แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม รหัส 63040107107 สาขาวิชา พระพุทธศาสนา การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 รหัสวิชา ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 1) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ที่ พิเศษ/ …………………………..………… วันที่ 6 เดือน ตุลาคม 2566 เรื่อง ขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 เรียน ผู้อํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ข้าพเจ้า นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม รหัสนักศึกษา 63040107107 ตําแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครูได้จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส14101 กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 40 แผน ใช้สอนภายในภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2566 และได้ดําเนินการจัดการทําแผนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวพร้อมทั้งได้จัดส่งแผนตามที่กําหนด เป็นที่เรียบร้อย จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ ลงชื่อ………………………………….. ( นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู บันทึกการนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ รายการ ผลการนิเทศ 1. องค์ประกอบแผนการจัดการ เรียนรู้ สมบรูณ์ ไม่สมบรูณ์ 2. อื่นๆ………………………….……… ………………………………………………………… ………………………………….……………………… ………………………………………………………… ลงชื่อ …………………………………………. (นางสาวยุพิน จักรทองดี) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคิดเห็นของผู้บริหาร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (รองศาสตราจารย์ ดร.วรัญญา จีระวิพลูวรรณ) ผู้อํานวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ค าอธิบายรายวิชา รายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี ศึกษาความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สรุปพุทธประวัติ ตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึง ประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ หรือปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดําเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติ สาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา และหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคลใน ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต สวดมนต์ แผ่เมตตา มี สติ มีสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่นับถือ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือ หรือปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย เป็นผู้นํา ผู้ตามที่ดี วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคน พึงได้รับตามกฎหมาย ศึกษา วิเคราะห์ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข อํานาจ อธิปไตยความสําคัญของระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในการเลือกตั้ง ความสําคัญของสถาบัน พระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ป๎จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้า และบริการ สิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ในฐานะผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนําไปใช้ใน ชีวิตประจําวัน ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคน ในชุมชน หน้าที่เบื้องต้นของเงิน สืบค้น ระบุ ข้อมูลลักษณะ ทางกายภาพ แหล่งทรัพยากรและสถานที่สําคัญในจังหวัด อธิบาย วิเคราะห์ ลักษณะและสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สําคัญ การดําเนินชีวิตของคนในจังหวัด การเปลี่ยนแปลงและผลการ เปลี่ยนแปลง พร้อมทั้งนําเสนอแนวทางจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ป๎ญหา ใช้แผนที่และรูปถ่ายในการสืบค้น วิเคราะห์ อธิบาย และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การตั้งคําถามเชิงภูมิศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะ การสังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การใช้เทคนิคและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การสรุปเพื่อตอบคําถาม รวมถึงทักษะด้านการคิด และการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต ความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ ทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่อสาร ความสามารถในการคิด มี คุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ส 1.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ส 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 3.2 ป.4/1 ป.4/2 ส 5.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ส 5.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 รวม 30 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชา สังคมศึกษาฯ ป.4 ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 1 ประวัติและ ความสําคัญของ ศาสนา ส 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/8 ศาสนามีความสําคัญในฐานะเป็นศูนย์รวม จิตใจของศาสนิกชน การศึกษาประวัติของ ศาสนา ศาสดาของแต่ละศาสนา จะทําให้เกิด ความเข้าใจศาสนาต่างๆ มากขึ้น และ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข 4 2 หลักธรรมของศาสนา ส 1.1 ป.4/4 ป.4/7 ศาสนาต่างๆ จะมีหลักธรรมคําสอนที่แตกต่าง กัน การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ ตนนับถือ เพื่อให้อยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่าง สมานฉันท์ 3 3 เชื่อมั่นในการทําความ ดี ส 1.1 ป.4/3 ป.4/5 แบบอย่างการดําเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติพระสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิก ชนตัวอย่างเป็นแนวทางให้เกิดการทําความดี ของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และ ชุมชนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ 4 4 ศาสนิกชนที่ดี ส 1.1 ป.4/6 ส 1.