รายงานฉบบั สมบรู ณ์
(Final Report)
โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรับรเู้ พ่ือใหเ้ กิดความสามัคคี
ปรองดองของคนในชาติ
เสนอ
สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ
และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย
สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษา
แหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการค่าใช้จ่ายในการสรา้ งการรับรู้เพือ่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
เสนอ
สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏิรปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง
(สำนกั งาน ป.ย.ป.)
บคุ ลากรในโครงการ ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต
ทป่ี รกึ ษาโครงการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
หวั หนา้ โครงการ: ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธกิ์ ลดั
นกั วิจัย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกสิทธิ์ หนนุ ภกั ดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา บุญยัง
ผจู้ ัดการโครงการและผ้ปู ระสานงานโครงการ: นางสาวรงุ่ กมล โพธสิ มบตั ิ
ผชู้ ว่ ยนกั วิจัย: นางสาวกณั ฐมณี อนิ ตะ๊ เสน
นางสาวจริ ัชญา บญุ ประกอบ
นายยทุ ธภมู ิ พงษ์จนี
นางสาวสุมนมาลย์ เตียวฉิ้ม
นางสาวสุชาดา โพธสิ ิงห์
สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
บทสรุปผบู้ รหิ าร
หลกั การ เหตผุ ลและวัตถปุ ระสงค์
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ว่าด้วยแผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมืองได้ให้
ความสำคัญต่อการสร้างความปรองดองสมานฉันท์อันเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสงั คมของประเทศในขณะท่สี ังคมไทยตกอยู่ในความขัดแย้งทางการเมืองยดื เยื้อเรื้อรังเกือบ ๒ ทศวรรษทั้ง
ที่มีความพยายามศึกษาปมปัญหาและเสนอมาตรการในการจัดการความขัดแย้งนี้มาโดยตลอดแต่ก็ยังไม่
สมั ฤทธผ์ิ ล
สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง
(สำนักงาน ป.ย.ป.) เห็นว่าในปัจจุบันองค์ประกอบหลายประการได้เปลี่ยนแปลงไปทั้งปมความขัดแย้ง บริบท
ภายในและภายนอกประเทศตลอดจนความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นช่วงเวลาที่สมควร
ทบทวนปมปัญหา ความคิดเห็น แนวทาง กลไกและมาตรการในการสรา้ งความปรองดองใหม่
โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์รายการค่าใช้จ่ายในการสร้างการรับรู้
เพื่อให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาองค์ความรู้และข้อมูลเรื่องปัญหา
ความขัดแย้งในการเมืองไทยและวธิ ีการสรา้ งความปรองดอง เปิดโอกาสใหภ้ าคสว่ นต่าง ๆ มีส่วนรว่ มในการหา
แนวทางสร้างความปรองดองดว้ ยการลงพนื้ ทีร่ ับฟังความคิดเห็นและสำรวจความคิดเห็นดว้ ยแบบสอบถาม นำ
องค์ความรูแ้ ละข้อมูลดงั กลา่ วมาสงั เคราะห์วิเคราะห์สภาพปัญหา กำหนดแนวทางและสรา้ งกระบวนการแก้ไข
ปัญหาความขัดแย้ง และจัดทำข้อเสนอที่ระบุแนวทาง กลไกและมาตรการในการสร้างความปรองดอง โดยมี
เป้าหมายว่าจะได้รับข้อมูลและแนวทางในการสร้างความปรองดองจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายที่สอดคล้องต่อ
สถานการณแ์ ละความเปน็ จริง
ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย
โครงการนี้เลือกใช้เครื่องมือในการทำงานแบบผสมผสานทั้งการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เชิง
ลึกเพื่อให้ได้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ องค์ความรู้ ตัวแบบเกี่ยวกับความขัดแย้งและการสร้างความปรองดอง
และความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้อง ใช้การสำรวจความคิดเห็นด้วยแบบสอบถามทั่วทุกภูมิภาค
จำนวนประมาณ ๓,๐๐๐ ชุด ใช้การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในจังหวัดตัวแทนภูมิภาคได้แก่ กรุงเทพฯ ชลบุรี
นครราชสมี า นครศรีธรรมราชและเชียงใหม่ มีผู้เข้าร่วมรวมทั้งสิ้นประมาณ ๖๐๐ คน เพื่อสร้างการมีส่วนรว่ ม
และรับฟังความคดิ เห็นโดยตรงจากปากคำของภาคสว่ นต่าง ๆ และใชก้ ารจัดประชุมคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ
เพื่อหารอื แนวทางและรับฟังความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ผลการศึกษา
ผลการศกึ ษาแบง่ เป็น ๓ ส่วนคือ ผลการศกึ ษาจากภาควิชาการประกอบด้วยการทบทวนงานวิจัยและ
แนวคิดทฤษฎีเรื่องการปรองดอง และการสัมภาษณ์เชิงลึกนักวิชาการและผู้เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาจากการ
ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร และผลการศกึ ษาจากการลงพ้นื ท่แี ละสำรวจความคิดเหน็
ผลการศึกษาจากภาควิชาการบ่งชี้ว่าความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งทางการเมืองทั้งใน
เรื่องความคิดความเชื่อทางการเมืองและความเหลื่อมล้ำในการจัดสรรทรัพยากรโดยมีปัจจัยกระตุ้นปัญหาให้
รุนแรงยิง่ ขนึ้ จากการใช้อำนาจรัฐอย่างไมเ่ ปน็ ธรรมและความเจริญก้าวหน้าด้านนวตั ิกรรมและการสื่อสาร เป็น
ความขัดแย้งร้าวลึกลงไปทั้งในระดับสังคมและครอบครัว มีปัจจัยเกี่ยวข้องทั้งตัวบุคคล ทัศนคติ เชิงสถาบัน
และเชงิ โครงสรา้ ง
ข้อเสนอเร่ืองการปรองดองที่สำคัญของภาควชิ าการคือแนวคิดเร่ืองความยุตธิ รรมในระยะเปล่ียนผ่าน
อันเป็นเครื่องมือที่ช่วยลดอคติความเกลยี ดชัง และสร้างความไว้วางใจระหว่างผูท้ ี่มคี วามขัดแย้งรุนแรง ความ
ยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ การค้นหาตรวจสอบข้อเท็จจริง การ
ยอมรับ ขออภัยและแสดงความรับผิดชอบ การนิรโทษกรรม การเยียวยาและชดเชยให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบ
และการปฏริ ูปหรอื ปรับเปล่ียนโครงสร้างทางการเมอื ง เศรษฐกิจและสงั คม
นอกจากกระบวนการในการสร้างความปรองดองดังข้างต้นแล้ว ในเชงิ พื้นท่ดี ำเนนิ การ การสร้างความ
ปรองดองสามารถดำเนนิ การไดท้ งั้ ในระดับตัวบคุ คล ทศั นคติ เชงิ สถาบนั และเชิงโครงสรา้ ง
ผลการศึกษาจากการประชุมเชิงปฏิบัติการให้ภาพปมความขัดแย้งมาจากความแตกต่างทางความคิด
และอุดมการณ์อันเนื่องมาจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ช่องว่างระหว่างช่วงวัย การศึกษาอบรม การได้รับข้อมูล
แตกต่างกันหรือตีความข้อมูลแตกต่างกัน และความเหลื่อมล้ำไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงโอกาสและทรัพยากร
ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ถูกตอกย้ำให้เห็นชัดโดยการใช้อำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรมและความบกพร่องหรือความด้อย
ประสิทธิภาพของสถาบันทางการเมืองต่าง ๆ และนักการเมืองทำให้ไม่สามารถเป็นช่องทางในการแก้ไข
บรรเทาปญั หาท่เี กิดขึ้นแกป่ ระชาชนได้อย่างมีประสิทธภิ าพเพยี งพอ สง่ ผลใหค้ วามขัดแย้งทเี่ กดิ ข้ึนนอกจากจะ
ไมส่ ามารถบรรเทาเบาบางลงไปไดแ้ ลว้ ยงั ขยายตวั ลงลึกไปสู่ชมุ ชน ครอบครัวและระหวา่ งปจั เจกชนต่าง ๆ
กลุ่มตัวอย่างทั้ง ๕ จังหวัดมีข้อเสนอร่วมกันหลายประเด็นสำหรับทางออกสำหรับการอยู่ร่วมกันหรอื
การปรองดองคือ การมีส่วนร่วมของประชาชน การส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย การสร้างและบังคับใช้
กฎหมายอย่างเป็นธรรม การลดปัญหาความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ การจัดหาสวัสดิการให้แก่ประชาชน การ
กระจายอำนาจ
ส่วนข้อเสนออย่างเป็นรูปธรรมที่ทุกพื้นที่เห็นตรงกันคือการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ การพิทักษ์สิทธิ
เสรีภาพประชาชนและการจำกัดบทบาทของกองทัพในทางการเมือง กลุ่มตัวอย่างในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
เสนอเพิ่มเติมเรื่องการนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง ในจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดตัวแทนจากกองทัพและ
หน่วยงานความมั่นคงมีความเห็นต่างจากภาคส่วนอื่น ๆ ในบางประเด็นโดยให้น้ำหนักต่อการสร้างความ
ปรองดองไปที่การรณรงค์สร้างความรักความสามคั คีให้แก่ประชาชนทุกคนในประเทศเป็นประเดน็ สำคญั
อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่มีความคาดหวังที่จะเห็นการประนีประนอม เลิกทะเลาะเบาะแว้ง
กันทั้งในระดับระหวา่ งชนช้ันนำและในระหว่างประชาชนด้วยกันเอง โดยประชาชนทั้งหมดเห็นว่าการเหน็ ต่าง
เป็นเรื่องปรกติและสังคมที่ปรารถนาคือสังคมที่เห็นต่างแต่สามารถอยู่ร่วมกันได้โดยสันติภายใต้กติกาที่ชอบ
ธรรม เป็นธรรมและเสมอภาค และด้วยความคาดหวังทำนองนี้ทำให้กลุ่มตัวอย่างบางพื้นที่ให้ความสำคัญกับ
การปรับเปล่ยี นคา่ นยิ มและทศั นคติดว้ ย
ผลการศึกษาจากการสำรวจความคิดเห็นด้วยแบบสอบถามพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมด
เห็นว่าความขัดแย้งในปัจจุบันของประเทศไทยเป็นความขัดแย้งทางการเมืองหรือนโยบายและเป็นความ
ขัดแย้งทางความคิด สาเหตุของความขัดแย้งเป็นเรื่องของความต้องการอำนาจการเมือง การสูญเสีย
ผลประโยชน์และอำนาจการเมือง ความเหลื่อมล้ำ ความไม่เท่าเทียม การใช้กฎหมายที่ไม่เป็นธรรม การไม่
ยอมรับความเห็นต่างทางการเมือง การเข้าใจข้อมูลที่ได้รับต่างกัน โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งมีทั้ง
นักการเมือง นักธุรกิจ ข้าราชการทหารในอัตราส่วนที่สูงกว่าข้าราชการพลเรือน นักวิชาการ นักศึกษา
ประชาชน NGOs สอ่ื และตา่ งประเทศเล็กนอ้ ย
ผตู้ อบแบบสอบถามเกอื บทงั้ หมดเห็นด้วยกับแนวทางในการจัดการความขัดแยง้ ดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ เชน่
การเจรจาสันติวิธี การไกล่เกลี่ยโดยบุคคลที่สาม การต่อรองเพื่อให้เกิดความสมดุล การไต่สวนเพื่อระงับข้อ
พิพาท การประนีประนอม การสร้างกตกิ าทคี่ ู่แขง่ ยอมรับ การกระจายอำนาจและการปฏิรูปโครงสรา้ ง
ข้อมูลเบื้องต้นจากแบบสอบถามบ่งชี้ว่าประชาชนรับรู้เรื่องความขัดแย้งของประเทศในระดับสูงและ
เห็นดว้ ยกับการใชว้ ธิ กี ารจัดการความขัดแยง้ ดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ โดยสนั ติ
