The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phrapalad Lek, 2022-08-16 06:42:33

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

270

ตอนที่ 3 ทดสอบการควบคุมตนเอง (Self-control)
3.1) ฉนั ชอบท่ีจะตั้งเป้าหมาย (I prefer to set my own goals)
3.2) ฉนั ชอบทจ่ี ะตดั สนิ ใจดว้ ยตวั เอง (I like to make decisions for myself)
3.3) ฉนั รับผดิ ชอบการตดั สนิ ใจ/การกระทาของตัวเอง (I am responsible for my

own decisions/actions)
3.4) ฉนั เปน็ ผคู้ วบคมุ ชีวติ ของตวั เอง (I am in control of my life)
3.5) ฉนั มีมาตรฐานส่วนบุคคลสงู (I have high personal standards)
3.6) ฉนั ชอบตั้งเป้าหมายการเรียนร้ขู องตัวเอง (I prefer to set my own learning

goals)
3.7) ฉนั ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของตัวเอง (I evaluate my own performance)
3.8) ฉันมเี หตุผล (I am logical)
3.9) ฉนั มคี วามรับผิดชอบ (I am responsible)
3.10) ฉนั มีความคาดหวงั ในตัวเองสงู (I have high personal expectations)
3.11) ฉนั สามารถมุง่ เนน้ ไปท่ีปญั หา (I am able to focus on a problem)
3.12) ฉนั รู้ขีดความสามารถของตวั เอง (I am aware of my limitations)
3.13) ฉนั สามารถหาข้อมลู ได้ด้วยตวั เอง (I can find out information for myself)
3.14) ฉนั เช่ือในความสามารถของตัวเองมาก (I have high beliefs in my abilities)
3.15) ฉันชอบที่จะกาหนดเกณฑข์ องตวั เองขึ้นมาเพ่ือประเมินผลงานของฉันเอง (I

prefer to set my own criteria on which to evaluate my performance)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจการประเมินของทักษะการ
เรยี นร้แู บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Rodney วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

3. Khiat ได้นาเสนอเครื่องมือวัดระดับการประเมินตนเองด้านการเรียนรู้แบบนาตนเอง
(Self-Rating Scale for Self-Directed Learning: SRSSDL tool) ในบทความวิจัยท่ีมีชื่อว่า การวัด
ระดับการเรียนรู้แบบนาตนเอง: เคร่ืองมือวิเคราะห์สาหรับผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ (Measuring Self-
Directed Learning: A Diagnostic Tool for Adult Learners) ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Journal of
University Teaching & Learning Practice ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 ปี ค.ศ. 2015

3.1) ฉันเห็นว่าการทางานของฉันมีประโยชน์และการทางานมีการพัฒนา หลังจากเข้า
ร่วมหลักสูตรน้ี (I can see the benefits for my work and/or personal development from
completing the program)

271

3.2) ในแต่ละขั้นของการเรยี นในหลักสูตรนี้ ฉันไม่ไดส้ นใจว่าฉันเรียนรู้สาเร็จไปเท่าไหร่
แล้ว (I do not monitor how much I have achieved in terms of learning at each stage
of a course)

3.3) การเรียนในหลักสูตรนี้ ฉันรู้ดีว่าฉันต้องการอะไร (I know what I want to
achieve in terms of learning from the program)

3.4) ฉันสูญเสียส่งิ ท่ีฉันควรจะเรียนรู้ ตลอดระยะเวลาการเรียนในหลักสูตร (I am at a
loss as to what I should be learning over the duration of a course)

3.5) ฉันต้ังเป้าหมายว่าในแต่ละหลักสูตรที่เข้าร่วม ฉันจะต้องผ่านการทดสอบและผ่าน
การประเมิน (I set targets to achieve for assignments and examinations for each course)

3.6) ฉันไม่รู้ว่าทาไมฉันถึงเลือกเรียนหลักสูตรน้ี (I do not know why I chose the
degree program I have enrolled in)

3.7) ฉันหาเวลาว่างเพื่อศึกษาเอกสารและส่ือการเรียนรู้ในหลักสูตรนี้ (I find time to
study the learning materials and/or resources in a course)

3.8) ฉันไม่รู้ว่าฉันต้องทาอะไรในขณะท่ีฉันเรียนอยู่ (I do not know what I'm
supposed to be doing whenever I sit down to study)

3.9) ฉันรู้สึกว่าฉันมีส่ิงที่ต้องทาให้สาเร็จมากมายระหว่างการเรียน จนถึงการจบในแต่
ละหลักสูตร (I feel that I have too much to accomplish in terms of learning towards
the end of each course)

3.10) ฉันส่งงานท่ีได้รับมอบหมายไม่ทันเวลา (I do not submit my assignments
on time)

3.11) ฉันวางแผนลว่ งหน้าว่าฉันตอ้ งการอะไรจากหลักสตู รน้ี (I plan what I need to
learn in a course)

3.12) ฉันจัดสรรเวลาได้เพียงพอสาหรับการทาแบบทดสอบ หรือการทาแบบฝึกหัดใน
ห ลั ก สู ต ร ( I set aside enough time to study for examinations and/or do the
assignments in a course)

3.13) ฉันพยายามเรียนให้จบในบทเรียนท่ียังค้างอยู่ให้เร็วท่ีสุด (I persist in finishing
uncompleted study tasks as quickly as possible)

3.14) ฉันเล่ือนการเรียนของฉันออกไปจนเกินระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร (I
keep postponing my study tasks designated in a course)

3.15) ฉันพบว่าการเรียนวิชานี้สาคัญต่อฉันมาก (I find studying for the course is
of high priority for me)

3.16) ฉันอยากทาอย่างอ่ืนมากกว่าการอ่านส่ือการเรียนรู้หรือเอกสารประกอบการ
เรียน (I prefer to do other things than study the learning materials or resources)

3.17) ฉันหาข้ออ้างเพื่อหลีกเลี่ยงการเรียนในหลักสูตร (I find excuses for not
studying for courses)

3.18) ฉนั จัดสรรเวลาและปฏิบตั ติ ามตารางเรยี น (I follow my study schedule)

272

3.19) ฉันไม่เข้าใจว่าผู้สอนกาลังพูดเก่ียวกับอะไร ในขณะที่เขากาลังสอนออนไลน์อยู่ (I
do not understand what my instructor says during online presentations)

3.20) ขณะที่ผู้สอนกาลังสอนออนไลน์ ฉันไม่รู้ว่าข้อมูลสาคัญอยู่ตรงไหน (I do not
know how to pick up important information during online presentations)

3.21) ฉันไม่สามารถจดจ่อกับการเรียนผ่านระบบออนไลน์ (I cannot focus during
online presentations)

3.22) เม่ือมีการสอนออนไลน์ ฉันอ่านเอกสารการสอนล่วงหน้า (I do the required
reading before online presentations)

3.23) ระหว่างการสอนออนไลน์ ฉันตามเน้ือหาท่ีผู้สอนกาลังพูดได้ทัน (I can follow
the pace of online presentations)

3.24) ระหว่างการสอนออนไลน์ ฉันคานึงถึงสิ่งที่กาลังเรียนรู้อยู่ (I reflect on what I
have learnt during online presentations)

3.25) ฉันไม่เข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย (I do not understand the assigned
readings)

3.26) ฉันคิดว่าเอกสารการสอนที่ได้รับไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร (I
cannot relate the content of the readings to the course objectives)

3.27) ฉันเชื่อมโยงเน้ือหาของหลักสูตรเข้ากับการทางานในชีวิตจริงของฉัน (I relate
the content of the learning materials or resources to my work or life)

3.28) ฉันเข้าใจส่ิงที่ฉันจดบันทึกมาจากการสัมมนาหรอื การเรียนผ่านระบบออนไลน์ (I
understand what I have written in my own notes taken in seminars or online
Presentations)

3.29) จากเอกสารประกอบการเรียนที่ได้อ่าน ฉันไม่รู้ว่าต้องสรุปย่ออย่างไร (I do not
know how to make notes from my readings)

3.30) สิ่งที่ฉันจดนั้นเพียงพอสาหรับการสอบหรือทาแบบฝึกหัด (My notes are
sufficient to help me prepare for examinations/assignments)

3.31) ฉนั ทาแบบฝึกหัดไดด้ ี (I do well on my assignments)
3.32) ฉันไม่ทราบว่าต้องการความรู้อะไรบ้างในการทาแบบฝึกหัดแต่ละชุด (I do not
know what is required in my assignments)
3.33) ฉันไม่รวู้ ธิ ีทาแบบฝึกหดั (I do not know how to write my assignments)
3.34) ฉนั สามารถตอบแบบฝกึ หัดและนาเสนอข้อมูลท่ีเกย่ี วกับแบบฝึกหดั ได้เปน็ อย่างดี
(I am able to present the information in my assignments clearly)
3.35) ฉันมีข้อมูลท่ีเพียงพอในการทาแบบฝึกหัด (The information I gathered for
my assignments is relevant)
3.36) ในการทาแบบฝึกหัด ฉันไม่รู้ว่าฉันต้องหาข้อมูลเก่ียวกับอะไรบ้าง (I do not
know what information to search for in doing my assignments)

273

3.37) ระหว่างการอภิปรายออนไลน์ ฉันเรียนรู้จากผู้สอนและเพื่อนร่วมงาน (I learn
from my instructor and peers during online discussions)

3.38) ฉันไม่รู้ว่าต้องเตรียมตัวอย่างไรสาหรับการอภิปรายผ่านระบบออนไลน์ (I do
not know how to prepare for online discussions)

3.39) ระหว่างการสนทนา ฉันตามเนื้อหาที่เขาพูดทัน (I can follow the content of
threaded discussions)

3.40) เม่ือตอ้ งนาความคิดเห็นเพื่อตอบกลับการอภิปรายไปติดที่กระดานสนทนา ฉันไม่
รู้ว่าต้องเขียนอะไรลงในกระดาษแผ่นนั้น (I do not know what to write in response to
discussion topics posted on discussion forums)

3.41) ฉนั รักการเข้าร่วมอภิปราย (I love attending seminars)
3.42) ฉันรู้สึกเหน่ือยขณะที่กาลังเรียน (I am physically drained when I am
studying)
3.43) ฉนั รสู้ ึกมีพลังขณะท่กี าลงั เรียน (I feel motivated whenever I am studying)
3.44) ฉันกลัวว่าฉันอาจจะทาได้ไม่ดีพอในการทาแบบฝึกหัด หรือการประเมินต่าง ๆ (I
fear not doing well on my assignments/assessments)
3.45) ฉันรู้สึกหมดกาลังใจเม่ือผลการเรียนของฉันทาได้น้อยกว่าท่ีหวังเอาไว้ (I am
demoralized when I do not meet the expectations I set for myself in my studies)
3.46) ฉันไม่กังวล หากส่งแบบฝึ กหัดไม่ทันเวลา ( do not worry about not
submitting my assignment on time)
3.47) ระหว่างการสัมมนา ฉันไม่เข้าใจสิ่งท่ีผู้สอนพูด (I do not understand what
my instructor says during the seminar sessions)
3.48) ระหว่างการสัมมนา ฉันไม่รู้ว่าข้อมูลส่วนไหนมีความสาคัญ (I do not know
how to pick up important information during seminars)
3.49) ฉันไม่สามารถมีใจจดจ่ออยู่กับการฟังสัมมนา (I cannot focus during
seminars)
3.50) ฉันอ่านเอกสารท่ีเกี่ยวกับการสัมมนาล่วงหน้า (I do the required reading
before seminars)
3.51) ระหว่างการสัมมนา ฉันเรียนรู้จากผู้สอนและเพ่ือนร่วมสัมมนา (I learn from
my instructor and peers during seminars)
3.52) ระหว่างการสัมมนา ฉันสามารถประเมินได้ว่า ฉันได้เรียนรู้อะไรบ้าง (I reflect
on what I have learnt during seminars)
3.53) ระหว่างการสอบและการประเมินผล ฉันจดจาข้อมูลและความรู้ท่ีจาเป็นได้ (I
can remember the required facts and knowledge during tests and examinations)
3.54) ระหว่างการสอบและการประเมินผล ฉันมีความกังวล (I am nervous during
tests and examinations)

274

3.55) ฉันสามารถทาแบบทดสอบและแบบประเมินผลการเรียนได้ทุกข้อ (I am able
to complete all the questions in tests and examinations)

3.56) ระหว่างการสอบและการประเมินผล ฉันไม่เข้าใจว่าคาถามในแบบทดสอบ
ต้องการอะไรจากฉัน (I do not understand what is required of me when tackling the
questions in tests and examinations)

3.57) ฉันทาแบบทดสอบและแบบประเมินผลได้แย่ (I do poorly in tests and
examinations)

3.58) ระหว่างการสอบและการประเมินผล ฉันรู้สึกมั่นใจในการทาแบบทดสอบ (I feel
confident when taking tests and examinations)

3.59) อินเทอร์เน็ตทาให้ชีวิตฉันน่าสนใจมากขึ้น (The internet makes my life
more interesting)

3.60) ฉันหลีกเล่ียงการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ (I try to avoid study work that
needs computers)

3.61) ฉันใช้สื่อสังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ หรือกระดาน ถาม-ตอบ บน
อินเทอร์เน็ต เป็นประจา (I use social media such as Facebook, Twitter, internet forums
etc. regularly)

3.62) ฉันรู้สึกโดนคุกคามทุกครั้งท่ีใช้อินเทอร์เน็ต (I feel intimidated whenever I
use the internet)

3.63) ฉันมีปัญหากับการใช้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ (I have problems using
computer software and hardware)

3.64) เมื่อใช้คอมพิวเตอร์ ฉันรู้สึกสะดวกสบาย (I am very comfortable using a
computer)

3.65) ฉันสามารถหาข้อมูลเก่ียวกับสิ่งที่เรียนได้บนอินเทอร์เน็ต (The internet
provides me with a wealth of resources for my assignments)

3.66) สาหรบั การทาแบบฝกึ หดั เม่ือพบเจอข้อมูลบนอนิ เทอรเ์ น็ต ฉนั ไมร่ ู้ว่าข้อมูลใดถูก
ห รือ ผิ ด (I do not know how to evaluate and extract relevant information from the
internet for my assignments)

