The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip.panpran, 2024-06-16 20:35:35

งานเชื่อม

งานเชื่อม

วิชา งานเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม 1


1. สามารถปฏิบัติงานเชื่อมอารกโลหะแก็สคลุมและ งานเชื่อม Flux Core Wire แผนเหล็กกลาคารบอนตําแหนงทาเชื่อม 1F, 2F, 3F และ 1G, 2G, 3G 2. ตรวจสอบงานเชื่อมดวยการพินิจไดตามมาตรฐาน 3. มีกิจนิสัยในการทํางานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใชอุปกรณความปลอดภัยสวนบุคคลครบถวน จุดประสงครายวิชา 1. เชื่อมอารกโลหะแกสคลุมและ งานเชื่อม Flux Core Wire แผนเหล็กกลาคารบอน ตําแหนงทาเชื่อม 1F, 2F, 3F และ 1G, 2G, 3G ไดตามมาตรฐานที่กําหนด 2. ตรวจสอบเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมและ งานเชื่อม Flux Core Wire แผนเหล็กกลาคารบอน ตําแหนงทาเชื่อม 1F, 2F, 3F และ 1G, 2G, 3G ดวยการพินิจไดตามขั้นตอน 3. วิเคราะหขอบกพรองงานเชื่อมดวยการพินิจไดตามมาตรฐาน สมรรถนะรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ ในงานเชื่อมเทคนิคงานเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และงานเชื่อมดวย Flux Core Wire แผนเหล็กกลาคารบอนในตําแหนงทาเชื่อม 1F, 2F, 3F, 4F และ 1G, 2G , 3G โดยใชอุปกรณถูกตองตามหลักความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย


หนวยที่ 1 ความปลอดภัยในการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire


อันตรายจากการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire อาจเกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุ ซึ่งผูปฏิบัติงานเชื่อม จะตองศึกษาถึงหลักการ วิธีการใชเครื่องมือและอุปกรณในงานเชื่อมเขาใจเปนอยางดีเสียกอน เพื่อปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นขณะ ปฏิบัติงานเชื่อม ซึ่งอันตรายอันเกิดจากการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire สรุปไดดังตอไปนี้ ในการปฏิบัติงานเชื่อมจะมีการอารกระหวางชิ้นงานกับลวดเชื่อม ทําใหเกิดแสงสวางที่มีคาความเขมของแสงสูงซึ่งทําใหตาพรามัว ชั่วขณะได และมีรังสีที่เปนอันตรายตอดวงตา และผิวหนังของผูปฏิบัติงานเชื่อมไดโดยรังสีที่เกิดไดแก รังสีอัลตราไวโอเลตและรังสี อินฟราเรด ซึ่งแสงและรังสีดังกลาวจะทําใหเกิดอาการเจ็บดวงตาเหมือนมีเม็ดทรายเขาตาดวงตาและมีน้ําตาไหลมาก ดวงตาจะมีลักษณะ เปนสีแดง อีกทั้งยังทําใหผิวหนังเหมือนถูกแสงอาทิตยที่มีความเขมสูงเผาไหมระคายเคืองเจ็บแสบที่บริเวณผิวหนังได ดังนั้นผูปฏิบัติงาน เชื่อมตองสวมหนากากเชื่อมที่มีเลนสกรองแสงที่เหมาะสมกับกระบวนการเชื่อมนั้นเพื่อปองกันแสงและรังสีที่เกิดขึ้น 1. ความปลอดภัยในการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire 1.1 อันตรายที่เกิดจากการอารก


หนากากเชื่อมแบบมือถือ หนากากเชื่อมแบบสวมศีรษะ หนากากเชื่อมแบบสวมศีรษะ เลนสกรองแสงอัตโนมัติ


ในการปฏิบัติงานเชื่อมจะเกิดความรอนและการเผาไหมขึ้นทําใหเกิดควันและไอระเหย ของลวดเชื่อม ชิ้นงาน และการเผาไหมของ แกสคลุมขึ้นที่ชิ้นงาน ทําใหเกิดไอระเหยของโลหะหลอมเหลวขึ้นเมื่อเย็นตัวลงก็จะเกิดอนุภาคขนาดเล็กลอยอยูในอากาศโดยเฉพาะบริเวณ พื้นที่ปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงาน และไดสูดดมไอระเหยเหลานี้เขาไปในรางกายทําใหเกิดการสะสมในรางกายเปนปริมาณมากก็จะกอใหเกิด โรคตาง ๆ ขึ้น เชนโรคแมงกานีสเรื้อรัง โรคพารกินสัน โรคหมันชาย เปนตน ดังนั้นผูปฏิบัติงานเชื่อมจะตองปองกันการสูดดมควันและไอ ระเหยเหลานี้ โดยการใสหนากากชนิดปดปากปดจมูกเพื่อกรองสารพิษตาง ๆ ไมใหสะสมในรางกาย และจัดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมให้มีอากาศ ถ่ายเทได้สะดวก หรืออาจใช้เครื่องดูดควันเข้ามาช่วยในบริเวณปฏิบัติงานก็ได้ ลักษณะของหน้ากากชนิดปิดปากปิดจมูกและผ้าปิดปิดปากปิดจมูก ลักษณะของเครื่องดูดควัน 1.2 อันตรายจากควันเชื่อมและไอระเหย