จากข้อมลู เปรยี บเทียบความคิดของผู้ตอบแบบสอบถามตามปจั จัยสว่ นบุคคลเรื่องเพศ การศึกษาและ
อาชพี แลว้ พบวา่ มลี ักษณะแตกต่างกันโดยมีภาพรวมว่าผู้ที่มีการศึกษาสูงกว่า ประกอบอาชีพในภาคเอกชนและ
มีเพศสภาพ LGBTQ จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นตา่ ง ๆ ในเรื่องความขัดแย้งในระดับที่มากกว่าผู้ที่การศึกษา
น้อยกว่า ประกอบอาชพี ขา้ ราชการ และมีเพศสภาพชายหรือหญงิ
นัยของผลการศึกษา
ข้อสรุปเชิงทฤษฎี การทบทวนงานวิจัย แบบสอบถาม การประชุมเชิงปฏิบัติการและความเห็นของ
นักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องต่อประเด็นทางออกของความขัดแย้งหรือความปรองดองเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
คือ ทุกฝ่ายเห็นความขัดแย้งและความเหน็ ต่างเป็นสิ่งปกตทิ ี่ต้องเกิดขึ้นในสงั คมจึงเห็นว่าการปรองดองคอื การ
ทำใหค้ นในสงั คมสามารถเห็นตา่ งกันแต่อยูร่ ว่ มกนั ได้โดยสันติ ซง่ึ ในการน้ีทุกกลุ่มเหน็ วา่ จะตอ้ งดำเนนิ การอย่าง
น้อย ๒ เรื่องคือ หนึ่ง การปรับความสัมพันธ์ทางอำนาจให้ใกล้เคียงกันมากขึ้นโดยการส่งเสริมรักษาระบอบ
ประชาธิปไตย ลดอำนาจรัฐ เพิ่มอำนาจประชาชน กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น การสร้างกติกาที่ชอบธรรม เป็น
ธรรมและเสมอภาคเพื่อพิทักษ์สิทธิเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนทุกคน สอง ปรับความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจให้ใกลเ้ คียงกันมากขึ้นโดยการลดความเหลื่อมล้ำในทุกมติ ิ การสร้างระบบเศรษฐกิจทีเ่ ป็นธรรม การ
สร้างรัฐสวัสดกิ าร หรอื อีกนัยหนงึ่ เคร่ืองมือสำคัญในการสรา้ งความปรองดองคือ “กตกิ า” และ “ความอยู่ดีกิน
ด”ี ของประชาชน
แนวทาง กลไกและมาตรการในการสรา้ งความปรองดอง
การที่จะดำเนินการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ทางอำนาจและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจในสังคมไทย
ให้ใกลเ้ คียงกนั มากขึ้นหรือการสรา้ งกตกิ าและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนเพื่อใหเ้ กิดความปรองดองตาม
ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอของภาคสว่ นต่าง ๆ ดังขา้ งตน้ นั้น และภายใตโ้ อกาสและขอ้ จำกัดต่าง ๆ โดยมีโอกาส
ทสี่ ำคญั คอื การท่ปี ระชาชนมีฉนั ทามติในเร่ืองความต้องการอยู่รว่ มกันแม้มคี วามเห็นตา่ ง และมขี ้อจำกัดสำคัญ
คือการขับเคลื่อนข้อเสนอเพื่อสร้างความปรองดองจำเป็นต้องใช้อำนาจ โครงการนี้จึงเสนอแนวทางในการขับ
เคลื่อนท่ีสามารถดำเนินการได้โดยสอดคล้องกับโอกาสและข้อจำกัดดงั กล่าวคือ การขบั เคล่ือนการปรองดองท่ี
ทุกภาคส่วนสามารถมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนได้ และเป็นการขับเคลื่อนภายใต้เงื่อนไขปัจจัยที่ดำรงอยู่ของ
แต่ละภาคส่วนโดยใช้แนวทาง “เปิด-ปรับ-ผลัก” อันหมายถึงการดำเนินการเปิดพลังบวกลดปัจจัยที่เป็น
อุปสรรคต่อความปรองดอง ปรับเปลี่ยนความรู้คิดเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกัน และผลักดันการเปลี่ยนแปลงให้มี
การแก้ไขปรับปรุงเชิงสถาบันและโครงสร้างต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของประชาชน
ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างภาคประชาชนภาคเอกชนและภาครัฐ (Public-Private-People
partnerships) หรือ “กลไกประชารฐั ” ซ่ึงมียทุ ธศาสตร์ ๔ ดา้ นคือ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อความปรองดองในทันที มีเป้าประสงค์เพื่อสรา้ งความ
เป็นธรรม ลดผลกระทบด้านลบทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมต่อประชาชน ลดปัจจัยความขัดแย้ง เสริม
ความรู้สึกด้านบวกตอ่ ความปรองดอง โดยคาดหมายว่าประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการปรองดอง
ประชาชนผ้ไู ด้รับผลกระทบในดา้ นลบจากความขัดแย้งทางการเมืองไดร้ บั การเยียวยา ประชาชนเกิดความรู้สึก
ในทางบวกกับหน่วยงานที่เข้าร่วมหรือสนับสนุนโครงการ ประชาชนที่เข้าร่วมในโครงการในรูปแบบต่าง ๆ มี
โอกาสเปิดใจรับฟังปัญหา ความคิด ความรู้สึกของเพื่อนร่วมสังคม และสังคมไทยเรียนรู้กระบวนการ
ประชาธิปไตย ตัวอย่างมาตรการสำหรับยุทธศาสตร์นี้ได้แก่ โครงการที่เกี่ยวกับการเยียวยา การชดเชย การ
สรา้ งความเขา้ ใจระหวา่ งภาคส่วนตา่ ง ๆ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสง่ เสริมทัศนคตทิ ี่จำเป็นตอ่ ความปรองดอง มีเปา้ ประสงคเ์ พื่อส่งเสริมให้ผู้นำและ
ชนชั้น ประชาชน สื่อมวลชน ข้าราชการ นักการเมือง มีทัศนคติและวิถปี ฏิบัติที่สอดคล้องกบั คุณค่าในระบอบ
ประชาธิปไตย โดยคาดหมายว่าประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพของตนเองตามกฎหมาย
ประชาชนรับทราบช่องทางในการเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมาย ประชาชนตระหนักถึงคุณค่าและ
ความสำคัญของตนเองในกระบวนการปรองดอง หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการมีภาพลกั ษณ์ที่ดีในเรือ่ งของการ
สง่ เสริมสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน ผนู้ ำ ชนชน้ั นำ สอ่ื มวลชน ข้าราชการและนักการเมืองตระหนักถึงหลักการ
พื้นฐานของการอยู่ร่วมกนั ในสังคมประชาธิปไตย ตัวอย่างมาตรการสำหรบั ยุทธศาสตรน์ ้ีไดแ้ ก่ โครงการที่ผลิต
เผยแพรแ่ ละส่งเสริมความรูค้ วามเขา้ ใจเรอื่ งสิทธเิ สรีภาพและประชาธปิ ไตย
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การปฏิรูปเชิงสถาบันเพื่อสร้างความปรองดอง มีเป้าประสงค์เพื่อปฏิรูประเบียบ
การเมือง เศรษฐกิจและสังคมเพ่ือการอยู่ร่วมกนั โดยสันติในระบอบประชาธิปไตย ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
ที่ประชาชนยอมรบั โดยคาดหมายว่าสงั คมไทยมีพลังสนับสนุนกลไกเชงิ สถาบันในการจัดการความขัดแย้งโดย
สันติ ระเบียบการเมือง เศรษฐกิจและสังคมท่ีเป็นอุปสรรคต่อการอยู่ร่วมกันโดยสันติในระบอบประชาธิปไตย
ไดร้ บั การพิจารณาและเปลย่ี นแปลง การเปล่ยี นแปลงกระบวนการยตุ ธิ รรมได้รับความสนใจจากสงั คม ตวั อยา่ ง
มาตรการสำหรับยุทธศาสตร์นี้ได้แก่ โครงการที่เกี่ยวกับการสร้างสถาบันในระบอบประชาธิปไตยที่ยั่งยืนท้ัง
สถาบนั ในเชิงองคก์ รรปู ธรรมและสถาบันในเชิงระเบียบปฏบิ ตั ิ
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การปฏิรูปโครงสร้างเพื่อสร้างความปรองดอง มีเป้าประสงค์เพื่อส่งเสริมการ
ปรับเปลยี่ นโครงสรา้ งทางการเมืองทสี่ ามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในระบอบประชาธิปไตยได้ โครงสร้าง
ทางเศรษฐกิจที่ให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชน โครงสร้างทางสังคมที่ส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพและศักยภาพของ
ประชาชน โดยคาดหมายว่าประชาชนสามารถสะท้อนความต้องการการเปล่ียนแปลงเชงิ โครงสร้างด้านต่าง ๆ
สังคมตระหนักถึงโครงสร้างที่ไม่เป็นธรรมมากขึ้น ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพและ
ศักยภาพของประชาชนลดลง ตัวอยา่ งมาตรการสำหรับยุทธศาสตร์นี้ได้แก่ โครงการท่ีลดอุปสรรคหรือส่งเสริม
ศกั ยภาพเชงิ โครงสรา้ งทีต่ อบสนองความต้องการของประชาชน
ทั้งนี้ผลการวิจัยบ่งชี้ว่ากลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่และกลุ่มเพศสภาพทางเลือกควรเป็นกลุ่มเป้าหมาย
สำคญั สำหรบั กิจกรรมขับเคลอ่ื นการสร้างความปรองดองในดา้ นต่าง ๆ
สารบญั
หน้า
บทที่ ๑ บทนำ......................................................................................................................................... ๑
๑. หลกั การและเหตุผล .............................................................................................................................๑
๒. วตั ถุประสงค์ ........................................................................................................................................๒
๓. เปา้ หมายที่จะได้รบั จากการศกึ ษา........................................................................................................๒
๔. ขอบเขตการศกึ ษา................................................................................................................................๓
๕. การส่งมอบงาน ....................................................................................................................................๔
๖. กรอบแนวทางการศึกษา ......................................................................................................................๘
บทที่ ๒ แผนการดำเนนิ งานตลอดโครงการ ............................................................................................. ๙
บทที่ ๓ ระเบียบวธิ วี ิจัย.........................................................................................................................๒๔
บทท่ี ๔ ผลการรวบรวมขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์ และเหตุการณท์ างการเมอื งท่เี ป็นปญั หาสำคัญ ทีส่ ่งผล
ให้เกิดความขัดแย้ง ...............................................................................................................................๓๑
๑. ประวัตศิ าสตร์และสถานการณค์ วามขัดแยง้ ทางการเมือง/สังคมของประเทศไทย.............................. ๓๒
๒. ความขัดแย้งทางสังคมและทางการเมือง ........................................................................................... ๔๘
๓. การจดั การความขัดแยง้ และการสรา้ งการปรองดอง .......................................................................... ๕๓
๔. ตวั อย่างความขัดแย้งทางการเมอื งและการแก้ไขปัญหา ระบบและกลไกการสรา้ งการปรองดองของ
