The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip.panpran, 2024-06-16 20:35:35

งานเชื่อม

งานเชื่อม

หนวยที่ 2 กระบวนการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม


การเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม (Gas Metal Arc Welding) GMAW เปนการเชื่อมชนิดอารก ดวยไฟฟาแบบกึ่งอัตโนมัติ โดยใช ลวดเชื่อมสิ้นเปลืองขนาดเล็กเปนมวนสามารถเชื่อมตอเนื่องได เปนตัวอารก และเติมเนื้อโลหะเชื่อมลงในบอหลอมเหลวภายใตแกสปก คลุมแนวเชื่อมจากชั้นบรรยากาศ เริ่มตนในชวงป คศ. 1925 ประเทศทางยุโรปไดมีบริษัทแหงหนึ่งเริ่มทําการทดลองการใชงาน ซึ่งในชวง 25 ปแรกผลในการใชงาน ไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร ตอมาในป คศ. 1950 ไดมีการคิดคนนําแกสคารบอนไดออกไซดเขามาใชเปนแกสปกคลุมงานเชื่อม ทําให เชื่อมเหล็กกลาคารบอนไดสําเร็จ และไดมีพัฒนาการผสมแกสปกคลุมขึ้น ระหวางป คศ. 1960 – 1985 ตอมาประเทศญี่ปุน ไดนําระบบ การเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม เขามาใชในการผลิตสินคาอยางแพรหลาย ซึ่งมียอดการใชระบบการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมมากเปน อันดับ 2 ของการผลิต โดยไดรับความนิยมอยางมากในอุตสาหกรรมประกอบรถยนต งานโครงสรางเหล็ก สะพาน และการตอเรือ เปนตน 1.กระบวนการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม 1.1 ความเปนมาของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม ปจจุบันการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมนี้นิยมใชกันอยางแพรหลายในงานอุตสาหกรรม เพราะสามารถทําการเชื่อมไดอยางรวดเร็ว ใหความแข็งแรงสูง และสามารถเชื่อมโลหะไดหลายชนิด เชน เหล็กกลาคารบอน เหล็กกลาไรสนิม อลูมิเนียมเปนตน


การเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม


หลักการเบื้องตนของกระบวนการเชื่อมโลหะแกสคลุม 1.2 หลักการเชื่อมเบื้องตนของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม


วงจรเครื่องเชื่อมและอุปกรณในการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม 1.3 วงจรเครื่องเชื่อมและอุปกรณในการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม


ในกระบวนการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม ลวดเชื่อมจะถูกปอนมายังหัวเชื่อมดวยระบบอัตโนมัติที่สามารถควบคุมความเร็วการ ปอนได สําหรับการสายหัวเชื่อมขึ้นอยูกับระบบการเชื่อม ดังนี้ (Semi Automatic Welding) เปนกระบวนการเชื่อมแบบกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งอุปกรณควบคุมการเชื่อมจะถูกควบคุมการทํางานดวยมือยกเวนการปอนลวดสูชิ้นงาน 1.4 การนําไปใชงาน


ขอดี ขอเสีย ของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม


ขอดีของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม 1. สามารถเคลื่อนที่หัวเชื่อมใหรวดเร็วได ทําใหปริมาณความรอนเขาสูรอยเชื่อมต่ํา จึงมีผลกระทบตอโครงสรางการเชื่อมตรง บริเวณรอบรอยเชื่อม ซึ่งจะเกิดการจัดเรียงตัวของโมเลกุลและการเปลี่ยนเกรนใหมไมมาก (Grain Growth) เนื่องจากมีบริเวณกระทบ รอนแคบ การถายโอนความรอนเขาสูงานไมมากทําใหงานเชื่อมบิดตัวนอย 2. ใหคุณสมบัติตอการหลอมลึกดี จึงมีประสิทธิภาพในการเชื่อมบากมุมแคบ และยังลดขนาดของรอยเชื่อมฉาก (Fillet Weld) ได อีกดวยเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการเชื่อมแบบอื่น 3. เมื่อเปรียบเทียบการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมกับการเชื่อมไฟฟาดวยลวดเชื่อมแลวนั้น การเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมจะสามารถ เชื่อมงานไดรวดเร็วกวา และสามารถเดินแนวเชื่อมไดยาวและตอเนื่องทําใหมีความสะดวก เนื่องจากการเชื่อมแนวยาวนั้น ไมตอง เสียเวลาในการเปลี่ยนลวดเชื่อมบอย ๆ


