The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phrapalad Lek, 2022-08-16 06:42:33

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

220

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของการเรียนร้แู บบช้ีนา
ตนเอง ตามทัศนะของ IGI Global Disseminator of Knowledge ว่า
อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
แบบประเมินตนเอง
โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของทา่ นอกี คร้งั จากแบบประเมนิ ผลตนเองนี้
1) ท่านเข้าใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ Meredith ชัดเจนดี
แล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจวา่ Meredith
กล่าวถงึ นิยามของทักษะการเรยี นรูแ้ บบช้นี าตนเองวา่ อยา่ งไร ?
2) ท่านเขา้ ใจนิยามทกั ษะการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเองตามทัศนะของ Gibbons ชัดเจนดี

แลว้ หรอื ไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ กี ครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Gibbons
กล่าวถงึ นยิ ามของทกั ษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองวา่ อย่างไร ?
3) ท่านเข้าใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ Petro ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อกี คร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Petro
กล่าวถงึ นิยามของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเองวา่ อยา่ งไร ?
4) ทา่ นเขา้ ใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองตามทัศนะของ Mocker & Spear
ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Mocker &
Spear กลา่ วถึงนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเองว่าอยา่ งไร ?
5) ท่านเข้าใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Mezirow ชัดเจนดี
แล้วหรือไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกคร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Mezirow
กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชน้ี าตนเองวา่ อย่างไร ?
6) ท่านเข้าใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ Carter ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่

[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครง้ั แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Carter

221

กลา่ วถงึ นยิ ามของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองวา่ อย่างไร ?
7) ท่านเข้าใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Brookfield ชัดเจนดี
แลว้ หรือไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี คร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Brookfield
กล่าวถงึ นยิ ามของทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเองวา่ อย่างไร ?
8) ท่านเข้าใจนิยามทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Ecu ชดั เจนดีแลว้

หรอื ไม่

[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจวา่ Ecu
กลา่ วถงึ นยิ ามของทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเองวา่ อย่างไร ?
9) ทา่ นเข้าใจนยิ ามทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Garland ชดั เจนดแี ล้ว

หรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อีกคร้งั แล้วตอบคาถามในใจวา่ Garland
กลา่ วถงึ นยิ ามของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองว่าอย่างไร ?
10) ท่านเข้าใจนิยามทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ Weimer ชัดเจนดี
แล้วหรือไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ ีกครั้ง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Weimer
กล่าวถึงนยิ ามของทักษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเองวา่ อย่างไร ?
11) ท่านเข้าใจนยิ ามทักษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Boles ชดั เจนดีแลว้

หรือไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครั้ง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Boles
กลา่ วถงึ นยิ ามของทักษะการเรียนรแู้ บบชีน้ าตนเองวา่ อยา่ งไร ?
12) ท่านเข้าใจนยิ ามทกั ษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Noelle ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่

[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ ีกครงั้ แล้วตอบคาถามในใจว่า Noelle
กล่าวถึงนยิ ามของทักษะการเรียนร้แู บบชีน้ าตนเองวา่ อยา่ งไร ?
13) ท่านเข้าใจนิยามทกั ษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ IGI Global

Disseminator of Knowledge ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ

222

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า IGI Global
Disseminator of Knowledge กล่าวถึงนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองว่า
อยา่ งไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับท่ีเป็นภาษาอังกฤษ โปรด

“Ctrl & Click” เวบ็ ไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังนี้
1) Meredith: https://www.ericdigests.org/pre-9213/self.htm
2) Gibbons: https://www.selfdirectedlearning.com/
3) Petro: https://edut.to/3tugLGd
4) Mocker & Spear: https://bit.ly/3bNklol
5) Mezirow: https://bit.ly/30LRk6n
6) Carter: https://www.slideshare.net/tjcarter/what-is-self-directed-learning
7) Brookfield: https://infed.org/self-directed-learning/#intro
8) ECU: https://ecu.au.libguides.com/slide/m1-
9) Garland: https://bit.ly/2wnQxK3
10) Weimer: https://bit.ly/2NWM3VQ
11) Boles: www.offtraillearning.com/what-is-sdl/
12) Noelle: http://self-directed.education/
13) IGI Global Disseminator of Knowledge: https://bit.ly/2JKSDcR

เอกสารอา้ งอิง
Boles, B. (n.d.). What is self-directed learning?. Retrieved July 11, 2019, from

http://www.offtraillearning.com/what-is-sdl/
Brookfield, D.S. (1985). Understanding self-directed learning. Retrieved July 14, 2019,

from http://infed.org/mobi/self-directed-learning/#intro
Carter, T. (2009). What is self-directed learning. Retrieved July 14, 2019, from

https://www.slideshare.net/tjcarter/what-is-self-directed-learning
Ecu. (2019). What is a self-directed learner?. Retrieved July 14, 2019, from

https://ecu.au.libguides.com/slide/m1-
Garland, W.A. (1985). What is self-directed learning?. Retrieved July 14, 2019, from

https://bit.ly/2wnQxK3
Gibbons, M. (2016). What is self-directed learning?. Retrieved July 10, 2019, from

https://www.selfdirectedlearning.com/
IGI Global Disseminator of Knowledge. (1988). What is self-directed learning.

Retrieved July 14, 2019, from https://bit.ly/2JKSDcR

223

Meredith , L.C. (1989). What is self-directed learning?. Retrieved July 14, 2019, from
https://www.ericdigests.org/pre-9213/self.htm

Mezirow, J. (1985). A critical theory of self-directed learning. Retrieved July 14, 2019,
from https://bit.ly/30LRk6n

Mocker and Spear. (1982). What is self-directed learning?. Retrieved July 14, 2019,
from https://bit.ly/3bNklol

Noelle, S. (2018). What is it? how does it work?. Retrieved July 14, 2019, from
http://self-directed.education/

Petro, L. (2017). How to put self-directed learning to work in your classroom.
Retrieved July 10, 2019, from https://edut.to/2oi1d5X

Weimer, M. (2010). Developing students’ self-directed learning skills. Retrieved August
3, 2019, from https://bit.ly/2NWM3VQ

224

5.2 คู่มือชดุ ท่ี 2

ทัศนะเกยี่ วกับความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง

พระปลดั เล็ก อานนฺโท (ทองแสน)
ดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตอีสาน

ปี พ.ศ. 2564

225

ค่มู ือชดุ ที่ 2
ทัศนะเก่ยี วกบั ความสาคัญของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชีน้ าตนเอง

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
หลังจากการศึกษาคมู่ ือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ซึ่ง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังนี้

1) บอกคณุ สมบตั ิ จับคู่ เขียนลาดับ อธบิ าย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรอื ระบุ
ความสาคัญของทักษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเองได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรปุ ความ ยกตวั อย่าง บอกความแตกตา่ ง หรือ
เรียบเรียงความสาคัญของทักษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเองได้

3) แกป้ ญั หา สาธติ ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
ความสาคัญของทักษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเองได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกใหเ้ หน็ ความแตกตา่ ง หรือบอกเหตผุ ลความสาคัญของ
ทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเองได้

5) วดั ผล เปรยี บเทียบ ตีค่า ลงความเหน็ วิจารณค์ วามสาคัญของทกั ษะการเรียนร้แู บบ
ชน้ี าตนเองได้

6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการความสาคัญของทักษะ
การเรยี นรูแ้ บบช้นี าตนเองได้

โดยมีทัศนะเกยี่ วกบั ความสาคัญของทักษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองของแหล่งอ้างองิ ทาง
วชิ าการตา่ ง ๆ ดงั นี้

1) ความสาคญั ของทักษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Timpau
2) ความสาคัญของทักษะการเรยี นรูแ้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Andriotis
3) ความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Holz
4) ความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Help Teaching
5) ความสาคญั ของทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Gutierrez
6) ความสาคัญของทักษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง ตามทัศนะ ในเว็บไซตข์ อง
Alternatives to School
7) ความสาคญั ของทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะ ในเวบ็ ไซตข์ อง
Assignment Bay
8) ความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะ ในเวบ็ ไซต์ของ
Western Academy of Beijing
9) ความสาคัญของทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะ ในเว็บไซต์ของ

226

Self-Directed Learning

คาชีแ้ จง
1) โปรดศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเอง จากทัศนะ

ที่นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจท่ีสามารถอธิบายกับตัวเองได้
วา่ เขากล่าวถงึ ความสาคญั ว่าอยา่ งไร

2) หลังจากการศึกษาเน้ือหาแต่ละทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีก
ครง้ั จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนทา้ ยของคู่มือ

3) เน้ือหาเก่ียวกับความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จากทัศนะท่ีนามา
กล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามท่ีแสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่าน
ต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซ่ึงต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะ
สบื คน้ ต่อได้จากเวบ็ ไซตท์ ีร่ ะบุไว้ในแหลง่ อ้างองิ นนั้ ๆ

ทศั นะเกีย่ วกับความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง
1) Timpau เป็นอาจารยส์ อนนักศึกษาระดับปริญญาเอก คณะจิตวิทยาและวทิ ยาศาสตร์

การศึกษา University of Bucharest, Bucharest, Romania กล่าวถึงความสาคัญของ ทักษะการ
เรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง ดงั นี้

การเปลี่ยนแปลงทุกอย่างในสังคมจะเปล่ียนแปลงสภาพความเป็นอยู่และกิจกรรมของ
มนุ ษ ย์อยู่เสมอ (All changes in society always changing living conditions and human
activity putting the human face and many other issues that I
always) ซ่งึ ทาให้มนุษย์ต้องปรบั ตวั เพอ่ื ให้ทนั ตอ่ สถานการณ์และยุคสมยั ดังนน้ั คนยคุ ใหมจ่ ึงถูกบังคับ
ให้เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงชีวิตของเขาท่ีเกิดขึ้นในโลกแห่งความรู้ ทั้งในการ
ทางานตามอาชีพ และทกุ เร่ืองราวของชีวติ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจความสาคัญของ ของทกั ษะการ
เรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Timpau ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

2. Andriotis สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านสารสนเทศและมีประสบการณ์
ด้านการศึกษาไอทีและ e-learning งานเขียนของเขาได้รับการตีพิมพ์ในหลายสาขา กล่าวถึง
ความสาคญั ของ ทักษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง ดังน้ี

2.1 ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะเฉพาะได้มากข้ึน (More Learners’ Development of
Specialized Skills) โดยมีโอกาสฝกึ ฝนการช้ีนาตนเองท่ีชว่ ยใหเ้ รยี นรู้ทกั ษะที่สนใจอย่างแท้จริง ด้วย
ความสนใจท่มี ากขนึ้ นี้เอง ผเู้ รยี นจะโอกาสมากขนึ้ ที่จะได้พัฒนาทกั ษะใหม่ ๆ ซ่ึงจะเปน็ การเพม่ิ คณุ ค่า
ใหต้ ัวเอง

227

2.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสิ่งที่ต้องการ (Leaners Learn What They Need) เราไม่ได้
เรียนรู้ด้วยวิธีเดียวกัน น่ันคือ บางคนอยากอ่าน ขณะอีกคนอาจชอบลงมือทา ซ่ึงรูปแบบการเรียนรู้
แบบช้นี าตนเองจะตอบโจทยใ์ นเร่ืองน้ี และชว่ ยใหผ้ เู้ รียนทาตามส่งิ ทเี่ ขาต้องการและเรยี นรู้

2.3 ผู้ เรี ย น ได้ เรี ย น รู้ จ าก ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ ต ร ง (Leaners Learn from Direct
Experience) เม่ืออาจารย์สอนบทเรียนให้กับผู้เรียนอย่างงา่ ย ๆ และตรงไปตรงมา ผู้เรียนอาจเรยี นรู้
เรอ่ื งนั้นได้ แต่ก็ไม่มีอะไรมากกว่านนั้ แต่การเรียนรู้จากประสบการณ์ การลงมือทาดว้ ยตนเอง ผูเ้ รียน
จะเขา้ ใจแนวคดิ ของสิ่งนัน้ และจะสามารถนาแนวคิดน้ีไปใช้กับสถานการณอ์ ื่น ๆ ได้

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจความสาคัญของ ของทกั ษะการ
เรียนรแู้ บบช้นี าตนเอง ตามทัศนะของ Andriotis ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

3. Holz ที่ปรึกษาด้านการส่ือสารและการตลาด Cape Town Area, South Africa
กล่าวถึงความสาคญั ของ ทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง ดังน้ี

3.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการจัดการตนเอง ทั้งในด้านเวลาและความรู้ (The
modern self-manage: their time and their inputs) สามารถมอบหมายให้แก้ปัญหาได้โดยไม่
ต้องมัวจัดการกับเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ (micro-management) และสามารถพึ่งพาได้ในเร่ืองการใช้
ทรัพยากรอย่างรบั ผดิ ชอบและประหยดั

3.2 ผู้เรียนจะบรรลเุ ป้าหมายและวัตถุประสงค์ในแบบของตวั เราเอง (the freedom to
meet targets and objectives in “your own way”) โดยการกาหนดเป้าหมายปลายทางซึ่งไม่ใช่
การกาหนดกระบวนการ ถอื ว่าองคก์ รใหอ้ านาจแก่ทมี ในการดาเนินโครงการดว้ ยวิธีท่ีสรา้ งสรรค์และมี
ประสทิ ธภิ าพมากข้นึ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจความสาคัญของ ของทกั ษะการ
เรียนรแู้ บบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Holz วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