3.67) ฉันสามารถหาข้อมูลสาหรับการทาแบบฝึกหัดได้ (I am able to use the
information I gathered in my assignments meaningfully)

3.68) ฉันไมร่ ู้วิธีใช้ทรพั ยากรของห้องสมุด (I do not know how to use the library
resources)

3.69) ฉันใช้เวลามากมายในการหาข้อมูลเพ่ือมาทาแบบฝึกหัด (I spend too much
time researching information for my assignments)

3.70) ทรัพยากรของห้องสมุดมีประโยชน์มากสาหรับการทาแบบฝึกหัด (The library
resources are very useful for researching my assignments)

275

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจการประเมินของทกั ษะ
การเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง ตามทศั นะของ Khiat ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

แบบประเมนิ ตนเอง
1) ท่านเข้าใจการประเมินของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ

Williamson and Seewoodhary
ชดั เจนดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Williamson

and Seewoodhary กล่าวถงึ การประเมนิ ของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
2) ท่านเข้าใจการประเมินของทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง ตามทศั นะของ Rodney
ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ กี ครง้ั แล้วตอบคาถามในใจว่า Rodney
กลา่ วถึงการประเมนิ ของทักษะการเรยี นร้แู บบชนี้ าตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
3) ทา่ นเขา้ ใจการประเมนิ ของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชน้ี าตนเอง ตามทัศนะของ Khiat
ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ กี ครง้ั แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Khiat
กล่าวถึงการประเมินของทักษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเอง วา่ อยา่ งไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับท่ีเป็นภาษาอังกฤษ โปรด

“Ctrl & Click” เว็บไซตข์ องแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังน้ี
1) Williamson and Seewoodhary : https://bit.ly/3vaJ3Wq
2) Rodney: https://bit.ly/3n7ndRd
3) Khiat: https://bit.ly/2QkrK6H

276

เอกสารอา้ งองิ
Williamson S, Seewoodhary R (2007). Student Evaluation of the Usefulness of the

Self-rating Scale of Self-directed Learning tool in the FdSc in Health and
Social Care Course. Journal of Healthcare Communications.14(2):79-82
Stewart, Rodney (2007). Evaluating the self-directed learning readiness of engineering
undergraduates : a necessary precursor to project-based learning. World
Transactions on Engineering and Technology Education.6(1): 61
Henry Khiat (2015). Measuring Self-Directed Learning : A Diagnostic Tool for Adult
Learners. Journal of University Teaching & Learning Practice.12(2):3-5

277

5.7 คมู่ อื ประกอบโครงการ ครูนาความรสู้ กู่ ารพฒั นานกั เรยี น

278

คูม่ ือเชิงปฏิบัตกิ ารเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเอง
ให้แก่นักเรียน

วัตถุประสงค์เพ่ือการปฏิบัติ

คู่มือเชิงปฏิบัติการประกอบโครงการครูนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียนน้ี จัดทาข้ึนเป็นให้
ท่านได้ทราบถึงประเด็นต่าง ๆ ท่ีจะช่วยให้ท่านนาความรู้ที่ท่านได้รับจากโครงการแรก คือ โครงการ
พัฒนาความรู้ของครูผู้สอนเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองนาไปสู่การปฏิบัติ คือ
การพัฒนานกั เรยี น ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ดงั น้ี

1) ทบทวนถึงคุณลักษณะหรือทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองท่ีคาดหวังให้เกิดขึ้นกับ
นักเรียน หลังจากได้รับการพัฒนาจากท่านตามโครงการครูผู้สอนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียน ใน
ระยะ 2-3 เดอื นหลงั จากน้ี

2) ทบทวนถึงหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมที่เป็นทางเลือกท่ี
หลากหลายเพ่ือการพัฒนาทักษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเองจากทัศนะของนักวชิ าการหรือหน่วยงานท่ี
ท่านได้ศึกษามาจากคู่มือประกอบโครงการแรก คือ โครงการพัฒนาความรู้ของครูผู้สอนเก่ียวกับการ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง เพ่ือใช้เป็นแนวทางการพัฒนาของท่าน ซึ่งหากมีมากมาย
อาจเลือกใชแ้ นวทางการพัฒนาทท่ี ่านเห็นวา่ สาคัญ

3) ทบทวนถึงข้ันตอนการพัฒนาการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จากทัศนะของนักวิชาการหรือ
หน่วยงานที่ท่านได้ศึกษามาจากคู่มือประกอบโครงการแรก คือ โครงการพัฒนาความรู้ของครูผู้สอน
เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง เพ่ือใช้เป็นแนวทางการพัฒนาของท่านเอง ซึ่ง
อาจจะยดึ ถือตามทศั นะใดทัศนะหน่ึง หรือบรู ณาการขนึ้ ใหม่จากหลาย ๆ ทศั นะ

4) ระบุถึงหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมท่ีเป็นทางเลือกที่หลากหลาย
เพอื่ การพัฒนา และขั้นตอนการพัฒนาทที่ า่ นนาไปใช้ในการพฒั นานักเรียน

5) ให้ข้อสังเกตถึงปัจจัยท่ีส่งผลในทางบวก และปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของ
ทา่ นในการพัฒนาทักษะการเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเองแก่นักเรยี น

6) ระบุถึงวิธีการที่ท่านนามาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของท่านใน
การพฒั นาทกั ษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเองแก่นักเรยี น

7) ระบุถึงบทเรียนสาคัญที่ได้จากการการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองแก่
นกั เรยี น

8) ระบุถึงข้อเสนอแนะสาคญั เพ่ือให้การพฒั นาทักษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเองแก่นกั เรียน
ประสบผลสาเร็จ

279

ทบทวนความรคู้ วามเข้าใจจากโครงการพัฒนาครูผู้สอน
เพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเองแกน่ ักเรียน

1. ทบทวนคณุ ลกั ษณะหรือทักษะการเรียนรแู้ บบชีน้ าตนเอง ท่คี าดหวงั ให้เกดิ ข้ึนกบั นักเรียน
1.1 ความคาดหวังคุณลักษณะของนักเรียนที่มีทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองจาก

นานาทศั นะทางวิชาการ
Nucum (2019) ให้ทัศนะว่า คนท่ีมีทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง เป็นคนที่มี

คณุ ลักษณะ ดังน้ี
1) เป็นผู้ริเร่ิม (Take the Initiative)
2) สารวจอย่างเปน็ อสิ ระ (Explore Independently)
3) มีความรบั ผดิ ชอบ (Accept Responsibility)
4) มที ศั นคตทิ ่ดี ตี อ่ ชวี ติ (Have a Healthy Outlook in Life)
5) มีแรงจูงใจโดยธรรมชาติ (Naturally Motivated)
6) รทู้ กั ษะพืน้ ฐานในการเรยี น (Know Basic Study Skills)
7) รู้วิธจี ัดการเวลา (Know How to Manage Time)
8) รู้ตัวเอง (Self-Aware)

Hamdy (2018) ให้ทัศนะว่า คนท่ีมที กั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง เป็นคนทมี่ ี
คุณลักษณะ ดังนี้

1) การชี้นาตนเอง (Self-Directedness)
2) การพ่ึงตนเอง (Independence)
3) ความพรอ้ ม (Readiness)
4) การจัดการเวลา (Organizing Time)
5) การวางแผน (Set a Plan)
Caruso (2011) ใหท้ ศั นะวา่ คนทม่ี ที กั ษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง เป็นคนทม่ี ี
คุณลักษณะ ดงั นี้
1) การลงมือปฏิบัติที่บุคคลได้รับหรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากผู้อ่ืน (A practice in
which individuals, with or without the help of others)
2) ความพรอ้ ม/ความปรารถนาที่จะเรยี นรู้ (Readines/Desire to learn)
3) มั่นใจในความสามารถในการเรียนรู้จากประสบการณ์การเรียนรู้ที่ผ่านมา
(Confident of their Learning Abilities based on Previous Learning Experiences)
4) สามารถกาหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ได้ (Capable of Setting their Own Goals
in Learning)
5) การค้นหาแหลง่ เรียนรู้ (Find Resources for Learning)
6) สามารถเลอื กกลยุทธก์ ารเรยี นรู้ (Able to Choose Strategies for Learning)
7) สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้ตนเองและมีวินัยในตนเอง (Capable of Being Self-
Motivated and Self-Disciplined)

280

8) เข้าใจกระบวนการเรียนรู้และตระหนกั ถึงทักษะการเรียนรู้ของตนเอง (Understand
the Process of Learning, and are Aware of their Own Learning Skills)

9) เข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อน ใน การเรียนรู้ (Strengths and Weaknesses in
Learning)

10) การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Assess Learning Outcomes)
Vaivada (2017) ให้ทัศนะว่า คนท่มี ีทกั ษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง เป็นคนทม่ี ี
คุณลักษณะ ดงั น้ี

1) เปา้ หมายการเรียนรู้ (Learning Aim)
2) เน้ือหาการเรียนรู้ (Learning Content)
3) โครงสรา้ งการเรียนรู้ (ความสอดคล้อง) (Learning Structure (Consistency))
4) ระยะเวลาการเรียนรู้ (Learning Duration)
5) ผู้ร่วมเรยี นรู้ (Learning Partners)
6) เทคนิคการเรยี นรู้ (Learning Techniques)
7) กลยทุ ธก์ ารเรียนรู้ (Learning Strategies)
8) สือ่ การเรียนรู้ (Learning Materials)
9) แหล่งเรยี นรู้ (Learning Resources)
10) รปู แบบการเรยี นรู้ (Learning Forms)
11) สถาบนั ที่ใหเ้ รยี นรู้ (Learning Institutions)
12) สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้ (Learning Environment
13) ส่ือการเรียนรู้และอ่นื ๆ (Learning Media and etc)
Atkinson (2015) ให้ทศั นะวา่ คนที่มีทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง เป็นคนทีม่ ี
คุณลักษณะ ดงั น้ี
1) มีแรงจูงใจ (Motivation)
2) ทักษะการเรียน (Study Skills)
3) มงุ่ เนน้ เป้าหมาย (Goal-Oriented)
4) เป็นนักยทุ ธศาสตร์ (Strategist)
5) มีการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment)
1.2 ความคาดหวังคุณลักษณะของนักเรียนที่มีทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จาก
แบบประเมินผล
จากผลการศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (Self-
direction learning Skills) จากทัศนะของ Nucum, K, N (2019) Caruso (2011) Hamdy (2018)
Vaivada (2017) และ Atkinson (2015) และแนวการสร้างแบบสอบถามจากผลงานวิจัยของ
Williamson & Seewoodhary (2007) Rodney (2007) Khiat (2015) ได้ข้อคาถามเพ่ือใช้การ
ประเมินทกั ษะการเรียนร้แู บบช้นี าตนเองของนกั เรยี นในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้
การตระหนกั รู้ (Awareness)
1) นกั เรียนรับผิดชอบการเรียนรดู้ ว้ ยตัวเอง

281

2) นักเรียนสามารถวางแผนและต้ังเป้าหมายการเรยี นรู้ของตวั เองได้
3) นักเรยี นสามารถระบุความตอ้ งการในการเรียนรู้ของตนเอง
4) นกั เรยี นสามารถเลอื กวิธีการเรียนรู้ท่ีดีที่สดุ ให้กับตัวเองได้
5) นักเรยี นสามารถรักษาแรงจงู ใจเพื่อการเรยี นรู้ของตนเองไว้ได้
การควบคุมตนเอง (Self-control)
6) นกั เรยี นชอบท่จี ะตดั สนิ ใจดว้ ยตวั เอง
7) นักเรยี นรูข้ ดี ความสามารถของตัวเอง
8) นกั เรยี นเชือ่ ในความสามารถของตวั เอง
9) นกั เรียนจดั การเวลาได้เป็นอยา่ งดี
10) นกั เรยี นลาดบั ความสาคัญการทางานของฉนั
11) นกั เรยี นชอบต้ังเปา้ หมายและวางแผนการเรยี นรู้ของตัวเอง
การประเมินตนเอง (Self-Evaluation)
12) นกั เรียนชอบท่ีจะประเมินสงิ่ ท่ีฉันทา
13) นักเรียนสามารถระบจุ ดุ แขง็ หรอื จุดอ่อนของตวั เองได้
14) นักเรยี นได้แรงบันดาลใจจากความสาเรจ็ ของผู้อื่น
15) นกั เรยี นตรวจสอบตนเองเสมอไม่ว่าจะบรรลเุ ปา้ หมายการเรยี นรหู้ รอื ไม่
16) นกั เรียนพบวา่ ทัง้ ความสาเร็จและความลม้ เหลวนน้ั ลว้ นเป็นแรงบนั ดาลใจใหฉ้ นั
เรียนรมู้ ากข้ึน
ความปรารถนาในการเรียนรู้ (Desire for learning)
17) นกั เรยี นอยากเรยี นรสู้ ง่ิ ใหม่ ๆ
18) นกั เรยี นสนกุ กบั การเรียนรู้ขอ้ มูลใหม่ๆ
19) นักเรียนเปดิ รับความคิดใหม่ ๆ เสมอ
20) นกั เรยี นเรียนรู้จากความผิดพลาด
21) นักเรียนชอบทจี่ ะรวบรวมขอ้ เท็จจริงก่อนทาการตัดสินใจ
22) เม่ือนกั เรียนประสบปัญหาทไ่ี ม่สามารถแกไ้ ขได้ นักเรยี นจะขอความชว่ ยเหลอื
กลยทุ ธ์การเรยี นรู้ (Learning Strategies)
23) นักเรียนมีสว่ นร่วมในการอภปิ รายภายในกลมุ่ เสมอ
24) นกั เรียนพบวา่ การเรียนรจู้ ากกรณตี วั อยา่ งนนั้ มีประโยชน์
25) นกั เรียนพบวา่ การท่มี เี พื่อนเปน็ โค้ชนน้ั เปน็ อะไรท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
26) นักเรียนพบว่าแผนผังมโนทัศน์เป็นวธิ ีการเรียนรู้ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ
27) นกั เรียนพบว่าการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนนน้ั มปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ การนั่ง
ฟังบรรยาย
28) นักเรียนพบว่าเทคโนโลยีการศึกษาที่ทันสมัยช่วยปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของ
ฉนั ใหด้ ียิ่งขนึ้
กิจกรรมการเรยี นรู้ (Learning Activities)
29) นกั เรยี นซกั ซ้อมและทบทวนบทเรียนใหม่เสมอ