ความร้อนจากงานเชื่อมเกิดขึ้นมาหลายลักษณะ เช่นความร้อนจากชิ้นงานหลังการเชื่อมเสร็จหรือตัดเตรียมชิ้นงานด้วยแก๊สเสร็จ จะมีความร้อน สะสมสูงหากไม่ระมัดระวังอาจเกิดอันตรายได้ ดังนั้นหลังจากงานเชื่อมเสร็จหรือตัดเตรียมชิ้นงานด้วยแก๊สเสร็จ ควรใช้คีมที่ออกแบบโดยเฉพาะที่จับงาน ร้อนเพือป้ องกันผิวหนังไหม้ได้ ่ ลักษณะของคีมจับชิ้นงาน อันตรายที่เกิดจากงานเชื่อม


การปฏิบัติงานเชื่อมจะมีเศษวัสดุหลายลักษณะ เชนเศษโลหะจากการตัดชิ้นงาน เม็ดโลหะกระเด็นหรือตกใสขณะทําการเชื่อม สะเก็ดไฟจากการเจียระไนชิ้นงาน ทําใหผูปฏิบัติงานไดรับบาดเจ็บมีบาดแผลจากเศษโลหะที่ตัดทิ้งไว หรือเม็ดโลหะกระเด็นขณะทํา การเชื่อมเปนแผลพุพองได รวมทั้งสะเก็ดไฟโลหะจากการเจียระไนกระเด็นเขาดวงตา ทําใหดวงตาอักเสบถึงขั้นตาบอดได ดังนั้น ผูปฏิบัติงานจะตองแตงตัวรัดกุมในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง เชน สวมปลอกแขน เสื้อคลุมหรือชุดหนัง ใสถุงมือ รองเทา และ แวนตา เปนตน การแตงตัวรัดกุมขณะปฏิบัติงาน การแตงตัวรัดกุมกอนปฏิบัติงาน 1.4 อันตรายจากเศษโลหะและสะเก็ดโลหะที่เกิดจากงานเชื่อม


1. การระเบิดจากถังแกส กระบวนการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire จะใชแกสในการปกคลุมโดยใช แกสคารบอนไดออกไซดหรือแกสอารกอนเปนตน แกสปกคลุมทั้งสองจะบรรจุในทอที่มีความดันสูงโดยมีความดันประมาณ 2,200 ปอนด ตอตารางนิ้ว หรือประมาณ 1ตันตอตารางนิ้ว ดังนั้นในการเคลื่อนยายตองเคลื่อนยายอยางถูกตองและมีความระมัดระวังเปนพิเศษรวมทั้ง การติดตั้งที่มั่นคงแข็งแรง การเคลื่อนยายทอแกสอยางถูกตอง 1.5 อันตรายจากการระเบิดที่เกิดจากงานเชื่อม 2. การระเบิดจากชิ้นงานเชื่อม ชิ้นงานที่ทําการเชื่อมอาจจะมีสารที่ติดไฟงายหรือสิ่งที่ทํา ใหเกิดการระเบิดได เชนถังบรรจุน้ํามันหรือเชื้อเพลิง ดังนั้นกอนทําการเชื่อมควรตรวจสอบชิ้นงาน ทุกครั้ง เปดฝาถังใชน้ําลางสารติดไฟงายออกใหหมด ลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง แลวเติมน้ําในถัง แทนที่อากาศ กอนทําการเชื่อมเปนตน