ตา่ งประเทศท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกบั สถานการณ์ในประเทศไทย........................................................ ๕๗
๕. การวิเคราะห์ผลการศึกษาประเดน็ ความขดั แย้งทางการเมอื งที่ผา่ นมา.............................................. ๖๓
๖. บทสรปุ และกรอบการศึกษาวิจัย ....................................................................................................... ๖๕
บทท่ี ๕ ผลการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ คร้ังท่ี ๑................................................................๖๗
๑. ภาพรวมการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร .................................................................................................... ๖๗
๒. ความคดิ เหน็ ทีไ่ ด้รับจากการประชมุ คณะกรรมการผูเ้ ชี่ยวชาญครั้งที่ ๑ ............................................. ๗๐
๓. สรุปผลการประชุมคณะกรรมการผเู้ ชีย่ วชาญคร้งั ที่ ๑ ....................................................................... ๗๖
สารบญั (ตอ่ )
หน้า
บทท่ี ๖ ผลการคัดเลือกจังหวดั ทีต่ ้องการลงพื้นทีเ่ กบ็ ข้อมลู แผนการลงพืน้ ที่เก็บข้อมูล และแผนการลง
พนื้ ท่กี ารจดั ประชุมรับฟงั ความคดิ เหน็ ....................................................................................๗๗
๑. ผลการคดั เลือกจงั หวดั ที่ต้องการลงพืน้ ทเ่ี กบ็ ข้อมูล............................................................................ ๗๗
๒. แผนการสัมภาษณ์เชิงลึก................................................................................................................... ๘๑
๓. แผนการลงพ้ืนทเ่ี ก็บขอ้ มูล ................................................................................................................ ๘๒
๔. แผนการลงพ้นื ท่ีการจดั ประชุมรับฟงั ความคิดเหน็ ............................................................................. ๘๗
๕. รา่ งแบบสอบถามเชิงปริมาณและแนวคำถามสัมภาษณ์..................................................................... ๖๘
บทที่ ๗ ผลการสัมภาษณเ์ ชิงลึก.............................................................................................................๗๕
๑. ดร.สตธิ ร ธนานิธโิ ชติ......................................................................................................................... ๗๘
๒. ผศ.ดร.ปรญิ ญา เทวานฤมติ รกลุ ........................................................................................................ ๗๙
๓. รศ.ดร.ประจกั ษ์ ก้องกรี ติ .................................................................................................................. ๘๑
๔. นายยามารุดดนิ ทรงศิรแิ ละเพ่ือน (กลุ่มเยาวชน/นักศึกษา) .............................................................. ๘๔
บทที่ ๘ ผลการลงพืน้ ทีเ่ พื่อสำรวจและเกบ็ ข้อมูล...................................................................................๙๕
๑. การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ..................................................................... ๙๕
๒. การวเิ คราะห์สภาพปัญหา กำหนดแนวทาง และสรา้ งกระบวนการในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน
สังคมไทย............................................................................................................................................... ๙๘
๓. การทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับความขัดแย้ง สาเหตุของความขดั แย้ง
ผเู้ กี่ยวข้องกบั ความขดั แยง้ สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในอนาคต และการจดั การความขดั แย้งเพอื่ สร้างความ
ปรองดองในประเทศไทย..................................................................................................................... ๑๒๗
บทที่ ๙ ผลการลงพืน้ ทเ่ี พ่ือจัดประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ าร...........................................................................๑๙๗
๑. ผลการจดั ประชมุ เชิงปฏิบัติการในภาคใต้: นครศรธี รรมราช........................................................... ๑๙๘
๒. ผลการจดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการในภาคเหนือ: เชยี งใหม่.................................................................. ๒๐๐
๓. ผลการจัดประชุมเชงิ ปฏิบัติการในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื : นครราชสีมา .................................... ๒๐๑
๔. ผลการจัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารในภาคตะวนั ออก: ชลบุรี ............................................................... ๒๐๓
๕. ผลการจัดประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการในภาคกลาง: กรงุ เทพมหานคร...................................................... ๒๐๔
๖. สรุปผลจากการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ............................................................................................. ๒๐๖
สารบญั (ต่อ)
หน้า
บทท่ี ๑๐ ผลการจัดประชุมคณะกรรมการผ้เู ชีย่ วชาญ คร้งั ท่ี ๒..........................................................๒๐๙
๑. ภาพรวมการประชมุ คณะกรรมการผเู้ ช่ียวชาญ คร้งั ที่ ๒................................................................. ๒๐๙
๒. ความคดิ เห็นท่ีไดร้ บั จากการประชมุ คณะกรรมการผู้เช่ียวชาญครงั้ ท่ี ๒ .......................................... ๒๑๑
๓. สรุปผลการประชมุ คณะกรรมการผเู้ ช่ียวชาญครง้ั ที่ ๒ .................................................................... ๒๑๕
บทท่ี ๑๑ เปรียบเทียบมุมมองเรือ่ งความขดั แย้งและการปรองดอง จากการทบทวนงานวจิ ยั สัมภาษณ์
แบบสอบถามและประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ ..............................................................................๒๑๖
๑. การทบทวนงานวิจัย....................................................................................................................... ๒๑๖
๒. แบบสอบถาม................................................................................................................................. ๒๑๘
๓. การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ............................................................................................................... ๒๑๘
๔. การสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ ....................................................................................................................... ๒๑๙
๕. ขอ้ สรุปและข้อสังเกต ..................................................................................................................... ๒๒๑
๖. ความแตกตา่ งระหว่างข้อมูลชุดต่าง ๆ ............................................................................................ ๒๒๒
๗. ความสัมพันธ์ระหว่างทม่ี าของข้อมลู กับลกั ษณะของข้อเสนอเรือ่ งความปรองดอง.......................... ๒๒๓
๘. แนวทางการขับเคล่ือน ................................................................................................................... ๒๒๓
๙. กล่มุ เป้าหมายในการขับเคล่ือนและบทบาทหน้าที่ของสำนกั งาน ป.ย.ป. ........................................ ๒๒๔
บทที่ ๑๒ การประชาสัมพันธผ์ ลการศึกษาวิจยั ...................................................................................๒๒๖
บทท่ี ๑๓ แนวทาง กลไก และมาตรการในการสรา้ งความปรองดองสมานฉนั ท์ ..................................๒๓๐
ภาคผนวก ..........................................................................................................................................๒๔๕
ภาคผนวก ก หนงั สอื เชิญประชมุ คณะกรรมการผูเ้ ชีย่ วชาญครง้ั ท่ี ๑ ................................................... ๒๔๖
ภาคผนวก ข หนังสือแต่งต้ังคณะกรรมการผู้เชีย่ วชาญ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามัคคี
ปรองดองสมานฉันท์รายการค่าใช้จ่ายในการสรา้ งการรับรูเ้ พ่ือให้เกดิ ความสามคั คี
ปรองดอง ของคนในชาติ................................................................................................ ๒๕๔
ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการผ้เู ชีย่ วชาญครง้ั ท่ี ๑ ..................................... ๒๕๘
ภาคผนวก ง ภาพบรรยากาศในการประชมุ คณะกรรมการผ้เู ชีย่ วชาญครั้งที่ ๑.................................... ๒๙๐
ภาคผนวก จ ความคิดเหน็ ของผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการผเู้ ช่ยี วชาญครง้ั ท่ี ๑ ............................. ๒๙๔
ภาคผนวก ฉ รายละเอียดการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารทั้งในส่วนภมู ิภาคและสว่ นกลาง ...................... ๓๐๕
ภาคผนวก ช รายละเอียดการจดั ประชมุ บรู ณาการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามัคคี
ปรองดองสู่การปฏิบตั ิ .................................................................................................... ๓๖๑
เอกสารอ้างอิง ....................................................................................................................................๓๖๖
สารบัญตาราง
