The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phrapalad Lek, 2022-08-16 06:42:33

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

176
วดั ศรีนวล (ห้องเกียรติยศ) ซึ่งคณะครูมีความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการลงพ้ืนทภี่ าคสนาม ซึ่งอาจารย์
ทปี่ รกึ ษาประจาชั้นไดเ้ สนอตัวเปน็ ผู้ชว่ ยผวู้ ิจัยในการประสานงาน ติดตามชี้แจงให้กับคณะครทู ี่ยังมขี ้อ
สงสัย เน่ืองจากผู้วิจัยไม่สามารถประชุมครูแบบเผชิญหน้าท้ัง 25 รูป/คนได้ ท้ังนี้ต้องปฏิบัติตาม
มาตรการคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดขอนแก่น ซึ่งผู้ช่วยผู้วิจัยเป็นผู้สื่อสารกับกลุ่มทดลองได้เป็น
อย่างดี

เม่ือกลุ่มทดลองภาคสนามเข้าใจแนวทางในการปฏิบัติแล้ว ผู้วิจัยจึงส่งลิงก์แบบทดสอบ
ความรู้ของครู (Google Form) ท่ีเป็นกลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ให้กับคณะครูทุกคน
ผ่านกลุ่มไลนค์ รปู ระภัสสรวิทยา ในวนั ท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2564 โดยมีอาจารย์ทีป่ รึกษาประจาชัน้ ช่วย
ติดตามประสานงานให้อีกช่องทางหน่ึง และได้รับผลคะแนนลงในระบบครบถ้วนในวันท่ี 29
พฤศจกิ ายน 2564 ดังภาพที่ 4.6

ภาพที่ 4.6 การประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการวิจัย และทาแบบทดสอบของครูที่เป็นกลุ่ม
ทดลองกอ่ นการพฒั นา (Pre-test) ลงพนื้ ท่ีวจิ ยั โรงเรียนประภัสสรวทิ ยา วดั ศรนี วล

2) ผลการทดสอบผลการเรียนรขู้ องครทู ่เี ปน็ กลมุ่ ทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test)
จากการให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 25 รูป/คน ทาแบบทดสอบความรู้ของครูจานวน 36 ข้อ
“ก่อน” การพัฒนาโดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเองจากคู่มือท่ีผู้วิจัยจัดทาข้ึน ซึ่งจากผลการวิเคราะห์
ข้อมูล พบว่า ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลอง 25 รูป/คน ได้คะแนนจากการทดสอบ 714 คะแนน ซึ่งคานวณ
ค่าเฉล่ีย (MEAN) ได้เท่ากับ 28.56 คะแนน และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.77 จาก
คะแนนเตม็ 36 คะแนน ดังตารางที่ 4.8

ตารางท่ี 4.8 ผลการทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครทู เ่ี ปน็ กลุ่มทดลองก่อนการพฒั นา (Pr

กลมุ่ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรนู้ ยิ าม วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
ทดลอง ความสาคญั ลกั ษณะ/คณุ ลักษณะ
คนที่ วัด 6 ระดบั ความจาถึง
สร้างสรรค์ วัด 6 ระดบั ความจาถึง วัด 6 ระดบั ความจาถึง
1 สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์
2 123456
3 011101 123456 123456
4
5 111111 110111 101111
6 100110
7 011101 111111 111011
8 100110 001100 011111
9 111111 110111 101111
10 011101 101111 011100
11 011101 101101 010110
12 111011 010100 101111
13 111111 110111 101111
14 111111 111001 111011
15 111111 011100 111111
16 100110 011010 111011
17 011101 111111 111011
18 101111 101101 011111
19 111111 110111 101111
20 011101 101111 011100
111111 101101 010110
100110 110111 101111
111111 111111 111011
001101 011111
101101 010110

177

re-test)

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นร้แู นว วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ รวม
การพฒั นา ข้ันตอนการพัฒนา การประเมินผล
29
วัด 6 ระดบั ความจาถึง วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถึง 33
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ 23
31
123456 123456 123456 25
30
001111 111111 111011 24
29
110111 111111 101111 27
111110 111011 011100 28
111111 111111 111011 27
111110 110111 011101 31
111011 111111 111111 26
111111 011001 111010 31
001111 111111 111011 29
111101 101110 100111 30
111111 001001 111110 29
011111 010101 111110 33
110011 111110 101111 24
111110 111011 011101 30
111111 111111 111011
111110 111111 111101
111011 111111 111111
010111 111111 111011
110111 111111 101111
111111 011101 011100
111011 111111 111111

ตารางที่ 4.8 (ต่อ)

กลุม่ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรนู้ ิยาม วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
ทดลอง ความสาคัญ ลกั ษณะ/คุณลกั ษณะ
คนท่ี วดั 6 ระดบั ความจาถึง วดั 6 ระดบั ความจาถงึ
สรา้ งสรรค์ วัด 6 ระดบั ความจาถงึ
21 สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์
22 123456 123456
23 011101 123456 101111
24 100110 110111 011100
25 111111 101111 010110
111101 101101 111111
011111 011010 101111
110111

หมายเหตุ เลข 1 หมายถงึ ทาถูก, เลข 0 หมายถึงทาผิด

178

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรูแ้ นว วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
การพฒั นา ขั้นตอนการพัฒนา การประเมนิ ผล

วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถึง วัด 6 ระดบั ความจาถงึ รวม
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456 123456 123456
111111 111111
111110 110111 1 1 1 0 1 1 31
111011 111111 0 1 1 1 0 1 25
111111 011011 1 1 1 1 1 1 30
010111 111111 1 1 1 1 1 0 29
1 1 1 0 1 1 30

คะแนนรวมทุกคน 714
คะแนนเฉล่ีย 28.56
S.D. 2.77

179
3) ผลการพฒั นาเพ่ือการเรียนร้ขู องครูโดยหลกั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning)
จากการนาคู่มือประกอบโครงการท้ังสองโครงการที่ผู้วิจัยได้จัดทาขึ้น อัพโหลดไว้ในเว็บไซต์
http://online.anyflip.com/okgwj/lgyv/mobile/ และส่งเข้าในกลุ่มไลน์ (Group line) ทสี่ รา้ งขึ้น
ให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองในโรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล ได้ดาวน์โหลดไปศึกษาโดยหลักการ
เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (Self-Learning) ระยะเวลา 1 เดือน ดังภาพที่ 4.7

ภาพที่ 4.7 ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองกาลังศึกษาคู่มือประกอบโครงการพัฒนาความรู้ของครูเกี่ยวกับการ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง และคู่มือประกอบโครงการครูนาความรู้สู่การ
พัฒนานักเรยี น
4) ผลการตรวจสอบเพื่อหาข้อบกพร่องของคมู่ ือหลังการพัฒนาครู
ผู้วิจัยได้ลงพ้ืนที่ ในวันที่ 25 ธันวาคม 2564 ตรวจสอบเพ่ือหาข้อบกพร่องของคู่มือและ

ทดสอบครูหลังการพัฒนา ครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อการ
ปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการที่ 1 ซ่ึงได้อัพโหลดไว้ในเว็บไซต์ ส่วนข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุง
แก้ไขให้ส่งกลับทาง Group Line ใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูกับครูผู้สอนท่ีเป็นกลุ่มทดลอง
เพ่ือให้ทราบผลการเรียนรู้ว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ เป็นข้อสอบออนไลน์พร้อม
ตรวจคาตอบด้วย Google Form ดงั น้ี

4.1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความ
เปน็ ประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้

180

- ควรตรวจสอบเนื้อหาให้คลอบคลุม ปรับเน้ือหาให้กระชับ และทันสมัย สามารถ
นามาปรับใช้ได้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

4.2) การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มขี อ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
- ควรปรับสานวนภาษาท่ีแปลมาจากภาษาองั กฤษเพอื่ ให้เขา้ ใจง่ายยง่ิ ข้นึ
- ควรใช้คาให้ตรงกันและเหมอื นกนั ทงั้ หมดในทุกคู่มอื

4.3) การปรบั ปรุงแกไ้ ขดา้ นรปู แบบการนาเสนอ มขี ้อเสนอแนะ ดังนี้
- รูปแบบของแต่ละคู่มอื มลี กั ษณะคลา้ ยกนั ควรปรบั รูปแบบให้มีความหลากหลาย

เพม่ิ สสี นั ใหส้ วยงาม แทรกภาพกราฟิก การต์ นู เพื่อให้น่าสนใจและดงึ ดูดผู้อา่ นย่งิ ขน้ึ
4.4) อนื่ ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดังนี้
- ควรเน้นคา หัวข้อ ใหโ้ ดดเด่นชดั เจน

5) ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูทเ่ี ปน็ กลมุ่ ทดลองหลงั การพัฒนา (Post-test)
จากการให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 25 รูป/ คน ทาแบบทดสอบความรู้ของครูจานวน
36 ข้อ “หลัง” การพัฒนาโดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเองจากคู่มือที่ผู้วิจัยจัดทาขึ้น ซ่ึงจากผลการ
วิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 25 รูป/ คน ได้คะแนนจากการทดสอบ 838
คะแนน ซ่ึงคานวณค่าเฉลี่ย (MEAN) ได้เท่ากับ 33.52 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
เท่ากับ 1.87 จากคะแนนเต็ม 36 คะแนน ดงั ตารางท่ี 4.9

ตารางท่ี 4.9 ผลการทดสอบผลการเรียนรขู้ องครูทเี่ ป็นกล่มุ ทดลองหลังการพฒั นา (Po

กล่มุ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้นยิ าม วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้
ทดลอง ความสาคญั ลกั ษณะ/คณุ ลกั ษณะ
คนท่ี วัด 6 ระดบั ความจาถึง
สรา้ งสรรค์ วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถงึ
1 สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์
2 123456
3 11111 1 123456 123456
4
5 11111 1 111101 111111
6 11111 1
7 11111 1 111111 111111
8 11111 1 011111 111011
9 01111 1 111111 111111
10 11011 1 110111 111110
11 11111 1 111111 111111
12 11111 1 111111 110111
13 11111 1 111111 111111
14 11111 1 011111 111011
15 11111 1 111111 111111
16 11101 0 110111 111111
17 11111 1 111111 111111
18 01111 1 111111 111111
19 11011 1 111111 111110
20 11111 1 111111 111111
11111 1 111111 111111
11111 1 111111 111111
11111 1 111111 111111
111011 101011
111111 111111

181

ost-test)

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นร้แู นว วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ รวม
การพัฒนา ขนั้ ตอนการพัฒนา การประเมินผล
34
วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถึง 36
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ 29
35
123456 123456 123456 32
34
011111 111111 111111 30
35
111111 111111 111111 31
110110 101111 011101 35
011111 111111 111111 33
111111 111011 011111 34
111111 111110 111111 33
101111 110101 111110 34
111111 111110 111111 35
111110 101111 111101 34
111101 111111 111111 35
111111 011011 111111 36
111111 011111 110111 31
111111 011111 111111 35
111111 111111 111011
111111 111111 111111
101111 111111 111111
111101 111111 111111
111111 111111 111111
111111 111101 101111
111101 111111 111111

ตารางที่ 4.9 (ต่อ)

กลุ่ม วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้นิยาม วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
ทดลอง ความสาคัญ ลกั ษณะ/คุณลักษณะ
คนท่ี วดั 6 ระดบั ความจาถึง วดั 6 ระดบั ความจาถงึ
สร้างสรรค์ วัด 6 ระดบั ความจาถงึ
21 สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์
22 123456 123456
23 11111 1 123456 111111
24 11111 1 110111 101101
25 11111 1 111110 111111
10111 1 101111 110111
11110 1 111111 011111
111111

หมายเหตุ เลข 1 หมายถึงทาถกู , เลข 0 หมายถึงทาผิด

182

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรูแ้ นว วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
การพฒั นา ขั้นตอนการพัฒนา การประเมนิ ผล

วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถึง วัด 6 ระดบั ความจาถึง รวม
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456 123456 123456
111111 111011
111011 111111 1 1 1 1 1 1 34
111111 111111 1 1 0 1 1 1 31
111111 111111 1 1 1 1 1 1 35
111111 111111 1 1 1 1 1 1 34
1 1 1 0 1 1 33

คะแนนรวมทกุ คน 838
คะแนนเฉลย่ี 33.52
S.D. 1.87

183

6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลอง
กอ่ นและหลังการพฒั นาโดยใช้การทดสอบที (t-test)

การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและหลังการพัฒนาโดยใช้การทดสอบที
(t-test) ดังกล่าวในบทท่ี 3 ว่าตามหลักการทางวิชาการ ถือเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิด
หนึ่งท่ีนักวิจัยนิยมใช้การทดสอบ โดยวิธีการนี้ใช้ในกรณีข้อมูลมีจานวนน้อย (n < 30) ผู้ท่ีค้นพบการ
แจกแจงของ t มีชื่อว่า W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มน้ัน จาแนก
ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิตท่ีใช้
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน ข้อมูลที่รวบรวมได้อยู่ในระดับ
อันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีช่ือเฉพาะว่า t-test for Independent
Samples 2) การใช้ t-test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เป็นสถิตท่ีใช้เปรียบเทียบ
ค่าเฉล่ียระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการ
ทดสอบค่า t มีช่ือเฉพาะว่า t-test for Dependent Samples ซ่ึงมักพบในการวิจัยเชิงทดลองที่
ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มทดลอง
และกลมุ่ ควบคุมทีไ่ ด้จากการจับคคู่ ุณลักษณะทีเ่ ทา่ เทียมกนั (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวิจัยน้ี ใช้ t-test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เนื่องจากเป็นการวิจัยเชิง
ทดลองท่ีต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบื้องต้น ดังนี้
1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตัวอย่างเป็นกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มได้จากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตัวแปรตามแต่
ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี,
ทวีวัฒน์ ปติ ยานนท์ และ ดเิ รก ศรีสุโข, 2551) มสี ตู รในการคานวณ ดังนี้

