The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phrapalad Lek, 2022-08-16 06:42:33

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

320

ภาคผนวก จ
รายชอื่ และสถานภาพของผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ

ขอ้ คาถามกับวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ ในแบบทดสอบครู

321

รายช่อื และสถานภาพของผู้ทรงคณุ วุฒิในการตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คาถามกบั
วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ในแบบทดสอบครู

ชอ่ื -ช่อื สกุล คุณวฒุ ิ สถานที่ทางาน
พระครูวริ ิยปญั ญาภิวฒั น์,
ผศ.ดร. - การศึกษามหาบณั ฑติ ผ้อู านวยการวทิ ยาลยั สงฆ์

ดร.พนิ จิ อุไรรักษ์ (หลักสตู รและการสอน) สุรนิ ทร์

ผศ.ดร.จตุภูมิ เขตจตั รุ ัส มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ

ดร.นตั ยา หลา้ ทนู ธีรกลุ - ครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑติ ราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตสรุ ินทร์

ดร.สิรินันท์ สุรไพฑูรย์ แซ่ผงุ (หลกั สตู รและการเรียนการ

สอน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ

มหาสารคาม

- ครศุ าสตรมหาบัณฑติ (การ ครูวิทยฐานะ

วดั และประเมินผลการศึกษา) ครูชานาญการพเิ ศษ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้

- ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(วจิ ัยการศึกษา) มหาวิทยาลัย โรงเรียนลาปลายมาศ

รามคาแหง จงั หวัดบุรรี มั ย์

- ครศุ าตรมหาบัณฑิต (การวิจยั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

ทางการศกึ ษา มหาวิทยาลัย

- ครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต

(การวัดและประเมินผล

การศกึ ษา) มหาวทิ ยาลัย

- ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ

(หลักสูตรและการสอน) - หวั หนา้ กลุ่มงานบูรณาการ

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ การนเิ ทศติดตามและ

- ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต ประเมินผลสานักงาน

(หลักสูตรและการสอน) ศึกษาธิการจงั หวดั ขอนแกน่

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ

สาขาบรรณารกั ษศาสตร์และ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา

สารสนเทศศาสตร์ มัธยมศกึ ษาขอนแกน่

- ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต

(หลักสตู รและการสอน)

มหาวิทยาลัยขอนแกน่

322

ภาคผนวก ฉ
หนังสอื ของบัณฑติ วิทยาลัยเพอ่ื ขอความรว่ มมือจากผ้ทู รงคณุ วุฒเิ พอ่ื
ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ใน

แบบทดสอบครู

323

324

ภาคผนวก ช
แบบตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
(Index of Item - Objective Congruence: IOC) ในแบบทดสอบครู

325

แบบตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้
(Index of Item - Objective Congruence: IOC) ในแบบทดสอบครู

สาหรับผ้ทู รงคณุ วุฒิ
คาช้ีแจง

ในการทาวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน ” (Online Program to Enhance Teacher Learning to
Develop Students’ Self-Directed Learning Skills) โดยระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research
and Development) ผู้วจิ ัยได้สรา้ ง “แบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องครูเกย่ี วกับการพัฒนาทักษะการ
เรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง” ข้ึน

โดยแบบทดสอบดังกล่าว มีวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ครูมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย
(Cognitive Domain) ซ่ึงเป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือ
สติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6
ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะ
การคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การ
ประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์
(Creating)

ผู้วิจัยได้สร้างข้อทดสอบตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 6 ระดับดังกล่าวเป็นแบบปรนัย 4
ตัวเลือก ในเน้ือหาท่ีเขียนไว้ในคู่มือเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองของครู เก่ียวกับนิยาม ความสาคัญ
คุณลักษณะ แนวทางการพัฒนา ข้ันตอนการพัฒนา และการประเมินผลทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนา
ตนเอง

จึงใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดพิจารณาข้อทดสอบในแบบทดสอบข้างล่าง แล้วทา
เคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ ง +1 หรือ 0 หรอื -1 โดย

+ 1 หมายถึง ขอ้ ทดสอบมีความสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจในความสอดคลอ้ งของขอ้ ทดสอบกบั วตั ถุประสงค์การเรียนรู้
-1 หมายถงึ ขอ้ ทดสอบไม่มีความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
ขณะเดียวกนั ใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดให้ข้อเสนอแนะเกยี่ วกับการใชภ้ าษาในข้อทดสอบที่เห็นวา่
ไม่เหมาะสม ว่าควรปรับปรุงแกไ้ ขเป็นอยา่ งไร

เจรญิ พรขอบคุณ/ขอขอบคุณ
พระปลดั เล็ก อานนโฺ ท/ทองแสน
นักศึกษาปริญญาเอกสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตอสี าน

วตั ถปุ ระสงคก์ าร ข้อสอบ
เรียนรู้

วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้เก่ียวกบั ทศั นะเกยี่ วกับนิยามของทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชีน้ าตนเอง

ความจา 1. ข้อใดกล่าวถงึ นยิ ามของทกั ษะการรแู้ บบช้ีนาตนเอง ได้ถกู ตอ้ ง

ก. การจัดการเรยี นการสอนซงึ่ จาเพาะในชัน้ เรยี นเทา่ นัน้

ข. กระบวนการจัดการเรยี นรูโ้ ดยคานงึ ถึงผูเ้ รยี นตอ้ งไดเ้ รยี นในเรื่องเดยี วกัน

ค. กระบวนการเรยี นรู้ด้วยความต้องการของตนเอง เปน็ อสิ ระเพ่ือใหไ้ ดม้ าซง่ึ ควา

ง. การเรียนรู้ด้วยตนเองผา่ นคาอธบิ ายของครทู ่ีกาหนดรปู แบบ แล้วให้ผู้เรยี นปฏิบัตติ

ความเข้าใจ 2. แหลง่ ขอ้ มลู ใดต่อไปน้ที เี่ อื้อตอ่ การพฒั นาทักษะการรู้แบบชน้ี าตนเองได้อย่างหลากหลา