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ศาสนิกชนที่ดีต้องประพฤติปฏิบัติตนในศาสน พิธี และพิธีกรรมในวันสําคัญทางศาสนา ตาม มรรยาทของศาสนาและมีส่วนร่วมในการ บํารุงรักษาศาสน-สถานที่ตนนับถือ 7 5 สมาชิกที่ดีของชุมชน ส 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/5 สมาชิกที่ดีของชุมชนย่อมต้องเข้าร่วมกิจกรรม ตามวิถีประชาธิปไตย เป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี และคํานึงถึงสิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับ และสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 7 6 วัฒนธรรมท้องถิ่น ส 2.1 วัฒนธรรมเป็นแบบแผนของวิถีการดําเนินชีวิต ป.4/4 ซึ่งมีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น 5 7 การปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ส 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ประชาชนมีบทบาท หน้าที่ เสรีภาพ และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามระบอบ ประชาธิปไตย ร่วมกันไปเลือกตั้ง เคารพใน สถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีบทบาทสําคัญต่อ การปกครอง 6
8 การบริโภคสินค้าและ บริการ ส 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป๎จจัยสําคัญที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ บริการนั้นมีหลายประการ ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขาย ตัวสินค้า ซึ่งผู้บริโภคมีสิทธิพื้นฐาน และรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะ ผู้บริโภค 8 ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 9 เศรษฐกิจพอเพียง ส 3.1 ป.4/3 หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางใน การนําไปใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวันอย่างมี ดุลยภาพ 5 10 เศรษฐกิจชุมชนใน ประเทศไทย ส 3.2 ในแต่ละชุมชนย่อมมีอาชีพ สินค้า และบริการ ป.4/1 ต่างๆ ที่ผลิตในชุมชน จึงต้องมีการพึ่งพา อาศัยกันภายในชุมชน มีการสร้างความ เข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่ผลิตใน ชุมชน 6 11 เงินทองของมีค่า ส 3.2 เงินมีหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้า ป.4/2 และบริการต่างๆ ในแต่ละประเทศจะมีสกุลเงิน ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ 5 12 การใช้แผนที่และ ภาพถ่าย ส 5.1 ป.4/1 แผนที่และรูปถ่ายเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดง ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากรและ สถานที่สําคัญในจังหวัดของตน 4 13 จังหวัดของเรา ส 5.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 - แผนที่และรูปถ่ายเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดง ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากรและ สถานที่สําคัญในจังหวัดของตน - ลักษณะทางกายภาพส่งผลให้เกิดแหล่ง ทรัพยากรและสถานที่สําคัญในจังหวัด 8 14 สิ่งแวดล้อมในจังหวัด ส 5.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 - ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ ทรัพยากรธรรมชาติส่งผลต่อการดําเนินชีวิต ของคนในจังหวัดและขณะเดียวกันการ ดําเนินชีวิตของคนในจังหวัดก็ส่งผลให้เกิด การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของ 8
จังหวัดด้วย - การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการ ดําเนินชีวิตของคนในจังหวัด - การจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัดเป็นหน้าที่ ของทุกคนในจังหวัด
แผนการจัดการเรียนรู้1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 บทที่ 1 ประวัติและความสําคัญของศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ 24 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1ป.4/1 อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็น ศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน (K) 2. จําแนกความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน (P) 3. เห็นความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน (A) 3. สาระส าคัญ พระพุทธศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน เป็นศูนย์รวมการทําความดี พัฒนาจิตใจมีศาสน สถานเป็นที่ประกอบศาสนพิธี และเป็นแหล่งปฏิบัติกิจกรรมทางสังคม เพื่อให้เกิดความสงบสุข 4.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีจิตสาธารณะ 4. มุ่งมั่นในการทํางาน