หนา้
ตาราง ๑ จำนวนและสัดส่วนตัวอย่างทีจ่ ะทำการสำรวจ.............................................................................. ๒๖
ตาราง ๒ กำหนดการการจัดประชมุ คณะกรรมการผูเ้ ช่ียวชาญครง้ั ท่ี ๑ ....................................................... ๖๗
ตาราง ๓ ความคิดเห็นของผ้เู ขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการผ้เู ชี่ยวชาญครัง้ ที่ ๑ ........................................... ๗๐
ตาราง ๔ จำนวนและสัดสว่ นตัวอยา่ งทีจ่ ะทำการสำรวจ.............................................................................. ๗๗
ตาราง ๕ กลุม่ ตวั อย่างในการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก ............................................................................................. ๘๑
ตาราง ๖ แผนการลงพืน้ ทเี่ ก็บข้อมูล............................................................................................................ ๘๒
ตาราง ๗ แผนการลงพน้ื ท่ีการจดั ประชุมรับฟงั ความคิดเห็น........................................................................ ๘๗
ตาราง ๘ ความคดิ เหน็ จากการสัมภาษณเ์ ชิงลึก........................................................................................... ๗๕
ตาราง ๙ จำนวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล (n=๒,๙๕๒).................. ๙๕
ตาราง ๑๐ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลย่ี ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานของความคดิ เห็นต่อความขดั แยง้
ในสังคมไทย .......................................................................................................................... ๑๐๐
ตาราง ๑๑ จำนวน ร้อยละ คา่ เฉลีย่ ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานของความคิดเหน็ ต่อสาเหตุ
ของความขัดแยง้ ในสงั คมไทย ................................................................................................. ๑๐๔
ตาราง ๑๒ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานของความคดิ เหน็ ต่อผ้ทู ่เี กี่ยวข้อง
กับความขัดแยง้ ในสังคมไทย................................................................................................... ๑๑๑
ตาราง ๑๓ จำนวน รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแยง้
ในอนาคตในสงั คมไทย ............................................................................................................ ๑๑๕
ตาราง ๑๔ จำนวน รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของความคดิ เห็นต่อการจัดการความขัดแยง้
เพือ่ สร้างความปรองดองในประเทศไทย ................................................................................ ๑๑๘
ตาราง ๑๕ คา่ เฉลยี่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน ของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามตอ่ ความขัดแย้ง
สาเหตขุ องความขัดแย้ง ผู้เก่ียวข้องกบั ความขัดแย้ง สาเหตขุ องความขดั แยง้ ในอนาคต
และการจดั การความขัดแยง้ เพ่ือสรา้ งความปรองดองในประเทศไทย...................................... ๑๒๓
ตาราง ๑๖ การเปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนต่อประเดน็ ความขัดแย้ง
ทางการเมอื ง/นโยบายทางการเมือง กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ............................... ๑๒๗
ตาราง ๑๗ การเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ความคิดเห็นของประชาชนตอ่ ประเดน็ ความขดั แย้ง
ทางความคดิ /อุดมคติกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชพี ...................................................... ๑๒๙
ตาราง ๑๘ การเปรยี บเทียบค่าเฉล่ยี ความคิดเหน็ ของประชาชนต่อประเด็นความขัดแย้ง
ทเี่ กดิ จากช่องว่างระหวา่ งวยั กบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี .......................................... ๑๓๑
ตาราง ๑๙ การเปรียบเทยี บค่าเฉล่ียความคิดเห็นของประชาชนตอ่ ประเด็นความขดั แย้ง
จากการเขา้ ถึงทรัพยากรทางเศรษฐกจิ กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชพี ........................... ๑๓๒
ตาราง ๒๐ การเปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี ความคดิ เหน็ ของประชาชนต่อประเดน็ ความขดั แย้ง
จากการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชน/สิทธิข้นั พ้ืนฐาน กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชพี ................ ๑๓๔
ตาราง ๒๑ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนตอ่ ประเด็นความขดั แย้ง
จากความแตกต่างทางชาติพันธุ์/ศาสนา กบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ......................... ๑๓๖
สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตาราง ๒๒ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้ง
ในประเด็นความไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมอื ง กับ เพศ
ระดบั การศกึ ษา และอาชพี ..................................................................................................... ๑๓๘
ตาราง ๒๓ การเปรยี บเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเหน็ ของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้ง
ในประเด็นการ ไม่ยอมรบั ความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งทางการเมือง กับ เพศ ระดับการศึกษา
และอาชพี .............................................................................................................................. ๑๔๐
ตาราง ๒๔ การเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ความคดิ เห็นของประชาชนตอ่ สาเหตุของความขัดแยง้
ในประเดน็ การ ไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ยผปู้ กครอง กับ เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ ..... ๑๔๒
ตาราง ๒๕ การเปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแยง้
ในประเด็นการสญู เสยี ผลประโยชน์จากการสูญเสยี อำนาจทางการเมอื ง กับ เพศ
ระดับการศึกษา และอาชีพ.................................................................................................... ๑๔๓
ตาราง ๒๖ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแยง้
ในประเดน็ การถูกปฏิเสธพ้นื ท่ที างการเมือง/มีสิทธทิ างการเมอื งทีไ่ มเ่ ทา่ เทียม กบั เพศ
ระดับการศกึ ษา และอาชีพ..................................................................................................... ๑๔๕
ตาราง ๒๗ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตขุ องความขัดแย้ง
ในประเด็นการจดั สรรทรพั ยากรที่ไมเ่ ทา่ เทยี ม กับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ ............... ๑๔๖
ตาราง ๒๘ การเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ความคิดเหน็ ของประชาชนตอ่ สาเหตุของความขัดแย้ง
ในประเดน็ ความเหล่อื มล้ำในด้านต่าง ๆ กบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี ...................... ๑๔๘
ตาราง ๒๙ การเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ความคดิ เห็นของประชาชนตอ่ สาเหตุของความขัดแยง้
ในประเดน็ ความไมส่ มดลุ ในความสัมพนั ธเ์ ชิงอำนาจของรฐั กบั ประชาชน กบั เพศ
ระดับการศกึ ษา และอาชีพ..................................................................................................... ๑๔๙
ตาราง ๓๐ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ สาเหตขุ องความขัดแย้ง
ในประเด็นการบงั คบั ใชก้ ฎหมายที่ไมเ่ ปน็ ธรรม กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ .............. ๑๕๑
ตาราง ๓๑ การเปรยี บเทียบค่าเฉลยี่ ความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ สาเหตุของความขัดแยง้
ในประเด็นการเข้าถึงและการรับรู้ข้อมลู ที่แตกต่างกนั กบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี .... ๑๕๓
ตาราง ๓๒ การเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ความคดิ เหน็ ของประชาชนต่อสาเหตขุ องความขัดแย้ง
ในประเดน็ ความเข้าใจตอ่ ขอ้ มูลที่ได้รบั จากการสอ่ื สารท่ตี ่างกนั กบั เพศ ระดับการศกึ ษา
และอาชีพ............................................................................................................................... ๑๕๔
ตาราง ๓๓ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนตอ่ สาเหตขุ องความขัดแยง้
ในประเดน็ ค่านยิ มและการใหค้ ุณคา่ ของส่งิ ต่าง ๆ ที่ตา่ งกนั กับเพศ ระดบั การศึกษา
และอาชพี ............................................................................................................................... ๑๕๖
ตาราง ๓๔ การเปรยี บเทียบคา่ เฉลีย่ ความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตขุ องความขัดแยง้
ในประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างคู่ขัดแย้งทีเ่ ปราะบางกับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ ...... ๑๕๘
สารบญั ตาราง (ตอ่ )
หนา้
ตาราง ๓๕ การเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยความคิดเหน็ ของประชาชนตอ่ สาเหตขุ องความขัดแย้ง
ในประเด็นความก้าวหน้าของระบบสอ่ื สารและเทคโนโลยีกับเพศ ระดับการศึกษา
และอาชพี ............................................................................................................................... ๑๕๙
ตาราง ๓๖ การเปรยี บเทียบค่าเฉลีย่ ความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ สาเหตุของความขัดแย้ง
ในประเด็นประชาชน/ประชาสังคมมสี ว่ นร่วมในกจิ การของรัฐกบั เพศ ระดบั การศึกษา