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถึง ผลรวมของความแตกต่างระหวา่ งคะแนนก่อนและหลังการพัฒนา
∑D2 หมายถึง ผลรวมความแตกตา่ งของคะแนนก่อนและหลงั การพฒั นายกกาลังสอง

N หมายถึง จานวนกลุ่มทดลองท่ีได้รบั การพฒั นาทงั้ หมด

จากการให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 25 รูป/คน ทาแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู
“ก่อน” การพัฒนา (Pre-test) ได้คะแนนจากการทดสอบ 714 คะแนน ซึ่งคานวณค่าเฉล่ียได้เท่ากับ
28.56 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน และจากการทดสอบ “หลัง” การพัฒนา (Post-test)
พบว่า ครูทาคะแนนได้โดยรวม เท่ากับ 838 คะแนน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 33.52 จากคะแนนเต็ม 36
คะแนน ซึ่งเม่ือนาไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างคะแนน
“ก่อน” และ “หลัง” การพัฒนา โดยการทดสอบค่าที (t-test) ตามสูตรดังกล่าวข้างบน พบว่า ครูที่
เป็นกลุ่มทดลองได้คะแนนจากการทดสอบ “หลัง” การพัฒนาสูงกว่า “ก่อน” การพัฒนาอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลในตารางท่ี 4.10 แสดงให้เห็นว่า
โปรแกรมออนไลน์ท่ีประกอบด้วย 2 โครงการ แต่ละโครงการมีคู่มือประกอบนั้น มีประสิทธิภาพท่ี

184

สามารถจะนาไปใช้เพ่ือพัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้เพ่ือนาผลการเรียนรู้ไปพัฒนาต่อเน่ืองกับนักเรียน
ต่อไปได้ และสามารถที่จะนาไปเผยแพร่ให้ประชากรท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา คือ ครูใน
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สานักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
กองพุทธศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทุกโรงท่ัวประเทศ ได้นาไปใช้ได้อย่างมี
ผลการวิจยั รบั รอง

ตารางที่ 4.10 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ระหวา่ งคะแนน “ก่อน” และ “หลงั ” การพัฒนา

การทดสอบ จานวนกลุ่มทดลอง 28.56 S.D. t
กอ่ น 25 33.52 2.77 17.019*
หลงั 25 1.87

* p < 0.05

7) ผลการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบผลการเรียนรขู้ องครูที่เปน็ กล่มุ ทดลองหลงั การ
พัฒนา (Post-test) เปรยี บเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90/90

ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่าตามทัศนะทางวิชาการ การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน
90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed
Materials หรือ Programmed Textbook หรือ Programmed Lesson) ซ่ึงเป็นสื่อท่ีมีเป้าหมาย
หลักเพ่ือให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเป็นสาคัญ หลักจิตวิทยาสาคัญท่ีเป็นฐานคิดความเช่ือของสื่อ
ชนิดน้ีคือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learning) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถ
เรียนรู้ได้ หากจัดเวลาเพยี งพอจัดวธิ ีการเรยี นท่ีเหมาะสมกบั ผู้เรียนกส็ ามารถท่ีจะทาให้ผเู้ รียนสามารถ
เรียนรูไ้ ดต้ ามวัตถุประสงค์ของการเรียนได้

โดยเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวิจยั นี้ หมายถึง เกณฑ์ท่ใี ช้วัด
ความมีประสิทธิภาพของคู่มือต่อการเสริมสรา้ งความรูใ้ นโครงการพัฒนาความรใู้ ห้กับอาจารย์ผสู้ อนท่ี
เป็นกล่มุ ทดลอง โดย 90 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉล่ียของผู้เรียนท้ังกลุ่มที่ได้จากการวัด
ด้วยแบบทดสอบวัดความรอบรู้หลังจากเรียนจากบทเรียนที่สร้างข้ึนจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อย
ละของจานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรียนจากบทเรียนที่สร้างข้ึน
จบลง) โดยสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑว์ ัตถุประสงค์ทุกวัตถุประสงค์ (มนตรี แย้มกสิกร,
2551)

ทั้งนี้ ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ดั้งเดิมตามทัศนะ
ของ เปรื่อง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นาเสนอ
แนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) นั่นคือ 90 ตวั แรก เป็นคะแนนเฉล่ียของท้ัง
กลุ่ม ซึ่งหมายถึงทุกคน เมื่อสอนคร้ังหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุก
คะแนนแล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของท้ังกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉล่ียของกลุ่ม

185

จะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนท้ังหมด ได้รับ
ผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกขอ้ ของบทเรียนโปรแกรมนนั้ (เปรื่อง กุมุท, 2519 อ้าง
ถงึ ใน มนตรี แย้มกสิกร, 2551)

ตามทัศนะของ มนตรี แย้มกสกิ ร (2551)
สูตรท่ใี ชใ้ นการคานวณ 90 ตัวแรก
90 ตัวแรก = {(Σ X /N) X 100)}/R
โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จานวนรอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบหลังเรียน
Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้องจากการ
ทดสอบหลงั เรียน
N หมายถงึ จานวนผเู้ รียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกล่มุ ตวั อย่างในการคานวณประสทิ ธภิ าพครง้ั น้ี
R หมายถงึ จานวนคะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลังเรียน
สตู รท่ใี ชใ้ นการคานวณ 90 ตัวหลัง
90 ตัวหลงั = (Y x 100)/ N
โดย 90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนท่ีสามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก
วตั ถปุ ระสงค์
Y หมายถงึ จานวนผูเ้ รียนทีส่ ามารถทาแบบทดสอบผา่ นทุกวัตถุประสงค์
N หมายถึง จานวนผ้เู รยี นทั้งหมดทีใ่ ชเ้ ปน็ กลมุ่ ตวั อย่างในการคานวณประสิทธิภาพครัง้ นี้
ผลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลมุ่ ทดลองหลังการพัฒนา (Post-test) จาก
การดาเนินงานในโครงการที่ 1 โดยใชแ้ บบทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูท่ีมีลกั ษณะเป็นแบบปรนัย ท่ีมี
ตัวเลือก 4 ตัวเลือก จานวน 36 ข้อ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลดัง
ตารางท่ี 11

ตารางที่ 4.11 ผลการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครตู ามเกณฑม์ าตรฐา

กล่มุ วัตถปุ ระสงคก์ าร วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
ทดลองคน เรียนรนู้ ิยาม ความสาคญั ลกั ษณะ/คณุ ลกั ษณะ

ที่ คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล

1 6ผ 5ผ 6ผ
2 6ผ 6ผ 6ผ
3 6ผ 5ผ 5ผ
4 6ผ 6ผ 6ผ
5 6ผ 5ผ 5ผ
6 5ผ 6ผ 6ผ
7 5ผ 6ผ 5ผ
8 6ผ 6ผ 6ผ
9 6ผ 5ผ 5ผ
10 6ผ 6ผ 6ผ
11 6ผ 5ผ 6ผ
12 6ผ 6ผ 6ผ
13 4ม 6ผ 6ผ
14 6ผ 6ผ 5ผ
15 5ผ 6ผ 6ผ
16 5ผ 6ผ 6ผ
17 6ผ 6ผ 6ผ
18 6ผ 6ผ 6ผ

186

าน 90/90

วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ รวม
แนวการพฒั นา ขน้ั ตอนการพฒั นา การประเมินผล
34
คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล 36
29
5ผ 6ผ 6ผ 35
6ผ 6ผ 6ผ 32
4ม 5ผ 4ม 34
5ผ 6ผ 6ผ 30
6ผ 5ผ 5ผ 35
6ผ 5ผ 6ผ 31
5ผ 4ม 5ผ 35
6ผ 5ผ 6ผ 33
5ผ 5ผ 5ผ 34
5ผ 6ผ 6ผ 33
6ผ 4ม 6ผ 34
6ผ 5ผ 5ผ 35
6ผ 5ผ 6ผ 34
6ผ 6ผ 5ผ 35
6ผ 6ผ 6ผ 36
5ผ 6ผ 6ผ
5ผ 6ผ 6ผ
6ผ 6ผ 6ผ

ตารางท่ี 11 (ตอ่ )

กลุ่ม วตั ถปุ ระสงคก์ าร วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้
ทดลองคน เรียนรูน้ ิยาม ความสาคญั ลกั ษณะ/คุณลกั ษณะ

ท่ี คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล

19 6ผ 5ผ 4ม
20 6ผ 6ผ 6ผ
21 6ผ 5ผ 6ผ
22 6ผ 5ผ 4ม
23 6ผ 5ผ 6ผ
24 5ผ 6ผ 5ผ
25 5ผ 6ผ 5ผ
รวม 142 24 141 25 139 23
เฉลย่ี 5.82 5.55 5.64
90 แรก 94.67 94.00 92.67
90 หลงั
96.00 100.00 92.00

หมายเหตุ

1) เกณฑ์การผา่ นแตล่ ะวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ตอ้ งตอบถูกไม่น้อยกว่า 5 ขอ้ จากข้อสอบ 6 ข
2) ผล หมายถึง ผลการสอบผ่าน (ผ) หรือไมผ่ า่ นเกณฑ์ (ม) ของแต่ละวตั ถุประสงคก์ ารเรียนร

รอ้ ยละ 90 ตัวหลัง

187

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ รวม
แนวการพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา การประเมนิ ผล
31
คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล 35
34
6ผ 5ผ 5ผ 31
5ผ 6ผ 6ผ 35
6ผ 5ผ 6ผ 34
5ผ 6ผ 5ผ 33
6ผ 6ผ 6ผ 838
6ผ 6ผ 6ผ 33.52
6ผ 6ผ 5ผ 93.11
139 24 137 23 140 24 95.33
5.36 5.18 5.55
92.67 91.33 93.33

96.00 92.00 96.00

ขอ้ ซง่ึ เทา่ กับรอ้ ยละ 83.33 ของคะแนนเตม็ ของแต่ละวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
รู้ จานวนผทู้ ่ีสอบผ่านแตล่ ะวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรนู้ จี้ ะใชใ้ นการคานวณตามเกณฑ์

188

7.1) ผลการทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูเปรียบเทยี บกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน
25 รูป/คน หลังการพัฒนา (Post-test) จากแบบทดสอบซ่ึงมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ เพ่ือเปรียบเทียบกับเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตัวแรก ซ่ึงหมายถึงจานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มี
คะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 33.52 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมอื่ คดิ เป็นร้อยละแลว้ ได้ 93.11 ซึ่งมี
คา่ ร้อยละที่สงู กว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ร้อยละ 90 แสดงว่า การเสนอเน้ือหาในคู่มอื ประกอบโครงการทุก
ชดุ มีประสิทธิภาพทสี่ ามารถนาไปใชพ้ ฒั นาครใู หเ้ กดิ การเรยี นรไู้ ด้ตามเกณฑท์ กี่ าหนด

7.2) ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัว
หลงั

ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการ
พัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มี
ข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบท้ังฉบับ 36 ข้อ เกณฑก์ ารผา่ นแตล่ ะวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ต้องตอบถกู ไม่
น้อยกว่า 5 ข้อจากขอ้ สอบ 6 ขอ้ ซ่ึงเท่ากบั รอ้ ยละ 83.33 ของคะแนนเตม็ ของแต่ละวัตถปุ ระสงค์การ
เรียนรู้ เพ่ือใช้ในการคานวณเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง ซ่ึงหมายถึงร้อยละของจานวนครูท่ีสามารถ
ทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งจากจานวนครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลองทั้งหมด 25 คน
พบว่า มีครูร้อยละ 95.33 ท่ีสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงเป็นค่ารอ้ ย
ละท่ีสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ร้อยละ 90 แสดงว่า การเสนอเน้ือหาในคู่มือประกอบโครงการทุกชุดมี
ประสทิ ธิภาพท่สี ามารถนาไปใชพ้ ัฒนาครูใหเ้ กดิ การเรยี นรไู้ ด้ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด

ระยะที่ 2 ผลการทดลองตามโครงการท่ี 2 : โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา
นกั เรยี น

เป็นระยะของการนาผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติของครูที่เป็นกลุ่มทดลองตามโครงการครูนา
ผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน โดยในการปฏิบัติน้ัน เป็นการกาหนดให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองนาผล
การเรียนรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเองจากคู่มือตามโครงการที่ 1 ไปใช้พัฒนานักเรียนให้เกิดผลการ
พัฒนาตามท่คี าดหวงั มผี ลการดาเนินงานตามขน้ั ตอนต่าง ๆ ดงั นี้

1) การชแี้ จงระเบียบวิธวี จิ ัยใหก้ ับครูท่เี ปน็ กลมุ่ ทดลอง
ผู้วิจัยลงพื้นท่ีจริง ณ โรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล โดยการลงพื้นที่พบปะกับครูที่
เป็นกลุ่มทดลอง ในวันที่ 28 ธันวาคม 2564 (ดังภาพท่ี 4.8) เพื่อแนะนา ชี้แนะวิธีการประสานงาน
ต่าง ๆ แนะนาการส่งงานผ่าน Group Line และแนะนาเว็บไซต์ เพ่ือเข้าไปดาวน์โหลดเอกสารต่าง ๆ
โดยให้อิสระแก่ครูที่เป็นกลมุ่ ทดลอง ผู้วิจัยไม่เขา้ ไปยุ่งเก่ียว หลังจากถอดบทเรยี น ครูนาผลการเรียนรู้
ท่ไี ด้จากโครงการท่ี 1 ไปพัฒนานักเรยี นให้เกิดผลการพัฒนาตามที่คาดหวัง ในระยะเวลา 2 เดือน ซึ่ง
ครูที่เป็นกล่มุ ทดลองได้เร่มิ ดาเนินการพฒั นานักเรียนตามโครงการที่ 2 ต้งั แต่วันที่ 28 ธนั วาคม 2564
ถงึ วันท่ี 28 กมุ ภาพันธ์ 2565

189

ภาพท่ี 4.8 การประชุมชี้แจงระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ให้กบั ครทู ี่เปน็ กลมุ่ ทดลอง

2) การประเมนิ ทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชา้ ตนเองของนกั เรียนท่เี ปน็ กลมุ่ ทดลองก่อนการ