6.สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. พระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ 2. วัดเป็นศูนย์รวมการทําความดีและพัฒนาจิตใจ 3. วัดเป็นสถานที่ประกอบศาสนาพิธี 4. วัดเป็นแหล่งทํากิจกรรมทางสังคม 7.สื่อการเรียนรู้ 1. วิดีโอ เรื่องความสําคัญของศาสนา 2. หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนสังเกตภาพพุทธศาสนิกชนไปประกอบศาสนพิธีที่วัด เช่น ภาพการทําบุญตักบาตร ภาพการฟ๎งเทศน์ ภาพการเวียนเทียน จากนั้นร่วมกันสนทนา โดยใช้คําถาม ดังนี้ 1.1 บุคคลในภาพกําลังทําอะไร (ตัวอย่างคําตอบ ทําบุญตักบาตร) 1.2 การกระทําของบุคคลในภาพเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างไร (ตัวอย่างคําตอบ เป็นการปฏิบัติตนในการเข้าพิธีกรรมในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา) 2.ครูให้นักเรียนดูภาพที่เกี่ยวกับ 2.1 วัดที่ชื่อดังจังหวัดอุดรธานี เช่น วัดศิริสุทโธคําชะโนด เพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน แล้วถามคําถามว่า ถ้าเราต้องไปวัดศิริสุทโธคําชะโนด ต้องเราต้องทําอะไรบ้าง (ตัวอย่างคําตอบ ไหว้พระ ปล่อยนก ใส่บาตร) ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียน เรียนผ่านวิดีโอ และสื่อประกอบในการเรียน ในบทเรียนเรื่องความสําคัญของศาสนา ซึ่ง ครูอธิบายความหมายของศาสนา 2. ครูสุ่มนักเรียนโดยเกมส์สุ่มวงล้อ เพื่อให้นักเรียนดูภาพแล้วตอบคําถามที่เกี่ยวกับวันสําคัญต่างๆ เช่น ภาพ ทําบุญตักบาตร การแต่งงาน การทําบุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น โดยตอบประเด็นคําถามต่อไปนี้ 2.1 เป็นภาพเกี่ยวกับอะไร 2.2 นักเรียนเคยเข้าร่วมงานนี้หรือไม่ ถ้านักเรียนเคยเข้าร่วมแล้ว นักเรียนปฏิบัติตนอย่างไร ขั้นที่ 3 ขั้นฝึกฝนผู้เรียน 1. ครูให้นักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแล้วช่วยเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 ขั้นน าไปใช้ 1. ครูแนะนําให้นักเรียนนําความรู้เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ไปเผยแพร่ให้กับคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือคนในชุมชนของตัวเองให้รู้และเข้าใจ 2. ครูนักเรียนนําความรู้เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ไปประยุกต์ในชีวิตประจําวัน ขั้นที่ 5 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ โดยการตั้งข้อคําถาม เช่น งานวันเกิด งานบวช งาน ขึ้นบ้านเป็นงานแบบไหน
2. ครูมอบมายให้นักเรียนทบทวนเนื้อหา และให้อ่านเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติ เรื่องสรุปพุทธประวัติ เสด็จ ออกผนวช ตรัสรู้ เป็นการบ้านเพื่อเตรียมจักการเรียนรู้ในครั้งต่อไป 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวม จิตใจของศาสนิกชน (K) ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา (P) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทํางานรายบุคคล สังเกตพฤติกรรมการ ทํางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 3.เห็นความสําคัญของ พระพุทธศาสนาใน ฐานะที่เป็นศูนย์รวม จิตใจของชาวพุทธ (A) แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ สังเกตความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทํางาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
10. บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน 1. เนื้อหาสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านสมรรถนะของผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 4. ป๎ญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...……………………………………………………………………………………………………………ข้อเสนอแนะ/ แนวทางแก้ไข ทางแก้ไข……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………….....………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม) ครูผู้สอน
11.ความคิดของครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวยุพิน จักรทองดี ) ครูพี่เลี้ยง
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง พิธีกรรมทางศาสนา ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนบรรยายความสําคัญของพิธีกรรมทางศาสนาที่นักเรียนนับถือ และติดภาพประกอบ (ติดภาพประกอบ) พิธีกรรมนี้มีความผูกพันกับวิถีชีวิต ดังนี้
แบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล ลําดับ ที่ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม / ระดับคะแนน ความ สนใจใน การทํา กิจกรรม การมีส่วน ร่วมใน การแสดง ความ คิดเห็น การตอบ คําถาม การ ยอมรับฟ๎ง ความ คิดเห็น ผู้อื่น ทํางาน ตามที่ ได้รับ มอบหมาย รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 เด็กชายกิตติ์ชนนต์ กองเพชร 2 เด็กชายจิณณจักษ์ ภูโอบ 3 เด็กชายฉันทวัฒน์ อมตฉายา 4 เด็กชายชยพล ทัศพงษ์ 5 เด็กชายชุติพนธ์ ลีพฤติ 6 เด็กชายณัฐกิตติ์ ภัทรชัยทิศ 7 เด็กชายณัฐชากร โชคบัณฑิต 8 เด็กชายตรัสติณณ์ บุษบา 9 เด็กชายติรคุณ นครไพร 10 เด็กชายตุลย์ธีร์ เอิ่ง 11 เด็กชายธนา ลิ้มสุวรรณ 12 เด็กชายธราธิษณ์ เอกตาแสง 13 เด็กชายนิธิศ เจียมวิจิตร 14 เด็กชายปรมินทร์ เจตบุตร 15 เด็กชายปุณณภักต์ พาเทียม 16 เด็กชายภูมิพิพัฒน์ จันทะราช 17 เด็กชายภูมิศาสตร์ จักรทองดี 18 เด็กชายวัฒนชัย นามบุตร 19 เด็กชายวีรโชค โคตรเหง้า 20 เด็กชายวีรโชติ โคตรเหง้า 21 เด็กชายอัฏฐวัฒน์ พรมทอง 22 เด็กชายอิทธิฤทธิ์ บัวคํา 23 เด็กชายเอกรินทร์ นาบุดดา
24 เด็กชายณชัยกร พุทธามาตย์ 25 เด็กชายวายุ พลเชียงดี 26 เด็กชายนนท์ปวิทธ์ ธนานุประดิษฐ์ 27 เด็กหญิงจิณณพัต จําปาไทย 28 เด็กหญิงชญาณ์นันท์ ธรรมบํารุง 29 เด็กหญิงเฌอ วรวงศ์เทพ 30 เด็กหญิงณิชนันทน์ เลิศธนะแสง ธรรม 31 เด็กหญิงณิชาภัทร บึงไสย์ 32 เด็กหญิงธัญม์สิตา ชื่นเย็น 33 เด็กหญิงบุญญาพร สุวรรณโค 34 เด็กหญิงปพิชญา แสงแจ่ม 35 เด็กหญิงปาลิตา สารภาพ 36 เด็กหญิงปุญญตา ราชธา 37 เด็กหญิงพณิตพิชา พาโฮม 38 เด็กหญิงพิชชาภา นามท้าว 39 เด็กหญิงพิชชาภา ยอดคีรี 40 เด็กหญิงเพียงพอ เฮ้งศรีวณิชกุล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 15 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง คะแนน 9 - 12 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุง คะแนน 5 – 8 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ร้อยละ 60 ( 9 คะแนน ) ลงชื่อผู้ประเมิน ......................................................
ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลัก ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่ โรงเรียนจัดขึ้น 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ใน ชีวิตประจําวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนําไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟ๎งคําสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยู่อย่าง พอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทํางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสําเร็จ 7. รักความเป็น ไทย 7.1 มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทํางาน
8.2 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ........../.................../........... เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 บทที่ 1 ประวัติและความสําคัญ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง สรุปพุทธประวัติ การตรัสรู้ ประกาศธรรม เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ 29 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1ป.4/2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดา ที่ตนนับถือตามที่กําหนด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายประวัติของพระพุทธเจ้า (K) 2. นําข้อคิดจากพุทธประวัติมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง (P) 3. สนใจศึกษาหาความรู้ ความสําคัญในการเรียนรู้พุทธประวัติ (A) 3. สาระสําคัญ พุทธประวัติเป็นประวัติเรื่องราวของพระพุทธเจ้า สรุปเหตุการณ์หลังประสูติถึงการเสด็จออกผนวชการตรัสรู้ และการประกาศธรรม 4.สาระการเรียนรู้แกนกลาง 5. สรุปพุทธประววัติ 6. เสด็จออกผนวช 7. ตรัสรู้ 8. ประกาศธรรม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีจิตสาธารณะ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 7.สื่อการเรียนรู้ 3. วิดีโอ เรื่อง พุทธประวัติ 4. หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแจ้งวัตถุประสงค์ที่จะเรียน 1.2 ครูสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนมีเกมส์เปิดป้ายทายคําให้นักเรียน โดยให้นักเรียนเปิดรูปภาพแล้วให้ทายว่าภาพที่นักเรียนเปิดคือภาพอะไร (ตัวอย่างคําตอบ การตรัสรู้ธรรม บําเพ็ญทุกกริยา ออกผนวช) 1.3 ครูทบทวนความรู้ เดิมที่เคยเรียนผ่านมาแล้วชวนนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่เนื้อหา 1.4 ครูให้นักเรียนดูภาพที่เกี่ยวกับพุทธประวัติ เพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนโดยตอบประเด็นคําถาม ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 2.1 ครูให้นักเรียน เรียนผ่านวิดีโอ และสื่อประกอบในการเรียน ในบทเรียนเรื่องพุทธประวัติ 2.2 ครูสุ่มนักเรียนโดยเกมส์การจับฉลาก เพื่อให้นักเรียนดูภาพแล้วตอบคําถามที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่สําคัญ โดยตอบประเด็นคําถามต่อไปนี้ 1. เป็นภาพเกี่ยวกับเหตุการณ์อะไร และเกิดขึ้นเมื่อใด 2.นักเรียนเคยพบเห็นภาพแบบนี้ที่ไหนได้บ้าง ขั้นที่ 3 ขั้นฝึกฝนผู้เรียน 3.1 ครูให้นักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแล้วช่วยเฉลยคําตอบที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 ขั้นน าไปใช้ 4.1 ครูแนะนําให้นักเรียนนําความรู้เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ไปเผยแพร่ให้กับคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือคนในชุมชนของตัวเองให้รู้และเข้าใจ 4.2 ครูนักเรียนนําความรู้เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ไปประยุกต์ในชีวิตประจําวัน ขั้นที่5 ขั้นสรุป 5.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ โดยการตั้งข้อคําถาม เช่น พระพุทธเจ้าประสูติที่ เมืองใด เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระโอรสของใคร เป็นต้น 5.2 ครูมอบมายให้นักเรียนทบทวนเนื้อหา และให้อ่านเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาคริสต์เป็นการบ้านเพื่อเตรียม จักการเรียนรู้ในครั้งต่อไป
9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายประวัติของ พระพุทธเจ้า (K) ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. นําข้อคิดจากพุทธ ประวัติมาปฏิบัติให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเอง (P) แบบประเมินการ นําเสนอผลงาน การนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 3. สนใจศึกษาหา ความรู้ ความสําคัญใน การเรียนรู้พุทธประวัติ (A) แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ สังเกตความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทํางาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
10. บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน 1. เนื้อหาสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านสมรรถนะของผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ป๎ญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ทางแก้ไข……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………….....………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………….....……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม ) ครูผู้สอน