4. Help Teaching เป็นเว็บไซต์ที่นาเสนอข้อมูลที่หลากหลายครอบคลุมเน้ือหาวิชา
พ้ืนฐาน 4 วิชา (ภาษาอังกฤษ/ศิลปะ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา) และวิชาอื่น ๆ รวมถึง
การศึกษาปฐมวัย ศิลปะดนตรีและทักษะการเรียนรู้ กล่าวถึงความสาคัญของ ทักษะการเรียนรู้แบบ
ช้นี าตนเอง ดงั นี้

4.1 ผู้เรียนเป็นผู้กาหนด กากับ การเรียนรู้ของตนเอง (Directing and Learning are
Organized by Learners) ซ่ึงผู้เรียนจะต้องกระตือรือร้นมีส่วนร่วมในการศึกษา มีโอกาสต้ังคาถาม
ไตรต่ รอง คิดอยา่ งสร้างสรรค์ และให้ความสนใจไปยังเรื่องท่ีดงึ ดดู ใจพวกเขา

228

4.2 ผู้เรียนได้ปลูกฝังกระบวนการรู้คิด (Learners have Instilled the Cognitive
Process) การเป็นผเู้ รียนท่ีประสบความสาเร็จนัน้ เกี่ยวข้องกบั การทาความเข้าใจ วิธีท่ีคุณเรียนรู้ การ
กาหนดเป้าหมายและสะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ เราบรรลเุ ปา้ หมายเหลา่ น้ันไดด้ เี พยี งใด

4.3 ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะเพ่ือเตรียมความพร้อมด้านอาชีพ (Learners’ Skill are
Developed for Preparing the Future Career) การจัดการเวลา ความสามารถในการทางานทั้ง
อิสระและทางานร่วมกัน การแก้ปัญหา การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การตัดสินใจ ซ่ึงจะช่วยให้นักเรียน
พัฒนาทกั ษะเมือ่ อยู่นอกห้องเรยี น

4.4 ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียน (Learners have a good Attitude Towards
Learning) การไดร้ ับรคู้ ุณคา่ ในการเรยี นรู้ ทาใหน้ ักเรยี นกลายเป็นผูเ้ รียนรูต้ ลอด

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคัญของ ของทักษะการ
เรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Help Teaching ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

5. Gutierrez นักยุทธศาสตร์ด้านดิจิทัลและท่ีปรึกษาด้านการตลาดท่ี Nectar Digital
กลา่ วถึงความสาคัญของ ทักษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเอง ดงั น้ี

5.1 ผู้เรียนสามารถยืดหยุ่นการจัดตารางเวลา (Learners’ Timetable is Adjustable
and Flexible) การเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพมากขึ้นหากข้อมูลท่ีซับซ้อนถูกอธิบายผ่านมุมมองท่ี
หลากหลาย การเปรียบเทียบ และการยกตวั อยา่ ง

5.2 ผู้เรยี นได้เรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Learners can Learn as an Adult) ซึ่งจะสอดคล้อง
อย่างมากกับสไตล์การเรียนรู้ตามธรรมชาติของผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ที่ไม่ต้องการถูกป้อนข้อมูลโดย
ผ้สู อน ซึ่งจะช่วยกระต้นุ ให้ผูเ้ รียนท่เี ปน็ ผูใ้ หญ่ให้ค้นหาการเรยี นรู้

5.3 ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความต้องการของตนเอง (Leaners Learn by their own
Needs) ช่วยให้การเรียนรู้เป็นไปตามจังหวะของแต่ละคน ตามความต้องการ และตามความพึงพอใจ
ในการเรียนรู้ในแบบของตนเอง สิ่งนี้ทาให้การเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองสัมพันธ์กับความต้องการของ
ผู้เรียนมากข้ึน และยังเพ่ิมขึ้นหากมีแรงจูงใจที่จะเรียนรู้จากประสบการณ์ของตนเองในขณะที่นา
ความรูท้ ีไ่ ด้มาใหม่ไปใชก้ ับงานที่ทาอยู่

5.4 ผู้เรียนได้เรียนรู้ความรู้ท่ีเป็นปัจจุบัน (Learners Learn Updated Knowledge)
เม่ือผู้เรียนได้รับแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ มีเคร่ืองมือและทรัพยากรที่พร้อมใช้งานได้ง่าย เพื่อให้
พวกเขาสามารถกา้ วทันข้อมลู ล่าสดุ

5.5 ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะเฉพาะ (Learners Learn Specific Skills) ผู้เรียนท่ีเป็น
ผู้ ให ญ่ ต้ อ งก า ร เรี ย น รู้ แ ล ะ ฝึ ก ฝ น ทั ก ษ ะ เฉ พ า ะ เพ่ื อ ให้ ทั น กั บ ก า ร แ ข่ ง ขั น ใน ส ถ า น ที่ ท่ี ท า งา น
ความสามารถในการเลือกวิธีท่ีพวกเขาต้องการในเร่ืองน้ัน ๆ ถือเป็นแรงบันดาลใจอย่างมาก รวมทั้ง
ความสามารถในการกาหนดเวลาการเรียนรู้ตามความสะดวกโดยไม่ต้องรอให้ผู้จัดฝึกอบรมมา
เตรียมการให้ ก็จะเป็นการเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนได้ฝึกฝนและเชยี่ วชาญในทักษะของตนเอง

229

5.6 ผู้เรียนได้เรียนรู้ในส่ิงที่สนใจและช่วยให้เกิดความชานาญ (Learners Learn what
they are Interested, Result for their Specific Expertise) เมื่อผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยวิธีท่ี
พวกเขาทาได้ดีที่สุด โดยการกากับบทเรยี นตามความต้องการของพวกเขา และเลือกใช้ทรัพยากรเพื่อ
วเิ คราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรา้ งองค์ความรู้ความเขา้ ใจของตนเอง ก็จะทาให้มีความเชี่ยวชาญ
ในสาขานน้ั มากขึน้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจความสาคัญของ ของทกั ษะ
การเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง ตามทศั นะของ Gutierrez ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

6. Alternatives to School เปน็ เว็บไซต์ทนี่ าเสนอโรงเรียนทางเลือก ซ่ึงมีหลักสูตรและ
วิธกี ารที่ไมใ่ ชแ่ บบด้งั เดิม โรงเรียนดังกล่าวมปี รชั ญาและวธิ กี ารสอนทห่ี ลากหลาย กลา่ วถงึ ความสาคัญ
ของ ทักษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง ดังน้ี

6.1 ผู้เรียนไดพ้ ัฒนาการเรยี นรตู้ ามความพอใจของตนเอง ซ่งึ ช่วยให้ผู้เรยี นมีความม่ันใจ
เกิ ด ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ( Learners have Developed their Learning by their own
Satisfaction. This way Help Learners to become Confident and Creative) การที่เราต้อง
รับผิดชอบชีวิตของเราเอง เพื่อเพ่ิมความสามารถของตัวเราเอง การสร้างทางเลือกเพ่ือตัดสินใจด้วย
ตนเองมากเท่าไหร่ เช่น อ่านความคิด ความรู้สึก ความต้องการ และความจาเป็นของตนเองแล้วชั่ง
น้าหนักโดยเปรียบเทียบกับตัวเลือกที่มี ในขณะที่ยังมีอายุน้อย ๆ อยู่ ก็มีแนวโน้มที่จะเติบโตเป็น
ผู้ใหญ่ที่มีวุฒิภาวะ มีเหตุผล มีสุขภาพดี มีประสิทธิผล และเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ผู้เรียนได้เห็นคุณค่า
และความสาเรจ็ ของตนเอง (Learners Know their Value and Success) ซง่ึ ไมไ่ ด้หมายความว่าจะ
ไม่มีใครพูดดูถูกอะไรพวกเขา เรียกพวกเขาวา่ โง่ หรือวิจารณ์ว่าพวกเขาไร้ความสามารถในทางใดทาง
หนึ่ง แตน่ ่ีเป็นการช้ีว่าพวกเขาจะไมไ่ ด้ยนิ คาพูดเชิงลบ

6.2 ผู้ เรี ย น ได้ เรี ย น รู้ ใน ส่ิ งที่ ต น เอ งส น ใจ (Learners Learn by their own
Satisfaction) โรงเรียนโดยท่ัวไปจะมีการกาหนดหลักสูตรไว้แล้ว มีกาหนดการที่ตายตัว และไม่
สามารถตอบสนองความต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคลได้ แม้แต่หัวข้อที่อยู่ในหลักสูตรของ
โรงเรียนตามปกติ ก็สามารถสารวจได้ในเชิงลึกและมีความหมายมากขน้ึ ในการเรียนร้แู บบชี้นาตนเอง

6.3 ผู้เรียนได้เรียนรู้การทางานร่วมกับบุคคลอ่ืน (Learners Learn to Work with
other People) หากไม่มีข้อกาหนดในหลักสูตรของโรงเรียน ผู้ปกครองและนักเรียนก็มีอิสระในการ
สร้างสรรค์ อภิปราย ต่อรอง ออกแบบ และสารวจ ซ่ึงเป็นการลงมือทาในสิ่งที่พวกเขาตัดสินใจเลือก
วา่ จะตอบสนองเปา้ หมาย ค่านยิ ม และความปรารถนาสว่ นตัวได้ดที ่ีสดุ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจความสาคัญของ ของทักษะการ
เรยี นรูแ้ บบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ Alternatives to School วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................

230

………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

7. Assignment Bay กลา่ วถงึ ความสาคัญของ ทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง ดงั นี้
7.1 ผู้เรียนเกิดความพอใจและม่ันใจในการเรยี นรู้ของตนเอง (Learners are Satisfied

and Confident with their Self-Learning) การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของตัวเอง ช่วยให้เข้าใจ
เกี่ยวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ของโลกภายนอก ซึ่งไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมของพวกเขา การยอมรับ
ข้อจากัดของตัวเองจะทาให้บุคคลนั้นตระหนักถึงขอบเขตที่เขาสามารถใช้ยึดถือสาหรับตัวเอง ซ่ึง
วธิ กี ารน้ีจะช่วยให้บุคคลสามารถแกไ้ ขปัญหาของตนไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละสรา้ งวิธีการของตนเอง คน
เหล่าน้ันเรียนรู้ผ่านความผิดพลาดของตัวเอง จนกลายเป็นผู้ท่ีสามารถตัดสินใจได้ดีขึ้น และทาให้มี
ทางเลอื กที่สรา้ งสรรค์มากข้นึ ในชีวิตประจาวนั

7.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากเรื่องที่ตนเองสนใจและถนัด (Learners
Learn and Develop themselves based on their Interests) วิธีนี้ป้องกันนักเรียนไม่ให้ข้ีเกียจ
ในเรื่องการเรียน นักเรียนที่ทาตามรูปแบบการเรียนร้แู บบชี้นาตนเองจะแน่ใจไดว้ ่ารูปแบบการเรียนรู้
ของพวกเขาสอดคลอ้ งกบั ความถนัด ดังนัน้ จึงเปน็ สถานการณท์ ต่ี ่างฝา่ ยต่างกไ็ ด้ประโยชน์

7.3 ผู้เรียนมีอิสระในการเรียนรู้ ซึ่งนาไปสู่การสร้างและพัฒนานวัตกรรม (Learners
are Free to Learn. It could Help Creative and Innovation) นักเรียนควรได้รับอิสระในการ
เข้าถึงหลักสูตรที่มีเน้ือหาลึกกว่าที่กาหนดไว้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานและนวัตกรรม
ด้วยวิธกี ารและลกั ษณะท่ีเหมาะสมกับบคุ ลกิ ภาพและความถนัดของตนเอง

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคัญของ ของทักษะการ
เรียนรแู้ บบช้นี าตนเอง ตามทัศนะของ Assignment Bay ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

8. Academy of Beijing กลา่ วถึงความสาคัญของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชน้ี าตนเอง ดังน้ี
8.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้เชิงสารวจ (Learners have Learned from Explorations) ลอง

ทาส่ิงใหม่ ๆ กับผู้เช่ียวชาญในสาขานั้น ๆ ตัวอย่างเช่น การเข้าร่วมเล่นดนตรีกับครูสอนดนตรี การ
ทดลองร่วมกบั นักเคมี

8.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้ในส่ิงท่ีจาเป็น (Learners Learn What They Need to Learn)
ชั่วโมง โฮมรูมเหมาะกับงานในวิชาหลักท่ีนักเรียนแต่ละคนต้องทาให้เสร็จ แต่พวกเขาก็มีอิสระท่ีจะ
ทางานในสถานท่ีต่าง ๆ ในเวลาที่ต่างกัน ตวั อย่างเชน่ การฝกึ ทักษะคณติ ศาสตร์ใหเ้ ก่งขน้ึ

8.3 ผู้เรียนได้เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ (Learners Learn From Experts) นักเรียนมี
อิสระในการช้ีนาการเรียนรดู้ ้วยตนเองโดยเลือกหัวข้อทตี่ ้องการศึกษาเพิ่มเติมและทาให้ครูเห็นคุณค่า
ของหัวข้อน้ัน ๆ ตัวอย่างเช่น การเรียนรู้การเล่นกีตาร์ไฟฟ้า การทาเคร่ืองแต่งกายสาหรับการแสดง
ละครหรอื ดนตรี

231

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจความสาคัญของ ของทักษะการ
เรยี นรูแ้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Academy of Beijing ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

9. ในเว็บไซต์ของ Self-Directed Learning กลา่ วถึงความสาคญั ของ ทักษะการเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเอง ดังน้ี