พฒั นา (Pre-test)

จากการใช้แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลอง
“ก่อน” การพัฒนา (Pre-test) จานวน 146 รปู โดยใชแ้ บบสอบถามท่ีมีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า
5 ระดับท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉล่ีย (Mean: ) และค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ดังตารางท่ี 4.12

ตารางท่ี 4.12 ค่าเฉล่ีย (Mean: ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
จากผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียนก่อนการทดลอง
(Pre-test)

คณุ ลักษณะทีแ่ สดงถงึ ทกั ษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง ผลการประเมิน
S.D.
การตระหนกั รู้ (Awareness)
1) ฉนั รับผดิ ชอบการเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง 3.47 0.74
2) ฉนั สามารถวางแผนและต้งั เป้าหมายการเรียนร้ขู องตัวเองได้ 3.57 0.72
3) ฉนั สามารถระบคุ วามตอ้ งการในการเรยี นรู้ของตนเอง 3.44 0.76
4) ฉนั สามารถเลอื กวธิ กี ารเรยี นรทู้ ่ีดที ่ีสดุ ใหก้ บั ตัวเองได้ 3.47 0.69
5) ฉันสามารถรกั ษาแรงจงู ใจเพื่อการเรยี นรขู้ องตนเองไวไ้ ด้ 3.53 0.78

190

ตารางที่ 4.12 (ตอ่ )

คณุ ลกั ษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง ผลการประเมิน
S.D.
การควบคุมตนเอง (Self-control)
6) ฉนั ตัดสินใจเลือกเรยี นรตู้ ามความตอ้ งการและความสนใจของตวั เองได้ 3.48 0.74
7) ฉนั รู้ขีดความสามารถของตวั เอง 3.62 0.71
8) ฉนั เช่อื ในความสามารถของตัวเอง 3.53 0.77
9) ฉนั จัดการเวลาไดเ้ ปน็ อย่างดี 3.50 0.75
10) ฉันสามารถจดั ลาดับความสาคญั ของงานได้ 3.41 0.75

การประเมินตนเอง (Self-Evaluation) 3.49 0.74
11) ฉนั สามารถประเมนิ ทักษะพ้ืนฐานในการเรยี นรู้ของตนเองได้ 3.40 0.78
12) ฉนั ไดแ้ รงบนั ดาลใจจากความสาเรจ็ ของผอู้ ื่น 3.40 0.70
13) ฉนั ตรวจสอบตนเองเสมอไม่วา่ จะบรรลุเปา้ หมายการเรยี นรหู้ รือไม่ 3.41 0.70
14) ฉันพบว่าทั้งความสาเรจ็ และความล้มเหลวนัน้ ลว้ นเป็นแรงบนั ดาลใจให้ฉนั
3.60 0.74
เรียนรมู้ ากขึ้น 3.44 0.67
ความปรารถนาในการเรยี นรู้ (Desire for learning) 3.43 0.70
3.59 0.78
15) ฉนั อยากเรียนรสู้ ิ่งใหม่ ๆ 3.47 0.75
16) ฉันสนุกกบั การเรียนรขู้ ้อมูลใหม่ ๆ 3.52 0.63
17) ฉนั เปดิ รบั ความคิดใหม่ ๆ เสมอ
18) ฉนั เรียนรู้จากประสบการณแ์ ละสภาพแวดลอ้ ม 3.52 0.71
19) ฉนั ชอบทจ่ี ะรวบรวมข้อเท็จจรงิ กอ่ นทาการตดั สินใจ
20) เมื่อฉันประสบปญั หาทไี่ มส่ ามารถแกไ้ ขได้ ฉันจะขอความช่วยเหลือ 3.45 0.74
กลยทุ ธก์ ารเรียนรู้ (Learning Strategies) 3.51 0.76
21) ฉันมีทกั ษะการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ โดยการเรียนรู้แบบแก้ปญั หาอย่าง 3.51 0.79
สร้างสรรค์ 3.41 0.78
22) ฉันชอบเรียนรู้แบบกลุ่มในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
23) ฉนั พบวา่ การมีเพ่ือนเปน็ ทป่ี รกึ ษาจะชว่ ยให้การเรยี นประสบผลสาเรจ็ 3.59 0.81
24) ฉนั พบวา่ แผนผังมโนทศั น์เป็นวิธกี ารเรยี นรู้ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ
25) ฉันพบวา่ การมสี ว่ นร่วมในการเรยี นการสอนนั้นมีประสิทธภิ าพมากกวา่ การนง่ั 3.56 0.79
ฟังบรรยาย 3.53 0.73
26) ฉนั พบว่าเทคโนโลยีการศึกษาทที่ นั สมยั ชว่ ยปรบั ปรุงกระบวนการเรียนรู้ของ 3.49 0.79
ฉันใหด้ ีย่งิ ขึน้ 3.40 0.75
กจิ กรรมการเรยี นรู้ (Learning Activities)
27) ฉนั เลือกเทคนิค/กิจกรรมการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมได้
28) ฉันชอบทจ่ี ะหยดุ พกั ระหว่างการเรยี นแตล่ ะครง้ั
29) ฉันชอบใชแ้ ผนผงั มโนทศั นใ์ นการทาความเข้าใจขอ้ มลู ท่หี ลากหลาย
30) ฉันสามารถเลอื กใชส้ ่ือเทคโนโลยีที่เหมาะสมได้

191

ตารางที่ 4.12 (ตอ่ )

คณุ ลักษณะทแี่ สดงถึงทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง ผลการประเมิน
S.D.
การติดต่อสอ่ื สารระหว่างบุคคล (Interpersonal Skills)
31) ฉนั เปิดใจใหก้ ับความเห็นของผ้อู ่ืนเสมอ 3.40 0.73
32) ฉนั พบวา่ การทางานกับผูอ้ ืน่ เปน็ เรือ่ งง่าย 3.49 0.77
33) ฉันมกั ประสบความสาเรจ็ ในการสื่อสารดว้ ยวาจา 3.55 0.74
34) ฉนั สามารถแสดงความคดิ ผา่ นการเขียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3.51 0.79
35) ฉนั พบวา่ มันท้าทายทีจ่ ะพยายามเรยี นรู้กบั บุคคลที่หลากหลาย 3.53 0.73
36) การมปี ฏิสมั พนั ธ์กับผูอ้ น่ื ชว่ ยให้ฉันพัฒนาความเขา้ ใจและการเรยี นรู้ได้อยา่ ง 3.52 0.72

ลึกซ้งึ 3.49 0.14
โดยรวม

จากตารางที่ 4.12 เห็นได้ว่า นักเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้รับการประเมินทักษะการเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเองท่ีครูผู้สอนท่ีเป็นกลุ่มทดลองจะนาความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน (Pre-test) มีค่าเฉลี่ย
(Mean) โดยรวมเท่ากบั 3.49 และมคี า่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กบั 0.14

3) ครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลองนาผลการเรยี นรู้สกู่ ารพฒั นาผู้เรยี น
3.1 ข้ันตอนและกจิ กรรมการดาเนินงาน

หลังจากที่มีการแนะนาให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้ศึกษาคู่มือประกอบโครงการทั้งสอง
โครงการโดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ท่ีสามารถจะนาผลการ
เรียนรู้ไปสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ครูผู้เป็นกลุ่มทดลองมีขั้นตอนและกิจกรรมการดาเนินงานตลอดระยะเวลา 2 เดือน คือ
ตง้ั แตว่ นั ที่ 28 ธนั วาคม 2564 ถึงวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2565 ดงั น้ี

- ประชุมวางแผนเพ่ือทาความเข้าใจ ชี้แจง กับผู้มีส่วนเก่ียวข้องในโรงเรียนท้ัง
ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา และคณะครูกลมุ่ ทดลอง

- เตรียมสถานที่ ห้องเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ
ทดสอบระบบอินเตอร์เน็ตให้พร้อมใช้งาน เพื่อให้คณะครูที่เป็นกลุ่มทดลองและนกั เรียนสามารถเข้าสู่
ระบบ รบั ส่ง ขอ้ มูลได้อย่างสะดวก รวดเรว็

- ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้ศึกษาคู่มือวิจัยโดยเลือกใช้เวลาว่างในการศึกษา เพ่ือไม่ให้
กระทบตอ่ การจัดการเรียนการสอน

- ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้ร่วมระดมสมองเพ่ือหาข้อพกพร่องของคู่มือ โดยการถอด
บทเรียน เพื่อการปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการที่ 2 หลังการทดลองในภาคสนามระยะท่ี 2 โดยได้
กรอกข้อมลู เป็นรายบคุ คลผ่านทาง Google Form

- เมื่อศึกษาจนครบทุกท่านตามกรอบระยะเวลา ผู้วิจัยร่วมประชุมครูที่เป็นกลุ่ม
ทดลองอีกครั้ง เพื่อระดมความคิด หาข้อสรุปร่วมกัน ว่ามีข้อพกพร่องอะไรท่ีจะต้องแก้ไขปรับปรุงให้
เป็นแนวทางเดียวกนั

192

- นาแบบประเมินตนเองของผู้เรียน ซ่ึงเป็นแบบประเมินค่า 5 ระดับ เพ่ือตรวจสอบ
ผู้เรียนก่อนการพัฒนา เพื่อทราบข้อมูลก่อนการพัฒนาเบื้องต้นจะมีผลอย่างไร ตามกระบวนการที่
ผวู้ ิจยั ได้แนะนา

- หลังจากน้ันครูผู้สอนมีการนาความรู้ท้ังหมดท่ีได้จากการศึกษาในคู่มือ ไปปรับใช้
และบูรณาการในรายวิชาท่ีสอน เพื่อพฒั นาผู้เรียนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง และ
ทากิจกรรมเกี่ยวกับเนื้อหาท่ีสอน สอดแทรกการเรียนรู้ เช่น กรณีคุณครูนายยศชาติ สร้อยไข สอน
วิชาคณิตศาสตร์ ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ได้จัดการสอนโดยให้นักเรียนค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อ
อนิ เทอร์เน็ต ซงึ่ จากการสงั เกตพบว่า นักเรยี นให้ความสนใจ และสนกุ กับการเรียนรู้กบั ข้อมูลใหม่ ๆ มี
การสนทนาพูดคุยกันในระหว่างการค้นคว้าหาข้อมูล และซักถามถามครูผู้สอนเป็นระยะ ๆ และ
สอดคล้องกับพระครูสุตธรรมวิจารณ์ สอนวิชาภาษาบาลี ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้นาสื่อการ
สอน คือคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนมาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน โดยสง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ เขา้ ไปในกลุม่ ไลน์
เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน ซ่ึงช่วยทาให้นักเรียนมีความสนใจมากข้ึน โดยเฉพาะเวลาให้ทา
กิจกรรมในรูปแบบของ Googl From นักเรียนจะให้ความสนใจดีมาก เพราะสามารถท่ีจะทราบผล
คะแนนท่ีตนเองทาเสร็จ ขณะเดียวกันครูผสู้ อนสามารถเลือกใช้สื่อที่หลากหลายใหแ้ ก่นกั เรียนได้ เช่น
แผนภูมิ คลิปวีดีโอ เป็นต้น สอดคล้องกับพระมหาสมบัติ ญาณวีโร สอนวิชาภาษาไทย ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในสาระการอ่าน ได้มอบหมายให้นักเรียนไป
ติดตามอ่านข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท่ีทางโรงเรียนติดประกาศไว้ที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน
พร้อมกับให้มาสรุปให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรียนฟัง ซ่ึงนักเรียนมีความกระตือรือร้นในการติดตามข่าวสาร
ตา่ ง ๆ มคี วามรับผิดชอบในประเด็นท่ีครูมอบหมาย จดั การวางแผนการทางานของตนเองได้เป็นอยา่ ง
ดี โดยเฉพาะในการนาเสนอหน้าช้ันเรียน ซ่ึงจากการสังเกต นักเรียนสามารถสรุปประเด็นข่าวสารได้
อยา่ งครอบคลมุ และยงั สอดคล้องกับคณุ ครูเจษฎา พลพลิ า สอนวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี ใน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าประเด็นที่เก่ียวกับโรคโควิด-19 จากเว็บไซต์
Google พร้อมท้ังให้สรปุ ประเด็นที่ค้นคว้า และข้อควรปฏิบัติกรณีอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยง
ซ่ึงจากการสังเกตและบันทึกภาพ พบว่า นกั เรียนให้ความสนใจ มกี ารพูดคุยกันอยา่ งหลากหลาย และ
มีความสุขกับการเรียนในรายวิชา ขณะเดียวกันครูผู้สอนก็คอยเป็นท่ีปรึกษา แนะนาอย่างใกล้ชิด
ขณะเดียวกับผู้วิจัยได้ติดตามและร่วมสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตลอดระยะเวลา 2 เดือน พบว่า
นักเรียนได้นาเอาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อาทิ การเข้าไปใช้
บริการในห้องสมุดโรงเรียนเป็นประจา การเขา้ ไปใช้บริการอินเทอร์เน็ตโรงเรียนเพื่อสืบค้นข้อมูล การ
ติดตามข้อมูลข่าวสารของทางโรงเรียน การใช้โทรศัพท์มือถือของตนเองเพื่อช่วยในการเรียนการสอน
การสอื่ สารผ่านกลุ่มไลน์ของแต่ละช้นั ระหว่างครทู ่ีปรกึ ษากบั นักเรียน การเข้าไปติดตามขอ้ มูลข่าวสาร
ต่าง ๆ ของทางโรงเรียนผ่านช่องทาง เพจโรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล และเว็บไซต์โรงเรียน
ประภัสสรวิทยา วดั ศรนี วล อย่างต่อเน่อื ง (ดงั ภาพที่ 4.9)

- หลังจากเสร็จกระบวนการ ครูได้ดาเนินการประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมิน
ตนเองของผู้เรยี น ซง่ึ เปน็ แบบประเมินค่า 5 ระดับ จากน้ันนาข้อมูลจากแบบประเมินมาคานวณหาค่า
ตา่ ง ๆ