และอาชีพ............................................................................................................................... ๑๖๑
ตาราง ๓๗ การเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ความคดิ เห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแยง้
ในประเดน็ ความแตกตา่ งทางความคดิ เหน็ ต่อแนวทางการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตรยิ ์
กับเพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ ........................................................................................ ๑๖๒
ตาราง ๓๘ การเปรยี บเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเหน็ ของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้ง
ในประเด็นความแตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องวา่ งระหว่างวัยของคนในสงั คมไทย
กับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี ........................................................................................ ๑๖๔
ตาราง ๓๙ การเปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแยง้
ในประเด็นการแทรกแซงจากตา่ งประเทศกบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ ........................ ๑๖๖
ตาราง ๔๐ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อข้าราชการพลเรือน
ในฐานะที่เป็นผ้เู ก่ียวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย กับเพศ ระดับการศึกษา
และอาชีพ................................................................................................................................ ๑๖๘
ตาราง ๔๑ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคดิ เห็นของประชาชนตอ่ ข้าราชการทหาร
ในฐานะทเี่ ป็นผู้เก่ียวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย กับเพศ ระดับการศึกษา
และอาชพี ............................................................................................................................... ๑๖๙
ตาราง ๔๒ การเปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ยความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ นกั การเมอื ง
ในฐานะที่เปน็ ผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั ความขัดแย้งในประเทศไทย กับเพศ ระดับการศกึ ษา
และอาชพี ............................................................................................................................... ๑๗๑
ตาราง ๔๓ การเปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี ความคดิ เห็นของประชาชนต่อภาคธุรกิจ/กลุ่มนายทุนในฐานะ
ท่ีเปน็ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทย กับเพศ ระดบั การศึกษา
และอาชพี ............................................................................................................................... ๑๗๓
ตาราง ๔๔ การเปรยี บเทียบค่าเฉล่ียความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ นักวชิ าการในฐานะท่ีเป็นผเู้ กยี่ วข้อง
กบั ความขัดแย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ ....................................... ๑๗๕
ตาราง ๔๕ การเปรยี บเทียบค่าเฉลี่ยความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ นกั ศึกษาในฐานะท่ีเปน็ ผู้เก่ียวข้อง
กบั ความขดั แย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศึกษาและอาชีพ ........................................ ๑๗๖
ตาราง ๔๖ การเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ความคิดเหน็ ของประชาชนตอ่ ประชาชนในฐานะท่ีเปน็ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง
กบั ความขัดแย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ ....................................... ๑๗๙
ตาราง ๔๗ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ความคดิ เห็นของประชาชนต่อภาคต่างประเทศในฐานะทเ่ี ป็น
ผู้เกยี่ วขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ....................... ๑๘๐
สารบญั ตาราง (ตอ่ )
หน้า
ตาราง ๔๘ การเปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ ความคิดเห็นของประชาชนตอ่ องค์กรท่ีไมใ่ ช่ของรฐั ในฐานะท่ีเปน็
ผเู้ กี่ยวข้องกบั ความขดั แยง้ ในประเทศไทย กับเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ....................... ๑๘๒
ตาราง ๔๙ การเปรยี บเทียบค่าเฉลยี่ ความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ สอื่ สารมวลชนในฐานะทีเ่ ปน็
ผเู้ กย่ี วข้องกบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ....................... ๑๘๔
ตาราง ๕๐ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลีย่ ความคดิ เห็นของประชาชนตอ่ ประเดน็ ความเหน็ ทางการเมือง
ทีแ่ ตกตา่ งในฐานะทีเ่ ป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย กับเพศ
ระดบั การศึกษา และอาชีพ..................................................................................................... ๑๘๗
ตาราง ๕๑ การเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ความคดิ เห็นของประชาชนต่อประเด็นความขัดแย้งจากความแตกตา่ ง
ของวัยในฐานะท่ีเป็นสาเหตขุ องความขดั แยง้ ในอนาคตของประเทศไทย กบั เพศ
ระดบั การศกึ ษา และอาชพี ..................................................................................................... ๑๘๘
ตาราง ๕๒ การเปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความเหล่ือมล้ำในดา้ นต่าง ๆ
ในฐานะที่เปน็ สาเหตุของความขดั แยง้ ในอนาคตของประเทศไทย กับเพศ ระดับการศึกษา
และอาชพี ............................................................................................................................... ๑๘๙
ตาราง ๕๓ การเปรยี บเทียบค่าเฉล่ยี ความคิดเห็นของประชาชนต่อประเดน็ ความขัดแย้งจาก
ประเดน็ คา่ นยิ มความเช่อื ในฐานะทีเ่ ปน็ สาเหตุของความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทย
กับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ ........................................................................................ ๑๙๒
ตาราง ๕๔ การเปรียบเทยี บค่าเฉล่ยี ความคดิ เห็นของประชาชนต่อประเด็นความขดั แย้งจากการไม่ยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงในฐานะทเ่ี ปน็ สาเหตุของความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทย กับเพศ
ระดับการศกึ ษา และอาชีพ.................................................................................................... ๑๙๔
ตาราง ๕๕ จำนวนผลู้ งทะเบยี นเขา้ รว่ ม และวันทีจ่ ัดประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารในแต่ละจงั หวัด....................... ๑๙๗
ตาราง ๕๖ กำหนดการการจัดประชมุ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญคร้ังที่ ๒ ................................................. ๒๑๐
ตาราง ๕๗ การวเิ คราะหก์ ารสร้างความปรองดองดว้ ย TOWS Matrix..................................................... ๒๓๑
ตาราง ๕๗ การวเิ คราะห์การสร้างความปรองดองด้วย TOWS Matrix..................................................... ๒๓๑
สารบญั ภาพประกอบ
หนา้
ภาพประกอบ ๑ กรอบแนวทางการศึกษา ......................................................................................................๘
ภาพประกอบ ๒ กรอบแนวคิดและทฤษฎีเบ้อื งต้น ...................................................................................... ๖๖
ภาพประกอบ ๓ Infographic ประชาสมั พนั ธ์โครงการ ............................................................................ ๒๒๖
ภาพประกอบ ๔ การขับเคล่อื นประชารฐั แบบบรู ณาการ.......................................................................... ๒๓๓
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
บทที่ ๑
บทนำ
๑. หลกั การและเหตุผล
ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยนับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศที่ยืดเยื้อและเรื้อรัง
มาอย่างยาวนาน แม้ว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีความพยายามจากทุกภาคส่วนในการสร้างความ
ปรองดอง ผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพื่อบรรเทาและแก้ไขปมปัญหาความขัดแย้งก็ยังไม่เห็นผลอย่างเป็น
รูปธรรม โดยสภาพความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันสะท้อนให้เห็นความจริงที่ว่าไม่มีความคิดเห็นของฝ่ายใด
ที่ถูก หรือผิดไปทั้งหมดท่ามกลางสภาวะความขัดแย้งที่แต่ละฝ่ายยังคงยึดมัน่ อยู่ในจุดยืนของตนเอง สิ่งที่ต้อง
ริเริ่มดำเนินการโดยเร็ว คือ การสร้างบรรยากาศแห่งความสามัคคีปรองดองให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการ
ปฏิรูปประเทศ ด้านการเมืองได้ให้ความสำคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความมั่นคง โดยเฉพาะการสร้างความ
ปรองดองสมานฉนั ท์ท่ีเป็นปัจจัยหนึง่ ที่สำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์
และการผลักดันการปฏิรปู ประเทศให้บรรลุผลสำเร็จจึงจำเปน็ ที่จะต้องสร้างการรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน
ในเรื่องดังกล่าวต้ังแตร่ ะดับฐานรากอย่างทัว่ ถึงเพ่ือเป็นพ้นื ฐานในการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนและขับเคล่ือน
การพัฒนาโดยปราศจากความขัดแย้งต่อไป
สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง
(สำนักงาน ป.ย.ป.) ในฐานะหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักในกิจกรรมปฏิรูปที่สำคัญเร่งด่วน และมีผลต่อ
ประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๓ การสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ของคน ในชาติ
ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง (ฉบับปรับปรุง) ซึ่งมีภารกิจหลักในการเสนอแนะมาตรการ
แนวทางการดำเนินการ และกลไกในการสร้างความปรองดองสมานฉันทข์ องประชาชน และขจัดความขัดแยง้
ทางการเมืองในสังคม ได้พิจารณาผลการศึกษาวิจัยของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานของรัฐใ นประเด็น
เกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมืองและการสร้างความสามัคคีปรองดองแล้ว เห็นว่าผลการศึกษาดังกล่าว
ส่วนใหญเ่ ป็นข้อเสนอใหร้ ่วมกนั สร้างบรรยากาศแหง่ การปรองดองผ่านการสร้างเวทีทั่วประเทศเพื่อเปิดโอกาส
ให้ทุกฝ่ายได้ร่วมกันแสวงหาทางออกต่อความขัดแย้งทางการเมืองปัจจุบัน และแลกเปลี่ยนมุมมองความคิด
ในวงกวา้ งต่อข้อเสนอทางเลือกความเปน็ ไปไดต้ ่าง ๆ ในการสรา้ งความปรองดอง รวมทัง้ ออกแบบ ภาพอนาคต
ของประชาธิปไตยไทยตลอดจนกติกาทางการเมืองที่ยอมรับได้ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ระหว่างกันมาก
ขึ้น และหาทางเลือกที่เป็นทีย่ อมรบั ของทุกฝ่ายอันจะส่งผลให้แต่ละฝ่ายสามารถกา้ วออกจากจุดยนื ที่แตกต่าง
กนั มาสูจ่ ดุ รว่ มที่จะนำไปสูก่ ารอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติ โดยยดึ หลกั กระบวนการพดู คยุ (dialogue) ซ่งึ ถือเป็นหวั ใจ
ของการสร้างความปรองดอง
เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๒
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
อยา่ งไรกด็ ีการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
ทางการเมืองในสังคมไทยที่ผ่านมาได้ดำเนินการในลักษณะของการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้น อาทิ การจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อเป็นบุคคลกลางในการแก้ไขปัญหาทางการเมือง
โดยการแกไ้ ขปัญหาในลกั ษณะดงั กล่าวเปน็ การแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ และเป็นรายกรณีไป ซง่ึ บางครงั้ อาจมิได้
ป้องกันการขยายขอบเขตของความขัดแย้งไปสู่วงที่กว้างขึ้นหรือก่อให้เกิดความล่าช้าในการแก้ไขปัญหา
ตั้งแต่ต้นเหตุประกอบกับสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปและการพัฒนาเทคโนโลยีอาจทำให้สภาพปัญหาที่เคย
ศกึ ษาไวเ้ ดิมเปล่ียนแปลงไปด้วย ดังนั้นการศึกษาวิจัยครัง้ นี้จึงมเี ปา้ ประสงค์ที่จะทำการทบทวนประเด็นปัจจัยท่ี
ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทยให้เป็นปัจจุบันรวมทั้งควรมีแนวทาง กลไก และมาตรการใน
การสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ของประชาชนและขจัดความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการแก้ไขและป้องกัน ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองเพื่อสร้างความปรองดอง
สมานฉันทข์ องประชาชนในสังคมอย่างยงั่ ยืน ต่อไป
๒. วตั ถปุ ระสงค์
๒.๑ เพื่อให้มีการศึกษารวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ทางการเมืองที่เป็นปัญหา
สำคัญที่ส่งผลให้เกิดความขัดแย้ง ศึกษาเปรียบเทียบจากทฤษฎี เอกสารทางวิชาการ เหตุการณ์ความขัดแย้ง
และวิธกี ารสร้างความปรองดองสมานฉนั ทท์ ่ีเกิดขน้ึ ท้งั ในและต่างประเทศ รวมทัง้ กรณศี ึกษาของประเทศอ่ืน ที่
เกี่ยวข้อง โดยศึกษาตั้งแต่สาเหตุรากเหง้าของปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้ชุดควา มรู้และข้อมูล
เก่ียวกับการแก้ไขปญั หาความขัดแย้งและการสรา้ งความปรองดอง
๒.๒ เพื่อจัดให้มีการลงพื้นที่รับฟังความคิดเห็นโดยเปิดเวทีให้ทุกภาคส่วนทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
และส่วนท้องถิ่น ที่ประกอบไปด้วย หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และ
ประชาชน มสี ่วนร่วมในการหาแนวทางการสรา้ งความปรองดองของคนในชาติ
๒.๓ เพื่อให้มีการวิเคราะห์สภาพปัญหา กำหนดแนวทาง และสร้างกระบวนการในการแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง ตามหลักวิชาการที่เกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง สันติวิธี และการสร้าง
ความปรองดองสมานฉนั ท์ จากข้อมูลทไ่ี ดต้ ามข้อ ๒.๑ และ ๒.๒
๒.๔ เพื่อให้มีการจัดทำข้อเสนอท่ีระบุแนวทาง กลไก และมาตรการในการสร้างความปรองดอง
สมานฉันทข์ องประชาชนและขจดั ความขดั แย้งทางการเมืองในสังคม
๓. เป้าหมายท่ีจะไดร้ บั จากการศกึ ษา
๓.๑ ได้รับข้อมูลที่สะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุความขัดแย้งทางการเมืองของประเทศไทย
ในปจั จบุ ัน และแนวทางการสรา้ งความปรองดองจากผูท้ เ่ี กยี่ วข้องทกุ ฝ่าย
๓.๒ ได้แนวทางการสร้างความปรองดองของประเทศที่สอดคล้องต่อสถานการณ์ และสภาพปัญหาท่ี
แทจ้ รงิ อนั จะนำไปสู่การเสริมสร้างสงั คมสันติสขุ อย่างยัง่ ยนื
เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๔. ขอบเขตการศึกษา
๔.๑ การดำเนินงาน
๑) จัดทำแผนการดำเนินโครงการฯ โดยครอบคลุมแนวทาง ขั้นตอน วิธีการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
และระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ตลอดจนออกแบบกระบวนการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ
ซึ่งสามารถระบุถงึ ปญั หา อปุ สรรค และผลสัมฤทธิ์
๒) ศึกษารวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ทางการเมืองที่เป็นปัญหาสำคัญ
ที่ส่งผลให้เกิดความขัดแย้ง ศึกษาเปรียบเทียบจากทฤษฎี เอกสารทางวิชาการ เหตุการณ์ความขัดแย้ง
และวิธีการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ที่เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศรวมทั้งกรณีศึกษาของประเทศอ่ืน
ที่เกี่ยวข้องโดยศึกษาตั้งแต่สาเหตุรากเหง้าของปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้ชุดความรู้ และข้อมูล
เกีย่ วกบั การแก้ไขปญั หาความขดั แย้งและการสร้างความสามัคคปี รองดอง
๓) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญเพื่อปรึกษาหารือแนวทางการสำรวจ
และเก็บข้อมูลและการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้ท่ีเกี่ยวข้องในภมู ิภาคต่าง ๆ โดยที่ปรึกษาจะทำการ
คัดเลือกจังหวัดที่ต้องการลงพื้นที่เก็บข้อมูลและแผนการลงพื้นที่เก็บข้อมูลตลอดจนคัดเลือกจังหวัดที่จะจัด
ประชุมรับฟังความคิดเหน็ อยา่ งน้อย ๔ ภาค (ภาคกลางไม่นอ้ ยกว่า ๑ ครั้ง และภาคอื่น ๆ ไมน่ ้อยกว่า ๓ ภาค)
ซึ่งที่ปรึกษาจะทำการกำหนดกลุ่มเป้าหมายเบื้องต้นที่ต้องการเก็บข้อมูลให้ครอบคลุมทุกภาคส่วนรวมทั้งทำ
การประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนที่
เก่ยี วขอ้ งในพน้ื ทเ่ี พอ่ื สรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจ และความร่วมมอื ในการดำเนนิ การ
๔) จัดให้มีการลงพื้นที่เพื่อสำรวจและเก็บข้อมูลจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในภูมิภาคต่าง ๆ รวมทั้ง
ปรึกษาหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในภาครัฐและภาคเอกชน ดำเนินการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
ที่จำเป็นในการจัดทำข้อเสนอแนะและแนวทางในแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและการสร้างความสามัคคี
ปรองดอง อาทิ สภาพแวดล้อม จดุ ออ่ น จดุ แขง็ โอกาส และอปุ สรรคในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อจัดทำ
สรปุ ผลการวิเคราะห์ กำหนดกลมุ่ เปา้ หมาย และนำเสนอแนวทางการแกไ้ ขปญั หาเบ้ืองตน้
๕) จัดให้มีการลงพื้นที่เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการหรือการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจาก
ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น (หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา
ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และประชาชน) ภาคกลางคร้งั ละไมต่ ำ่ กวา่ ๒๐๐ คน ภาคอ่ืน ๆ คร้งั ละไมต่ ่ำกว่า
๑๐๐ คนเพื่อร่วมกันให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น และเสนอแนะแนวทางและรูปแบบที่จะใช้แก้ไขปัญหา
ความขัดแย้ง และหาแนวทางการสรา้ งความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๖) จัดทำรายงานผลการลงพื้นที่เก็บข้อมูลและรายงานผลการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
หรือการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ตามข้อ ๓) และ ๕) แล้วจัดให้มีการจัด
ประชมุ คณะกรรมการผเู้ ชย่ี วชาญเพือ่ ปรึกษาแนวทางการจัดทำขอ้ เสนอแนะ
เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
๗) จัดทำรายงานข้อเสนอที่ระบแุ นวทาง กลไก และมาตรการในการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์
ของประชาชนและขจัดความขัดแยง้ ทางการเมืองในสงั คม
๘) จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ตามข้อเสนอแนะในรายงานข้อ ๗) ให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ทัง้ นโี้ ดยความเหน็ ชอบของสำนกั งาน ป.ย.ป.
๙) จดั การประชุมคณะกรรมการผเู้ ชยี่ วชาญอย่างน้อย ๒ คร้งั ตามข้อ ๓) และ ๖) โดยคณะกรรมการฯ
ประกอบดว้ ยกรรมการจำนวนไมเ่ กิน ๑๐ คน ตามท่ีสำนักงาน ป.ย.ป. กำหนด
๔.๒ ประชากรของการศกึ ษาวจิ ัย
๑) ข้อมูลเอกสารทางวิชาการและรายงานจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์การนอกภาครัฐ
(NGO) ทัง้ ที่ได้รับการเผยแพรแ่ ละไม่ได้เผยแพร่สสู่ าธารณะ
๒) ประชาชนทั่วประเทศ ที่ครอบคลุมครอบทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐสถาบันการศึกษา
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม องคก์ ารนอกภาครฐั (NGO) และประชาชน
๓) ผู้ทรงคุณวุฒิประกอบไปด้วย นักวิชาการ และนักการเมืองอาวุโสผู้ซึ่งมีบทบาทในการสร้างความ
ปรองดองในสถานการณ์ต่าง ๆ ของประเทศไทย ตลอดจนคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญตามที่สำนักงาน ป.ย.ป.
