แกสฮีเลียม (Helium : He) รอยเชื่อมที่ใชแกสฮีเลียมเปนแกสปกคลุม
แกสคารบอนไดออกไซด (Carbondioxide : CO2) รอยเชื่อมที่ใชแกสคารบอนไดออกไซดเปนแกสปกคลุม
แกสปกคลุมชนิดผสม 1. แกสปกคลุมผสม 2 ชนิด 2. แกสปกคลุมผสม 3 ชนิด (Universal) 3. แกสปกคลุมผสม 4 ชนิด (Quad Mix)
แกสปกคลุมผสม 2 ชนิด แกสปกคลุมผสมระหวางแกสฮีเลียมกับแกสอารกอน การหลอมลึกของแกสฮีเลียมกับแกสอารกอน
แกสปกคลุมระหวางแกสอารกอนกับแกสออกซิเจน การกัดแหวงของแกสออกซิเจนกับแกสอารกอน
แกสปกคลุมระหวางแกสอารกอนกับแกสคารบอนไดออกไซด แกสอารกอนผสมแกสคารบอนไดออกไซด 3 - 10% เปนแกสที่ใชกับการสงถายน้ําโลหะแบบแบบลัดวงจรและสเปรย แกสอารกอนผสมแกสคารบอนไดออกไซด 11 - 20% เปนแกสที่เหมาะกับการเชื่อมที่มีระยะหางของชิ้นงานที่แคบ เชื่อมงานโลหะ แผนบางได แกสอารกอนผสมแกสคารบอนไดออกไซด 21 - 25% เปนแกสที่เหมาะสมกับการเชื่อมเหล็กเหนียวเหมาะสําหรับการเชื่อมเหล็ก หนาดวยกระแสไฟเชื่อมที่สูง แกสอารกอนผสมแกสคารบอนไดออกไซดสูงถึง 50% เปนแกสที่เหมาะสําหรับงานที่ตองการความรอนและใหการซึมลึกสูง จะงาน เชื่อมที่มีความหนามากกวา 3 มม. แกสอารกอนผสมแกสคารบอนไดออกไซดสูงถึง 75% เปนแกสที่เหมาะสําหรับการเชื่อมทอผนังหนาการซึมลึกสูง การหลอม ละลายที่ผนังดานขางดีมีการอารกสม่ําเสมอเม็ดโลหะนอยลง
แกสปกคลุมผสมชนิดนี้ไมคอยนิยมใชกันเพราะจะเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานเวนแตจะมีการปองกันอันตรายเปนอยางดีซึ่งแกส คลอรีนจะทําหนาที่ไลแกสไฮโดรเจนออกจากแนวเชื่อมอะลูมิเนียม แกสปกคลุมระหวางแกสอารกอนกับแกสคลอรีน
แกสปกคลุมผสม 3 ชนิด แกสปกคลุมนี้จะนําแกสมาผสมกัน 3 ชนิด เรียกวาแบบยูนิเวอรแซล (Universal) แก๊สปกคุมชนิดนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถถ่าย โอนนํ้าโลหะแบบสเปรย์ แบบลัดวงจร แบบหยด และ แบบพัลล์ซึ่งแก๊สปกคลุมผสม 3 ชนิดจะมีหลายส่วนผสมให้เลือกใช้ขึ้นอยู่กับการส่งถ่ายนํ้าโลหะ และคุณลักษณะของการอาร์กและลักษณะการถ่ายโอนนํ้าโลหะ การถายโอนน้ําโลหะ แบบสเปรย แบบลัดวงจร แบบหยด แบบพลัส์
แกสปกคลุมผสมระหวางแกสฮีเลียม แกสอารกอน และแกสคารบอนไดออกไซด แกสผสมชนิดนี้เปนแกสปกคลุมที่ใหแรงดึงของบอหลอมเหลวที่ดี และการสงถายน้ําโลหะจะเปนแบบลัดวงจร โดยสวนผสมจะใช แกสฮีเลียม 90% แกสอารกอน 7.5 % และแกสคารบอนไดออกไซด 2.5 % แกสปกคลุมชนิดนี้นิยมใชเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมชนิดออสเตน นิติก