม
2) นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้ อ่านออก เขียนได้ ลายมือสวย คิดริเร่ิม
สร้างสรรค์นวัตกรรม มีทกั ษะชวี ิต ทักษะอาชีพ มสี มรรถนะตามหลักสตู ร สุขภาวะเหมาะสมกับวัย
3) นกั เรยี นมีคณุ ลกั ษณะของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564

34

เปา้ ประสงค์หลกั (Goals) 4Qs

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

35

กลยุทธ์ (Strategy)

4Qs
กลยุทธ์ท่ี 1 จดั การศึกษาเพอ่ื ความมั่นคง และเทิดทนู สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นทุกชว่ งวัยใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง และมีคุณภาพ มคี วามสามารถ

ในการแขง่ ขนั
กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ี่ 4 สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษา และลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศึกษา
กลยทุ ธท์ ่ี 5 จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
กลยทุ ธ์ท่ี 6 พัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ

เปา้ หมาย มาตรการ และตวั ชวี้ ดั ความสำเรจ็

สำนกั งานเขตพ4ื้นQทsี่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ได้กำหนดเป้าหมายและมาตรการตาม
ประเด็นกลยทุ ธ์ ดงั นี้

กลยุทธท์ ่ี 1 จัดการศกึ ษาเพือ่ ความมัน่ คง และเทดิ ทนู สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
เป้าหมาย
ส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันหลัก และการปกครองในระบบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ปลกู ฝังผเู้ รยี นดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์
มาตรการ
1. น้อมนำแนวพระราชดำริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา

หรอื “ศาสตร์พระราชา” มาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้อย่างยง่ั ยืน
2. ปลูกฝังและเสริมสร้างวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉันท์ สันติวิธี ต่อต้านการ

ทุจรติ คอรัปชัน่ และยึดม่ันในการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
3. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผ่าน

หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นร้ปู ระวัติศาสตรแ์ ละความเป็นพลเมือง
4. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรม

จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รและคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
5. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น อาชญากรรม และ

ความรนุ แรงในรูปแบบตา่ ง ๆ สิ่งเสพตดิ ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ ฯลฯ

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

36

ตารางท่ี 9 การแสดงตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ในกลยุทธ์ที่ 1

ที่ ตวั ชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย
1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของ 100
85
ชาติ ยดึ ม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็น
ประมุข 100
2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อ
บ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้องเป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม 100
มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา
รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ 100
อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย และรกั ษาศีลธรรม
3. รอ้ ยละของผ้เู รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ และมคี วามพรอ้ มสามารถรับมือกับ
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง
การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์
โรคอุบัตใิ หม่ และภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ เปน็ ตน้
4. ร้อยละของสถานศึกษาที่น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี ินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระว
ชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรยี น
ใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามที่กำหนดไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
5. จำนวนสถานศึกษาที่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการเรียนรู้ให้
ผู้เรียนแสดงออกถึง ความรักในสถาบันชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีทัศนคติที่ดีต่อ
บา้ นเมือง มหี ลักคิดทถี่ กู ต้องเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มคี ุณธรรม จริยธรรม

กลยทุ ธท์ ี่ 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณภาพ มีความสามารถ
ในการแขง่ ขนั

เปา้ หมาย
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการปรับหลักสูตร 44 การวัด
และประเมินผลที่เหมาะสม พัฒนาคุณภาพกระบวนการเรียนรู้ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริม
สนับสนุนการทำวิจัย และนำผลการวิจัยไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อให้นักเรียนเป็นบุคคลแห่ง
การเรียนรู้ มีความรู้ อ่านออก เขยี นได้ ลายมอื สวย คดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรคน์ วัตกรรม มที ักษะชีวิต ทักษะอาชีพ
มสี มรรถนะตามหลักสูตร สขุ ภาวะเหมาะสมกับวัย มคี ุณลักษณะของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564

37

มาตรการ
1. ปรับปรุงหลักสูตรในระดับปฐมวัยและหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ และจัดการเรียนรู้ให้
สอดคลอ้ งกบั หลักสูตร ตามความจำเป็นและความต้องการของผูเ้ รยี น ชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ และสังคม