กำหนด
๔.๓ ระยะเวลาของการศกึ ษา
การดำเนนิ โครงการจะใชเ้ วลาท้ังสิ้น ๒๗๐ วนั
๕. การสง่ มอบงาน
จะมกี ารส่งมอบงานตามรปู แบบการดำเนินงานที่กำหนดไว้ ดงั นี้
๕.๑ งวดที่ ๑ ภายใน ๓๐ วนั นับถัดจากวันลงนามในสญั ญาจ้าง
จะมีการสง่ มอบรายงานแผนการดำเนนิ โครงการฯ โดยอย่างน้อยต้องกำหนดแนวทาง ข้นั ตอน วิธีการ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ตลอดจนออกแบบกระบวนการติดตามความก้าวหนา้
การดำเนินการซึ่งสามารถระบุถึงปัญหา อุปสรรค และผลสัมฤทธิ์ จำนวน ๕ ชุด และบันทึกเป็น Digital file
รปู แบบ Word และ PDF ลงใน Flash Drive จำนวน ๑ ชุด
๕.๒ งวดที่ ๒ ภายใน ๙๐ วัน นบั ถดั จากวนั ลงนามในสัญญาจ้าง
จะมกี ารส่งมอบเอกสารรายงานการศึกษาเบอื้ งต้น จำนวน ๕ ชุด และบนั ทกึ เปน็ Digital file รูปแบบ
Word และ PDF ลงใน Flash Dive จำนวน ๑ ชดุ โดยมเี น้ือหาอย่างน้อยประกอบไปด้วย
เสนอ สำนักงานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๑) ผลการรวบรวมขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ทางการเมอื งทีเ่ ป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลให้
เกิดความขัดแย้ง ศึกษาเปรียบเทียบจากทฤษฎี เอกสารทางวิชาการ เหตุการณ์ความขัดแย้งและวิธีการสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ทเี่ กิดขึน้ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ รวมท้งั กรณีศึกษาของประเทศอ่ืน ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง โดย
ศึกษาตั้งแต่สาเหตรุ ากเหง้าของปญั หาความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้น เพื่อให้ได้ชุดความรู้และข้อมูล เกี่ยวกับการแก้ไข
ปัญหาความขัดแยง้ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง
๒) ผลการจดั ประชุมคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ ครั้งที่ ๑
๓) ผลการคัดเลอื กจังหวดั ทต่ี ้องการลงพื้นท่เี ก็บข้อมลู แผนการลงพ้ืนที่เก็บขอ้ มลู และแผนการลงพ้ืนที่
การจัดประชุมรับฟงั ความคิดเหน็
๕.๓ งวดที่ ๓ ภายใน ๑๘๐ วัน นับถดั จากวันลงนามในสญั ญาจ้าง
จะมีการส่งมอบเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์ในการดำเนินการ จำนวน ๕ ชุด และบันทึกเป็น Digital
file รูปแบบ Word และ PDF ลงใน Flash Dive จำนวน ๑ ชดุ โดยมีเนอ้ื หาอย่างนอ้ ยประกอบไปดว้ ย
๑) ผลการลงพื้นที่เพื่อสำรวจและเก็บข้อมูล และการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในภูมิภาคต่าง ๆ
การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นในการจัดทำข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง
๒) ผลการลงพื้นทีเ่ พือ่ จัดประชุมเชิงปฏบิ ัติการหรือการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวขอ้ ง
ทุกภาคส่วน ทั้งส่วนกลางส่วนภูมภิ าค และส่วนท้องถิ่น (หน่วยงานภาครฐั สถาบันการศึกษาภาคเอกชน ภาค
ประชาสงั คม และประชาชน) เพอื่ รว่ มกันพจิ ารณาแนวทางและรปู แบบทจี่ ะใชแ้ ก้ไขปัญหาความขดั แย้งและหา
แนวทางการสรา้ งความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
๓) ผลการจัดประชุมคณะกรรมการผเู้ ชีย่ วชาญ คร้งั ที่ ๒
๕.๔ งานงวดท่ี ๔ ภายใน ๒๗๐ วนั นับถดั จากวันลงนามในสัญญาจ้าง
จะมกี ารส่งมอบรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน ๒๕ ชุด และในรปู แบบ e-book และ
บันทึกเป็น Digital file รูปแบบ Word และ PDF ลงใน Flash Drive จำนวน ๑ ชุด โดยมีเนื้อหาอย่างน้อย
ประกอบไปด้วย
๑) บทสรปุ สำหรบั ผบู้ รหิ าร (Executive Summary)
๒) ผลการศึกษาเปรยี บเทียบจากทฤษฎี เอกสารทางวิชาการ เหตุการณ์ความขัดแยง้ และวิธกี ารสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ทีเ่ กดิ ขึ้นทั้งในและตา่ งประเทศ และวิเคราะห์หลักวิชาการท่ีเกี่ยวกับการดำเนินการ
เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ พร้อมกรณีศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
เพื่อแนวทางที่เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของประชาชนและขจัดความ
ขัดแยง้ ทางการเมืองในสังคม
เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๖
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
๓) ผลการดำเนนิ งานในการลงพนื้ ท่ีเพื่อหารือกบั หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง สำรวจเกบ็ ขอ้ มูลในภมู ิภาคต่าง
ๆ และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการหรือการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ย วข้องทุกภาคส่วน ท้ัง
ส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค และส่วนท้องถ่ิน และการดำเนินงานอ่ืน ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง
๔) ข้อเสนอที่ระบุแนวทาง กลไก และมาตรการในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของประชาชน
และขจัดความขัดแย้งทางการเมืองในสงั คม
๕) ผลการประชาสัมพันธ์ข้อเสนอที่ระบุแนวทาง กลไก และมาตรการในการสร้างความปรองดอง
สมานฉันทข์ องประชาชนและขจดั ความขัดแยง้ ทางการเมืองในสงั คมให้กบั ผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้อง
เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
๖. กรอบแนวทางการศกึ ษา
ภาพประกอบ ๑ กรอ
เสนอ สำนักงานขบั เค
๘
อบแนวทางการศึกษา
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
บทท
แผนการดำเนนิ งา
ลำดบั กิจกรรม ผ้เู กีย่ วข้องในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
๑ จ ั ดทำแผนการดำเนิ น ผูด้ ำเนินงานหลกั
โครงการ โดยกำหนด ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต
แนวทาง ขั้นตอน วิธีการ ผู้
มีส่วนเกี่ยวข้อง และ รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวสั ดิ์ ชชั วาลย์
ระยะเวลาในการดำเนิน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธกิ์ ลัด
โครงการ พร้อมออกแบบ
กระบวนการติดตาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ยั ยทุ ธ ถาวรานรุ ักษ์
ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า ก า ร อาจารย์วชิ าญ กติ ตริ ตั นพนั ธ์
ดำเนินการซึ่งสามารถระบุ
ถึงปัญหา อุปสรรค และ ผู้ดำเนินงานรอง
ผลสมั ฤทธ์ิ
นางสาวรงุ่ กมล โพธสิ มบตั ิ
นางสาวจริ ชั ญา บญุ ประกอบ
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบุญเรือง
นางสาวสชุ าดา โพธสิ ิงห์
เสนอ สำนกั งานขบั เค
๙
ท่ี ๒
านตลอดโครงการ
ระยะเวลา (วนั )
ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
ดด
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดบั กจิ กรรม ผู้เก่ียวขอ้ งในการดำเนินงาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
๒ จัดทำรายงานงวดที่ ๑ ผดู้ ำเนินงานหลกั
โดยมีเนื้อหาครอบคลุม รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวสั ด์ิ ชชั วาลย์
กจิ กรรมท่ี ๑
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธิ์กลดั
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยั ยทุ ธ ถาวรานรุ กั ษ์
อาจารย์วิชาญ กิตตริ ัตนพนั ธ์
ผู้ดำเนนิ งานรอง
นางสาวรงุ่ กมล โพธสิ มบตั ิ
นางสาวจริ ชั ญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทิพย์ เรีย่ วแรงบุญญา
นางสาวกัณฐมณี อินต๊ะเสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบุญเรือง
นางสาวสชุ าดา โพธิสิงห์
๓ จดั สง่ รายงานงวดที่ ๑ (วันท่ี ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๕)
๔ ศึกษารวบรวมข้อมูลทาง ผดู้ ำเนนิ งานหลกั
ประวัติศาสตร์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวสั ดิ์ ชัชวาล
เหตุการณ์ทางการเมืองท่ี
เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลให้
เสนอ สำนกั งานขับเค
๑๐
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ลำดับ กิจกรรม ผู้เกยี่ วข้องในการดำเนินงาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
เกิดความขัดแย้ง ศึกษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธก์ิ ลัด
เปรียบเทียบจากทฤษฎี ผู้ชว่ ยศาสตราจารยช์ ัยยทุ ธ ถาวรานุรกั ษ์
เอกสารวิชาการ เหตุการณ์
ความขัดแย้งและวิธีการ อาจารย์วชิ าญ กิตตริ ัตนพนั ธ์
สร้างความปรองดอง
สมานฉันท์ที่เกิดขึ้นทั้งใน
และต่างประเทศ รวมทั้ง
กรณีศึกษาของประเทศอ่ืน ผดู้ ำเนินงานรอง
ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง นางสาวรงุ่ กมล โพธิสมบตั ิ
นางสาวจิรชั ญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทิพย์ เร่ียวแรงบญุ ญา