ประสทิ ธภิ าพมากทสี่ ุด

ก. การจัดการเรยี นการสอนในชน้ั เรยี นท่ีมีอุปกรณก์ ารเรยี นครบครัน

ข. การเรยี นร้ดู ว้ ยสอื่ อิเล็กทรอนิกสใ์ นหลักสูตรออนไลน์ท่คี รูจดั ให้

ค. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ *

ง. การศกึ ษาค้นคว้าและสมั ภาษณ์จากผูเ้ ชย่ี วชาญ

การประยกุ ต์ 3. ขอ้ ใดต่อไปนเ้ี ปน็ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง

ก. สมศกั ด์โิ ทรศัพทส์ อบถามครู

ข. สมยศให้เพือ่ นยืมหนงั สอื ไปอา่ น

ค. สมบูรณ์จ้างครูพเิ ศษมาสอนที่บา้ น

ง. สมเกียรตสิ ืบค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต*

การวเิ คราะห์ 4. เมอ่ื ทา่ นตอ้ งการพฒั นาทกั ษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเองใหป้ ระสบความสาเร็จ ขอ้ ใดคอื

เปน็ อันดับแรก

ก. การแสวงหาแหล่งเรียนรู้

ข. การประเมินผลการเรยี นรู้

ค. การวิเคราะหค์ วามต้องการในการเรยี น

ง. การกาหนดเปา้ หมายและจดุ ประสงค์ในการเรยี น*

การประเมิน 5. ท่านคิดว่าทักษะการเรียนรแู้ บบชีน้ าตนเองมคี วามสาคัญตอ่ การพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ พล

21 หรอื ไม่

ก. สาคญั เพราะเปน็ การแสวงหาแหลง่ เรียนรู้รูปแบบการเรยี นรู้ใหม่ ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดนวัต

ข. ไม่สาคัญ เพราะการไตรต่ รองในข้อมูลนน้ั ๆ อาจเกดิ ความผิดพลาดและทาให้เกิดค

ความเหน็ ของ 326
ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา
+1 0 -1

ามร้*ู จัดเรยี งลาดับตัวเลือกจากส้นั ไปยาว
ตาม

ายและมี

อสง่ิ ที่ตอ้ งพฒั นา

ลโลกท่ีดีในศตวรรษ
ตกรรม
ความเสียหายตอ่

วตั ถปุ ระสงค์การ ขอ้ สอบ
เรยี นรู้

ตนเอง

ค. ไมส่ าคัญ เพราะการการตั้งใจและยอมรบั ในกฎเกณฑ์ที่มยี ่อมทาให้เกดิ ความร้ใู หม่ ๆ

ใหไ้ มเ่ สียเวลา

ง. สาคญั เพราะเปน็ การกระตุน้ ใฝเ่ รยี นร้ขู องตนเอง การกาหนดเปา้ หมาย และจุดป

เรยี นสูก่ ารเรยี นร้ทู ีไ่ มส่ ้ินสดุ *

การสร้างสรรค์ 6. บุคคลใดวางแผนการเรียนรขู้ องตนเองได้สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเอง

ก. สมยศต้องการเรียนทหารจึงขอความช่วยเหลอื จากเพอ่ื นท่ไี ปเรียนพเิ ศษและขอเอก

อา่ นทบทวนทกุ วนั

ข. สมศกั ดอ์ิ ยากเปน็ ครูจงึ วางแผนวา่ จะใช้เวลาวา่ งสอนเพ่ือนในวิชาท่ตี นเองถนัดเป็น

ที่ตนเองเรยี นในห้องเรยี นอกี ทางหนงึ่

ค. สมเกยี รติอยากติดคณะเภสชั ศาสตร์ จงึ ขอพอ่ แมว่ ่าจะต้ังใจเรียน พอ่ จึงให้เข้ารว่ มก

ฉนั อยากเป็นหมอ จนสามารถสอบติดได้อย่างรวดเรว็

ง. สมพรต้องการเรียนคณะแพทย์ จึงตั้งใจท่ีจะวางแผนการเรยี นตงั้ แต่อยู่ในระดับช

4 โดยการขอคาแนะนาจากร่นุ พี่ เพ่ือน และศึกษาเอกสารตา่ ง ๆ ทมี่ ีใหฟ้ รใี นอนิ เตอรเ์ น

วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นร้เู กีย่ วกบั ความสาคญั ของทักษะทักษะการเรียนร้แู บบชน้ี าตนเอง

ความจา 7. ขอ้ ข้อใดกลา่ วถึงความสาคญั ของการฝึกทักษะการเรียนรูแ้ บบชี้นาตนเองไมถ่ ูกต้อง

ก. เกดิ การรเิ ร่มิ ของตนวา่ จะเรียนไดม้ ากกว่า

ข. พฒั นาตนเองไปสคู่ วามเป็นอสิ ระไม่ตอ้ งพึง่ ผู้อ่ืน

ค. ผูเ้ รียนเป็นอิสระไม่ต้องควบคุมหรอื บอกแนวทาง*

ง. เกิดแนวความคดิ ทางการศึกษาใหม่ทสี่ อดคล้องกับผูเ้ รียน

ความเขา้ ใจ 8. ข้อใดไมใชค่ วามสาคญั ของทกั ษะการเรียนรูแ้ บบชีน้ าตนเอง

ก. ผู้เรียนสามารถยดื หยุ่นการจดั ตารางเวลา

ข. ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้ตามความตอ้ งการของตนเอง

ค. ผู้เรยี นไดเ้ หน็ คุณคา่ และความสาเร็จของตนเอง*

ง. ผเู้ รียนได้เรยี นรใู้ นสงิ่ ทีส่ นใจและชว่ ยใหเ้ กิดความชานาญ

การประยกุ ต์ 9. ใครที่สามารถปฏิบัติตนไดส้ อดคลอ้ งกบั คากลา่ วทว่ี า่ “การเรียนรู้ตามความพอใจของต

ก. สบื ศกั ดิ์ นั่งใหก้ าลังใจเพ่ือนท่กี าลงั แข่งขันตะกร้อ

327

ความเห็นของ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา
ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ

+1 0 -1

ๆ ได้เชน่ กนั และทา

ประสงค์ในการ

ง ปรับแกข้ อ้ คาถามเพอื่ ใหเ้ หมาะสม และเปลย่ี นชอ่ื บุคคลในขอ้
กสารจากเพื่อนมา ตวั เลือกเป็นชื่อคนไทย