2. ส่งเสริมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความมั่นในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร
หาความรู้ ภาษาถนิ่ เพ่อื การเรยี นรู้

3. พฒั นาระบบการวัดและประเมินผลทุกระดับใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานนำไปสกู่ ารพัฒนา
คณุ ภาพผู้เรยี นเตม็ ตามศักยภาพ

4. พัฒนาผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษา ให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญา ใหม้ คี วามพรอ้ มเขา้ สู่การเรียนรูใ้ นระดับที่สูงข้นึ

5. พัฒนาผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษา ให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สงั คม และสติปญั ญา ใหม้ คี วามพร้อมเข้าส่กู ารเรยี นรู้ในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ

6. ส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถอา่ นออกเขียนได้ตามชว่ งวัย
7. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผูเ้ รยี นมีนิสยั รักการอ่าน
8. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง ( Active
Learning) เน้นทักษะกระบวนการให้เกิดทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคดิ สรา้ งสรรค์ในทุกกลุ่ม
สาระเรยี นรู้ ทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี น
9. ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมที กั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
10. ปลูกฝังทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนระดับก่อน
ประถมศกึ ษาตามโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
11. สนับสนุนการผลิต จัดหาและใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี นวัตกรรม และสิ่ง
อำนวยความสะดวกที่หลากหลายรวมทั้งการพัฒนาห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาในการ
จัดการเรยี นรู้ไดท้ ง้ั ในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียนเพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้อย่างเต็มศกั ยภาพ
12. ส่งเสรมิ การจัดหลกั สูตรทกั ษะอาชพี หลกั สูตรระยะส้นั
13. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผู้เรยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ (ผพู้ กิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส
เดก็ ชาตพิ ันธุ์ และผมู้ ีความสามารถพิเศษ) ใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
14. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
อย่างเขม้ แขง็ ตอ่ เนอ่ื งและเป็นรปู ธรรม
15. ยกระดับผลการประเมินระดับนานาชาติตามโครงการ PISA (Programme for
International Student Assessment)
16. สง่ เสริมการพฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รียนสคู่ วามเปน็ เลศิ ในด้านต่าง ๆ

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564

38

17. ส่งเสริมการเรียนรู้เชิงบูรณาการแบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science
Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เพื่อพัฒนากระบวน
การคดิ และการสร้างสรรคน์ วตั กรรมเพื่อสรา้ งมูลคา่ เพิ่ม สอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย 4.0

18. สง่ เสริมการทำวิจยั เพื่อพฒั นาการบรหิ ารจดั การศึกษา
19. ส่งเสริมการทำวจิ ัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลโดย
เน้นให้มกี ารวิจัยในชั้นเรียน

ตารางที่ 10 การแสดงตวั ชีว้ ดั ความสำเรจ็ ในกลยทุ ธ์ที่ 2

ท่ี ตัวชว้ี ัด คา่ เป้าหมาย
1. ร้อยละของสถานศึกษาจดั การเรียนรสู้ อดคล้องกับหลักสูตร ตามความจำเป็น 100
90
และความต้องการของผู้เรยี น ชุมชน ทอ้ งถ่นิ และสงั คม 75
2. ร้อยละของผู้เรียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม มี 90
100
วินยั และสติปัญญา 100
3. ร้อยละของผู้เรยี นที่สามารถอา่ นออกเขยี นได้ ลายมอื สวยตามชว่ งวยั
4. ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ 75
75
จากการเรียนรผู้ ่านกิจกรรมการปฏบิ ตั ิจรงิ (Active Learning)
5. ร้อยละของผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา 85

ขน้ั พ้ืนฐาน สอดคล้องกับทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 90
6. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ (ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส เด็ก