- เสร็จสิน้ กระบวนการนาความรูส้ ่กู ารพัฒนาผเู้ รียน

193

194

ภาพที่ 4.9 ครูทเี่ ปน็ กลุ่มทดลองนาผลการเรียนรสู้ ูก่ ารพฒั นานกั เรียน

3.2 การนาข้อเสนอทางเลือกที่เป็นหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ /
กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการรู้แบบช้ีนาตนเองให้กับนกั เรียน

ในตอนท้ายของคู่มือประกอบโครงการที่สอง คือ โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การ
พัฒนานักเรียน ผู้วิจัยได้จัดทาแบบประเมินตนเอง (Self-Assessment) โดย Google Form ไว้
เพื่อให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้ใช้ประเมินตนเองว่า หลังจากผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนตลอด
ระยะเวลา 2 เดือนท่ีผ่านมา ได้นาเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมไปใช้ในการ
พัฒนาทักษะการรู้แบบชี้นาตนเองให้กับนักเรียนในระดับใด จากตัวเลือก 6 ระดับ คือ 0 หมายถึง
ไม่ได้นาไปปฏิบัติเลย ตัวเลือก 1–5 หมายถึง นาไปปฏิบัติน้อยท่ีสุดถึงมากท่ีสุด ดังมีผลการประเมิน
ตนเองในตารางท่ี 4.13

ตารางท่ี 4.13 ผลการประเมินตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองในการนาข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการรู้แบบ
ช้นี าตนเองใหก้ บั นักเรียน

ข้อเสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรม คา่ ความถี่แสดงระดับการนาไปปฏิบตั ิ
012345
เพ่อื การนาไปปฏบิ ตั ิ 39562

ทศั นะในเวบ็ ไซต์ของ Impact Teacher (2018) 4 6 5 10
5587
1) ผู้เรียนที่พ่ึงพาผู้อ่ืน (Dependent Learners) พึ่งผู้อ่ืน (ที่เก่ง
กว่าหรือมีอานาจ) เพ่ือบอกทิศทางที่ชัดเจนเกี่ยวกบั สิ่งที่ต้องทา วิธี
ท า ( Rely an Authority Figures to Give them Explicit
Directions on What to Do)

2) ผู้เรียนที่สนใจ (Interested Learners) ตอบสนองต่อเทคนิค
ที่สรา้ งแรงบันดาลใจ (Respond to Motivational Techniques)

3) ครูสามารถเตรียมนักเรียนโดยการฝึกอบรมพวกเขาในทักษะ
พื้นฐานเช่นการตั้งเป้าหมาย (Teachers can Prepare Students
to become more Self-Directing by Training them in such
Basic Skills as Goal Setting)

195

ตารางที่ 4.13 (ต่อ)

ขอ้ เสนอหลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธกี าร / กจิ กรรม คา่ ความถ่ีแสดงระดบั การนาไปปฏิบัติ
012345
เพอ่ื การนาไปปฏิบัติ
5569
4) ผเู้ รียนท่มี สี ่วนร่วม (Involved Learners) พัฒนาการคิดเชิง 4 10 6 5
วิพากษ์และการตระหนกั รู้ในตนเองในฐานะผู้ร่วมสร้างสรรค์
4786
5) ครูควรเตรียมเคร่ืองมอื วธิ กี าร เทคนคิ และแนวทางในการ
สอนจากประสบการณ์ (Teacher offers Tools, Methods, 4597
Techniques, and Ways of Interpreting the Experience)
10 6 9
6) ผ้เู รียนควรกาหนดเปา้ หมายและมาตรฐานของตนเองโดยมี 5686
หรอื ไมม่ ผี เู้ ชยี่ วชาญช่วยเหลือกไ็ ด้ (Set their Own Goals and 4588
Standards, with or Without Help from Experts) 9664
8476
7) ผเู้ รียนมีความรบั ผดิ ชอบต่อการเรยี นรู้ ทศิ ทางและผลผลติ การ 6595
บริหารเวลา การจัดการโครงการ การกาหนดเป้าหมาย การ 4687
ประเมินตนเอง การวิพากษ์เพ่ือน การรวบรวมข้อมูลและการใช้ 4777
ทรัพยากรทางการศึกษา (Learners at this Stage are both 5758
able and Willing to take Responsibility for their Learning, 4669
Direction and Productivity. They Exercise Skills in time
Management, Project Management, Goal-Setting, Self-
Evaluation, Peer Critique, Information Gathering and use
of Educational Resources)
ทศั นะของ Briggs (2015)

1) ระบเุ ปา้ หมายการเรยี นรู้ (Identify Your Learning Goals)

2) ตัง้ คาถามถงึ ความสาคญั ของสิ่งต่าง ๆ (Question the
Significance of Things)

3) คน้ หาความท้าทายทีน่ า่ สนใจ (Seek out Interesting
Challenges)

4) ตรวจสอบกระบวนการเรยี นรู้ (Monitor Your Own
Learning Process)

5) เขา้ ใจวธิ ีการ (Understand Your Own Approach)

6) ใช้กลยุทธ์การสรา้ งแรงจงู ใจดว้ ยเกม (Use Game-Based
Motivation Strategies)

7) เร่มิ ต้นดว้ ยขอ้ มลู พน้ื ฐานของหวั ข้อนัน้ (Start with
Background on a Topic)

8) ปลูกฝงั แรงจูงใจจากภายใน (Cultivate Intrinsic
Motivation)

9) แบ่งปนั การเรยี นร้กู ับเพ่อื นและทป่ี รึกษา (Share Your
Learning with Peers and Mentors)

10) สร้างสรรคบ์ างสิง่ จากสิ่งทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ (Create Something
Out of What You’ve Learned)

196

ตารางท่ี 4.13 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอหลกั การ / แนวคดิ / เทคนิค / วธิ ีการ / กจิ กรรม คา่ ความถแี่ สดงระดบั การนาไปปฏิบตั ิ
012345
เพื่อการนาไปปฏบิ ตั ิ
4687
11) สรา้ งสาระการเรยี นรสู้ ่วนตวั (Build Your own Personal 8476
Learning Syllabus) 5785

12) ใช้เวลา (หรือไม่ใช้) เพอื่ ผลประโยชน์ของคุณ (Use time (or 8476
lack thereof) to your advantage) 6595
6685
13) ไขว่คว้าความรู้ ไม่ใช้เกรดดี ๆ (Pursue Knowledge, Not
Good Grades) 6595
4777
14) สร้างแบบบันทกึ การเรียนรู้สว่ นตัว (Create Your Own 6757
Personal Learning Record) 6685

15) บอกเล่าความสาเรจ็ ของคุณทางวาจา (Verbalise Your 3589
Achievements)
6586
16) ทารายการหัวขอ้ “ท่ีเชย่ี วชาญ” (Make a List of Topics 6595
“to Master”) 3679
4786
17) ฝกึ ใชส้ ่งิ ท่ีคุณไดเ้ รยี นรู้ (Practise Using What You’ve 3589
Learned) 26872
28852
18) ให้คณุ คา่ กบั ความก้าวหน้ามากกว่าผลทไี่ ด้ 325645
(Value Progress Over Performance)
19) ทาใหเ้ ป้าหมายใหเ้ ป็นจริง (Keep Your Goals Realistic)

20) สร้างเครือขา่ ย “เพื่อนร่วมงานแห่งการเรยี นรู้” (Build a
Network of “Learning colleagues”)
ทศั นะของ Weimer (2010)

1) เป็นการเรียนร้โู ดยไมต่ อ้ งใหบ้ ุคคลอน่ื ช้ีนา (Ability to
Manage Learning Tasks Without having them Directed by
Others)
ทศั นะของ Cobb (2019)

1) คดิ รเิ ริม่ (Takes Initiative)

2) สบายใจกบั ความเปน็ อสิ ระ (Is Comfortable with
Independence)

3) หมนั่ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Is Persistent)

4) ยอมรับหน้าที่ท่ีรับผดิ ชอบ (Accepts Responsibility)

5) มองปัญหาวา่ เปน็ ความท้าทาย ไมใ่ ช่อุปสรรค (Views
Problems as Challenges, Not Obstacles)

6) มีวนิ ัยในตนเอง (Is Capable of Self-Discipline)

7) มีความสงสยั ใครร่ ู้ในระดบั สูง (Has a High Degree of
Curiosity Has a High Degree of Curiosity)

8) มคี วามปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ท่ีจะเรียนร้หู รือเปล่ียนแปลง
(Has a strong desire to learn or change)

197

ตารางท่ี 4.13 (ต่อ)

ขอ้ เสนอหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรม ค่าความถ่แี สดงระดบั การนาไปปฏิบตั ิ
เพ่ือการนาไปปฏิบตั ิ 012345

9) มคี วามมนั่ ใจในตนเอง (Is Self-Confident) 3 5 10 7
10) สามารถใช้ทักษะพื้นฐานในการศึกษา (Is Able to Use 27835
Basic Study Skills)
11) จัดการเวลา (Organizes His or Her Time) 143575
12) เลอื กจงั หวะทเ่ี หมาะสมสาหรบั การเรยี นรู้ (Sets an 65842
Appropriate Pace for Learning)
13) พัฒนาแผนเพื่อทางานให้เสรจ็ (Develops a Plan For 343573
Completing Work)
14) มแี นวโนม้ ทจี่ ะมงุ่ เน้นเป้าหมาย (Has a Tendency to be 523555
Goal-Oriented)
15) สนกุ กบั การเรียนรู้ (Enjoys Learning) 5767

ทศั นะของ Dickinson (2018) 48652
1) เปน็ เจ้าของการเรยี นร้ขู องคุณ (Take Ownership of Your
54367
Learning) 6793
2) ตง้ั เปา้ หมายแบบ SMART (Set SMART Goals)
3) กฎ 5 ชว่ั โมงของเบนจามนิ แฟรงคลนิ (Benjamin Franklin's 7684
8962
Five-Hour Rule) 445552
4) การเรยี นร้แู บบลงมือปฏบิ ตั ิ (Active Learning)
5) จัดลาดับความสาคัญ (กฎ 80/20) (Prioritize (the 80/20 Rule) 23875
6) เขา้ หอ้ งสมดุ (Visit the Library)
4957
7) ใชแ้ รงจูงใจของคุณเอง (Employ Your Own Motivation)
ทัศนะในเวบ็ ไซต์ของ Professional Learning Board (2019) 6982

1) ความตอ้ งการเรียนรแู้ บบช้นี าตนเอง (Need for Self- 65446
Directed Learning) 35557
8665
2) กระตนุ้ การเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง (Encouraging Self-
Directed Learning) 47653

3) สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้ (Learning Environment) 55753
27835
4) พลังของการเลอื ก (Power of Choice) 65842
5) พฒั นาทักษะ (Develop Skills)
6) การวเิ คราะหเ์ ชิงวิพากษ์ (Critical Analysis)
ทศั นะในเวบ็ ไซตข์ อง Wabisabi Learning (2018)

1) พร้อมทจ่ี ะเรียนรู้ (Being Ready to Learn)
2) กาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ (Setting Learning Goals)
3) มสี ว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรู้ (Engaging in the Learning
Process)

198

ตารางท่ี 4.13 (ตอ่ )

ข้อเสนอหลกั การ / แนวคดิ / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม คา่ ความถ่ีแสดงระดบั การนาไปปฏบิ ตั ิ
เพือ่ การนาไปปฏบิ ตั ิ 012345

4) ประเมินการเรียนรู้ (Evaluating Learning) 55285
ทัศนะของ Nicora (2019)
85552
1) สอ่ื สารความคาดหวงั (Communicate Expectations) 75553
2) ส่งเสรมิ ระบบสนบั สนนุ (Promote Support Systems)
3) ให้เขา้ ถึงทรพั ยากรการเรยี นรูท้ ม่ี ีคณุ ภาพสงู ไดโ้ ดยง่าย 443572
(Provide Easy Access to High Quality Learning Resources)
4) เพิม่ โอกาสในการประเมนิ ตนเอง (Develop Opportunities 143584
for Self-Assessment)
ทัศนะของ Ark (2016) 9655
1) ทาไมการช้นี าตนเองจึงเกิดผล (Why Does Self-Direction
Matter) 76354
2) จะเรม่ิ จากตรงไหน (Where to Start) 64357
3) ทกั ษะและเคร่ืองมอื (Skills & Tools) 255535
4) วฒั นธรรม (Culture)
5) ประสบการณผ์ เู้ รยี น (Learner Experience) 65473
ทศั นะในเว็บไซต์ของ Design Your Homeschool (2006)
1) สรา้ งสภาพแวดล้อมการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย (Create a Rich 2878
Learning Environment)
2) ให้เวลาอยา่ งเพยี งพอในส่งิ ทสี่ นใจ (Create a Rich Learning 8278
Environment)
3) อภิปรายในสิ่งที่สนใจ (Discuss Interests) 5 5 3 75
4) ทาใหเ้ ป็นหลักสูตรจรงิ ๆ โปรแกรมการเรยี นร้สู ่วนบคุ คล 9772
(เลอื กทา/ไม่ทาก็ได้) (Formalize the Course Individual
Learning Program (Optional)) 8755
5) ฉลองใหก้ ับการเรียนรู้ (Celebrate the Learning) 75553
6) อยา่ ถอนคาพูด (Don’t Take it Back) หากตดิ ขัด พร้อมที่จะ
ให้คาแนะนาหรอื ทาหน้าทเี่ ป็นตวั แทนความคดิ ของผอู้ ่นื 85552
7) คงไว้ซงึ่ ความไวว้ างใจได้ (Maintain Accountability)

จากตารางที่ 4.13 เห็นได้ว่า ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้นาเอาข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรมไปใชใ้ นการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
ให้กับนกั เรียนมีลักษณะท่ีสังเกตได้ ดงั นี้ ครูทเ่ี ปน็ กลุ่มทดลองไดน้ าเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค /
วิธีการ / กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองให้กับนักเรียนทุกข้อเสนอ
ทางเลือกในระดับปานกลางถึงระดับมากที่สุด (หมายเลข 3-5) มีเพียงเล็กน้อยที่นาเอาไปใช้ในการ