อันตรายที่เกิดจากไฟฟาดูด เกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุ เชนไฟฟารั่วจากสายเชื่อมชํารุด พื้นที่ปฏิบัติงานชื้นแฉะหรือขณะฝนตก ติดตั้งเครื่องเชื่อมโดยไมตอสายดิน อุปกรณที่ใชชํารุด ขั้วตอสายตําแหนงตาง ๆ ขันไมแนน ขนาดของสายไฟไมเหมาะสมกับขนาดของ กระแสไฟที่ใช และอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการเชื่อมไมไดมาตรฐาน เปนตน ดังนั้นจึงมีขอควรปฏิบัติเพื่อปองกันไฟดูดดังตอไปนี้ 1. กอนใชเครื่องจักรควรตรวจอุปกรณใหเรียบรอยกอนเสมอ 2. ตรวจเช็คหรือซอมเครื่องปดเบรกเกอรลงทุกครั้ง 3. การติดตั้งเครื่องเชื่อมตองมีตอสายดิน 4. ควรตรวจสอบและขันขอตอใหแนน 5. ตรวจสอบขนาดของสายไฟ เบรกเกอรฟวส ใหเหมาะสมกับขนาดของกระแสไฟที่ใช 6. ไมจับสายไฟเชื่อมและสายดินพรอม ๆ กัน ในขณะที่เปดเครื่องเชื่อมอยูเพราะอาจเกิดอันตรายจากไฟฟาดูดได 7. ไมควรทําการเชื่อมในบริเวณที่เปยกชื้นและสวมเสื้อผาที่แหงปราศจากความชื้นทุกครั้งในการปฏิบัติงาน 8. ไมควรสัมผัสชิ้นสวนที่มีกระแสไฟไหลผาน 9. ไมควรนําสายเชื่อมพันรอบตัวผูปฏิบัติงานเชื่อม 1.6 อันตรายจากไฟฟา 10. ปดสวิตชหรือถอดครับอุปกรณไฟฟากอนทําการซอมหรือปรับเครื่องเชื่อมทุกครั้ง 11. ตรวจสอบอุปกรณและเครื่องเชื่อมใหมีสภาพพรอมใชทุกครั้งหลังปฏิบัติงาน


ของลักษณะอุปกรณไฟฟาขอตอชํารุด ก. อุปกรณยึดสายดินชํารุด ข. สายไฟตออุปกรณยึด สายดินใกลขาด ค. ขอตอสายสายดินไมมีฉนวนหุม ง. สายไฟสําหรับสง สัญญาณชํารุด


เสียงที่เปนอันตรายอันเกิดจากการปฏิบัติงานเชื่อมนั้นมีหลายลักษณะ เชนที่เสียงเกิดจากการอารกชิ้นงาน เสียงที่เกิดจากการ เจียระไนชิ้นงาน เสียงที่เกิดจากการเคาะชิ้นงาน เปนตน ซึ่งระดับเสียงเหลานี้จะมีความดังมากกวาเสียงปกติเปนระยะเวลานาน ทําให ระบบการรับฟงของผูปฏิบัติงานนั้นเสื่อมลงได ดังนั้นจึงควรมีการปองกันโดยการใชอุปกรณปองกันเสียง เชน ที่ครอบหู (Ear muffs) หรือที่อุดหู (Ear plugs) เปนตน เพื่อลดอันตรายตอประสาทหูของผูปฏิบัติงาน ก. ครอบหู (Ear muffs) ข. ที่อุดหู (Ear plugs) 1.7 อันตรายจากเสียงที่เกิดจากงานเชื่อม


อันตรายที่จะเกิดขึ้นภายหลังการเชื่อม ก็คือ การทําความสะอาดแนวเชื่อม ฉะนั้นผูเชื่อมจึงควรปองกัน ผิวหนัง และดวงตา ดวย หนากาก ถุงมือ และเสื้อหนังจะชวยปองกันสะเก็ดจากการเจียระไน และควรสวมแวนตา เปนการปองกันรองจากการใชหนากากโดย สม่ําเสมอ ทั้งนี้เพราะเศษของโลหะอาจกระเด็นเขาไปภายในหนากากที่สวมใสไดเสมอ 1.8 อันตรายที่เกิดขึ้นภายหลังการทําความสะอาดงานเชื่อมและอื่น ๆ


เครื่องมือ และอุปกรณในงานเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire มีหลายชนิดและมีหนาที่ในการใชงานที่ ตางกันออกไป เชน อุปกรณสําหรับประกอบเครื่องเชื่อม อุปกรณทําความสะอาด อุปกรณปองกันอันตราย อุปกรณในการเตรียมงานเปน ตน ทั้งนี้ผูปฏิบัติงานควรเลือกใชใหเหมาะสมตรงตามลักษณะการใชงานดังตอไปนี้ 2.1 อุปกรณที่ใชสําหรับประกอบเครื่องเชื่อม 1. ชุดขับควบคุมการปอนลวด (Wire Feed Systems) ชุดขับควบคุมการปอนลวดของกระบวนการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire มีอยูทั้งหมด 4 แบบ 1.1 ชุดขับปอนลวดอยูในเครื่อง (Welding Booth Unit) ชุดขับป้ อนลวดอยู่ในเครือง ่ (Welding Booth Unit) 2. เครื่องมือ และอุปกรณในงานเชื่อม