ชาติพันธุ์ และผู้มีความสามารถพิเศษ) ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และ
พฒั นาเต็มตามศกั ยภาพด้วยรปู แบบทเ่ี หมาะสม
7. ร้อยละของผเู้ รียนมีทกั ษะความร้ทู ่ีสอดคล้องกบั ทักษะทีจ่ ำเป็น
ในศตวรรษท่ี 21
8 ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาผ่านการประเมิน สมรรถนะที่จำเป็นด้านการรู้เรื่อง
การอ่าน (Reading Literacy) ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical
Literacy) และด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตาม
แนวทางการประเมิน PISA
9. ร้อยละของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มคี วามรู้ สมรรถนะหรือทักษะอาชีพใน
ด้านต่าง ๆ เพื่อการประกอบอาชีพการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
สอดคล้อง ตามสภาพความตอ้ งการและบรบิ ทของแต่ละพ้นื ที่
10. ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลกั สูตรระดบั ดีขนึ้ ไป

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564

ท่ี ตวั ชี้วัด 39
11. ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลการทดสอบ
ค่าเปา้ หมาย
ความสามารถพนื้ ฐานระดบั ชาติ (NT) เฉลีย่ เพ่ิมขน้ึ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 3 60
12. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน +5

พื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ 80
ผ่านมา
13. ร้อยละของผ้เู รยี นท่จี บการศกึ ษาชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 70
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ 70
ตามบริบทของพ้ืนท่ี ตามความถนัดและความต้องการของตนเอง 100
14. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู ร มากกว่า 100
รอ้ ยละ 65 ในแตล่ ะวิชาเพิ่มขน้ึ จากปกี ารศึกษาทผี่ า่ นมา 100
15. ร้อยละของผูเ้ รียนที่มที ักษะคณิตศาสตร์ การคิดขั้นสงู นวัตกรรม เทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล ภาษาองั กฤษ
16. ร้อยละของสถานศึกษามีผลงานวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนา
คุณภาพการจดั การศกึ ษา
17. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิจัยในชั้นเรียนและนำผล
การวจิ ัยไปใชพ้ ัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวดั ประเมินผล
18. ร้อยละของสถานศึกษาส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศใน
ดา้ นตา่ งๆ
19. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM
Education) มีนวตั กรรมเพ่อื สรา้ งมลู ค่าเพ่มิ สอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย 4.0

กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรทางการศกึ ษา
เปา้ หมาย
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพในรูปแบบท่ี

หลากหลาย ให้ครูเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ มีทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Leaning คิดและมี
เหตุผลและเป็นขั้นตอน (Coding) สร้างแพล็ตฟอร์มดิจทิ ัลเพือ่ การจดั การเรียนรู้ พัฒนางานด้วยชมุ ชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มุ่งสู่หนึ่งห้องเรียน หนึ่งนวัตกรรม เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และส่งเสริม
ความก้าวหนา้ ทางวิชาชีพ

มาตรการ
1. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ทั้งระบบ

เชื่อมโยงกับการเลื่อนวิทยฐานะในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การจัดการเรียนรู้ออนไลน์ การสร้างชุมชน

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564

40

แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมปฏิบัติ
จริง (Active Learning) ฯลฯ

2. ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ดำเนินงานหนึ่งห้องเรียน หนึ่งนวัตกรรม
เพ่อื พฒั นาการเรียนรูแ้ ละสง่ เสรมิ ความก้าวหนา้ ทางวิชาชพี

3. พัฒนาระบบการบรหิ ารงานบุคคลให้มีประสิทธภิ าพ โดยเชือ่ มโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการกำหนด การกำหนดแผนอัตรากำลัง การสรรหา การบรรจุแต่งตั้ง การประเมินและการพัฒนา การ
สรา้ งแรงจงู ใจให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามีขวญั และกำลงั ใจในการทำงาน

ตารางท่ี 11 การแสดงตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ ในกลยทุ ธท์ ่ี 3

ท่ี ตวั ชี้วัด ค่าเป้าหมาย
1. ร้อยละของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริม 95
100
ความก้าวหน้าทางวิชาชพี
2. ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 90
100
ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนา
ทางดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด
3. ร้อยละของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่ได้รับการพัฒนา
นวัตกรรมโดยใช้เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอน
4 ร้อยละของครูที่จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง (Active
Learning)

กลยุทธ์ท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษา และลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศึกษา
เปา้ หมาย
สถานศกึ ษาจัดหอ้ งเรียนสะอาด บรรยากาศนา่ เรียน มรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ประชากร