โดยแกสปกคลุมนี้จะทําปฏิกิริยากับชั้นบรรยากาศไดเล็กนอยแตจะไมลดความตานทานการกัดกรอน และหากเปลี่ยนสวนผสมเปน แกสฮีเลียม 60 – 70% แกสอารกอน 25 – 35% และแกสคารบอนไดออกไซด 5% สามารถนําไปใชกับการเชื่อมเหล็กกลาเจือต่ําเมื่อ ตองการความเหนียวที่สูง สวนการสงถายน้ําโลหะจะเปนแบบลัดวงจร การผสมแกสปกคลุมชนิดนี้ควรใหมีปริมาณคารบอนไดออกไซดต่ํา เพราะคารบอนจะเปนตัวลดความเหนียวและอาจเขาไปเจือปนในเนื้อโลหะได ลักษณะของแนวเชื่อมที่ไดจากแกสปกคลุมชนิดนี้จะมี ลักษณะแบนราบ ซึ่งเปนผลดีตองานเชื่อมเพราะจะชวยงานดานการตกแตงผิวของแนวเชื่อมได จึงเหมาะกับงานเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม หรือเชื่อมทอ
แกสปกคลุมผสมระหวางแกสอารกอน แกสคารบอนไดออกไซด และแกสไฮโดรเจน แกสปกคลุมที่ผสมขึ้นมาชนิดนี้ เมื่อทําการเติมแกสไฮโดรเจน 1 - 2 % จะทําให้การไหลตัวของนํ้าโลหะดีขึ้น และการอาร์กสมํ่าเสมอ สําหรับการเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิมจะต้องเติมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 - 3% เพื่อทําให้การอาร์คสมํ่าเสมอ และการดึงแก๊สคาร์บอนเกิดขึ้นน้อย แก๊ส ผสมชนิดนี้ไม่เหมาะกับการเชื่อมเหล็กกล้าผสม เพราะแนวเชื่อมจะมีแก๊สไฮโดรเจนสูงมีผลทําให้เกิดการแตกร้าวและคุณสมบัติทางกลไม่ดี
แกสปกคลุมผสมระหวางแกสอารกอน แกสออกซิเจน และแกสคารบอนไดออกไซด แกสปกคลุมที่ผสมขึ้นมาชนิดนี้จะใชแกสอารกอนผสมกับแกสออกซิเจน 1% และ คารบอนไดออกไซด 5 - 10% แกสชนิดนี้ เหมาะสําหรับการเชื่อมเหล็กกลาคารบอน เหล็กกลาผสมต่ําและเหล็กกลาไรสนิมในทุก ๆ ความหนา สําหรับเหล็กเหล็กกลาไรสนิมควรใช การเชื่อมแบบเปนสเปรยเทานั้น ถาใชกระแสไฟเชื่อมต่ําบอหลอมละลายจะมีความหนืดและจะมีการเติมคารบอนในโลหะชิ้นงานการเชื่อม เหล็กกลาคารบอนและเหล็กกลาผสมต่ําแนวเชื่อมจะใหคุณสมบัติทางกลที่ดีแกสออกซิเจนจะชวยทําใหการอารกสม่ําเสมอ
แกสปกคลุมผสม 4 ชนิด แก๊สปกคลุมผสมระหว่างแก๊สอาร์กอน แก๊สฮีเลียม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สออกซิเจน แกสปกคลุมที่ผสมขึ้นมาชนิดนี้ ใชสําหรับปกคลุมการเชื่อมที่ตองการเติมลวดเชื่อมสูงใหคุณสมบัติทางกลที่ดี ใชกับการเชื่อม เหล็กกลาผสมต่ํา และสามารถนําไปเชื่อมเหล็กกลาละมุนได แกสผสมชนิดนี้จะมีชื่อเรียกวา (Quad Mix)