ชุดขับป้ อนลวดแบบยูนิเวอร์แซล (Universal Unit) 1.3 ชุดขับป้ อนลวดแบบม้วนขดขนาดเล็ก (Small Coil Unit) ชุดขับป้ อนลวดแบบม้วนขดขนาดเล็ก (Small Coil Unit) 1.2 ชุดขับปอนลวดแบบยูนิเวอรแซล (Universal Unit)


1.4 ชุดขับป้ อนลวดแบบผลักและดึงลวด (Push Pull Unit) ชุดขับป้ อนลวดแบบผลักและดึงลวด (Push Pull Unit)


หัวเชื่อมของกระบวนการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire ทําหน้าที่หลัก คือ ส่งลวดเชื่อม ปล่อย กระแสไฟเชื่อมสู่บริเวณการอาร์ก และปล่อยแก๊สคลุม โดยหัวเชื่อมที่ประกอบติดอยู่กับตอนปลายของสายเชื่อม จะมีระบบระบายความร้อน และการ ส่งลวดเชื่อม พร้อมทังมีลักษณะของหัวเชื้ ่อม ดังต่อไปนี้ 1. ระบบระบายความรอนของหัวเชื่อมมี 2 ระบบ ไดแก 1.1 หัวเชื่อมระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled) ได้ออกแบบมาสําหรับเชื่อมโลหะที่ไม่หนามาก ใช้กระแสไฟตํ่ากว่า 200 แอมแปร์ โดยใช้แก๊สอาร์กอนเป็นแก๊สคลุม ถ้านําหัวเชื่อมระบายความร้อนด้วยอากาศมาใช้กับกระแสไฟที่สูงกว่า 300แอมแปร์จะนิยมใช้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สคลุมเพราะแก๊สชนิดนี้จะมีอุณหภูมิที่ตํ่าและช่วยลดอุณหภูมิหรือระบายความร้อนได้ดีกว่าแก๊สอาร์กอน หัวเชื่อมระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled) 2. หัวเชื่อม (Welding gun or torch)


1.2. หัวเชื่อมระบายความร้อนด้วยนํ้า (Water Cooled) ได้ออกแบบมาสํานักเชื่อมสําหรับงานที่หนาใช้กระแสไฟสูงกว่า 200 แอมแปร์ทําให้ เกิดอุณหภูมิสูงขึ้นจึงนําระบบระบายความร้อนด้วยนํ้าเข้ามาช่วยเพือลดความร้อนบริเวณหัวเชื่ ่อมลง หัวเชื่อมระบายความรอนดวยน้ํา (Water Cooled)


หัวเชื่อมสงลวดชนิดดึง (Pull Type) 2..1 สงลวดชนิดดึง (Pull Type) ภายในหัวเชื่อมจะประกอบด้วยชุดป้ อนลวด(Drive rolls) ซึ่งมีมอเตอร์ขับ เพื่อดึงลวดเชื่อมออก จากล้อลวด(Wire Feeder) เหมาะสําหรับลวดเชื่อมอ่อน ไม่แข็งมากและมีขนาดเล็ก เช่น ลวดเชื่อมอลูมิเนียม และลวดเชื่อมแมกนีเซียมเป็นต้น 2. การสงลวดเชื่อมของหัวเชื่อมมี 2 ระบบ ไดแก


2.2 สงลวดชนิดดัน (Push Type) สวนหัวเชื่อมชนิดดันซึ่งนิยมใชกันทั่วไป ระบบสงปอนลวดเชื่อมจะไมอยูในหัวเชื่อม ซึ่งระบบ สงปอนจะทําหนาที่ดึงลวดเชื่อมจากลอ เก็บลวดแลวดันลวดเชื่อมผานสายเชื่อมไปยังหัวเชื่อม และเขาสูการอารกระบบสงปอนลวดชนิด ดันเหมาะกับลวดเชื่อมที่มีความแข็งและใหญกวาชนิดดึง เปนลวดเชื่อมเหล็กคารบอนและสแตนเลส โดยใชกระแสไฟสูง (สูงกวา250 แอมแปร) เปนตน หัวเชื่อมสงลวดชนิดดัน (Push Type)