282

30) นกั เรยี นเปดิ ใจใหก้ บั ความเห็นของผอู้ ่นื เสมอ
31) นักเรียนชอบทจ่ี ะหยุดพักระหวา่ งการเรยี นแต่ละคร้ัง
32) นกั เรียนชอบใชแ้ ผนผงั มโนทัศนใ์ นการทาความเขา้ ใจข้อมูลทีห่ ลากหลาย
33) นักเรียนใชส้ ่ือสังคมออนไลน์ เฟซบกุ๊ ทวิตเตอร์ หรอื กระดานถาม-ตอบบน
อนิ เทอรเ์ น็ตเปน็ ประจา
การตดิ ต่อสอื่ สารระหวา่ งบุคคล (Interpersonal Skills)
34) นักเรยี นพบว่าการทางานกบั ผู้อนื่ เป็นเรื่องงา่ ย
35) นักเรียนมักประสบความสาเร็จในการสอื่ สารดว้ ยวาจา
36) นกั เรียนสามารถแสดงความคิดผ่านการเขียนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
37) นักเรยี นพบว่ามันทา้ ทายที่จะพยายามเรียนรู้กับบคุ คลทห่ี ลากหลาย
38) การมปี ฏิสัมพนั ธ์กับผู้อนื่ ชว่ ยใหน้ ักเรียนพฒั นาความเข้าใจและการเรียนรู้ได้อย่าง
ลึกซงึ้

2. ทบทวนหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมที่เป็นทางเลือกท่ีหลากหลายเพ่ือ
การพฒั นาทักษะการเรียนรแู้ บบชนี้ าตนเอง จากนานาทัศนะเชิงวชิ าการ

ในเวบ็ ไซตข์ อง Impact Teacher (2018)
1) ผู้เรยี นท่พี ึ่งพาผู้อนื่ (Dependent Learners) พ่งึ ผูอ้ น่ื (ที่เกง่ กว่าหรือมีอานาจ) เพื่อ
บอกทิศทางท่ชี ดั เจนเกย่ี วกบั สิ่งที่ตอ้ งทา วิธที า (Rely an Authority Figures to
Give them Explicit Directions on What to Do)
2) ผู้เรยี นทีส่ นใจ (Interested Learners) ตอบสนองต่อเทคนิคท่สี รา้ งแรงบันดาลใจ
(Respond to Motivational Techniques)
4) ครสู ามารถเตรียมนักเรียนโดยการฝกึ อบรมพวกเขาในทักษะพน้ื ฐานเช่นการ

ตงั้ เป้าหมาย (Teachers can Prepare Students to become more Self-Directing by Training
them in such Basic Skills as Goal Setting)

5) ผู้เรยี นทม่ี ีส่วนร่วม (Involved Learners) พัฒนาการคิดเชิงวิพากษ์และการ
ตระหนักรใู้ นตนเองในฐานะผู้รว่ มสร้างสรรค์

6) ครูควรเตรียมเครื่องมือ วธิ ีการ เทคนิค และแนวทางในการสอนจากประสบการณ์
(Teacher offers Tools, Methods, Techniques, and Ways of Interpreting the Experience)

7) ผเู้ รียนควรกาหนดเป้าหมายและมาตรฐานของตนเองโดยมีหรอื ไมม่ ผี เู้ ช่ยี วชาญ
ช่วยเหลอื กไ็ ด้ (Set their Own Goals and Standards, with or Without Help from Experts)

8) ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ ทิศทางและผลผลิต การบริหารเวลา การ
จัดการโครงการ การกาหนดเป้าหมาย การประเมินตนเอง การวิพากษ์เพ่ือน การรวบรวมข้อมูลและ
การใช้ทรัพยากรทางการศึกษา (Learners at this Stage are both able and Willing to take
Responsibility for their Learning, Direction and Productivity. They Exercise Skills in
time Management, Project Management, Goal-Setting, Self-Evaluation, Peer Critique,
Information Gathering and use of Educational Resources)

283

Briggs (2015)

1) ระบเุ ปา้ หมายการเรยี นรู้ (Identify Your Learning Goals)
2) ตง้ั คาถามถงึ ความสาคญั ของสิ่งต่าง ๆ (Question the Significance of Things)
3) คน้ หาความท้าทายทีน่ า่ สนใจ (Seek out Interesting Challenges)
4) ตรวจสอบกระบวนการเรยี นรู้ (Monitor Your Own Learning Process)
5) เข้าใจวิธีการ (Understand Your Own Approach)
6) ใช้กลยุทธก์ ารสร้างแรงจงู ใจดว้ ยเกม (Use Game-Based Motivation Strategies)
7) เรมิ่ ตน้ ดว้ ยข้อมลู พืน้ ฐานของหวั ข้อน้ัน (Start with Background on a Topic)
8) ปลกู ฝังแรงจูงใจจากภายใน (Cultivate Intrinsic Motivation)
9) แบ่งปันการเรยี นรกู้ ับเพือ่ นและทปี่ รึกษา (Share Your Learning with Peers and
Mentors)
10) สรา้ งสรรค์บางสงิ่ จากสิ่งทีไ่ ดเ้ รียนรู้ (Create Something Out of What You’ve
Learned)
11) สร้างสาระการเรยี นร้สู ว่ นตัว (Build Your own Personal Learning Syllabus)
12) ใช้เวลา (หรือไมใ่ ช)้ เพอ่ื ผลประโยชน์ของคุณ (Use time (or lack thereof) to
your advantage)
13) ไขว่คว้าความรู้ ไมใ่ ชเ้ กรดดี ๆ (Pursue Knowledge, Not Good Grades)
14) สร้างแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ส่วนตัว (Create Your Own Personal Learning
Record)
15) บอกเล่าความสาเร็จของคุณทางวาจา (Verbalise Your Achievements)
16) ทารายการหัวขอ้ “ทเ่ี ชยี่ วชาญ” (Make a List of Topics “to Master”)
17) ฝกึ ใชส้ ง่ิ ทค่ี ุณได้เรยี นรู้ (Practise Using What You’ve Learned)
18) ให้คุณคา่ กับความก้าวหน้ามากกว่าผลที่ได้ (Value Progress Over
Performance)
19) ทาใหเ้ ปา้ หมายใหเ้ ป็นจริง (Keep Your Goals Realistic)
20) สร้างเครือข่าย “เพื่อนร่วมงานแห่งการเรยี นรู้” (Build a Network of “Learning
colleagues”)
Weimer (2010)
1) เปน็ การเรยี นรโู้ ดยไม่ต้องให้บุคคลอื่นชน้ี า (Ability to Manage Learning Tasks
Without having them Directed by Others)
Cobb (2019)
1) คดิ รเิ รมิ่ (Takes Initiative)
2) สบายใจกบั ความเป็นอิสระ (Is Comfortable with Independence)
3) หมัน่ เรียนรดู้ ้วยตนเอง (Is Persistent)
4) ยอมรับหน้าที่ที่รับผิดชอบ (Accepts Responsibility)

284

5) มองปัญหาว่าเปน็ ความทา้ ทาย ไม่ใช่อปุ สรรค (Views Problems as Challenges,
Not Obstacles)

6) มวี ินัยในตนเอง (Is Capable of Self-Discipline)
7) มคี วามสงสัยใครร่ ู้ในระดบั สูง (Has a High Degree of Curiosity Has a High
Degree of Curiosity)
8) มีความปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ที่จะเรียนรหู้ รือเปล่ียนแปลง (Has a strong desire
to learn or change)
9) มีความมัน่ ใจในตนเอง (Is Self-Confident)
10) สามารถใช้ทักษะพ้ืนฐานในการศกึ ษา (Is Able to Use Basic Study Skills)
11) จัดการเวลา (Organizes His or Her Time)
12) เลือกจงั หวะทเ่ี หมาะสมสาหรับการเรยี นรู้ (Sets an Appropriate Pace for
Learning)
13) พัฒนาแผนเพื่อทางานให้เสร็จ (Develops a Plan For Completing Work)
14) มีแนวโน้มท่ีจะมุ่งเนน้ เป้าหมาย (Has a Tendency to be Goal-Oriented)
15) สนกุ กบั การเรยี นรู้ (Enjoys Learning)
Dickinson (2018)
1) เปน็ เจา้ ของการเรียนรู้ของคณุ (Take Ownership of Your Learning)
2) ต้ังเป้าหมายแบบ SMART (Set SMART Goals)
3) กฎ 5 ชั่วโมงของเบนจามนิ แฟรงคลิน (Benjamin Franklin's Five-Hour Rule)
4) การเรียนรแู้ บบลงมอื ปฏบิ ัติ (Active Learning)
5) จดั ลาดับความสาคัญ (กฏ 80/20) (Prioritize (the 80/20 Rule)
6) เขา้ ห้องสมดุ (Visit the Library)
7) ใช้แรงจงู ใจของคุณเอง (Employ Your Own Motivation)
ในเวบ็ ไซตข์ อง Professional Learning Board (2019)
1) ความต้องการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง (Need for Self-Directed Learning)
2) กระตุ้นการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง (Encouraging Self-Directed Learning)
3) สภาพแวดล้อมการเรยี นรู้ (Learning Environment)
4) พลงั ของการเลอื ก (Power of Choice)
5) พฒั นาทักษะ (Develop Skills)
6) การวิเคราะห์เชิงวพิ ากษ์ (Critical Analysis)
ในเว็บไซตข์ อง Wabisabi Learning (2018)
1) พร้อมทจ่ี ะเรยี นรู้ (Being Ready to Learn)
2) กาหนดเปา้ หมายการเรยี นรู้ (Setting Learning Goals)
3) มสี ่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรู้ (Engaging in the Learning Process)
4) ประเมินการเรยี นรู้ (Evaluating Learning)

285

Nicora (2019)
1) สือ่ สารความคาดหวงั (Communicate Expectations)
2) สง่ เสรมิ ระบบสนบั สนุน (Promote Support Systems)
3) ใหเ้ ขา้ ถึงทรัพยากรการเรยี นรทู้ มี่ ีคุณภาพสูงได้โดยงา่ ย (Provide Easy Access to

High Quality Learning Resources)
4) เพ่ิมโอกาสในการประเมนิ ตนเอง (Develop Opportunities for Self-

Assessment)
Ark (2016)
1) ทาไมการช้นี าตนเองจงึ เกดิ ผล (Why Does Self-Direction Matter)
2) จะเรม่ิ จากตรงไหน (Where to Start)
3) ทักษะและเครื่องมือ (Skills & Tools)
4) วฒั นธรรม (Culture)
5) ประสบการณ์ผเู้ รียน (Learner Experience)
ในเว็บไซตข์ อง Design Your Homeschool (2006)
1) สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย (Create a Rich Learning

Environment)
2) ให้เวลาอยา่ งเพียงพอในสง่ิ ที่สนใจ (Create a Rich Learning Environment)
3) อภปิ รายในส่ิงที่สนใจ (Discuss Interests)
4) ทาให้เปน็ หลักสูตรจรงิ ๆ โปรแกรมการเรียนรสู้ ่วนบุคคล (เลือกทา/ไม่ทาก็ได)้

(Formalize the Course Individual Learning Program (Optional))
5) ฉลองให้กบั การเรียนรู้ (Celebrate the Learning)
6) อยา่ ถอนคาพดู (Don’t Take it Back) หากติดขัด พร้อมทจ่ี ะให้คาแนะนาหรือทา

หน้าที่เปน็ ตัวแทนความคิดของผู้อน่ื
7) คงไว้ซึง่ ความไว้วางใจได้ (Maintain Accountability)

3. ทบทวนโมเดลขั้นตอนทางเลือกที่หลากหลายเพ่ือการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง
จากนานาทศั นะเชงิ วชิ าการ

Harvey (2019) ให้ข้อเสนอแนะ 4 ข้ันตอน ดงั น้ี
1) การประเมินความพร้อมในการเรยี นรู้ (Assess Readiness to Learn)
2) การตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ (Set Learning Goals)
3) การมสี ่วนร่วมในกระบวนการการเรยี นรู้ (Engage in the Learning Process)
4) การประเมนิ การเรยี นรู้ (Evaluate Learning)

Bull (2013) ใหข้ อ้ เสนอแนะ 5 ขน้ั ตอน ดังนี้
1) ตัดสินใจเลือกในสิ่งท่ีคุณอยากทาในโปรเจค (Decide what you want to do for

your project.
2) พัฒนาแผนการในการทาโปรเจค(Develop a plan for how to do it.)

286

3) กาหนดความช่วยเหลือท่ีคุณจาเป็นในการทาโปรเจคแต่ละส่วน (Determine what
help you need to do each part.)

4) ออกแบบวิธีที่ใช้ในการบันทึกความก้าวหน้ าของคุณ (Design a means of
documenting your progress.)

5) เผยแพร่ (แบ่งปัน) ส่ิงท่ีคุณได้ทาละเรียนรู้ระหว่างทาง (Disseminate (share)
what you did and what you learned along the way.)