11.ความคิดของครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวยุพิน จักรทองดี ) ครูพี่เลี้ยง
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง พุทธประวัติ ค าชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพุทธประวัติ ตั้งแต่ประสูติจนถึงปรินิพพาน 1. 2. 3. 4. (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานรายบุคคล ชื่อ ชั้น ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กับ ระดับคะแนน ล าดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟ๎งความคิดเห็นของผู้อื่น 3 สนใจศึกษาหาความรู้ 4 ความมีน้ําใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ําเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรับปรุง
แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลัก ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่ โรงเรียนจัดขึ้น 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ใน ชีวิตประจําวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนําไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟ๎งคําสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยู่อย่าง พอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทํางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสําเร็จ 7. รักความเป็น ไทย 7.1 มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทํางาน 8.2 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน
โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../........... เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 บทที่ 1 ประวัติและความสําคัญของศาสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ศาสนาคริสต์ เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ 31 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัดส 1.1 ป.4/8 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายประวัติศาสนาคริสต์ และประวัติศาสดาของศาสนาคริสต์ได้ (K) 2. มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับความสําคัญของศาสนาคริสต์ (P) 3. เห็นความสําคัญของศาสนาคริสต์ในฐานะที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของผู้ที่นับถือ (A) 3. สาระส าคัญ ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นในแดนปาเลสไตน์ มีพระเยซูเป็นศาสดา เกิดขึ้นมาดป็นระยะเวลายาวนาและมีผู้นับถืออยู่ใน ประเทศต่างๆ ทั่วโลก 4.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1 ความสามารถในการสื่อสาร 2 ความสามารถในการคิด 3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. มีวินัย 5. ใฝ่เรียนรู้ 6. มีจิตสาธารณะ 7. มุ่งมั่นในการทํางาน 6.สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ประวัติศาสดา - พระเยซู
7.สื่อการเรียนรู้ 1. วิดีโอ เรื่อง ประวัติของพระเยซู 2. หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโดยสั่งให้นักเรียนนั่งสมาธิ 1 นาที 1.2 ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแจ้งวัตถุประสงค์ที่จะเรียน 1.3 ครูทบทวนความรู้ เดิมที่เคยเรียนผ่านมาแล้วชวนนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่เนื้อหา 1.4 ครูให้นักเรียนดูภาพที่เกี่ยวกับความสําคัญของศาสนาคริสต์ เพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน โดยมี ประเด็นคําถามต่อไปนี้ - รู้จักรูปภาพ รูปไหนบ้าง - วันสําคัญของใคร - นักเรียนรู้หรือไม่ว่าสําคัญอย่างไร ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 2.1 ครูให้นักเรียน เรียนผ่านวิดีโอ และสื่อประกอบในการเรียน ในบทเรียนเรื่องความสําคัญของศาสนา ซึ่ง ครูอธิบายความหมายของศาสนา 2.2 ครูสุ่มนักเรียนโดยเกมส์สุ่มวงล้อ เพื่อให้นักเรียนตอบคําถามที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์ เช่น - พระเยซูเกิดวันที่เท่าไหร่ เกิดที่ไหน - พระองค์อายุกี่ปี - บิดาและมารดาของพระองค์ชื่ออะไร เป็นต้น ขั้นที่ 3 ขั้นฝึกฝนผู้เรียน 3.1 ครูให้นักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับความสําคัญศาสนาคริสต์ในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ รายวิชา พื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมให้นักเรียนทําการบ้าน พร้อมร่วมกันเฉลยในคาบต่อไป ขั้นที่ 4 ขั้นน าไปใช้ 4.1 ครูนักเรียนนําความรู้และหลักธรรมของศาสนาคริสต์ ไปประยุกต์ในชีวิตประจําวัน ขั้นที่4 ขั้นสรุป 5.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ โดยการตั้งข้อคําถามชวนคิด เช่น วันคริสมาส นักเรียนทําอะไรบ้าง 5.2 ครูมอบมายให้นักเรียนทบทวนเนื้อหา และให้อ่านเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม เป็นการบ้านเพื่อเตรียม จักการเรียนรู้ในครั้งต่อไป