การพิจารณาเลือกแกสปกคลุม การพิจารณาเลือกใชแกสปกคลุมแนวเชื่อมเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่งเพราะแกสปกคลุมมีผลตอการเชื่อมเปนอยางมากถาเลือกได อยางถูกตองจะสงผลดีตอการเชื่อมเปนอยางยิ่ง โดยการเลือกใชแกสปกคลุมจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 4.1 ชนิดของโลหะชิ้นงานเชื่อม 4.2 ความตองการทางคุณสมบัติเชิงกล 4.3 วิธีการเชื่อม เชน เชื่อมดวยมือ ระบบอัตโนมัติ หรือกึ่งระบบอัตโนมัติ 4.4 ชนิดของลวดเชื่อมและแกสที่ใชสําหรับลวดเชื่อมนั้น 4.5 กระบวนการเชื่อมที่ใชเชื่อม 4.6 ความเรียบรอยของแนวเชื่อมที่ตองการหรือระดับการกระเด็นของเม็ดโลหะ หากเลือกแกสปกคลุมผิดพลาดไมเหมาะสมอาจทําใหเกิดผลเสียในดานคุณภาพของโลหะงานเชื่อมไดและเสียเวลาในการแกไข ชิ้นงาน หรือเสียเวลาในการกําจัดสะเก็ดแนวเชื่อมได
เทคนิคการเชื่อมอารกโลหะ ตําแหนงทาเชื่อม 4F
ชิ ้ นงานเชื่อมตําแหน่งท่าเชื่อม 4F
เบิกเครื่องมือและชุดอุปกรณปองกันอันตราย รูปแสดงการเบิกชุดอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย เครืองมือ วัสดุ และอุ่ ปกรณ์การ เชื่อม รูปที่ แสดงการสวมชุดป้ องกันอันตราย
การเตรียมชิ ้ นงาน แสดงการตัดชิ้นงานดวยเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน
การเตรียมชิ้นงานกอนเชื่อมยึด (Tack) รูปแสดงการตะไบตกแตงชิ้นงาน รูปแสดงการเจียระไนเปดผิวงาน
การเจียระไนเปดผิวบริเวณขอบชิ้นงาน
เตรียมเครื่องเชื่อม การเปิดสวิตช์เครืองเชื่ ่อม การปรับความเร็วลวดเชื่อม การปรับแรงดันแกส
การเชื่อมยึดชิ้นงาน (Tack) ลักษณะวางชิ้นงานกอนทําการเชื่อมยึด ลักษณะการเชื่อมยึดชิ้นงานดานหลัง และปลายชิ้นงานทั้ง 2 ลักษณะการเชื่อมยึดจากขอบชิ้นงานเขามา
ตรวจสอบองศาของชิ ้ นงาน ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน
ติดตั้งชิ้นงาน ลักษณะการติดตั้งชิ้นงานในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาเหนือศีรษะ 4F
เริ่มทําการเชื่อม การเริ่มตนอารกจากขอบชิ้นงาน การทํามุมลวดเชื่อม 10-15 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากดานหนา) การทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากดานขาง)
การควบคุมความกวางของแนวเชื่อม แสดงลักษณะแนวเชื่อมตอตัวทีทาเหนือศีรษะ 4F แสดงลักษณะการสายลวดเชื่อมแบบตัว C
จุดสิ้นสุดแนวเชื่อม เติมลวดเชื่อมลงในบอหลอมเหลวปลายแนวเชื่อมใหเต็ม
การปฏิบัติงานหลังทําการเชื่อมเสร็จ ชิ้นงานเชื่อมเสร็จ
เทคนิคการเชื่อม Flux Core Wire ตําแหนงทาเชื่อม 4F
ชิ ้ นงานเชื่อมตําแหน่งท่าเชื่อม 4F
เบิกเครื่องมือและชุดอุปกรณปองกันอันตราย รูปแสดงการเบิกชุดอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย เครืองมือ วัสดุ และอุ่ ปกรณ์การ เชื่อม รูปที่ แสดงการสวมชุดป้ องกันอันตราย