4. สามารถเชื่อมตอเนื่องไดโดยไมตองหยุดเปลี่ยนลวดเชื่อมทําใหเชื่อมรอยเชื่อมที่มีความยาวมากได 5. สามารถเชื่อมไดทั้งแบบธรรมดาและ แบบออโตเมติก 6. สามารถเชื่อมไดทุกตําแหนงแนวเชื่อม 7. สามารถเชื่อมงานโลหะไดเกือบทุกชนิด เชน เหล็กกลาคารบอน (CarbonSteel) เหล็กกลาไรสนิม (Stainlesssteel) อลูมิเนียม (Aluminum) ทองแดง (Copper) เปนตน 8. น้ําหนักโลหะของลวดเชื่อมที่เติมลงสูบอหลอมเหลวมีปริมาณที่แนนอนในหนึ่งหนวยเวลา 9. ไมตองขจัดแสลกที่ปกคลุมรอยเชื่อม มีโลหะกระเด็นไมมากจึงประหยัดคาใชจายในการทําความสะอาดงานเชื่อม 10. ไมมีสแลก (Slag) จึงไมมีปญหาฟลักซรวมตัวกับแนวเชื่อมหรือสแลกฝงใน (Slag Inclusion) ขอดีของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม


ขอเสียของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม 1. เครื่องเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมมีราคาแพงกวาเครื่องธรรมดาทั่วไป 2. มีอุปกรณและสวนประกอบมากทําใหไมสะดวกในการเคลื่อนยาย 3. การตั้งคาตัวแปรการเชื่อมตาง ๆ ตองมีความเขาใจ และฝกมาอยางดี 4. หัวฉีดแกสมีขนาดใหญทําใหมองบอหลอมเหลวและทิศทางการเคลื่อนที่ของหัวเชื่อมไดไมชัดเจน 5. สายเชื่อมมีระยะจํากัด เชื่อมงานที่อยูหางมากไมได 6. บริเวณลมแรงตองจัดหาที่ปองกันไมใหลมพัดเอาแกสปกคลุมหลุดออกจากแนวเชื่อมได


การเชื่อม FluxCoreWireเปนกระบวนการเชื่อมอารกที่เกิดขึ้นระหวางลวดเชื่อมกับชิ้นงานซึ่งลวดเชื่อมจะถูกปอนลงสูบอ หลอมเหลวอยางตอเนื่อง และแกสปกคลุมบริเวณการอารกจะไดมาจากฟลักซที่บรรจุอยูภายในลวดเชื่อมเผาไหมขณะทําการอารก ซึ่งการ เชื่อมนี้สามารถจะเลือกใชแกสคลุมหรือไมใชก็ไดขึ้นอยูกับการเลือกใชลวดเชื่อม การเชื่อม Flux Core Wire เปนการเชื่อมลักษณะเดียวกันกับการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมจะแตกตางกันที่ลวดเชื่อมเทานั้นโดย การเชื่อม Flux Core Wire จะแบงออกเปนแบบใชแกสปกคุมจากภายนอกและใชแกสปกคลุมที่เกิดจากการเผาไหมของฟลักซที่บรรจุ ภายในลวดเชื่อม 2. กระบวนการเชื่อม Flux Core Wire