9.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ (Learners Learn the Learning Method) เปิด
โอกาสให้นักเรียนได้สอนตนเองในทักษะที่จาเป็นที่สุดในการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต น่ันคือ ความรู้
เก่ียวกับวิธีการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง สอนวิธีการที่จะเรียนรู้มากกว่าส่ิงที่จะเรียนรู้ให้กับ
นักเรียน หากนักเรียนสามารถเรียนรู้ “วิธีการ” ส่วนที่เป็นเน้ือหาหรือหัวข้อก็สามารถเรียนรู้สลับกัน
ได้

9.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะทางสังคมและการสื่อสาร (Learners Learn Social and
Communication Skills) เมื่อไปดูท่ีรายการทักษะสหวิทยาการของหลักการที่นาไปสู่การปฏิบัติ
(PYP transdisciplinary) จึงไม่ใช่เรื่องแปลกสาหรับนักเรียนท่ีจะใช้ทักษะมากกว่า 75% อย่าง
กระตือรือร้นตลอดการสอบถามท่ีเป็นส่วนตัว ทักษะเหล่านี้สามารถนาไปใช้กับบริบทต่าง ๆ และ
สถานการณ์การเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย ท้ังภายในและนอกโรงเรียน

9.3 ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการเรียนรู้อย่างอิสระ (Learners Practice the Free –
Learning Methodology) ซ่ึงเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ จะช่วยให้นักเรียนฝึกฝนตนเองอย่างเป็น
อิสระ ในขั้นต่อไปของกลยุทธ์เพื่อทาความเข้าใจ นั่นคือ นักเรียนอ่านแล้วตั้งคาถามในใจพร้อมกับ
กระตุกความสงสัยใคร่รู้ไปโดยตลอด พวกเขาเชื่อมโยงเข้ากับความรู้และโครงสร้างทางความรู้พื้นฐาน
พวกเขาตรวจสอบความเข้าใจเมื่อทาการประเมินเนื้อหาที่พวกเขาปฏิสัมพันธ์ด้วย พวกเขากาหนด
ส่วนสาคัญของเนื้อหาเพ่ือช่วยให้เน้นไปท่ีการสอบถามท่ีเฉพาะเจาะจง พวกเขาอนุมานคาท่ีไม่คุ้นเคย
และความหมายของแนวคิดเม่ืออ่านเน้ือหา และพวกเขานาทุกส่ิงที่พวกเขาเข้าใจแล้วสังเคราะห์มา
เป็นบทสรุปของการเรียนรู้ใหมข่ องตนเอง

9.4 ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนมากข้ึน (Learners Improve their
Reading and Writing Skills) การเรียนรู้แบบชี้นาตนเองจะเพิ่มระยะเวลาที่นักเรียนใช้ในการอ่าน
และการเขียน ในการเรียนรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับความสงสัยใคร่รู้ของพวกเขานั้น นักเรียนจะต้องมีความ
เช่ียวชาญในการทาความเข้าใจและสร้างเนื้อหาที่เป็นเร่ืองจริงและส่ิงท่ีมองเห็น เป็นผลให้เกิดการ
พฒั นาความร้ทู ี่แท้จริงและมีจดุ มงุ่ หมาย ภายใต้บริบทของการสบื เสาะน้นั

9.5 ผู้เรียนได้รับอิสระในการเรียนรู้ (Learners have Freedom to Learn) พวกเขา
สามารถเลือกท่ีจะทางานอย่างอิสระหรือสลับคู่ พวกเขาสามารถเลือกที่จะทางานในห้องเรียน พ้ืนท่ี
ส่วนกลางหรือห้องสมุด พวกเขาสามารถเลือกส่ิงที่พวกเขาต้องการเรียนรู้และวิธีที่พวกเขาต้องการ
ส่ือสาร เสรีภาพในการเลือกน้ีช่วยให้นักเรียนค้นหาขอบเขตการเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับพวกเขา ท้ังทาง

232

กายภาพ สังคม จิตใจ และอารมณ์ ซึ่งส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับอภิปัญญาและการสนับสนุนตนเอง
ตลอดการเรยี นรนู้ ้ัน ๆ

9.6 ผู้เรียนได้เรียนรจู้ ากการลงมือปฏิบัติโดยมีครูเป็นผู้ให้คาแนะนา (Learners Learn
from the Practice Under the Suggestions from Teacher) การที่นักเรียนได้แสดงออกจะ
เพ่ิมขึ้นเป็นอย่างมากตามเวลาท่ผี ่านไป โดยครจู ะมบี ทบาทหลกั เป็นผ้เู ช่อื มโยง ผู้ฝึกสอน และโค้ชทาง
ปัญญา การริเร่ิมสร้างสรรค์และความสามารถในการจดั ระเบียบของนักเรียนกจ็ ะเติบโตไปด้วยกัน นัก
เรียนรู้ว่าพวกเขากาลังทาอะไรอยแู่ ละพวกเขาต้องการทาให้สาเร็จอย่างไร งานของครูคือการเพ่ิมและ
ผลักดันศกั ยภาพการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะขอ้ สงสยั เหล่านนั้

9.7 ผู้ เรีย น ได้ เรีย น รู้จ าก ส ภ าพ แ ว ด ล้ อ ม จ ริง (Learners Learn from Real
Environment) ไม่ว่านักเรียนจะเกิดข้อสงสัยเองหรือมากันเป็นกลุ่ม ก็จะมีการผสมผสานความคิด
และการแบ่งปันที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการต่อรองประนีประนอม ให้ผลสะท้อน
กลับ และการประเมนิ ผลโดยเฉพาะอย่างยงิ่ เมือ่ เรยี นรู้แบบจบั คู่กนั และกล่มุ เลก็ ๆ

9.8 ผู้เรียนเป็นผู้กากับการเรียนรู้ของตนเอง (Learners Control their Learning)
การควบคุมและอานาจจะเปลี่ยนกลับไปอยู่ท่ีนักเรียน พวกเขาเริ่มมีความมุ่งมั่นและอิสระในการ
เรียนรู้มากข้ึน ด้วยเหตุน้ีจึงดูเหมือนว่าจะเป็นความหลงใหลท่ีแท้จริงและเกิดขึ้นใหม่ต่อการมา
โรงเรยี นและการเรียนรู้

9.9 ผู้เรียนเป็นผู้สนับสนุนตนเองในสิ่ งที่ต้องการเรียนรู้ (Learners are Self-
Supporting of What They want to Learn) สาหรับนักเรียนบางคนอาจจะต้องใช้พื้นที่และระดับ
การไดย้ ินที่แตกต่างกันเพื่อใช้เป็นจุดสนใจ แตส่ าหรับบางคนอาจแนะให้ใชด้ นตรีผอ่ นคลาย เครื่องมือ
เทคโนโลยี ทรัพยากรที่เป็นส่ิงปลูกสร้างหรือการออกแบบ การเข้าถึงส่ิงอานวยความสะดวกใน
มหาวิทยาลัย ผู้เช่ียวชาญเพอ่ื ให้ความช่วยเหลือ ฯลฯ นักเรยี นรู้ว่าถ้าพวกเขาขอในสิ่งที่จะช่วยให้พวก
เขาไดเ้ รียนรู้และสามารถบอกเหตุผลของข้อเรียกร้องนัน้ ได้

9.10 ผู้เรียนมีทักษะการส่ือสารเพิ่มข้ึน (Learners Increase their Communication
Skill) เป็นการเพิ่มความสามารถของนักเรียนในการสื่อสารกับผู้อ่ืนและทั้งโลก นักเรียนใช้รูปแบบที่
มองเห็นได้อย่างหลากหลายเพ่อื แบง่ ปันและจัดทาเอกสารการเรยี นรูซ้ ึ่งช่วยในการปรับปรุงทักษะการ
ออกแบบ สิ่งที่มองเห็นได้ ส่งผลให้นักเรียนคิดอย่างเป็นธรรมชาติมากข้ึนเก่ียวกับจุดประสงค์ของ
"ช้ินงาน" และกลุ่มเป้าหมายของพวกเขา ซึ่งจะกลายเป็นเครื่องมอื สอื่ สารยุคใหมท่ ี่มีประสิทธิภาพมาก
ข้ึน

9.11 ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการสืบค้นข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและเลือกใช้อย่าง
เหมาะสม (Learners Learn how to use Internet Appropriately and also Learn how to
find an Information from the Internet) น่ันคือ การใช้ทักษะการสืบค้นและดึงข้อมูลเพ่ือ
กลั่นกรองทรัพยากรท่ีมีอยู่มหาศาลท่ีเข้าถึงได้ทางออนไลน์ ประเมินแหล่งท่ีมาเพ่ือระบุข้อมูลท่ี
สามารถเข้าใจและเรียนรู้ได้ กรองแหล่งข้อมูลท่ีไม่เหมาะสมหรือไม่มีประโยชน์ซ่ึงอาจออกไปจาก
เส้นทางการเรียนรู้ และเป็นผู้เรียนที่มีความรับผิดชอบและเรียนรู้ด้วยระบบดิจิทัลมากข้ึน ช่วยให้มี
ปฏิสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลออนไลน์ ทาให้นักเรียนกลายเป็นผู้เรียนที่ทันสมัยที่
และช่ือถือได้

233

9.12 ผู้เรียนมีความรู้และความชานาญด้านเทคโนโลยี (Learners Improve their
Technology Skill) บ่อยคร้ังที่พวกเขาได้รับแรงบันดาลใจจากเพื่อน ดังนั้นเม่ือนักเรียนคนหนึ่งคิด
อย่างแตกตา่ งและพยายามทาส่ิงใหม่ ๆ คนอื่น ๆ ก็จะติดตามและสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ ไปด้วย ดังน้ัน
ความชานาญด้านเทคโนโลยี “จากเพื่อนสู่เพ่ือน” จึงสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบดิจิทัลที่
แลกเปลี่ยนกันที่เป็นพลวัต ซึ่งช่วงเวลาที่พวกเขาใช้เทคโนโลยีก็จะเพ่ิมขึ้นพร้อมกับโอกาสในการ
เรยี นร้แู บบช้ีนาตนเอง ดังน้ันจึงเป็นการเติบโตไปดว้ ยกนั ทั้งความสามารถสว่ นบุคคลและส่วนรวมจาก
การใชส้ ื่อเหลา่ น้ี

9.13 ผู้เรียนมีความกล้าที่จะปรึกษาเพ่ือนร่วมงาน ครู และผู้เช่ียวชาญ (Learners are
Confident when Consulting with Co-Worker, Teacher, and Experts) ไม่ว่าจะเป็นการขอ
คาแนะนาจากเพื่อน ๆ ว่าจะหาข้อมูลได้ดีท่ีสุดอย่างไร ขอคาแนะนาการเรียนรู้ดิจิทัลผ่าน
แอพพลิเคช่ัน หรือโดยการติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญผ่านสื่อโซเชียล พวกเขาจะเห็นคุณค่าในการใช้
ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลนน้ั ๆ ที่พวกเขาต้องการเพอื่ ช่วยให้พวกเขาเรยี นรู้

9.14 ผู้เรียนได้เรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ (Learners Learn New Things) ในระหว่างการเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเอง สภาพแวดล้อมมีผลต่อการเรียนรู้ส่งใหม่ ๆ ผ่านการทดลองและข้อผิดพลาด ความ
ลม้ เหลว ความขัดข้อง ความสาเร็จและผลสมั ฤทธ์ิ เป็นผลใหน้ ักเรียนสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ข้นึ มา

9.15 ผู้เรียนได้เรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Learners Learn Creative
Problem Solving)ซ่ึงพวกเขาจะไม่สามารถเข้าถึงเครื่องมือหรือทรัพยากรได้ทันทีในตอนแรก ดังน้ัน
พวกเขาจาเป็นต้องเป็นนักคดิ ที่มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ เริ่มเรียนรู้ในการแก้ปัญหาด้วยความคิด
ที่สรา้ งสรรค์ ซึ่งจะทาให้บรรลุเป้าหมายดว้ ยส่งิ ที่พวกเขามี และรู้สกึ ภาคภมู ใิ จในสิ่งทไ่ี ดล้ งมือทา

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจความสาคัญของ ของทกั ษะการ
เรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง ตามทัศนะของ Self-Directed Learning ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

234

แบบประเมนิ ตนเอง
1) ทา่ นเข้าใจความสาคัญของทักษะการเรียนรแู้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Timpau

ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ

หากยังไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจวา่ Timpau
กล่าวถึงความสาคัญของทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง ว่าอย่างไร ?
2) ท่านเข้าใจความสาคัญของทักษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง ตามทศั นะของ Andriotis
ชดั เจนดีแล้วหรือไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Andriotis
กลา่ วถงึ ความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
3) ทา่ นเขา้ ใจความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Holz
ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่

[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Holz
กล่าวถงึ ความสาคัญของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง ว่าอย่างไร ?
4) ท่านเข้าใจความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Help
Teaching ชัดเจนดแี ลว้ หรือไม่

[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Help
Teaching กล่าวถึงความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเอง วา่ อย่างไร ?
5) ทา่ นเขา้ ใจความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Gutierrez

ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ

หากยังไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกครง้ั แล้วตอบคาถามในใจว่า Gutierrez
กล่าวถึงความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง วา่ อยา่ งไร ?
6) ทา่ นเข้าใจความสาคัญของทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะในเวบ็ ไซต์

Alternatives to School ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
Alternatives to School กล่าวถึงความสาคญั ของทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบช้นี าตนเอง วา่ อยา่ งไร ?
7) ท่านเข้าใจความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะในเว็บไซต์
Assignment Bay ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
Assignment Bay กลา่ วถึงความสาคญั ของทกั ษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง วา่ อย่างไร ?