การเตรียมชิ ้ นงาน แสดงการตัดชิ้นงานดวยเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน
การเตรียมชิ้นงานกอนเชื่อมยึด (Tack) รูปแสดงการตะไบตกแตงชิ้นงาน รูปแสดงการเจียระไนเปดผิวงาน
การเจียระไนเปดผิวบริเวณขอบชิ้นงาน
เตรียมเครื่องเชื่อม การเปิดสวิตช์เครืองเชื่ ่อม การปรับความเร็วลวดเชื่อม การปรับแรงดันแกส
การเชื่อมยึดชิ้นงาน (Tack) ลักษณะวางชิ้นงานกอนทําการเชื่อมยึด ลักษณะการเชื่อมยึดชิ้นงานดานหลัง และปลายชิ้นงานทั้ง 2 ลักษณะการเชื่อมยึดจากขอบชิ้นงานเขามา
ตรวจสอบองศาของชิ ้ นงาน ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน
ติดตั้งชิ้นงาน ลักษณะการติดตั้งชิ้นงานในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาเหนือศีรษะ 4F
เริ่มทําการเชื่อม การเริ่มตนอารกจากขอบชิ้นงาน การทํามุมลวดเชื่อม 10-15 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากดานหนา) การทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากดานขาง)
การควบคุมความกวางของแนวเชื่อม ลักษณะแนวเชื่อมตอตัวทีทาเหนือศีรษะ 4F ลักษณะการเชื่อมซอนแนว
จุดสิ้นสุดแนวเชื่อม เติมลวดเชื่อมลงในบอหลอมเหลวปลายแนวเชื่อมใหเต็ม
การปฏิบัติงานหลังทําการเชื่อมเสร็จ ชิ้นงานเชื่อมเสร็จ
สัญลักษณงานเชื่อม
สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐานสมาคมการเชื่อมของสหรัฐอเมริกา หรือ AWS (American Welding Society) รายละเอียดและสวนประกอบของสัญลักษณงานเชื่อม
การเขียนเสนลูกศร เสนอางอิง และหางของสัญลักษณงานเชื่อม สวนประกอบของสัญลักษณงานเชื่อม การเชื่อมดานหัวลูกศรชี้ การเชื่อมดานตรงขามหัวลูกศรชี้
การเชื่อมทั้งสองดาน
สัญลักษณของแนวเชื่อม (Weld symbol) เชื่อมดานหัวลูกศรชี้ เชื่อมดานตรงขามหัวลูกศรชี้ เชื่อมทั้งสองดาน สัญลักษณ์แนวเชื่อมต่อฉากที่เส้นอ้างอิง
สัญลักษณการเชื่อมปลั๊กและสล็อตที่เสนอางอิง เชื่อมดานหัวลูกศรชี้ เชื่อมดานตรงขามหัวลูกศรชี้ สัญลักษณ์การเชื่อมปลักและ ๊ สล็อตที่เส้นอ้างอิง
สัญลักษณเชื่อมจุดที่เสนอางอิง แสดงสัญลักษณเชื่อมจุดที่เสนอางอิง เชื่อมดานหัวลูกศรชี้ เชื่อมดานตรงขามหัวลูกศรชี้ ไมระบุดาน
สัญลักษณงานเชื่อมสลักที่เสนอางอิง สัญลักษณงานเชื่อมตะเข็บที่เสนอางอิง เชื่อมดานหัวลูกศรชี้ เชื่อมดานตรงขามหัวลูกศรชี้ ไมระบุดาน
สัญลักษณงานเชื่อมปดหลังที่เสนอางอิง เชื่อมดานหัวลูกศรชี้ เชื่อมดานตรงขามหัวลูกศรชี้