2. เจียระไนเปดผิวงาน ทําการเจียระไนเปดผิวงานบริเวณขอบชิ้นงาน ดานทําการเชื่อมเพื่อใหผิวบริเวณแนวเชื่อมสะอาดไรสารมลทินเจือ ปนในขณะเชื่อม การเจียระไนเปดผิวงาน ลักษณะการเปดผิวงานของชิ้นงาน
เตรียมเครื่องเชื่อม 1. เปดสวิตชเครื่องเชื่อม การเปิดสวิตช์เครืองเชื่ ่อม 2. ทําการปรับความเร็วลวดเชื่อมเพื่อใหกระแสไฟ ในการเชื่อมเหมาะสมกับชิ้นงาน การปรับความเร็วลวดเชื่อม 3. ปรับแรงดันแกสใหเหมาะสมกับอุปกรณการ เชื่อมและชิ้นงาน การปรับแรงดันแก๊ส
การจับยึดชิ้นงาน วางชิ้นงานกอนทําการเชื่อมยึด
2. การเชื่อมยึด ทําการเชื่อมยึด 2 จุด บริเวณมุมด้านหลังของแผ่นเหล็กที่ตังฉากกัน โดยเชื ้ ่อมที่ปลายชิ้นงานทัง ้2 ด้าน ซึ่งมีความยาวจุดละไม่น้อย กว่า 10 มิลลิเมตร และยาวไม่เกิน 15 มิลลิเมตร โดยจะเชื่อมจากขอบชิ้นงานเข้ามา การเชื่อมยึดชิ้นงาน ดานหลังและปลายชิ้นงานทั้ง 2 การเชื่อมยึดจากขอบชิ้นงานเข้ามา
3. ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน เมื่อเชื่อมยึดชิ้นงานเสร็จใหนําชิ้นงานมาทําการปรับมุมใหได 90 องศา และใชเครื่องมือใบวัดมุม (Bevel Protractor) ช่วยในการตรวจสอบองศาของชิ้นงาน ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน
7. ติดตั้งชิ้นงาน ใหวางชิ้นงานอยูในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F โดยวางชิ้นงานลงบนเหล็กรางตัววีที่เตรียมไว้ตามแนวยาวโดยลักษณะของ ชิ้นงานเมื่อวางแล้วจะเป็นรูปตัววี ให้ทําการตรวจสอบชิ้นงานว่ามั่นคงหรือไม่ มีการขยับของชิ้นงานก่อนทําการปฏิบัติงานเชื่อมหรือไม่ การติดตั้งชิ้นงานในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F
1. การเริ่มตนอารก จะเริ่มตนจากขอบชิ้นงาน ดังแสดงในรูปที่ โดยกดสวิตชที่หัวเชื่อมเพื่อจายกระแสไฟเชื่อมทําการ เชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F โดยการทํามุมหัวเชื่อมกับชิ้นงาน 10-15องศา (ดูจากด้านข้าง) และทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจาก ด้านหน้า) การเริ่มตนอารกจากขอบชิ้นงาน การทํามุมลวดเชื่อม 10-15 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากด้านข้าง) การทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากดานหนา) 8. เริ่มทําการเชื่อม
2. การควบคุมความกวางของแนวเชื่อม ในการเชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F ทําได้โดยการส่ายลวดเชื่อม และการเคลือนที่ลวดเชื ่ ่อมโดยรักษา ความเร็ว และระยะอาร์กให้สมํ่าเสมอจะช่วยให้การหลอมลึกสมบูรณ์ และความกว้างของแนวเชื่อมสมํ่าเสมอ โดยในท่าเชื่อมนี้จะนิยมใช้การส่ายลวด เชื่อมแบบตัว C เพราะจะง่ายต่อการควบคุมแนวเชื่อมมากกว่าการส่ายลวดเชื่อมในลักษณะอืน่ แนวเชื่อมต่อตัวทีท่าราบ 1F การสายลวดเชื่อมแบบตัว C
3. จุดสิ้นสุดแนวเชื่อมบริเวณขอบชิ้นงานใหทําการหยุดและเติมบอหลอมเหลวปลายแนวเชื่อม (Crater) ให้เต็ม เติมลวดเชื่อมลงในบ่อหลอมเหลวปลายแนวเชื่อมให้เต็ม
นําชิ้นงานทําการเชื่อมเสร็จมาทําความสะอาดดวยแปรงลวดและรอใหชิ้นงานเย็นตัวประมาณ 10 นาที ทําการไลแกสคลุม ออกจากระบบเครื่องเชื่อม ปดเกจวัดแรงดัน ปดสวิตชเครื่อง เก็บชุดปองกันอันตรายในการปฏิบัติงานเชื่อม เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ ที่ใชในการปฏิบัติงาน สงคืนที่หองเครื่องมือ ทําความสะอาดบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อม และผูปฏิบัติงานนําชิ้นงานไปทําการ ตรวจสอบงานเชื่อมดวยการพินิจ (Visual Testing) เบื้องต้นก่อนนําชิ้นงานเชื่อมส่งให้แก่ครูผู้ตรวจ ต่อไป ชิ้นงานเชื่อมเสร็จ 10. การปฏิบัติงานหลังทําการเชื่อมเสร็จ