นการทบทวนความรู้

การตวิ คา่ ยสานฝัน

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่
นต็ *

ปรบั แกข้ ้อคาถามเพือ่ ใหเ้ หมาะสม เชน่ ข้อใดไม่ใช่
ความสาคัญของการฝึกทักษะ

ปรบั แกข้ ้อคาถามเพือ่ ใหเ้ หมาะสม เชน่ ข้อตอ่ ไปน้เี ปน็
ความสาคัญทักษะการเรียนรูแ้ บบช้นี าตนเองทม่ี ตี ่อผู้เรยี น
ยกเว้นขอ้ ใด

ตนเอง”

วัตถปุ ระสงคก์ าร ข้อสอบ
เรยี นรู้
ข. รัชนก ไม่มีเวลาฝกึ ซ้อมแบทบินตนั เพราะตอ้ งทางานชว่ ยครอบครวั
ค. อรอุมา หมน่ั ฝึกซ้อมวอลเลย์บอลเพอื่ เตรียมแขง่ ขนั กฬี าโอลิมปกิ *
ง. ธีรเทพ ฝกึ ซ้อมอยา่ งหนกั จนทาใหบ้ าดเจบ็ ในการแข่งขนั ฟตุ บอล

การวเิ คราะห์ 10. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชนข์ องการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเอง

ก. ผู้เรยี นเกดิ เจตคติทดี่ ตี อ่ การเรียน

ข. ผเู้ รียนเกดิ ความสนใจในเรือ่ งเดิม ๆ*

ค. ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนาทกั ษะเฉพาะมากขึ้น

ง. ผเู้ รียนไดเ้ หน็ คณุ ค่าและความสาเรจ็ ของตนเอง

การประเมนิ 11. พิจารณาความสอดคลอ้ งของขอ้ ความต่อไปน้ขี ้อใดอธบิ ายถึงทักษะ

การเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเองเหมาะสมที่สุด

ก. ผู้เรียนไดเ้ รียนรเู้ ชงิ สารวจ สง่ิ ที่จาเปน็ และจากผ้ทู ี่มีความเช่ียวชาญ

ข. ผู้เรยี นมคี วามพอใจในการเรียนรเู้ ร่อื งที่สนใจ นาไปสู่การพฒั นานวัตกรรม

อยา่ งไม่มสี นิ้ สุด

ค. ผเู้ รียนไดเ้ รยี นร้ใู นสิ่งที่ตอ้ งการจากประสบการณ์ตรง และถ่ายทอด

ความรูส้ ู่ชุมชนอยา่ งกวา้ งขวาง

ง. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรทู้ ักษะทางสงั คม การสอื่ สาร การสืบคน้ ข้อมูลทาง

อนิ เทอรเ์ น็ต และแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์*

การสร้างสรรค์ 12. ผูเ้ รยี นสามารถออกแบบเป้าหมายการเรียนรู้เพ่ือให้กลายเป็นผู้เรยี นรู้ตลอดชีวิตตามท

แบบชี้นาตนเองได้อย่างไร

ก. นกั เรียนได้ปลูกฝงั กระบวนการคดิ เชงิ วเิ คราะหแ์ ละการประเมนิ ค่าอย่างตรงไปตรงมา

ข. นกั เรียนวางแผนการเรยี นรู้ สรา้ งเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรยี น และตดิ ตามประเมินตน

ค. นักเรยี นได้พัฒนาทกั ษะเพอื่ เตรยี มความพร้อมดา้ นอาชพี ดว้ ยการคน้ ควา้ ความรอู้ ย

ง. นักเรยี นเปน็ ผู้กาหนดวางแผนเปา้ หมายการเรยี น และกากับตดิ ตามเพอื่ พัฒนาการเ

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรเู้ กีย่ วกับลกั ษณะหรือคณุ ลักษณะของคนท่มี ที ักษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง

ความจา 13. ขอ้ ใดคือคุณลักษณะของคนทมี่ ีทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง

ก. เป็นผชู้ ้ีนาตนเอง มีการวางแผน และมีความพรอ้ ม

ความเหน็ ของ 328
ผูท้ รงคุณวุฒิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ทกั ษะการเรยี นรู้ ปรบั แก้ข้อคาถามเพอ่ื ให้เหมาะสม เชน่ ข้อใดอธิบายถึงทกั ษะ
การการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเองได้เหมาะสมทส่ี ดุ
นเอง*
ย่างหลากหลาย ปรับแกต้ วั เลือกคาวา่ นกั เรยี น เป็น “ผู้เรียน” เพื่อให้
เรยี นรู้ของตนเอง สอดคล้องกับข้อคาถาม