Dobbs (2017) ให้ข้อเสนอแนะ 5 ข้ันตอน ดงั นี้
1) เข้าใจในแรงบันดาลใจของคณุ เอง (Understand Your Motivation)
2) มีความชัดเจนและฉลาด (S.M.A.R.T.) ดา้ นสง่ิ ทีค่ ุณวางแผนจะเรียนรู้ (Be clear &

S.M.A.R.T. About What You are Planning to Learn)
3) บริหารเวลาของคณุ และติดตามการเรียนรู้ของคณุ (Get Organised with Your

Time & Tracking Your Learning)
4) สร้างเงอื่ นไขในการเรยี นรู้ของคุณ ใหผ้ ู้อ่ืนมสี ว่ นร่วมกบั ความมุ่งมน่ั ของคณุ ด้วย

(Make a Public Commitment to Your Learning & Buddy up)
5) ประยกุ ต์ใช้สิง่ ท่ีคุณกาลังเรียนรูไ้ ปใชใ้ นชีวติ จริง (Apply What You are Learning

in Real-World Projects)

หมายเหตุ
เม่ือท่านดาเนินการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ครบตามระยะเวลาท่ีกาหนด

แล้ว ขอความกรณุ าท่านโปรดตอบแบบประเมินผลการปฏิบัติและสะท้อนผลการปฏิบัติจาก Google
Form ตามลงิ ค์หรือ QR Code ดา้ นล่างนด้ี ว้ ย จักขอบพระคุณย่ิง

~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~

287

แบบสอบถาม
โครงการครูนาความรสู้ กู่ ารเสรมิ สรา้ งทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง

https://forms.gle/WErXt89mTTvsds5CA

บทท่ี 6
สรุป อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน (Online Program to Enhance Teacher Learning to Develop
Students' Self-Directed Learning Skills) น้ี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒ นา (Research and
Development: R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ท่ีเห็นว่า นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึ้นโดย
กระบวนการวิจยั และพัฒนามจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือนาไปใช้พฒั นาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มี
ปรากฏการณ์หรอื ขอ้ มลู เชิงประจกั ษแ์ สดงใหเ้ หน็ ว่ามีความจาเป็นเกิดขน้ึ เช่น เป็นผลสืบเนอ่ื งจากการ
กาหนดความคาดหวังใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์การทางาน
จากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมี
หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดข้ึนมากมาย ท่ีคาดหวัง
ว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานาความรู้เหล่าน้ีสู่การ
ปฏิบัติ (action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลยิ่งข้ึน ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคากล่าวที่ว่า
“ Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They Know” ห รื อ
“Link To On-The-Job Application”

การวิจัยในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์การวิจัย ดังน้ี 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด
“Knowledge + Action = Power” ท่ีประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ (1) โครงการพัฒนา
เพ่ือการเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (2) โครงการครูนาผลการ
เรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการเรียนรูแบบช้ีนาตนเอง โดยมีคู่มือประกอบแต่ละโครงการ 2) เพื่อ
ประเมินความมีประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ
คือ การพัฒนาครู และครูพัฒนานักเรียน และ 3) เพื่อระดมสมองของครูทเ่ี ปน็ กลมุ่ ทดลองให้ทราบถึง
ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมออนไลน์

สมมติฐานในการวิจัย มี 2 ประการ คือ 1) ผลการทดสอบความรู้ของครูท่ีเปน็ กลุ่มทดลอง
หลังการดาเนินงานในโครงการพัฒนาความรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และ 2) ผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
ของนักเรียนตามโครงการครูนาความรู้สกู่ ารเสรมิ สร้างทกั ษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเองให้กับนักเรียน
มีค่าเฉล่ยี ของคะแนนหลงั การพัฒนาสงู กวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ

ในการวจิ ัยได้กาหนดขอบเขตของการวจิ ัย ดังนี้ 1) กลมุ่ ทดลอง (Experiment Group) ใน
การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนอง
ของนักเรียน คือ โรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสานัก
เขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 กองพุทธศาสนศึกษา สานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีครูจานวน 25 รูป/คน และมีนักเรียน 146 รูป ระยะเวลาดาเนินการ

289

ทดลองในภาคสนาม คือ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 และ 2) กลุ่มประชากร (Population) ซ่ึง
เป็นเป้าหมายอ้างอิงในการนาผลการวิจัยไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพัฒนา
คือ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสานักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7
กองพุทธศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทกุ โรงทัว่ ประเทศ ตามหลักการของการวจิ ัย
และพัฒนา (Research and Development : R&D) ทว่ี ิจยั และพัฒนานวตั กรรมใด ๆ ข้ึนมา แล้วนา
นวัตกรรมน้ันไปทดลองใช้ในพ้ืนที่ทดลองแห่งใดแห่งหนึ่งที่มีคุณลักษณะเป็นตัวแทนของประชากร
เมื่อผลจากการทดลองพบว่านวัตกรรมนั้นมีคณุ ภาพหรือมีประสิทธภิ าพตามเกณฑท์ ่กี าหนด ก็แสดงว่า
สามารถเผยแพรเ่ พือ่ การนาไปใชป้ ระโยชน์กบั ประชากรทเี่ ปน็ กล่มุ อา้ งอิงในการวิจัยได้

การดาเนินงานวิจัย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนตามลาดับดังนี้ (1) การจัดทาคู่มือประกอบ
โครงการ (2) การตรวจสอบคุณภาพคู่มือ/หน่วยการเรียนรู้และการปรับปรุงแก้ไข (3) การสร้าง
เคร่ืองมือเพื่อใช้ในการทดลองในภาคสนาม (4) การทดลองในภาคสนาม (5) การเขียนรายงานการ
วิจัยและเผยแพรผ่ ลการวจิ ยั โดยมีผลการวจิ ัยดงั นี้

6.1 โครงการและคมู่ ือประกอบโครงการ

6.1.1 โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบ
ชนี้ าตนเอง

1.1) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง มีหัวข้อ
จากทั ศน ะของนั กวิชาการห รือห น่วยงาน ต่าง ๆ ดังนี้ What is self-directed learning?
(Gibbons,2016), How to put self-directed learning to work in your classroom (Petro,
2017), Developing students’ self-directed learning skills (Weimer, 2010), What is self-
directed learning? (Boles, n.d.), What is it? how does it work? (Noelle, 2018), What is
self-directed learning IGI Global Disseminator of Knowledge (Igi Global Disseminator
of Knowledge, 1988),What is self-directed learning?.(Meredith, 1989), Included self-
directed learning ? (Mocker and Spear, 1982), Self-direction learning Skills ? (Mezirow,
1985), What is self-directed learning ( Carter, 2009) , Understanding self-directed
learning (Brookfield, 1985), What is a self-directed learner? (Ecu, 2019), What is self-
directed learning? (Garland, 1985)

1.2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง มี
หวั ขอ้ จากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานตา่ ง ๆ ดังน้ี Importance of self-directed learning
(Timpau, 2015), Benefits of self-directed learning (Andriotis, 2017), Why it’s important
to support self-directed learning in the classroom (Holz, 2017), The importance of
self-directed learning (Help Teaching, 2019), The advantages of self-directed learning
in the workplace (Gutierrez, 2017), Alternatives to school welcome to the world of
self-directed education 2019 (Alternatives to School, 2019), Benefits of self-directed
learning (Assignment Bay, 2017), Young students benefit from self-directed learning

290

days (Western Academy of Beijing, 2017), The benefits of self-directed learning (Self-
directed Learning, n.d.)

1.3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง มี
หัวข้อจากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ 8 traits of a self-directed learner
(Nucum, 2019), Characteristics of self-learning (Hamdy, 2018), Characteristics of self-
directed learners (Caruso, 2011) , Characteristics of the student of self-directed
learning in the context of lifelong learning (Vaivada, 2017), Five characteristics of self-
directed learners (Atkinson, 2015)

1.4) คู่มอื เพ่ือการเรยี นรู้เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง มี
หัวข้อจากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ Promoting self-directed learners in
classrooms (Impact Teacher, 2018) , 20 Steps towards more self-directed learning
(Briggs, 2015) , Self-directed learning: A four-step process (Centre for Teaching
Excellence, n.d.), Developing students’ self-directed learning skills (Weimer, 2010), 15
Ways of the successful self-directed learner (Cobb, 2019), 7 Habits of the best self-
directed learners (Dickinson, 2018), Encouraging self-directed learning in classrooms
(Professional Learning Board, 2019), How to encourage self-directed learning practices
in students (Wabisabi Learning, 2018), Four simple ways to encourage self-directed
learning (Nicora, 2019), Developing self-directed learners (Ark,2016), Encouraging self-
directed learning in a homeschool setting (Design Your Homeschool, 2006)

1.5) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับข้ันตอนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง มี
หวั ข้อจากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ Self-Directed Learning–The Steps to
Successful Outcomes (Harvey, 2019), 5 Simple Steps to Developing a Self-Determined
Learning Plan (Bull, 2013), 5 Step DIY Self-Directed Learning Plan (Dobbs, 2017)

1.6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับแนวการประเมินผลการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบ
ช้ีนาตนเอง มีหัวข้อจากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ Student Evaluation of
the Usefulness of the Self-rating Scale of Self-directed Learning tool in the FdSc in
Health and Social Care Course (Williamson S, Seewoodhary R, 2007), Evaluating the
self-directed learning readiness of engineering undergraduates : a necessary precursor
to project-based learning (Stewart, Rodney, 2007), Measuring Self-Directed Learning :
A Diagnostic Tool for Adult Learners (Henry Khiat, 2015)

6.1.2 โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
ให้กับนักเรียน มีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบ
ชนี้ าตนเองให้กับนักเรียน นาเสนอสรุปประเดน็ สาคญั เกี่ยวกับ 1) ลกั ษณะหรอื คุณลักษณะของทักษะ
การเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองที่คาดหวังให้เกิดกับนักเรียน 2) แนวทางการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบ
ช้ีนาตนเอง และ 3) ขั้นตอนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ในตอนท้ายของคู่มือมีแบบ
ประเมินตนเองของครูต่อการนาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาและข้ันตอนการพัฒนาเชิงวิชาการ

291

หรือเชิงทฤษฎีไปใช้ และการให้ความเห็นต่อจุดเด่นจุดด้อยของคู่มือทุกชุด รวมทั้งความคิดเห็นใน
ลกั ษณะเปน็ การสะท้อนผล (Reflection) เพือ่ การปรบั ปรุงในขอ้ บกพรอ่ งของคู่มือ

6.2 ข้อบกพร่องของคู่มือที่ได้จากการตรวจสอบ และได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้ว มี
ดังน้ี

6.2.1 การตรวจสอบภาคสนามเบือ้ งต้น (ระยะที่ 1) มีข้อบกพรอ่ งทไ่ี ด้รับปรบั ปรงุ แก้ไข
แล้ว ดงั นี้

- เนื้อหามากไป ทาใหผ้ อู้ ่านหรอื ผทู้ ีจ่ ะนาไปศกึ ษาขาดความน่าสนใจ
- ควรปรบั เน้ือหาในบางประเด็นใช้กระชับมากกวา่ นี้
- ควรปรับภาษาใหอ้ ่านไดเ้ ข้าใจงา่ ยย่งิ ขน้ึ
- มีบางคาท่ีพิมพ์ข้อความผิด ควรตรวจสอบใหร้ อบคอบ
- บางสานวนยังเป็นภาษาทแี่ ปลมาจากภาษาอังกฤษ ทาใหเ้ ข้าใจยาก ควรปรบั
สานวนภาษาใหอ้ า่ นเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น
- ควรมกี ารจดั ทาคู่มือแตล่ ะชดุ เป็น PowerPoint และอพั ลงเว็ปไซต์ หรอื สง่ เข้า
ในกลุม่ Group Messenger , Line
- ควรเรยี บเรยี งเนื้อหาใหก้ ระชับ ปรับให้น่าสนใจยิ่งขึน้
- ควรมีภาพประกอบในแตล่ ะชุดคู่มอื เพื่อจะทาใหผ้ ู้อ่านเกดิ ความนา่ สนใจยิ่งขึ้น
- ควรตรวจสอบการเว้นวรรคตอนของคา และการสะกดคาใหถ้ ูกต้อง
6.2.2 การตรวจสอบภาคสนามครง้ั สาคญั (ระยะที่ 2) มขี อ้ บกพรอ่ งทีไ่ ด้รับปรับปรงุ แก้ไข
แลว้ ดงั น้ี
- ควรตรวจสอบเนอ้ื หาในคูม่ อื ว่านา่ สนใจหรอื จะมปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้
หรอื ไม่
- ควรเรียบเรยี งสานวน ภาษา ในคมู่ อื ให้อ่านแลว้ เขา้ ใจง่าย
- พยายามตรวจสอบคาท่ีใชบ้ ่อย ๆ ใหเ้ หมือนกัน เชน่ การเรียนรูแ้ บบนาตนเอง
เป็นการเรียนร้แู บบชน้ี าตนเอง
- ตรวจสอบเคร่อื งหมายวรรคตอน และสัญลักษณต์ ่าง ๆ อยา่ งรอบคอบ
- ควรมกี ารนารูปภาพ สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ มาแทรกในคมู่ ือ เพือ่ ความนา่ สนใจ
แต่ไม่ควรมากเกนิ ไป
- ผ้วู จิ ยั ควรตรวจสอบคู่มอื อยา่ งละเอยี ด รอบคอบ ก่อนนาไปใช้ในกลมุ่ ทดลอง
6.2.3 การตรวจสอบหลงั การพฒั นาความร้ใู ห้แกค่ รู มขี อ้ บกพร่องท่ีได้รับปรบั ปรุงแก้ไข
แล้ว ดังนี้
- ปรับเน้ือหาใหก้ ระชับ ครอบคลมุ เข้าใจงา่ ย เพอื่ ให้สามารถนาไปใช้ในชีวติ
ประจาวนั ได้
- ตรวจสอบการสะกดคา คาท่ีเขียนผดิ โดยดาเนนิ การตรวจอย่างละเอยี ด
- ปรบั คาทใ่ี ชใ้ นคูม่ ือใหต้ รงกันทง้ั หมด เชน่ การเรียนรู้แบบนาตนเอง
เป็นการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง

292

- ตรวจสอบเครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่าง ๆ อย่างละเอียดรอบคอบ
- ปรับชุดคู่มือ โดยมีการแทรกรูปภาพ สัญลักษณ์ ต่าง ๆ เพ่ือให้น่าสนใจยิ่งข้ึน
- จัดทาคู่มือแต่ละชุดเป็น PowerPoint ส่งเข้าใน Group Messenger , Group
Line เพอ่ื ให้สะดวกในการศึกษาค่มู ือดว้ ยตนเอง เนือ่ งจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส
Corona 2019 (Covid-19)
6.2.4 การตรวจสอบหลังการทดลองในภาคสนาม มีข้อบกพร่องซ่ึงได้รับปรับปรุงแก้ไข
แล้ว ดงั นี้
- คู่มือทั้ง 6 ชุด ได้นาเสนอทัศนะเกี่ยวกับนิยาม ความสาคัญ ลักษณะ แนวทางการ
พัฒนา ข้ันตอนการพัฒนา และการประเมินผลทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ซึ่งได้จัดรูปแบบเล่ม
สวยงาม เรียบเรียงเน้ือหาให้กระชับ เพิ่มเติมในส่วนของการแทรกรูปภาพ และสัญลักษณ์ต่าง ๆ
เพ่ือใหน้ า่ สนใจและย่ิงขึ้น
- ได้นาเนื้อหาองค์ความรู้จากนักวิชาการจากต่างประเทศมาแปลและนาเสนอ มีการ
ปรับสานวนภาษาเพือ่ ใหเ้ ข้าใจงา่ ย
- คู่มือทั้ง 6 ชุด ได้นาเสนอรูปแบบเพ่ือทบทวนความรู้ความเข้าใจ เพื่อกระตุ้นให้เกิด
การเรียนรดู้ ้วยตนเอง (Self-Directed Learning) และการมีสว่ นร่วม (Participatory Activity)
- นักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายบางรูปไม่มีความพร้อมในการเข้าใช้ในระบบออนไลน์
ผู้วิจัยได้ประสานอาจารย์ท่ีปรึกษาเพื่อจัดทาเป็นเอกสารถ่ายสาเนาและนาไปแจกนักเรียนก ลุ่ม
ดงั กลา่ ว
- คู่มือทั้ง 6 ชุด คณะครูผู้ร่วมวิจัยได้นาไปศึกษาแล้ว ได้ตระหนักและเห็นความสาคัญ
ของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ซ่ึงถือว่าเป็นทักษะที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนและนักเรียนในยุคปัจจุบัน ดังนั้นจึงได้จัดทาคู่มือในระบบออนไลน์ เพื่อให้ครูผู้สอนได้ศึกษา
และเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านช่องทางระบบออนไลน์ต่าง ๆ รวมท้ังจัดทาเป็นรูปเล่มแล้วมอบไว้ท่ี
หอ้ งสมุดโรงเรียน

6.3 ประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่ม
ทดลอง

จากผลการทดสอบผลการเรียนร้ขู องครูหลังการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาความรขู้ อง
ครูผู้สอนเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง เพ่ือแสดงให้ทราบว่าคู่มือประกอบ
โครงการท่ีใช้ในการพัฒนาครูมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และมีผลการเรียนรู้หลังการ
พัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่แสดงว่าการเสนอเน้ือหาในคู่มือประกอบ
โครงการทุกชุดมีประสิทธิภาพที่สามารถนาไปใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด
ดงั น้ี

6.3.1 ผลการทดสอบเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก ผลจากการวิเคราะห์
ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองจานวน 25 รูป/คน หลังการพัฒนา
(Posttest) จากแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูซ่ึงมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวัตถุประสงค์
การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบท้ังฉบับ 36 ข้อ เพ่ือเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัว

293

แรกซ่งึ หมายถึงจานวนร้อยละของคะแนนเฉล่ยี ของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มคี ะแนนเฉลี่ยเท่ากับ
33.52 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 93.11 ซึ่งมีค่าร้อยละที่สูงกว่า
เกณฑท์ ีก่ าหนดไวร้ อ้ ยละ 90

6.3.2 ผลการทดสอบเปรยี บเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง ผลจากการวเิ คราะห์
ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองหลังการพัฒนา (Post-test) จาก
แบบทดสอบซ่ึงมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีขอ้ สอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบ
ทั้งฉบับ 36 ข้อ เกณฑ์การผ่านแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้จะต้องตอบข้อสอบถูกอย่างน้อย 5 ข้อ
จาก 6 ข้อ ซ่ึงเท่ากับร้อยละ 83.33 ของคะแนนเต็มของแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อ
เปรียบเทยี บกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลังซ่งึ หมายถงึ รอ้ ยละของจานวนครูทีส่ ามารถทาแบบทดสอบ
ได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์ จากจานวนครูทั้งหมด 25 รูป/คน พบว่า มีครูร้อยละ 95.33 ที่สามารถทา
แบบทดสอบได้ผา่ นทกุ วัตถปุ ระสงค์ ซึ่งมีค่าร้อยละทส่ี งู กวา่ เกณฑ์ทกี่ าหนดไวร้ ้อยละ 90

6.3.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูก่อนและหลัง
การพัฒนาด้วยการทดสอบที (t-test) พบว่า ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองท้ัง 25 รูป/คน มีผลการเรียนรู้
หลังการพัฒนาสูงกว่ากอ่ นการพัฒนาอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05

6.4 ประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์ท่ีส่งผลต่อการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้
แบบช้นี าตนเองของนกั เรยี น

จากผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียนหลังการดาเนินตาม
โครงการครูนาความรู้สู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองให้กับนักเรียน เพ่ือแสดงให้เห็นว่า
ภาพโดยรวมของโปรแกรมออนไลน์ท่ีพัฒนาขึ้น เม่ือครูนาเอาไปปฏิบัติตามแล้ว มีประสิทธิภาพท่ี
ส่งผลต่อการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง “หลัง” การทดลองสูงกว่า “ก่อน” การ
ทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่นั้น ผลการทดสอบค่าที (t-test) พบว่า นักเรียนที่เป็นกลุ่ม
ทดลองได้คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ
ท่ีระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมอบรมด้วยตนเองออนไลน์ท่ีประกอบด้วย 2 โครงการ แต่ละ
โครงการมคี ู่มือประกอบน้ัน มีประสทิ ธิภาพที่สามารถจะนาไปใช้เพื่อพัฒนานักเรยี นท่ีเป็นกลุ่มทดลอง
ให้เกิดทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองได้ และสามารถที่จะนาไปเผยแพร่ให้ประชากรที่ เป็น
กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา คือ ครูและนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ใน
สังกัดสานักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สานักงาน
พระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ได้นาไปใชไ้ ด้อย่างมีผลการวิจัยรับรอง

6.5 อภิปรายผล

จากรายงานผลการวิจัยและผลการวิจัยดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยขอนามาอภิปรายผล ดังนี้
6.5.1 จากผลการวิจัยที่พบว่า ผลการทดลองใช้โปรแกรมออนไลน์ในพ้ืนท่ีทดลองกับครู
และนกั เรยี นทเี่ ปน็ กลุม่ ทดลอง เป็นไปตามสมมตฐิ านการวจิ ยั ท่ีตงั้ ไว้ คือ ครูทีเ่ ปน็ กลมุ่ ทดลองมีผลการ
เรียนรู้หลังการดาเนินงานในโครงการพัฒนาความรู้ของครูผู้สอนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
และครูมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

294

รวมทั้งนักเรียนตามโครงการครูนาความรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองให้กับ
นักเรียนมีผลการประเมินทักษะการรู้แบบชี้นาตนเองหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05 น้นั แสดงให้เห็นวา่ โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสรมิ พลงั การเรยี นรู้ของครู
ส่กู ารพัฒนาทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรยี นท่ีเป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาในครงั้ นี้ มี
ประสิทธิภาพตามสมมติฐานการวิจัยที่กาหนดไว้ สามารถนาเอาไปเผยแพร่เพ่ือใช้กับโรงเรียนพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญ Innovation) ได้ทุกโรงท่ัวประเทศ ตามหลักการของการวิจัยและศึกษา ใน
สังกัดสานักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีของประชากรเป้าหมายเพ่ือการเผยแพรน่ วัตกรรมจากการวิจัย
(Target Population for Dissemination of Research พัฒนา (Research and Development :
R&D) ที่วิจัยและพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ข้ึนมา แล้วนานวัตกรรมนั้นไปทดลองใชใ้ นพ้ืนที่ทดลองแห่งใด
แห่งหนึ่งที่มีคุณลักษณะเป็นตัวแทนของประชากรเป้าหมาย เมื่อผลจากการทดลองพบว่านวัตกรรม
นั้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด ก็แสดงว่า สามารถเผยแพร่เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์กับ
ประชากรเป้าหมายในการวิจัยได้ ทั้งน้ี อาจเนื่องจากว่าคู่มือได้ผ่านการประชุมกับผู้ใช้งาน ซึ่งได้ตก
ผลึกข้อมูลหรือรายละเอียดต่าง ๆ ในคู่มือให้มีความเหมาะสมในการใช้งานกับโรงเรียน และครูผู้สอน
กับผู้บริหารโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ดังทัศนะของเกียรติกาจร กุศล และ ทัศนศรี เสมียนเพชร
(2558) ที่เหน็ ว่า การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 จาเป็นอย่างยิ่งทีจ่ ะต้องเรียนรู้ด้วยการช้ีนาตนเอง (self-
directed learning) ซง่ึ จะเหมาะสมสาหรับการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนในยุคของการเปลี่ยนแปลงนี้อย่างยิ่ง
โดยผู้ท่ีสามารถเข้าถงึ และมีข้อมลู ทเ่ี ท่ียงตรงมากกว่าจะได้เปรียบทงั้ ในเชิงการคิด การเชอื่ มโยงประเด็น
การเรียนรู้และการตัดสินใจต่าง ๆ ได้เฉียบคมและเหมาะสมย่ิงข้ึน ผู้เรียนท่ีชอบเรียนรู้ด้วยตนเอง
สามารถเรียนรู้ได้ โดยไม่จากัดเวลาและสถานท่ี หากมีความพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ สาหรับครผู ู้สอนสามารถ
ออกแบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รักการเรียนรู้ด้วยการชี้นาตนเอง ในสถานการณ์
ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงท่เี ต็มไปด้วยข้อมูลขา่ วสาร และช่องทางการเข้าถึงข้อมลู และแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลายเช่นกัน ดังน้ันครูผู้สอนต้องเช่ือว่านักเรียนทุกคนมีศักยภาพและสามารถพัฒนาได้ และ
ต้องปรับเปล่ียนวิธีการสอนจากการบรรยายเป็นการสอนที่สนับสนุน ให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น
ในการเรียนรู้ และรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองให้มากยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะการแสวงหา
ความรู้ด้วยการชี้นาตนเองและสร้างนิสัยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสอดคล้องกับ เขมณัฏฐ์ มิ่ง
ศริ ิธรรม (2552) ท่ีกลา่ วว่า การเรียนรู้ยคุ ใหม่ที่มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทมากข้ึน
การปรับเปล่ียนรูปแบบการเรียนด้วยการนาเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพทาง
การศึกษา โดยใช้ในการสนับสนุนกิจกรรมการเรียน เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ทส่ี งู ขึ้น สง่ิ ที่สาคัญใน
ปัจจุบันไม่ใช่แหล่งที่มาของความรู้หรือแหล่งท่ีจะใช้ในการค้นหาความรู้ แต่เป็นความสามารถ เป็น
กระบวนการท่ีผู้เรียนจะต้องสามารถวิเคราะห์ความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง ได้รู้ถึง
องค์ประกอบของการเรียนสิ่งท่ีต้องการจะได้รับ ในการเรียนทั้งในส่วนของความรู้ท่ีได้รับหรือ
ผลตอบแทนจากความรู้ท้ังในเชงิ นามธรรมและรูปธรรมด้วย รวมถงึ การแสวงหาผู้ใหค้ วามรู้ แหล่งที่มา
ของความรู้นั้น หรือแม้แต่ส่ือที่จะใช้ประกอบในการเรียน รวมถึงการประเมิน ผลการเรียนของตัวเอง
ด้วย ครูผู้สอนจะต้องช่วยให้ผู้เรียนมีการพัฒนาศักยภาพด้านความรับผิดชอบ จูงใจตนเอง และต้อง
แสวงหาวิธีการเรียนที่เหมาะสมกับตนเอง เพื่อนาไปสู่ความสาเร็จอันจะช่วยให้ผู้เรียนมีกระบวนการ

295

เรียนรู้ คิดเป็น ทาเปน็ และแก้ปัญหาเปน็ ซ่ึงส่งิ เหลา่ นีจ้ ะเกิดขึ้นไดเ้ มอ่ื ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการสรา้ งส่ิง
ท่ีมคี วามหมายต่อตนเอง ตนเองชอบ สนใจ และเปน็ ผู้นาตนเองได้ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ทันสมยั ทัน
วิทยาการ เป็นผู้ที่สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมยุคสารสนเทศได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข ช่วย
ส่งเสริมให้เกิดชุมชนผู้เรียน (Community of Learners) และสอดคล้องกับทัศนะของสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี (2560) ท่ีกาหนดหมุด
หมายที่ 12 ว่า ไทยมีกาลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต
ซึ่งเป้าหมายหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 จานวน 2 เป้าหมาย ได้แก่
การพัฒนาคนสาหรับยุคใหม่ โดยการพัฒนาคนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ การพัฒนา
กาลังคนสมรรถนะสูง สอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิต เป้าหมาย สามารถสร้างงาน
อนาคต และสรา้ งผู้ประกอบการอัจฉริยะท่ีมคี วามสามารถในการสร้างและใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
รวมท้ังการมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม ด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งการ
พัฒนาระบบนิเวศเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาทางเลือกในการเข้าถึงการเรียนรู้สาหรับผู้ที่ไม่
สามารถเรียนในระบบการศึกษาปกติได้ ส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ สร้าง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย โดยกาหนดมาตรการจูงใจท่ีเหมาะสมเพ่ือให้ สถาบันการศึกษาหน่วยงานราชการส่วน
ท้องถ่ินองค์กรพัฒนา เอกชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนโดยเฉพาะผู้ประกอบการ startup สร้าง
และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย มีสาระทท่ี ันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนทุกกลุ่ม
ครอบคลมุ ทุกพ้ืนท่ี