3. ลักษณะของหัวเชื่อมแบงตามลักษณะรูปรางได 2 แบบได้แก่ หัวเชื่อมแบบหัวตรง หัวเชื่อมแบบหัวโคง


แกสปกคลุมคือแกสเฉื่อยหรือกึ่งเฉื่อย ที่ใชในกระบวนการเชื่อมโลหะแกสคลุม (GMAW)หน้าที่ของแก๊สปกคลุมในงานเชื่อมคือการ ป้ องกันเนื้อเชื่อมจากการปนเปื้อนหรือการทําปฏิกิริยาจากอากาศและความชื้นที่อยู่รอบข้าง ซึ่งการปนเปื้อนของอากาศและความชื้นจะทําให้ได้คุณภาพ ของเนื้อเชื่อมตํ่ากว่าปกติหรือทําให้การเชื่อมทําได้ยากขึ้น ก.ทอแกสปกคลุม ชนิดอารกอน Argon ข. ทอแกสปกคลุม ชนิดคารบอนไดออกไซด 4. แกสปกคลุม (Shielding gas)


ในการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire นั้นจะใชลวดเชื่อมที่มีความแตกตางกันโดยการเชื่อมอารกโลหะ แกสคลุมจะใชลวดเชื่อมที่มีแกนลวดเปนโลหะตันและไมมีสารพอกหุมใด ๆ สวนการเชื่อม Flux Core Wire จะใชลวดเชื่อมเปนโลหะที่มี แกนดานในกลวงบรรจุสารพอกหุมไวดานใน หรือเรียกวาลวดเชื่อมไสฟลักซโดยลวดเชื่อมทั้ง 2 ชนิดมีรายละเอียดดังนี้ 1. ลวดเชื่อมการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม เปนลวดเชื่อมเปลือยมีแกนลวดเชื่อมเปนโลหะตันและไมมีสารพอกหุมที่ตัวลวดเชื่อม และมีการกําหนดขนาดลวดเชื่อมดวยขนาดเสนผาน ศูนยกลางลวดเชื่อม เชน 0.8 , 0.9 , 1.0 , 1.2 , 1.4 , 1.6 มม. เป็นต้น มีลักษณะการจัดเก็บลวดเชื่อมเป็นม้วนกลม มีความสามารถในการเชื่อม โลหะหลายชนิด เช่น เหล็กกล้าคาร์บอน เหล็กกล้าไร้สนิม และ อลูมิเนียม เป็นต้น ขอดีของลวดเชื่อมและการเชื่อมประเภทนี้คือ สามารถเชื่อมได เร็วเมื่อเทียบกับการเชื่อมโดยใชลวดเชื่อมไฟฟา ลวดเชื่อมการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม 5. ลวดเชื่อม (Electrode wire)


เปนลวดเชื่อมเปลือยแตมีแกนลวดเชื่อมเปนโลหะกลวงโดยบรรจุสารพอกหุมไว ภายใน และมีการกําหนดขนาดลวด เชื่อมดวยขนาดเสนผานศูนยกลางลวดเชื่อม เชน 0.8 , 0.9 , 1.0 , 1.2 , 1.4 , 1.6 มม. เปนตน มีลักษณะการจัดเก็บลวดเชื่อมเปนมวน กลม มีความสามารถในการเชื่อมโลหะหลายชนิด เชน เหล็กกลาคารบอน เหล็กกลาไรสนิม ดังแสดงในรูปที่ 20 ขอดีของลวดเชื่อมและ การเชื่อมประเภทนี้คือ สามารถเชื่อมไดเร็วและใหรอยเชื่อมที่มีคุณภาพสูง สวยงาม สามารถผานการเอ็กซเรยได และในปจจุบันไดผลิต ลวดออกมา 2 ชนิด ไดแก 1. ลวดเชื่อมไสฟลักซชนิดที่ตองใชแกสปกคลุมแนวเชื่อม (Gas Shielded Flux Cored Wire) การใชลวดประเภทนี้ จะตองใชแกสปกคลุมแนวเชื่อมจากภายนอกรวมดวยเสมอ เมื่อทําการเชื่อม 2. ลวดเชื่อมไสฟลักซชนิดที่ไมตองใชแกสปกคลุมแนวเชื่อม (Self Shielded Flux Cored Wire) การใชลวดประเภทนี้ ไมจําเปนตองใชกาซปกคลุมแนวเชื่อมจากภายนอก เนื่องจากฟลักซที่บรรจุอยูในลวดเชื่อมมีความสามารถแตกตัวออกเปนแกสปกคลุม แนวเชื่อมไดดวย ตัวเองในขณะที่ทําการเชื่อม ลวดเชื่อมประเภทนนี้มักจะใชอตุสาหกรรมหนัก หรืองานที่อยูกลางแจงดวย 2. ลวดเชื่อมการเชื่อม Flux Core Wire


