The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phrapalad Lek, 2022-08-16 06:42:33

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

พระปลัดเล็ก อานนฺโท (ทองแสน)-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์ (1)

132

ะท่ีเปน็ กระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะท่ีเป็นผลลัพธ์ (Output)
นตอนทางเลอื กที่หลากหลาย ลักษณะหรอื คณุ ลักษณะทค่ี าดหวงั จากการพฒั นา
าทักษะการเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง
ทักษะการเรยี นร้แู บบช้ีนาตนเอง

8) ส่ือการเรียนรู้ (Learning Materials)
9) แหลง่ เรยี นรู้ (Learning Resources)
10) รูปแบบการเรยี นรู้ (Learning Forms)
11) สถาบันท่ีใหเ้ รียนรู้ (Learning Institutions)
12) ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ก า ร เรี ย น รู้ (Learning
Environment
13) สื่อการเรียนรู้และอื่น ๆ (Learning Media
and etc)
Atkinson (2015)
1) มแี รงจงู ใจ (Motivation)
2) ทักษะการเรยี น (Study Skills)
3) ม่งุ เน้นเป้าหมาย (Goal-Oriented)
4) เป็นนักยทุ ธศาสตร์ (Strategist)
5) มีการประเมินตนเอง (Self-Assessment)

ตารางท่ี 2.5 (ตอ่ ) ข้อเสนอแนะ
โมเดลขน้ั
ข้อเสนอแนะท่ีเป็นปจั จยั ปอ้ นเขา้ (Input)
หลักการ / แนวคดิ / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม / เพอื่ การพฒั นา
ทางเลือกทหี่ ลากหลายเพ่ือการพฒั นาทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชนี้ าตนเอง
5) มองปญั หาวา่ เปน็ ความทา้ ทาย ไมใ่ ช่อุปสรรค (Views Problems
as Challenges, Not Obstacles)
6) มวี ินัยในตนเอง (Is Capable of Self-Discipline)
7) มีความสงสยั ใคร่รู้ในระดบั สูง (Has a High Degree of
Curiosity Has a High Degree of Curiosity)
8) มีความปรารถนาอยา่ งแรงกล้าทจี่ ะเรียนรหู้ รอื เปลย่ี นแปลง (Has
a strong desire to learn or change)
9) มคี วามม่ันใจในตนเอง (Is Self-Confident)
10) สามารถใชท้ กั ษะพื้นฐานในการศึกษา (Is Able to Use Basic
Study Skills)
11) จดั การเวลา (Organizes His or Her Time)
12) เลอื กจงั หวะทเ่ี หมาะสมสาหรบั การเรยี นรู้ (Sets an
Appropriate Pace for Learning)
13) พัฒนาแผนเพ่ือทางานใหเ้ สรจ็ (Develops a Plan For
Completing Work)
14) มแี นวโนม้ ทีจ่ ะมุ่งเนน้ เปา้ หมาย (Has a Tendency to be
Goal-Oriented)
15) สนุกกบั การเรยี นรู้ (Enjoys Learning)

133

ะท่เี ป็นกระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเป็นผลลัพธ์ (Output)
นตอนทางเลอื กที่หลากหลาย ลักษณะหรือคณุ ลักษณะทค่ี าดหวงั จากการพัฒนา
าทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง
ทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง

ตารางท่ี 2.5 (ต่อ) ขอ้ เสนอแนะ
โมเดลขัน้
ข้อเสนอแนะท่เี ปน็ ปจั จัยป้อนเขา้ (Input)
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กจิ กรรม / เพื่อการพฒั นา
ทางเลอื กทีห่ ลากหลายเพื่อการพัฒนาทักษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง
Dickinson (2018)
1) เป็นเจ้าของการเรยี นรขู้ องคุณ (Take Ownership of Your
Learning)
2) ตง้ั เปา้ หมายแบบ SMART (Set SMART Goals)
3) กฎ 5 ชว่ั โมงของเบนจามิน แฟรงคลนิ (Benjamin Franklin's
Five-Hour Rule)
4) การเรียนร้แู บบลงมือปฏิบตั ิ (Active Learning)
5) จดั ลาดับความสาคญั (กฏ 80/20) (Prioritize (the 80/20 Rule)
6) เขา้ หอ้ งสมดุ (Visit the Library)
7) ใช้แรงจงู ใจของคณุ เอง (Employ Your Own Motivation)
ในเวบ็ ไซต์ของ Professional Learning Board (2019)
1) ความตอ้ งการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง (Need for Self-Directed
Learning)
2) กระตุ้นการเรียนรแู้ บบชี้นาตนเอง (Encouraging Self-Directed
Learning)
3) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)
4) พลงั ของการเลอื ก (Power of Choice)
5) พัฒนาทักษะ (Develop Skills)
6) การวิเคราะหเ์ ชิงวิพากษ์ (Critical Analysis)

134

ะท่เี ป็นกระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเปน็ ผลลัพธ์ (Output)
นตอนทางเลอื กท่ีหลากหลาย ลักษณะหรือคณุ ลักษณะทค่ี าดหวงั จากการพัฒนา
าทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง
ทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง

ตารางที่ 2.5 (ต่อ) ขอ้ เสนอแนะ
โมเดลขั้น
ขอ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ปจั จัยป้อนเขา้ (Input)
หลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธกี าร / กิจกรรม / เพือ่ การพัฒนา
ทางเลอื กทห่ี ลากหลายเพื่อการพัฒนาทักษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง
ในเวบ็ ไซตข์ อง Wabisabi Learning (2018)
1) พรอ้ มที่จะเรียนรู้ (Being Ready to Learn)
2) กาหนดเปา้ หมายการเรียนรู้ (Setting Learning Goals)
3) มสี ว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรู้ (Engaging in the Learning
Process)
4) ประเมินการเรยี นรู้ (Evaluating Learning)
Nicora (2019)
1) สอ่ื สารความคาดหวัง (Communicate Expectations)
2) สง่ เสรมิ ระบบสนบั สนุน (Promote Support Systems)
3) ใหเ้ ข้าถึงทรพั ยากรการเรยี นรู้ทมี่ ีคุณภาพสงู ได้โดยง่าย (Provide
Easy Access to High Quality Learning Resources)
4) เพ่มิ โอกาสในการประเมนิ ตนเอง (Develop Opportunities for
Self-Assessment)
Ark (2016)
1) ทาไมการช้ีนาตนเองจงึ เกิดผล (Why Does Self-Direction
Matter)
2) จะเรม่ิ จากตรงไหน (Where to Start)
3) ทกั ษะและเครอ่ื งมือ (Skills & Tools)
4) วัฒนธรรม (Culture)
5) ประสบการณผ์ ้เู รยี น (Learner Experience)

135

ะท่เี ป็นกระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเป็นผลลัพธ์ (Output)
นตอนทางเลอื กที่หลากหลาย ลักษณะหรือคณุ ลักษณะทค่ี าดหวงั จากการพัฒนา
าทกั ษะการเรียนรูแ้ บบชน้ี าตนเอง
ทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง

ตารางที่ 2.5 (ตอ่ ) ขอ้ เสนอแนะ
โมเดลขัน้
ขอ้ เสนอแนะที่เป็นปจั จยั ป้อนเขา้ (Input)
หลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธกี าร / กิจกรรม / เพ่อื การพฒั นา
ทางเลอื กที่หลากหลายเพอ่ื การพฒั นาทักษะการเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง
ในเว็บไซตข์ อง Design Your Homeschool (2006)
1) สร้างสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย (Create a Rich
Learning Environment)
2) ให้เวลาอยา่ งเพียงพอในส่งิ ทส่ี นใจ (Create a Rich Learning
Environment)
3) อภปิ รายในส่ิงทีส่ นใจ (Discuss Interests)
4) ทาใหเ้ ปน็ หลักสตู รจริง ๆ โปรแกรมการเรียนรู้สว่ นบุคคล (เลือก
ทา/ไม่ทากไ็ ด)้ (Formalize the Course - Individual Learning
Program (Optional))
5) ฉลองให้กบั การเรียนรู้ (Celebrate the Learning)
6) อยา่ ถอนคาพดู (Don’t Take it Back) หากติดขดั พรอ้ มท่จี ะให้
คาแนะนาหรือทาหนา้ ทเี่ ป็นตวั แทนความคดิ ของผู้อน่ื
7) คงไวซ้ ่ึงความไวว้ างใจได้ (Maintain Accountability)

136

ะท่เี ป็นกระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเปน็ ผลลัพธ์ (Output)
นตอนทางเลอื กที่หลากหลาย ลักษณะหรือคณุ ลักษณะทค่ี าดหวงั จากการพัฒนา
าทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบชน้ี าตนเอง
ทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง

บทท่ี 3
วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั

การวิจัยและพัฒนา เรื่อง โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน (Online Program to Enhance Teacher Learning to
Develop Students’ Self-Directed Learning Skills.) น้ี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research
and Development: R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ท่ีเห็นวา่ นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึ้น
โดยกระบวนการวจิ ยั และพัฒนามจี ดุ มุ่งหมายเพื่อนาไปใช้พัฒนาบคุ ลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน
ทม่ี ีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความจาเป็นเกิดข้ึน เช่น เป็นผลสืบเน่อื งจาก
การกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์การ
ทางานจากเก่าสู่ใหม่ท่ีบุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบัน
มหี ลกั การ แนวคิด ทฤษฎีที่ถอื เป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกดิ ขึ้นมากมาย ที่คาดหวัง
ว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานาความรู้เหล่าน้ีสู่การ
ปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลย่ิงข้ึน ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคากล่าวท่ีว่า
“Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They Know” ห รือ
“Link To On-The-Job Application” และดว้ ยแนวคิดที่ว่าการศกึ ษาวรรณกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งในบทท่ี
2 ถือเป็นจุดเรม่ิ ต้นท่ีสาคัญของการวิจัยและพัฒนา เพราะจะทาใหไ้ ดข้ ้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาเป็น
โปรแกรมออนไลน์ (Online Program) ท่ีมีองค์ประกอบสาคัญ คือ โครงการ (Project) และแต่ละ
โครงการมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ คู่มือเพื่อการเรียนรู้ หรือ คู่มือเพื่อการปฏิบัติ (Modules for
learning or Modules for Practice) ท่ีมีลักษณะเป็นแบบสาเร็จรปู เพื่อการศึกษาด้วยตนเอง (Self-
Learning)

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดเพ่ือการ
วิจัยของโปรแกรมออนไลน์การวิจัยเรื่อง โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน ที่ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ (1) โครงการพัฒนา
ความรู้ของครูผู้สอน มีคู่มือเพ่ือการเรียนรู้ประกอบโครงการจานวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้
เก่ียวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (2) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของ
ทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (3) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะหรือคุณลักษณะของคนท่ีมี
ทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเอง (4) คูม่ ือเพ่ือการเรยี นรูเ้ กีย่ วกบั แนวการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบ
ช้ีนาตนเอง (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับข้ันตอนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง และ
(6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง และ (2) โครงการ
ครูผู้สอนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียน มีคู่มือเพื่อการปฏิบัติประกอบโครงการจานวน 1 ชุด คือ
(1) คูม่ อื เชิงปฏิบัตกิ ารเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรแู้ บบชนี้ าตนเองของนกั เรยี น

138

โปรแกรมออนไลน์ดังกล่าว ผู้วิจัยได้สร้างเว็บไซต์ แล้วฝากลิงค์ไว้ที่เว็บไซต์ของ
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตอสี าน เพื่อให้ง่าย รวดเรว็ และสะดวกต่อการเขา้ ถึงคู่มือ
คือ เว็บไซต์ http://online.anyflip.com/okgwj/lgyv/mobile/ ท่ีผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดข้อมูล
นาไปศึกษาได้ทนั ที

ดังนั้น วิธีดาเนินการวิจัยในบทที่ 3 จึงมีรายละเอียดข้ันตอนการวิจัยและพัฒนาโปรแกรม

ออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน

ประกอบด้วยข้ันตอนของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D)เริ่มต้ังแต่

การศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องในบทที่ 2 ในลักษณะเป็น R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอน

สุดท้ายเปน็ การวจิ ัยเชิงทดลอง ดงั ภาพที่ 3.1 และมีคาอธิบายรายละเอียดของแตล่ ะขน้ั ตอนดังนี้

การวิจัย (Research - R) การพฒั นา (Development - D)

R1 - การวิจยั เอกสาร (Documentary Research) D1 – พฒั นาเป็นกรอบแนวคดิ การวจิ ยั และเปน็ เนือ้ หาเพือ่
เพ่อื ศกึ ษาแนวคิดเชงิ ทฤษฎีท่เี กยี่ วขอ้ งใบบทท่ี 2 จจัดัดททาาเปเปน็ น็ คคูม่ ูม่ อื อื ปแรละะกแอบบบโคทรดงสกอาบรขปอรงะโกปอรบแคกู่มรมือ

R2 – การอภิปรายกล่มุ เปา้ หมาย (Focused Group D2 – ปรับปรงุ แกไ้ ขในข้อบกพร่องของคมู่ ือจากผลการ
Discussion) เพ่ือตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคู่มือและ อภปิ รายกลมุ่ เปา้ หมาย (Focused Group Discussion) ครัง้
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ครงั้ ที่ 1 ท่ี 1

R3 – การอภิปรายกลมุ่ เปา้ หมาย (Focused Group D3 – ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในขอ้ บกพร่องของคู่มอื จากผลการ
Discussion) เพอ่ื ตรวจสอบข้อบกพรอ่ งของคมู่ อื และ อภิปรายกลมุ่ เปา้ หมาย (Focused Group Discussion) ครงั้
ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม ครัง้ ที่ 2 ที่ 2

R4 – การทดสอบประสิทธภิ าพคมู่ ือประกอบโครงการของ D4 – ทดสอบการบรรลผุ ลการทดลองใช้คูม่ อื ประกอบ
โปรแกรมกับกลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นา โดยหลกั การอบรม โครงการของโปรแกรมกับกลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นา โดยใช้
ออนไลน์ด้วยตนเอง (Online Self-Training) และจัดให้มีการ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และปรับปรุงแก้ไขในข้อบกพร่องของ
ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคู่มือและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม คู่มอื รวมท้งั ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ จากผลการตรวจสอบ

R5 - การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เพือ่ ศกึ ษา D5 - สรา้ งและพัฒนาคณุ ภาพของแบบประเมนิ ผลสาเร็จจาก
ทศั นะต่อการประเมนิ ผลจากการพัฒนาเพอื่ การสรา้ งแบบ การพฒั นา เปน็ แบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) 5
ประเมนิ ผลสาเรจ็ จากการพฒั นา ระดบั

R6 – การวิจัยเชิงทดลองแบบมกี ลุ่มทดลอง 1 กลมุ่ ทดสอบ D6 – ทดสอบการบรรลุผลการทดลองใชค้ ู่มือประกอบ
กอ่ นและหลัง (One Group Pretest-Posttest Design) เพอื่ โครงการของโปรแกรมกบั กลุ่มเป้าหมายในการพฒั นาที่
ทดสอบประสทิ ธิภาพของคมู่ ือประกอบโครงการของโปรแกรม เกี่ยวข้อง โดยเปรยี บเทียบผลกอ่ นและหลังการทดลองโดยการ
กบั กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาที่เกีย่ วขอ้ ง และจดั ให้มกี าร ทดสอบที (t-test) และปรบั ปรุงแก้ไขในขอ้ บกพรอ่ งของคมู่ ือ
ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคมู่ อื และขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ รวมท้งั ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ จากผลการตรวจสอบ

ภาพที่ 3.1 ขนั้ ตอนของการวิจัยและพัฒนาในงานวจิ ยั

3.1 ขน้ั ตอนท่ี 1 การจัดทาคมู่ อื ประกอบโครงการ

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดเพ่ือการ
วิจัย ของโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง

139

ของนักเรียน ที่ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการน้ัน ผู้วิจัยได้นากรอบแนวคิดเพ่ือการวิจัยดังกล่าว
มาเปน็ แนวทางในการจดั ทาคมู่ อื ประกอบ ดังนี้