235

8) ท่านเข้าใจความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะในเว็บไซต์
Western Academy of Beijing ชัดเจนดีแล้วหรือไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
Western Academy of Beijing กลา่ วถงึ ความสาคัญของทักษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
9) ท่านเขา้ ใจความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะในเวบ็ ไซต์
Self-Directed Learning ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี คร้งั แล้วตอบคาถามในใจวา่ ในเวบ็ ไซต์
Self-Directed Learning
กล่าวถึงความสาคญั ของทกั ษะการเรยี นร้แู บบช้นี าตนเอง ว่าอย่างไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด

“Ctrl & Click” เว็บไซต์ของแต่ละแหลง่ ได้ ดงั น้ี
1) Timpau: https://bit.ly/2JSWvbz
2) Andriotis: https://bit.ly/2Lx1F0h
3) Holz: https://bit.ly/2SCTCQp
4) Help Teaching: https://bit.ly/30F7V9E
5) Gutierrez: https://bit.ly/2Z2arX3
6) Alternatives to School: https://bit.ly/1oThCbA
7) Assignment Bay: https://bit.ly/2Z3Y6Sm
8) Western Academy of Beijing: https://bit.ly/2xPTRxT
9) Self-Directed Learning: https://bit.ly/2GlTvUq

เอกสารอา้ งองิ
Alternatives to School. (2019). Alternatives to school welcome to the world of self-

directed education 2019.Retrieved July 16, 2019, from
https://bit.ly/1oThCbA
Andriotis, N. (2017). Benefits of self-directed learning. Retrieved July 17, 2019,
https://bit.ly/2Lx1F0h
Assignment Bay. (2017). Benefits of self-directed learning. Retrieved July 17, 2019,
from https://bit.ly/2Z3Y6Sm
Gutierrez, K. (2017). The advantages of self-directed learning in the workplace.
Retrieved July 16, 2019, from https://bit.ly/2Z2arX3

236

Help Teaching. (2019). The importance of self-directed learning. Retrieved July 16,
2019, from https://bit.ly/30F7V9E

Holz, S. (2017). Why it’s important to support self-directed learning in the classroom.
Retrieved July 16, 2019 , from https://bit.ly/2SCTCQp

Self-Directed Learning. (n.d.). The benefits of self-directed learning. Retrieved July 20,
2019, from https://bit.ly/2GlTvUq

Timpau, C. (2015). Importance of self-directed learning. Retrieved July 16, 2019, from
https://bit.ly/2JSWvbz

Western Academy of Beijing. (2017).Young students benefit from self-directed
learning days. Retrieved July 17, 2019, from https://bit.ly/2xPTRxT

237

5.3 ค่มู อื ชดุ ท่ี 3

ทัศนะเกี่ยวกบั ลักษณะทแี่ สดงถงึ ทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชนี้ าตนเอง

พระปลัดเลก็ อานนโฺ ท (ทองแสน)
ดุษฎบี ัณฑิตสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตอสี าน

ปี พ.ศ. 2564

238

คมู่ อื ชุดท่ี 3
ทศั นะเกีย่ วกับลกั ษณะท่แี สดงถงึ ทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
หลงั จากการศึกษาคมู่ ือชุดนี้แลว้ ท่านมีพฒั นาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่ง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังน้ี คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) การวเิ คราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดงั น้ี

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุลักษณะ
ที่แสดงถงึ ทกั ษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเองได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรุปความ ยกตวั อย่าง บอกความแตกต่าง หรอื
เรียบเรียงลกั ษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเองได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
ลกั ษณะท่แี สดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเองได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลลักษณะหรือ
ลักษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเองได้

5) วดั ผล เปรยี บเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ลกั ษณะหรือลักษณะทีแ่ สดงถงึ ทกั ษะการ
เรยี นรู้แบบชีน้ าตนเองได้

6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการลักษณะที่แสดงถึง
ทกั ษะการเรียนร้แู บบช้นี าตนเองได้

โดยมีทัศนะเกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ของแหล่งอ้างอิง
ทางวชิ าการตา่ ง ๆ ดังน้ี

1) ลักษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Nucum
2) ลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง ตามทศั นะของ Hamdy
3) ลักษณะท่ีแสดงถงึ ทกั ษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเอง ตามทศั นะของ Caruso
4) ลกั ษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการเรียนร้แู บบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Vaivada
5) ลกั ษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการเรียนรแู้ บบช้นี าตนเอง ตามทัศนะของ Atkinson

คาชี้แจง
1) โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะหรือคุณลักษณะของคนที่มีทักษะการเรียนรู้แบบชี้
นาตนเอง จากทัศนะที่นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความ
เข้าใจทีส่ ามารถอธบิ ายกบั ตัวเองได้ว่า เขากล่าวถงึ ลกั ษณะวา่ อย่างไร
2) หลงั จากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีก
ครัง้ จากแบบประเมินผลตนเองในตอนท้ายของคมู่ ือ

239

3) เนื้อหาเกีย่ วกบั ลกั ษณะทแี่ สดงถงึ ทักษะการเรียนรูแ้ บบชี้นาตนเอง จากทศั นะทนี่ ามา
ก ล่ าว ถึ งแต่ ล ะทั ศ น ะ มี แ ห ล่ งอ้ างอิ งต าม ที่ แ ส ด งไว้ใน ต อ น ท้ าย ห ลั งแ บ บ
ประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซ่ึงต้นฉบับ
เป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้นต่อได้จากเว็บไซต์ท่ีระบุไว้ในแหล่ง
อา้ งองิ นัน้ ๆ

ทัศนะเกี่ยวกับลักษณะท่แี สดงถงึ ทกั ษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง
1. Nucum สาเร็จการศกึ ษาปริญญาตรี สาขาภาษาอังกฤษ วชิ าวารสารศาสตร์ เปน็ ผ้ทู ใี่ ห้

ความสนใจเกย่ี วกบั เร่ืองเทคโนโลยีการศึกษา กลา่ วถงึ ลักษณะท่ีแสดงถึงทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นา
ตนเอง ดังนี้

1.1) เป็นผู้ริเริ่ม (Take the Initiative) คอื การไดร้ ับมอบหมายให้ทาภารกิจบางอยา่ งท่ี
ไม่เคยทามาก่อน ซึ่งการริเริ่มด้วยตนเองเป็นลักษณะสาคัญของผู้เรียนท่ีช้ีนาตนเอง ผู้ที่ริเริ่มด้วย
ตนเองจะมีความมั่นใจในการพดู และแบ่งปนั ความคดิ ไมก่ ลัวทีจ่ ะคว้าโอกาสท่ีคนอ่นื มองขา้ ม

1.2) สารวจอย่างเป็นอิสระ (Explore Independently) ผู้เรียนท่ีช้ีนาตนเองมีความ
อยากรู้อยากเห็นสูง มีคาถามมากมายและต้องการทราบว่า “ทาไม” และ “อย่างไร” เก่ียวกับสงิ่ ต่าง ๆ
การเป็นอสิ ระไมไ่ ด้หมายความวา่ ผเู้ รียนจะแยกตัวเองออกจากผคู้ น การสรา้ งเครือข่ายและการรว่ มมือ
กับผู้คนยังคงเป็นส่วนสาคัญในการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนจะรู้วิธีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมและการ
ใชท้ รัพยากรท่มี ีอยู่

1.3) มีความรับผิดชอบ (Accept Responsibility) คนท่ีมีความรับผิดชอบจะ
กระตอื รือรน้ ท่ีจะทางานให้เสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด สว่ นที่เช่อื มโยงกับความรบั ผิดชอบคือการมีวินัยใน
ตนเอง ตรงตอ่ เวลา ทางานดว้ ยความคิดรเิ ริ่ม และทาตามกฎและขอ้ บังคับแม้วา่ จะไม่มีใครคอยเฝ้าดู

1.4) มีทัศนคติท่ีดีต่อชีวิต (Have a Healthy Outlook in Life) ผู้เรียนท่ีช้ีนาตนเอง
เห็นความท้าทายเป็นโอกาสในการเติบโต เรียนรู้ และปรับปรุง ความคิดเชิงบวกนี้ช่วยให้จัดการกับ
สถานการณท์ ่ยี ากลาบากได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

1.5) มีแรงจูงใจโดยธรรมชาติ (Naturally Motivated) แรงจูงใจภายในน้ันหมายถึง
พฤติกรรมที่ขับเคลื่อนโดยสิ่งตอบแทนท่ีเกิดภายใน ในทางตรงกันข้ามแรงจูงใจภายนอกเกิดขึ้น เม่ือ
ได้รับแรงจูงใจจากส่ิงตอบแทนภายนอก ในยามท่ีการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพราะความชอบ ผู้เรียนท่ี
ชี้นาตนเองท่ีประสบความสาเร็จจะต้องการทราบสิ่งต่าง ๆ เพียงเพราะชอบท่ีจะเรียนรู้ เข้าร่วมใน
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทรี่ ้สู ึกวา่ เปน็ รางวลั ส่วนตวั

1.6) รู้ทักษะพ้ืนฐานในการเรียน (Know Basic Study Skills) ประโยชน์ของทักษะ
พ้ืนฐานของการเรียน เช่น การจดบันทึก การถาม การอธิบายให้ตัวเองฟัง เป็นทักษะสาคัญที่ช่วยให้
ผเู้ รียนพฒั นาตนเองได้

1.7) รู้วิธีจัดการเวลา (Know How to Manage Time) การจัดการเวลาช่วยให้มีเวลา
ในการเรียนรู้จากส่ิงตา่ ง ๆ มากมาย แตไ่ มจ่ าเปน็ ต้องรีบเรง่ หรือทาส่งิ ต่าง ๆ ในคราวเดียว

240

1.8) รตู้ ัวเอง (Self-Aware) การตระหนักในตนเองนัน้ เป็นการร้วู ่าคุณคือใคร ทง้ั ในดา้ น
บุคลิกภาพ ค่านิยม และเป้าหมายในอนาคต ผู้ท่ีรู้ตัวเองจะเข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง และ
ความสามารถนชี้ ว่ ยให้ระบุรปู แบบการเรยี นร้ทู ่เี หมาะสมท่ีสดุ

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลกั ษณะทีแ่ สดงถึง
ทกั ษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Nucum ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
2. Hamdy กลา่ วถึงลักษณะท่แี สดงถงึ ทักษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง ดงั น้ี
2.1) การชี้นาตนเอง (Self-Directedness) ผ้เู รียนทช่ี ้ีนาตนเองได้เป็นอย่างดีจะไม่รอให้
คนอ่ืนบอกว่าต้องเรียนรู้สิ่งน้ันสิ่งน้ี โดยผู้เรียนเหล่านี้จะทุ่มเทพลังให้กับกิจกรรมการเรียนรู้ที่สร้าง
แรงจูงใจให้ตนเอง ความสนใจที่เกิดข้ึนขณะที่มีแรงจูงใจจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการเรียนรู้
แบบชี้นาตนเอง ดังน้ันผู้เรียนที่ชี้นาตนเองมีระดับของแรงจูงใจท่ีหลากหลายและรับรู้ถึงความ
รบั ผิดชอบต่อตนเองในฐานะผู้เรียน การชี้นาตนเองนี้เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นกระบวนการตลอด
ชีวิต
2.2) การพึ่งตนเอง (Independence) ผ้เู รียนทชี่ ้ีนาตนเองไม่ไดท้ าหน้าที่อสิ ระหรือเป็น

อิสระเสมอไป จรงิ ๆ แล้วยงิ่ ต้องเพ่ิมการสรา้ งเครือขา่ ยเพือ่ เรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพ อย่างไรก็ตาม

ผู้เรียนที่ชี้นาตนเองท่ีประสบความสาเร็จสามารถที่จะทางานตามลาพังไดด้ ี

2.3) ความพร้อม (Readiness) ความพร้อมหมายถึงระดับของความปรารถนาท่ีจะ
เรียนรู้ ช่วยเน้นแรงจูงใจและความต้องการของผู้เรียนเพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับกิจกรรมการเรียนรู้
ความพร้อมเป็นทัศนคติเบ้ืองต้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงจุดประสงค์หรือความสนใจ
ของผเู้ รยี นในการเรียนรู้ แนวความคดิ และความมั่นใจในตนเองของผู้เรยี น ระดบั ความทะเยอทะยาน
ของผู้เรียนสาหรับการเรียนรู้ ความเข้าใจและการประเมินของผู้เรียนว่าทาได้ดีเพียงใดเมื่อเทียบกับ
เปา้ หมายของตนเอง

2.4) การจัดการเวลา (Organizing Time) ผู้เรยี นท่ีช้นี าตนเองทป่ี ระสบความสาเร็จจะรู้
วธิ กี ารจดั สรรและจดั การเวลาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสาหรบั การเรียนรู้

2.5) การวางแผน (Set a Plan) ผู้เรียนท่ีช้ีนาตนเองท่ีประสบความสาเร็จตระหนักดีว่า
การวางแผนเป็นส่วนหนึ่งของการกาหนดระยะที่จะก้าว และในที่สุดก็จะไปถึงปลายทางได้ เป็นผู้ท่ีมี
ความปรารถนาอยา่ งแรงกล้าท่จี ะเรยี นรหู้ รอื เปลย่ี นแปลงและมีความมน่ั ใจในตนเอง สามารถใชท้ ักษะ
พ้ืนฐานในการศึกษา บริหารเวลา และกาหนดจังหวะท่ีเหมาะสมสาหรับการเรียนรู้ และพัฒนาแผน
สาหรบั การทางานให้สาเร็จ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจลักษณะทแ่ี สดงถึง
ทกั ษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Hamdy ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