การเชื่อม Flux Core Wire นี้เริ่มจากเมื่อปี พ.ศ. 2463 ได้คิดค้นการเชื่อมไฟฟ้ าด้วยมือขึ้นแต่ในสมัยนั้น การตรวจสอบเนื้อโลหะเชื่อม พบว่าไม่มีคุณภาพ เมื่อการอาร์กและบ่อหลอมเหลวของเนื้อโลหะเชื่อมถูกรบกวนให้เสียหายจากอากาศโดยรอบ ต่อมาปลายปี 2463 ได้มีการพัฒนา ลวดเชื่อมเพือให้ลดการเสียหายภายในเนื ่ ้อโลหะลงได้ ทังนี้ ้เนื่องมาจากแก๊สปกคลุมเกิดขึ้นจากการเผาไหม้ของสารพอกหุ้ม หรือฟลักซ์กลายเป็นควัน หรือ ไอระเหย ทําหน้าที่ปกคลุมและป้ องกันแก๊สออกซิเจนและแก๊สไฮโดรเจน ที่อยู่ในอากาศ มิให้เข้ามาผสมกับบ่อหลอมเหลวของโลหะ ทําให้บ่อ หลอมเหลวของโลหะเกิดเป็ นรูพรุนได้ และในปี พ.ศ. 2483 ในวงการอุตสาหกรรมได้เริ่มรู้จักกระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม ทําให้ใน ช่วงเวลานั้นมีความนิยมใช้แก๊สเฉื่อยอยู่ 2 ชนิด คือ แก๊สอาร์กอน และแก๊สฮีเลี่ยม นํามาใช้เป็นแก๊สปกคลุมมากที่สุด และจากผลการวิจัยโดยการนํา ลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้มนําไปทําการเชื่อมโดยใช้แก๊สปกคลุมนอกเข้ามาปกคลุมการอาร์ก มีผลทําให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้น ช่วยให้เนื้อ โลหะเชื่อมได้คุณภาพอย่างดีเยี่ยม จากผลการวิจัยในครังนี้ ้ทําให้เกิดการเชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอนโดยนําแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาเป็นแก๊สปกคลุม ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2493 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถูกนําไปใช้ร่วมกับการเชื่อมอีกรูปแบบหนึ่งโดยใช้ลวดเชื่อมที่มีฟลักซ์บรรจุอยู่ภายในแกนลวด กระบวนการเชื่อมนี้ได้ถูกนํามาสาธิตในงานแสดงสินค้าที่เมือง บัฟฟาโล่และนิวยอร์ก ในเดือนพฤษภาคม พ. ศ. 2497 สําหรับลวดเชื่อมได้ถูก พัฒนาขึ้นอีกในปี พ. ศ. 2500 ในฟอร์มรูปแบบที่เรารู้จักลวดเชื่อม Flux Core Wire จนถึงปัจจุบัน ความเปนมาของการเชื่อม Flux Core Wire


การเชื่อม Flux Core Wire


การเชื่อม FluxCoreWire กระบวนการเชื่อมนี้ จะเปนการเชื่อมดวยวิธีการอารกระหวางลวดเชื่อมซึ่งมีภายในกลวงแตบรรจุดวยฟ ลักซซึ่งเรียกวาลวดเชื่อมไสฟลักซและฟลักซภายในลวดเชื่อมจะทําหนาที่เปนแกสปกคลุมแนวเชื่อมทําใหเกิดการอารกที่สมบูรณเพิ่ม คุณภาพเชิงกลและชวยสรางรูปรางรอยเชื่อมใหเหมือนกับการเชื่อมดวยลวดเชื่อมไฟฟา จะแตกตางกันที่ลวดเชื่อมไฟฟา ฟลักซจะหุมอยู ดานนอกทําหนาที่เปนตัวปองกันบรรยากาศจากภายนอก การเชื่อม FluxCoreWire เปนการเชื่อมวิธีเดียวกันกับการเชื่อมอารกโลหะแกส คลุม โดยนําแกสคารบอนไดออกไซดมาเปนแกสปกคลุมเพื่อปองกันบรรยากาศจากภายนอกเขามาทําปฏิริยาภายในรอยเชื่อมในขณะทํา การเชื่อมแตการเชื่อม FluxCoreWire จะใชลวดเชื่อมไสฟลักซมาทําการเชื่อม และในการเชื่อม FluxCoreWire จะแบงได 2 แบบ ดังตอไปนี้ 1. แบบใชแกสปกคลุมภายนอก (Gas Shield Flux Core Arc Welding) 2. แบบสร้างแก๊สปกคลุมด้วยฟลักซ์(Self- Shield Flux Core Arc Welding) 2.2 หลักการเชื่อมเบื้องตนของการเชื่อม Flux Core Wire