9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายประวัติ ศาสนาคริสต์ และ ประวัติศาสดาของ ศาสนาคริสต์ได้ (K) ตรวจใบงานที่ 3.1 ใบงานที่ 3.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับความสําคัญ ของศาสนาคริสต์ (P) สังเกตพฤติกรรมการ ทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทํางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 3. เห็นความสําคัญของ ศาสนาคริสต์ในฐานะที่ เป็นศูนย์รวมจิตใจของ ผู้ที่นับถือ (A) สังเกตพฤติกรรมของ ผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมของ ผู้เรียนโดยการตอบคําถาม ระดับคุณภาพ ๓ ผ่าน เกณฑ์
10. บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน 1. เนื้อหาสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านสมรรถนะของผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 4. ป๎ญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...……………………………………………………………………………………………………………ข้อเสนอแนะ/ แนวทางแก้ไข ทางแก้ไข……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม ) ครูผู้สอน
11.ความคิดของครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวยุพิน จักรทองดี ) ครูพี่เลี้ยง
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ศาสนาคริสต์ ตอนที่ 1 ค าชี้แจง ให้นักเรียนเติมคําตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ศาสนาคริสต์กําเนิดขึ้นในประเทศ 2. ศาสดาของศาสนาคริสต์ คือ 3. วันที่ประสูติ 4. สถานที่ประสูติ 5. มีบิดา ชื่อว่า 6. มีมารดา ชื่อว่า 7. หลักคําสอนสําคัญ ได้แก่ 8. คัมภีร์สําคัญของศาสนาคริสต์ คือ ตอนที่ 2 ค าชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพระเยซู แล้วสรุปข้อมูลตามสํานวนของตนเอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………....................................................................................................................................... ............………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………........................................................................................................................... ........................……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………........................................................................................ (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานรายบุคคล ชื่อ ชั้น ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กับ ระดับคะแนน ล าดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟ๎งความคิดเห็นของผู้อื่น 3 สนใจศึกษาหาความรู้ 4 ความมีน้ําใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ําเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรับปรุง
แบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล ลําดับ ที่ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม / ระดับคะแนน ความ สนใจใน การทํา กิจกรรม การมีส่วน ร่วมใน การแสดง ความ คิดเห็น การตอบ คําถาม การ ยอมรับฟ๎ง ความ คิดเห็น ผู้อื่น ทํางาน ตามที่ ได้รับ มอบหมาย รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 เด็กชายกิตติ์ชนนต์ กองเพชร 2 เด็กชายจิณณจักษ์ ภูโอบ 3 เด็กชายฉันทวัฒน์ อมตฉายา 4 เด็กชายชยพล ทัศพงษ์ 5 เด็กชายชุติพนธ์ ลีพฤติ 6 เด็กชายณัฐกิตติ์ ภัทรชัยทิศ 7 เด็กชายณัฐชากร โชคบัณฑิต 8 เด็กชายตรัสติณณ์ บุษบา 9 เด็กชายติรคุณ นครไพร 10 เด็กชายตุลย์ธีร์ เอิ่ง 11 เด็กชายธนา ลิ้มสุวรรณ 12 เด็กชายธราธิษณ์ เอกตาแสง 13 เด็กชายนิธิศ เจียมวิจิตร 14 เด็กชายปรมินทร์ เจตบุตร 15 เด็กชายปุณณภักต์ พาเทียม 16 เด็กชายภูมิพิพัฒน์ จันทะราช 17 เด็กชายภูมิศาสตร์ จักรทองดี 18 เด็กชายวัฒนชัย นามบุตร 19 เด็กชายวีรโชค โคตรเหง้า 20 เด็กชายวีรโชติ โคตรเหง้า 21 เด็กชายอัฏฐวัฒน์ พรมทอง 22 เด็กชายอิทธิฤทธิ์ บัวคํา
23 เด็กชายเอกรินทร์ นาบุดดา 24 เด็กชายณชัยกร พุทธามาตย์ 25 เด็กชายวายุ พลเชียงดี 26 เด็กชายนนท์ปวิทธ์ ธนานุประดิษฐ์ 27 เด็กหญิงจิณณพัต จําปาไทย 28 เด็กหญิงชญาณ์นันท์ ธรรมบํารุง 29 เด็กหญิงเฌอ วรวงศ์เทพ 30 เด็กหญิงณิชนันทน์ เลิศธนะแสง ธรรม 31 เด็กหญิงณิชาภัทร บึงไสย์ 32 เด็กหญิงธัญม์สิตา ชื่นเย็น 33 เด็กหญิงบุญญาพร สุวรรณโค 34 เด็กหญิงปพิชญา แสงแจ่ม 35 เด็กหญิงปาลิตา สารภาพ 36 เด็กหญิงปุญญตา ราชธา 37 เด็กหญิงพณิตพิชา พาโฮม 38 เด็กหญิงพิชชาภา นามท้าว 39 เด็กหญิงพิชชาภา ยอดคีรี 40 เด็กหญิงเพียงพอ เฮ้งศรีวณิชกุล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม 15 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง คะแนน 9 - 12 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุง คะแนน 5 – 8 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ร้อยละ 60 ( 9 คะแนน ) ลงชื่อผู้ประเมิน ......................................................