241

3. Caruso สาเร็จการศึกษาปริญญาเอก คณะเทคโนโลยีและความเป็นผู้นา บัณฑิต
วิทยาลัยการศึกษาบอยเยอร์มหาวิทยาลัย William Howard Taft เป็นผู้ประสานโครงการ HRD
ความรู้ความเป็นผู้นาและการพัฒนา มหาวิทยาลัย Northeastern Illinois กล่าวถึงลักษณะหรือ
คณุ ลักษณะของคนทมี่ ีทักษะการเรียนรแู้ บบชนี้ าตนเอง ดงั นี้

3.1) การลงมือปฏิบตั ิที่บุคคลได้รับหรือไม่ไดร้ บั ความช่วยเหลอื จากผู้อ่นื (A practice
in which individuals, with or without the help of others)

3.2) ความพร้อม/ความปรารถนาท่ีจะเรียนรู้ (Readines/Desire to learn) หมายถึง
ระดบั ของความปรารถนาทจ่ี ะเรยี นรู้ เปน็ การย้าแรงจงู ใจและความต้องการของผู้เรียนเพื่อเตรียม
พรอ้ มสาหรบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ความพรอ้ มเปน็ ทัศนคตเิ บ้ืองต้นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้
แรงจงู ใจเป็นเหตุผลให้ทาการเรยี นรู้

3.3) มั่นใจในความสามารถในการเรียนรู้จากประสบการณ์การเรียนรู้ที่ผ่านมา
(Confident of their Learning Abilities based on Previous Learning Experiences)

3.4) สามารถกาหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ได้ (Capable of Setting their Own
Goals in Learning)

3.5) การคน้ หาแหล่งเรยี นรู้ (Find Resources for Learning)
3.6) สามารถเลอื กกลยทุ ธ์การเรยี นรู้ (Able to Choose Strategies for Learning)
3.7) สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้ตนเองและมีวินัยในตนเอง (Capable of Being
Self-Motivated and Self-Disciplined)
3.8) เข้าใจกระบวนการเรียนรู้และตระหนักถึงทักษะการเรียนรู้ของตนเอง
(Understand the Process of Learning, and are Aware of their Own Learning Skills)
3.9) เข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อนในการเรียนรู้ (Strengths and Weaknesses in
Learning)
3.10)การประเมินผลการเรียนรู้ (Assess Learning Outcomes)

โป รดท บท วน ตัวเอง แล้วตอบ ใน ใจว่าท่ านเข้าใจ ลักษณ ะท่ีแสดงถึง
ทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Caruso ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
4. Vaivada สาเร็จการศึกษาปริญญาเอกสังคมศาสตร์ อาจารย์ท่ีปรึกษานักวิจัย
ผู้เช่ียวชาญด้านภาวะผู้นาส่วนบุคคลและการพัฒนาตนเอง การจัดการบุคลากรสุขศึกษา การวิจัย
ประยุกต์ที่เกี่ยวข้องโดยใช้เครื่องมอื การวิจัยทแ่ี ตกต่างกัน กล่าวถึงลกั ษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้
แบบช้นี าตนเอง ดังน้ี
4.1) เปา้ หมายการเรยี นรู้ (Learning Aim)

4.2) เน้อื หาการเรียนรู้ (Learning Content)

4.3) โครงสร้างการเรยี นรู้ (ความสอดคล้อง) (Learning Structure (Consistency))

4.4) ระยะเวลาการเรยี นรู้ (Learning Duration)

242

4.5) ผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Learning Partners)

4.6) เทคนิคการเรยี นรู้ (Learning Techniques)

4.7) กลยุทธก์ ารเรยี นรู้ (Learning Strategies)

4.8) สอ่ื การเรียนรู้ (Learning Materials)

4.9) แหล่งเรยี นรู้ (Learning Resources)

4.10) รปู แบบการเรียนรู้ (Learning Forms)

4.11) สถาบันท่ีใหเ้ รียนรู้ (Learning Institutions)

4.12) สภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ (Learning Environment

4.13) สื่อการเรยี นร้แู ละอ่นื ๆ (Learning Media and etc)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจลักษณะท่ีแสดงถึง
ทกั ษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง ตามทศั นะของ Vaivada ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
5. Atkinson เป็นอาจารยส์ อนในระดับอดุ มศึกษา กลา่ วถึงลักษณะหรือคณุ ลักษณะของ
คนที่มีทักษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง ดังนี้
5.1) มแี รงจงู ใจ (Motivation) ผ้เู รียนสามารถที่จะเรียนรไู้ ด้โดยปราศจากการบังคับ
ภายนอก เชน่ รางวลั วฒุ ิบัตร เกยี รติบัตร หรอื ตาแหน่งต่าง ๆ
5.2) ทกั ษะการเรยี น (Study Skills) ผเู้ รียนเห็นความสาคัญของทกั ษะพนื้ ฐานได้แก่
การฟัง การอ่าน การเขียน และการจดบนั ทึก
5.3) ม่งุ เน้นเป้าหมาย (Goal-Oriented) ผเู้ รยี นเป็นผ้กู าหนดวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายใน
การเรยี นรู้ มีวิธีการลาดับขัน้ ตอนของการเรยี นรู้ โดยที่ผ้เู รยี นตอ้ งเป็นผ้กู ากับและจัดการเรียนร้ดู ว้ ย
ตนเอง
5.4) เป็นนักยทุ ธศาสตร์ (Strategist) ผู้เรียนเลอื กวธิ ีเรียนแบบทตี่ นชอบ เหมาะกบั
ตนเอง รวมท้งั ข้นั ตอนการเรยี นรขู้ องตนเอง ว่าจะนาไปถึงจุดมุ่งหมายท่ีทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้อยา่ งไร
5.5) มกี ารประเมินตนเอง (Self-Assessment) ผู้เรียนท่ีจะประสบความสาเรจ็ ในการ
เรยี นรู้แบบช้ีนาตนเองนัน้ พวกเขาจะต้องสามารถมสี ่วนรว่ มในการสะทอ้ นตนเองและประเมินตนเอง
ตามเปา้ หมายการเรียนร้แู ละความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ เพื่อสนบั สนนุ กระบวนการประเมินตนเอง
โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจลกั ษณะทแ่ี สดงถงึ
ทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทศั นะของ Atkinson วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
แบบประเมินตนเอง

243

1) ท่านเข้าใจลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Nucum
ชัดเจนดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี คร้ัง แล้วตอบคาถามในใจวา่ Nucum
กล่าวถงึ ลักษณะทแ่ี สดงถงึ ทกั ษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง ว่าอยา่ งไร ?

2) ท่านเข้าใจลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Hamdy
ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกครั้ง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Hamdy
กลา่ วถงึ ลกั ษณะทแ่ี สดงถึงทกั ษะการเรยี นร้แู บบชน้ี าตนเอง ว่าอย่างไร ?

3) ท่านเข้าใจลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทศั นะของ Caruso
ชัดเจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไมช่ ัดเจนดพี อ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ ีกครง้ั แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Caruso
กลา่ วถึงลักษณะท่ีแสดงถงึ ทกั ษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง ว่าอยา่ งไร ?

4) ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ Vaivada
ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ ีกครงั้ แล้วตอบคาถามในใจว่า Vaivada
กลา่ วถงึ ลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรยี นร้แู บบช้ีนาตนเอง ว่าอยา่ งไร ?

5) ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Atkinson
ชัดเจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี คร้งั แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Atkinson
กลา่ วถงึ ลักษณะทแี่ สดงถงึ ทกั ษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเอง วา่ อย่างไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด

“Ctrl & Click” เว็บไซตข์ องแต่ละแหล่งได้ ดังนี้
1) Nucum: https://bit.ly/2Zc0hmW
2) Hamdy: https://www.vapulus.com/en/characteristics-of-self-learning/
3) Caruso: https://bit.ly/2Yr1hGA
4) Vaivada: https://bit.ly/2LAXhxg
5) Atkinson: https://bit.ly/2Y4vUCy

เอกสารอา้ งอิง

244

Atkinson,T,H. (2015). Five characteristics of self-directed learners. Retrieved July 29,
2019, from https://bit.ly/2Y4vUCy

Caruso, S, J. (2011). Characteristics of self-directed learners. Retrieved July 25, 2019,
from https://bit.ly/2Yr1hGA

Hamdy, M. (2018). Characteristics of self-learning. Retrieved July 25, 2019, from
https://www.vapulus.com/en/characteristics-of-self-learning/

Nucum, K, N. (2019). Eight traits of a self-directed learner. Retrieved July 25, 2019,
from https://bit.ly/2Zc0hmW

Vaivada, S. ( 2012) . Characteristics of the student of self-directed learning in the
context of lifelong learning. Retrieved July 21, 2019, from
https://bit.ly/2LAXhxg

245

5.4 คู่มอื ชดุ ท่ี 4

ทศั นะเกย่ี วกับแนวการพฒั นาของทกั ษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง

พระปลัดเลก็ อานนโฺ ท (ทองแสน)
ดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตอสี าน

ปี พ.ศ. 2564

246

คมู่ อื ชดุ ท่ี 4
ทัศนะเกยี่ วกบั แนวทางการพฒั นาของทกั ษะการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้
หลังจากการศึกษาคู่มือชุดน้ีแล้ว ท่านมีพฒั นาการด้านพทุ ธพิ ิสัย (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังน้ี คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดงั นี้

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุแนว
ทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรูแ้ บบชี้นาตนเองได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรยี งแนวทางการพฒั นาของทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเองได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
แนวทางการพฒั นาของทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลแนวทางการพัฒนา
ของทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองได้

5) วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเองได้

6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการแนวทางการพัฒนา
ของทกั ษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองได้

โดยมีทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของแหล่ง
อ้างองิ ทางวิชาการตา่ ง ๆ ดงั น้ี

1) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะ ในเว็บไซต์ของ
Impact Teacher

2) แนวทางการพัฒนาของทกั ษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ Briggs
3) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Centre for

Teaching
4) แนวทางการพัฒนาของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Weimer
5) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Cobb
6) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Dickinson
7) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะ ในเว็บไซต์ของ

Professional Learning Board
8) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะ ในเว็บไซต์ของ

Wabisabi Learning

247

9) แนวทางการพัฒนาของทกั ษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง ตามทศั นะของ Nicora
10) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทศั นะของ Ark
11) แนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะ ในเว็บไซต์ของ

Design Your Homeschool

คาชีแ้ จง
1) โปรดศึกษาเน้ือหาเกี่ยวกับแนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จาก

ทัศนะท่ีนามากล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจท่ีสามารถอธิบายกับ
ตัวเองไดว้ า่ เขากลา่ วถงึ แนวการพัฒนาว่าอยา่ งไร

2) หลังจากการศึกษาเน้ือหาแต่ละทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีก
ครง้ั จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของค่มู ือ

3) เนื้อหาเก่ียวกับแนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จากทัศนะที่นามา
กล่าวถึง แต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่าน
ต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่าน้ัน ซ่ึงต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะ
สืบค้นต่อได้จากเว็บไซต์ท่รี ะบุไวใ้ นแหล่งอ้างอิงน้นั ๆ

ทัศนะเกย่ี วกับแนวการพฒั นาทกั ษะการเรียนร้แู บบช้ีนาตนเอง
1. Impact Teacher กล่าวถึงแนวการพฒั นาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ดังนี้
1.1) ผู้เรียนท่ีพึ่งพาผู้อื่น (Dependent Learners) พึ่งผู้อ่ืน (ท่ีเก่งกว่าหรือมีอานาจ)

เพ่ือบอกทิศทางที่ชัดเจนเกี่ยวกับส่ิงท่ีต้องทา วิธีทา (Rely an Authority Figures to Give them
Explicit Directions on What to Do)

1.2) ผู้เรียนที่สนใจ (Interested Learners) ตอบสนองต่อเทคนิคท่ีสร้างแรงบันดาลใจ
(Respond to Motivational Techniques)

1.3) ครูสามารถเตรียมนักเรียนโดยการฝึกอบรมพวกเขาในทักษะพ้ืนฐานเช่นการ
ตัง้ เปา้ หมาย (Teachers can Prepare Students to become more Self-Directing by Training
them in such Basic Skills as Goal Setting)

1.4) ผู้เรียนท่ีมีส่วนร่วม (Involved Learners) พัฒนาการคิดเชิงวิพากษ์และการ
ตระหนักรู้ในตนเองในฐานะผูร้ ่วมสรา้ งสรรค์

1.5) ครูควรเตรยี มเคร่ืองมือ วิธีการ เทคนิค และแนวทางในการสอนจากประสบการณ์
(Teacher offers Tools, Methods, Techniques, and Ways of Interpreting the Experience)

1.6) ผู้เรียนควรกาหนดเป้าหมายและมาตรฐานของตนเองโดยมีหรือไม่มีผู้เช่ียวชาญ
ชว่ ยเหลือกไ็ ด้ (Set their Own Goals and Standards, with or Without Help from Experts)