วตั ถปุ ระสงคก์ าร ข้อสอบ
เรยี นรู้
ข. เปน็ ผู้ริเร่ิม มีความรับผิดชอบ รจู้ ักบริหารเวลา และมแี รงจงู ใจ*
ความเขา้ ใจ ค. เปน็ ผกู้ าหนดเปา้ หมาย เน้อื หา เทคนิค รปู แบบ สภาพแวดล้อม และสื่อการเรยี นรู้ต
การประยกุ ต์ ง. เปน็ ผ้กู าหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ มีความพร้อม ค้นหาแหลง่ เรียนรู้ และมีการปร
14. จากคากลา่ ว “ชีวติ คือการเรยี นรู้” ขอ้ ใดสรปุ ได้ถกู ตอ้ ง
การวเิ คราะห์ ก. การเรียนรู้สาคญั ย่ิงกวา่ ชวี ิต
ข. ทกุ ชวี ิตสาเรจ็ ดว้ ยการเรียนรู้
การประเมนิ ค. การเรยี นร้เู ปน็ ส่วนหนง่ึ ของชีวติ
ง. การเรยี นร้เู กดิ ขึ้นอยตู่ ลอดช่วงชวี ติ *
15. หากท่านต้องการจัดกจิ กรรมให้นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะของทักษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตน
การจดั กจิ กรรมในลกั ษณะใด
ก. ผ้เู รยี นสมัครใจที่จะเรียนรดู้ ้วยตนเอง
ข. ผู้เรยี นเน้นสิง่ ท่ีตนเองชอบอย่างเดยี ว*
ค. ผู้เรยี นมรี ะเบียบวินยั และตรงตอ่ เวลา
ง. ผเู้ รียนเห็นความสาคัญของทกั ษะพ้นื ฐาน ได้แก่ ฟัง อ่าน เขียนและบนั ทึก
16. “อานวย ต้องการทจ่ี ะเปน็ นกั ขา่ วจงึ ไดก้ าหนดวตั ถุประสงค์ในการเรยี นรู้ เพ่ือเตรียมต
ดี โดยการประเมนิ ตนเองว่ามขี ้อเด่น-ด้อยอย่างไร เมื่อเทียบกับเปา้ หมายท่จี ะไปสอู่ าชพี นัก
ดงั กลา่ วบง่ ชคี้ ุณลักษณะของคนท่ีมีทักษะการเรียนร้แู บบชน้ี าตนเองในดา้ นใด
ก. ความพร้อม*
ข. การพงึ่ ตนเอง
ค. การชน้ี าตนเอง
ง. การจัดการเวลา
17. ใครมพี ฤติกรรมท่ีแสดงถึงการเป็นบคุ คลทม่ี ีทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเองได้มากทีส่
ก. ประสทิ ธิ์ร้จู กั การวางแผน และมคี วามพรอ้ มในการเรยี นรู้
ข. ประพนั ธ์ลงมอื ปฏิบัตดิ ้วยตนเอง กาหนดเปา้ หมายและเลือกกลยทุ ธ์การเรียนรู้
ค. ประจกั ษม์ ีความรบั ผิดชอบ รู้จกั บรหิ ารจัดการเร่อื งเวลา และมีเจตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี
ง. ประเทืองมแี รงจงู ใจ กาหนดวัตถปุ ระสงค์ในการเรยี นรู้ เป็นนกั ยุทธศาสตร์และม
ตนเอง*

ความเหน็ ของ 329
ผ้ทู รงคณุ วุฒิ
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ต่าง ๆ
ระเมนิ ผล

นเองควรหลกี เลย่ี ง

ตัวส่กู ารเปน็ นกั ขา่ วท่ี
กข่าว” ขอ้ ความ

สุด

ยนรู้
มีการประเมิน

วัตถุประสงคก์ าร ข้อสอบ
เรยี นรู้

การสร้างสรรค์ 18. บคุ คลใดมีลักษณะหรอื คุณลกั ษณะของคนท่มี ที ักษะการเรียนรูแ้ บบชีน้ าตนเองชดั เจน

ก. เดน่ ฝกึ การทาขนม โดยเรียนรผู้ า่ นชอ่ งทาง youtube *

ข. โดง่ ชอบพักผอ่ นอยูท่ บ่ี ้าน เพอื่ ตดิ ตามละครซรี ีย์เกาหลี

ค. ดาวจะใช้เวลาวา่ งไปเดิมชมธรรมชาติ เพราะชอบบรรยากาศเยน็ สดชน่ื

ง. ดวงเดนิ ทางไปเท่ียวชมโบราณสถานพร้อมกบั เพอื่ น เนื่องจากทกุ คนไปกนั หมด

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรเู้ กี่ยวกับแนวการพฒั นาทักษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเอง

ความจา 19. ขอ้ ใดคอื แนวทางสาคัญในการพัฒนาทกั ษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง

ก. การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบตั *ิ

ข. การเรยี นรู้โดยไม่ต้องให้บุคคลอนื่ ช้ีนา

ค. การแบ่งปันการเรียนรู้กับเพอื่ นและทีป่ รกึ ษา

ง. การประเมนิ ความพรอ้ มในการเรียนรู้

ความเขา้ ใจ 20. ขอ้ ใดสรปุ แนวทางการพฒั นาทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

ก. เขา้ ใจและสนกุ กบั การเรียนรู้

ข. สร้างเครือขา่ ยเพอื่ นรว่ มงานแหง่ การเรียนร*ู้

ค. สร้างสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย

ง. กาหนดเปา้ หมายและมาตรฐานของตนเองโดยมหี รอื ไม่มผี เู้ ช่ียวชาญช่วยเหลือก็ได้

การประยกุ ต์ 21. ใครนาแนวทางการพฒั นาทกั ษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง ไปประยกุ ต์ใช้ไม่เหมาะสม

ก. สภุ าพใช้ห้องสมุดเป็นแหลง่ สืบค้นขอ้ มลู เปน็ ประจา

ข. สพุ รรษาจะโทรปรึกษาเพอื่ นทุกครั้งในการทาการบ้าน

ค. สจุ ติ รารว่ มเรียนรกู้ ารขายของออนไลนก์ ับเพือ่ นเปน็ ประจา

ง. สวุ รรณตดิ ตามข่าวการแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19 ท

การวิเคราะห์ 22. การพฒั นาทกั ษะการเรียนร้แู บบชน้ี าตนเองเนน้ สงิ่ ใดเป็นสาคัญท่จี ะชว่ ยให้เกิดการพฒั

ประสิทธภิ าพ

ก. ความรู้รอบดา้ นและหลากหลาย

ข. การใหค้ วามสนใจในหลายอยา่ งพร้อมกัน

ค. การมองปญั หาวา่ เปน็ สงิ่ ทา้ ทาย ไม่ใช่อปุ สรรค

ง. ความรับผดิ ชอบและเช่ือในศักยภาพของตนเอง*

330

ความเหน็ ของ

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา

+1 0 -1

นทสี่ ุด ปรับแก้ข้อคาถามเพ่อื ให้เหมาะสม เชน่ ใครมีทักษะการ

เรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเองชัดเจนท่สี ดุ



ทางอนิ เทอร์เน็ต*
ฒนาอยา่ งมี

วัตถปุ ระสงคก์ าร ขอ้ สอบ
เรียนรู้

การประเมนิ 23. ครสู อนนกั เรยี นให้เกิดทกั ษะการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ซง่ึ ถือวา่ เป็นพนื้ ฐานสาคัญในการพ