ลวดเชื่อมการเชื่อม Flux Core Wire


ใชควบคุมความดันแกสเพื่อลดความดันจากทอบรรจุลงใหพอเหมาะกับการใชงานและใหความดันจายคงที่ โดยมาตรวัด การไหลจะใชควบคุมอัตราการไหลของแกส จากอุปกรณควบคุมความดันแกสไปยังหัวเชื่อม อัตราการไหลของแกสจะถูกปรับโดยวาลวที่ ทางออกของมาตรวัดการไหล วาลวการไหลจะถูกติดตั้งรวมอยูกับอุปกรณบังคับแกส อุปกรณควบคุมความดันแกสและมาตรวัดการไหล ออกแบบมาใชเฉพาะแกสคลุมเทานั้นสายสงแกสปกติจะตออยูกับโซลินอยด วาลวในชุดปอนลวด แกสถูกเปดใหออกมาและหยุดไหลเมื่อเปด-ปดกระแสเชื่อม และอุปกรณควบคุมความดันแกสสวนมากจะใช 2 ชนิด ไดแก 6.1 อุปกรณควบคุมความดันแกสชนิดไมมีฮิตเตอรใชกับแกสทั่วไป อุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊สชนิดไม่มีฮิตเตอร์ 6. อุปกรณควบคุมความดันแกส


6.2 อุปกรณควบคุมความดันแกสชนิดมีฮิตเตอรในตัวนิยมใชกับคลุมชนิดคารบอนไดออกไซด อุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊สชนิดชนิดมีฮิตเตอร์ในตัว


เปนอุปกรณที่ตออยูปลายสายดินทําหนาที่ยึดชิ้นงานใหตอเขากับวงจรเครื่องเชื่อม ซึ่งทําจากวัสดุเปนตัวนําไฟฟาเชน ทองแดง โดยทั่วไปใชอุปกรณยึดสายดินจะประกอบดวยสปริงเพื่อจับยึดชิ้นงานใหแนน กระแสไฟฟาไหลไดสะดวกเพราะถาจับยึดชิ้นงานไมแนน จะทําให เกิดความตานทานสูง ทําใหสูญเสียพลังงานและเกิดความรอนหรือเกิดการอารกขึ้นได ลักษณะอุปกรณจับยึดสายดิน ก. อุปกรณยึดสายดินแบบปลิง ข. อุปกรณยึดสายดินแบบขั้นเกลียว อุปกรณ์ยึดสายดิน (Ground Clamp) 7. อุปกรณยึดสายดิน (Ground Clamp)


วิธีจับยึดสายดิน มีหลายวิธีใหเลือกใชตามความเหมาะสมกับลักษณะของงานบางชนิดใช เกลียวขันติดกับงาน หรือโตะปฏิบัติงาน บางชนิดใชซีแคลมจับยึด เปนตน ก. ยึดติดกับโตะปฏิบัติงาน ข. ยึดติดกับชิ้นงาน วิธีจับยึดสายดิน


1. หนากากเชื่อมเปนอุปกรณออกแบบมาเพื่อปองกันสายตาจากการกระเด็นของสะเก็ดโลหะที่มีความรอนสูงเกิดจากการเชื่อม และรังสีที่มีผลตอผิวหนังบริเวณหนา ดวยโครงสรางของหนากากจะทําจากวัสดุที่มีความทนตอความรอนไดอยางดีและตัวโครงสรางเปน ฉนวน เชนผลิตจาก ไฟเบอรกลาส พลาสติกทนความรอน กระดาษทนความรอนเปนตน โดยทั่วไปลักษณะของหนากากเชื่อมจะมี 2 ชนิด ไดแก 1. แบบสวมหัวซึ่งเหมาะกับการปฏิบัติงานที่ตองใชมือจับสิ่งของหรือปฏิบัติงานในที่สูง ทําใหมือทั้งสองขางเปนอิสระ สามารถ ใชมือชวยในการจับยึดหรือชวยตัวเองใหอยูในตําแหนงที่มั่นคงได ดังแสดงในรูปที่ 25 2. แบบใชมือถือ ออกแบบมาเพื่อชวยปองกันใบหนาสะดวกในการเชื่อมบนพื้นที่ราบเปนงานที่จับยึดอยูกับที่ จึงไม จําเปนตองสวมหัวอยูตลอดเวลา 2.2 เครื่องมืองานเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และงานเชื่อม Flux Core Wire