199

พัฒนาระดับน้อย (หมายเลข 1-2) และมีข้อสังเกตว่าข้อเสนอที่มีการนาเอาไปใช้ในการพัฒนาระดับ
มากที่สุด (หมายเลข 5) 10 อันดับแรก คือ 1) มีความม่ันใจในตนเอง (Is Self-Confident) 2) เป็น
การเรียนรู้โดยไม่ต้องให้บุคคลอื่นช้ีนา (Ability to Manage Learning Tasks Without having
them Directed by Others) 3) ผู้เรยี นทส่ี นใจ (Interested Learners) ตอบสนองตอ่ เทคนคิ ทีส่ รา้ ง
แรงบันดาลใจ (Respond to Motivational Techniques) 4) ผู้เรียนท่ีมีส่วนร่วม (Involved
Learners) พัฒนาการคิดเชิงวิพากษ์และการตระหนักรู้ในตนเองในฐานะผู้ร่วมสร้างสรรค์ 5) ค้นหา
ความท้าทายท่ีน่าสนใจ (Seek out Interesting Challenges) 6) สร้างสรรค์บางสิ่งจากสิ่งท่ีได้
เรียนรู้ (Create Something Out of What You’ve Learned) 7) ระบุเป้าหมายการเรียนรู้
(Identify Your Learning Goals) 8) ผู้เรียนมคี วามรบั ผิดชอบต่อการเรยี นรู้ ทิศทางและผลผลิต การ
บริหารเวลา การจัดการโครงการ การกาหนดเป้าหมาย การประเมินตนเอง การวิพากษ์เพื่อน การ
รวบรวมข้อมูลและการใช้ทรัพยากรทางการศึกษา (Learners at this Stage are both able and
Willing to take Responsibility for their Learning, Direction and Productivity. They
Exercise Skills in time Management, Project Management, Goal-Setting, Self-
Evaluation, Peer Critique, Information Gathering and use of Educational Resources) 9)
หม่ันเรียนรู้ด้วยตนเอง (Is Persistent) และ 10) มองปัญหาว่าเป็นความท้าทาย ไม่ใช่อุปสรรค
(Views Problems as Challenges, Not Obstacles) ตามลาดับ

3.3 การนาข้อเสนอทางเลือกท่ีเป็นข้นั ตอนการพัฒนาไปใช้ในการพัฒนาทกั ษะการ
รู้แบบชี้นาตนเองให้กบั นักเรียน

นอกจากให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองประเมินตนเองว่า หลังจากการนาผลการเรียนรู้สู่การ
พัฒนานักเรียนตลอดระยะเวลา 2 เดือนท่ีผ่านมาได้นาเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ /
กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองให้กับนักเรียนในระดับใดแล้ว ยังให้ครูที่
เปน็ กลมุ่ ทดลองได้ประเมนิ ตนเองว่า ได้นาเอาข้อเสนอทางเลือกทเี่ ปน็ ขั้นตอนการพัฒนาจากทัศนะใด
ไปปฏิบัติ หรือได้นาเอาแนวคิดที่ได้รับจากทัศนะของแต่ละแหล่งไปประยุกต์ใช้เป็นแนวปฏิบัติของ
ท่านเอง ดงั มีผลการประเมนิ ตนเองในตารางท่ี 4.14

ตารางท่ี 4.14 ผลการประเมินตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองในการนาข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
ขั้นตอนการพฒั นาไปใชใ้ นการพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองใหก้ บั นักเรียน

ข้อเสนอทางเลือกท่เี ป็นขั้นตอนการพัฒนา ความถ่ีในการนาไปปฏิบตั ิ
7
ทัศนะของ Harvey (2019) มี 4 ข้นั ตอน คือ

1) การประเมินความพร้อมในการเรยี นรู้ (Assess Readiness to Learn)
2) การตัง้ เป้าหมายการเรียนรู้ (Set Learning Goals)
3) การมีส่วนร่วมในกระบวนการการเรียนรู้ (Engage in the Learning
Process)
4) การประเมินการเรยี นรู้ (Evaluate Learning)

200

ตารางท่ี 4.14 (ตอ่ )

ข้อเสนอทางเลอื กท่ีเปน็ ขนั้ ตอนการพัฒนา ความถี่ในการนาไปปฏบิ ตั ิ
7
ทศั นะของ Bull (2013) มี 5 ข้นั ตอน
11
1) ตัดสินใจเลือกในส่ิงท่ีคุณอยากทาในโปรเจค (Decide what you want
to do for your project.
2) พฒั นาแผนการในการทาโปรเจค(Develop a plan for how to do it.)
3) กาหนดความช่วยเหลือท่ีคุณจาเป็นในการทาโปรเจคแต่ละส่วน
(Determine what help you need to do each part.)
4) ออกแบบวิธีที่ใช้ในการบันทึกความก้าวหน้าของคุณ (Design a means
of documenting your progress.)
5) เผยแพร่ (แบ่งปัน) สิ่งท่ีคุณได้ทาละเรียนรู้ระหว่างทาง (Disseminate
(share) what you did and what you learned along the way.)

ทศั นะของ Dobbs (2017) มี 5 ข้ันตอน

1) เข้าใจในแรงบนั ดาลใจของคุณเอง (Understand Your Motivation)

2) มีความชัดเจนและฉลาด (S.M.A.R.T.) ด้านสง่ิ ท่ีคณุ วางแผนจะเรียนรู้ (Be

clear & S.M.A.R.T. About What You are Planning to Learn)

3) บริหารเวลาของคุณและติดตามการเรียนรู้ของคุณ (Get Organised

with Your Time & Tracking Your Learning)

4) สร้างเง่ือนไขในการเรียนรู้ของคุณ ให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมกับความมุ่งม่ันของ

คณุ ดว้ ย (Make a Public Commitment to Your Learning & Buddy up)

5) ประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีคุณกาลังเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตจริง (Apply What You are

Learning in Real-World Projects)

จากตารางท่ี 4.14 เห็นไดว้ ่า ครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลองได้นาเอาข้อเสนอทางเลอื กท่ีเป็นขนั้ ตอน
ในการพัฒนาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองให้กับนักเรียน มีลักษณะที่สังเกตได้
ดังน้ี ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้นาเอาโมเดลขั้นตอนจากทัศนะของทุกแหล่งไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนา
ของตนเอง แสดงให้เห็นว่า ครูที่เป็นกลุ่มทดลองต่างมีทัศนะต่อโมเดลการพัฒนาอย่างเป็นอิสระของ
ตนเอง แต่ก็มีข้อสังเกตว่า ไม่มีครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองรายใดที่ได้นาเอาแนวคิดจากหลายทัศนะไปปรับ
หรอื ประยุกต์ใช้เปน็ ของตนเองขน้ึ มาใหม่ ซงึ่ อาจเนื่องจากว่าแต่ละทัศนะน้ันมีแนวคิดท่ีแตกต่างกัน ไม่
อาจนามาประยุกต์ใช้ร่วมกันได้ หรืออาจเน่ืองจากว่าครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองเห็นว่ามีความสะดวกที่จะ
เลอื กใชท้ ศั นะใดทศั นะหน่ึงมากกวา่ ทีจ่ ะต้องนามาประยุกต์ใช้จากหลายทัศนะ

ในแบบประเมินตนเองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองดังกล่าว นอกจากการประเมินถึงการนา
ขอ้ เสนอทางเลือกทเ่ี ป็นหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม และขั้นตอนการพัฒนา ไป
ใช้ในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองให้กับนักเรียนแล้ว ยังได้สอบถามความเห็นใน
ประเด็นต่าง ๆ ในลักษณะเป็นการสะทอ้ นผล (Reflection) จากการปฏบิ ตั ดิ ว้ ย ดงั นี้

201

3.4 ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเก่ียวกับปัจจัยที่ส่งผลในทางบวกต่อการ
พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเองแกน่ ักเรียน มดี ังน้ี

- ครูตอ้ งมีการปรบั ทัศนคติ แนวคิด หลกั การใหม่ ๆ อยเู่ สมอ
- ครูต้องสรา้ งสภาพแวดล้อมการเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย
- ครูต้องสร้างแรงบันดาลใจที่เกดิ จากภายใน กระตุ้น เสริมแรง ในการพัฒนาทักษะ
การเรยี นรู้แบบชนี้ าตนเอง
- การต้ังเป้าหมายในการเรียนรู้ และการมีลงมือปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง สู่เป้าหมายที่
วางแผนไว้
3.5 ความเห็นของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับปัญหาหรืออุปสรรคต่อการ
ปฏิบัติงาน มีดังน้ี
- มองปญั หาว่าเป็นอุปสรรค ไม่ใช่การท้าทาย เพราะขาดแรงจูงใจในการทางาน
- การบริหารจัดการเวลา และการจัดลาดบั ความสาคัญของสงิ่ ทต่ี า่ ง ๆ ไมเ่ หมาะสม
- สร้างเงอื่ นไขต่าง ๆ และสรา้ งขอ้ จากดั ในการเรียนรู้
- ขาดการมีสว่ นร่วมในการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
3.6 ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับวิธีการที่ท่านนามาใช้ในการแก้ไข
ปญั หาหรืออุปสรรค มีดังน้ี
- ต้องมองปญั หานน้ั เปน็ การทา้ ทายและการพัฒนาตนเอง ไมใ่ ชอ่ ปุ สรรค
- สรา้ งแรงจงู ใจในการทางาน และมคี วามเป้าหมายในการทางาน
- ตอ้ งฝกึ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบตอ่ หน้าทีท่ ไ่ี ด้รับมอบหมาย
- พร้อมที่จะเรยี นรูอ้ ยู่เสมอ และพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ
- สร้างความเชื่อมัน่ ใหก้ ับตนเอง ให้เกดิ ความมั่นใจในการทางาน
3.7 ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับบทเรียนสาคัญท่ีได้รับจากการ
ปฏิบัติงาน มีดงั นี้
- การทางานตอ้ งมีการกาหนดเป้าหมายทีช่ ดั เจน และทางานตามแผนงานท่ีวางไว้
- พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นคนท่พี ร้อมเรยี นรู้อยูเ่ สมอ
- ต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จของงาน
ตามเป้าหมายที่วางไว้
3.8 ข้อเสนอแนะแนวการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองที่สาคัญที่เห็นว่า
จะทาใหก้ ารพฒั นาทกั ษะน้ใี ห้เกิดขึน้ กับนกั เรียนอย่างไดผ้ ลดี มดี ังน้ี
- สร้างแรงบนั ดาลใจในการเรยี นรจู้ ากภายใน ให้เกดิ ขน้ึ กบั นกั เรยี น
- กระตุ้นนกั เรียนให้เกดิ การเรียนรดู้ ้วยตนเองอยู่เสมอ
- สรา้ งสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย
- ฝึกทกั ษะการคดิ แบบวิพากษ์ และความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์
- ใหเ้ วลาในการเรียนรทู้ ่ีเหมาะสม และใหอ้ ิสระในการทางาน
4. ผลการตรวจสอบเพื่อหาข้อบกพร่องของคมู่ ือหลังการทดลองเสร็จสิ้นลง

202

หลังจากส้นิ สดุ การนาผลการเรียนรูส้ กู่ ารพฒั นาทักษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเองให้กับ
นกั เรยี นแลว้ ครทู เี่ ป็นกลุม่ ทดลองไดร้ ่วมกับอภปิ รายถงึ ข้อบกพร่องของคู่มอื แตล่ ะชดุ เพื่อการปรับปรงุ
แกไ้ ข ดงั น้ี

4.1 การปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความ
เป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดงั นี้

- โดยรวมคู่มือทั้ง 6 ชุดมีเนื้อหาที่มีสาระ และมีกระบวนการแนวคิดต่าง ๆ ทันสมัย
เพราะทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งในการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน และมี
เนือ้ หาเป็นประโยชนต์ อ่ การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวันได้

- มีการนาเน้ือหาข้อมูลความรู้จากนักวิชาการต่างประเทศมานาเสนอได้ดีมาก มี
ประเด็นให้คิด มีคาถามและข้อเสนอแนะในแต่ละเร่ือง แต่เนื้อหาในบางคู่มือมีเนื้อหามากเกินไป ควร
ปรบั ให้กระชับ ครอบคลมุ และให้อ่านเข้าใจงา่ ยมากขึน้

- ทั้ง 6 คู่มือมีการนาเสนอเร่ืองแต่ละเร่ืองที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นนิยาม ลักษณะ
หรือแนวทางการพัฒนา ของทักษะการการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเองมีความเหมาะสม ควรมกี ารจดั ทาให้
เป็นรูปเล่มที่สวยงาม เรียบเรียงเนื้อหาให้กระชับและปรับปรุงแก้ไขในบางประเด็นท่ีค่อนข้างมาก
หรือเพ่ิมเติมในบางส่วนให้สมบูรณ์ ทาเป็นคู่มือให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติมในห้องสมุดโรงเรียน และ
นาเสนอคูม่ ือน้ไี ปสู่โรงเรยี นอื่น ๆ ต่อไป

4.2 การปรับปรงุ แกไ้ ขด้านเนอ้ื หา มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี
- ด้านภาษาท่ีใช้ในคู่มือ เน่ืองจากเป็นเนื้อหาวิชาการที่แปลมาจากบทความ หลัก

วิชาการจากต่างประเทศ การใช้สานวนภาษาเม่ือแปลความถ้าเป็นคาศัพท์วิชาการเฉพาะ ควรมีการ
กากบั ขอ้ ความต้นฉบับไว้ด้านขา้ งทุกคา ซ่ึงทางคณะผู้ร่วมไดศ้ ึกษาคู่มือแล้ว เหน็ ว่าสานวนทใี่ ช้แปลได้
ชัดเจน เข้าใจได้ง่าย แต่มีบางประโยคหรือบางคาท่ียังแปลผิด ทางคณะได้ทาให้เป็นตัวหนังสือสีแดง
เพ่ือให้นาไปแก้ไข โดยรวมแล้วใช้ภาษาได้เหมาะสมกับระดับความรู้และทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนา
ตนเองของบุคคลทัว่ ไป