3.1.1 โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบ
ช้ีนาตนเอง ประกอบด้วย คู่มือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning Modules) เพราะงานวิจัย
นี้ มีขั้นตอนการวิจัยเชิงทดลองที่ต้องการทดสอบให้ทราบผลในความมีประสิทธิภาพของคู่มือท่ีจัดทา
ข้ึน ไม่ให้มีอิทธิพลหรือมีการแทรกแซงหรือมีการสอดแทรกจากผู้วิจัยที่นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ใน
คู่มือ อันจะทาให้ผลจากการทดสอบความมีประสิทธิภาพของคู่มือมีความเบ่ียงเบนไป และหลังจาก
การทดลอง หากพบว่าคู่มือมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกาหนดแล้ว ก็สามารถนาไปเผยแพร่ใชก้ ับกลุ่ม
ประชากรเป้าหมายในวงกวา้ งได้อยา่ งประหยดั และทว่ั ถึง จานวน 6 ชดุ คอื

1) คมู่ ือเพือ่ การเรียนรู้เกี่ยวกบั นิยามของทักษะการเรยี นรูแ้ บบช้นี าตนเอง
2) คูม่ ือเพ่ือการเรยี นรู้เกยี่ วกับความสาคญั ของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง
3) คมู่ อื เพือ่ การเรียนรู้เกีย่ วกับลกั ษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง
4) คู่มือเพอ่ื การเรยี นรเู้ ก่ียวกับแนวการพฒั นาของทกั ษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง
5) คู่มอื เพ่อื การเรียนรูเ้ กยี่ วกับขั้นตอนการพฒั นาของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง
6) คมู่ ือเพอ่ื การเรยี นรเู้ ก่ียวกบั การประเมินของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
3.1.2 โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการเรียนรูแบบชี้นาตนเอง
ประกอบด้วยคู่มือเพ่ือการปฏิบัติจานวน 1 ชุด คือ คู่มือเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้
แบบชนี้ าตนเองของนกั เรียน
คู่มือประกอบโครงการ มีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพื่อการพฒั นาครูด้วยวิธกี ารเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (Self-Learning) และนาเสนอเนื้อหาที่เก่ียวข้องกับภารกิจของความเป็นครู คือ การพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองให้กับนักเรียนในงานวิจัยนี้ เป็นคู่มือประกอบโครงการท่ีคานึงถึง
จติ วิทยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult Learning) ท่ีเห็นว่าผใู้ หญ่ (ในงานวิจัยนี้ คือ ครู) การเรียนรู้จะ
มุ่งไปที่ชีวิตประจาวัน (Life-centered) หรือเน้นท่ีงานหรือการแก้ปัญหา (Task-centered) นั่นคือ
ผ้ใู หญ่จะยอมรบั และสนใจกิจกรรมการเรียนรู้ของเขา หากเขาเช่ือและเห็นว่าการเรียนรู้น้ัน ๆ จะช่วย
ให้เขาทางานได้ดีขึ้นหรือช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันของเขา การจัดหลักสูตรเพ่ือการเรียนการ
สอน ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัยสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ
ทักษะซึ่งมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย (Wisdom Max Center Company
Limited, 2015) โดยมีองค์ประกอบของคู่มือดังน้ี ชื่อของคู่มือ คาแนะนาการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์
การเรียนรู้ที่คาดหวังจากคู่มือ เนื้อหาที่นาเสนอในรูปแบบเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง (แบ่งเน้ือหาเป็น
ช่วง ๆ แต่ละช่วงมีกิจกรรมให้ทบทวน เช่น การตั้งคาถามให้ตอบ การให้ระบุข้อสังเกต การให้ระบุ
คาแนะนาเพ่ือการปรับปรุงแก้ไข เป็นต้น) แบบประเมินผลตนเอง และรายช่ือเอกสารอ้างอิง ท้ังนี้
กรอบแนวคิดในการจัดทาคูม่ อื ประกอบโครงการท้ัง 2 โครงการ แสดงไดด้ งั ภาพที่ 3.2 ตอ่ ไปนี้

โครงการ 140
พฒั นาความรูข้ องครูผู้สอน โครงการ
ครูผสู้ อนนาความรสู้ ู่การพฒั นานักเรียน
1. คู่มอื เพ่อื การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั นยิ ามของทกั ษะ
การเรยี นร้แู บบช้นี าตนเอง ค่มู ือเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื พัฒนาทกั ษะ
การเรยี นรแู้ บบชน้ี าตนเองของนักเรียน
2. คู่มือเพ่ือการเรยี นร้เู กี่ยวกับความสาคญั
ของทักษะการเรยี นรูแ้ บบชนี้ าตนเอง

3. คู่มือเพอื่ การเรยี นร้เู กย่ี วกบั ลักษณะท่แี สดงถงึ
ทักษะการเรยี นรแู้ บบชีน้ าตนเอง

4. คมู่ ือเพือ่ การเรยี นรู้เกย่ี วกบั แนวการพฒั นา
ของทกั ษะการเรียนร้แู บบช้นี าตนเอง

5. คมู่ ือเพ่ือการเรยี นรู้เก่ยี วกับขนั้ ตอนการพฒั นา
ของทกั ษะการเรยี นรแู้ บบชี้นาตนเอง

6. ค่มู อื เพื่อการเรยี นรูเ้ กี่ยวกบั การประเมนิ
ของทักษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง

ภาพท่ี 3.2 กรอบแนวคดิ ในการจดั ทาคู่มือเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้แบบชนี้ าตนเอง

3.2 ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพของค่มู ือและการปรับปรุงแก้ไข

ข้ันตอนน้ีเป็นการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือทั้งสองโครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อ
การเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง มีคู่มือเพื่อการเรียนรู้ประกอบ
โครงการจานวน 6 ชุด คือ (1) คมู่ ือเพื่อการเรียนรู้เก่ยี วกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง
(2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (3) คู่มือเพ่ือการ
เรียนรู้เก่ียวกับลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (4) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับ
แนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (5) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับข้ันตอนการ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง และ (6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินของทักษะ
การเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ในโครงการพัฒนาความรู้ของครูผู้สอน และ (1) คู่มือเชิงปฏิบัติการเพ่ือ
พัฒนาผู้เรยี น ในโครงการครูนาผลการเรยี นรสู้ ่กู ารเสรมิ สร้างทักษะการเรยี นรูแบบชี้นาตนเองนักเรียน
2 ระยะดงั นี้

ระยะที่ 1 การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary
Field Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการท้ัง 2 โครงการ โดยการอภิปราย

141

กลุ่ม (Focused Group Discussion) โดย (1) ผู้วิจัยใชเ้ ว็บไซต์ท่ีสร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบโครงการให้

กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธิ์วิทยา จานวน 10 ราย (ดูรายชื่อใน

ภาคผนวก) ได้ศึกษาลว่ งหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจยั ไปพบปะดว้ ยตวั เองกับกลมุ่ เปา้ หมาย (Face to Face)

ในการอภิปรายกลุ่มเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพ่ือให้ได้ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ

ปรบั ปรงุ แก้ไขในเบอื้ งต้นกอ่ นนาไปตรวจสอบและปรบั ปรุงคร้ังสาคัญในระยะท่ี 2

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังนี้ 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดย

คานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนาไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะ

เพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ

4) อืน่ ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบ ดงั นี้

แบบตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ ือเพอ่ื การปรบั ปรุงแก้ไข

ประเด็นในการตรวจสอบ ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรับปรุงแกไ้ ข

1. เน้ือหาท่ีนาเสนอในคู่มือชุดน้ี โดยคานึงถึงความ

ถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility)

ตอ่ การนาไปใช้

2. การใช้สานวนภาษาและการเรยี บเรียงแนวคิด ง่าย

ตอ่ ความเข้าใจ

3. รูปแบบการนาเสนอเน้ือหาจูงใจให้อยากอ่าน

อยากทาความเขา้ ใจในเนอื้ หาและนาไปปฏบิ ัติ

4. อนื่ ๆ

ระยะที่ 2 การตรวจสอบภาคสนามครั้งสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field
Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามครั้งสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังที่ผ่านการ
ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขในระยะที่ 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group
Discussion) โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างข้ึนส่งคู่มือประกอบ
โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนวดั หนองแวงวิทยา และโรงเรยี นจันทวิทยาคม รวม
จานวน 15 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก) ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจัยไปพบปะด้วยตัวเองกับ
กลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) ในการอภิปรายกลุ่มเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพ่ือให้ได้
ข้อเสน อแน ะท่ีจ ะเป็ น ป ระโยช น์ ต่อการป รับ ป รุงแก้ไขใน เบื้ องต้ น ก่อน น าไป ใช้ กับ กลุ่ มทดล องใน
ภาคสนาม ซึ่งในการตรวจสอบ มีประเด็นการตรวจสอบเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ 1) ข้อเสนอแนะ
เพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์
(Utility) ต่อการนาไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพ่ือการ
ปรับปรงุ แกไ้ ขด้านรูปแบบการนาเสนอ 4) อนื่ ๆ โดยใชแ้ บบตรวจสอบชุดเดียวกบั ชดุ ทใ่ี ช้ในระยะท่ี 1

142

3.3 ขัน้ ตอนท่ี 3 การสรา้ งเครื่องมอื เพื่อการทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดาเนินการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการทั้ง 2 โครงการ จาก
ข้ันตอนที่ 2 ทาให้ได้โปรแกรมออนไลน์การเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง : จากความรู้ของครูสู่การปฏิบัติ
เพื่อนักเรียน ที่มีความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ แต่
อย่างไรก็ตาม ในข้ันตอนการทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลุ่มทดลองน้ัน (ขั้นตอนที่ 4) ต้องมี
เคร่ืองมือเพื่อใช้ในการประเมนิ ประสิทธิภาพของการใช้คมู่ ือในโครงการท้ังสอง ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้สร้าง
เคร่ืองมอื ขึ้น เพ่อื ใชใ้ นขนั้ ตอนการทดลองในภาคสนาม ดงั นี้

3.3.1 เครอ่ื งมือทใี่ ช้
- แบบตรวจสอบคุณภาพของคู่มือเพ่ือการปรับปรุงแก้ไข 2 ช่วงเวลา คือ “หลังการ
พัฒนาครู” และ “หลังครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน” มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบ
ปลายเปิด (Open-ended Questionnaire) เพอื่ ใชใ้ นการระดมสมองของครู มปี ระเด็นการตรวจสอบ
เช่นเดียวกับท่ีใช้ในการตรวจสอบภาคสนามระยะที่ 1 และระยะท่ี 2 ดงั กล่าวข้างตน้ ดังนี้
- แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ประเมินประสิทธิภาพของคู่มือ
ประกอบโครงการท่ี 1 หลังการพัฒนาครูท่ีเป็นกลุ่มทดลอง จานวน 6 ชุด คือ (1) คมู่ ือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของ
ทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (3) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้
แบบชี้นาตนเอง (4) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง
(5) คู่มอื เพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับข้ันตอนการพัฒนาของทกั ษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเอง และ (6) คู่มือ
เพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ว่าสามารถใช้พัฒนาให้ครูที่เป็น
กลมุ่ ทดลองมีความรู้หลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ท่กี าหนดหรือไม่ และมีผลการ
เรียนรู้หลงั การทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลองอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิตหิ รือไม่
- แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้
ประเมินประสิทธภิ าพของการนาผลการเรียนรู้สกู่ ารปฏิบตั ิของครทู ี่เป็นกลุ่มทดลอง ว่าสามารถนาผล
การเรียนรู้ไปสู่การพัฒนานักเรียนให้เกิดผลการพัฒนาตามท่ีคาดหวังหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ
ทดลองอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตหิ รือไม่
3.3.2 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมอื
เคร่ืองมือชุดที่ 1 คือ แบบตรวจสอบเพ่ือการปรับปรุงแก้ไขคู่มือท่ีใช้ในการวิจัย “หลังการ
พัฒนาครูผู้สอน” และชดุ ที่ 2 คือ แบบตรวจสอบเพื่อการปรับปรุงแก้ไขคู่มือที่ใช้ในการวิจัย “หลังครู
นาผลการเรยี นรู้สูก่ ารพฒั นานักเรียน” ไม่นาไปตรวจสอบคุณภาพ เพราะมีประเด็นการตรวจสอบเพ่ือ
หาข้อบกพร่องเพอ่ื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขทีช่ ัดเจน จงึ มเี คร่ืองมือทจ่ี ะนาไปตรวจสอบคณุ ภาพ 2 ชดุ ดงั น้ี

3.3.2.1 แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูผู้สอน ผู้วิจัยสร้างข้ึน มีลักษณะเป็นแบบ
ปรนัย มี 4 ตัวเลือก มจี ดุ มงุ่ หมายเพ่อื ใช้ทดสอบผลการเรียนรขู้ องครูท่ีเป็นกล่มุ ทดลองหลังการวจิ ยั ใน
ภาคสนามตามโครงการที่ 1 ว่ามีผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผลการ
เรียนรู้หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่ โดยข้อสอบใน
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่ใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการวัด 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเนื้อหา
เกี่ยวกับ 1) นิยาม 2) ความสาคัญ 3) ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขั้นตอนการพัฒนา และ 6) การ

143

ประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง โดยแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อวัดทักษะ
การคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ
(Understanding) ก ารป ระ ยุ ก ต์ ใช้ (Applying) ก ารวิ เค ร าะ ห์ (Analyzing) ก ารป ระ เมิ น
(Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ (ดูแบบทดสอบใน
ภาคผนวก ซ)

แบบทดสอบที่สร้างข้ึนนาไปตรวจสอบความตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) เพื่อให้ได้
เครื่องมือวัดได้ตรงกับส่ิงที่ต้องการวัดหรือตรงกับวัตถุประสงค์ท่ีต้องการวัด (Polit & Beck, 2012)
ตามทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum (2017) ทาได้โดยการพิจารณาความสอดคลอง
ของขอคาถามกับนิยามเชิงปฏิบัติการและทฤษฎีของส่ิงท่ีต้องการวัด โดยผู้วิจัยนาเคร่ืองมือวิจัยท่ีร่าง
ไว้ให้ผู้เชี่ยวชาญท่ีเก่ียวข้องกับแนวคิดท่ีต้องการวัด จานวน 3-5 คน พิจารณาว่าข้อคาถามมีความ
สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏิบัติการหรือไม่และใหคะแนนตามวิธีการคานวณค่าความตรงซึ่งมีหลายวิธี
เช่น ดัชนีความสอดคลองของข้อคาถามกับวัตถุประสงค IOC: Indexes of Item-Objective
Congruence) ดัชนีความตรงตามเน้ือหา (CVI: Content Validity Index) ดัชนีความตรงตามเน้ือหา
ทั้งฉบับ (S-CVI: Content Validity Index for Scale) และค่าเฉลี่ยของสัดส่วนความสอดคล้อง
(ACP: Average Congruency Percentage) ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคลองของข้อ
คาถามกับวัตถุประสงค IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ซึ่งจากการศึกษา พบว่า
พัฒนาขึ้นโดย Rovinelli and Hambleton (1977) เป็นการประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อ
คาถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา Carlson (2000 cited in Turner & Carlson, 2003)
ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามและวัตถุประสงค์ท่ีปรับใหม่ (The
adjusted Index of Item-Objective Congruence) เป็นการหาความสอดคล้องของ 1 ข้อคาถาม
กับชดุ ของวตั ถุประสงค์

ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับ
วัตถุประสงคต์ ามทศั นะของ Rovinelli and Hambleton เพราะขอ้ สอบในแบบทดสอบผลการเรยี นรู้
ของครูทใี่ ช้ในงานวจิ ัยนี้ มงุ่ การวัดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเนื้อหาเก่ียวกับ 1) นิยาม 2) ความสาคัญ
3) ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขั้นตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง โดยแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้วัดทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) โดยในการตรวจสอบความ
สอดคล้องของขอ้ สอบกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ในแต่ละเน้ือหาจากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงค์
การเรียนรู้ แต่ละวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้มีขอ้ สอบ 6 ขอ้ รวมข้อสอบท้งั ฉบับ 36 ข้อ ใช้ผทู้ รงคุณวฒุ ิที่
มีความเชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ/หรือ การวัดและประเมินผลการศึกษา จานวน 5
ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก จ ) โดยให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1
หมายถึง ข้อคาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อ
คาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เช่ียวชาญ นามาวิเคราะห์หาค่า IOC
จากสูตร

144

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ใช้ผู้ทร งคุณวุฒิท่ีมีความ
เช่ียวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ/หรือ การวัดและประเมินผลการศึกษา จานวน 5 ราย (ดู
รายชื่อในภาคผนวก) โดยให้ทาเคร่ืองหมาย / ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อ
คาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อคาถามไม่มี
ความสอดคลอ้ ง ผลทไี่ ด้รับจากการตรวจสอบของผ้เู ชีย่ วชาญ นามาวเิ คราะหห์ าค่า IOC จากสูตร

IOC = R

N

เม่ือ IOC แทนดัชนีความสอดคลอ้ ง
R แทนผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นจากผเู้ ช่ียวชาญ
N แทนจานวนผเู้ ชย่ี วชาญ
โดยที่ +1แนใ่ จวา่ สอดคลอ้ ง
0 ไมแ่ นใ่ จว่าสอดคล้อง
-1 แนใ่ จว่าไมส่ อดคลอ้ ง
โดยกาหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคาถามนั้นมี
ความสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)
หลังจากนั้น จะนาไปทดลองใช้ (Try-out) กับครูผู้สอนในโรงเรียนสารคุณวิทยา และ
โรงเรียนท่าพระหงษ์เทศประดิษฐ์ รวมจานวน 30 ราย ผลการทดลองใช้แบบทดสอบดังกล่าว นามา
วิเคราะห์หาค่าสถิตเิ พื่อตรวจสอบคณุ ภาพของข้อสอบรายข้อและของแบบทดสอบดงั นี้

1) คุณภาพของข้อสอบรายข้อ ใช้เกณฑ์ค่าความยากง่าย (Difficulty) ใช้สัญลักษณ์
(p) และค่าอานาจจาแนก (Discrimination) ใช้สัญลกั ษณ์ ( r ) พิจารณารว่ มกัน ดังน้ี

- ระดับความยากง่าย (p) หมายถึง สัดส่วนของจานวนผู้ที่ตอบข้อสอบได้ถูกต้องต่อ
จานวนผู้ที่ตอบข้อสอบท้ังหมด หรือหมายถึงจานวนร้อยละของผู้ตอบข้อสอบน้ัน ๆ ถูก เช่น ค่า p =
0.30 แสดงว่าจานวนผู้ตอบ 100 คน มีผู้ท่ีตอบข้อนั้น ๆ ถูก 30 คน ค่าความยากง่ายจะมีค่าระหว่าง
0 ถงึ 1.00 ใช้สูตรดังน้ี คอื ความยากงา่ ย ( p ) = จานวนผตู้ อบถกู ( n ) / จานวนผู้เขา้ สอบ (N)

ในการพิจารณาค่าความยากง่ายน้ัน ถ้าข้อสอบมีค่าความยากง่ายสูง เช่น p = 0.95 แสดง
ว่า มีผู้ตอบถูกจานวนมาก จึงถือว่าเป็นข้อสอบท่ีง่าย แต่ในทางกลับกัน ถ้าข้อสอบมีผู้ตอบถูกน้อย
เช่น p = 0.15 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่ยาก ข้อสอบที่ดีจะมีระดับความยากง่าย เท่ากับ 0.5 ซึ่งจะทา
ให้เกิดค่าอานาจการจาแนกสูงสดุ และมีความเท่ียงสูง อย่างไรก็ตามในการสอบวัดความรู้ผลการเรียน
โดยท่ัวไป มักนิยมให้มีขอ้ สอบท่ีมีระดับความยากง่ายในระดับต่าง ๆ ปะปนกันไป โดยจัดให้มีข้อสอบ
มีค่าความยากง่ายพอเหมาะ (p มีค่าใกล้เคียง 0.5)เป็นส่วนใหญ่ รวมท้ังให้มีข้อสอบท่ีค่อนข้างยาก
และค่อนข้างง่ายอีกจานวนหนึ่ง แต่ถ้าเป็นการสอบแข่งขันเพ่ือคัดเลอื กผู้ที่มีความรู้ความสามารถควร
มีสัดส่วนของข้อสอบท่ียากสูงข้ึน ท้ังน้ี ข้อสอบท่ีดีควรมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20-0.80 ใน
ขอ้ สอบประเภท 4 ตัวเลือก ส่วนขอ้ สอบประเภท ถกู -ผิด ค่าความยากง่าย ควรอยู่ระหวา่ ง 0.60-0.95
โดยมีเกณฑ์การพิจารณาค่าความยากง่าย ( p ) ของข้อสอบรายข้อ ดังตาราง 3.1 (ล้วน สายยศ และ
องั คณา สายยศ, 2543 และเยาวดี รางชัยกลุ วบิ ูลย์ศรี, 2552)

145

ตารางท่ี 3.1 เกณฑก์ ารพจิ ารณาค่าความยากง่าย ( p ) ของข้อสอบ

คา่ ความยากงา่ ย ( p ) แปลความ การพจิ ารณา

0.00-0.19 ยากมาก ควรปรับปรุงหรือตัดทิ้ง
0.20-0.39 ค่อนข้างยาก พอใช้ได้
0.40-0.60 ยากงา่ ยปานกลาง ใชไ้ ด้
0.61-0.80 คอ่ นข้างง่าย พอใช้ได้
0.81-1.00 งา่ ยมาก ควรปรบั ปรุงหรือตดั ท้ิง

- อานาจจาแนก ( r ) หมายถึง ความสามารถของข้อสอบในการจาแนกหรือแยกให้
เห็นความแตกต่างระหว่างผู้สอบที่มีผลสัมฤทธ์ิต่างกัน เพ่ือท่ีจะใช้พยากรณ์หรือบ่งช้ีความแตกต่างท่ี
เห็นชัดในด้านความสามารถ เช่น จาแนกคนเก่งกบั คนอ่อนจากกันได้ โดยถือว่าคนเก่งควรทาข้อสอบ
ข้อนน้ั ได้ ส่วนผูท้ ่ีอ่อนไมค่ วรทาข้อสอบข้อนั้นได้ อานาจจาแนก ( r ) ของข้อสอบ จะมีค่าตั้งแต่- 1 ถึง
+ 1 ค่าอานาจจาแนกท่ีดี ควรมีค่าตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป กรณีท่ีค่าอานาจจาแนก ( r ) ติดลบ แสดงว่า
ขอ้ สอบข้อน้ันจาแนกกลับ คนเก่งทาไมไ่ ด้ แตค่ นอ่อนทาได้ ถือว่าเปน็ ข้อสอบที่ไมด่ คี วรตัดทงิ้ (นภาพร
สิงหทัต, ม.ป.ป.) มสี ูตรในการคานวณ ดังนี้

r = RH-RL
N/2
r = ค่าอานาจจาแนกของขอ้ สอบข้อหน่ึง ๆ
RH = จานวนผู้ตอบในกล่มุ สูง (เกง่ ) ทต่ี อบขอ้ นั้น
RL = จานวนผู้ตอบในกลมุ่ ต่า (ออ่ น) ทต่ี อบขอ้ นัน้ ถูก
N = จานวนผู้ตอบทง้ั หมดในกล่มุ สงู และกลมุ่ ต่า
มีเกณฑก์ ารการพจิ ารณาค่าอานาจจาแนก ( r ) ของขอ้ สอบรายข้อดังตาราง 3.2

ตารางท่ี 3.2 เกณฑ์การพจิ ารณาคา่ อานาจจาแนก ( r ) ของข้อสอบ

อานาจจาแนก ( r ) การพจิ ารณา

0.60-1.00 อานาจจาแนกดีมาก
0.40-0.59 อานาจจาแนกดี
0.20-0.39 อานาจจาแนกพอใช้
0.10-0.19 อานาจจาแนกตา่ (ควรปรับปรุงหรือตดั ท้ิง)
-1.00-0.09 อานาจจาแนกตา่ มาก (ควรปรบั ปรุงหรอื ตัดท้งิ )

2).คุณภาพของแบบทดสอบ พิจารณาจากเกณฑ์ความเชื่อม่ันและความยากง่ายของ
แบบทดสอบดงั น้ี

146

- ความเชื่อมนั่ ของแบบทดสอบ (Reliability) หมายถงึ ความคงท่ีในการวัด กล่าวคือ
ไม่ว่าจะวัดก่ีคร้ัง ๆ ก็ตามจะได้ผลคงท่ีเสมอ อุปมาเหมือนตาช่ังท่ีสามารถบอกน้าหนักของวัตถุก้อน
หนึ่งเท่าเดิม ไม่ว่าจะเอาวัตถุก้อนนั้นมาชั่งก่ีคร้ังก็ตาม ตาชั่งน้ันก็จะมีความเชื่อม่ันสูง โดยค่าความ
เช่ือม่ันของแบบทดสอบใด ๆ มีค่าอยู่ระหว่าง 0.00 ถึง 1.00 ยิ่งมีค่าใกล้ 1.00 เท่าใดก็ย่ิงมีความ
เช่ือมั่นสูงข้ึนเท่านั้น ในงานวิจัยน้ี ใช้วิธีของ Kuder-Richardson เนื่องจากแบบทดสอบท่ีใช้มีการให้
คะแนนแตล่ ะข้อเป็นแบบ 0, 1 คือตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน โดยอาศัยการวัดหรือ
การสอบเพียงครั้งเดยี ว วิธีการคานวณมสี องแบบ (Hopkins & Stanley, 1983; Aiken, 1985)

(1) ใช้สตู ร KR - 20 ในกรณีมีการวเิ คราะห์หาค่าความยากรายข้อไวแ้ ลว้ ดงั น้ี
rtt = [k/(k-1)] [1 - (ผลรวม pq)/S2]
เมอื่ k คอื จานวนข้อ
p คอื ค่าความยากของแตล่ ะข้อ
q=1–p
S2 คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวมทัง้ ฉบบั ท่ีได้จากการทดสอบ
(2) ใชส้ ูตร KR - 21 ในกรณีทขี่ อ้ สอบทุกข้อมคี ่าความยาก (Item Difficulty) เท่า ๆ กัน
หรือใช้คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบ ดงั นี้
rtt = [ k/(k-1)] [ 1-MX (k-MX)/kS2]
เม่อื MX คือ คะแนนเฉลย่ี รวมทัง้ ฉบับ และสญั ลกั ษณ์อนื่ เหมอื น KR-20
ในงานวิจัยนี้ เน่ืองจากมีการวิเคราะห์หาค่าความยากรายข้อ จึงใช้สูตร KR-20 เพื่อหาค่า
สัมประสิทธ์ิของความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ ซึ่งมีเกณฑ์การแปลผลความเช่ือม่ัน ดังน้ี 0.00-0.20 มี
ความเชื่อม่ันต่ามาก/ไม่มีเลย 0.21-0.40 มีความเชื่อม่ันต่า 0.41-0.70 มีความเช่ือมั่นปานกลาง และ
0.71-1.00 มีความเช่ือมั่นสูง (Naiyatip Teerapuk, n.d.) แต่อย่างไรก็ตาม ในการพิจารณาคุณภาพ
ของแบบทดสอบท่ีใช้ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยใช้เกณฑ์ตามท่ี UCLA: Statistical Consulting Group
(2016) กลา่ วถึง คือ หากแบบทดสอบมีคา่ สมั ประสทิ ธ์ิของความเชื่อม่นั เทา่ กับหรอื สูงกว่า 0.70 ถือว่า
เปน็ แบบทดสอบทมี่ ีความเช่ือมัน่ สงู

- ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเป็นเกณฑ์
หากคะแนนเฉล่ียอยู่ระหว่างร้อยละ 30-50 ของคะแนนเต็ม ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่มีความยาก
เหมาะสม หากคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า 30 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบท่ียากขึ้นเท่านั้น และหาก
คะแนนเฉล่ียสงู กวา่ 50 เทา่ ใด ถือวา่ เปน็ แบบทดสอบที่งา่ ยขน้ึ เท่าน้นั
การประเมนิ ตามแนวคดิ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90

แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู ท่ไี ด้รับการพัฒนาจนมีคุณภาพตามเกณฑ์ในประเด็นต่าง ๆ
ดังกล่าว จะถูกนาไปใช้ทดสอบผลการเรียนรู้หลังจากการดาเนินงานในโครงการท่ี 1 ว่าบรรลุผลตาม
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรอื ไม่

การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของ
บทเรียนสาเรจ็ รปู หรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed Materials หรือ Programmed Textbook
หรือ Programmed Lesson) ซ่ึงเป็นสือ่ ท่ีมีเปา้ หมายหลักเพื่อให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเป็นสาคัญ
หลักจิตวิทยาสาคัญที่เป็นฐานคิดความเช่ือของสื่อชนิดน้ีคือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery

147

Learning) ซ่ึงมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ หากจัดเวลาเพียงพอจัดวิธีการเรียนที่
เหมาะสมกบั ผเู้ รียนก็สามารถทจ่ี ะทาให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นได้

โดยเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวจิ ัยน้ี หมายถงึ เกณฑ์ที่ใช้วัด
ความมีประสิทธิภาพของคู่มือต่อการเสริมสร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรู้ให้กับครูผู้สอนท่ีเป็น
กลมุ่ ทดลอง โดย 90 ตวั แรก หมายถงึ ร้อยละของคะแนนเฉล่ียของผู้เรยี นทั้งกลุ่มที่ไดจ้ ากการวัดด้วย
แบบทดสอบวัดความรอบรู้หลังจากเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างข้ึนจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละ
ของจานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างข้ึนจบ
ลง) โดยสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑ์วัตถุประสงค์ทุกวัตถุประสงค์ (มนตรี แย้มกสิกร,
2551)

ทั้งนี้ ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ดั้งเดิมตามทัศนะ
ของ เปร่ือง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นาเสนอ
แนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) น่ันคือ 90 ตัวแรก เป็นคะแนนเฉลี่ยของทั้ง
กลุ่ม ซ่ึงหมายถึงทุกคน เม่ือสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุก
คะแนนแล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉล่ียของกลุ่ม
จะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวท่ีสองแทนคุณสมบัติท่ีว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนท้ังหมด ได้รับ
ผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรมนั้น (เปร่ือง กุมุท, 2519 อ้าง
ถงึ ใน มนตรี แย้มกสกิ ร, 2551)

ตามทัศนะของ มนตรี แย้มกสิกร (2551) สูตรท่ีใช้ในการคานวณ 90 ตัวแรก = {(Σ X
/N) X 100)}/R โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน

Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบท่ีผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้องจากการทดสอบหลัง
เรียน N หมายถึง จานวนผู้เรียนท้ังหมดท่ีใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้ R
หมายถึง จานวนคะแนนเต็ม ของแบบทดสอบหลังเรียน สูตรทใ่ี ชใ้ นการคานวณ 90 ตัวหลงั = (Y x
100)/ N โดย 90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก
วัตถุประสงค์ Y หมายถึง จานวนผู้เรียนท่ีสามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ N หมายถึง
จานวนผู้เรยี นทัง้ หมดที่ใช้เปน็ กลุม่ ตัวอยา่ งในการคานวณประสทิ ธิภาพครั้งน้ี

3.3.2.2 แบบประเมนิ ทักษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเองของนักเรียน ผวู้ ิจัยสร้างขนึ้ มี
ลักษณะเป็นแบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อย
ที่สุด ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากผลการศึกษาลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จากทัศนะ
ของ Nucum (2019), Hamdy (2018), Caruso (2011), Vaivada (2017), และ Atkinson (2015)
และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองจากทัศนะ Williamson
and Seewoodhary (2007), Rodney (2007), และ Khiat (2015) เป็นแบบประเมินออนไลน์ด้วย
Google Form ได้กาหนดใหม้ ีการดาเนินการเพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพ ดงั นี้

1) การตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) โดยดัชนีความสอดคลอ้ ง
ของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Index of Item - Objective Congruence: IOC) เป็นการประเมิน
ความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อคาถามกับ 1 วัตถุประสงค์ ตามทัศนะของ Rovinelli and
Hambleton ดังกล่าวในหัวข้อแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูข้างต้น เพราะแบบประเมินทักษะ

148

การเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ของนักเรียนท่ีใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งหาความสอดคล้องของข้อคาถามกับ
วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ในแต่ละด้าน คือ 1) ด้านการตระหนักรู้ มี
ข้อคาถาม 5 ข้อ 2) ดา้ นการควบคมุ ตนเอง มขี ้อคาถาม 5 ข้อ 3) ด้านการประเมินตนเอง มีข้อคาถาม
4 ข้อ 4) ด้านความปรารถนาในการเรียนรู้ มีข้อคาถาม 6 ข้อ 5) ด้านกลยุทธ์ในการเรียนรู้ มีข้อ
คาถาม 6 ข้อ 6) ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ มีข้อคาถาม 4 ข้อ และ 7) ด้านการติดต่อสื่อสารระหว่าง
บุคคล มีข้อคาถาม 6 ข้อ รวมทั้งฉบับมีข้อคาถาม 36 ข้อ ท้ังนี้วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แบบชี้นาตนเอง มีนิยามศัพท์เฉพาะท่ีเป็นผลจากการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องที่แสดงให้
เห็นถงึ วัตถปุ ระสงคใ์ นการพัฒนาทกั ษะการเรียนร้แู บบชา้ ตนเอง โดยภาพรวมและรายดา้ น ดังนี้

1. ทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (Self-Direction Learning Skills) หมายถึง
กระบวนการเรียนรู้ด้วยความต้องการของตนเอง เป็นอิสระเพ่ือให้ได้มาซ่ึงความรู้ ซ่ึงผู้เรียนแต่ละคน
เป็นผู้วิเคราะห์ความต้องการ สร้างแผน เป้าหมายของตนเอง เป็นผู้เลือกทรัพยากร แหล่งเรียนรู้
ข้อมูลท่ีจะเรียนรู้ กาหนดวัตถุประสงค์ การประเมินผล วิธีการเรียนรู้ รูปแบบ ทัศนคติ ค่านิยม และ
ความสามารถ การสารวจ การค้นหาสิ่งใหม่ ๆ การตั้งคาถาม การโต้ตอบ การตอบสนองด้วยตนเอง
การไตร่ตรองในข้อมูลนั้น ๆ ร่วมกับชุมชน การเรียนรู้อย่างตั้งใจและยอมรับในกฎเกณฑ์ การส่ือสาร
ระหว่างกัน การกระตุ้นใฝ่เรียนรขู้ องตนเอง การเรียนรู้โดยอาศัยประสบการณ์ของผู้เรียนให้สอดคลอ้ ง
กบั สิ่งท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวนั และเวลาท่เี หมาะสม ซึ่งผู้เรยี นมีบทบาทและมีความรับผิดชอบตอ่ การ
เรียนรู้ของตนเอง จะดาเนินการด้วยตนเอง หรือขอความร่วมมือจากผู้อื่นหรือไม่ก็ได้ ในงานวิจัยนี้ได้
กาหนดทักษะเพื่อการประเมินผลจากการพัฒนา 7 ทักษะ แตล่ ะทักษะมนี ยิ ามศัพทเ์ ฉพาะดงั นี้

- การตระหนกั รู้ (Awareness) หมายถึง การรับผิดชอบการเรยี นรู้ด้วยตวั เอง สามารถ
วางแผนและต้ังเป้าหมายการเรียนรู้ของตัวเองได้ สามารถระบุความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง
สามารถเลือกวิธีการเรียนรู้ท่ีดีที่สุดให้กับตัวเองได้ และสามารถรักษาแรงจูงใจเพื่อการเรียนรู้ของ
ตนเองไว้ได้

- การควบคุมตนเอง (Self-control) หมายถึง การชอบท่ีจะตัดสินใจด้วยตัวเอง รู้ขีด
ความสามารถของตัวเอง เชื่อในความสามารถของตัวเอง จดั การเวลาได้เป็นอยา่ งดี ลาดับความสาคัญ
การทางาน และชอบต้งั เป้าหมายและวางแผนการเรียนรู้ของตัวเอง

- การประเมินตนเอง (Self-Evaluation) หมายถึง การชอบที่จะประเมินส่ิงท่ีฉันทา
สามารถระบุจุดแข็งหรือจุดอ่อนของตัวเองได้ ได้แรงบันดาลใจจากความสาเร็จของผู้อ่ืน ตรวจสอบ
ตนเองเสมอไม่ว่าจะบรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้หรือไม่ และพบว่าท้ังความสาเร็จและความล้มเหลวน้ัน
ล้วนเปน็ แรงบันดาลใจให้ฉนั เรียนรู้มากขึน้

- ความปรารถนาในการเรียนรู้ (Desire for learning) หมายถึง การอยากเรียนรสู้ ่ิง
ใหม่ ๆ สนุกกับการเรียนรู้ข้อมลู ใหม่ ๆ เปดิ รับความคิดใหม่ ๆ เสมอ เรียนรู้จากความผิดพลาด ชอบที่
จะรวบรวมข้อเท็จจริงก่อนทาการตัดสินใจ และประสบปัญหาท่ีไม่สามารถแก้ไขได้จะขอความ
ช่วยเหลอื

- กลยุทธ์การเรียนรู้ (Learning Strategies) หมายถึง การมีส่วนร่วมในการอภิปราย
ภายในกลุ่มเสมอ การเรียนรู้จากกรณีตัวอย่างน้ันมีประโยชน์ การที่มีเพื่อนเป็นโค้ชนั้นเป็นอะไรท่ีมี
ประสิทธิภาพ แผนผังมโนทัศน์เป็นวิธีการเรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน

149

น้ันมีประสิทธิภาพมากกว่าการน่ังฟังบรรยาย และเทคโนโลยีการศึกษาท่ีทันสมัยช่วยปรับปรุง
กระบวนการเรยี นรขู้ องฉนั ให้ดยี ง่ิ ขนึ้

- กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Activities) หมายถึง การซักซ้อมและทบทวน
บทเรียนใหม่เสมอ เปิดใจให้กับความเห็นของผู้อ่ืนเสมอ ชอบที่จะหยุดพักระหว่างการเรียนแต่ละครั้ง
ชอบใช้แผนผังมโนทัศน์ในการทาความเข้าใจข้อมูลที่หลากหลาย และใช้สื่อสังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ก
ทวติ เตอร์ หรือกระดานถาม-ตอบบนอินเทอรเ์ นต็ เป็นประจา

- การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Skills) หมายถึง การพบว่าการ
ทางานกับผู้อื่นเป็นเร่ืองง่าย มักประสบความสาเร็จในการส่ือสารด้วยวาจา สามารถแสดงความคิด
ผ่านการเขียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ มันท้าทายทจ่ี ะพยายามเรียนรู้กบั บุคคลท่ีหลากหลาย และการมี
ปฏิสมั พันธก์ ับผูอ้ นื่ ช่วยให้พฒั นาความเข้าใจและการเรียนร้ไู ด้อย่างลึกซึง้

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ใช้ผู้ทรงคณุ วุฒิท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้าน
การวัดและประเมนิ ผล จานวน 5 ราย (ดูรายช่ือในภาคผนวก ฐ) โดยให้ทาเครอ่ื งหมาย  ลงในช่อง
+1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อคาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความ
สอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อคาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของ
ผู้เชี่ยวชาญ นามาวิเคราะห์หาค่า IOC จากสูตรดังกล่าวในหัวข้อแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู
ข้างต้น โดยกาหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคาถามน้ันมีความ
สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)

2) การทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียนที่
เกดิ ขึ้นกับนักเรยี นท่ีสรา้ งข้นึ มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความเชื่อม่ัน (Reliability) ของแบบประเมิน
เป็นการหาความสอดคล้องภายในเพื่ออธิบายว่าข้อคาถามแต่ละข้อในข้อคาถ ามชุดหน่ึงนั้นเป็นเร่ือง
เดียวกันหรือทิศทางเดียวกัน ในกรณีท่ีข้อคาถามเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า นิยมใช้สัมประสิทธ์ิ
แอลฟา (∝- Coefficient) เพือ่ หาค่าความเชื่อม่นั ของแบบสอบถาม หรืออาจหาความเช่ือมัน่ ดว้ ยการ
สอบซ้าก็ได้ถ้าต้องการแสดงว่าใช้วัดกี่คร้ังก็ให้ผลคงท่ี แต่ในงานวิจัยน้ีผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์หาค่า
สัมประสิทธ์ิแอลฟาของความเชื่อม่ัน (Alpha Coefficient of Reliability) โดยใช้วิธีของครอนบาค
(Cronbach’s Method) โดยกาหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่นท่ียอมรับได้ คือ
เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 (UCLA: Statistical Consulting Group, 2016) โดยนาแบบประเมิน
คุณลักษณะท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียนท่ีสร้างขึ้นไปทดลองใช้กับนักเรียนโรงเรียนวิเวกธรรมประสิ ทธิ์วิทยา
จานวน 30 รูป

3.4 ขั้นตอนที่ 4 การทดลองในภาคสนาม (Trial)

การท ดลองใน ภ าคสน าม (Trial) ผู้วิจัยใช้แบ บ แผน การวิจัยข้ัน พื้ น ฐาน (Pre
Experimental Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One
Group Pretest-Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง คือ ครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
10 รูป/คน ครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 15 รูป/คน รวม 25 รูป/คน และมีนักเรียนระดับ

150

มัธยมศึกษาตอนต้น 77 รูป นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 69 รูป รวม 146 รูป ดาเนินการทดลอง
ในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 โดยแบ่งระยะของการทดลองออกเปน็ 2 ระยะ ดงั นี้

ระยะท่ี 1 การทดลองตามโครงการที่ 1 : โครงการพัฒนาเพอ่ื การเรียนร้ขู องครู
เป็นระยะของ “การพัฒนาตนเองของครูผ้สู อนที่เป็นกลุ่มทดลองตามโครงการท่ี 1” โดย
การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) จานวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของ
ทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (2) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะการเรียนรู้
แบบชี้นาตนเอง (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง
(4) คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เกยี่ วกับแนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (5) คู่มือเพ่ือการ
เรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง และ (6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เก่ียวกับการประเมินของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ดาเนินการโดยการแนะนาคู่มือทั้ง 6 ชุด ที่
ไดอ้ พั โหลดลงเวบ็ ไซต์เรยี บร้อยแล้ว มขี ้ันตอนการดาเนินการดงั นี้

ตารางที่ 3.3 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการพัฒนาครผู ู้สอน

กจิ กรรม ระยะเวลา
1-2 วัน
1. เตรียมการและทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูก่อนพัฒนา (Pre-test)
พบปะเพื่อช้ีแจงการดาเนินงานวิจัยในระยะท่ี 1 ใหก้ ับครูที่เป็นกล่มุ ทดลอง 1 เดือน
และทาการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ ถือเป็นการทดสอบ
ก่อนการพัฒนา (Pre-test) 1 วนั

2. พัฒนาครูโดยหลักการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (Self-Learning) ใช้คู่มือ
ประกอบโครงการท่ีพัฒนาข้ึน โดยเข้าไปดาวนโ์ หลดได้ทเ่ี ว็บไซต์ของ
มหาวทิ ยาลยั ให้การเรียนรเู้ ป็นไปโดยปราศจากการแทรกแซงจากผ้วู จิ ยั
หรือบคุ คลอ่นื

3. ครูตรวจสอบหาข้อบกพร่องของคู่มอื และ ทดสอบครูหลงั การพัฒนา
(Post-test)
- ครูทเ่ี ป็นกลุม่ ทดลองรว่ มกนั ตรวจสอบหาขอ้ บกพร่องเพอ่ื ให้
ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงแก้ไขคมู่ ือในโครงการทง้ั 2 โครงการ
- ใช้แบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องครูกับครผู ้ทู ่ีเปน็ กลมุ่ ทดลอง เพ่ือให้
ทราบผลการเรียนรูว้ า่ เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรอื ไม่ และ
เพื่อเปรียบเทียบผลการเรยี นรู้ของครหู ลงั การพัฒนาสูงกว่าก่อนการ
พฒั นาอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตหิ รอื ไม่ ถือเป็นการทดสอบหลงั การ
พัฒนา (Post-test)

151

ตารางที่ 3.3 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการพัฒนาครผู สู้ อน

กิจกรรม ระยะเวลา
1-2 วัน
4. เปรียบเทียบผลการทดสอบครูหลังการพัฒนากบั เกณฑ์มาตรฐาน 90/90
และเปรียบเทียบผลการเรยี นรกู้ ่อนและหลังการพัฒนา
- วิเคราะห์คะแนนจากการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครู โดยเปรียบเทยี บ
กบั เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบผลการเรยี นรู้ของ
ครหู ลังการพฒั นาสงู กวา่ ก่อนการพฒั นาอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตโิ ดยใช้
ค่าสถติ ิทดสอบที (t-test) เพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจยั ว่าคู่มอื
ประกอบโครงการมีประสิทธิภาพหรือไม่

ระยะท่ี 2 การทดลองตามโครงการท่ี 2 : โครงการครูนาผลการเรียนรู้ส่กู ารพัฒนานกั เรียน
เป็นระยะของการ “นาผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองตามโครงการ
ท่ี 2” โดยในการปฏิบัติน้ัน เป็นการกาหนดให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันนาความรู้ที่ได้จากการ
พัฒนาตนเองจากคู่มือตามโครงการท่ี 1 ไปใช้พัฒนานักเรียนให้เกิดผลการพัฒนาตามท่ีคาดหวัง มี
ข้ันตอนการดาเนนิ งานดังนี้

ตารางที่ 3.4 แสดงกจิ กรรมและระยะเวลาในโครงการครนู าผลการเรียนรู้สู่การพฒั นานกั เรียน

กจิ กรรม ระยะเวลา
1-2 วนั
1. เตรยี มการ และ ประเมนิ ทักษะการเรียนรแู้ บบช้นี าตนเองของนักเรยี นกอ่ นการ
พฒั นา (Pre-Test) 2 เดือน
- ชแ้ี จงการดาเนินงานวิจยั ในระยะท่ี 2 ให้กับครูท่เี ป็นกลุ่มทดลอง 2 วัน
- ใชแ้ บบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบ้ีนาตนเองกับนักเรียนทีเ่ ป็นกลมุ่ เป้าหมาย
ในการพฒั นา โดยใชแ้ บบประเมนิ ทผี่ ู้วจิ ัยสร้างขน้ึ ถือเปน็ การทดสอบก่อนการ
พัฒนา (Pre-Test)

2 ครทู เ่ี ป็นกลุ่มทดลองนาผลการเรียนรู้สกู่ ารพฒั นานกั เรยี น โดยดาเนินการตาม
คาช้ีแจงในคู่มือเชงิ ปฏิบัติการในโครงการที่ 2 ให้การปฏิบัติเป็นไปโดยปราศจาก
การแทรกแซงจากผวู้ ิจัยหรือบคุ คลอืน่

3. ครูที่เป็นกล่มุ ทดลองตรวจสอบเพื่อหาข้อบกพร่องของค่มู ือ และ ประเมนิ
ทกั ษะการเรียนร้แู บบชีน้ าตนเองของนักเรียนหลงั การพฒั นา (Post-Test)
- ครูที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
คู่มือในโครงการที่ 2
- ใช้แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองกับนักเรียนท่ีเป็น
กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนา ถอื เป็นการทดสอบหลังการพฒั นา (Post-Test)

152

ตารางที่ 3.4 (ต่อ)

กิจกรรม ระยะเวลา

4. เปรยี บเทียบผลการประเมินทกั ษะการเรยี นร้แู บบชน้ี าตนเองของนกั เรยี นกอ่ น 1-2 วัน