6.5.2 ในการวิจัยและพัฒนานี้ให้ความสาคัญกับแนวคิดท่ีว่านวัตกรรมที่พัฒนาข้ึนโดย
กระบวนการวิจัยและพัฒนามีจุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้พัฒ นาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน
และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดขึ้น
มากมาย ท่ีคาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานา
ความรู้เหล่าน้ีสู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงข้ึน ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” น้ัน
สอดคล้องกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีจะต้องเป็นนักการศึกษา เป็นผู้นาทางการเรียนการ
สอน (Speck, 1999; Seyfarth, 1999) และสอดคล้องกับแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพของ
บุคลากรทางการศึกษา ท่ีกล่าวว่า การทาหน้าท่ีของผู้บริหารโรงเรียนเพ่ือพัฒนาครูผู้สอนจะต้อง
คานึงถึงความมีประโยชนท์ ่ีส่งผลตอ่ เป้าหมายสูงสดุ ของการจัดการศึกษา (Ultimate Goal) ดว้ ย ซ่ึงก็
คือ “นักเรียน” (Students) (Gusky, 2000; Hoy & Miskel, 2001) ดังน้ัน การดาเนินงานวิจัยโดย
กาหนด 2 โครงการ คอื 1) โครงการพฒั นาความรู้ของครูผู้สอน และ 2) โครงการครผู ู้สอนนาความรู้สู่
การพัฒนานักเรียน จึงสอดคล้องกับแนวคิดของการวิจัยและพัฒนา สอดคล้องกับบทบาทของ
ผู้บริหารสถานศึกษา และสอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพของบุคลากรทางการศึกษา ทัศนะ
ดังกล่าวนี้ สอดคล้องกับทัศนะของ พระสมุห์นริศ นรินฺโท (2562) ที่กล่าวว่า การพัฒนาคุณภาพครู
เป็นส่ิงท่ีได้รับความสนใจในการปฏิรูปการศึกษามาตลอด จนกระทั่งถึงยุคท่ีการศึกษากาลังให้
ความสาคัญกับการปฏิรูปการศึกษาเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 ด้วยสภาพสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่าง
รวดเร็ว สังคมโลกกลายเป็นสังคมความรู้ (Knowledge Society) หรือสังคมแห่งการเรียนรู้
(Learning Society) ครูหรือบุคลาการทางการศึกษาและองค์กรทางการศกึ ษา จึงต้องมกี ารปรับตัวให้
เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) การเรียนการสอนต้องมกี ารปรับเปล่ียนรูปแบบ

296

ให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันและอนาคต การปฏิรูปการศึกษาเข้าสู่
ศตวรรษที่ 21 มีจุดเน้นที่ผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นคุณภาพของผู้เรียน จึงทาให้บทบาทของครู
เปลี่ยนแปลงจากครูผู้สอน ผู้ให้ความรู้ กลายเป็นครูผู้อานวยความสะดวก ซ่ึงบทบาทของครูและ
นักเรยี นในศตวรรษท่ี 21 มีการเปลี่ยนแปลงท้ังทักษะ คุณลักษณะ และรูปแบบการสอนท่ีนาไปสู่การ
พัฒนานักเรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สาคัญของการศึกษา สอดคล้องกับทัศนะของ (Sahin, 2009) ที่
กล่าวว่า คนต้องมีทักษะการคิดระดับสงู เรียกว่าทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อแก้ปัญหา ใหม่
ของโลกใหม่ ทักษะการเรียนรู้เหล่าน้ีประกอบด้วย ทักษะสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะการคิด
และการแกป้ ัญหา ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล และทักษะการช้นี าตนเอง

6.5.3 กระบวนการวิจัยและพัฒนาในงานวิจัยนี้ให้ความสาคัญกับบทบาทและการทา
หน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนที่ต้องมีภาวะผู้นาสูง โดยเฉพาะทางด้านวิชาการ ดังท่ี Caldwell &
Spinks (1990) และ Hoy & Miskel (2001) เห็นพ้องกันว่าผู้บริหารโรงเรียนจะต้องใส่ใจต่อการ
พัฒนาครูเพ่ือจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสรมิ การเรียนรู้ของนักเรียน และการพัฒนาทักษะพ้ืนฐานของ
นักเรียน ดงั จะเห็นได้จากการกาหนดกรอบแนวคดิ การวิจยั ดว้ ยการพฒั นาครู แล้วครูนาความร้ทู ่ีได้ไป
พฒั นานักเรยี น ซ่ึงการวิจัยท่ใี ห้ความสาคัญกับบทบาทและการทาหน้าทข่ี องผ้บู ริหารโรงเรยี นดงั กลา่ ว
น้ี ดังทัศนะของ สัตตบุษย์ โพธิรุท และ ไชยา ภาวะบุตร และรัชฎาพร งอยภูธร (2565) ท่ีกล่าวว่า
การจัดการศกึ ษาเป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาประเทศให้เข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 และการจัดการศึกษายัง
เป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนองค์กรและภาคส่วนอื่น ๆ ให้มีการพัฒนาอีกด้วย เป้าหมายคือให้
ผู้เรียนมีคุณลักษณะเป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สังคม
และประเทศชาติ ซึ่งความสาเร็จของการจัดการศึกษา ที่กล่าวมานั้นล้วนเกิดขึ้นท่ีโรงเรียน บุคคลท่ี
เป็นปัจจัยสาคัญสคู่ วามสาเร็จเหล่านี้คอื ผู้บริหารโรงเรยี น ซึ่งผบู้ ริหารจะต้องบริหารจดั การทรัพยากร
ทางการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล เพราะความสาเร็จหรือความล้มเหลวทางการจัด
การศึกษาน้ันส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับผู้บริหาร ดังนั้นผู้บริหารจึงเป็นตัวแปรสาคัญในการจัดการศึกษาให้มี
คุณภาพ ผู้บริหารโรงเรียนในยุคศตวรรษ ที่ 21 จึงควรมีความรู้ความสามารถ ทักษะและ
ประสบการณ์ทางการบริหารการศึกษาเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้ทันสมัย และเหมาะสมกับการ
เปลย่ี นแปลงของโลก ซึ่งสอดคล้องกบั ทัศนะของ สมานจิต ภริ มย์รื่น และทักษิกา ชชั วรตั น์ (2560) ที่
กล่าวว่า การบริหารในสถานศึกษา ผู้บริหารเป็นผู้ท่ีสนับสนุนและส่งเสรมิ ให้ครูนานโยบายและความ
มงุ่ หมายของการจัดการศึกษาตลอดจนหลักสูตรและวิธกี ารสอนต่าง ๆ ไปใช้ ผู้บริหารเป็นผู้นาในการ
บริหารงานของสถานศึกษาในทุกด้าน อาจกล่าวได้ว่า โรงเรียนจะดีหรือไม่ข้ึนอยู่กับผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ โดยอาศัยหลักการและทฤษฎีทางการบริหารมาใช้ให้เกิดประโยชน์ รู้จักขอบข่ายหน้าท่ี
ของงานที่ต้องปฏิบัติ ตลอดจนมีความสามารถในการนาความรู้ไปปรับใช้ในงานได้เป็นอย่างดี และ
สอดคล้องกับทัศนะของวิจารณ์ พานชิ และ ปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร (2563) ท่ีกล่าวว่า ผู้บริหารท่ดี ีตอ้ ง
รับผิดชอบ 4 เรื่อง (1) ส่งเสริม พัฒนา และประเมินระบบการพัฒนาครู เพื่อยกระดับผลลัพธ์การ
เรียนรู้ของนักเรียน (2) กาหนดเป้าหมายการพัฒนาสมรรถนะของนักเรียน วัดความก้าวหน้า และ
พัฒนาต่อเน่ือง (3) ใช้ทรัพยากรอย่างมียุทธศาสตร์ โฟกัสเป้าที่การเรียนรู้ของครูและนักเรียน (4)
สรา้ งหุน้ ส่วนกบั ชุมชม องคก์ รทางสังคม และมหาวิทยาลัยเพือ่ ร่วมกนั พัฒนานักเรยี น

297

6.5.4 ในการวิจัยและพัฒนานี้ ให้ความสาคัญกับกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาวิชาชีพ
ครู คือ เป็นการทาบางอย่างเพื่อให้ครูได้รับเนื้อหามากข้ึน ให้มีศักยภาพที่จะทาการสอนได้อย่างมี
ประสิทธิผลมากข้ึน โดยเป็นการกระทาที่คานึงถึงผลที่จะเกิดข้ึนกับผู้เรียน ซึ่งความสาคัญของ
กระบวนใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพของครูดังกล่าวน้ี สอดคล้องกับทัศนะของนารีรัตน์ รักวิจิตรกุล
(2560) ท่ีกล่าวว่า การพัฒนาวิชาชีพครูเป็นการเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่องของครู จึงต้องออกแบบกิจกรรม
พัฒนาวิชาชีพท่ีบูรณาการกับการทางาน เพ่ือให้ครูได้ปรับปรุงการสอนที่จะส่งผลต่อการพัฒนา
ศกั ยภาพ การเรียนรู้ของนกั เรียน ความสาเร็จของทุกรูปแบบ ทุกกิจกรรมของการพัฒนาวชิ าชีพครูจา
เป็นท่ีครูต้องมีพันธสัญญาต่อการเรียนรู้ท่ีกระตือรือร้นใน การพัฒนาตนเอง การจัดสรรเวลา และ
ได้รับการ สนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ จากผู้บริหาร เพื่อท่ีครูสามารถนาสิ่งที่ตนได้เรียนรู้สู่การปฏิบัติ
สอนในงานประจา และได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่าง สม่าเสมอจากเพ่ือนร่วมงาน และสอดคล้องกับ
ทศั นะของพระสมหุ ์นริศ นรินโท (2562) ท่ีกลา่ วว่า ครไู ทยในอนาคตยังต้องมคี วามรู้จรงิ ในเร่ืองที่สอน
และต้องมีเทคนิควิธีการให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมเช่ือมโยง
ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้นักเรยี น ทางานเป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ท่ี
เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ และแสดงออกซ่ึงความรักและความห่วงใยต่อ
นกั เรียน

6.5.5 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมในการวจิ ยั ครั้งน้ี ใหค้ วามสาคัญกับโปรแกรมออนไลน์
(Online Program) ตามยุคสมัยและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แทนโปรแกรมท่ีเป็นสื่อสิ่งพิมพ์
(Printed Media) ท่ีเคยเป็นมา เน่ืองจากโปรแกรมออนไลน์หรือส่ือออนไลน์มีความสะดวกและ
ประหยัดต่อการนาไปใช้ประโยชน์ในวงกว้าง ดังทัศนะของ ธนะวฒั น์ วรรณประภา (2560) ท่ีกล่าวว่า
สอื่ สังคมออนไลน์กับการศึกษา เป็นเครื่องมือหนง่ึ ที่ทางานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความสามารถใน
การติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีบทบาทกับการศึกษาท้ังทางด้านการเรียน การ
สอน และการบรหิ ารจดั การ สามารถนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ได้ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งแนวโน้มในอนาคตสื่อสังคมออนไลน์ จะช่วยให้ผู้เรียนค้นหา
ความรู้ต่าง ๆ ได้โดยไร้ขีดจากัดในเรื่องของเวลา และสถานที่ สอดคล้องกับทัศนะของวราพร ดาจับ
(2562) ที่กล่าวว่า การเรียนรู้ในปัจจุบันจะเน้นที่การลงมือปฏิบัติ จึงควรให้การส่งเสริมการลงมือ
กระทา และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยทักษะการคิดอย่างมีขั้นตอน ร่วมกับการใช้
นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายและได้รับองค์ความรู้เพื่อพัฒนาอาชีพอย่างมี
ประสิทธิภาพ ซ่ึงจะชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรไู้ ดต้ ลอดชีวิต

6.5.6 การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียนมีความสาคัญสาหรับ
ศตวรรษท่ี 21 ดังทัศนะของเกียรติกาจร กุศล และ ทัศนศรี เสมียนเพชร (2558) ที่กล่าวว่า ทักษะ
การเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง เป็นสิ่งท่ีได้เรยี นรู้ในส่ิงท่ีตนเองสนใจตามเป้าหมายของตนเองมากกว่าการ
ใหผ้ ้อู ่ืนชน้ี า และกาหนดเป้าหมายไว้ให้เป็นการเรียนรู้ ที่นักศกึ ษาต้องรับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง
ให้อิสระและมีความยืดหยุ่นแก่นักศึกษาที่มีความแตกต่างกัน เร่ิมจากการให้นักศึกษามีความริเร่ิมใน
การวิเคราะห์ และตดั สินใจว่าต้องการเรยี นรูปสง่ิ ใด กาหนดเป้าหมายของการเรียนรู้รวมทั้งระบุวธิ กี าร
ค้นคว้าที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ และสามารถตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ นักศึกษาจะเป็นผู้
ควบคุม กากับ และจัดการต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยนักศึกษาที่มีความพร้อมจะสามารถเรียนรู้

298

ด้วยการช้ีนาตนเองได้ดี เห็นคุณค่าของเวลาในการแสวงหาความรู้ มีความเป็นตัวของตัวเองสูง มี
ความสามารถในการเลือกทรัพยากรการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนท่ีดดี ้วย ความสามารถในการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองมีลักษณะสาคัญคือ เปิดโอกาสต่อการเรียนรู้
มีมโนมติต่อการเป็นผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ มีความคิดริเร่มิ และมีอสิ ระในการเรยี นรู้ ยอมรับในสิ่งท่ี
เกิดข้ึนจากการเรียนรู้ของตนเอง รักในการเรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มองอนาคตในแง่ดี มี
ความสามารถในการใช้ทักษะทางการศึกษาและการเรียนรู้ในการแก้ปัญหา ซ่ึงสอดคล้องกับทัศนะ
ของวิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล (2564) ที่กล่าวว่า ทักษะการเรียนรู้ด้วยการนาตนเองเริ่มต้น
จากความสนใจใฝ่รู้ (curiosity) ประกอบกับการมีวินัย (discipline) และความรับผิดชอบ นาตนเอง
ไปสู่การเรียนรู้อย่างมีความหมาย รู้จักการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างไม่มีที่สิ้นสุด นาไปสู่การ
สร้างวัฒนธรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต ซึ่งเป็นวัฒนธรรมท่ีสาคัญและจาเป็นต่อการพัฒนาตนเอง ในยุค
ปัจจุบัน สอดคล้องกับการศึกษาของ Posner (1990) ที่กล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการรับรู้
ความสามารถทางการเรียน และการปรับตัวของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมแบบเปิด การพัฒนาการ
เรียนรดู้ ้วยตนเอง ทัศนคติต่อการเรียนและลักษณะนิสยั จะค่อยเปลยี่ นแปลงในทิศทางเดียวกัน และมี
ความสัมพันธ์กันในทางบวกกับการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