1.7) ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ ทิศทางและผลผลิต การบริหารเวลา การ
จัดการโครงการ การกาหนดเป้าหมาย การประเมินตนเอง การวิพากษ์เพ่ือน การรวบรวมข้อมูลและ
การใช้ทรัพยากรทางการศึกษา (Learners at this Stage are both able and Willing to take
Responsibility for their Learning, Direction and Productivity. They Exercise Skills in

248

time Management, Project Management, Goal-Setting, Self-Evaluation, Peer Critique,
Information Gathering and use of Educational Resources)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจแนวการพัฒนาของทกั ษะ
การเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทศั นะของ ในเวบ็ ไซต์ของ Impact

Teacher ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
2. Briggs กล่าวถงึ แนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรูแ้ บบชี้นาตนเอง ดังน้ี
2.1) ระบุเป้าหมายการเรยี นรู้ (Identify Your Learning Goals)
2.2) ตัง้ คาถามถึงความสาคัญของสิง่ ตา่ ง ๆ (Question the Significance of Things)
2.3) คน้ หาความทา้ ทายทนี่ ่าสนใจ (Seek out Interesting Challenges)
2.4) ตรวจสอบกระบวนการเรยี นรู้ (Monitor Your Own Learning Process)
2.5) เขา้ ใจวิธกี าร (Understand Your Own Approach)
2.6) ใชก้ ลยทุ ธ์การสร้างแรงจูงใจด้วยเกม (Use Game-Based Motivation
Strategies)
2.7) เร่ิมต้นด้วยขอ้ มูลพน้ื ฐานของหวั ขอ้ นนั้ (Start with Background on a Topic)
2.8) ปลกู ฝังแรงจูงใจจากภายใน (Cultivate Intrinsic Motivation)
2.9) แบ่งปันการเรียนรู้กับเพ่ือนและที่ปรึกษา (Share Your Learning with Peers
and Mentors)
2.10) สร้างสรรค์บางสิ่งจากส่ิงท่ี ได้เรียนรู้ (Create Something Out of What
You’ve Learned)
2.11) ส ร้ างส า ร ะ ก า ร เรี ย น รู้ ส่ ว น ตั ว (Build Your own Personal Learning
Syllabus)
2.12) ใช้เวลา (หรือไม่ใช้) เพ่ือผลประโยชน์ของคุณ (Use time (or lack thereof) to
your advantage)
2.13) ไขว่คว้าความรู้ ไม่ใช้เกรดดี ๆ (Pursue Knowledge, Not Good Grades)
2.14) สร้างแบบบันทึกการเรียนรู้ส่วนตัว (Create Your Own Personal Learning
Record)
2.15) บอกเลา่ ความสาเร็จของคณุ ทางวาจา (Verbalise Your Achievements)
2.16) ทารายการหัวข้อ “ทเ่ี ชย่ี วชาญ” (Make a List of Topics “to Master”)
2.17) ฝึกใชส้ ง่ิ ทีค่ ุณได้เรยี นรู้ (Practise Using What You’ve Learned)

249

2.18) ให้ คุ ณ ค่ ากั บ ค ว าม ก้ าว ห น้ าม าก ก ว่าผ ล ที่ ได้ (Value Progress Over
Performance)

2.19) ทาใหเ้ ป้าหมายใหเ้ ป็นจรงิ (Keep Your Goals Realistic)
2.20) สร้างเครือข่าย “เพ่ือนร่วมงานแห่งการเรียนรู้” (Build a Network of
“Learning colleagues”)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวการพัฒนาของทักษะ
ก า ร เรี ย น รู้ แ บ บ ช้ี น า ต น เอ ง ต า ม ทั ศ น ะ ข อ ง Briggs ว่ า อ ย่ า งไร ?

………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

3. ในเว็บไซตข์ อง Centre for Teaching Excellence กลา่ วถึงแนวการพัฒนาของ
ทกั ษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ดงั น้ี

3.1) ประเมนิ ความพร้อมในการเรยี นรู้ (Assess Readiness to Learn)
3.2) กาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ (Set Learning Goals)
3.3) เขา้ รว่ มในกระบวนการเรียนรู้ (Engage in the Learning Process)
3.4) ประเมินการเรียนรู้ (Evaluate Learning)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแนวการพัฒนาของทกั ษะ
การเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ ในเวบ็ ไซตข์ อง Centre for
Teaching Excellence วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

4. Weimer กล่าวถงึ แนวการพฒั นาของทักษะการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง ดงั นี้
4.1) เปน็ การเรียนรู้โดยไมต่ อ้ งให้บคุ คลอน่ื ช้ีนา (Ability to Manage Learning Tasks

Without having them Directed by Others)
โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจแนวการพัฒนาของทักษะ
การเรยี นร้แู บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Weimer วา่ อยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

5. Cobb กล่าวถงึ แนวการพัฒนาของทกั ษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ดังน้ี

250

5.1) คิดรเิ ริ่ม (Takes Initiative)
5.2) สบายใจกบั ความเปน็ อสิ ระ (Is Comfortable with Independence)
5.3) หมน่ั เรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Is Persistent)
5.4) ยอมรับหน้าทท่ี ี่รบั ผดิ ชอบ (Accepts Responsibility)
5.5) มองปัญหาว่าเป็นความท้าทาย ไม่ใชอ่ ปุ สรรค (Views Problems as
Challenges, Not Obstacles)
5.6) มีวนิ ยั ในตนเอง (Is Capable of Self-Discipline)
5.7) มคี วามสงสัยใคร่รู้ในระดับสงู (Has a High Degree of Curiosity Has a High
Degree of Curiosity)
5.8) มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าทจี่ ะเรยี นรู้หรือเปลีย่ นแปลง (Has a strong
desire to learn or change)
5.9) มคี วามม่ันใจในตนเอง (Is Self-Confident)
5.10) สามารถใชท้ กั ษะพน้ื ฐานในการศึกษา (Is Able to Use Basic Study Skills)
5.11) จดั การเวลา (Organizes His or Her Time)
5.12) เลือกจังหวะท่ีเหมาะสมสาหรบั การเรยี นรู้ (Sets an Appropriate Pace for
Learning)
5.13) พฒั นาแผนเพื่อทางานใหเ้ สรจ็ (Develops a Plan For Completing Work)
5.14) มีแนวโนม้ ทจ่ี ะมงุ่ เน้นเป้าหมาย (Has a Tendency to be Goal-Oriented)
5.15) สนกุ กบั การเรียนรู้ (Enjoys Learning)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวการพัฒนาของทกั ษะ
การเรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง ตามทศั นะของ Cobb ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

6. Dickinson กลา่ วถงึ แนวการพัฒนาของทักษะการเรียนร้แู บบช้นี าตนเอง ดงั นี้
6.1) เป็นเจ้าของการเรยี นรู้ของคุณ (Take Ownership of Your Learning)
6.2) ตงั้ เปา้ หมายแบบ SMART (Set SMART Goals)
6.3) กฎ 5 ชัว่ โมงของเบนจามิน แฟรงคลนิ (Benjamin Franklin's Five-Hour Rule)
6.4) การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning)
6.5) จดั ลาดับความสาคัญ (กฎ 80/20) (Prioritize (the 80/20 Rule)
6.6) เข้าห้องสมดุ (Visit the Library)
6.7) ใช้แรงจูงใจของคุณเอง (Employ Your Own Motivation)

251

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแนวการพัฒนาของทักษะ
การเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง ตามทศั นะของ Dickinson วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

7. ในเว็บไซต์ของ Professional Learning Board กลา่ วถึงแนวการพฒั นาของทักษะ
การเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง ดังนี้

7.1) ความต้องการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง (Need for Self-Directed Learning)
7.2) กระตุ้นการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง (Encouraging Self-Directed Learning)
7.3) สภาพแวดล้อมการเรยี นรู้ (Learning Environment)
7.4) พลงั ของการเลอื ก (Power of Choice)
7.5) พฒั นาทักษะ (Develop Skills)
7.6) การวิเคราะหเ์ ชิงวพิ ากษ์ (Critical Analysis)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจแนวการพัฒนาของทกั ษะ
การเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะในเวบ็ ไซต์ของ Professional
Learning Board ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

8. ในเว็บไซต์ของ Wabisabi Learning กล่าวถงึ แนวการพัฒนาของทักษะการเรยี นรู้
แบบชีน้ าตนเอง ดังน้ี

8.1) ความต้องการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง (Need for Self-Directed Learning)
8.2) กระตนุ้ การเรียนร้แู บบชี้นาตนเอง (Encouraging Self-Directed Learning)
8.3) สภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ (Learning Environment)
8.4) พลังของการเลอื ก (Power of Choice)
8.5) พฒั นาทักษะ (Develop Skills)
8.6) การวเิ คราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Analysis)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแนวการพัฒนาของทักษะ
การเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะในเวบ็ ไซต์ Wabisabi Learning
วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

252

………………………………………………………………………..............................................
9. Nicora กลา่ วถึงแนวการพฒั นาของทักษะการเรียนรูแ้ บบช้นี าตนเอง ดังนี้

9.1) สือ่ สารความคาดหวัง (Communicate Expectations)
9.2) สง่ เสรมิ ระบบสนับสนนุ (Promote Support Systems)
9.3) ใหเ้ ข้าถึงทรัพยากรการเรยี นรูท้ ม่ี คี ณุ ภาพสูงได้โดยง่าย (Provide Easy Access to
High Quality Learning Resources)
9.4) เพ่มิ โอกาสในการประเมินตนเอง (Develop Opportunities for Self-
Assessment)

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจแนวการพัฒนาของทกั ษะ
การเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Nicora ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

10. Ark กล่าวถงึ แนวการพัฒนาของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง ดังนี้
10.1) ทาไมการชนี้ าตนเองจงึ เกดิ ผล (Why Does Self-Direction Matter)
10.2) จะเรมิ่ จากตรงไหน (Where to Start)
10.3) ทักษะและเครอื่ งมือ (Skills & Tools)
10.4) วัฒนธรรม (Culture)
10.5) ประสบการณผ์ ู้เรียน (Learner Experience)
โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจแนวการพัฒนาของทกั ษะ
การเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Ark ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

11. ในเวบ็ ไซต์ของ Design Your Homeschool กลา่ วถงึ แนวการพัฒนาของทักษะ
การเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ดงั นี้

11.1) สรา้ งสภาพแวดล้อมการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย (Create a Rich Learning
Environment)

11.2) ใหเ้ วลาอยา่ งเพียงพอในสง่ิ ที่สนใจ (Create a Rich Learning Environment)
11.3) อภิปรายในส่ิงที่สนใจ (Discuss Interests)
11.4) ทาใหเ้ ป็นหลักสตู รจรงิ ๆ โปรแกรมการเรียนรู้ส่วนบุคคล (เลอื กทา/ไมท่ าก็ได)้
(Formalize the Course Individual Learning Program (Optional))

253

11.5) ฉลองให้กับการเรียนรู้ (Celebrate the Learning)
11.6) อยา่ ถอนคาพูด (Don’t Take it Back) หากตดิ ขดั พรอ้ มท่ีจะใหค้ าแนะนาหรอื
ทาหน้าที่เป็นตวั แทนความคิดของผู้อ่นื
11.7) คงไว้ซึง่ ความไว้วางใจได้ (Maintain Accountability

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจแนวการพัฒนาของทักษะ
การเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง ตามทศั นะในเว็บไซต์ Design Your
Homeschool วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะใน
เวบ็ ไซตข์ อง Impact Teacher ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
ของ Impact Teacher กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
วา่ อยา่ งไร ?
2) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ
Briggs ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ ีกคร้งั แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Briggs
กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเอง ว่าอย่างไร ?
3) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ
Centre for Teaching Excellence ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Centre for
Teaching Excellence กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
ว่าอยา่ งไร ?
4) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ
Weimer ชัดเจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ ีกครงั้ แล้วตอบคาถามในใจว่า Weimer
กลา่ วถงึ แนวทางการพฒั นาของทักษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเอง วา่ อยา่ งไร ?

254

5) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ
Cobb ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่

[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครงั้ แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Cobb
กล่าวถึงแนวทางการพฒั นาของทักษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง ว่าอย่างไร ?
6) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ
Dickinson ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Dickinson
กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรูแ้ บบชี้นาตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
7) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะใน
เวบ็ ไซต์ของ Professional Learning Board ชดั เจนดีแลว้ หรือไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
ของ Professional Learning Board กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้
แบบชี้นาตนเองว่าอยา่ งไร ?
8) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะใน
เว็บไซต์ของ Wabisabi Learning ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่

[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
ของ Wabisabi Learning กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง วา่ อยา่ งไร ?
9) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ
Nicora ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่

[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครง้ั แล้วตอบคาถามในใจ Nicora
กล่าวถึงแนวทางการพฒั นาของทกั ษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
10) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทัศนะของ
Ark ชัดเจนดีแลว้ หรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครง้ั แล้วตอบคาถามในใจว่า Ark
กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรยี นรูแ้ บบชี้นาตนเอง วา่ อย่างไร ?
11) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะใน
เวบ็ ไซตข์ อง Design Your Homeschool ชดั เจนดีแลว้ หรือไม่

[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ

255

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า ในเว็บไซต์
ของ Design Your Homeschool กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบ
ชี้นาตนเอง ว่าอย่างไร ?
หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด
“Ctrl & Click” เว็บไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังน้ี
1) Impact Teacher: https://bit.ly/2PMy160
2) Briggs: https://bit.ly/2YhITMr
3) Centre for Teaching Excellence : https://bit.ly/2Gp2Yf3
4) Weimer: https://bit.ly/2NWM3VQ
5) Cobb: https://bit.ly/2u8skqw
6) Dickinson: https://bigthink.com/personal-growth/self-directed-learning
7) Professional Learning Board: https://bit.ly/2ME5QqE
8) Wabisabi Learning: https://bit.ly/2YI4UUO
9) Nicora: https://bit.ly/31hZTnq
10) Ark: https://bit.ly/2MEEXD2
11) Design Your Homeschool: https://bit.ly/2ZwHzq7

เอกสารอ้างองิ
Ark, T, V. (2016). Developing self-directed learners. Retrieved August 5, 2019, from

https://bit.ly/2MEEXD2
Briggs, S. (2015). 20 Steps towards more self-directed learning. Retrieved July 26,

2019, from https://bit.ly/2YhITMr
Centre for Teaching Excellence/. (n.d.). Self-directed learning: A four-step process.