เรียนรขู้ องนกั เรยี นได้จรงิ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. ไม่ได้ เพราะแนวทางการพัฒนามีความซบั ซอ้ น ยังไมเ่ หมาะกบั ชว่ งวยั ของ นักเรยี น และย

ปฏิบัติ

ข. ไมไ่ ด้ เพราะการพัฒนาทักษะการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง เป็นสิ่งท่ีนกั เรียนตอ้ งเรียนรดู้ ว้ ยตนเอ

ผ้สู อน

ค. ได้ เพราะนกั เรียนจะมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและเห็นความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรู้ดว้

สามารถนาไปประยุกต์ในชวี ติ ประจาวนั *

ง. ได้ เพราะแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนงา่ ยต่อการนาไปใช้ และสอดคลอ้ งกบั การดา

การสร้างสรรค์ 24. บทบทของผู้เรียนทม่ี ที กั ษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเองเป็นอย่างไร

ก. ผู้เรียนมีความตงั้ ใจและความรบั ผิดชอบต่อการเรียนร*ู้

ข. ผู้เรยี นพง่ึ พาผู้ทเี่ ก่งกวา่ เพ่ือเรยี นรตู้ ามเพอื่ นใหไ้ ด้มากที่สดุ

ค. ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในการคิดเชงิ วิพากษแ์ ละผรู้ ว่ มสรา้ งสรรค์

ง. ผูเ้ รยี นตอบสนองตอ่ เทคนคิ ทส่ี ร้างแรงบันดาลใจของครูผู้สอน

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้เก่ยี วกับขัน้ ตอนการพัฒนาทักษะการเรียนร้แู บบช้นี าตนเอง

ความจา 25. ขอ้ ใดไม่ใชข่ ั้นกจิ กรรมในการพฒั นาทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเอง

ก. พัฒนาผู้เรยี นระดบั ประเทศ*

ข. พัฒนาผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล

ค. พฒั นาผูเ้ รียนระดบั กลุ่มหรือชน้ั เรยี น

ง. พัฒนาผู้เรยี นระดบั ครอบครวั และชมุ ชน

ความเขา้ ใจ 26. ขอ้ ใดไมใ่ ชข่ นั้ ตอนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง

ก. แบ่งปนั ในสิง่ ท่ไี ด้ลงมือทา

ข. การสรา้ งแบบบนั ทกึ ส่วนตัว*

ค. ตดิ ตามการเรยี นรูข้ องตนเอง

ง. ประยกุ ตส์ ิ่งที่เรียนรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจาวัน

การประยกุ ต์ 27. เม่อื ท่านตอ้ งการท่จี ะพัฒนาตนเอง เร่ือง “การปลูกพชื ใบด่าง” ข้นั ตอนแรกที่ท่านจะใ

ตนเองตามแนวทางการพัฒนาทกั ษะการเรียนรแู้ บบชีน้ าตนเองคือข้อใด

ความเหน็ ของ 331
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

พฒั นาทกั ษะการ

ยากตอ่ การนาไป

อง ไม่จาเปน็ ตอ้ งมี

วยตนเอง และ

าเนินชีวิตประจาวัน

ใช้ในการพฒั นา

วัตถปุ ระสงค์การ ข้อสอบ
เรียนรู้

การวิเคราะห์ ก. บริหารจดั การเรอ่ื งเวลา
การประเมิน ข. การมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้
การสร้างสรรค์ ค. การตัดสนิ ใจเลอื กส่ิงทีอ่ ยากทา
ง. เข้าใจแรงบันดาลใจของตนเอง*

28. คากลา่ วในขอ้ ใดเป็นหลกั สาคัญในการการพัฒนาทกั ษะการเรียนรูแ้ บบชีน้ าตนเอง
ก. เน้นการพฒั นาตนเองและผอู้ น่ื อยา่ งมจี รยิ ธรรม
ข. เนน้ ความพยายามและคนทกุ คนเป็นคนดพี ร้อมท่ีจะพัฒนา
ค. เน้นความเขา้ ใจในตนเองและการสรา้ งความเชอ่ื มั่นในจิตใจ
ง. เนน้ ถงึ ความรับผิดชอบของบุคคลและเชอื่ ในศกั ยภาพทไี่ มส่ ิ้นสุดของมนษุ ย์*

29. จากคากลา่ วทว่ี ่า “การประเมินความพรอ้ มในการเรียนรูเ้ ปน็ สงิ่ สาคญั เบื้องต้นของการ
เรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง” ถูกตอ้ งหรอื ไม่เพราะเหตุใด

ก. ไม่ถกู ต้อง เพราะการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองข้ึนอยกู่ ับการบรหิ ารเวลา
ข. ถกู ตอ้ ง เพราะตอ้ งใช้เวลา สถานท่ี และความจาเป็นของผ้เู รียนเป็นสาคัญ
ค. ไมถ่ ูกต้อง เพราะสิง่ สาคญั ของการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองคือการมีส่วนรว่ มระหว่างครกู บั
ง. ถูกต้อง เพราะผู้เรียนต้องอาศยั หลายทักษะและทัศนคติในการเรยี นรจู้ ึงประสบ

30. เมือ่ ต้องการพฒั นาทกั ษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง นกั ศึกษาคนใดมวี ิธกี ารเสริมสรา้ ง
แบบช้ีนาตนเองไดเ้ หมาะสม
ก. ปลายฟา้ ทาความเขา้ ใจในเรอื่ งที่จะทาจนเกิดแรงบนั ดาลใจ แลว้ วางแผนสรา้ งเง่ือนไขในกา
ผู้อนื่ มีสว่ นรว่ ม อกี ท้ังร้จู ักบรหิ ารเรื่องเวลาและติดตามงานของตนเอง จนสามารถประยุกต
ชวี ิตประจาวัน
ข. เลิศพิภพเริม่ วางแผนในสง่ิ ทว่ี างแผนมีความชัดเจนในสิง่ ท่ีตอ้ งการเรยี น จากน้ันสร้างแรงบ
บรหิ ารเรือ่ งเวลาและติดตามงาน สร้างเงอื่ นไขในการเรียนรู้ ใหผ้ อู้ ื่นมสี ่วนร่วม และประยกุ
ชีวติ ประจาวนั
ค. เลศิ นภาสร้างแรงบนั ดาลใจในเรอื่ งทจี่ ะทาจากนั้นวางแผน แล้วบรหิ ารเวลาและติดตา
เง่อื นไขในการเรียนรู้ โดยให้ผ้อู ื่นมีส่วนร่วม จนสามารถนาความร้ไู ปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ
ง. ปลาฝนจดั การวางแผน สร้างแรงบันดาลใจ ทาเง่อื นไขในการเรยี น โดยใหผ้ ู้อ่ืนมสี ่วนรว่ ม จ
เวลาและตดิ ตามผล จนสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน

ความเห็นของ 332
ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

รพัฒนาทกั ษะการ

บผ้เู รียน
บความสาเร็จ *
งทักษะการเรียนรู้

ารเรยี นรู้ โดยให้
ต์ใช้ใน

บันดาลใจ เริ่ม
กตใ์ ช้ใน

ามตนเอง สรา้ ง
ตประจาวัน*
จดั การบริหารเรอื่ ง

วตั ถปุ ระสงคก์ าร ขอ้ สอบ
เรียนรู้

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้เก่ียวกับการประเมนิ ผลสาเร็จการพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง

ความจา 31.การวัดผลการพัฒนาทกั ษะการเรียนรูแ้ บบชี้นาตนเองจะมคี วามคลาดเคลื่อน เนอ่ื งมาจ

ก. คณุ ภาพของครูผ้สู อน

ข. คณุ ภาพของเคร่ืองมือ*

ค. คณุ ภาพของนักเรยี น

ง. คณุ ภาพของสถานศกึ ษา

ความเข้าใจ 32. แบบประเมินการพัฒนาทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเองควรมีลักษณะอยา่ งไรจึงจะส

ถูกตอ้ งแม่นยา

ก. ความตรงและความเท่ียง*

ข. ความตรงและความยากงา่ ย

ค. ความเทย่ี งและอานาจจาแนก

ง. ความยากง่ายและอานาจจาแนก

การประยกุ ต์ 33. การประเมินผลสาเร็จของการพฒั นาทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเองควรใชแ้ บบประ
การวิเคราะห์ ทสี่ ุด
การประเมนิ
ก. เปน็ แบบประเมินดา้ นการจัดการตนเอง*
ข. เป็นแบบประเมนิ ด้านกจิ กรรมการเรยี นรู้
ค. เป็นแบบประเมนิ ด้านกลยุทธ์ในการเรียนรู้
ง. เป็นแบบประเมนิ ดา้ นการทดสอบประเมินผล

34. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารประเมินตนเองด้านการตระหนักรูใ้ นทักษะการเรยี นรูแ้ บบนาตนเอง
ก. นกั เรยี นรบั ผิดชอบการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
ข. นักเรียนสามารถเชอื่ มโยงความรกู้ บั การลงมือปฏบิ ัตไิ ด้*
ค. นกั เรียนสามารถเลอื กวธิ กี ารเรยี นรู้ท่ดี ที ่ีสดุ ใหก้ บั ตัวเองได้
ง. นกั เรียนสามารถวางแผนและต้งั เปา้ หมายการเรียนรขู้ องตวั เองได้

35. เมือ่ พิจารณาการประเมินทกั ษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเองมคี วามแตกต่างจากการประ
อย่างไร

ก. ประเมนิ เพอ่ื วัดทักษะสู่การพฒั นา*

333

ความเหน็ ของ ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

+1 0 -1

จากสาเหตขุ อ้ ใด ปรับแกข้ อ้ คาถามเพือ่ ให้เหมาะสม เชน่
การวดั ผลการพัฒนาทกั ษะการเรียนร้แู บบช้ีนาตนเองจะมี
ความคลาดเคลอ่ื น เกิดข้นึ เน่ืองมาจากสาเหตขุ อ้ ใด

สามารถวัดได้อย่าง

ะเมินใดเหมาะสม

ะเมนิ ทักษะทว่ั ไป

วตั ถปุ ระสงคก์ าร ข้อสอบ
เรยี นรู้
ข. ประเมินเพ่อื ตัดสนิ ความรคู้ วามเข้าใจ
การสร้างสรรค์ ค. ประเมนิ เพ่อื วดั ระดบั ความรู้สู่การพัฒนา
ง. ประเมินเพอ่ื วดั ทักษะและตดั สินผลการเรียน
36. การสรา้ งเครือ่ งมือวัดระดับการประเมินตนเองควรมีองคป์ ระกอบใดบ้าง จงึ จะสะท้อน
พัฒนาทักษะการเรยี นรูแ้ บบนาตนเองได้แม่นยาท่สี ุด
ก. การประเมนิ ผล / ทักษะการตดิ ต่อสื่อสารระหวา่ งบคุ คล
ข. การจัดการตนเอง / กลยทุ ธใ์ นการเรียนรู้ / การประเมินผล
ค. การตระหนกั รู้ / กลยทุ ธ์ในการเรียนรู้ / กจิ กรรมการเรยี นรู้
ง. การจัดการตนเอง / ความปรารถนาในการเรียนรู้ / การควบคุมตนเอง*

ความเห็นของ 334
ผทู้ รงคุณวุฒิ
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

นผลสาเรจ็ ของการ

335

ภาคผนวก ซ
แบบทดสอบครู Google Form

336

แบบทดสอบครู Google Form

1. เข้าทาแบบทดสอบ โดยการคลกิ ล้งิ ค์ https://forms.gle/k1B6grdXW4oh8dnm9
หรอื สแกน QR CODE

2. หน้าแบบทดสอบความรู้ของครูเก่ยี วกับการพัฒนาทักษะการเรยี นรุ้แบบช้นี าตนเอง
3. ครกู รอกขอ้ มลู ส่วนตวั

337

4. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1

338

339

5. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2

340

341

6. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3

342

343

7. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4

344

345

8. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5

346

347

9. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6

348

349

ภาคผนวก ฌ
หนงั สือจากบัณฑติ วทิ ยาลยั ถึงโรงเรียน
เพ่อื ขออนญุ าตทดลองใชแ้ บบทดสอบครูกบั ครใู นโรงเรียน