4.3 การปรับปรงุ แกไ้ ขดา้ นรูปแบบการนาเสนอ มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
- โดยรวมคู่มือทั้ง 6 ชุดน้ันมีรูปแบบการนาเสนอในรูปแบบของกิจกรรมถามเพ่ือ

ทบทวนความรู้ความเข้าใจ เพื่อให้ได้กระตุ้นความคิด และการมีส่วนร่วม (Participatory Activity)
เหมือนกันทั้ง 6 คู่มือ ขอเสนอแนะให้ใช้รูปแบบการนาเสนอท่ีหลากหลาย ปรับหัวข้อให้โดดเด่น มี
ความน่าสนใจ ควรเพ่ิมส่ือ รูปภาพต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายจะทาให้น่าสนใจมากขึ้นและดึงดูด
ผอู้ า่ นเพิ่มข้นึ

4.4 อื่น ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
- คมู่ ือทง้ั 6 ชุด ครูที่เป็นกลุม่ ทดลองได้นาไปศึกษาแลว้ เหน็ ว่ามีประโยชน์มากในยุค

ปัจจุบันนี้ ทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองสาคัญและจาเป็นต่อการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้
ของครูผู้สอนและนักเรียน ควรนาไปปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ถูกต้องทั้งด้านเนื้อหา ด้านภาษา
เพิ่มเติม และนาเสนอผ่านโซเซียล หรือระบบออนไลน์ต่าง ๆ หรือจัดทาเป็นรูปเล่มให้สวยงามแล้ว
ตีพมิ พใ์ หห้ อ้ งสมดุ โรงเรยี น หรอื เผยแพร่ใหก้ ับนักเรียนจะเป็นประโยชนอ์ ย่างมาก

203

5. การประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลองหลัง
การพฒั นา (Posttest)

จากการประเมินผลการพัฒนานักเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลอง “หลัง” การพัฒนา (Posttest)
จานวน 146 รูป โดยใช้แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน
ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉล่ีย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation: S.D.) ดังตารางที่ 4.15

ตารางที่ 4.15 ค่าเฉล่ีย (Mean: ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
จากผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียนหลังการทดลอง
(Post-test)

รายการลกั ษณะของทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเองท่ปี ระเมนิ ผลการประเมนิ
S.D.
การตระหนกั รู้ (Awareness)
1) ฉนั รับผิดชอบการเรยี นรดู้ ้วยตวั เอง 4.35 0.63
2) ฉันสามารถวางแผนและต้งั เปา้ หมายการเรยี นร้ขู องตัวเองได้ 4.36 0.65
3) ฉนั สามารถระบุความตอ้ งการในการเรยี นรู้ของตนเอง 4.37 0.63
4) ฉนั สามารถเลอื กวธิ ีการเรยี นรทู้ ด่ี ีทส่ี ดุ ให้กับตัวเองได้ 4.32 0.64
5) ฉนั สามารถรกั ษาแรงจูงใจเพ่ือการเรยี นรูข้ องตนเองไวไ้ ด้ 4.41 0.61

การควบคุมตนเอง (Self-control) 4.35 0.63
6) ฉันตัดสินใจเลือกเรยี นรตู้ ามความต้องการและความสนใจของตัวเองได้ 4.34 0.62
7) ฉนั รูข้ ีดความสามารถของตัวเอง 4.32 0.65
8) ฉนั เชอ่ื ในความสามารถของตวั เอง 4.34 0.66
9) ฉันจัดการเวลาไดเ้ ปน็ อย่างดี 4.40 0.66
10) ฉันสามารถจัดลาดับความสาคญั ของงานได้
4.38 0.66
การประเมนิ ตนเอง (Self-Evaluation) 4.36 0.66
11) ฉันสามารถประเมนิ ทักษะพื้นฐานในการเรยี นรขู้ องตนเองได้ 4.38 0.68
12) ฉันได้แรงบันดาลใจจากความสาเรจ็ ของผอู้ ื่น 4.42 0.64
13) ฉนั ตรวจสอบตนเองเสมอไม่วา่ จะบรรลุเปา้ หมายการเรียนรหู้ รือไม่
14) ฉันพบว่าทัง้ ความสาเรจ็ และความล้มเหลวนนั้ ลว้ นเป็นแรงบนั ดาลใจให้ฉนั เรยี นรมู้ าก 4.36 0.64
4.33 0.67
ขึน้ 4.38 0.61
ความปรารถนาในการเรยี นรู้ (Desire for learning) 4.32 0.63
4.35 0.65
15) ฉันอยากเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ ๆ 4.33 0.61
16) ฉนั สนุกกับการเรียนรู้ขอ้ มูลใหม่ ๆ
17) ฉันเปดิ รบั ความคิดใหม่ ๆ เสมอ
18) ฉนั เรียนรจู้ ากประสบการณแ์ ละสภาพแวดล้อม
19) ฉนั ชอบท่จี ะรวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ ก่อนทาการตัดสินใจ
20) เมื่อฉนั ประสบปญั หาทไ่ี มส่ ามารถแกไ้ ขได้ ฉนั จะขอความช่วยเหลือ

204

ตารางที่ 4.15 (ตอ่ )

รายการลักษณะของทกั ษะการเรียนรแู้ บบชนี้ าตนเองท่ปี ระเมนิ ผลการประเมิน
S.D.
กลยุทธ์การเรียนรู้ (Learning Strategies)
21) ฉนั มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ โดยการเรยี นรูแ้ บบแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ 4.34 0.66
22) ฉนั ชอบเรียนรแู้ บบกลุ่มในการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 4.34 0.64
23) ฉนั พบว่าการมีเพอ่ื นเปน็ ที่ปรกึ ษาจะช่วยใหก้ ารเรยี นประสบผลสาเรจ็ 4.36 0.64
24) ฉนั พบว่าแผนผงั มโนทัศนเ์ ปน็ วธิ กี ารเรยี นร้ทู ่มี ปี ระสิทธิภาพ 4.40 0.66
25) ฉนั พบวา่ การมสี ่วนร่วมในการเรียนการสอนน้ันมีประสทิ ธภิ าพมากกว่าการนัง่ ฟงั 4.26 0.68

บรรยาย 4.34 0.64
26) ฉนั พบวา่ เทคโนโลยีการศึกษาท่ที ันสมัยช่วยปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรู้ของฉันให้ดี
4.39 0.67
ยิ่งข้ึน 4.36 0.64
กจิ กรรมการเรียนรู้ (Learning Activities) 4.41 0.65
4.26 0.65
27) ฉันเลอื กเทคนิค/กจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมได้
28) ฉนั ชอบที่จะหยดุ พักระหว่างการเรยี นแต่ละครั้ง 4.34 0.62
29) ฉนั ชอบใช้แผนผงั มโนทัศนใ์ นการทาความเข้าใจขอ้ มลู ท่ีหลากหลาย 4.33 0.66
30) ฉันสามารถเลือกใชส้ ือ่ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมได้ 4.38 0.63
การตดิ ต่อสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Skills) 4.30 0.69
31) ฉนั เปดิ ใจให้กบั ความเหน็ ของผูอ้ ่ืนเสมอ 4.35 0.64
32) ฉนั พบว่าการทางานกับผู้อ่ืนเปน็ เรื่องง่าย 4.25 0.73
33) ฉนั มกั ประสบความสาเรจ็ ในการสื่อสารด้วยวาจา 4.35 0.24
34) ฉันสามารถแสดงความคดิ ผ่านการเขยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
35) ฉันพบวา่ มนั ทา้ ทายทีจ่ ะพยายามเรยี นรกู้ ับบุคคลทีห่ ลากหลาย
36) การมปี ฏสิ มั พันธ์กบั ผ้อู น่ื ช่วยใหฉ้ ันพฒั นาความเข้าใจและการเรยี นรไู้ ด้อย่างลกึ ซง้ึ

โดยรวม

จากตารางท่ี 4.15 เห็นได้ว่า นักเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้รับการประเมินผลหลังที่
ครูผู้สอนท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้นาความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน (Post-test) มีค่าเฉลี่ย (Mean) โดยรวม
เทา่ กบั 4.35 และมีค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กับ 0.24

6. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
นกั เรียนก่อนและหลงั การพัฒนาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)

จากผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง “ก่อน”การพัฒนามีค่าเฉลี่ย (Mean)
โดยรวมเท่ากับ 3.49 และมคี ่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กบั 0.14 และจาก
ผลการประเมิน “หลัง” การพัฒนามีค่าเฉล่ีย (Mean) โดยรวมเท่ากับ 4.35 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation) เท่ากับ 0.24 เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและ
หลังการพัฒนาโดยใช้การทดสอบที (t-test) แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) ปรากฏผลการ
วิเคราะห์ข้อมลู ในตารางที่ 4.16

205

ตารางที่ 4.16 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ระหวา่ งคะแนน “ก่อน” และ “หลงั ” การทดลอง

การทดสอบ จานวนกลุม่ ทดลอง 3.49 S.D. t
กอ่ น 146 4.35 0.14 36.366
หลัง 146 0.24

* p < 0.05

จากตารางท่ี 4.16 เห็นได้ว่า นกั เรียนท่เี ปน็ กลมุ่ ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลัง
การพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรม
ออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรขู้ องครูสู่การพัฒนาทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองของนกั เรียน ที่ผู้วิจัย
พฒั นาขึ้น ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนาผล
การเรียนรู้สูก่ ารพัฒนานกั เรยี น โดยโครงการแรกมคี ู่มอื ประกอบ 6 ชุด โครงการท่ีสองมีคูม่ ือประกอบ
1 ชุดนั้น มีประสิทธิภาพที่สามารถจะนาไปใช้เพื่อพัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ และครูสามารถนาผล
การเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองให้เกิดทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองได้อย่างมี
ผลทดสอบทางการวจิ ัยรองรบั และแสดงให้เห็นวา่ โปรแกรมออนไลนเ์ พอ่ื เสริมการเรียนรขู้ องครสู ูก่ าร
พัฒนาทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเองของนักเรียน ท่ีผวู้ ิจัยพัฒนาขึน้ ดงั กล่าว สามารถนาไปเผยแพร่
เพ่ือให้กลุ่มประชากรที่เป็นเป้าหมายดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อขอบเขตการวิจัยในบทท่ี 1 ได้นาไปใช้
ประโยชนอ์ ยา่ งแพร่หลาย คือ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา ทุกโรงทวั่ ประเทศ จานวน
408 โรง มีครูจานวน 4,388 รปู /คน และมีนกั เรยี น 32,399 รูป

สรุป

ตามแนวคิดของระเบียบวิธีวจิ ัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ตาม
ทัศนะของวิโรจน์ สารรตั นะ (2561) ท่ีเห็นว่า นวตั กรรมที่พัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวจิ ยั และพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานท่ีมีปรากฏการณ์ หรือข้อมูลเชิง
ประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความจาเป็นเกิดขึ้น เช่น เป็นผลสืบเนื่องจากการกาหนดความคาดหวังใหม่
ท่ีท้าทายของหนว่ ยงาน หรือการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์การทางานจากเกา่ สู่ใหม่ที่บุคลากรขาด
ความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีถือเป็น
นวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดข้ึนมากมาย ท่ีคาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานา - ความรู้เหล่านี้สกู่ ารปฏิบตั ิ (Action) กจ็ ะก่อให้เกิด
พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นตาม
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” ดังคากล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do,
Then Encourage Them Do What They Know”หรือ “Link To On-The-Job Application”
และตามแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครู (Teacher Professional Development) ท่ีจะต้องคานึงถึง
ความมีประโยชน์ต่อนักเรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) (Gusky, 2000; Hoy &

206

Miskel, 2001) หรืออีกนัยหน่ึงคือ ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนเป็นเป้าหมายสูงสุดของกิจกรรมใด ๆ ของ
การพัฒนาวิชาชีพครู (Student achievement should be the ultimate goal of any teacher
professional development activities.) (Kampen, 2019)

จากลักษณะสาคัญของการวิจัยและพัฒนาดังกล่าว ผู้วิจัยเชื่อว่าในการวิจัยครั้งน้ีจะช่วย
พัฒนานวัตกรรมเพ่ือการอบรมตนเองแบบออนไลน์ในยุคสังคมดิจิทัลให้เกิดการเรียนรู้และการนาไป
ปฏิบัตไิ ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ ซึ่งในยคุ สมัยดจิ ิทลั ในปัจจบุ ัน มีความสาคัญจาเป็นมากและเป็น
เร่ืองใหม่ที่ครู (Teachers) จะต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง
ของนักเรียน ซึ่งเป็นทักษะสาคัญทักษะหน่ึงสาหรับการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา
นักเรียน (Students) ซ่ึงเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการจัดการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เพราะโปรแกรมอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ เป็นโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการ
เรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน ที่เป็นผลจากการวิจัยและ
พฒั นาจาก “กลุ่มทดลอง” ท่ีใช้ในการวิจัย คือ ครแู ละนักเรียนในโรงเรียนประภสั สรวิทยา วดั ศรีนวล
อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ซ่ึงเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัด
สานักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 กองพุทธศาสนศึกษา สานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ สามารถจะนาไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้ เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากร
(Population) ซึ่งเป็นเป้าหมายอา้ งอิงในการนาผลการวิจัยไปเผยแพร่เพื่อใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์หลังการ
วิจัยและพัฒนา คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสานักเขตการศึกษาพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ “ทุกโรงท่ัว
ประเทศ” ได้ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ที่วิจัย
และพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ขน้ึ มา แลว้ นานวัตกรรมนั้นไปทดลองใช้ในพ้ืนที่ทดลองแห่งใดแห่งหน่ึงท่ีมี
คุณลักษณะเปน็ ตวั แทนของประชากร เมื่อผลจากการทดลอง พบวา่ นวตั กรรมน้ันมปี ระสิทธภิ าพตาม
เกณฑ์ที่กาหนด ก็แสดงว่า สามารถเผยแพร่เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์กับประชากรท่ีเป็นกลุ่มอ้างอิง
ในการวิจัยได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมอื่ เปน็ โปรแกรมแบบออนไลน์ (Online Program) ทีพ่ ัฒนาขึน้ ตาม
ยุคสมัยดิจิทัล ไม่เป็นโปรแกรมแบบเอกสาร (Document-Based Program) แบบยุคสมัยการพิมพ์
แบบดั้งเดิม จะยิ่งทวีความเป็นประโยชน์ต่อการนานวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึนไปเผยแพร่เพ่ือใช้ประโยชน์
ของประชากรท่ีเป็นกลุ่มอ้างอิงในการวิจัยได้อย่างกว้างขวาง อย่างประหยัด อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกดิ ประสิทธิผลไดม้ ากกวา่