หน้ากากเชื่อมแบบสวมหัว หนากากเชื่อมแบบใชมือถือ


หนากากเชื่อมจะประกอบดวยกระจกกรองแสงเพื่อปองกันแสงที่มีความเขมสูงเกิดจากการอารกขณะปฏิบัติงาน ลดความเขมของ แสงลงจนสายตาของผูปฏิบัติงานเชื่อมมองเห็นภาพการหลอมเหลวของชิ้นงานไดอยางชัดเจน และปองกันอันตรายตอดวงตา ดวยกระจก กรองแสงจะมีความสามารถในการกรองแสงที่แตกตางกันตามเบอรความเขม และการเลือกใชตองพิจารณาใหเหมาะสมกับลักษณะงานซึ่ง สามารถเลือกไดตามตารางแสดงความเขมของกระจกกรองแสง ที่เหมาะสมกับกระบวนการเชื่อมประเภทตาง ๆ ตามตารางมาตรฐาน EN 379:2003 ตารางความเข้มของกระจกกรองแสง มาตรฐาน EN 379:2003 กระจกกรองแสงเบอรความเขม 11


ผูปฏิบัติงานเชื่อมจะตองสวมชุดปฏิบัติงานเพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดในหลายสาเหตุ เชน ความรอน สะเก็ดโลหะเปนตน ชุด ปฏิบัติงานควรทําจากวัสดุที่ติดไฟยาก เชน หนังสัตวหรือทําจากผาที่ผลิตจากฝายที่คอนขางหนา หลีกเลี่ยงการใชวัสดุที่ติดไฟงาย เชนไนลอน หรือเสนใยพลาสติก ทําใหติดไฟงาย ชุดที่สวมใสควรจะเปนชุดที่แหงไมมีความชื้นและสะอาด เพราะความชื้นจากเหงื่อไคลในเวลานานจะทําให เปนตัวนํากระแสไฟฟาไดอยางเปนอยางดี โดยชุดปฏิบัติงานเชื่อมจะประกอบดวยรายการตาง ๆ ดังนี้ ก. หมวกหนัง (Leather Hat) ข. ถุงมือหนัง (Gloves) ค. ปลอกแขน (Sleeves) ชุดปฏิบัติงานเชื่อม 2. ชุดปฏิบัติงานเชื่อม


ชุดปฏิบัติงานเชื่อม ง. รองเทาหัวเหล็ก (Steel-Toe Boots) จ. เสื้อหนัง (Apron)


เปนเครื่องมือที่ใชจับชิ้นงานขณะรอนเพื่อทําการเคลื่อนยายมีลักษณะพิเศษ คือมีดามยาวเพื่อปองกันความรอนระหวางชิ้นงานกับ ผูปฏิบัติงานเชื่อม คีมจับงานเชื่อม (Pliers) 3. คีมจับงานเชื่อม (Pliers)


ใช้สําหรับทําความสะอาดชิ้นงานก่อนและหลังการเชื่อมเพือขจัดออกไซด์ เศษแสลก และสิ่งสกปรกต่าง ๆ ที่มีขนาดเล็กตก ่ค้างอยู่ ลักษณะของ แปรง ขนแปรงจะทําด้วยเหล็กที่เป็นสปริงพอสมควร เพราะเมื่อใช้แปรงแล้วจะทําให้ด้ามไม้ไม่เสียรูปหรือหักงอ การใช้งานของแปรงลวดนี้ไม่ควรนําไป แช่นํ้า หรือขัดชิ้นงานที่เปียกนํ้าจะทําให้แปรงลวดชํารุดเสียหายได้เร็วกว่าปกติ ลักษณะของแปรงลวด แปรงลวด 4. แปรงลวด (Wire Brush)


ค้อนเคาะสแลก ใชสําหรับเคาะแสลกที่อยูบนแนวเชื่อมเมื่อเชื่อมเสร็จหรือเมื่อตองการเชื่อมเดินแนวตอไป ตัวคอนจะทําดวยเหล็กกลาคารบอน ชุบ แข็งที่สวนปลายทั้งสองขางเพื่อทนตอแรงกระแทกไดดี โดยปลายคอนดานหนึ่งแบนคลายสกัด และปลายอีกดานหนึ่งแหลมใชสําหรับเคาะ แสลกในหลุมขนาดเล็ก ๆ ที่ฝงอยูบนบริเวณแนวเชื่อมออก ลักษณะคอนเคาะแสลก 5. คอนเคาะสแลก (Chipping hammer)