350

351

352

ภาคผนวก ญ
รายช่อื และสถานภาพของผู้ทรงคณุ วุฒิในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ
ขอ้ คาถามกับวัตถปุ ระสงค์การพัฒนาในแบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบ

ชน้ี าตนเองของนกั เรยี น

353

รายชือ่ และสถานภาพของผู้ทรงคุณวุฒใิ นการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับ
วัตถุประสงคก์ ารพัฒนาในแบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนกั เรยี น

ช่อื -ชื่อสกุล คณุ วฒุ ิ สถานท่ีทางาน
พระศรีญาณวงศ,์ ดร.
- ครุศาสตรมหาบัณฑติ (การบรหิ าร มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ
ผศ.ดร.ประยุทธ ชูสอน
การศกึ ษา) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขต
ผศ.ดร.ศานิตย์ ศรีคุณ
มหาสารคาม หนองคาย
ดร.ปาณจติ สุกมุ าลย์
- ครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (การบริหาร
ดร.สุวชิ ญา ชนิ ธนาชูกจิ
จดั การการศึกษา) มหาวทิ ยาลัย-

ราชภัฏมหาสารคาม

- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ (การ มหาวิทยาลยั

บริหารการศกึ ษา) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

- ศกึ ษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต(การ

บรหิ ารการศึกษา)

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวัด มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

และประเมนิ ผลทางการศึกษา)

มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

- ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต (หลกั สูตร

และการสอน)

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

- ครุศาสตรมหาบณั ฑติ (วจิ ยั และ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

ประเมินผลการศกึ ษา) ราชวิทยาลยั วิทยาเขต

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย ขอนแก่น

- การศกึ ษาดุษฎบี ัณฑิต(วจิ ัยและ

ประเมินผลการศึกษา)

มหาวทิ ยาลยั นเรศวร

- ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ (วิจยั และ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์

ประเมนิ ผลการศึกษา) ๕๐

มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย

- การศึกษาดุษฎบี ณั ฑิต(วจิ ยั และ

ประเมินผลการศกึ ษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

354

ภาคผนวก ฎ
หนังสอื ของบัณฑติ วิทยาลัยเพอ่ื ขอความรว่ มมือจากผทู้ รงคุณวฒุ ติ รวจสอบ
ความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั วตั ถุประสงค์การพฒั นาในแบบประเมิน

ทักษะการเรียนรูแ้ บบช้นี าตนเองของนักเรียน

355

356

ภาคผนวก ฏ
แบบตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกบั วัตถปุ ระสงค์การพฒั นา

ในแบบประเมนิ ทกั ษะการรเู้ รยี นรแู้ บบชน้ี าตนเองของนักเรยี น
สาหรบั ผทู้ รงคุณวุฒิ

357

แบบตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คาถามกับวัตถุประสงคก์ ารพฒั นา
ในแบบประเมินทกั ษะการรู้เรยี นร้แู บบช้นี าตนเองของนกั เรยี น
สาหรับผทู้ รงคณุ วุฒิ

คาชี้แจง
ในการทาวิจัยเร่ือง “โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการ

เรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน (Online Program to Enhance Teacher Learning to
Develop Students' Self-Directed Learning Skills)” โดยระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research
and Development) ผูว้ ิจยั ได้สรา้ ง “แบบประเมินคุณลักษณะท่ีเกิดขน้ึ กับนกั เรยี น” ขนึ้ โดยเป็นผล
จากการศึกษา 1) ลกั ษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จากทัศนะของ Nucum (2019)
Hamdy (2018) Caruso (2011) Vaivada (2017) และ Atkinson (2015) และจากผลจาก
การศกึ ษาการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองจากทัศนะ Williamson and Seewoodhary
(2007) Rodney (2007) และ Khiat (2015) ได้แบบประเมินที่มีข้อคาถามตามนิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้
ในการวิจัย 7 ด้าน คือ การตระหนักรู้ การควบคุมตนเอง การประเมินตนเอง ความปรารถนาในการ
เรยี นรู้ กลยุทธ์การเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ และการตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหว่างบคุ คล

ผู้วิจัยใคร่ขอความกรุณาท่าน โปรดพิจารณาข้อคาถามในแบบสอบถามข้างล่าง แล้วทา
เครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรอื 0 หรือ -1 โดย

+ 1 หมายถงึ ข้อคาถามมีความสอดคลอ้ งกบั นยิ ามในดา้ นนน้ั ๆ
0 หมายถึง ไม่แนใ่ จในความสอดคลอ้ งกับนิยามในดา้ นน้ัน ๆ
-1 หมายถงึ ข้อคาถามไมม่ คี วามสอดคล้องกบั นิยามในดา้ นนัน้ ๆ
ขณะเดียวกัน ใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการใช้ภาษาในข้อ
คาถามท่ีเหน็ ว่าไมเ่ หมาะสม ว่าควรปรับปรงุ แกไ้ ขเป็นอยา่ งไร

ขอขอบคุณ
พระปลัดเล็ก อานนฺโท/ทองแสน
นกั ศกึ ษาปริญญาเอกสาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตอสี าน

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะท่ใี ช้ในการวิจยั ลกั ษณะที่แสดงถึงท

การตระหนักรู้ (Awareness) หมายถึง การเรียนรู้ด้วยตัวเอง สามารถวางแผนและ การตระหนักรู้ (Awa
ตง้ั เป้าหมายการเรียนรู้ของตัวเองได้ สามารถระบคุ วามตอ้ งการในการเรยี นรูข้ องตนเอง
สามารถเลือกวิธีการเรียนรู้ท่ีดีที่สุดให้กับตัวเองได้ และสามารถรักษาแรงจูงใจเพื่อการ 1) ฉนั รบั ผดิ ชอบกา
เรียนรขู้ องตนเองไวไ้ ด้ 2) ฉันสามารถวางแ
3) ฉันสามารถระบคุ
การควบคุมตนเอง (Self-control) หมายถึง การชอบท่ีจะตัดสินใจด้วยตัวเอง รู้ขีด 4) ฉันสามารถเลอื ก
ความสามารถของตัวเอง เช่ือในความสามารถของตัวเอง จัดการเวลาได้เป็นอย่างดี 5) ฉันสามารถรกั ษา
ลาดับความสาคญั การทางาน และชอบตั้งเปา้ หมายและวางแผนการเรียนรขู้ องตวั เอง การควบคมุ ตนเอง (
1) ฉันตดั สินใจเลอื ก
ตวั เองได้