จ าก วั ต ถุ ป ระ ส งค์ ข อ งก า รวิ จั ย ที่ มุ่ งพั ฒ น าโป รแ ก ร ม อ บ ร ม ด้ ว ย ต น เอ งแ บ บ อ อ น ไล น์
โปรแกรมออนไล น์เพ่ือเสริมก ารเรียนรู้ของครูสู่การพัฒ นาทักษะการเรียนรู้แบบ ช้ีนาตนเองของ
นักเรยี น ที่ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพ่อื การเรียนร้ขู องครู และโครงการ
ครูนาผลการเรียนรู่สู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองให้กับนักเรียน และได้กาหนด
สมมติฐานการวิจัย ดังน้ี 1) ครูมีผลการทดสอบหลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2)
ครูมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมี
ผลการประเมนิ ทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองหลังการพฒั นาสงู กวา่ ก่อนการพัฒนาอยา่ งมีนัยสาคัญ
ทางสถิติ

207

ผลจากการดาเนินการวิจัยตามที่กาหนดในบทท่ี 3 และจากรายงานผลการวิจัยท่ีนาเสนอ
ในบทที่ 4 นี้ พบว่า ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กาหนดไว้ ดังนี้ 1) คู่มือท่ีพัฒนาข้ึน
สามารถใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเมื่อพิจารณาจากเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ ร้อยละของคะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย
เท่ากับ 33.52 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เม่ือคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 93.11 ซึ่งมีค่าสูงกว่า
เกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ 90 เมื่อพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง คอื ร้อยละของจานวนครู
ที่สามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากจานวนครูทั้งหมด 25 รูป/คน พบว่า
มคี รรู ้อยละ 95.33 ทส่ี ามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงมีคา่ ท่ีสูงกวา่ เกณฑ์
ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ 90 2) คู่มือท่ีพัฒนาข้ึนสามารถใช้พัฒนาครูให้มีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนา สูง
กว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) คู่มือที่พัฒนาข้ึนสามารถทาให้ครู
นาผลการเรยี นรู้สู่การพัฒนานักเรียนที่มีผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน
หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตริ ะดบั 0.05

บทท่ี 5
โปรแกรมโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสรมิ การเรียนรขู้ องครสู ู่การพฒั นาทักษะการ

เรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองของนกั เรียน : นวตั กรรมจากการวิจัยและพฒั นา

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยท่ีมุ่งพัฒนาโปรแกรมโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้
ของครูสู่การพฒั นาทักษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองของนักเรียน ท่ีประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ
คือ โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนาผลการเรียนรู่สู่การพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ให้กับนักเรียน และได้กาหนดสมมติฐานการวิจัย ดังนี้ 1) ครูมีผลการทดสอบ
หลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) ครูมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อน
การพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมีผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งผลจากการดาเนินการวิจัย
ตามที่กาหนดในบทที่ 3 และจากรายงานผลการวิจัยที่นาเสนอในบทที่ 4 นี้ พบว่า ผลการวิจัยเป็นไป
ตามสมมติฐานการวิจัย ดังนี้ 1) คู่มือที่พัฒนาข้ึนสามารถใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 โดยเม่ือพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยของ
การทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.52 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อ
คิดเป็นร้อยละแล้วได้ 93.11 ซ่ึงมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ 90 เมื่อพิจารณาจากเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตัวหลัง คือ ร้อยละของจานวนครูท่ีสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้จากจานวนครูท้ังหมด 25 รูป/คน พบว่า มีครูร้อยละ 95.33 ท่ีสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่าน
ทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงมีค่าที่สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ 90 2) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถ
ใช้พัฒนาครูให้มีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
0.05 และ 3) คู่มือที่พัฒนาข้ึนสามารถทาให้ครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนท่ีมีผลการ
ประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ของนักเรียนหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นัยสาคญั ทางสถติ ริ ะดบั 0.05

คู่มือที่พัฒนาขึ้นดังกล่าว รวมทั้งแบบประเมินตนเองถึงระดับการนาข้อเสนอทางเลือกเชิง
วิชาการหรือเชิงทฤษฎีไปใช้ในการพัฒนานักเรียนของครู แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู และแบบ
ประเมนิ ทกั ษะการเรยี นรู้แบบช้นี าตนเองของนักเรยี น ผู้วิจยั ไดอ้ ัพโหลดไว้ในเวบ็ ไซตแ์ ลว้ ดงั น้ี

1) คูม่ อื ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ http://online.anyflip.com/okgwj/lgyv/mobile/
2) แบบประเมินตนเองถึงระดับการนาข้อเสนอทางเลือกเชิงวชิ าการหรือเชิงทฤษฎีไปใช้ใน

การพฒั นานักเรยี นของครู ดูได้จากเวบ็ ไซต์
https://forms.gle/XeTyJdLe5w5FjXNB9
3) แบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องครู ดูได้จากเว็บไซต์
https://forms.gle/MZjCKNYX3CdV3XPV7
4) แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน ดูได้จากเว็บไซต์
https://forms.gle/twzPHXL4LqrnwQSU9

209

210

คานา

โปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน
นี้ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่พัฒนาข้ึนโดยกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and
Development: R&D) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพ่ือนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน อัน
สืบเน่ืองมาจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
กระบวนทัศน์การทางานจากเก่าสู่ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีถือเป็นนวัตกรรม
ใหม่ทางการศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge)
แล้วนาความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power”
หรือตามคากล่าวท่ีว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What
They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application”

จากหลักการของการวิจัยและพัฒนาดังกล่าว ทาให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่
การพัฒนาทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเองของนักเรียนทป่ี ระกอบด้วยสองโครงการ คือ 1) โครงการ
พัฒนาความรู้แก่ครูผู้สอน และ 2) โครงการครูผู้สอนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียน ในส่วนของ
โครงการพัฒนาความรู้แก่ครูผู้สอน ประกอบด้วยหลักการ แนวคิด และทฤษฎีใน 6 ประเด็น คือ
1) นิยาม 2) ความสาคัญ 3) ลักษณะหรือคุณลักษณะ 4) แนวทางการพัฒนา 5) ข้ันตอนการพัฒนา
และ 6) การประเมินผล ซ่ึงแต่ละประเด็น ได้นามาสร้างเป็นคู่มือเพ่ือการเรียนรู้ของครูท่ีเน้นการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) จานวน 6 ชุด ที่คาดหวังให้ครูเกิดความรู้ความเข้าใจและนาไป
เป็นแนวทางการพัฒนาให้แก่นักเรียนต่อไปตามโครงการครูผู้สอนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียน ซ่ึง
จะมีคมู่ ือเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารประกอบดว้ ยอีก 1 ชดุ

โปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเองของนักเรียน
ดังกล่าวข้างตน้ พัฒนาข้ึนตามหลกั การพฒั นาครทู ี่วา่ “การพฒั นาครเู ร่ืองใด ๆ จะต้องคานงึ ถึงความมี
ประโยชน์ต่อนักเรียนซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการศึกษาและการบริหาร
การศกึ ษา” และตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทีค่ รุ สุ ภากาหนดวา่ “ปฏิบัติกจิ กรรมโดยคานึงถงึ ผลทจี่ ะ
เกิดข้ึนกับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้
เต็มศักยภาพ พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบรหิ ารจนเกดิ ผลงานท่ีมีคุณภาพสูงขนึ้ เป็นลาดับ และสร้าง
โอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์” ดังน้ัน จึงคาดหวังว่า หลังจากท่านศึกษาเพื่อการเรียนรู้จาก
คมู่ ือแต่ละชดุ แล้ว จะไดน้ าความรไู้ ปพัฒนานักเรยี นได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลต่อไป

พระปลัดเลก็ อานนโฺ ท (ทองแสน)

สารบัญ 211

ค่มู ือประกอบโครงการ หน้า
1. ค่มู อื ประกอบโครงการพัฒนาความรแู้ ก่ครูผ้สู อน 1
2
1.1) คู่มือชุดที่ 1 ทศั นะเก่ียวกบั นิยามของทกั ษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง มี 13
องค์ประกอบ คือ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ คาชแ้ี จง ทัศนะเกยี่ วกับนิยาม แบบ
ประเมินตนเอง และเอกสารอ้างอิง 26
1.2) คู่มือชดุ ท่ี 2 ทัศนะเกี่ยวกับความสาคัญของทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นา
ตนเอง มีองค์ประกอบ คือ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ คาช้แี จง ทศั นะเกย่ี วกบั 34
ความสาคัญ แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งองิ
1.3) ค่มู ือชุดที่ 3 ทัศนะเกย่ี วกบั ลกั ษณะหรือคุณลกั ษณะของคนที่มีทักษะการ 45
เรียนรแู้ บบชนี้ าตนเอง มีองค์ประกอบ คือ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ คาชแ้ี จง
ทศั นะเกี่ยวกบั ลักษณะ แบบประเมินตนเอง และเอกสารอ้างองิ 50
1.4) คมู่ ือชุดที่ 4 ทศั นะเกีย่ วกับแนวทางการพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้แบบชน้ี า
ตนเอง มีองค์ประกอบ คือ วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ คาช้ีแจง ทัศนะเกีย่ วกับ 63
แนวทางการพฒั นา แบบประเมินตนเอง และเอกสารอ้างอิง 64
1.5) คมู่ ือชดุ ท่ี 5 ทศั นะเก่ยี วกับขั้นตอนการพฒั นาทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ า
ตนเอง มีองคป์ ระกอบ คือ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ คาชแี้ จง ทัศนะเกีย่ วกบั
ขั้นตอนการพัฒนา แบบประเมินตนเอง และเอกสารอ้างอิง
1.6) คมู่ ือชุดที่ 6 ทัศนะเกยี่ วกบั การประเมินผลทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ า
ตนเอง มอี งค์ประกอบ คือ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ คาช้ีแจง ทัศนะเกย่ี วกับ
การประเมนิ ผล แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งองิ
2. คู่มอื ประกอบโครงการครผู สู้ อนนาความรู้สูก่ ารพัฒนานกั เรียน
2.1) คมู่ ือเพื่อการปฏบิ ัตกิ ารในการพฒั นาทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง
ของนักเรียน มีองค์ประกอบ คอื วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือการปฏบิ ัติ และแนวปฏิบตั ิ

212

213

5.1 คู่มอื ชุดท่ี 1

ทัศนะเกย่ี วกบั นยิ ามของทักษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง

พระปลัดเลก็ อานนโฺ ท (ทองแสน)
ดุษฎีบณั ฑิตสาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตอีสาน

ปี พ.ศ. 2564

214

คมู่ ือชุดที่ 1
ทัศนะเกย่ี วกบั นิยามของทกั ษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้
หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพฒั นาการด้านพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุนิยาม
ของ ทกั ษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรปุ ความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงนิยามของทักษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเองได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
นิยามของทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเองได้

4) แยกแยะ จดั ประเภท จาแนกให้เห็นความแตกตา่ ง หรือบอกเหตผุ ลนิยามของทกั ษะการ
เรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเองได้

5) วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเองได้

6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการนิยามของทักษะการ
เรียนรแู้ บบช้ีนาตนเองได้

โดยมีทัศนะเกี่ยวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของแหล่งอ้างอิงทาง
วชิ าการตา่ ง ๆ ดงั น้ี

1) นิยามของทกั ษะการเรียนรูแ้ บบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ Meredith
2) นยิ ามของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเองตามทัศนะของ Gibbons
3) นยิ ามของทักษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Petro
4) นยิ ามของทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเองตามทัศนะของ Mocker & Spear
5) นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Mezirow
6) นยิ ามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองตามทัศนะของ Carter
7) นิยามของทกั ษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเองตามทัศนะของ Brookfield
8) นยิ ามของทักษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเองตามทัศนะของ Ecu
9) นยิ ามของทกั ษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเองตามทัศนะของ Garland
10) นิยามของทกั ษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองตามทศั นะของ Weimer
11) นิยามของทักษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเองตามทศั นะของ Boles

215

12) นยิ ามของทกั ษะการเรียนรูแ้ บบชน้ี าตนเองตามทัศนะของ Noelle
13) นิ ยาม ขอ งทั ก ษ ะการเรีย น รู้แบ บ ช้ี น าต น เอง ตาม ทั ศน ะขอ ง IGI Global
Disseminator of Knowledge

คาชี้แจง
1) โปรดศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จากทัศนะท่ี

นามากลา่ วถงึ แตล่ ะทัศนะ โดยแตล่ ะทศั นะท่านจะตอ้ งทาความเขา้ ใจที่สามารถอธบิ ายกบั ตัวเองไดว้ ่า
เขาให้นิยามว่าอยา่ งไร

2) หลังจากการศึกษาเน้ือหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกครั้ง
จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนทา้ ยของคูม่ ือ

3) เน้ือหาเกี่ยวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จากทัศนะที่นามากล่าวถึง
แต่ละทัศนะมแี หล่งอ้างองิ ตามท่ีแสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการ
ศกึ ษารายละเอยี ดของทัศนะเหลา่ นนั้ ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้นต่อ
ไดจ้ ากเว็บไซตท์ รี่ ะบไุ ว้ในแหล่งอ้างองิ นั้น ๆ

ทัศนะเกย่ี วกับนิยามของทกั ษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเอง
1. Meredith เป็นนักการศึกษาประจาวิทยาลัยอาชีวศึกษาโคลัมบัส รัฐโอไฮโอ

สหรัฐอเมริกา ให้นิยามของทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเอง ว่าหมายถึง กระบวนการท่ีแต่ละคนเป็น
ผรู้ เิ ริ่ม โดยอาจมีคนช่วยหรือไม่มกี ็ได้" เพ่ือวเิ คราะห์ความต้องการในการเรียนรู้ สร้างเปา้ หมายในการ
เรียนรู้ ระบุแหลง่ เรยี นรู้ เลอื กและนากลยุทธ์การเรียนรไู้ ปใช้ และประเมินผลลพั ธ์ของการเรยี นร้นู ้ัน

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของการเรยี นรู้แบบชนี้ า
ตนเอง ตามทศั นะของ Meredith วา่ อยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

2. Gibbons เป็นอาจารย์ประจามหาวิทยาลัย Simon Fraser ให้นิยามของทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง สิ่งผู้เรียนเป็นผู้ลงกระทา และต้องรับผิดชอบต่อสิ่งน้ัน ๆ โดยแต่
ละคนจะมีการประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง ซ่ึงไม่จากัดเวลา สถานที่ วิธีการและวัยของ
ผเู้ รียน

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของการเรียนรู้แบบช้ีนา
ตนเอง ตามทศั นะของ Gibbons วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………….............................................................
……………………………………………………………………….............................................................
……………………………………………………………………….............................................................