จะมีผลปองกันการเกาะติดกันระหวางเม็ดโลหะกับชิ้นงานและหัวเชื่อม ชวยใหความสวางและสะอาดบริเวณแนวเชื่อม โดยจะมี 2 แบบ ครีม และ สเปรย ครีม และ สเปรย์ 6. น้ํายาปองกันสะเก็ดไฟเชื่อม (Anti spatter)


การประกอบติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณงานเชื่อมใหพรอมใช เปนสิ่งสําคัญสําหรับผูปฏิบัติ งานเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และงานเชื่อม Flux Core Wire ผูฝกทักษะจะตองมีความรูเพื่อจะไดนําไปใชในการปฏิบัติงานเชื่อมโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire ไดอยางถูก วิธี และปลอดภัยโดยมีลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงานดังตอไปนี้ 1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณปองกันอันตรายกอนการปฏิบัติงานเชื่อม ไดแก หนากากเชื่อม เอี๊ยมหนัง หรือเสื้อหนัง ปลอกแขน หนัง หมวกคลุม อุปกรณทําความสะอาด น้ํายาปองกันสะเก็ดไฟเชื่อม แปรงลวด คีมจับชิ้นงานรอน คอนเคาะสแลก วางไวบนโตะ การจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณปองกันอันตรายกอนการปฏิบัติงานเชื่อม 3. การประกอบติดตั้งเครื่องมือ และอุปกรณงานเชื่อม


2. เตรียมเครืองมือและอุปกรณ์ ่ สําหรับประกอบและติดตั้ง ไดแก หัวเชื่อม อุปกรณจับยึดสายดิน เกจวัดแรงดัน ลวดเชื่อม การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณงานเชื่อมใหพรอมใช 3. การประกอบและติดตังอุปกรณ์เครื ้องเชื่ ่อมก่อนใช้งาน การประกอบหัวเชื่อมเขากับเครื่องเชื่อม


2. ประกอบอุปกรณ์จับยึดสายดินเข้ากับเครืองเชื่ ่อม การประกอบอุปกรณ์สายดินเข้ากับเครืองเชื่ ่อม


3. ประกอบเกจวัดแรงดันเข้ากับท่อแก๊ส และประกอบปลายสายแก๊ส เข้ากับเครืองเชื่ ่อม ก. ประกอบเกจวัดแรงดันเขากับทอแกส ข. ประกอบปลายสายแกส เขากับเครื่องเชื่อม


4. ประกอบลวดเชื่อมเข้ากับเครื่องเชื่อม ก. ชุดขับปอนลวดอยูในเครื่อง ข. ชุดขับปอนลวดแบบยูนิเวอรแซล การประกอบลวดเชื่อมเข้ากับเครืองเชื่ ่อม


5. ทําความสะอาดโต๊ะปฏิบัติงานเชื่อม ขัดขจัดออกไซด์ออก และสิ่งสกปรกต่าง ๆ ก่อนการใช้งาน การทําความสะอาดโตะปฏิบัติงาน


1. ยึดสายดินกับโตะปฏิบัติงานเชื่อมใหแนน การตอสายเชื่อมชิ้นงานและยึดสายดินกับโตะปฏิบัติงานเชื่อม การเตรียมความพรอมของเครื่องกอนการใชงาน


2. เปดสวิตชเครื่องเชื่อมเพื่อนําลวดเชื่อมเขาสูสายเชื่อมปอนไปยังหัวเชื่อม ก. เปดสวิตชเครื่องเชื่อม ข. นําลวดเชื่อมเขาสูสายเชื่อมปอนไปยังหัวเชื่อม การเปิดสวิตช์เครืองเชื่ ่อมและนําลวดเชื่อมเข้าสู่สายเชื่อมป้ อนไปยังหัวเชื่อม


3. ปรับความดันแก๊สให้ไหลในอัตราที่เหมาะสมกับงานเชื่อม การปรับความดันแก๊สให้ไหลในอัตราที่เหมาะสมกับงานเชื่อม


ปดสวิตชเครื่องเชื่อมทุกครั้งที่เลิกปฏิบัติงานเชื่อม เก็บมวนสายเชื่อมใหเรียบรอย การปิดสวิตช์เครืองเชื่ ่อม ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเสร็จงาน


ทําความสะอาดโตะปฏิบัติงานเชื่อม และเครื่องมือเชื่อม การจัดเก็บและทําความสะอาดหลังเลิกปฏิบัติงานเชื่อม


Click to View FlipBook Version