หนวยที่ 4 การสงถายน้ําโลหะ (Metal Transfer)
การสงถายน้ําโลหะแบบสเปรย หยดนํ้าโลหะเล็ก การสงถายน้ําโลหะแบบสเปรย
การส่งถ่ายนํ้าโลหะแบบหยด (Globular Transfer) การสงถายน้ําโลหะแบบหยด หยดน้ําโลหะขนาดใหญ
การสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร (Short Circuit Transfer) การสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร หยดน้ําโลหะกําลังสัมผัสลัดวงจร
ขั้นตอนการเกิดการสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร แรงดันกระแส ชวง ลัดวงจร ชวงอารก เวลา อารก เวลา อารก
การสงถายน้ําโลหะแบบพลัส (Pulsed Transfer) การสงถายน้ําโลหะแบบพลัส หยดน้ําโลหะกําลังพลัส
ขั้นตอนการเกิดการสงถายน้ําโลหะแบบพลัส
กรณีการถายโอนน้ําโลหะของการเชื่อม Flux Core Wire การสงถายน้ําโลหะการเชื่อม Flux Core Wire
หนวยที่ 4 เทคนิคการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม ตําแหนงทาเชื่อม 3F
ชิ้นงานเชื่อมตําแหนงทาเชื่อม 3F
เบิกเครื่องมือและชุดอุปกรณปองกันอันตราย การเบิกชุดอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย เครืองมือ วัสดุ และอุปกรณ์ ่การเชื่อม การสวมชุดป้ องกันอันตราย
การเตรียมชิ้นงาน การตัดชิ้นงาน ใชเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน การตัดชิ้นงานดวยเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน
การเตรียมชิ้นงานกอนเชื่อมยึด 1. ตะไบตกแตงชิ้นงาน 2. เจียระไนเปดผิวงาน แสดงลักษณะการเปดผิวงานของชิ้นงาน
เตรียมเครื่องเชื่อม เปดสวิตชเครื่องเชื่อม ทําการปรับความเร็วลวดเชื่อมเพื่อใหกระแสไฟใน การเชื่อมเหมาะสมกับชิ้นงาน ปรับแรงดันแกสใหเหมาะสมกับ อุปกรณการเชื่อมและชิ้นงาน
การจับยึดชิ้นงาน 1.การประกอบและจับยึด ชิ้นงานกอนเชื่อมตอตัวทีทา ระดับ 2F 2. การเชื่อมยึด ทําการเชื่อมยึด 2 จุด รูปแสดงลักษณะการเชื่อมยึดจาก ขอบชิ้นงานเขามา
ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน
ติดตั้งชิ้นงาน รูปแสดงลักษณะการติดตั้งชิ้นงานในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาตั้ง 3F
เริ่มทําการเชื่อม 1. การเริ่มตนอารก การเริ่มตนอารกจากขอบชิ้นงาน การทํามุมลวดเชื่อม 10-15 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากด้านข้าง) การทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากด้านบน)
การควบคุมความกวางของแนวเชื่อม ลักษณะแนวเชื่อมต่อตัวทีท่าตัง ้ 3F ลักษณะการส่ายลวดเชื่อมแบบสามเหลี่ยม
จุดสิ้นสุดแนวเชื่อม เติมลวดเชื่อมลงในบ่อหลอมเหลวปลายแนวเชื่อมให้เต็ม
การปฏิบัติงานหลังทําการเชื่อมเสร็จ นําชิ้นงานทําการเชื่อมเสร็จมาทําความสะอาดดวยแปรงลวดและรอให ชิ้นงานเย็นตัวประมาณ 10 นาที ชิ้นงานเชื่อมเสร็จ
หนวยที่ 4 เทคนิคการเชื่อม Flux Core Wire ตําแหนงทาเชื่อม 3F
ชิ้นงานเชื่อมตําแหนงทาเชื่อม 3F
เบิกเครื่องมือและชุดอุปกรณปองกันอันตราย การเบิกชุดอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย เครืองมือ วัสดุ และอุปกรณ์ ่การเชื่อม การสวมชุดป้ องกันอันตราย
การเตรียมชิ้นงาน การตัดชิ้นงาน ใชเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน การตัดชิ้นงานดวยเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน
การเตรียมชิ้นงานกอนเชื่อมยึด 1. ตะไบตกแตงชิ้นงาน 2. เจียระไนเปดผิวงาน แสดงลักษณะการเปดผิวงานของชิ้นงาน
เตรียมเครื่องเชื่อม เปดสวิตชเครื่องเชื่อม ทําการปรับความเร็วลวดเชื่อมเพื่อใหกระแสไฟใน การเชื่อมเหมาะสมกับชิ้นงาน ปรับแรงดันแกสใหเหมาะสมกับ อุปกรณการเชื่อมและชิ้นงาน
การจับยึดชิ้นงาน 1.การประกอบและจับยึด ชิ้นงานกอนเชื่อมตอตัวทีทา ระดับ 2F 2. การเชื่อมยึด ทําการเชื่อมยึด 2 จุด รูปแสดงลักษณะการเชื่อมยึดจาก ขอบชิ้นงานเขามา
ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน
ติดตั้งชิ้นงาน รูปแสดงลักษณะการติดตั้งชิ้นงานในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาตั้ง 3F
เริ่มทําการเชื่อม 1. การเริ่มตนอารก การเริ่มตนอารกจากขอบชิ้นงาน การทํามุมลวดเชื่อม 10-15 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากด้านข้าง) การทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากด้านบน)
การควบคุมความกวางของแนวเชื่อม ลักษณะแนวเชื่อมต่อตัวทีท่าตัง ้ 3F ลักษณะการส่ายลวดเชื่อมแบบสามเหลี่ยม
จุดสิ้นสุดแนวเชื่อม เติมลวดเชื่อมลงในบ่อหลอมเหลวปลายแนวเชื่อมให้เต็ม
การปฏิบัติงานหลังทําการเชื่อมเสร็จ นําชิ้นงานทําการเชื่อมเสร็จมาทําความสะอาดดวยแปรงลวดและรอให ชิ้นงานเย็นตัวประมาณ 10 นาที ชิ้นงานเชื่อมเสร็จ
แกสปกคลุมสําหรับงานเชื่อม (Shield Gas)
ประโยชนของแกสปกคลุมสําหรบการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire 1. ปองกันสารมลทินปนเปอนลงในหลอมละลายจากชั้นบรรยากาศโดยรอบ 2. ทําใหเชื่อมวัสดุที่เปนโลหะและอโลหะงายขึ้น 3. ทําใหการอารกสม่ําเสมอ 4. ทําใหคุณสมบัติของโครงสรางภายในแนวเชื่อมสมบูรณ 5. ทําใหแนวเชื่อมมีคุณสมบัติทางกลสูงสุด 6. ชวยใหแนวเชื่อมมีรูปทรงดีและ มีสเก็ดโลหะติดที่ชิ้นงานลดลง 7. ชวยใหเกิดการสงถายน้ําโลหะไดอยางสมบูรณ 8. ทําใหการหลอมลึกของแนวเชื่อมดีมากขึ้น
หนาที่ของแกสปกคลุมในการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire แกสปกคลุมทําหนที่ปกคลุมแนวเชื่อมและบอหลอมละลายขณะเชื่อม เพื่อไมใหเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นหรือมีสารมลทินจากอากกา ศโดยรอบเขามาปนเปอนขณะทําการเชื่อม เชน มีแกสออกซิเจน แกสไนโตรเจน เขามารวมตัวกันในแนวเชื่อมที่ใหแนวเชื่อมแตกราวได และแกสปกคลุมยังทําหนาที่ควบคุมการอารกของการเชื่อมใหสม่ําเสมอ ลดสะเก็ตโลหะที่กระเด็นลดลง และทําใหการสงถายน้ําโลหะใน กระบวนการเชื่อนสมบูรณยิ่งขึ้น
แกสปกคลุมสําหรบการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire การเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire นั้นจําเป็นต้องใช้แก๊สปกคลุมแนวเชื่อมจากแหล่งภายนอก ซึ่งโดยปกติจะใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สอาร์กอน และแก๊สฮีเลียมหรือนํามาผสมกันเป็นต้น จากที่กล่าวมานั้นจึงควรเลือกใช้แก๊สปก คลุมให้เหมาะสมกับชิ้นงานและกระบวนการเชื่อม ดังนั้นจึงต้องทําการเรียนรู้ถึงชนิดของแก๊สปกคลุมและคุณสมบัติของแก๊สปกคลุมต่าง ๆ ดังนี้
แกสปกคลุมชนิดไมผสมโดยปกติการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire นิยมใชกัน 3 ชนิดไดแก 1. แกสอารกอน (Argon : Ar) 2. แกสฮีเลียม (Helium : He) 3. แกสคารบอนไดออกไซด (Carbondioxide : CO2) แกสปกคลุมชนิดไมผสม
แกสอารกอน (Argon : Ar) แนวเชื่อมใชแกสอารกอนเปนแกสปกคลุม