6.6 ข้อเสนอแนะ

6.6.1 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการนาไปใช้ มีดงั นี้

6.6.1.1 การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการ
จัดการเรียนการสอนได้ในทุกระดับช้ัน และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยการปรับกิจกรรม รูปแบบ
การเรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกบั ระดับช้ัน หรือกลมุ่ สาระที่จะนาไปใช้

6.6.1.2 ครูควรนารูปแบบการใช้โปรแกรมออนไลน์เพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอนใน
วิชาต่าง ๆ นาไปพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองแก่นักเรียน รวมทั้งทักษะอ่ืน ๆ ที่สาคัญใน
ศตวรรษที่ 21 ซงึ่ จาเป็นอย่างย่งิ ที่จะตอ้ งไดร้ ับการเรียนรู้และพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง

6.6.1.3 ผู้บริหารโรงเรียน ควรสนับสนุนส่งเสริมให้ครูไดจ้ ัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เชิงบูรณาการ โดยใช้โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเป็นสื่อในการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ เพื่อท่ีผู้เรียน
สามารถท่ีจะได้แลกเปลยี่ น เรียนรู้รว่ มกับครผู ูส้ อนหรือผ้เู รียนบนเครือข่ายออนไลน์

6.6.1.4 สานักงานเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสน
ศกึ ษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรสนับสนุนใหม้ กี ารจัดอบรม พฒั นาศกั ยภาพของครูและ
บุคลกรทางการศึกษา ในทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองโดยใช้สื่อออนไลน์และนวัตกรรมการศึกษา
รูปแบบอื่น ๆ ดว้ ย

6.6.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ัยต่อไป มดี งั น้ี
6.6.2.1 การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ในงานวิจยั นี้ ครูมีบทบาทสาคัญ ซึ่งการ

วิจัยในครั้งต่อไปควรออกแบบการทดลองโดยเน้นการฝึกอบรม (Training) กจิ กรรมการปฏิบัติร่วมกัน
โดยใช้ผู้ช่วยสอนเป็นหลัก เพื่อให้เกิดผลต่อผ้เู รียนอยา่ งชัดเจนในการพฒั นาการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง

6.6.2.1 ควรมีการศึกษารูปแบบโปรแกรมออนไลน์ในงานวิจัยนี้ ไปใช้กับผู้เรียนท่ีมี
ความสามารถต่างกัน เพื่อหาแนวทางในการเสริมสร้างความสามารถของผู้เรียนให้มากข้ึน

บรรณานุกรม

1. ภาษาไทย

กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.

กติ ติ ธีรศานต์. (2539). เทคนิคการบรหิ ารโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ม.ต้น-ม.ปลาย.
กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.

เกยี รติกาจร กุศล และ ทัศนศรี เสมียนเพชร. (2558). ความสามารถในการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ใน
การจดั การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สาหรับนกั ศึกษาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 3 กรกฎาคม-
กนั ยายน 2558

เขมณัฏฐ์ ม่งิ ศิริธรรม. (2552). การเรยี นรูด้ ้วยการนาตนเองบนเครอื ข่าย. วารสารศึกษาศาสตร์.
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ปที ี่ 32 ฉบับท่ี 1 มกราคม-มีนาคม 2552.

คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนญู สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร. (2560). รฐั ธรรมนญู แห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สานักการพิมพ์ สานักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร.

ชฎาภรณ์ จันทร์ประเสรฐิ และ เสาวภา วิชาดี. (2555). การปรบั วธิ ีเรียนเปลยี่ นวิธสี อนเพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
ทกั ษะการเรียนรดู้ ้วยการนาตนเองของนักเรียน. นักบริหาร ปที ี่ 32 ฉบับที่ 2 มกราคม -
มถิ ุนายน 2555 หน้า 143-149.

ธนะวฒั น์ วรรณประภา. (2560). สอ่ื สงั คมออนไลนก์ บั การศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลัย
มหาสารคาม. ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มนี าคม พ.ศ. 2560

นภาพร สงิ หทตั . (ม.ป.ป.). คณุ ลกั ษณะที่ดขี องเคร่ืองมือในการวจิ ัย. สบื คน้ เม่ือ 22 ตุลาคม 2564
จาก https://bit.ly/3E35x09

นารีรัตน์ รักวิจติ รกลุ . (2560). การพฒั นาวิชาชีพครู. วารสารศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ปที ่ี 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2560

ปรีดี ปลื้มสาราญกิจ. (2560). ความสาคญั ของทักษะในศตวรรษท่ี 21. วารสารวชิ าการ. คณะ
มนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค. 4(1), 56-86

เปรื่อง กมุ ุท. (2519). เทคนิคการเขยี นบทเรียนโปรแกรม. กรงุ เทพฯ : คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ.

พรทิพย์ เกิดถาวร. (2563). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ LMS
Moodle สาหรับนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ
ชัยภมู ิ. วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์. ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-เมษายน 2563)

พระครูพนมปรีชากร. (2561). อนาคตภาพของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ระหว่าง
พ.ศ. 2559-2573. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ปีที่ 8 ฉบับท่ี 3 กันยายน-ธันวาคม
2561

300

พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโต). (2546). พุทธธรรม ฉบบั ปรับปรงุ และขยายความ. (พิมพ์ครั้งท่ี 11).
กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั .

พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ (ฉลอง), บรรจบ บรรณรุจ.ิ (2557). ยทุ ธศาสตร์เชงิ พทุ ธสาหรับผบู้ รหิ าร
โรงเรยี นพระ ปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา. วารสารครศุ าสตรป์ ริทรรศน์. คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. 1(2). 93-102

พระสมุหน์ ริศ นรินฺโท. (2562). การพฒั นาครเู พื่อคุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสาร
บณั ฑติ ศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. ปีที่ 6 ฉบับท่ี 3 ประจาเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2562

พทุ ธทาสภกิ ขุ. (2500). ศกึ ษาธรรมะอยา่ งถูกวธิ ี หรือ ธรรมวิภาค นวกภมู ิ. กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์
สุขภาพใจ. สบื ค้นเมื่อ 28 ตลุ าคม 2562, จาก https://1th.me/Q6fb

พทุ ธทาสภิกขุ. (2525). พทุ ธศาสนากบั คนร่นุ ใหม่และสังคมไทยในอนาคต. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์
สุขภาพใจ.

มนตรี แย้มกสิกร. (2551). เกณฑ์ประสิทธภิ าพในงานวิจยั และพัฒนาสอ่ื การสอน: ความแตกต่าง
90/90 Standard และ E1/E2 (How to use efficiency criterion in media research
and development : The Difference between 90/90 Standard and E1/E2 ).
วารสารศกึ ษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั บูรพา. 19(1), 1-16.

เยาวดี รางชยั กุล วิบูลย์ศรี. ( 2552 ). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ.์ (พิมพ์ครั้งท่ี 8).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

โยธิน แสวงดี. (ม.ป.ป.). แผนงานวิจยั และชุดโครงการวิจยั : การเขียนโครงการวจิ ยั แบบบูรณาการเพือ่
ขอทุนสาหรบั การวิจยั เชิงปฏิบัติการในพน้ื ท่ี (Area Based Research).
https://rdo.psu.ac.th/th/images/D3/PR-news/2563/Research/YOTIN-
AreaBasedResearch.ppt

ราชบณั ฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพทศ์ าสนาสากล ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน. (พิมพ์ครงั้ ที่ 2
แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ). กรุงเทพฯ: อรุณการพมิ พ์.

โรงเรียนประภสั สรวทิ ยา วดั ศรีนวล. (2562). รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (Self-
Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2562. ขอนแก่น : กลมุ่ งานงานวิชาการ.
(เอกสารอดั สาเนา)

ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ. (2543). เทคนคิ การวัดผลการเรียนร.ู้ (พมิ พ์คร้ังท่ี 2). กรงุ เทพฯ :
สวุ รี ิยาสาส์น.

วราพร ดาจบั . (2562). สอ่ื สังคมออนไลน์กับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21. วารสารศลิ ปะศาสตร์.
มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 2 ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562

วิจารณ์ พานชิ และ ปยิ าภรณ์ มัณฑะจิตร. (2563). การศึกษาคุณภาพสงู ระดับโลก. กรุงเทพฯ: มลู นิธิ
สยามกมั มาจล.

วิจารณ์ พานชิ . (2555). วถิ ีสร้างการเรยี นรู้เพื่อศิษยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนธิ ิสดศรี-สฤษดิ์วงศ.์
วชิ ัย วงษใ์ หญ่ และ มารตุ พัฒผล. (2564). การเรยี นรแู้ บบนาตนเองเชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative self-

directed learning). กรุงเทพฯ: ศูนยผ์ นู้ านวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

301

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2561). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา: แนวคิด แนวปฏิบัติ และกรณีศึกษา.
E-Book. (พมิ พ์ครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ: หจก. ทพิ ยวสิ ุทธิ์.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2561). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา: แนวคิด แนวปฏิบัติ และกรณีศึกษา.
E-Book. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 4). กรุงเทพฯ: หจก. ทิพยวสิ ุทธิ์.

วไิ ลลกั ษณ์ รัตนเพียรธมั มะ และปิยะนนั ท์ พร่งึ น้อย. (2559). นวัตกรรมการศึกษาในการพฒั นาทกั ษะ
เพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21. วารสารร่มพฤกษ์. มหาวทิ ยาลัยเกรกิ ปที ี่ 34 ฉบับท่ี 3
กันยายน-ธนั วาคม 2559

ศริ ชิ ยั กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และดิเรก ศรสี ุโข. (2551). การเลอื กใชส้ ถิตทิ ี่เหมาะสม
สาหรับการวิจยั . (พมิ พ์คร้งั ท่ี 5). กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภธิดา พรหมพยัคฆ์, สุภาณี เส็งศรี, ชัยยงค์ พรหมวงศ์, และมนตรี แย้มกสิกร, (2561).
องค์ประกอบของการพัฒนาครูออนไลน์วิถีพุทธ เพ่ือเสริมสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร. วารสารวิทยบริการ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 3
กันยายน-ธันวาคม 2561

สมานจิต ภริ มย์รน่ื และ ทักษิกา ชชั วรัตน์. (2560). บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ในการส่งเสรมิ
ใหผ้ เู้ รียน มที กั ษะการเรียนรูท่ีตองการในศตวรรษท่ี 21. วารสารการพยาบาล การ

สาธารณสุขและการศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ปท่ี 18 ฉบับที่ 1
มกราคม-เมษายน 2560
สตั ตบษุ ย์ โพธิรทุ และ ไชยา ภาวะบุตร และ รชั ฎาพร งอยภธู ร. (2565). ทักษะการบรหิ ารของ
ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นในศตวรรษท่ี 21 ทีส่ ่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรยี น สังกดั สานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 21. วารสารการบรหิ ารการศกึ ษาและภาวะผูน้ า มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสกลนคร ปที ่ี 10 ฉบับที่ 38 มกราคม-มนี าคม 2565
สายสุดา ขันธเวช. (2561). ทักษะแสวงหาความรดู้ ว้ ยตวั เอง. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2564, จาก
https://bit.ly/2LgIGs9
สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรฐั มนตรี (2560).
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564).
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี (2564).
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566-2570).
สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2563). โครงการวิจยั /ชุดโครงการวิจัย.
https://nriis.go.th/FileUpload/AttatchFile/News/256110291020186004256.docx
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2546). คูม่ ือปฏบิ ตั ิงานสานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ
2546. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก์ รมการศาสนา.
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2552). แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั ิการการพัฒนาการศกึ ษา
โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. 2553-2562. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2555). ประกาศกรรมการการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนก
สามัญศกึ ษา ว่าดว้ ยกลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา พ.ศ. 2555.

302

สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2557). คู่มอื ปฏิบัตงิ านโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามญั
ศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ.

สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2563). ประกาศประธานกรรมการการศึกษาพระปริยตั ิธรรม
แผนกสามญั ศึกษา.

สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2563). แผนการจัดการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม. กรุงเทพฯ : โรง
พมิ พ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2557). รายงานการศึกษาวจิ ัยเปรียบเทยี บ
เรอ่ื ง การดาเนินงานดา้ นนโยบายการศึกษาระดับชาติในกลุม่ ประเทศอาเซยี นและอาเซียน
บวกสาม. กรุงเทพฯ: บริษทั พริกหวานกราฟฟิค จากัด.

สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษากระทรวงศึกษาธกิ าร, (2561). สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวที
สากล ปี 2561 (IMD 2018). กรงุ เทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จากดั .

สชุ าติ ประสทิ ธิ์รัฐสนิ ธ.์ุ (2546). ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์คร้งั ที่ 12). กรงุ เทพฯ:
บริษัทเฟื่องฟา้ พรนิ้ ติ้ง.

สุรางค์ ธรรมโวหาร และคณะ, (2559). การพฒั นารปู แบบการสอนด้วยการชน้ี าตนเองเพ่อื เสริมสร้าง
ทกั ษะการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ (ESPA Model) สาหรับครวู ชิ าชีพระดบั ปรญิ ญาตรี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม. วารสารวิจัยทางการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2559

2. ภาษาองั กฤษ

Aiken, L. (1985). Poychological testing and assessment (5th ed.). Baston: Allyn and
Bacon.

Alternatives to School. (2019). Alternatives to school welcome to the world of self-
directed education 2019. Retrieved July 16, 2019, from
https://bit.ly/1oThCbA

Amadi, E.C. (2008). Introduction to educational administration; A module. Harey
Publications.

Andriotis, N. (2017).Benefits of self-directed learning. Retrieved July 17, 2019,
https://bit.ly/2Lx1F0h

Ark, T, V. (2016). Developing self-directed learners. Retrieved August 5, 2019, from
https://bit.ly/2MEEXD2

Assignment Bay. (2017). Benefits of self-directed learning. Retrieved July 17, 2019,
from https://bit.ly/2Z3Y6Sm

Atkinson,T,H. (2015). Five characteristics of self-directed learners. Retrieved July 29,
2019, from https://bit.ly/2Y4vUCy

Bamte. (n.d.). Educational administration - Meaning, authoritarian and democratic
educational management. Retrieved from

303

http://bawmte.blogspot.com/2018/05/educational-administration-
meaning.html
Best, John W. (1997). Research in Education. .ed., Englewood Cliffs, New Jersey.