2) ฉนั รู้ขีดความสาม
3) ฉันเชอ่ื ในความส
4) ฉนั จดั การเวลาได

5) ฉนั สามารถจัดลา

การประเมินตนเอง (Self-Evaluation) หมายถึง การชอบท่ีจะประเมินสิ่งท่ีฉันทา การประเมินตนเอง
สามารถระบจุ ุดแขง็ หรือจุดอ่อนของตวั เองได้ ได้แรงบันดาลใจจากความสาเร็จของผ้อู ื่น 1) ฉันสามารถประเ
ตรวจสอบตนเองเสมอไม่ว่าจะบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้หรือไม่ และพบว่าทั้ง 2) ฉนั ได้แรงบันดาล
ความสาเร็จและความลม้ เหลวนั้นลว้ นเปน็ แรงบนั ดาลใจให้ฉนั เรยี นรูม้ ากขนึ้
3) ฉนั ตรวจสอบตน
หรอื ไม่
4) ฉนั พบวา่ ท้งั ความ
บันดาลใจให้ฉนั เรยี น

ความปรารถนาในการเรียนรู้ (Desire for learning) หมายถึง การอยากเรียนรู้ส่ิง ความปรารถนาในกา
ใหม่ ๆ สนุกกับการเรียนรู้ข้อมูลใหม่ ๆ เปิดรับความคิดใหม่ ๆ เสมอ เรียนรู้จากความ 1) ฉนั อยากเรียนรู้ส

358

ทักษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเองทีป่ ระเมิน +1 0 ความเหน็ ของผทู้ รงคุณวฒุ ิ
-1 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ การใช้
areness)
ารเรยี นร้ดู ว้ ยตัวเอง ภาษา
แผนและตั้งเปา้ หมายการเรยี นรู้ของตวั เองได้
ความตอ้ งการในการเรยี นรขู้ องตนเอง ปรับสานวนขอ้ คาถาม
กวธิ กี ารเรียนรทู้ ดี่ ที ี่สดุ ให้กบั ตวั เองได้ เชน่ ฉันตัดสนิ ใจเลือกเรียนรูต้ ามความ
าแรงจงู ใจเพอื่ การเรยี นรู้ของตนเองไว้ได้ ตอ้ งการและความสนใจของตัวเองได้
(Self-control)
กเรยี นรตู้ ามความตอ้ งการและความสนใจของ

มารถของตวั เอง
สามารถของตวั เอง
ดเ้ ปน็ อยา่ งดี

าดบั ความสาคัญของงานได้ ปรบั สานวนข้อคาถาม
เชน่ ฉนั สามารถจัดลาดับความสาคัญ

(Self-Evaluation) ปรบั สานวนขอ้ คาถาม
เมินทกั ษะพ้นื ฐานในการเรียนรขู้ องตนเองได้ เช่น ฉันสามารถประเมนิ
ลใจจากความสาเร็จของผูอ้ นื่

นเองเสมอไม่วา่ จะบรรลุเปา้ หมายการเรยี นรู้

มสาเรจ็ และความล้มเหลวน้นั ล้วนเปน็ แรง
นรมู้ ากข้ึน

ารเรียนรู้ (Desire for learning)
ส่ิงใหม่ ๆ

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ลักษณะที่แสดงถึงท

ผิดพลาด ชอบท่ีจะรวบรวมข้อเท็จจริงก่อนทาการตัดสินใจ และประสบปัญหาท่ีไม่ 2) ฉนั สนกุ กับการเร
สามารถแกไ้ ขไดจ้ ะขอความชว่ ยเหลอื 3) ฉนั เปิดรับความค
4) ฉันเรยี นรู้จากปร
5) ฉนั ชอบที่จะรวบ

กลยุทธ์การเรียนรู้ (Learning Strategies) หมายถึง การมีส่วนร่วมในการอภิปราย 6) เมือ่ ฉนั ประสบปัญ
ภายในกลุ่มเสมอ การเรียนรูจ้ ากกรณีตัวอย่างน้ันมีประโยชน์ การท่ีมีเพื่อนเป็นโค้ชน้ัน ช่วยเหลอื
เป็นอะไรท่ีมีประสิทธิภาพ แผนผังมโนทัศน์เป็นวิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ การมี กลยทุ ธก์ ารเรยี นรู้ (L
ส่วนร่วมในการเรียนการสอนน้ันมีประสิทธิภาพมากกว่าการนั่งฟังบรรยาย และ 1) ฉันมที ักษะการแ
เทคโนโลยกี ารศกึ ษาที่ทันสมัยชว่ ยปรับปรุงกระบวนการเรยี นรขู้ องฉนั ให้ดยี ่งิ ขึ้น แกป้ ัญหาอยา่ งสร้าง
2) ฉันชอบเรียนรแู้ บ

3) ฉันพบวา่ การมีเพ
ผลสาเรจ็
4) ฉนั พบวา่ แผนผงั

5) ฉันพบวา่ การมีสว่
ประสิทธภิ าพมากกว

6) ฉันพบวา่ เทคโนโ
กระบวนการเรยี นรู้ข

กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Activities) หมายถึง การซักซ้อมและทบทวน กจิ กรรมการเรียนรู้ (
บทเรยี นใหม่เสมอ เปิดใจให้กับความเห็นของผู้อ่ืนเสมอ ชอบที่จะหยุดพักระหว่างการ 1) ฉนั เลอื กเทคนิค/
เรยี นแตล่ ะคร้งั ชอบใช้แผนผงั มโนทศั น์ในการทาความเข้าใจขอ้ มูลทหี่ ลากหลาย และใช้ 2) ฉนั ชอบที่จะหยดุ
สอื่ สังคมออนไลน์ เฟซบุก๊ ทวิตเตอร์ หรือกระดานถาม-ตอบบนอินเทอรเ์ น็ตเป็นประจา
3) ฉนั ชอบใช้แผนผ
หลากหลาย


Click to View FlipBook Version