Retrieved July 29, 2019, from https://bit.ly/2Gp2Yf3
Cobb, J. (2019). 15 Ways of the successful self-directed learner. Retrieved August 4,

2019, from https://bit.ly/2u8skqw
Design Your Homeschool. (2006). Encouraging self-directed learning in a homeschool

setting. Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2ZwHzq7
Dickinson, K. (2018). 7 Habits of the best self-directed learners. Retrieved August 5,

2019, from https://bigthink.com/personal-growth/self-directed-learning
Impact Teacher. (2016). Promoting self-directed learners in classrooms. Retrieved

July 25, 2019, from https://bit.ly/2PMy160
Nicora, R. (2019). Four simple ways to encourage self-directed learning. Retrieved

August 5, 2019, from https://bit.ly/31hZTnq

256

Professional Learning Board. (2019). Encouraging self-directed learning in classrooms.
Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2ME5QqE

Wabisabi Learning. (2018). How to encourage self-directed learning practices in
students. Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2YI4UUO

Weimer, M. (2010). Developing students’ self-directed learning skills. Retrieved August
3, 2019, from https://bit.ly/2NWM3VQ

257

5.5 ค่มู อื ชดุ ที่ 5

ทศั นะเก่ยี วกับขนั้ ตอนการพฒั นาของทกั ษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเอง

พระปลดั เลก็ อานนโฺ ท (ทองแสน)
ดุษฎีบณั ฑิตสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตอีสาน

ปี พ.ศ. 2564

258

ค่มู อื ชุดท่ี 5
ทัศนะเก่ยี วกับขน้ั ตอนการพฒั นาของทักษะการเรียนรแู้ บบชนี้ าตนเอง

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
หลังจากการศกึ ษาคู่มือชุดนี้แล้ว ทา่ นมีพัฒนาการด้านพทุ ธพิ ิสัย (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกตใ์ ช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุขั้นตอน
การพัฒนาของทกั ษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเองได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงขั้นตอนการพัฒนาของทกั ษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเองได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
ขนั้ ตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนร้แู บบช้ีนาตนเองได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลขั้นตอนการพัฒนา
ของทักษะการเรียนรูแ้ บบช้นี าตนเองได้
5) วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ขั้นตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้

แบบชนี้ าตนเองได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการข้ันตอนการพัฒนา

ของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชนี้ าตนเองได้
โดยมีทัศนะเก่ียวกับขั้นตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของแหล่ง
อ้างอิงทางวิชาการตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1) ข้นั ตอนการพฒั นาของทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทศั นะของ Harvey
2) ข้ันตอนการพัฒนาของทกั ษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง ตามทัศนะของ Bull
3) ขน้ั ตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทศั นะของ Dobbs

คาชแ้ี จง
1) โปรดศึกษาเน้ือหาเกีย่ วกับขนั้ ตอนการพัฒนาของทักษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง จาก

ทัศนะที่นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับ
ตัวเองได้ว่า เขากล่าวถึงข้ันตอนการพัฒนาว่าอย่างไร

2) หลงั จากการศึกษาเน้ือหาแต่ละทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีก
ครงั้ จากแบบประเมินผลตนเองในตอนท้ายของค่มู ือ

3) เน้ือหาเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จากทัศนะที่
นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หาก

259

ทา่ นต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหลา่ นั้น ซ่งึ ตน้ ฉบับเปน็ บทความภาษาอังกฤษ ทา่ นสามารถ
จะสบื คน้ ต่อได้จากเว็บไซตท์ ี่ระบไุ ว้ในแหล่งอ้างอิงน้นั ๆ

ทศั นะเกย่ี วกับขัน้ ตอนการพัฒนาทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง
1. Harvey กลา่ วถงึ ขน้ั ตอนการพฒั นาของทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง ดังน้ี
1.1) การประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ (Assess Readiness to Learn)
1.2) การตงั้ เป้าหมายการเรียนรู้ (Set Learning Goals)
1.3) การมีส่วนรว่ มในกระบวนการการเรียนรู้ (Engage in the Learning Process)
1.4) การประเมินการเรียนรู้ (Evaluate Learning)
โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจข้นั ตอนการพฒั นาของ
ทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Harvey

ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

2. Bull กล่าวถึงขัน้ ตอนการพฒั นาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ดงั นี้
2.1) ตัดสินใจเลือกในส่ิงที่คุณอยากทาในโปรเจค (Decide what you want to do

for your project)
2.2) พัฒนาแผนการในการทาโปรเจค (Develop a plan for how to do it.)
2.3) กาหนดความช่วยเหลือที่คุณจาเป็นในการทาโปรเจคแต่ละส่วน (Determine

what help you need to do each part)
2.4) ออกแบบวิธีที่ใช้ในการบันทึกความก้าวหน้าของคุณ (Design a means of

documenting your progress)
2.5) เผยแพร่ (แบ่งปัน) ส่ิงท่ีคุณได้ทาละเรียนรู้ระหว่างทาง (Disseminate (share)

what you did and what you learned along the way)

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจข้ันตอนการพัฒนาของทักษะ
การเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Bull ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

3. Dobbs กลา่ วถึงข้นั ตอนการพฒั นาของทักษะการเรยี นร้แู บบช้ีนาตนเอง ดงั นี้
3.1) เข้าใจในแรงบันดาลใจของคุณเอง (Understand Your Motivation)

260

3.2) มีความชัดเจนและฉลาด (S.M.A.R.T.) ด้านสง่ิ ทค่ี ุณวางแผนจะเรยี นรู้ (Be clear &
S.M.A.R.T. About What You are Planning to Learn)

3.3) บริหารเวลาของคุณและติดตามการเรียนรู้ของคุณ (Get Organised with Your
Time & Tracking Your Learning)

3.4) สร้างเง่ือนไขในการเรียนรู้ของคุณ ให้ผู้อ่ืนมีส่วนร่วมกับความมุ่งม่ันของคุณด้วย
(Make a Public Commitment to Your Learning & Buddy up)

3.5) ประยุกต์ใช้สิ่งท่ีคุณ กาลังเรียนรู้ไปใช้ในชีวิต จริง (Apply What You are
Learning in Real-World Projects)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจขั้นตอนการพัฒนาของ
ทักษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเอง ตามทัศนะของ Dobbsว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเข้าใจข้ันตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ

Harvey ชัดเจนดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Harvey
กลา่ วถงึ ขนั้ ตอนการพัฒนาของทักษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง ว่าอยา่ งไร ?
2) ทา่ นเขา้ ใจขัน้ ตอนการพัฒนาของทักษะการเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเอง ตามทัศนะของ Bull
ชัดเจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไมช่ ัดเจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกครง้ั แล้วตอบคาถามในใจว่า Bull
กล่าวถงึ ขัน้ ตอนการพฒั นาของทกั ษะการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเอง ว่าอย่างไร ?

3) ท่านเข้าใจข้ันตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ
Dobbs ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ ีกคร้งั แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Dobbs
กลา่ วถึงขน้ั ตอนการพัฒนาของทกั ษะการเรยี นร้แู บบชีน้ าตนเอง วา่ อยา่ งไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับท่ีเป็นภาษาอังกฤษ โปรด

“Ctrl & Click” เว็บไซตข์ องแต่ละแหล่งได้ ดงั น้ี
1) Harvey: https://bit.ly/3j74rpy

261

2) Bull: https://bit.ly/3hneUNg
3) Dobbs: https://bit.ly/3goTYrx

เอกสารอา้ งองิ
Bull, B. (2013). 5 Simple Steps to Developing a Self-Determined Learning Plan.

Retrieved August 25, 2013, from https://bit.ly/3hneUNg
Dobbs, R. (2017). 5 Step DIY Self-Directed Learning Plan. Retrieved August 25, 2013,

from https://bit.ly/31qJMH9
Harvey, A. (2019). Self-Directed Learning – The Steps to Successful Outcomes.

Retrieved August 24, 2019, from https://bit.ly/3j74rpy

262

5.6 คมู่ ือชุดที่ 6

ทัศนะเกย่ี วกบั การประเมนิ ทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง

พระปลัดเลก็ อานนฺโท (ทองแสน)
ดษุ ฎบี ณั ฑิตสาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตอีสาน

ปี พ.ศ. 2564

263

คู่มอื ชุดท่ี 6
ทศั นะเก่ยี วกับการประเมินทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
หลังจากการศึกษาคมู่ อื ชดุ น้ีแลว้ ท่านมพี ัฒนาการด้านพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิด ของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุการ
ประเมินผลสาเร็จของทกั ษะการเรยี นร้แู บบช้ีนาตนเองได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงการประเมินผลสาเรจ็ ของทักษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
การประเมนิ ผลสาเร็จของทักษะการเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเองได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลการประเมินผล
สาเรจ็ ของทักษะการเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเองได้

5) วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์การประเมินผลสาเร็จของทักษะการ
เรียนรูแ้ บบชี้นาตนเองได้

6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการการประเมินผลสาเร็จ
ของทักษะการเรียนรูแ้ บบชน้ี าตนเองได้

โดยมีทัศนะเกี่ยวกับการประเมินผลสาเร็จของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของแหล่ง
อา้ งอิงทางวชิ าการต่าง ๆ ดงั น้ี

1) การประเมินของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Williamson and
Seewoodhary

2) การประเมินของทักษะการเรียนรูแ้ บบชีน้ าตนเอง ตามทัศนะของ Rodney
3) การประเมนิ ของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ตามทศั นะของ Khiat

264

คาช้ีแจง
1) โปรดศึกษาเนอ้ื หาเก่ียวกบั การประเมินของทักษะการเรียนร้แู บบช้นี าตนเอง จากทศั นะ

ที่นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจท่ีสามารถอธิบายกับตัวเองได้
วา่ เขากล่าวถงึ การประเมนิ ว่าอยา่ งไร

2) หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีก
ครั้งจากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนทา้ ยของคู่มือ

3) เนื้อหาเกี่ยวกับการประเมินของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จากทัศนะท่ีนามา
กล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่าน
ต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่าน้ัน ซ่ึงต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะ
สืบคน้ ตอ่ ได้จากเว็บไซตท์ ร่ี ะบไุ วใ้ นแหล่งอ้างอิงนน้ั ๆ

ทศั นะเกยี่ วกับการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง
1. Williamson and Seewoodhary กล่าวถึงเคร่ืองมือวัดระดับการประเมินตนเอง

ด้านการเรียนรู้แบบนาตนเอง (Self-Rating Scale for Self-Directed Learning: SRSSDL tool) ใน
บทความวิจัยที่มีช่ือว่า Student Evaluation of the Usefulness of the Self-rating Scale of
Self-directed Learning tool in the FdSc in Health and Social Care Course (การประเมิน
ผู้เรียนด้านประโยชน์ของการประเมินตนเองเก่ียวกับเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้แบบนาตนเอง โดย
FdSc ในคอร์สการดูแลสุขภ าพและสังคม) ซ่ึงตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Healthcare
Communications ปี ค.ศ.2007 ดังนี้

ตอนท่ี 1 ทดสอบการตระหนักรู้ (Awareness)
1) ฉันสามารถระบุความต้องการในการเรียนรู้อะไร (I identify my own learning

needs)
2) ฉันสามารถเลือกวิธีการเรียนรู้ท่ีดีท่ีสุดให้กับตัวเองได้ (I am able to select the

best method for my own learning)
3) ฉันคิดว่าครูคือผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้มากกว่าเป็นเพียงผู้ให้ข้อมูล (I

consider teachers as facilitators of learning rather than providing information only)
4) ฉันเป็นคนที่อัพเดทแหล่งเรียนรู้ใหม่ ๆ เสมอ (I keep up to date on different

learning resources available)
5) ฉนั รบั ผดิ ชอบการเรยี นรู้ดว้ ยตัวเอง (I am responsible for my own learning)
6) ฉันสามารถที่จะบอกได้ว่าส่วนใดที่ขาดหายไป (I am responsible for identifying

my areas of deficit)
7) ฉันสามารถรักษาแรงจูงใจของตนเองไว้ได้ (I am able to maintain self-

motivation)
8) ฉันสามารถวางแผนและต้ังเป้าหมายการเรียนรู้ของตัวเองได้ (I am able to plan

and set my learning goals)

265

9) เวลาที่ทางานติดต่อกันเป็นเวลานาน ฉันจะมชี ่วงเวลาพักผ่อนบ้าง (I have a break
during long periods of work)

10) ฉันมักจะแยกกิจวัตรการเรียนรู้ของฉันออกจากกิจวัตรอ่ืน ๆ (I need to keep
my learning routine separate from my other commitments)