Prentice-Hall, Inc.
Boles, B. (n.d.). What is self-directed learning?. Retrieved July 11, 2019, from

http://www.offtraillearning.com/what-is-sdl/
Briggs, S. (2015). 20 Steps Towards More Self-Directed Learning. Retrieved August 23,

2019, from https://bit.ly/3gtclb6
Brookfield, D.S. (1985). Understanding self-directed learning. Retrieved July 14, 2019,

from http://infed.org/mobi/self-directed-learning/#intro
Bull, B. (2013). 5 Simple Steps to Developing a Self-Determined Learning Plan.

Retrieved August 25, 2013, from https://bit.ly/3hneUNg
Carter, T. (2009). What is self-directed learning. Retrieved July 14, 2019, from

https://www.slideshare.net/tjcarter/what-is-self-directed-learning
Caruso, S, J. (2011). Characteristics of self-directed learners. Retrieved July 25, 2019,

from https://bit.ly/2Yr1hGA
Centre for Teaching Excellence/. (n.d.). Self-directed learning: A four-step process.

Retrieved July 29, 2019, from https://bit.ly/2Gp2Yf3
Chaichanawirote U. & Vantum, C. (2017). Evaluation of Content Validity for Research

Instrument. Journal of Nursing and Health Sciences. 11 (2), 105-111.
Churches, A. (2010, January). 21st century pedagogy. Retrieved from

https://www.researchgate.net/figure/21-st-Century-Pedagogy-Churches-A-
2008_fig5_307753183
Cobb, J. (2019). 15 Ways of the successful self-directed learner. Retrieved August 4,

2019, from https://bit.ly/2u8skqw
Design Your Homeschool. (2006). Encouraging self-directed learning in a homeschool

setting. Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2ZwHzq7
Dhammei, T. (2022, January 15). Educational administration: Concepts of

educational administration and principles of educational administration.
Retrieved from https://onlinenotebank.wordpress.com/2022/01/15/concepts-
and-principles-of-educational-administration/
Dickinson, K. (2018). 7 Habits of the best self-directed learners. Retrieved August 5,

2019, from https://bigthink.com/personal-growth/self-directed-learning
Dobbs, R. (2017). 5 Step DIY Self-Directed Learning Plan. Retrieved August 25, 2013,

from https://bit.ly/31qJMH9
Driscoll, M. (2022, September 7). Education in the 21st century.

https://thinkstrategicforschools.com/education-21st-century/

304

Ecu. (2019). What is a self-directed learner?. Retrieved July 14, 2019, from
https://ecu.au.libguides.com/slide/m1-

Edge, K. (2000). School-based management. Paper for the Education Reform &
Management Thematic Group, HDNED, World Bank [August 2000].
http://web.worldbank.org/archive/website00238I/WEB/PDF/SBMQ_AF.PDF

Garland, W.A. (1985). What is self-directed learning?. Retrieved July 14, 2019, from
https://bit.ly/2wnQxK3

Gibbons, M. (2016). What is self-directed learning?. Retrieved July 10, 2019, from
https://www.selfdirectedlearning.com/

Guskey, T.R. (2000). Professional development in education: in search of the optimal
mix. In T.R. Guskey, and M. Huberman (eds.), Professional development in
education: New paradigms and practices. New York: Teachers College Press.

Gusky, T.R. (2000). Evaluating professional development. CA: Corwin Press, Inc.

Gutierrez, K. (2 0 1 7 ) . The advantages of self-directed learning in the workplace.
Retrieved July 16, 2019, from https://bit.ly/2Z2arX3

Hamdy, M. (2018). Characteristics of self-learning. Retrieved July 25, 2019, from
https://www.vapulus.com/en/characteristics-of-self-learning/

Harvey, A. (2019). Self-Directed Learning – The Steps to Successful Outcomes.
Retrieved August 24, 2019, from https://bit.ly/3j74rpy

Help Teaching. (2019). The importance of self-directed learning. Retrieved July 16,
2019, from https://bit.ly/30F7V9E

Holz, S. (2017). Why it’s important to support self-directed learning in the
classroom. Retrieved July 16, 2019 , from https://bit.ly/2SCTCQp

Hopkins, K.D. & Stanley, J. C. (1983). Educstional and psychological measurement

and evaluation (6th ed.). Englewool Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.

Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Educational administration: Theory, research, and
practice. 6th edition. NY: McGraw-Hill.

IGI Global Disseminator of Knowledge. (1988). What is self-directed learning.
Retrieved July 14, 2019, from https://bit.ly/2JKSDcR

Impact Teacher. (2016). Promoting self-directed learners in classrooms. Retrieved
July 25, 2019, from https://bit.ly/2PMy160

Kashyap, D. (n.d.). Educational administration: Meaning, nature and other details.
Retrieved from https://www.yourarticlelibrary.com/educational-
management/educational-administration/educational-administration-meaning-
nature-and-other-details/63730

Khiat, H. (2015). Measuring self-directed learning : A Diagnostic tool for adult learners.
Journal of University Teaching & Learning Practice. 12 (2) : 3-5

305

Meredith , L.C. (1989). What is self-directed learning?. Retrieved July 14, 2019, from
https://www.ericdigests.org/pre-9213/self.htm

Mezirow, J. (1985). A critical theory of self-directed learning. Retrieved July 14, 2019,
from https://bit.ly/30LRk6n

Mocker and Spear. (1982). What is self-directed learning?. Retrieved July 14, 2019,
from https://bit.ly/3bNklol

Naiyatip Teerapuk (n.d.). Research tools. Retrieved October 25, 2021 from
http://naiyatip-research.blogspot.com/p/research-tools.html

Nicora, R. (2019). Four simple ways to encourage self-directed learning. Retrieved
August 5, 2019, from https://bit.ly/31hZTnq

Noelle, S. (2018). What is it? how does it work?. Retrieved July 14, 2019, from
http://self-directed.education/

Nucum, K, N. (2019). Eight traits of a self-directed learner. Retrieved July 25, 2019,
from https://bit.ly/2Zc0hmW

Petro, L. (2017). How to put self-directed learning to work in your classroom.
Retrieved July 10, 2019, from https://edut.to/2oi1d5X

Polit, D. F. & Beck, C. T. (2012). Nursing research: Generating and assessing evidence
for nursing practice. Philadelphia, PA: Wolters Kluwer Health / Lippincott
Williams& Wilkins.

Posner, F.G. (1990). A study of self directed learning, perceived competence and
personal orientation among students in an open alternative high school,
Dissertation Abstracts International-A. 53(3): 813. Available: UMI ; Proquest-
Dissertation Abstract.

Professional Learning Board. (2019). Encouraging self-directed learning in classrooms.
Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2ME5QqE

Rodney, S. (2007). Evaluating the self-directed learning readiness of engineering
undergraduates : A Necessary precursor to project-based learning. World
Transactions on Engineering and Technology Education. 6(1) : 61

Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the
assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of
Educational Research, 2, 49-60.

Sahin, M.C. (2009). Instructional design principles for 21st century learning skills.
Procedia Social and Behavioral Sciences, 1, 1464-1468.

Self-Directed Learning. (n.d.). The benefits of self-directed learning. Retrieved July
20, 2019, from https://bit.ly/2GlTvUq

306

Seyfarth, J.T. (1999). The Principal: New leadership for new challenges. NJ: Prentice

Hall.

Speck, M. (1999). The principalship: Building a learning community. NJ: Prentice Hall.
Target Jobs. (n.d.). Education administrator: job description. Retrieved from

https://targetjobs.co.uk/careers-advice/job-descriptions/education-
administrator-job-description
The Teachers Council of Thailand. (n.d.). Educational professional standards.
Retrieved from https://maekongwa.thai.ac/client-
upload/maekongwa/download/.pdf
Thesis Thailand. (2020, November 19). ความหมายของ t-test Dependent และ t-test

Independent. Retrieved October 22, 2021, from https://bit.ly/2Zec0Xa

Timpau, C. (2 0 1 5 ). Importance of self-directed learning. Retrieved July 1 6 , 2 0 1 9 ,
from https://bit.ly/2JSWvbz

Turner, R. & Carlson, L.A. (2003). Indexes of item-objective congruence for
multidimensional items. International Journal of Testing 3(2):163-171.
DOI:10.1207/S15327574IJT0302_5

UCLA: Statistical Consulting Group. (2016, August 22). What Does Cronbach’s Alpha
Mean?. Retrieved June 30, 2021, from
https://stats.idre.ucla.edu/spss/faq/what-does-cronbachs-alpha-mean/

University of Bridgeport. (2022, May 19). What does an education administrator do?
Retrieved from https://www.bridgeport.edu/news/what-does-an-education-
administrator-do/

Vaivada, S. (2012). Characteristics of the student of self-directed learning in the
context of lifelong learning. Retrieved July 21, 2019, from
https://bit.ly/2LAXhxg

Wabisabi Learning. (2018). How to encourage self-directed learning practices in
students. Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2YI4UUO

Weimer, M. (2010). Developing students’ self-directed learning skills. Retrieved August
3, 2019, from https://bit.ly/2NWM3VQ

Western Academy of Beijing. (2 0 1 7 ) . Young students benefit from self-directed
learning days. Retrieved July 17, 2019, from https://bit.ly/2xPTRxT

Williamson S., and Seewoodhary R. (2007). Student evaluation of the usefulness of
the self-rating scale of self-directed learning tool in the FdSc in Health and
Social Care Course. Journal of Healthcare Communications.14 (2) : 79-82

Wisdom Max Center Company Limited. (2015). การเรยี นรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult learning)
คืออะไร มหี ลักการอย่างไร. Retrieved June 19, 2021, from
https://www.wisdommaxcenter.com/detail.php?WP=oGA3ZRjkoH9axUF5nrO
4Ljo7o3Qo7o3Q

ภาคผนวก

308

ภาคผนวก ก
รายชือ่ และสถานภาพของครทู เ่ี ป็นกล่มุ เปา้ หมายในการตรวจคมู่ อื คร้งั ท่ี 1

309

รายชือ่ และสถานภาพของครูที่เป็นกลุม่ เป้าหมายในการตรวจคมู่ อื ครั้งที่ 1

โรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา

ชอื่ – ฉายา / นามสกุล ระดับชัน้ ทส่ี อน วิชาท่ีสอน

1. พระมหานฤทธ์ิ นริสสฺ โร ม.1-2 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

2. พระมหาสรุ ิยา เนตวุ รธมโฺ ม ม.4-6 สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

3. พระมหากติ ตฺ นิ นท์ กิตฺตวิ ิญฺญู ม.1-6 สุขศกึ ษาและพลศึกษา

4. พระมหาศราวุธ ญาณกิตฺติ ม.1-5 ภาษาไทย

5. พระใบฎกี าอคั รพงษ์ รกฺขิตวณฺโณ ม.5-6 คณติ ศาสตร์ (เพ่ิมเตมิ )

6. พระสุทธิพงษ์ สิริปุญโฺ ญ ม.1-3 สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม

7. พระมหาสุวฒั น์ สวุ ฑฒฺ นกิตตฺ ิ ม.1-3 บาลไี วยากรณ์

8. พระปลัดธีรวัฒน์ ญาณสทิ ธวิ าที ม.1-3 พทุ ธประวตั ิ , ธรรม , วนิ ัย

9. นายบรรจง คายา ม.2-3 ออกแบบและเทคโนโลยี

10.นายดาว ดอกรงั ม.1-3 ประวัติศาสตร์

310

ภาคผนวก ข
หนงั สอื ของบัณฑติ วิทยาลัย
เพ่อื ขอความร่วมมอื จากครูทเ่ี ป็นกลุ่มเปา้ หมายในการตรวจคูม่ อื ครง้ั ท่ี 1

311

312

313

ภาคผนวก ค
รายช่อื และสถานภาพของครทู ี่เป็นกลุ่มเปา้ หมายในการตรวจคมู่ อื ครง้ั ท่ี 2

โรงเรยี นวดั หนองแวงวิทยา ระดับช้นั ทีส่ อน 314
ช่อื - ชื่อสกุล ม.4-6
ม.4-6 วชิ าทส่ี อน
1. พระครสู ุตธรรมรักขติ ม.1-3 สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม
2. พระครปู รยิ ตั มิ ชั ฌมิ านกุ ลู ม.1-3 เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์
3. พระครปู รยิ ตั ิเจติยานุกลู ม.4-6 พุทธประวัติ , ธรรม , วินัย
4. พระครูสุตสารวิสทุ ธิ์ ม.1-3 อาเซียนศกึ ษา
5. พระมหาสัณพิชญ์ สทุ ธฺ มโน ม.1-6 ภาษาไทย
6. นายณรงค์ศกั ด์ิ ตสิ จันทร์ ม.1-6 ภาษาอังกฤษ
7 นายวิรัช เหลาสะอาด สุขศกึ ษาและพลศึกษา
8. นางสาวอศิ รยิ า พยคั ฆวรรณ วิทยาการคานวณ

โรงเรยี นจันทวิทยาคม ระดบั ชนั้ ท่ีสอน วิชาที่สอน
ม.1-3 ภาษาองั กฤษ
ช่ือ – ช่ือสกลุ ม.4-6 บาลีไวยากรณ์
1. พระครูสงั ฆรักษ์บวั คา มหาวีโร ม.1-3 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. พระมหาเดชอุดม อตุ ตฺ มจารี ม.1-3 บาลไี วยากรณ์
3. พระปลดั กติ ตศิ ักด์ิ ญาณเมธี ม.1-3 สขุ ศึกษาและพลศึกษา
4. นายสุนทร กองชนะ ม.4-6 ชวี วทิ ยา , เคมี
5. นายณัฐพงษ์ เพยี รสงวน ม.4-6 คณติ ศาสตร์ , ฟิสิกส์
6. นางสาวกมลวรรณ จันทวงษ์
7. นางสาวทพิ ากร สวุ รรณ

315

ภาคผนวก ง
หนงั สอื ของบณั ฑติ วิทยาลยั
เพ่อื ขอความร่วมมอื จากครูทเ่ี ป็นกล่มุ เป้าหมายในการตรวจคูม่ อื ครง้ั ท่ี 2

316

317

318

319


Click to View FlipBook Version