216

3. Petro เป็นผู้ร่วมก่อต้ัง Know My World ผู้เช่ียวชาญด้านการศึกษาทั่วโลก ท่ีปรึกษา
ด้านการศึกษาท่ีเช่ียวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร การฝึกอบรมครู การประเมินการศึกษาระดับโลก
ได้ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง ประสบการณ์ในการเรียนรู้ของแต่ละ
บุคคล ซ่ึงเป็นการบูรณาการประสบการณ์ท้ังในอดีตและปัจจุบัน จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจนิยามของการเรยี นรแู้ บบช้นี า
ตนเอง ตามทัศนะของ Petro วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

4. Mocker & Spear ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง โมเดล
การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Model of Lifelong Learning) ซ่ึงทาหน้าที่หลักในการตัดสินใจเก่ียวกับ
วัตถปุ ระสงค์และวิธีการของการเรียนรู้ โมเดลดังกล่าวมีลักษณะเป็นตารางเมทริกซ์ 2x2 คือตัวผู้เรียน
กบั โรงเรียน น่นั คอื สถานการณก์ ารเรียนรู้แบบนาตนเองเกิดขึ้นเมอ่ื ผูเ้ รียน (ไม่ใชโ่ รงเรียน) กาหนดทั้ง
วตั ถุประสงคแ์ ละวธิ กี ารเรยี นรู้ โดยสถานการณต์ ่าง ๆ ต่อไปนี้จะถูกจัดอยู่ในตารางช่องอ่ืน ๆ ของเมท
ริกซ์ ได้แก่ 1) การเรียนรู้ตามระบบ (Formal Learning) ซึ่งโรงเรียน (ไม่ใช่ผู้เรียน) กาหนด
วัตถุประสงค์และวิธีการเรียนรู้ 2) การเรียนรู้นอกระบบ (Non-Formal Learning) ซึ่งผู้เรียนกาหนด
วัตถุประสงค์ แต่โรงเรียนกาหนดวิธีการ และ (3) การเรียนรู้ตามอัธยาศัย (Informal Learning) ซ่ึง
โรงเรยี นกาหนดวัตถปุ ระสงค์ แต่ผเู้ รียนกาหนดวิธีการเรียนรู้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของการเรียนรู้แบบช้ีนา
ตนเอง ตามทัศนะของ Mocker & Spear ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

5. Mezirow ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง การกาหนด
วตั ถุประสงค์ในการเรยี นรู้ตามมาตรฐานของโรงเรยี น ซ่ึงเกิดข้ึนได้ในลักษณะต่าง ๆ เชน่ การศึกษาใน
ห้องสมุด การสื่อสารระหว่างกันและกัน โดยอาศัยส่ือ วัสดุส่ิงพิมพ์ และโสตทัศนูปกรณ์ สถานท่ีทาง
วัฒนธรรม และสื่อหลาย ๆ ประเภทรวมกนั

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของการเรยี นรแู้ บบช้ีนา
ตนเอง ตามทัศนะของ Mezirow วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………..............................................

217

………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

6. Carter ให้นยิ ามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง กระบวนการเรียนรู้
ทผี่ ู้เรียนเป็นผู้วางแผน ลงมือปฏบิ ัติ เลือกสิ่งท่ีจะเรียนและรปู แบบวิธีการเรียน ประเมินผลการเรียนรู้
รวมทงั้ กาหนดวนั เวลาในการเร่มิ ต้นและส้นิ สุดดว้ ยตนเอง

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจนิยามของการเรียนรู้แบบชีน้ า
ตนเอง ตามทศั นะของ Carter ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

7. Brookfield เป็นศาสตราจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยจอห์นไอร์แลนด์ และเป็น
ประธานที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเซนต์โทมัส ในมินนิอาโปลิส - เซนต์ พอลมินนิโซตา สหรัฐอเมริกา ให้
นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง การเรียนรู้ตามลาพัง ซึ่งผู้เรียนจะเป็นผู้
กาหนดเน้ือหา รูปแบบ และวตั ถุประสงคข์ องการเรียนรู้ของตนเอง โดยอาศัยโครงสรา้ งทางวฒั นธรรม
ความรแู้ ละคา่ นิยม ทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มของตนเองและสังคมในปจั จุบัน

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจนยิ ามของการเรยี นรู้แบบชน้ี า
ตนเอง ตามทัศนะของ Brookfield วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
8. ECU เป็นเว็บไซต์ของ Edith Cowan University ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบ
ชี้นาตนเอง ว่า หมายถึง ผู้เรียนเป็นผู้กาหนดเป้าหมาย วตั ถุประสงค์ ตารางการทางาน และพยายาม
ทาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์น้ัน ซึ่งต้องอาศัยความกระตือรือร้นในกระบวนการเรียนรู้ และรู้จัก
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของตนว่าสาเรจ็ ตามเปา้ หมายและวัตถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนดไวห้ รอื เปลา่
โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจนิยามของการเรียนรู้แบบช้นี า
ตนเอง ตามทัศนะของ Ecu ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

9. Garland เป็นอาจารย์ประจามหาวิทยาลัย จบการศึกษาในระดับปริญญาเอกในด้าน
การศึกษาและปริญญาโทในการจัดการธุรกิจ ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า
หมายถงึ เป็นกลยุทธก์ ารเรียนการสอนท่ีผู้เรียนตัดสนิ ใจว่าจะเรียนรอู้ ย่างไร โดยการแนะแนวทางจาก

218

ผู้สอน ซึ่งสามารถสาเร็จได้ด้วยตนเองหรือเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม แต่แนวคิดหลักคือ ผู้เรียนเป็นเจ้าของ
การเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนในสิ่งทีต่ นเองสนใจและตามศักยภาพของตนเอง

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของการเรยี นรแู้ บบชน้ี า
ตนเอง ตามทัศนะของ Garland วา่ อยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

10. Weimer เป็นศาสตราจารย์ด้านการสอนและการเรียนรู้ที่ Penn State Berks และ
ได้รับรางวัล Milton S. Eisenhower ของ Penn State รางวัลการสอนที่โดดเด่นในปี 2548 และ
เป็นท่ีปรึกษาของมหาวิทยาลัย และวิทยาลัยมากกว่า 600 แห่ง ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบ
ชี้นาตนเอง ว่า หมายถึง ความสามารถในการจัดการภาระงานโดยไม่ต้องมีใครมากากับ เป็นทักษะ
การเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีมปี ระสิทธิผล และเป็นหนึ่งในทักษะการเรียนร้หู ลาย ๆ ทักษะท่ีถูกคาดหวังให้
มีการพัฒนาระหวา่ งการเรยี นระดับอดุ มศึกษา

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจนิยามของการเรียนร้แู บบชน้ี า
ตนเอง ตามทัศนะของ Weimer ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

11. Boles เป็นผู้อานวยการของ Unschool ผจญภัย (บริษัท ท่องเท่ียวสาหรับการกากับ
ตนเองคนหนุ่มสาว) พิธีกรของ “Off-Trail การเรียนรู้” พอดคาสต์และผู้เขียนของวิทยาลัย Better
Than วทิ ยาลยั และศิลปะของตนเองการเรียนรู้โดยตรง ให้นยิ ามของทกั ษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเอง
ว่า หมายถึง วิธีการท่ีสร้างอิสระ ตัวเลือก และความรับผิดชอบของเราเอง เป็นการเรียนรู้โดยตั้งใจ
(Intentional Learning) หรือการเรียนรู้ท่ีเห็นชอบร่วมกัน (Consensual Learning) ซ่ึงสามารถ
เรียนรูไ้ ด้ในทุกสภาพแวดล้อม ไมว่ ่าจะเป็นในระบบของโรงเรียนหรอื นอกระบบ

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจนยิ ามของการเรยี นรู้แบบช้ีนา
ตนเอง ตามทัศนะของ Boles ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

12. Noelle เป็นครู เป็นนักเขียน เป็นผู้ฝึกอบรมทางวิชาชีพ เมืองพอร์ตแลนด์ ออริกอน
ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่า หมายถึง แนวคิดและการลงมือปฏิบัติท่ีเด็กและ

219

วัยรุ่นจะรับผิดชอบการศึกษาของตนเอง เพราะการศึกษาก็คือธรรมชาติ เกิดข้ึนทุกที่ ทุกเวลา เป็น
กระบวนการพฒั นาทีเ่ ร่ิมตั้งแต่เกิดและดาเนินไปจนชั่วชีวิต

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจนยิ ามของการเรียนรแู้ บบชีน้ า
ตนเอง ตามทัศนะของ Noelle ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................
………………………………………………………………………..............................................

13. IGI Global Disseminator of Knowledge เป็นสานักพิมพ์ช้ันนาระดับนานาชาติ
ที่ เพื่อใช้ในการค้นคว้างานวิจัยและขยายองค์ความรู้ที่มีอยู่ในงานวิจัย ให้นิยามของทักษะการเรียนรู้
แบบช้นี าตนเอง ว่า หมายถึง กลยทุ ธ์การเรียนร้ทู ่ีให้ผู้เรียนมบี ทบาทในกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
การควบคุมกระบวนการเรียนรู้ของตนเองว่าจะเรียนรู้อะไร เรียนรู้อย่างไร และจะตัดสินได้อย่างไร
การเรียนรู้ตามมโนทัศน์ของตนเอง การเรียนรู้ซ่ึงผู้เรียนต้องรับผิดชอบเองว่าจะเรียนรู้อะไร เมื่อไหร่
และอย่างไร การลงมือปฏิบัติและรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง การเรียนรู้ที่เกิดข้ึนเม่ือผู้เรียน
ทาการสารวจ ต้ังคาถาม โต้ตอบ และตอบสนองต่อสิ่งท่ีเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของตน
ผเู้ รียนได้เรียนรู้ตามจังหวะเวลาที่เหมาะของตนเอง กระบวนการเรยี นการสอนทีผ่ ู้เรียนมีหน้าที่สาคัญ
ในกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนการสอนที่มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ทั้งใน
การเลือกเรื่องท่ีจะเรียน แหล่งเรียนรู้ รปู แบบของการเรยี น และการประเมินผล การเรียนรู้ของผู้ใหญ่
ในการจัดการและกากับการเรียนรู้ของตนเองให้สมดุลกับส่ิงท่ีเกิดขึ้นจริงในชีวิตประจาวันและการ
ประกอบอาชีพ การท่ีผู้เรียนริเร่ิมท่ีจะสอนตนเองโดยใช้วิธีการสอนหรือวิธีการเรียนรู้ของตนเอง การ
รวมกันที่ซับซ้อนของทัศนคติ ค่านิยม และความสามารถ ซึ่งอาจทาให้แต่ละคนสามารถขีดเส้นทาง
แห่งการเรียนรู้ของตนเองได้ ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนมีหน้าที่สาคัญในการมีส่วนร่วม การ
เรียนร้ขู องผูใ้ หญท่ ่ีมีพื้นฐานมาจากความเป็นอสิ ระของแต่ละคน การอธบิ ายกระบวนการทแี่ ต่ละคนได้
ริเร่ิมในการวิเคราะห์ความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง การสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ การระบุ
แหลง่ เรียนรู้ทงั้ ท่ีเป็นมนุษย์และเป็นวตั ถุ กระบวนการที่ผู้เรยี นได้วิเคราะห์ความต้องการในการเรียนรู้
ของตนเอง สร้างเป้าหมายและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการท่ีกระทาอย่างเป็นอิสระเพื่อให้
ได้มาซ่ึงความรู้ โดยการริเริ่มที่จะเลือกและจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้น ๆ กลยุทธ์การเรียนการสอนที่
ผเู้ รียนเป็นผู้ตดั สินใจโดยการแนะแนวทางจากผู้สอน วา่ จะเรยี นรู้อะไรและเรยี นรู้อยา่ งไร การเรียนรู้ท่ี
ถูกควบคุมและจัดการโดยผู้เรียน ซ่ึงอาจเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียนตามความสนใจของตนเอง
กระบวนการที่แต่ละคนวิเคราะห์ความต้องการ การบูรณาการในด้านคุณลักษณะ ค่านิยม และความ
สนใจของผู้เรียนวัยผู้ใหญ่ การกระตุ้นผู้เรียนแต่ละคนให้ตัดสินใจในส่ิงท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของ
ตนเอง กระบวนการท่ีแต่ละคนได้ริเริ่มขึ้นเพ่ือเพ่ิมความรู้และทักษะอย่างไม่จากัดเวลาและสถานท่ี
โดยผสู้ อนไม่ต้องช่วยเหลือ กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รยี นทาใหส้ าเร็จได้โดยผ้สู อนไมต่ อ้ งใหแ้ นวทาง


Click to View FlipBook Version