และหลงั การพัฒนา วิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บคะแนนจากการประเมนิ ทักษะการ

เรียนรแู้ บบชี้นาตนเองของผูเ้ รียนท่ีทาการประเมนิ กอ่ นและหลงั การพฒั นาใน

ระยะที่ 2 โดยใช้ค่าสถติ ทิ ดสอบที (t-test) เพ่อื ประเมินว่าผลการดาเนนิ การระยะ

ท่ี 2 ได้ส่งผลใหน้ กั เรยี นมที ักษะท่ีคาดหวงั หลงั การทดลองสงู กวา่ ก่อนการพัฒนา

อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตหิ รอื ไม่

การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของครูตามโครงการที่ 1 และผลการประเมิน

ทกั ษะการเรียนรู้แบบน้ี าตนเองของนกั เรยี นตามโครงการท่ี 2

ใช้การทดสอบที (t-test) ซ่ึงเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิดหน่ึงท่ีนักวิจัยนิยมใช้
การทดสอบ โดยวิธีการน้ีใช้ในกรณขี อ้ มลู มีจานวนน้อย (n < 30) ผ้ทู ี่ค้นพบการแจกแจงของ t มีชอ่ื ว่า
W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มน้ัน จาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิตท่ีใช้เปรียบเทียบค่าเฉล่ียระหว่าง
กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระจากกัน ข้อมูลที่รวบรวมได้อยู่ในระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้
สถิติการทดสอบค่า t มีช่ือเฉพาะว่า t-test for Independent Samples 2) การใช้ t-test แบบไม่
เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีไม่
เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t-test for
Dependent Samples ซ่ึงมักพบในการวิจัยเชิงทดลองท่ีตอ้ งการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลอง
กบั หลังทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ได้จากการจบั คู่คุณลักษณะ
ที่เท่าเทยี มกนั (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวิจัยนี้ ใช้ t-test แบบไมเ่ ป็นอสิ ระจากกัน (Dependent) เนื่องจากเป็นการวิจัยเชิง
ทดลองที่ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบื้องต้น ดังน้ี
1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตัวอย่างเป็นกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มไดจ้ ากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตัวแปรตามแต่
ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี,
ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และ ดิเรก ศรสี ุโข, 2551) มสี ตู รในการคานวณ ดังนี้

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถงึ ผลรวมของความแตกต่างระหวา่ งคะแนนก่อนและหลังการพฒั นา
∑D2 หมายถงึ ผลรวมความแตกต่างของคะแนนก่อนและหลังการพฒั นายกกาลังสอง
N หมายถงึ จานวนกลุ่มทดลองที่ไดร้ ับการพัฒนาท้ังหมด

153

3.5 ขน้ั ตอนที่ 5 การเขยี นรายงานผลการวจิ ัยและการเผยแพรผ่ ลงานวิจัย

เขียนและนาเสนอรายงานผลการวิจัยในรูป แบบอิงแนวคิดเชิงวิพากษ์ (Critical
Approach) แสดงหลักฐานประกอบท้ังข้อมูล สถิติ และเอกสาร ท่ีผู้ร่วมโปรแกรมและผู้เก่ียวข้องได้
ร่วมกันปฏิบัติ ใช้วิธีการสกัดความรู้และประสบการณ์จากการสะท้อนผล พร้อมท้ังบนั ทึกรายละเอียด
ข้ันตอนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน และความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนระหว่างการปฏิบัติงาน เพ่ือเป็น
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโปรแกรมและเพื่อให้การปฏิบัติงานให้บรรลุเปา้ หมาย ดงั น้นั การนาเสนอ
ผลการวิจัยจึงมีลักษณะเป็นการพรรณนาหรือบรรยายเชิงวิพากษ์ประกอบกับค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง ใน
หวั ข้อต่าง ๆ ดงั นี้

หวั ขอ้ ที่ 1 ผลการจัดทาคู่มอื ประกอบโครงการ
หัวข้อท่ี 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข
หัวขอ้ ท่ี 3 ผลการสร้างเครอื่ งมือเพ่ือการทดลองในภาคสนาม
หัวข้อท่ี 4 ผลการทดลองในภาคสนาม
สาหรับการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผู้วิจัยดาเนินการโดยการตีพิมพ์ในวารสารตามเงื่อนไขการ
สาเร็จการศึกษา และหากมีโอกาสจะนาเสนอผลงานวิจัยในการสัมมนาวิชาการ และการจัดพิมพ์คู่มือ
ท่ใี ช้ในการวิจยั เพ่อื การเผยแพร่

3.6 แผนดาเนนิ การวจิ ยั โดยภาพรวม

กิจกรรม ระยะเวลา
ภาคเรียนท่ี 1
1. จัดทาคู่มือประกอบโครงการ 2 เดือน
2. ตรวจสอบคุณภาพคมู่ ือและการปรบั ปรุงแก้ไข 1 เดอื น
3. สร้างเคร่ืองมือเพื่อการทดลองในภาคสนาม 1 เดอื น
ภาคเรียนท่ี 2
1. การทดลองในภาคสนามระยะที่ 1 โครงการพฒั นาเพื่อการเรยี นร้ขู องครู 1 เดือน
2. การทดลองในภาคสนามระยะที่ 2 โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา 2-3 เดือน
นกั เรียน

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

การวิจัยเรื่องเร่ืองโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน (Online Program to Enhance Teacher Learning to
Develop Students’ Self-Directed Learning Skills) น้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒ นาโปรแกรม
ออนไลน์เพ่ือเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน ที่
ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือโครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเก่ยี วกับการพฒั นาทักษะ
การเรยี นรู้แบบชี้นาตนเองและ โครงการครนู าผลการเรียนรู้ส่กู ารเสริมสร้างทกั ษะการเรยี นรูแบบชี้นา
ตนเองให้กับนักเรียน และได้กาหนดสมมติฐานการวิจัย ดังน้ี 1) ครูมีผลการทดสอบหลังการพัฒนา
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) ครูมผี ลการเรียนรูห้ ลังการทดลองสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมีผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองหลังการพัฒนา
สูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์การวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยได้
ดาเนินการวิจัยตามข้ันตอนต่าง ๆ ดังน้ีคือ (1) การจัดทาคู่มือประกอบโครงการ (2) การตรวจสอบ
คุณภาพคมู่ ือและการปรับปรุงแก้ไข (3) การสร้างเครื่องมือเพ่ือใช้ในการทดลองในภาคสนาม (4) การ
ทดลองในภาคสนาม แล้วนาผลการดาเนินการวจิ ยั แตล่ ะข้นั ตอนมาเขียนรายงานการวิจยั ดังน้ี

4.1 ขั้นตอนที่ 1 ผลการจดั ทาคมู่ ือประกอบโครงการ

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดเพื่อการ
วิจัยของโปรแกรมอบรมออนไลน์ด้วยตนเอง โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังการเรียนรู้ของครูสู่การ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียนท่ีประกอบด้วย 2 โครงการ คือ 1) โครงการ
พฒั นาเพื่อการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเอง และ 2) โครงการครู
นาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเองใหก้ ับนักเรยี น แต่ละโครงการมีคู่มือ
ประกอบด้วย มีผลการดาเนินงาน ดงั นี้

4.1.1 ผลการจัดทาคู่มือประกอบโครงการที่ 1 คือ โครงการพัฒนาความรู้แก่ครูผู้สอน
ประกอบด้วยคมู่ อื เพื่อการอบรมดว้ ยตนเอง (Self-Training) จานวน 6 ชดุ คอื

4.1.1.1 คมู่ ือเพอ่ื การเรียนรู้เกยี่ วกบั นยิ ามของทักษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเอง
4.1.1.2 คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เก่ียวกบั ความสาคญั ของทักษะการเรยี นรู้แบบชีน้ าตนเอง
4.1.1.3 คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง
4.1.1.4 คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง

155

4.1.1.5 คู่มือเพ่ือการเรียนรูเ้ กย่ี วกบั ขั้นตอนการพัฒนาทักษะการรู้การเรียนรู้แบบช้ีนา

ตนเอง

4.1.1.6 คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกบั การประเมนิ ทักษะการเรยี นรู้แบบชน้ี าตนเอง

คู่มือแต่ละชุดมีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพ่ือการพัฒนาครูผู้สอนด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(Self-Learning) เป็นคู่มือประกอบโครงการที่คานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult
Learning) ท่ีเห็นว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจัยน้ี คือ ครูผู้สอน) การเรียนรู้จะมุ่งไปที่ชีวิตประจาวัน (Life-
Centered) หรือเน้นที่งานหรือการแก้ปัญหา (Task-Centered) นั่นคือผู้ใหญ่จะยอมรับและสนใจ
กิจกรรมการเรียนรู้ของเขา หากเขาเช่ือและเห็นว่าการเรียนรู้นั้น ๆ จะช่วยให้เขาทางานได้ดีขึ้นหรือ
ช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันของเขา การจัดหลักสูตรเพ่ือการเรียนการสอน ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัย
สถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ทักษะซ่ึงมีส่วนช่วยในการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย (Wisdom Max Center Company Limited, 2015) โดยมี
องค์ประกอบของคู่มือดังนี้ ชื่อของคู่มือ คาแนะนาการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวังจาก
คูม่ ือ เนื้อหาที่นาเสนอในรปู แบบเพ่อื การอบรมด้วยตนเอง (Self-Training) (แบ่งเน้ือหาเปน็ ชว่ ง ๆ แต่
ละชว่ งมีกจิ กรรมใหท้ บทวน เช่น การต้ังคาถามให้ตอบ การใหร้ ะบุข้อสังเกต การใหร้ ะบุคาแนะนาเพ่ือ
การปรับปรุงแกไ้ ข เปน็ ตน้ ) แบบประเมนิ ผลตนเอง และรายชอ่ื เอกสารอา้ งอิง

สาหรับเน้ือหาในคู่มือแต่ละชุด เป็นผลจากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องในบท

ที่ 2 ดังน้ี

(1) คมู่ ือเพื่อการเรียนรู้เกีย่ วกับนิยามของทักษะการเรยี นรแู้ บบช้ีนาตนเอง จากทศั นะของ
Meredith (1989), Gibbons (2016), Petro (2017), Mocker & Spear (1982), Mezirow (1985),
Carter (2009), Brookfield (1985), Ecu (2019), Garland (1985), Weimer (2010), Boles
(n.d.), Noelle (2018), และ IGI Global Disseminator of Knowledge (1988)

(2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จาก
ทัศนะของ Timpau (2015), Andriotis (2017), Holz (2017), Help Teaching (2019), Gutierrez
(2017), เว็บไซต์ของ Alternatives to School (2019), เว็บไซต์ของ Assignment Bay (2017),
เว็บไซต์ของ Western Academy of Beijing (2017), และเว็บไซต์ของ Self-Directed Learning
(n.d.)

(3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จาก
ทัศนะของ Nucum, K, N (2019), Caruso (2011), Hamdy (2018), Vaivada (2017), และ
Atkinson (2015)

(4) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จาก
ทัศนะของ Impact Teacher (2018), Briggs (2015), Centre for Teaching Excellence (n.d.),
Weimer (2010), Cobb (2019), Dickinson (2018), เว็บไซต์ของ Professional Learning Board
(2019), เว็บไซต์ของ Wabisabi Learning (2018), Nicora (2019) Ark (2016), และเว็บไซต์ของ
Design Your Homeschool (2006)

(5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับข้ันตอนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จาก
ทศั นะของ Harvey (2019), Bull (2013), และ Dobbs (2017)

156
(6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง จากทัศนะ
ของ Williamson and Seewoodhary (2007), Rodney (2007), และ Khiat (2015)
ภาพแสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มือประกอบโครงการพัฒนาเพ่ือการ
เรยี นรู้ของครเู กยี่ วกบั การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเองในภาพท่ี 4.1

ภาพท่ี 4.1 แสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มือประกอบโครงการพัฒนาเพ่ือการ เรยี นรู้
ของครเู ก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรแู้ บบช้ีนาตนเอง

4.1.2 ผลการจัดทาคู่มือประกอบโครงการที่ 2 คือ โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การ
เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองให้กับนักเรียน ประกอบด้วยคู่มือเพ่ือการปฏิบัติจานวน
1 ชุด คือ คู่มือเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาผู้เรียน คู่มือน้ีเน้นการสรุปเน้ือหาเกี่ยวกับลักษณะหรือ
คุณลักษณะที่คาดหวังจากการพัฒนา แนวทางการพัฒนา และข้ันตอนการพัฒนา และในตอนท้าย
ของคู่มือ มแี บบประเมินตนเอง (Self-Assessment) สาหรับครใู ช้ในการประเมินตนเองดังน้ี 1) มีการ
นาเอาแนวทางการพัฒนาท่ีนาเสนอไว้ในคู่มือไปสู่การปฏิบัติมากน้อยเพียงใด 6 ระดับ จากระดับ 0
คือ ไม่ได้นาไปปฏิบัติเลย ไปถึงการนาไปปฏิบัติในระดับ 1 – 2 – 3 – 4 – 5 ซึ่งระดับ 5 หมายถึง
ระดับการนาไปปฏิบัติมากที่สุด 2) มีการกาหนดขั้นตอนการพัฒนาเป็นแบบนาแนวคิดของใครไป
ปฏิบัติโดยตรง หรือได้บูรณาการแนวคิดของใครไปปฏิบัติบ้าง มีขั้นตอนที่บูรณาการใหม่เป็นอย่างไร
และ 3) มคี วามเห็นจากครูในลักษณะท่เี ป็นการสะท้อนผลจากการปฏบิ ัติ อะไรบ้าง ดังนี้ 1) โปรดระบุ
ถึงปัจจัยที่ส่งผลในทางบวกต่อการพัฒนาทักษะความเป็นทีมงานท่ีมีประสิทธิผลแก่นักเรียนของท่าน
2) โปรดระบุถึงปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในคร้ังน้ีของท่าน 3) โปรดระบุวิธีการที่ท่าน

157
นามาใช้ในการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรค 4) โปรดระบุ บทเรียนสาคัญที่ท่านได้รับจากการปฏิบัติงาน
ในคร้ังนี้ และ 5) โปรดระบุข้อเสนอแนะแนวการพัฒนาทักษะความเป็นทีมงานที่มีประสิทธิผล
นักเรียน ท่ีสาคัญที่ท่านเห็นว่าจะทาให้การพัฒนาทักษะนี้ให้เกิดข้ึนกับนักเรียนอย่างได้ผลดี โปรดดู
รายละเอียดของคู่มือประกอบจากที่นาเสนอในบทที่ 5 ของงานวิจัยน้ี และดูได้จากเว็บไซต์
http://online.anyflip.com/okgwj/lgyv/mobile/ ดังภาพแสดงปกของคู่มือประกอบโครงการครู
นาผลการเรียนรูส้ ู่การเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเองให้แก่
นกั เรียนในภาพที่ 4.2

ภาพท่ี 4.2 แสดงปกของคู่มือประกอบโครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้
แบบชี้นาตนเองให้แกน่ ักเรียน

4.2 ขั้นตอนท่ี 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคูม่ อื และการปรับปรงุ แกไ้ ข

ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือท้ังสองโครงการ คือ (1) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับ
นิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (2) คูม่ ือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคญั ของทักษะการ
เรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (3) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง (4) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (5) คู่มือ
เพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับข้ันตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองและ (6) คู่มือเพ่ือการ
เรียนรู้เก่ียวกับการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ในโครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การ
เสริมสร้างทักษะการรู้เรียนรู้แบบช้ีนาตนเองให้แก่นักเรียน และ (1) คู่มือเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนา
ผู้เรียน ในโครงการครูนาผลการเรยี นรู้สกู่ ารพัฒนานักเรียน 2 ระยะ มีดังนี้