แผนการจัดการเรียนรู้4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 บทที่ 1 ประวัติและความสําคัญของศานสนา เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ศาสนาอิสลาม เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ 5 เดือน มิถุนายม พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส1.1 ป.4/8 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสําคัญของศาสนาอิสลาม หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของผู้ที่นับถือ(K) 2. มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับความสําคัญของศาสนาอิสลาม (P) 3. เห็นความสําคัญของศาสนาอิสลามในฐานะที่ป็นศูนย์รวมจิตใจของผู้ที่นับถือ (A) 3. สาระส าคัญ ศาสนาอิสลามถือเป็นศาสนาที่สําคัญศาสนาหนึ่งของโลก เกิดขึ้นที่ตรเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มีนบี มุฮัมมัดเป็นศาสนาของศาสนา 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2.ใฝ่เรียนรู้ 3.มีจิตสาธารณะ 4มุ่งในการทํางาน 6.สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ประวัติศาสดา - นบีมุฮัมมัด 7.สื่อการเรียนรู้ 1. วิดีโอ เรื่อง ประวัตินบีมุฮัมมัด
2. หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่๔ 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโดยสั่งให้นักเรียนปรบมือเป็นจังหวะ เช่น ปรบมือ ๕ ครั้ง 1.2 ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแจ้งวัตถุประสงค์ที่จะเรียน 1.3 ครูทบทวนความรู้ เดิมที่เคยเรียนผ่านมาแล้วชวนนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่เนื้อหา 1.4 ครูให้นักเรียนดูภาพที่เกี่ยวกับบุคคลที่อยู่ในภาพ เพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน ประเด็นคําถาม นักเรียนรู้จักบุคคลที่อยู่หรือไม่ (ตัวอย่างคําตอบคือนบีมุฮัมมัด) ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 2.1 ครูให้นักเรียน เรียนผ่านวิดีโอ และสื่อประกอบในการเรียน ในบทเรียนเรื่องความสําคัญของศาสนา ซึ่ง ครูอธิบายความหมายของศาสนา 2.2 ครูสุ่มนักเรียนโดยให้นักเรียนเอาจับหู แล้วบอกกติกาเพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตามกติกาที่กําหนด 2.3 ให้นักเรียนฟ๎งคําถามแล้วตอบคําถามที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม โดยตอบประเด็นคําถามต่อไปนี้ - ศาสดาของศาสนาอิสลามชื่ออะไร - นบีมุฮัมมัดเกิดที่ไหน วันเมื่อไหร่ - หลักธรรมของศาสนาอิสลามคือไร เป็นต้น ขั้นที่ 3 ขั้นฝึกฝนผู้เรียน 3.1 ครูให้นักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับประวัติของนบีมุฮัมมัด ในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ รายวิชา พื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเป็นการบ้านแล้วส่งในคาบเรียนต่อไป ขั้นที่ 4 ขั้นน าไปใช้ 4.1 ครูแนะนําให้นักเรียนนําความรู้เรื่องประวัติของนบีมุฮัมมัด ไปเผยแพร่ให้กับคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือคนในชุมชนของตัวเองให้รู้และเข้าใจ 4.2 ครูนักเรียนนําความรู้เรื่องหลักธรรมของศาสนาอิสลาม ไปประยุกต์ในชีวิตประจําวัน ขั้นที่5 ขั้นสรุป 5.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ โดยการตั้งข้อคําถามชวนคิด เช่น - นักเรียนเคยเห็นชาวมุสลิมหรือไม่ - นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าคนที่นับศาสนาอิลามเขาแต่งกายกันอย่างไร เป็นต้น 5.2 ครูมอบมายให้นักเรียนทบทวนเนื้อหา และให้อ่านเนื้อหาบทต่อไป เป็นการบ้านเพื่อเตรียมจักการเรียนรู้ ในครั้งต่อไป
9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายความสําคัญ ของศาสนาอิสลาม หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวม จิตใจของผู้ที่นับถือ(K) ตรวจใบงานที่ 4.1 ใบงานที่ 4.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับความสําคัญ ของศาสนาอิสลาม (P) ประเมินการนําเสนอ ผลงาน แบบประเมินการนําเสนอ ผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 3. เห็นความสําคัญของ ศาสนาอิสลามในฐานะ ที่ป็นศูนย์รวมจิตใจ ของผู้ที่นับถือ (A) สังเกตความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทํางาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
10. บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน 1. เนื้อหาสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านสมรรถณะของผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 4. ป๎ญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ทางแก้ไข……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………….....…………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม ) ครูผู้สอน
11.ความคิดของครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางสาวยุพิน จักรทองดี) ครูพี่เลี้ยง
ใบงานที่ 4.1 เรื่อง ศาสนาอิสลาม ค าชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม แล้วสรุปตามประเด็นที่ก าหนด 9. การก าเนิดของศาสนาอิสลาม 10. ประวัติศาสดาของศาสนาอิสลาม 11. หลักธรรมส าคัญของศาสนาอิสลาม 12. พระคัมภีร์ส าคัญของศาสนาอิสลาม (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานรายบุคคล ชื่อ ชั้น ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กับ ระดับคะแนน ล าดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟ๎งความคิดเห็นของผู้อื่น 3 สนใจศึกษาหาความรู้ 4 ความมีน้ําใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ําเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ํากว่า 8 ปรับปรุง
แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลัก ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่ โรงเรียนจัดขึ้น 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ใน ชีวิตประจําวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนําไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟ๎งคําสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยู่อย่าง พอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทํางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสําเร็จ 7. รักความเป็น ไทย 7.1 มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทํางาน
8.2 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../........... เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 บทที่ 2 หลักธรรมของศาสนา เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง พระรัตนตรัยและศรัทธา 4 เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ 7 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.4/4 แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด ป.4/7 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่าง สมานฉันท์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายความหมายหลักธรรมสําคัญของพระพุทธศาสนา (K) 2. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมสําคัญของพระพุทธศาสนาได้ (P) 3.ศรัทธาในการปฏิบัติตนตามหลักธรรมสําคัญของพระพุทธศาสนา (A) 3. สาระส าคัญ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เป็นหลักคําสอนที่มุ่งให้คนเรานําไปใช้ในการดําเนินชีวิต เพื่อให้เข้าใจความเป็นไป ของธรรมชาติ และให้หลุดพ้นจากความทุกข์ และดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข โดยมีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง 4. สาระการเรียนรู้แกนกลาง พระรัตนตรัย : ศรัทธา 4 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีจิตสาธารณะ 4. มุ่งในการทํางาน 6. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 7.สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 2. ใบงาน เรื่อง ศรัทธา 4 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.1 นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความเชื่อในศาสนา โดยใช้คําถาม ดังนี้ - นักเรียนนับถือศาสนาอะไร (ตัวอย่างคําตอบ พระพุทธศาสนา) - ศาสนาที่นักเรียนนับถือสอนในเรื่องใดบ้าง (ตัวอย่างคําตอบ สอนให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ สอนในเรื่องของการทําดีได้ดี ทําชั่วได้ชั่ว) - การที่จะนับถือศาสนาได้อย่างสนิทใจจะต้องมีหลักธรรมใด (หลักศรัทธา) - นักเรียนเข้าใจความหมายของคําว่าศรัทธาว่าอย่างไร (ตัวอย่างคําตอบ การเชื่ออย่างมีเหตุผล พิจารณาไตร่ตรองด้วยป๎ญญา ไม่เชื่อโดยความหลงงมงาย) 1.2 ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแจ้งวัตถุประสงค์ที่จะเรียน 1.3 ครูทบทวนความรู้ เดิมที่เคยเรียนผ่านมาแล้วชวนนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่เนื้อหา ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 2.1 ครูให้นักเรียน เรียนผ่านวิดีโอ และสื่อประกอบในการเรียน ในบทเรียนเรื่องศรัทธา 4 2.2 ให้นักเรียนฟ๎งคําถามแล้วตอบคําถามที่เกี่ยวกับหลักธรรม โดยตอบประเด็นคําถามต่อไปนี้ - ศรัทธรา 4 มีกี่ข้อ อะไรบ้าง - เรานําหลักธรรมศรัทธา 4 ไปใช้ในชีวติอะไรได้บ้าง ขั้นที่ 3 ขั้นฝึกฝนผู้เรียน 3.1 ครูให้นักเรียนทําใบงาน เรื่อง ศรัทธา 4 เป็นการบ้านแล้วส่งในคาบเรียนต่อไป ขั้นที่ 4 ขั้นน าไปใช้ 4.1 ครูแนะนําให้นักเรียนนําความรู้เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ไปเผยแพร่ให้กับคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือคนในชุมชนของตัวเองให้รู้และเข้าใจ 4.2 ครูนักเรียนนําความรู้เรื่อง ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ไปประยุกต์ในชีวิตประจําวัน ขั้นที่5 ขั้นสรุป 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เป็นหลักคําสอนที่มุ่งให้คนเรานําไปใช้ในการดําเนินชีวิต เพื่อให้เข้าใจความเป็นไปของธรรมชาติ และให้หลุดพ้นจากความทุกข์ และดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขโดย มีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง 5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ โดยการตั้งข้อคําถามชวนคิด เช่น 1. นักเรียนคิดว่าถ้านักเรียนไม่มีหลักธรรม นักเรียนสามารถดํารงชีวิตได้หรือไม่ (ตัวอย่างคําตอบ ไม่ได้เพราะ เราจะไม่หลักปฏิบัติในสังคมเลย) 5.3 ครูมอบมายให้นักเรียนทบทวนเนื้อหา และให้อ่านเนื้อหาบทต่อไป เป็นการบ้านเพื่อเตรียมจักการเรียนรู้ ในครั้งต่อไป
9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. อธิบายความหมาย หลักธรรมสําคัญของ พระพุทธศาสนา (K) ตรวจใบงาน ศรัทธา 4 ใบงาน ศรัทธา 4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2. ปฏิบัติตนตาม หลักธรรมสําคัญของ พระพุทธศาสนาได้ (P) สังเกตพฤติกรรม รายบุลคล แบบประเมินสังเกต พฤติกรรมรายบุลคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 3. ศรัทธาในการปฏิบัติตน ตามหลักธรรมสําคัญของ พระพุทธศาสนา (A) สังเกตความซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทํางาน แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
10. บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน 1. เนื้อหาสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านสมรรถณะของผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… 4. ป๎ญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ทางแก้ไข……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………….....……………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. ( นางสาวอมรมณี อุ่นสงคราม ) ครูผู้สอน
11.ความคิดของครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….....………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางสาวยุพิน จักรทองดี) ครูพี่เลี้ยง