การเชื่อม Flux Core Wire แบบใชแกสปกคลุมภายนอก 2.2.1 แบบใชแกสปกคลุมภายนอก


การเชื่อม Flux Core Wire แบบสร้างแก๊สปกคลุมด้วยฟลักซ์ 2.2.2 แบบสรางแกสปกคลุมดวยฟลักซ


การเชื่อม FluxCoreWire จะมีการใช้กระแสสลับบ้างกับลวดเชื่อมไส้ฟลักซ์ชนิดพิเศษ และเมื่อใช้ลวดเชื่อมกระแสสลับเครื่องเชื่อม จะต้องเป็นเครืองเชื่ ่อมกระแสสลับชนิดกระแสตรงคงที่ CC (Constant Current) และระบบป้ อนลวดจะเป็นแบบไวต่อแรงดัน การตอวงจรของเครื่องเชื่อมและอุปกรณตางๆ ในกระบวนการเชื่อม Flux Core Wire


กระบวนการเชื่อม Flux Core Wire นี้นิยมใช้กันมากในการเชื่อมระบบกึ่งอัตโนมัติ และระบบอัตโนมัติแบบเต็มรูปแบบ แต่ ยังมีข้อจํากัดในการเชื่อมอยู่บ้าง เช่น ไม่สามารถเชื่อมได้คล้องตัวหรือสะดวกเหมือนการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมไฟฟ้ าที่ควบคุมด้วยมือ แต่ สามรถเชื่อมต่อเนื่องได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนลวดเชื่อม และการเชื่อม Flux Core Wire สามารถเชื่อมได้ทุกท่า ทัง้นี้จะขึ้นอยู่กับขนาดของ ลวดเชื่อมที่ใช้ในการเชื่อมและชนิดของลวดเชื่อมนั้น ๆ 2.4 การนําไปใชงาน


ขอดี/ขอเสีย ของการเชื่อม Flux Core Wire


1. ใหคุณภาพเนื้อโลหะเชื่อมสูง 2. ใหผิวหนาของงานเชื่อมไดรูปฟอรมที่เรียบสม่ําเสมอ 3. ใหรูปทรงรอยเชื่อมดีเยี่ยมในการเชื่อมรอยตอแบบฟลเล็ทตําแหนงทาระดับ 4. สามารถเชื่อมไดดีกับเหล็กกลาหลายชนิดที่มีขนาดความหนาคอนขางมาก 5. ใหอัตราการเติมลวดสูงและใหความเขมของกระแสเชื่อมสูง 6. มีประสิทธิภาพในการหลอมลวดเชื่อมคอนขางสูง 7. มองเห็นบอหลอมเหลวไดงายเชื่อมไดงายและสะดวก 8. การบิดงอนอยกวาการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม ขอดีของการเชื่อม Flux Core Wire


9. ใหอัตราการหลอมลวดไดสูงกวาการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมถึง 4 เทา 10. เปนกระบวนการเชื่อมที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานระหวาง กระบวนการเชื่อมไฟฟา กระบวนการเชื่อมอารกโลหะดวย แกสคลุมและกระบวนการเชื่อมซับเมอรจ เขาดวยกันทําใหเกิดผลดีมากยิ่งขึ้น 11. ถาใชลวดเชื่อมที่ผลิตแกสปกคลุมไดเองสามารถนําไปใชเชื่อมเหล็กโครงสรางนอกสถานที่ที่มีลมแรงได 12. สามารถเชื่อมตอเนื่องไดโดยไมตองหยุดเปลี่ยนลวดเชื่อมทําใหเชื่อมรอยเชื่อมที่มีความยาวมากได ขอดีของการเชื่อม Flux Core Wire