158
4.2.1 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ อื และการปรบั ปรุงแก้ไขระยะท่ี 1
การตรวจสอบภาคสนามเบ้ืองต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ โดยการอภิปราย
กลุ่มเป้าหมาย (Focused Group Discussion) โดย (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ท่ีสร้างข้ึนส่งคู่มือประกอบ
โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูในโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา จานวน 10 ราย ในวันที่ 1
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 (ดูรายช่ือในภาคผนวก ก) ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจัยไปพบปะ
ด้วยตัวเองกับกลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในเบ้อื งตน้ ก่อนนาไปตรวจสอบและปรับปรุงครั้งสาคญั ในระยะที่ 2 ดังภาพประกอบ

ภาพที่ 4.3 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื และการปรบั ปรงุ แก้ไข

159

ณ โรงเรยี นวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวิทยา
ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังน้ี 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดย
คานึงถงึ ความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนาไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะ
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ
4) อ่นื ๆ มีผลการตรวจสอบดังนี้
1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี

- เนอื้ หามากไป ทาให้ผู้อา่ นหรือผูท้ ีจ่ ะนาไปศึกษาขาดความนา่ สนใจ
- ควรปรับเน้อื หาในบางประเด็นใช้กระชับมากกว่านี้
2) การปรับปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
- ควรปรบั ภาษาให้อ่านได้เข้าใจง่ายมากยงิ่ ขนึ้
- มบี างคาท่พี มิ พข์ อ้ ความผดิ ควรตรวจสอบใหร้ อบคอบ
- บางสานวนยังเป็นภาษาทแ่ี ปลมาจากภาษาอังกฤษ ทาให้เขา้ ใจยาก ควรปรับสานวน
ภาษาให้อ่านเขา้ ใจงา่ ยย่ิงขนึ้
3) การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นรูปแบบการนาเสนอ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
- ควรมกี ารจัดทาคู่มอื แตล่ ะชดุ เป็น PowerPoint และอัพลงเว็ปไซต์ หรือส่งเข้าในกลุ่ม
Group Messenger , Line
- การนาเสนอเนื้อหาคู่มือทั้ง 6 ชุด เป็นรปู แบบเดยี วกนั ทาใหไ้ ม่น่าสนใจ ควรปรับให้
น่าสนใจยงิ่ ขึน้
- ควรมีภาพประกอบในแตล่ ะชุดคู่มอื เพ่อื จะทาใหผ้ อู้ ่านเกิดความนา่ สนใจยิ่งขนึ้
4) อื่น ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
- ควรตรวจสอบการเวน้ วรรคตอนของคา และการสะกดคาใหถ้ ูกตอ้ ง
จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคณุ ภาพของคู่มอื ของครูโรงเรียนวเิ วกธรรม
ประสิทธิ์วิทยา ผู้วิจัยได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงในคู่มือดังน้ี ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา
ผู้วิจัยได้ปรับปรุงในส่วนของเนื้อหาให้มีความกระชับและน่าสนใจยิ่งขึ้น ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้าน
ภาษา ผู้วิจัยได้มีการปรับสานวนการแปลภาษาให้อ่านและเข้าใจง่ายย่ิงขึ้น รวมถึงตรวจดูคาที่อาจ
พิมพ์ผิด โดยตรวจสอบอย่างรอบคอบ ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ ผู้วิจัยได้
ปรบั ปรุงรปู แบบการนาเสนอใหน้ ่าสนใจ โดยใช้รปู ภาพเพื่อช่วยดงึ ดูดความนา่ สนใจและตรวจสอบการ
เว้นวรรคตอน การสะกดคา ท้ังนี้ผู้วิจัยได้แก้ไขตามคาแนะนาในคู่มือเรียบร้อยแล้ว เพ่ือนาไป
ตรวจสอบในระยะที่ 2 ต่อไป
4.2.2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ อื และการปรบั ปรุงแก้ไขระยะท่ี 2
การตรวจสอบภาคสนามคร้ังสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังท่ีผ่านการ
ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขในระยะท่ี 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group

160

Discussion) โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะท่ี 1 คือ (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ท่ีสร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบ
โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูในโรงเรียนจันทวิทยาคม ในวันที่ 19 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564
จานวน 8 ราย และโรงเรียนวัดหนองแวงวิทยา ในวันท่ี 20 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 จานวน 7
ราย รวมจานวน 15 ราย (ดรู ายชื่อในภาคผนวก ค) ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน (2) ผู้วจิ ัยไปพบปะด้วย
ตวั เองกับกลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) ในการอภปิ รายกลุ่มเพื่อตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพื่อให้
ได้ข้อเสนอแนะท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ไขในเบื้องต้นก่อนนาไปใช้กับกลุ่มทดลองใน
ภาคสนาม ซ่ึงในการตรวจสอบ มีประเด็นการตรวจสอบเช่นเดียวกับระยะท่ี 1 คือ 1) ข้อเสนอแน ะ
เพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์
(Utility) ต่อการนาไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการ
ปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ 4) อื่น ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบชดุ เดยี วกับชุดท่ีใช้ในระยะท่ี 1
ผลการตรวจสอบในแต่ละประเด็น มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงและแก้ไขในแต่ละ
ด้าน ดังน้ี

1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนาไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี

- ควรตรวจสอบเน้ือหาในคมู่ อื วา่ น่าสนใจหรอื จะมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้หรือไม่
2) การปรับปรงุ แกไ้ ขด้านภาษา มขี อ้ เสนอแนะ ดังน้ี

- ควรเรยี บเรยี งสานวน ภาษา ในคมู่ อื ใหอ้ ่านแล้วเข้าใจงา่ ย
- พยายามตรวจสอบคาท่ีใช้บ่อย ๆ ให้เหมือนกัน เช่น การเรียนรู้แบบนาตนเอง เป็น
การเรยี นรูแ้ บบช้ีนาตนเอง
- ตรวจสอบเคร่ืองหมายวรรคตอน และสัญลักษณต์ ่าง ๆ อยา่ งรอบคอบ
3) การปรับปรงุ แกไ้ ขดา้ นรปู แบบการนาเสนอ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
- ควรมกี ารนารปู ภาพ สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ มาแทรกในคู่มือ เพ่ือความน่าสนใจ แตไ่ ม่ควร
มากเกนิ ไป
4) อ่นื ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้
- ผ้วู ิจยั ควรตรวจสอบคู่มืออย่างละเอยี ด รอบคอบ กอ่ นนาไปใชใ้ นกลมุ่ ทดลอง

161
ภาพท่ี 4.4 การตรวจสอบคณุ ภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข ณ โรงเรียนจันทวทิ ยาคม
ภาพท่ี 4.5 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ณ โรงเรยี นวดั หนองแวงวทิ ยา

162

จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือของครูในโรงเรียนจันท
วิทยาคม และโรงเรียนวัดหนองแวงวิทยา ผู้วิจัยได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง ในคู่มือดังน้ี ด้านการ
ปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา ผู้จิวัยได้ปรับปรุงในส่วนของเน้ือหาความถูกต้อง น่าสนใจ และมีประโยชน์
ต่อการนาไปใช้ ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา ผู้วิจัยได้มีการปรับปรุงสานวน ภาษา ให้อ่านเข้าใจ
ง่ายและกระชับมากขึ้น แก้ไขการใช้คาที่แต่งต่างกัน เช่น การเรียนรู้แบบนาตนเอง เป็น การเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเอง ตรวจสอบเครื่องหมายวรรคตอน สัญลักษณ์ต่าง ๆ ด้านการปรับปรุงแกไ้ ขด้านรูปแบบ
การนาเสนอ ผู้วิจัยได้แทรกภาพประกอบในคู่มือแต่ละชุด เพ่ือความน่าสนใจ ท้ังนี้ผู้วิจัยได้แก้ไขตาม
คาแนะนาในคมู่ ือเรยี บรอ้ ยแลว้ เพ่ือนาไปใช้ตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือกบั กลุ่มทดลองต่อไป

4.3 ข้นั ตอนที่ 3 ผลการสร้างเครื่องมอื เพอื่ การทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดาเนินการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการทั้ง 2 โครงการ จาก
ขน้ั ตอนท่ี 2 ทาให้ไดโ้ ปรแกรมออนไลนเ์ พอ่ื พัฒนาครสู กู่ ารพัฒนาทักษะการเรยี นรู้แบบชี้นาตนเองของ
นกั เรียน ที่มคี วามถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ แต่อย่างไรก็
ตาม ในข้ันตอนการทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลมุ่ เป้าหมาย (ข้ันตอนที่ 4) ต้องมเี ครื่องมือเพ่ือใช้
ในการประเมินประสิทธิภาพของการใช้คู่มือในโครงการทั้งสอง ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้สร้างเครื่องมือข้ึน
เพอื่ ใชใ้ นขัน้ ตอนการทดลองในภาคสนาม ดงั นี้

4.3.1 ผลการสรา้ งเครือ่ งมือ
4.3.1.1 แบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครู ผ้วู ิจยั สรา้ งข้ึน มลี ักษณะเป็นแบบปรนัย มี

4 ตัวเลือก มีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้ทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการวิจัยใน
ภาคสนามตามโครงการท่ี 1 ว่ามีผลการเรียนรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผล
การเรียนรู้หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่ โดยข้อสอบใน
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการวัด 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเนื้อหา
เก่ียวกับ 1) นิยาม 2) ความสาคัญ 3) ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ข้ันตอนการพัฒนา และ 6) การ
ประเมินทักษะการเรียนรูแบบช้ีนาตนเอง โดยแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อวัดทักษะ
การคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ
(Understanding) ก ารป ระ ยุ ก ต์ ใช้ (Applying) ก ารวิ เค ร าะ ห์ (Analyzing) ก ารป ระ เมิ น
(Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) รวมข้อสอบท้ังฉบับ 36 ข้อ (ดูแบบทดสอบใน
ภาคผนวก ซ)

4.3.1.2 แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรยี น ผ้วู ิจัยสร้างขึ้น มี
ลักษณะเป็นแบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ
น้อยท่ีสุด ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากผลการศึกษาลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จาก
ทัศนะของ Nucum, K, N (2019), Caruso (2011), Hamdy (2018), Vaivada (2017), และ
Atkinson (2015) และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ของ
Williamson & Seewoodhary (2007), Rodney (2007), Khiat (2015) เป็นแบบประเมินออนไลน์
ด้วย Google Form (ดูเครอ่ื งมอื ในภาคผนวก ฐ)

163

4.3.2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ
4.3.2.1 ผลการตรวจสอบคุณ ภาพของแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู

แบบทดสอบมีลักษณะเป็นข้อสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 36 ข้อ เป็นข้อสอบออนไลน์พร้อม
ตรวจคาตอบด้วย Google Form มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ทดสอบความรู้ของครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลอง
“ก่อนและหลัง” การวิจัยในภาคสนามตามโครงการที่ 1 ว่ากลุ่มทดลองมีความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
90/90 หรือไม่ และมผี ลสมั ฤทธก์ิ ารเรียนรหู้ ลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอยา่ งมนี ัยสาคัญทาง
สถติ หิ รอื ไม่ โดยมกี ารนาไปตรวจสอบความมีคุณภาพของแบบทดสอบดังน้ี

4.3.2.2 ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ต ร ง เชิ ง เน้ื อ ห า ( Content Validity)
ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่า เพื่อให้ได้เครื่องมือวัดได้ตรงกับสิ่งท่ีต้องการวัดหรือตรงกับ

วัตถุประสงค์ท่ีต้องการวัด (Polit & Beck, 2012) ตามทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum
(2017) ทาได้โดยการพจิ ารณาความสอดคลองของขอคาถามกับนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการและทฤษฎีของสิ่ง
ที่ต้องการวัด โดยผู้วิจัยนาเครื่องมือวิจัยท่ีร่างไว้ให้ผู้เช่ียวชาญท่ีเก่ียวข้องกับแนวคิดที่ต้องการวัด
จานวน 5 คน พิจารณาว่าข้อคาถามมีความสอดคล้องกับนิยามเชิงปฏิบัติการหรือไม่และใหคะแนน
ตามวิธีการคานวณคา่ ความตรงซ่ึงมีหลายวิธี เช่น ดัชนีความสอดคลองของข้อคาถามกับวตั ถุประสงค
(IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI: Content
Validity Index) ดัชนีความตรงตามเน้ือหาท้ังฉบับ (S-CVI: Content Validity Index for Scale)
และค่าเฉล่ียของสัดส่วนความสอดคล้อง (ACP: Average Congruency Percentage) ในงานวิจัยนี้
ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคลองของข้อคาถามกับวัตถุประสงค IOC: Indexes of Item-Objective
Congruence) ซึ่งจากการศึกษา พบว่า พัฒนาข้ึนโดย Rovinelli and Hambleton (1977) เป็นการ
ประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อคาถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา Carlson (2000
cited in Turner & Carlson, 2003) ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถาม
และวัตถุประสงค์ท่ีปรับใหม่ (The adjusted Index of Item-Objective Congruence) เป็นการหา
ความสอดคล้องของ 1 ขอ้ สอบกบั ชุดของวตั ถุประสงค์

ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับ
วัตถุประสงคต์ ามทัศนะของ Rovinelli and Hambleton เพราะข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนรู้
ของครูทีใ่ ช้ในงานวิจัยนี้ มงุ่ การวัดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเน้ือหาเกี่ยวกับ 1) นิยาม 2) ความสาคัญ
3) ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ข้ันตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเอง โดยแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้วัดทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกตใ์ ช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) โดยในการตรวจสอบความ
สอดคลอ้ งของข้อสอบกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละเน้ือหาจากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงค์
การเรยี นรู้ แต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ขอ้ รวมข้อสอบทง้ั ฉบับ 36 ข้อ ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิท่ี
มีความเช่ียวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ / หรือ การวัดและประเมินผลการศึกษา จานวน 5
ราย (ดูรายช่ือในภาคผนวก จ) โดยให้ทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1
หมายถึง ข้อสอบมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อ
คาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลท่ีได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นามาวิเคราะห์หาค่า IOC

164

ตามสูตรท่ีกาหนดในบทที่ 3 โดยกาหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่า
ข้อสอบนั้นมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017) ดังมีผลการ
ตรวจสอบของผูเ้ ชีย่ วชาญแสดงในตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับวัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ในแบบทดสอบ
ผลการเรียนรขู้ องครู

ขอ้ ผลการให้คะแนนของผ้เู ช่ียวชาญ ค่าดชั นีความ ผลการ

1 2 3 4 5 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมิน

คูม่ ือชดุ ที่ 1 คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เกย่ี วกบั นยิ ามของทกั ษะการเรียนรู้แบบช้นี าตนเอง

1 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

2 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

3 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

4 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

5 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

6 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชไ้ ด้

คู่มอื ชุดท่ี 2 คู่มือเพื่อการเรียนรูเ้ ก่ยี วกบั ความสาคญั ของทักษะการเรยี นร้แู บบชี้นาตนเอง

7 +1 +1 +1 0 +1 0.8 ใช้ได้

8 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

9 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

10 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

11 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใช้ได้

12 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชไ้ ด้

คมู่ ือชุดที่ 3 คู่มอื เพ่ือการเรียนรู้เกยี่ วกบั ลักษณะท่ีแสดงถึงทกั ษะทกั ษะการเรียนร้แู บบชนี้ า

ตนเอง

13 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

14 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

15 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

16 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

17 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

18 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

คู่มอื ชุดท่ี 4 คู่มือเพื่อการเรียนร้เู ก่ยี วกับแนวการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง

19 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

20 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

165

ตารางที่ 4.1 (ต่อ)

ข้อ ผลการให้คะแนนของผเู้ ชี่ยวชาญ ค่าดัชนคี วาม ผลการ

1 2 3 4 5 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมนิ

21 +1 +1 +1 0 +1 0.8 ใชไ้ ด้

22 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

23 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

24 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใช้ได้

ค่มู ือชดุ ที่ 5 คู่มอื เพื่อการเรยี นรู้เกย่ี วกบั ขัน้ ตอนการพฒั นาทักษะการเรียนรแู้ บบช้นี าตนเอง