วัยเรียนทุกคน รวมทั้งผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่พื้นที่
ห่างไกลทุรกนั ดาร ได้รบั การศึกษาอย่างเทา่ เทียม ทั่วถึง และมีคณุ ภาพ

มาตรการ
1. ส่งเสริมประชากรวัยเรียนทุกคนให้ได้รับโอกาสในการเข้ารับบริการทางการศึกษาอย่าง

ท่วั ถึง มคี ุณภาพและเสมอภาค
2. สร้างความเข้มแข็งของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบส่งเสริมความประพฤติ

นกั เรียน ระบบคุ้มครองนกั เรยี น และสรา้ งภูมิคุ้มกนั ทางสังคม

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศึกษา 2564

41

3. ประสานหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องในการจัดการศึกษาที่เหมาะสม สำหรับเด็กด้อยโอกาส ที่ไม่
อยู่ในทะเบียนราษฎร์ เช่น เด็กไร้สัญชาติ เด็กพลัดถิ่น เด็กต่างด้าว เด็กไทยที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน
เปน็ ต้น

4. ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่าง
ท่วั ถงึ

ตารางท่ี 12 การแสดงตัวชวี้ ดั ความสำเร็จในกลยทุ ธท์ ่ี 4 คา่ เป้าหมาย
80
ท่ี ตัวชว้ี ดั
1. ร้อยละของผเู้ รียนในเขตพ้นื ทเี่ ฉพาะกล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ กลุ่มทด่ี ้อยโอกาส และกลุ่มที่ 80
100
อยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการบริการด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี 100
คณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ สอดคลอ้ งกับบริบทของพน้ื ท่ี 100
2. สถานศึกษามีการส่งเสริมการเข้าถึงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเด็ก 100
ขา้ มชาติ 100
3. ร้อยละผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาและการพัฒนา
สมรรถภาพหรอื บรกิ ารทางการศกึ ษาท่เี หมาะสมตามความจำเปน็
4. สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสมตามบริบท ด้าน
ประเภท ขนาด และพน้ื ที่
5. ร้อยละของสถานศึกษานำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้เป็น
เครื่องมอื ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้แก่ผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. สถานศึกษามรี ะบบการดูแลชว่ ยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนว ที่มี
ประสทิ ธภิ าพ
7. สถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถนำมาใช้ในการ
วางแผนจดั การเรียนรู้ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

กลยทุ ธ์ท่ี 5 จดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม
เป้าหมาย
สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาตรการ
1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรมและน้อมนำ

แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏบิ ตั ิในการดำเนินชีวติ

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

42

2. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้และส่ือ
การเรียนรตู้ า่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกับการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทดี่ ีเป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม

3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม

ตารางที่ 13 การแสดงตวั ชวี้ ดั ความสำเรจ็ ในกลยทุ ธ์ท่ี 5 คา่ เป้าหมาย
90
ที่ ตัวชว้ี ดั
1. ร้อยละของสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมส่งเสรมิ สนับสนนุ การสร้างจติ สำนึกรกั ษ์ 100
95
ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรมและน้อมนำแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง 95
2. ร้อยละของนักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก 90
ในการอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม
3. สถานศึกษามีการนำขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์และพลังงานเพื่อลด
ปริมาณขยะ และมีส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชนเพื่อลดปริมาณคาร์บอนท่ี
โรงเรยี นและชมุ ชน จดั การขยะแบบมสี ว่ นรว่ มและการนำขยะ มาใช้ประโยชน์
4. สถานศกึ ษามีการบรู ณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีสว่ นรว่ มและการนำขยะ
มาใช้ประโยชน์รวมทั้งสอดแทรกในสาระการเรียนรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร
และสถานที่ให้เป็นสำนักงานสีเขียวต้นแบบมีนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็น
มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรียนและชมุ ชน

กลยุทธ์ท่ี 6 พัฒนาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการ
เป้าหมาย
พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) มีประสิทธิภาพ ใช้ข้อมูลสารสนเทศที่