11) ฉันมักจะนาประสบการณ์ที่ผ่านมามาประยุกต์เข้ากับข้อมูลใหม่ ๆ เสมอ (I relate
my experience with new information)

12) ฉันรู้สึกว่าฉันกาลังเรียนรู้ด้วยตัวเองแม้ไม่ได้รับคาแนะนาใด ๆ จากผู้สอน (I feel
that I am learning despite not being instructed by a lecturer)

13) อ่ืน ๆ (Any other:)
ตอนที่ 2 ทดสอบกลยทุ ธใ์ นการเรยี นรู้ (Learning Strategies)

2.1) ฉันมักจะมีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่มเสมอ (I participate in group
discussions)

2.2) ฉันพบว่าการที่เพ่ือนเป็นโค้ชน้ันเป็นอะไรที่มีประสิทธิภาพ (I find peer
coaching effective)

2.3) ฉันพบว่าการ “การสวมบทบาท” เป็นวิธีท่ีมีประโยชน์สาหรับการเรียนรู้ที่ซับซ้อน
(I find ‘role play’ is a useful method for complex learning)

2.4) ฉันพบว่าการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพมากกว่าการน่ังฟัง
บรรยาย (I find inter-active teaching-learning sessions more effective than just listening
to Lectures)

2.5) ฉันพบว่าการจาลองภาพในการเรียนการสอนน้ันมีประโยชน์ (I find simulation
in teaching-learning useful)

2.6) ฉันพบว่าการเรียนรจู้ ากกรณีตัวอย่างน้ันมีประโยชน์ (I find learning from case
studies useful)

2.7) แรงผลักดันภายในใจนาฉันไปสู่การพัฒนาและปรับปรุงการเรียนรู้ของฉันให้ดี
ย่ิงข้ึน (My inner drive directs me towards further development and improvement in
my learning)

2.8) สาหรบั ฉนั แลว้ ปัญหาถอื เป็นความทา้ ทาย (I regard problems as challenges)
2.9) ฉันจัดกิจวัตรการเรียนรู้ด้วยตนเองในลักษณะที่เป็นแนวทางในการช่วยพัฒนา
วัฒนธรรมการเรียนรู้ถาวรในชีวิต (I arrange my self-learning routine in such a way that it
helps develop a permanent learning culture in my life)
2.10) ฉันพบว่าแผนผังมโนทัศน์เป็นวิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (I find concept
mapping is an effective method of learning)

266

2.11) ฉันพบว่าเทคโนโลยีการศึกษาที่ทันสมัยช่วยปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของฉัน
ให้ ดี ยิ่ งขึ้ น (I find modern educational interactive technology enhances my learning
process)

2.12) ฉันสามารถเลือกกลยุทธ์การเรียนรู้ของตัวเองได้ (I am able to decide my
own learning strategy)

2.13) อน่ื ๆ (Any other:)
ตอนท่ี 3 ทดสอบกจิ กรรมการเรียนรู้ (Learning Activities)

3.1) ฉันท่องจาและทบทวนบทเรียนใหม่เสมอ (I rehearse and revise new
lessons)

3.2) ฉันระบุประเด็นสาคัญเมื่ออ่านบทเรียนหรือบทความ (I identify the important
points when reading a chapter or an article)

3.3) ฉันใช้การทาแผนผังมโนทัศน์/การเขียนโครงร่างซ่ึงเป็นวิธีที่มีประโยชน์ในการทา
ความเข้าใจข้อมูลท่ีหลากหลาย (I use concept mapping/outlining as a useful method of
comprehending a wide range of information)

3.4) ฉันสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ (I am able to use
information technology effectively)

3.5) ฉันใช้สมาธิมากข้ึนและเพง่ ความสนใจมากขนึ้ เมอื่ อา่ นเนอื้ หาทมี่ คี วามซบั ซ้อน (My
concentration intensifies and I become more attentive when I read a complex study
content)

3.6) ฉันจดบันทึกที่มีคาอธิบายประกอบหรือทาสรุปความคิด การสะท้อนและการ
เรีย น รู้ให ม่ ท้ั งห ม ด ข อ งฉั น (I keep annotated notes or a summary of all my ideas,
reflections and new learning)

3.7) ฉันเพลิดเพลินไปกับการค้นหาข้อมูลที่นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ของ
หลักสูตร (I enjoy exploring information beyond the prescribed course objectives)

3.8) ฉันสามารถเช่ือมโยงความรู้กับการลงมือปฏิบัติได้ (I am able to relate
knowledge with practice)

3.9) ฉันตั้งคาถามที่เกี่ยวข้องในการเรียนการสอน (I raise relevant question(s) in
teaching-learning sessions)

3.10) ฉันสามารถวิเคราะห์และสะท้อนความคิด ข้อมูล หรือประสบการณ์การเรียนรู้
ใหม่ ๆ อย่างมีวิจารณญาณได้ (I am able to analyze and critically reflect on new ideas,
information or any learning experiences)

3.11) ฉันเปิดใจให้กับความเห็นของผู้อ่ืนเสมอ (I keep an open mind to others’
point of view)

267

3.12) ฉันชอบที่จะหยุดพักระหว่างการเรียนแต่ละคร้ัง (I prefer to take any break
in between any learning task)

3.13) อ่ืน ๆ (Any other:)
ตอนที่ 4 ทดสอบการประเมนิ ผล (Evaluation)

4.1) ฉันประเมินตนเองก่อนได้รับคาติชมจากผู้สอน (I self-assess before I get
feedback from instructors)

4.2) ฉันระบุประเด็นสาหรับการนาไปพัฒนาต่อไปเมื่อไรก็ตามท่ีฉันจบบทเรียนแล้ว (I
identify the areas for further development in whatever I have accomplished)

4.3) ฉันสามารถติดตามความคืบหน้าการเรียนรู้ของฉัน (I am able to monitor my
learning progress)

4.4) ฉันสามารถระบุจุดแข็งหรือจุดอ่อนของตัวเองได้ (I am able to identify my
areas of strength and weakness)

4.5) ฉันรู้สึกขอบคุณเม่ืองานของฉันสามารถนาไปใช้ทบทวนและตรวจสอบข้อมูลได้ (I
appreciate when my work can be peer reviewed)

4.6) ฉันพบว่าทั้งความสาเร็จและความล้มเหลวน้ันล้วนเป็นแรงบันดาลใจให้ฉันเรียนรู้
มากขน้ึ (I find both success and failure inspire me to further learning)

4.7) ฉันให้ความสาคัญกับการวจิ ารณ์เพราะสามารถนาไปปรับปรุงการเรยี นร้ขู องฉนั ได้
(I value criticism as the basis of bringing improvement to my learning)

4.8) ฉันตรวจสอบตนเองเสมอไม่ว่าจะบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้หรือไม่ (I monitor
whether I have accomplished my learning goals)

4.9) ฉันตรวจสอบแฟม้ ผลงานของฉันเพื่อตดิ ตามความคืบหน้าการเรยี นรู้ (I check my
portfolio to review my progress)

4.10) ฉันทบทวนและสะท้อนกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ของฉัน (I review and
reflect on my learning activities)

4.11) ฉันพบการเรียนร้ใู หม่ ๆ ทีท่ ้าทาย (I find new learning challenging)
4.12) ฉันได้แรงบันดาลใจจากความสาเร็จของผู้อื่น (I am inspired by others’
success)
4.13) อน่ื ๆ (Any other:)
ตอนที่ 5 ทดสอบทักษะการตดิ ต่อสอ่ื สารระหว่างบุคคล (Interpersonal Skills)
5.1) ฉันตัง้ ใจเรียนรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับวัฒนธรรมและภาษาอ่ืน ๆ ท่ีฉันพบบ่อย (I intend
to learn more about other cultures and languages I am frequently exposed to)
5.2) ฉันสามารถระบุบทบาทของฉันภายในกลุ่มได้ (I am able to identify my role
within a group)

268

5.3) การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนช่วยให้ฉันพัฒนาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการวางแผน
เพื่อการเรียนรู้เพิ่มเติม (My interaction with others helps me to develop the insight to
plan for further learning)

5.4) ฉันใช้ประโยชน์จากทุกโอกาสท่ีมี (I make use of any opportunities I come
across)

5.5) ฉันจาเป็นต้องแบ่งปันข้อมูลกับผู้อ่ืน (I need to share information with
others)

5.6) ฉันรักษาความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลอ่ืน (I maintain good inter-personal
relationships with others)

5.7) ฉั น พ บ ว่าการท างาน กั บ ผู้ อื่ น เป็ น เรื่อ งง่าย (I find it easy to work in
collaboration with others)

5.8) ฉันมักประสบความสาเร็จในการส่ือสารด้วยวาจา (I am successful in
communicating verbally)

5.9) ฉันสามารถบอกได้ว่าการเชื่อมโยงแบบสหวิทยาการเป็นส่ิงท่ีจาเป็นเพ่ือรักษา
ความกลมกลืนทางสังคม (I identify the need for inter-disciplinary links for maintaining
social harmony)

5.10) ฉันสามารถแสดงความคิดผ่านการเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (I am able to
express my ideas effectively in writing)

5.11) ฉันสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ (I am able to express my
views freely)

5.12) ฉันพบวา่ มันท้าทายท่ีจะพยายามเรยี นรู้ในสภาพแวดล้อมทีห่ ลากหลาย (I find it
challenging to pursue learning in a culturally diverse milieu)

5.23 อ่ืน ๆ (Any other:)
โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจการประเมินของทักษะการ
เรียนรแู้ บบช้ีนาตนเอง ตามทัศนะของ Williamson and Seewoodhary
ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

2. Rodney ได้นาเสนอเคร่อื งมือวัดระดับการประเมินตนเองดา้ นการเรียนรู้แบบนาตนเอง
(Self-Rating Scale for Self-Directed Learning: SRSSDL tool) ใน บ ท ค ว าม วิจั ย ที่ มี ช่ื อ ว่ า
Evaluating the self-directed learning readiness of engineering undergraduates : a
necessary precursor to project-based learning (การประเมินความพร้อมของการเรียนรู้แบบ

269

นาตนเองของนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี: สื่อท่ีจาเป็นต่อการเรียนรู้ด้วย
โค รงงาน ) ซ่ึ งตี พิ ม พ์ ใน ว ารส าร World Transactions on Engineering and Technology
Education ปที ่ี 6 ฉบับที่ 1 ปี ค.ศ. 2007 มีคาอธิบายและข้อคาถามดงั น้ี

ตอนที่ 1 ทดสอบการจัดการตนเอง (Self-management)
1.1) ฉันจดั การเวลาได้เปน็ อย่างดี (I manage my time well)
1.2) ฉนั มีวนิ ัยในตนเอง (I am self-disciplined)
1.3) ฉันเป็นคนมีระเบียบ (I am organized)
1.4) ฉันตัง้ กรอบเวลาไว้อย่างเขม้ งวด (I set strict timeframes)
1.5) ฉันมีทักษะการจัดการท่ีดี (I have good management skills)
1.6) ฉนั เปน็ คนดาเนนิ ตามแบบแผน (I am methodical)
1.7) ฉันเรียนร้อู ยา่ งมีระบบ (I am systematic in my learning)
1.8) ฉนั ตง้ั เวลาสาหรับการเรียนโดยเฉพาะ (I set specific times for my study)
1.9) ฉนั แก้ไขปัญหาโดยการวางแผน (I solve problems using a plan)
1.10) ฉนั ลาดบั ความสาคญั การทางานของฉนั (I prioritize my work)
1.11) ฉนั สามารถเช่อื ถือไดใ้ นการเรยี นรดู้ ว้ ยตัวเอง (I can be trusted to pursue

my own learning)
1.12) ฉนั ชอบที่จะวางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (I prefer to plan my own

learning)
1.13) ฉันม่ันใจในความสามารถด้านการหาขอ้ มลู (am confident in my ability to

search out information)
ตอนท่ี 2 ทดสอบความปรารถนาในการเรียนรู้ (Desire for learning)
2.1) ฉนั อยากเรยี นรูข้ ้อมูลใหม่ ๆ (I want to learn new information)
2.2) ฉันสนกุ กับการเรียนรู้ข้อมูลใหม่ ๆ (I enjoy learning new information)
2.3) ฉนั มคี วามจาเปน็ ที่จะต้องเรียนรู้ (I have a need to learn)
2.4) ฉันสนกุ กบั ความท้าทาย (enjoy a challenge)
2.5) ฉันสนุกกับการเรยี น (I enjoy studying)
2.6) ฉันประเมนิ คา่ ความคิดใหม่ ๆ อย่างจริงจัง (I critically evaluate new ideas)
2.7) ฉันชอบทีจ่ ะรวบรวมขอ้ เทจ็ จริงก่อนทาการตดั สนิ ใจ (I like to gather facts

before I make a decision)
2.8) ฉันชอบที่จะประเมินส่ิงที่ฉันทา (I like to evaluate what I do)
2.9) ฉนั เปิดรับความคิดใหม่ ๆ เสมอ (I am open to new ideas)
2.10) ฉันเรียนร้จู ากความผดิ พลาด (I learn from my mistakes)
2.11) ฉันต้องรูใ้ ห้ไดว้ ่าทาไม (I need to know why)
2.12) เม่ือฉนั ประสบปัญหาที่ไมส่ ามารถแก้ไขได้ ฉนั จะขอความช่วยเหลือ (When

presented with a problem I cannot resolve I will ask for assistance)


Click to View FlipBook Version