1. การเชื่อม Flux Core Wire นี้มีขอจํากัดในการเชื่อมโลหะที่เปนเหล็กและโลหะผสมที่มีนิกเกิลผสมหลัก 2. มีแสลกปกคลุมแนวเชื่อมจึงจําเปนตองกําจัดออกทําใหเสียเวลาการทํางาน 3. ลวดเชื่อมไสฟลักคมีราคาแพงกวาลวดเชื่อมอารกโลหะแกสคลุมเมื่อเปรียบเทียบราคาโดยน้ําหนักยกเวนลวดเชื่อม เหล็กกลาเจือสูงในบางตัวเทานั้น 4. อุปกรณที่ใชในการเชื่อมนี้มีราคาแพงและยุงยากกวาการเชื่อมดวยลวดเชื่อมไฟฟา 5. ในกรณีที่ใชแกสปกคลุมภายนอกจะมีผลตอการนําไปใชเชื่อมภายนอกโรงงานที่มีลมแรงทําใหแกสปกคลุมเกิดปญหา 6. มีอุปกรณและสวนประกอบมากทําใหไมสะดวกในการเคลื่อนยาย 7. ใหควันเชื่อมมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม ขอเสียของการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม


การตรวจสอบดวยการพินิจ งานเชื่อมตําแหนงทาเชื่อม 1F 2F 3F และ 4F


1. แว่นขยายและไฟฉาย ใช้ทําหน้าที่ช่วยขยายแนวเชื่อมในการตรวจสอบให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะไฟฉายช่วยให้แสงสว่างมีมากขึ้นทํา ให้มองเห็นจุดบกพร่องบนชิ้นงานเชื่อมได้ชัดเจนมากขึ้นดังแสดงในรูปที่ 60 เหมาะสําหรับใช้ในการตรวจสอบ เช่น ความสมบูรณ์ของจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุด ผิวแนวเชื่อม ตลอดจน รอยขูดขีด รอยเจียระไน รอยสะเก็ดงานเชื่อม เป็นต้น แว่นขยายและไฟฉาย การใช้แว่นขยายและไฟฉายในการตรวจสอบ การตรวจสอบดวยการพินิจ งานเชื่อมตําแหนงทาเชื่อม 1F 2F 3F และ 4F


2. ไมบรรทัดเหล็ก (Steel ruler) เป็นเครืองมือวัดพื่ ้นฐาน ใช้งานง่ายและสะดวกมีหน่วยวัดที่เป็นมาตรฐานเหมาะสําหรับใช้วัดความยาวของชิ้นงาน และแนวเชื่อม ดังแสดงในรูปที่ 62 ด้วยความตรงของไม้บรรทัดเหล็กสามารถนํามาใช้วัดความตรงของแนวเชื่อมได้ ไมบรรทัดเหล็ก การใชไมบรรทัดเหล็กวัดความตรงแนวเชื่อม


3. ใบวัดมุม (Bevel Protractor) เป็นเครืองมือสําหรับวัดหรือตรวจสอบมุมของชิ่ ้นงานซึ้งให้ความละเอียดในการวัดมุมตามมาตรฐานสากลทั่วไป ดัง แสดงในรูปที่ 65 สามารถนํามาใช้วัดมุมองศาของชิ้นงาน และวัดค่าการหดตัวเชิงมุมของแนวเชื่อม (Distortion) ได้ ใบวัดมุม การใชใบวัดมุมวัดคาการหดตัวเชิงมุมของแนวเชื่อม


4. (V-WAC Gauge) เป็นเครืองมือสําหรับตรวจสอบงานเชื่ ่อม เหมาะสําหรับการวัดรอยกัดแหว่ง (Undercut) ของแนวเชื่อม และยังสามารถวัด ขนาดของรูพรุนบนแนวเชื่อมได้ (V-WAC Gauge) การใช (V-WAC Gauge) วัดรอยกัดแหว่ง