25 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

26 +1 +1 +1 +1 0 0.8 ใชไ้ ด้

27 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

28 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

29 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

30 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

คู่มอื ชดุ ท่ี 6 คู่มอื เพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกบั การประเมนิ ทักษะการเรียนรู้แบบชน้ี าตนเอง

31 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

32 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

33 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

34 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

35 +1 +1 +1 +1 0 0.8 ใชไ้ ด้

36 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใช้ได้

จากตารางที่ 4.1 เห็นได้ว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ในแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู พบว่า แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูซึ่งมี 6
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบท้ังฉบับ 36 ข้อ มี
ค่า IOC สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.6 ถึง 1 แสดงว่า
แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูทใี่ ชใ้ นงานวจิ ัยน้ีมคี วามตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity) สามารถ
นาไปใชไ้ ดต้ รงกบั วตั ถุประสงค์ทตี่ ้องการวดั ได้

4.3.2.3 การตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบรายข้อและแบบทดสอบ โดยนา
แบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องครไู ปทดลองใช้ (Try-out) กบั ครูในโรงเรียนสารคณุ วิทยา และโรงเรียน
ท่าพระหงษ์เทศประดิษฐ์ รวมจานวน 30 รูป/คน เพื่อวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย การกระจาย
ความเชื่อมั่น ค่าอานาจจาแนกรายข้อ และค่าสัมประสิทธิ์ความเช่ือมั่นด้วยวิธีการของ Kuder-
Richardson คะแนนจากผลการทดลองใช้แบบทดสอบดังกล่าว ดังแสดงใน ตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของค
ความเช่ือมัน่ ค่าอานาจจาแนกรายข้อ และคา่ สัมประสิทธคิ์ วามเช่อื ม่ันด

คน วตั ถุประสงค์การเรียนรนู้ ิยาม วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้
ที่ ความสาคญั ลกั ษณะ/คุณลักษณะ
วดั 6 ระดบั ความจาถงึ
สรา้ งสรรค์ วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถึง
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์

123456123456123456

1 111111111101111111

2 111111111111111111

3 111111011111111111

4 111101111111111111

5 111101111111111111

6 111111111111111111

7 111111111111111111

8 101111111110111111

9 111011101110111011

10 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1

11 1 1 1 0 0 0 1 0 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1

12 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1

13 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0 1 1 0 0 1 1 1

14 0 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1

15 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1

16 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 1 0 0 0 1 0 1 1

17 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 0 0 1 0 0 0 1

18 0 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 1 0 0 1 0 1

19 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 0 0 1 0 0 0 1

20 1 1 1 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 1 1 1

21 1 0 1 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 1 1 1

22 0 1 1 0 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1

23 1 0 1 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 1 0 1

24 0 0 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 1 0 0 1 0 0

25 0 0 1 0 1 0 0 0 1 1 0 0 1 1 1 0 0 0

166

ครูกับครูท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 ราย เพ่ือวิเคราะห์ความยากง่าย การกระจาย
ดว้ ยวธิ ีการของ Kuder-Richardson

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้แนว วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ขน้ั ตอน วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ รวม
การพฒั นา การพัฒนา การประเมนิ ผล
34
วัด 6 ระดบั ความจาถึง วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถงึ 34
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ 34
31
123456 123456 123456 31
31
111111 111111 101111 30
110111 111111 101111 28
111111 111111 101111 27
111111 101110 110101 26
111111 101111 110001 25
111101 111110 001101 24
111101 110110 001101 24
111101 110110 001101 22
111111 001110 100111 21
111111 001011 110101 21
111101 101010 110111 18
111101 000110 100011 18
111101 001011 110101 18
111101 100010 011010 17
111011 001110 011000 17
111101 101010 011010 16
111101 000010 100100 16
111101 000111 000000 15
111101 000010 100100 14
011111 001010 000100
110001 110010 100000
110001 001011 000000
110011 110010 100000
111101 000110 000000
110101 000010 010100

ตารางท่ี 4.2 (ตอ่ )

คน วตั ถุประสงค์การเรียนรูน้ ิยาม วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
ที่ ความสาคัญ ลกั ษณะ/คุณลกั ษณะ
วดั 6 ระดบั ความจาถึง
สร้างสรรค์ วดั 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถึง
สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456123456123456

26 0 1 0 0 0 1 1 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0

27 1 1 0 1 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0

28 1 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 1 1 0 0 1 1 0

29 0 0 1 0 0 1 1 1 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0

30 0 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0

รวม 20 20 26 18 17 19 20 10 24 25 18 14 17 16 20 19 19 23

เกง่ 13 13 15 13 10 12 13 8 14 14 11 12 12 12 12 12 15 15

ออ่ น 7 7 11 5 7 7 7 2 10 11 7 2 5 4 8 7 4 8

p 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.
53 27 53 40 43 37 43 53 27 50 30 53 50 53 23 53 30 53

r 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.
53 27 53 40 33 20 60 53 27 33 33 53 33 40 47 40 33 40

N (จานวนกลุ่มตัวอยา่ ง) =30, n (จานวนขอ้ สอบ) = 36 ข

หมายเหตุ เลข 1 หมายถงึ ทาถูก, เลข 0 หมายถึงทาผดิ

167

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้แนว วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรขู้ ้นั ตอน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ รวม
การพฒั นา การพฒั นา การประเมนิ ผล
10
วดั 6 ระดบั ความจาถึง วดั 6 ระดบั ความจาถึง วดั 6 ระดบั ความจาถงึ 10
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ 9
8
123456 123456 123456 6
000000
010101 100000 000000
101011 000001 001000
000000 000100 000100
001000 000000 001000
100000 100000
14 9 11 16 8 13
26 26 22 22 11 27 15 8 14 14 25 9 10 7 8 11 7 13
15 15 14 14 8 15 10 6 11 11 15 6
423510
11 11 8 8 3 12 5 2 3 3 10 3
0. 0. 0. 0. 0. 0.
0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 53 57 50 37 50 43
30 53 30 57 43 37 50 53 50 50 53 30 0. 0. 0. 0. 0. 0.
0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 40 20 47 20 33 47
33 53 33 20 47 20 33 40 33 33 53 33

ขอ้ = 16.00 S.D. = 8.32 S2 = 66.87 r =0.913

168

คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูกับครูท่ีเป็นกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 30 ราย ได้นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย การกระจาย ความเชื่อม่ัน ค่าอานาจ
จาแนกรายข้อ และค่าสัมประสิทธ์ิความเชื่อม่ันด้วยวิธีการของ Kuder-Richardson ต่อไปน้ี
ตามลาดบั

- คุณภาพของข้อสอบรายข้อ การพิจารณาคุณภาพของข้อสอบรายข้อ ใช้เกณฑ์ความ
ยากง่ายของข้อสอบ (p) และค่าอานาจจาแนก ( r ) ร่วมกัน ซ่ึงคาอธิบายถึงความหมายของความยาก
ง่ายของข้อสอบ (p) และค่าอานาจจาแนก ( r ) รวมทั้งสูตรในการคานวณได้กล่าวไว้ในบทที่ 3 มี
เกณฑ์การพิจารณาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก ( r ) ของข้อสอบ ดังแสดงในตารางท่ี
4.3 และตารางท่ี 4.4 ตามลาดบั ดังน้ี

ตารางท่ี 4.3 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ ความยากง่าย (p) ของข้อสอบ

ความยากงา่ ย (p) แปลความ การพจิ ารณา

0.00-0.19 ยากมาก ควรปรบั ปรงุ หรือตัดทิ้ง
0.20-0.39 ค่อนข้างยาก พอใช้ได้
0.40-0.60 ยากง่ายปานกลาง ใชไ้ ด้
0.61-0.80 ค่อนข้างง่าย พอใช้ได้
0.81-1.00 งา่ ยมาก ควรปรบั ปรุงหรอื ตดั ทิ้ง

ตารางท่ี 4.4 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ อานาจจาแนก ( r ) ของขอ้ สอบ

อานาจจาแนก ( r ) การพิจารณา
0.60-1.00 อานาจจาแนกดมี าก
0.40-0.59 อานาจจาแนกดี
0.20-0.39 อานาจจาแนกพอใช้
0.10-0.19 อานาจจาแนกตา่ (ควรปรับปรงุ หรือตัดทิง้ )
-1.00-0.09 อานาจจาแนกตา่ มาก (ควรปรับปรุงหรือตัดทง้ิ )

จากเกณฑ์ค่าความยากของข้อสอบ (p) ในตารางท่ี 4.3 พิจารณาว่า ข้อสอบท่ีมีค่าความ
ยากง่าย (p) ระหว่าง 0.20-0.80 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ และจากเกณฑ์ค่าอานาจจาแนก (r) ในตารางที่
4.4 พิจารณาว่าข้อสอบที่มีค่าอานาจจาแนก (r) ต้ังแต่ 0.20-1.00 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ ซ่ึงจากการ
ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบรายข้อในงานวิจัยน้ี ผลการหาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจ
จาแนก (r) พบวา่ ข้อสอบมีคุณภาพท่ีได้ใช้ทง้ั 36 ข้อ ดงั แสดงในตารางท่ี 4.5

169

ตารางท่ี 4.5 แสดงค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) และผลการพิจารณาคุณภาพของ
ขอ้ สอบรายข้อ

ข้อสอบ ค่าความยากงา่ ย (p) คา่ อานาจจาแนก (r) ผลการพจิ ารณาข้อสอบ
ขอ้ 1 0.67 0.40 ใช้ได้
ขอ้ 2 0.67 0.40 ใช้ได้
ข้อ 3 0.87 0.27 ใชไ้ ด้
ขอ้ 4 0.60 0.53 ใชไ้ ด้
ข้อ 5 0.57 0.20 ใช้ได้
ข้อ 6 0.63 0.33 ใช้ได้
ข้อ 7 0.67 0.40 ใชไ้ ด้
ขอ้ 8 0.33 0.40 ใชไ้ ด้
ขอ้ 9 0.80 0.27 ใชไ้ ด้
ขอ้ 10 0.83 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 11 0.60 0.27 ใชไ้ ด้
ขอ้ 12 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 13 0.57 0.47 ใช้ได้
ขอ้ 14 0.53 0.53 ใช้ได้
ข้อ 15 0.67 0.27 ใช้ได้
ข้อ 16 0.63 0.33 ใชไ้ ด้
ข้อ 17 0.63 0.73 ใชไ้ ด้
ข้อ 18 0.77 0.47 ใช้ได้
ข้อ 19 0.87 0.27 ใชไ้ ด้
ขอ้ 20 0.87 0.27 ใชไ้ ด้
ขอ้ 21 0.73 0.40 ใชไ้ ด้
ขอ้ 22 0.73 0.40 ใชไ้ ด้
ขอ้ 23 0.37 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 24 0.90 0.20 ใช้ได้
ข้อ 25 0.50 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 26 0.27 0.27 ใชไ้ ด้
ข้อ 27 0.47 0.53 ใชไ้ ด้
ข้อ 28 0.47 0.53 ใช้ได้
ข้อ 29 0.83 0.33 ใช้ได้
ข้อ 30 0.30 0.20 ใชไ้ ด้

170

ตารางที่ 4.5 (ต่อ)

ขอ้ สอบ คา่ ความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) ผลการพจิ ารณาข้อสอบ

ขอ้ 31 0.47 0.40 ใช้ได้
ข้อ 32 0.30 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 33 0.37 0.33 ใชไ้ ด้
ข้อ 34 0.53 0.40 ใช้ได้
ขอ้ 35 0.27 0.40 ใช้ได้
ขอ้ 36 0.43 0.87 ใช้ได้

- ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ใช้วิธีของ Kuder-Richardson ในการวิเคราะห์
ข้อมูล เนื่องจากเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย มีการให้คะแนนแต่ละข้อเป็นแบบ 0, 1 คือตอบถูกให้ 1
คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน และมีการวัดหรือการสอบเพียงคร้ังเดียว รวมท้ังมีการวิเคราะห์หาค่า
ความยากรายข้อไว้แล้ว โดยใช้สูตร KR-20 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังแสดงในตารางท่ี 4.2 พบว่า ค่า
สมั ประสิทธ์ขิ อง KR-20 มีค่าเท่ากบั 0.913 ซ่งึ มีคา่ สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด คือ เท่ากับหรือสงู กวา่ 0.70
จงึ แสดงว่าแบบทดสอบนี้มีคณุ ภาพสามารถนาไปใชไ้ ด้อยา่ งมีความเชื่อม่ัน

- ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใชค้ ะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอยา่ งทงั้ หมดเปน็ เกณฑ์ หาก
คะแนนเฉล่ยี อยรู่ ะหวา่ งรอ้ ยละ 30-50 ของคะแนนเตม็ ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่มีความยากเหมาะสม
หากคะแนนเฉล่ียต่ากว่า 30 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่ยากขึ้นเท่าน้ัน และหากคะแนนเฉล่ียสูง
กว่า 50 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่ง่ายข้ึนเท่าน้ัน ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงในตารางท่ี 4.2
พบว่า คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทง้ั หมดเท่ากับ 16.00 คดิ เป็นร้อยละ 44.44 ของคะแนนเต็ม ซ่ึง
แสดงว่า แบบทดสอบทงั้ ฉบับมีค่าความยากงา่ ยอยู่ในระดับเหมาะสม

4.3.2.4 ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นา
ตนเองของนักเรียน แบบประเมินมีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มาก
ท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยที่สดุ ผูว้ ิจยั สร้างขนึ้ จากผลการศึกษาลักษณะที่แสดงถงึ ทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง จากทัศนะของ Nucum, K, N (2019), Caruso (2011), Hamdy (2018),
Vaivada (2017), และ Atkinson (2015) และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะการเรียนรู้
แบบชี้นาตนเอง จากทัศนะของ Williamson and Seewoodhary (2007), Rodney (2007), และ
Khiat (2015) เปน็ แบบประเมินออนไลน์ดว้ ย Google Form มผี ลการตรวจสอบคุณภาพ ดังน้ี

4.3.2.4.1 ผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยใช้
แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ตามทัศนะของ Rovinelli and
Hambleton เพราะแบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียนท่ีใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่ง
การหาความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ใน
แต่ละด้าน คือ 1) ด้านการตระหนักรู้ มีข้อคาถาม 5 ข้อ 2) ด้านการควบคุมตนเอง มีข้อคาถาม 5 ข้อ
3) ด้านการประเมินตนเอง มีข้อคาถาม 4 ข้อ 4) ด้านความปรารถนาในการเรียนรู้ มีข้อคาถาม 6 ข้อ

171

5) ด้านกลยุทธ์ในการเรียนรู้ มีข้อคาถาม 6 ข้อ 6) ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ มีข้อคาถาม 4 ข้อ และ
7) ด้านการติดต่อส่ือสารระหว่างบุคคล มีข้อคาถาม 6 ข้อ รวมท้ังฉบับมีข้อคาถาม 36 ข้อ ท้ังนี้
วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองมีนิยามศัพท์เฉพาะท่ีเป็นผลจากการศึกษา
วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องทแี่ สดงให้เหน็ ถึงวัตถปุ ระสงคใ์ นการพฒั นาทกั ษะกรเรยี นร้แู บบชนี้ าตนเอง โดย
ภาพรวมและรายด้าน ดังน้ี

- ทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (Self-Direction Learning Skills) หมายถึง
กระบวนการเรียนรู้ด้วยความต้องการของตนเอง เป็นอิสระเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ซึ่งผู้เรียนแต่ละคน
เป็นผู้วิเคราะห์ความต้องการ สร้างแผน เป้าหมายของตนเอง เป็นผู้เลือกทรัพยากร แหล่งเรียนรู้
ข้อมูลที่จะเรียนรู้ กาหนดวัตถุประสงค์ การประเมินผล วิธีการเรียนรู้ รูปแบบ ทัศนคติ ค่านิยม และ
ความสามารถ การสารวจ การค้นหาสิ่งใหม่ ๆ การต้ังคาถาม การโต้ตอบ การตอบสนองด้วยตนเอง
การไตร่ตรองในข้อมูลน้ัน ๆ ร่วมกับชุมชน การเรียนรู้อย่างตั้งใจและยอมรับในกฎเกณฑ์ การส่ือสาร
ระหว่างกัน การกระตุ้นใฝเ่ รียนรู้ของตนเอง การเรยี นรโู้ ดยอาศัยประสบการณ์ของผู้เรียนให้สอดคล้อง
กบั ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวนั และเวลาที่เหมาะสม ซ่ึงผู้เรยี นมีบทบาทและมีความรับผิดชอบต่อการ
เรียนรู้ของตนเอง จะดาเนินการด้วยตนเอง หรือขอความร่วมมือจากผู้อื่นหรือไม่ก็ได้ ในงานวิจัยนี้ได้
กาหนดทกั ษะเพือ่ การประเมนิ ผลจากการพัฒนา 7 ทักษะ แต่ละทกั ษะมนี ิยามศัพท์เฉพาะดังน้ี

- การตระหนักรู้ (Awareness) หมายถึง การรับผิดชอบการเรียนรู้ด้วยตัวเอง สามารถ
วางแผนและต้ังเป้าหมายการเรียนรู้ของตัวเองได้ สามารถระบุความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง
สามารถเลือกวิธีการเรียนรู้ท่ีดีท่ีสุดให้กับตัวเองได้ และสามารถรักษาแรงจูงใจเพื่อการเรียนรู้ของ
ตนเองไวไ้ ด้

- การควบคุมตนเอง (Self-control) หมายถึง การชอบท่ีจะตัดสินใจด้วยตัวเอง รู้ขีด
ความสามารถของตวั เอง เช่อื ในความสามารถของตัวเอง จดั การเวลาได้เป็นอยา่ งดี ลาดับความสาคัญ
การทางาน และชอบต้งั เป้าหมายและวางแผนการเรยี นรู้ของตวั เอง

- การประเมินตนเอง (Self-Evaluation) หมายถึง การชอบท่ีจะประเมินสิ่งที่ตนเองทา
สามารถระบุจุดแข็งหรือจุดอ่อนของตัวเองได้ ได้แรงบันดาลใจจากความสาเร็จของผู้อ่ืน ตรวจสอบ
ตนเองเสมอไม่ว่าจะบรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้หรือไม่ และพบว่าทั้งความสาเร็จและความล้มเหลวนั้น
ล้วนเปน็ แรงบันดาลใจให้ตนเองเรียนรมู้ ากขน้ึ

- ความปรารถนาในการเรยี นรู้ (Desire for learning) หมายถึง การอยากเรยี นรู้ส่งิ ใหม่
ๆ การสนุกกับการเรียนรขู้ ้อมลู ใหม่ ๆ การเปิดรับความคิดใหม่ ๆ เสมอ การเรียนรู้จากความผดิ พลาด
ชอบที่จะรวบรวมข้อเท็จจริงก่อนทาการตัดสินใจ และเม่ือประสบปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้จะขอ
ความชว่ ยเหลอื

- กลยุทธ์การเรียนรู้ (Learning Strategies) หมายถึง การมีส่วนร่วมในการอภิปราย
ภายในกลุ่มเสมอ การเรียนรู้จากกรณีตัวอย่างนั้นมีประโยชน์ การที่มีเพ่ือนเป็นโค้ชน้ันเป็นอะไรท่ีมี
ประสิทธิภาพ การใช้แผนผังมโนทัศน์เป็นวิธีการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมในการเรียน
การสอนน้ันมีประสิทธิภาพมากกว่าการนั่งฟังบรรยาย และการนาเทคโนโลยีการศึกษาท่ีทันสมัยมา
ช่วยปรับปรุงกระบวนการเรยี นรขู้ องตนเองให้ดียิ่งข้ึน

172

- กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Activities) หมายถึง การซักซ้อมและทบทวนบทเรียน
ใหม่เสมอ การเปิดใจใหก้ ับความเห็นของผู้อ่ืนเสมอ ชอบท่จี ะหยดุ พกั ระหว่างการเรียนแต่ละครัง้ ชอบ
ใช้แผนผังมโนทัศน์ในการทาความเข้าใจข้อมูลที่หลากหลาย และใช้สื่อสังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ก ทวิต
เตอร์ หรือกระดานถาม-ตอบบนอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นประจา

- การติดต่อส่ือสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Skills) หมายถึง การมีส่วนร่วมใน
การทางานกบั ผู้อ่นื การส่ือสารด้วยวาจา การแสดงความคดิ ผ่านการเขียนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ การ
เรียนรู้กับบุคคลท่ีหลากหลาย และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นซึ่งจะช่วยให้พัฒนาความเข้าใจและการ
เรียนรไู้ ด้อยา่ งลกึ ซงึ้

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง ใช้ผู้ทรงคุณวฒุ ิท่ีมคี วามเชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้าน
การวัดและประเมนิ ผล จานวน 5 ราย (ดูรายชือ่ ในภาคผนวก ญ) โดยใหท้ าเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง
+1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อคาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความ
สอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อคาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลท่ีได้รับจากการตรวจสอบของ
ผู้เช่ียวชาญ นามาวเิ คราะห์หาค่า IOC จากสูตรที่กาหนดในบทที่ 3 โดยกาหนดเกณฑ์คา่ IOC ท่ีระดับ
เท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะ ถือว่าข้อคาถามนั้นมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
(Chaichanawirote & Vantum, 2017) ดงั แสดงผลการตรวจสอบในตารางที่ 4.6

ตารางที่ 4.6 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาในแบบ
ประเมินทกั ษะการเรยี นรูแ้ บบช้ีนาตนเองของนักเรยี น

ข้อ ผลการให้คะแนนของผู้เช่ียวชาญ ค่าดัชนคี วาม ผลการ

1 2 3 4 5 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมิน

คู่มอื ชุดที่ 1 คู่มอื เพ่ือการเรียนรูเ้ กี่ยวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบชีน้ าตนเอง

1 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

2 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

3 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

4 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

5 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

6 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใช้ได้

ค่มู อื ชุดที่ 2 คู่มือเพื่อการเรียนรูเ้ กีย่ วกับความสาคญั ของทักษะการเรียนร้แู บบชี้นาตนเอง

7 +1 +1 +1 0 +1 0.8 ใชไ้ ด้

8 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

9 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

10 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

11 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชไ้ ด้

12 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชไ้ ด้

173

ตารางท่ี 4.6 (ตอ่ )

ขอ้ ผลการใหค้ ะแนนของผเู้ ช่ียวชาญ คา่ ดชั นคี วาม ผลการ

1 2 3 4 5 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมิน

คมู่ ือชุดที่ 3 คู่มอื เพ่ือการเรยี นรู้เกี่ยวกบั ลักษณะของทักษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง

13 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

14 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

15 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

16 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

17 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

18 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

คมู่ อื ชดุ ท่ี 4 คู่มือเพื่อการเรยี นรเู้ ก่ียวกบั แนวการพฒั นาทักษะการเรยี นรแู้ บบช้นี าตนเอง

19 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

20 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

21 +1 +1 +1 0 +1 0.8 ใชไ้ ด้

22 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

23 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

24 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชไ้ ด้

คมู่ ือชุดที่ 5 คู่มอื เพื่อการเรยี นรู้เกีย่ วกบั ข้ันตอนการพฒั นาทักษะการเรียนรแู้ บบชน้ี าตนเอง

25 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

26 +1 +1 +1 +1 0 0.8 ใช้ได้

27 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

28 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

29 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

30 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใช้ได้

คู่มอื ชดุ ท่ี 6 คู่มอื เพื่อการเรียนรู้เก่ยี วกับการประเมินทักษะการเรียนร้แู บบชีน้ าตนเอง

31 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

32 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

33 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

34 +1 +1 +1 +1 -1 0.6 ใชไ้ ด้

35 +1 +1 +1 +1 0 0.8 ใช้ได้

36 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใช้ได้

174

จากตารางท่ี 4.6 เหน็ ได้ว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คาถามกับวตั ถปุ ระสงค์
การพัฒนาทักษะการเรยี นรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียน พบว่า ข้อคาถามในแต่ละด้านและทั้งฉบับมี
ค่า IOC สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.6 ถึง 1 แสดงว่า แบบ
ประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเองของนักเรียน ท่ีใช้ในงานวิจัยนี้มีความตรงเชิงเน้ือหา
(Content Validity) สามารถนาไปใชไ้ ด้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี ้องการวดั ได้

4.3.2.4.2 ผลการตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการทดลองใช้ (Try-
out) แบบประเมินทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเองของนักเรียนเพ่ือหาค่าความเชื่อม่ัน (Reliability)
กับนักเรียนในโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา จานวน 30 รูป เพ่ือนาข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้ไป
วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของความเช่ือมั่น (Alpha Coefficient of Reliability) โดยใช้วิธี
ของครอนบาค (Cronbach) โดยกาหนดเกณฑ์ค่าสมั ประสทิ ธิ์แอลฟาของความเช่ือมั่นท่ียอมรับได้ คือ
เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 (UCLA: Statistical Consulting Group, 2016) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ปรากฏดังตารางท่ี 4.7 (ดผู ลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในภาคผนวก ฒ)

ตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อม่ันของแบบประเมินทักษะ
การเรียนรแู้ บช้ีนาตนเองของนกั เรยี นจาแนกเปน็ รายด้านและโดยรวม

แบบสอบถาม คา่ สัมประสิทธแ์ิ อลฟ่าของความเชื่อมัน่

1. ด้านการตระหนักรู้ 0.859
2. ด้านการควบคุมตนเอง 0.692
3. ด้านการประเมนิ ตนเอง 0.804
4. ดา้ นความปรารถนาในการเรียนรู้ 0.925
5. ดา้ นกลยทุ ธ์การเรียนรู้ 0.849
6. ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ 0.856
7. ดา้ นการติดตอ่ ส่ือสารระหว่างบุคคล 0.899
0.973
โดยรวมทั้งฉบับ

จากตารางที่ 4.7 เห็นได้ว่า ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้ง
ฉบับมีคา่ เท่ากับ 0.973 เมื่อวเิ คราะห์เป็นรายด้าน พบว่า ดา้ นการตระหนักรู้ มีค่าเท่ากับ 0.859 ด้าน
การควบคุมตนเอง มีค่าเท่ากับ 0.692 ด้านการประเมินตนเอง มีค่าเท่ากับ 0.804 ด้านความ
ปรารถนาในการเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ 0.925 ด้านกลยุทธ์การเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ 0.849 ด้านกิจกรรม
การเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ 0.856 และด้านการติดต่อส่ือสารระหว่างบุคคล มีค่าเท่ากับ 0.899 ซึ่งค่า
สัมประสิทธ์ิแอลฟาของความเช่ือม่ันดังกล่าวมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด จึงแสดงว่า แบบประเมินผล
การพัฒนานักเรียนนี้มีคุณภาพสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีความเช่ือม่ัน ซ่ึงค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของ
ความเช่ือมั่นดังกล่าวมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด คือ เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 จึงแสดงว่า แบบ
ประเมนิ ผลการพัฒนานักเรยี นนมี้ ีคุณภาพสามารถนาไปใช้ได้อย่างมคี วามเชื่อม่นั

175

4.4 ข้นั ตอนท่ี 4 ผลการทดลองในภาคสนาม (Trial)

การท ดลองใน ภ าคสน าม (Trial) ผู้วิจัย ใช้แบ บ แผน การวิจัยขั้น พ้ื น ฐาน (Pre
Experimental Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One
Group Pretest-Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง คือ ครูในโรงเรียนประภัสสรวิทยา
วัดศรีนวล จานวน 25 รูป/คน มีนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา จานวน 146 รูป
ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 มีผลการทดลองในภาคสนาม ดงั นี้

ระยะท่ี 1 ผลการทดลองตามโครงการท่ี 1 : โครงการพฒั นาเพอื่ การเรียนรู้ของครู
เปน็ ระยะของการพฒั นาตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองตามโครงการพฒั นาเพ่ือการเรียนรู้
ของครู โดยการอบรมด้วยตนเอง (Self-Training) จากคู่มือจานวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เก่ียวกับนิยามของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (2) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของ
ทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง (3) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการเรียนรู้
แบบช้ีนาตนเอง (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง
(5) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาของทักษะการเรียนรู้แบบช้ีนาตนเอง (6) คู่มือเพื่อ
การเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินของทักษะการเรียนรู้แบบชี้นาตนเอง ดาเนินการโดยการแนะนาคู่มือ
ท้ัง 6 ชดุ ท่ีไดอ้ ัพโหลดลงเว็บไซตเ์ รียบรอ้ ยแลว้ มีผลการดาเนินงานตามข้ันตอนตา่ ง ๆ ดงั นี้
1) ผลการเตรียมการ
หลังจากท่ีมหาวิทยาลัยได้ส่งหนังสือราชการเพ่ือขอความอนุเคราะห์ทดลองในภาคสนาม
จากโรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล แล้ว ผู้วิจัยได้เข้าพบพระครูปริยัติจันทสาร ผู้อานวยการ
โรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล เมื่อวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2564 เพื่อกราบเรียนชี้แจงวัตถุประสงค์
ข้ันตอนในการวิจัยและขอคาแนะนาเพิ่มเติม ซ่ึงท่านผู้อานวยการ มีความยินดีเป็นอย่างย่ิงที่ผู้วิจัยได้
เลือกโรงเรียนเป็นพ้ืนในการทดลองภาคสนาม ทั้งยังเมตตาให้ข้อเสนอแนะว่า ด้วยสภาวการณ์
ปัจจุบันเกิดภาวะโรคระบาดติดเช้อื ไวรัสโคโรนา-2019 ซึ่งทางโรงเรียนได้กาหนดปฏิทนิ การปฏิบตั งิ าน
ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 แบบผสมผสานท้ังแบบออนไซต์ (On-sit) และออนไลน์ (On-
line) แบ่งกลุ่มนักเรียนสลับมาเรียนในชั้นมัธยมศึกษาที่ 3 และ 6 ท้ังนี้เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงการ
แพร่ระบาด ขณะเดียวกันการเข้าพบกลุ่มทดลองน้ันให้ยืดหยุ่น ให้ใช้แบบผสมผสาน ให้ขอความ
อนุเคราะห์ประสานผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาประจาช้ันอย่างเป็นกัลยาณมิตร ซ่ึงแต่ละช้ันเรียนได้มีการ
ตั้งกลุ่มไลน์เพื่อใช้ติดต่อส่ือสารระหว่างครูและนักเรียน ดังนั้นการส่ือสารผ่านช่องทางส่ือออนไลน์
(On-line) จาเป็นอย่าย่ิงที่ต้องใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ซ่ึงรูปแบบโปรแกรมออนไลน์นี้เหมาะสม
เอื้ออานวยแก่คณะครูและนักเรียน เท่าทันเหตุการณ์กับภาวะปัจจุบันอย่างย่ิง สามารถดาเนินการได้
ในทุกท่ีทุกเวลา ท้ังเน้นย้าให้กลุ่มงานวิชาการ อนุเคราะห์คุณครูในโรงเรียนให้เป็นกลุ่มทดลอง
ภาคสนามในครั้งนี้ และหากผลการวิจยั เปน็ ทย่ี อมรับก็ให้นาขึน้ เวบ็ ไซต์โรงเรียนเพื่อประชาสมั พันธ์ ให้
เป็ น ต้น แบบ แล ะแน วท างใน ก ารพั ฒ น าค รูสู่ การ ส่ งเส ริม ศั กย ภ าพ ของผู้ เรีย น ท่ี มีการวิจั ย รองรั บ
สามารถต่อยอดพัฒนาไปใช้ได้ในระดับเขตการศึกษา ตามนโยบายของสานักเขตการศึกษาพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศกึ ษา กองพทุ ธศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
จากน้ันผู้วิจัยในลงพ้ืนที่ชี้แจงกับคณะครูท่ีเป็นกลุ่มทดลอง ท้ังรูปแบบออนไซต์ (On-
sit)และออนไลน์ (On-line) ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมโรงเรียนประภัสสรวิทยา


Click to View FlipBook Version