ทันสมัย (Big Data) และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ
แบบมสี ว่ นรว่ ม สรา้ งค่านยิ มองค์กร เป็นองคก์ รน่าดู น่าอยู่ ท่ใี ช้พน้ื ทเ่ี ปน็ ฐาน สร้างนวัตกรรม นำเทคโนโลยี
พัฒนาส่อู งค์กรคุณภาพ

มาตรการ
1. พัฒนาระบบการวางแผน การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ การกำกับติดตามตรวจสอบและ

ประเมนิ ผล เพื่อการบรหิ ารจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล
2. พัฒนาระบบงบประมาณและการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยเพอื่ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การจัดการศึกษา ทีม่ มี าตรฐานเชอ่ื มโยงและเขา้ ถึงได้

รายงานการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

43

4. สร้างความเข้มแข็งและยกระดับคณุ ภาพสถานศึกษาตามบริบทของพ้นื ที่
5. ส่งเสรมิ ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เขม้ แข็ง
6. ยกย่องเชดิ ชเู กียรติสถานศึกษาและบคุ ลากร ทมี่ ีผลงานเชงิ ประจกั ษ์
7. ส่งเสรมิ การบริหารจัดการเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาโดยใช้พ้ืนท่เี ปน็ ฐาน
8. สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น เครือข่าย
สง่ เสริมประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษา ศูนย์พัฒนากลมุ่ สาระการเรียนรู้ สหวิทยาเขต ศูนยเ์ ครือขา่ ย ฯลฯ
9. ส่งเสรมิ และพฒั นาโรงเรยี นดว้ ยพลังประชารฐั อยา่ งต่อเนื่องและย่ังยืน

ตารางที่ 14 การแสดงตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ในกลยุทธท์ ี่ 6

ที่ ตวั ชี้วดั ค่าเปา้ หมาย
100
1. ร้อยละของสถานศึกษาใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธิภาพ มีการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลโดยยึดหลัก 100
ธรรมาภบิ าล
100
2. ร้อยละของสถานศึกษาจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณสอดคล้องแนว 100
ทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ 100
ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 90

3. ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพ้ืนทีแ่ ตล่ ะประเภทมีการพัฒนาการจดั การศึกษา 100
ตามบรบิ ทของพ้นื ที่
100
4. สถานศึกษาได้รับการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้พื้นที่เป็น 50
ฐาน

5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล (Digital Technology) มาใชใ้ นการบริหารจดั การ

6. สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา และสถานศึกษาผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณธรรม
และความโปรง่ ใส ในการดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity &
Transparency Assessment : ITA)

7. สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา และสถานศึกษาทกุ แหง่ มขี ้อมูลต่างๆ นำไปส่กู าร
วิเคราะห์เพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Big Data

Technology)

8. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีแพลตฟอร์ม ดิจิทัล (Digital
Platform) เพอ่ื สนบั สนนุ ภารกิจดา้ นบริหารจัดการศึกษา

9. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีเขา้ ร่วมโครงการพ้นื ทีน่ วตั กรรมการศึกษาเพ่ิมข้นึ

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

ที่ ตัวชว้ี ัด 44
10. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการตรวจสอบภายในอย่างเป็นระบบ ครบตาม
ค่าเป้าหมาย
เปา้ หมายทไ่ี ด้กำหนดไว้ 100
11. รอ้ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีระบบประกันคุณภาพภายในที่ถูกต้องตามข้นั ตอน
12. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีการจัดทำแผนพัฒนา 100
100
การศึกษาและแผนปฏบิ ัติการประจำปีไดอ้ ย่างถูกต้อง
13. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มีการจัดทำรายงานผลการ 100

ดำเนนิ งานประจำปี 100
14. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มีการจัดระบบและควบคุมการ
100
บริหารการเงนิ บญั ชี และพสั ดุ
15. สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศกึ ษา มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 100

การจัดการศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ 100
16. สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา มกี ารจัดทำรายงานการควบคุม

ภายในได้อยา่ งถกู ต้อง
17. ร้อยละของสถานศึกษามีการยกย่องเชิดชูเกียรติ หน่วยงาน องค์คณะบุคคล

และบคุ ลากรที่มผี ลงานเชิงประจกั ษ์

รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2564


Click to View FlipBook Version