การใช (V-WAC Gauge) วัดรูพรุนบนแนวเชื่อม


5. เกจวัดแนวเชื่อมอเนกประสงค (Multi Welding gauge) มาตรฐานญี่ปุน (JIS) เปนเครื่องมือวัดงานเชื่อม สามารถวัดงานเชื่อมได หลายลักษณะงาน เชน วัด (คา a) ของแนวเชื่อม (Actual Throat) วัดขนาดขาของแนวเชื่อม (Leg size of weld) เปนตน เกจวัดแนวเชื่อมอเนกประสงค การใชเกจวัดแนวเชื่อมอเนกประสงควัดขนาด (คา a) ของแนวเชื่อม


การใชเกจวัดแนวเชื่อมอเนกประสงคขนาดขาของแนวเชื่อม


หนวยที่ 2 เทคนิคการเชื่อมอารกโลหะแกสคลุม ตําแหนงทาเชื่อม 1F


ชิ้นงานเชื่อมตําแหนงทาเชื่อม 1F


เบิกเครืองมือและชุดอุปกรณ์ป้ องกัน ่อันตราย การเบิกชุดอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย เครืองมือ วัสดุ และอุป่ กรณ์การเชื่อม การสวมชุดป้ องกันอันตราย


1.การตัดชิ้นงาน ใชเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) เพราะสามารถตัดชิ้นงานได้ครังละหลายชิ้ ้นและ รวดเร็ว โดยตัดตามความยาวที่ใบงานกําหนด การตัดชิ้นงานดวยเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน การเตรียมชิ้นงาน


1. ตะไบตกแตงชิ้นงาน เก็บรายละเอียดบริเวณขอบของชิ้นงาน การตะไบตกแตงชิ้นงาน การเตรียมชิ้นงานกอนเชื่อมยึด (Tack)


2. เจียระไนเปดผิวงาน ทําการเจียระไนเปดผิวงานบริเวณขอบชิ้นงาน ดานทําการเชื่อมเพื่อใหผิวบริเวณแนวเชื่อมสะอาดไรสารมลทินเจือ ปนในขณะเชื่อม การเจียระไนเปดผิวงาน ลักษณะการเปดผิวงานของชิ้นงาน


เตรียมเครื่องเชื่อม 1. เปดสวิตชเครื่องเชื่อม การเปิดสวิตช์เครืองเชื่ ่อม 2. ทําการปรับความเร็วลวดเชื่อมเพื่อใหกระแสไฟ ในการเชื่อมเหมาะสมกับชิ้นงาน การปรับความเร็วลวดเชื่อม 3. ปรับแรงดันแกสใหเหมาะสมกับอุปกรณการ เชื่อมและชิ้นงาน การปรับแรงดันแก๊ส


การจับยึดชิ้นงาน วางชิ้นงานกอนทําการเชื่อมยึด


2. การเชื่อมยึด ทําการเชื่อมยึด 2 จุด บริเวณมุมด้านหลังของแผ่นเหล็กที่ตังฉากกัน โดยเชื ้ ่อมที่ปลายชิ้นงานทัง ้2 ด้าน ซึ่งมีความยาวจุดละไม่น้อย กว่า 10 มิลลิเมตร และยาวไม่เกิน 15 มิลลิเมตร โดยจะเชื่อมจากขอบชิ้นงานเข้ามา การเชื่อมยึดชิ้นงาน ดานหลังและปลายชิ้นงานทั้ง 2 การเชื่อมยึดจากขอบชิ้นงานเข้ามา


3. ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน เมื่อเชื่อมยึดชิ้นงานเสร็จใหนําชิ้นงานมาทําการปรับมุมใหได 90 องศา และใชเครื่องมือใบวัดมุม (Bevel Protractor) ช่วยในการตรวจสอบองศาของชิ้นงาน ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน


7. ติดตั้งชิ้นงาน ใหวางชิ้นงานอยูในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F โดยวางชิ้นงานลงบนเหล็กรางตัววีที่เตรียมไว้ตามแนวยาวโดยลักษณะของ ชิ้นงานเมื่อวางแล้วจะเป็นรูปตัววี ให้ทําการตรวจสอบชิ้นงานว่ามั่นคงหรือไม่ มีการขยับของชิ้นงานก่อนทําการปฏิบัติงานเชื่อมหรือไม่ การติดตั้งชิ้นงานในตําแหนงเชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F


1. การเริ่มตนอารก จะเริ่มตนจากขอบชิ้นงาน ดังแสดงในรูปที่ โดยกดสวิตชที่หัวเชื่อมเพื่อจายกระแสไฟเชื่อมทําการ เชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F โดยการทํามุมหัวเชื่อมกับชิ้นงาน 10-15องศา (ดูจากด้านข้าง) และทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจาก ด้านหน้า) การเริ่มตนอารกจากขอบชิ้นงาน การทํามุมลวดเชื่อม 10-15 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากด้านข้าง) การทํามุมลวดเชื่อม 45 องศา กับชิ้นงาน (ดูจากดานหนา) 8. เริ่มทําการเชื่อม


2. การควบคุมความกวางของแนวเชื่อม ในการเชื่อมตอตัวทีทาราบ 1F ทําได้โดยการส่ายลวดเชื่อม และการเคลือนที่ลวดเชื ่ ่อมโดยรักษา ความเร็ว และระยะอาร์กให้สมํ่าเสมอจะช่วยให้การหลอมลึกสมบูรณ์ และความกว้างของแนวเชื่อมสมํ่าเสมอ โดยในท่าเชื่อมนี้จะนิยมใช้การส่ายลวด เชื่อมแบบตัว C เพราะจะง่ายต่อการควบคุมแนวเชื่อมมากกว่าการส่ายลวดเชื่อมในลักษณะอืน่ แนวเชื่อมต่อตัวทีท่าราบ 1F การสายลวดเชื่อมแบบตัว C


3. จุดสิ้นสุดแนวเชื่อมบริเวณขอบชิ้นงานใหทําการหยุดและเติมบอหลอมเหลวปลายแนวเชื่อม (Crater) ให้เต็ม เติมลวดเชื่อมลงในบ่อหลอมเหลวปลายแนวเชื่อมให้เต็ม


นําชิ้นงานทําการเชื่อมเสร็จมาทําความสะอาดดวยแปรงลวดและรอใหชิ้นงานเย็นตัวประมาณ 10 นาที ทําการไลแกสคลุม ออกจากระบบเครื่องเชื่อม ปดเกจวัดแรงดัน ปดสวิตชเครื่อง เก็บชุดปองกันอันตรายในการปฏิบัติงานเชื่อม เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ ที่ใชในการปฏิบัติงาน สงคืนที่หองเครื่องมือ ทําความสะอาดบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อม และผูปฏิบัติงานนําชิ้นงานไปทําการ ตรวจสอบงานเชื่อมดวยการพินิจ (Visual Testing) เบื้องต้นก่อนนําชิ้นงานเชื่อมส่งให้แก่ครูผู้ตรวจ ต่อไป ชิ้นงานเชื่อมเสร็จ 10. การปฏิบัติงานหลังทําการเชื่อมเสร็จ


หนวยที่ 2 เทคนิคการเชื่อม Flux Core Wire ตําแหน่งท่าเชื่อม 1F


ชิ้นงานเชื่อมตําแหนงทาเชื่อม 1F


เบิกเครืองมือและชุดอุปกรณ์ป้ องกัน ่อันตราย การเบิกชุดอุปกรณ์ป้ องกันอันตราย เครืองมือ วัสดุ และอุป่ กรณ์การเชื่อม การสวมชุดป้ องกันอันตราย


1.การตัดชิ้นงาน ใชเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) เพราะสามารถตัดชิ้นงานได้ครังละหลายชิ้ ้นและ รวดเร็ว โดยตัดตามความยาวที่ใบงานกําหนด การตัดชิ้นงานดวยเครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน การเตรียมชิ้นงาน


1. ตะไบตกแตงชิ้นงาน เก็บรายละเอียดบริเวณขอบของชิ้นงาน การตะไบตกแตงชิ้นงาน การเตรียมชิ้นงานกอนเชื่อมยึด (Tack)


Click to View FlipBook Version