นางสาวกัณฐมณี อนิ ตะ๊ เสน
นางสาวอินทราณี ศรบี ญุ เรือง
นางสาวสชุ าดา โพธสิ ิงห์
๕ จัดประชุมคณะกรรมการ ผู้ดำเนนิ งานหลกั
ผู้เชี่ยวชาญเพื่อปรึกษาหารือ ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รฐั อมฤต
แนวทางการสำรวจและเก็บ
ข้อมูลและการจัดประชุมรับ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์
ฟังความคิดเห็นจากผู้ท่ี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธก์ิ ลดั
เสนอ สำนกั งานขบั เค
๑๑
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ลำดับ กจิ กรรม ผเู้ กย่ี วขอ้ งในการดำเนินงาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
เกี่ยวข้องในภูมิภาคต่าง ๆ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชัยยทุ ธ ถาวรานุรกั ษ์
เสนอ สำนักงานขบั เค
โ ด ย ค ั ด เ ล ื อก จ ั งห ว ั ด ที่ อาจารย์วิชาญ กิตติรตั นพนั ธ์
ต้องการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
และแผนการลงพื้นที่เก็บ
ข้อมูล ตลอดจนคัดเลือก ผู้ดำเนนิ งานรอง
จังหวัดที่จะจัดประชุมรับฟงั
ความคิดเห็นอย่างน้อย ๔ นางสาวรุง่ กมล โพธิสมบตั ิ
ภาค (ภาคกลางไม่น้อยกวา่ ๑ นางสาวจริ ชั ญา บญุ ประกอบ
ครั้ง และภาคอื่น ๆ ไม่น้อย นางสาวปรางทิพย์ เรีย่ วแรงบุญญา
กว่า ๓ภาค)พร้อมทง้ั กำหนด
กลุ่มเป้าหมายเบื้องต้นท่ี นางสาวกณั ฐมณี อินตะ๊ เสน
ต ้ อ ง ก า ร เ ก ็ บ ข้ อ มู ล นางสาวอินทราณี ศรีบุญเรอื ง
ประสานงานกับหน่วยงาน
ภาครัฐ สถาบันการศึกษา นางสาวสุชาดา โพธิสิงห์
ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม
และประชาชนที่เกี่ยวข้องใน
พื้นที่ เพื่อสร้างการรับรู้ หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง
ความเขา้ ใจ และความรว่ มมือ
หน่วยงานภาครฐั
ในการดำเนนิ การ
หน่วยงานภาคเอกชน
สถาบนั การศึกษา
๑๒
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดบั กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
องค์กรนอกภาครัฐ (NGO)
กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่เข้าร่วมการ
ประชุมเชิงปฏบิ ัติการ
กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่ทำการเก็บข้อมูล
ดว้ ยแบบสอบถาม
๖ จัดทำรายงานงวดที่ ๒ ผดู้ ำเนนิ งานหลัก
โดยมีเนื้อหาครอบคลุม รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวัสดิ์ ชัชวาลย์
กจิ กรรมท่ี ๔ และ ๕
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธ์กิ ลดั
ผู้ช่วยศาสตราจารยช์ ยั ยทุ ธ ถาวรานุรักษ์
อาจารยว์ ิชาญ กติ ติรัตนพนั ธ์
ผ้ดู ำเนนิ งานรอง
นางสาวรุ่งกมล โพธสิ มบตั ิ
นางสาวจริ ัชญา บญุ ประกอบ
นางสาวปรางทิพย์ เรย่ี วแรงบญุ ญา
นางสาวกณั ฐมณี อินต๊ะเสน
เสนอ สำนักงานขับเค
๑๓
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดบั กิจกรรม ผ้เู ก่ียวข้องในการดำเนินงาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบุญเรอื ง
นางสาวสุชาดา โพธสิ งิ ห์
๗ จดั สง่ รายงานงวดท่ี ๒ (วันท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๕)
๘ ลงพื้นที่เพื่อสำรวจและ ผู้ดำเนินงานหลกั
เก็บข้อมูลจากผู้ที่มีส่วน รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวัสด์ิ ชชั วาลย์
เกี่ยวข้องในภูมิภาคต่าง ๆ
รวมทั้งปรึกษาหารือกับ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธ์ิกลัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ชัยยทุ ธ ถาวรานุรกั ษ์
ภาครฐั และภาคเอกชน อาจารย์วิชาญ กิตติรตั นพันธ์
ผ้ดู ำเนินงานรอง
นางสาวร่งุ กมล โพธิสมบัติ
นางสาวจิรชั ญา บญุ ประกอบ
นางสาวปรางทพิ ย์ เรย่ี วแรงบญุ ญา
นางสาวกณั ฐมณี อินตะ๊ เสน
นางสาวอินทราณี ศรีบุญเรอื ง
เสนอ สำนักงานขบั เค
๑๔
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอื่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ลำดับ กจิ กรรม ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
นางสาวสชุ าดา โพธสิ ิงห์
๙ ดำเน ิ นการศ ึ กษาและ ผ้ดู ำเนนิ งานหลัก
วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นใน ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต
การจัดทำข้อเสนอแนะและ
แนวทางในการแก้ไขปัญหา รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวสั ด์ิ ชชั วาลย์
ความขัดแย้งและการสร้าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธิ์กลัด
ความสามัคคีปรองดอง เช่น
สภาพแวดล้อม จุดอ่อน จุด ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ัยยทุ ธ ถาวรานุรักษ์
แข็ง โอกาส และอุปสรรคใน อาจารย์วิชาญ กิตติรตั นพันธ์
การดำเนนิ การแกไ้ ขปญั หา ผู้ดำเนนิ งานรอง
นางสาวร่งุ กมล โพธิสมบัติ
นางสาวจิรัชญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทพิ ย์ เรีย่ วแรงบญุ ญา
นางสาวกณั ฐมณี อนิ ตะ๊ เสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบุญเรอื ง
นางสาวสุชาดา โพธสิ ิงห์
๑๐ สรุปผลการวิเคราะห์ ผดู้ ำเนนิ งานหลกั
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวสั ดิ์ ชัชวาลย์
เสนอ สำนักงานขับเค
๑๕
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ลำดับ กิจกรรม ผู้เกย่ี วข้องในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
และนำเสนอแนวทางการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธก์ิ ลดั
แก้ไขปัญหาเบื้องต้น โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชยั ยุทธ ถาวรานรุ กั ษ์
จัดเตรียมรูปแบบการ
ดำเนินการ นัดหมาย อาจารย์วิชาญ กติ ตริ ัตนพันธ์
ประสานงาน และอำนวย
ความสะดวกแก่สำนักงาน ผดู้ ำเนนิ งานรอง
ป.ย.ป. และผู้ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
นางสาวรุ่งกมล โพธสิ มบัติ
นางสาวจริ ชั ญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทิพย์ เรยี่ วแรงบุญญา
นางสาวกัณฐมณี อินตะ๊ เสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบญุ เรอื ง
นางสาวสุชาดา โพธิสงิ ห์
๑๑ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ผดู้ ำเนินงานหลัก
หรือการประชุมเพื่อรับฟัง ศาสตราจารย์ ดร.อดุ ม รัฐอมฤต
ความค ิ ดเห ็ นจากผ ู ้ ที่
เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ท้ัง รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวัสดิ์ ชัชวาลย์
สว่ นกลาง ส่วนภูมิภาค และ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธ์ิกลดั
ส่วนท้องถิ่น (หน่วยงาน
ภาครัฐ สถาบันการศึกษา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชยั ยทุ ธ ถาวรานุรักษ์
เสนอ สำนักงานขับเค
๑๖
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดับ กจิ กรรม ผู้เกี่ยวขอ้ งในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
ภาคเอกชน ภาคประชา อาจารยว์ ชิ าญ กิตตริ ัตนพนั ธ์
สังคม และประชาชน) ภาค
กลางครั้งละไม่ต่ำกว่า ๒๐๐
คน ภาคอื่น ๆ ครั้งละไม่ต่ำ ผดู้ ำเนินงานรอง
กว่า ๑๐๐ คน เพื่อร่วมกัน นางสาวรุ่งกมล โพธสิ มบัติ
ใหข้ ้อมูล แสดงความคิดเหน็
และเสนอแนะแนวทางและ นางสาวจิรชั ญา บุญประกอบ
รูปแบบที่จะใช้แก้ไขปัญหา นางสาวปรางทพิ ย์ เรยี่ วแรงบญุ ญา
ความขัดแย้งและหาแนว นางสาวกณั ฐมณี อินตะ๊ เสน
ทางการสร้างความสามัคคี
ปรองดองของคนในชาติ นางสาวอินทราณี ศรบี ุญเรือง
นางสาวสชุ าดา โพธิสิงห์
หนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
หน่วยงานภาครัฐ
หน่วยงานภาคเอกชน
สถาบันการศกึ ษา
องคก์ รนอกภาครฐั (NGO)
เสนอ สำนักงานขับเค
๑๗
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ลำดับ กจิ กรรม ผู้เกีย่ วขอ้ งในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่เข้าร่วมการ
ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร
กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่ทำการเก็บข้อมลู
ดว้ ยแบบสอบถาม
๑๒ จัดทำรายงานผลการลง ผดู้ ำเนนิ งานหลกั
พื้นที่เก็บข้อมูลและ รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวสั ดิ์ ชัชวาลย์
รายงานผลการจัดประชุม
เชิงปฏิบัติการหรือการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธิก์ ลดั
ประชุมเพื่อรับฟังความ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชัยยทุ ธ ถาวรานุรักษ์
คิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทุก
ภาคส่วน และจัดประชุม อาจารย์วิชาญ กิตติรตั นพนั ธ์
คณะกรรมการผู้เชีย่ วชาญ
เพื่อปรึกษาแนวทางการ ผดู้ ำเนนิ งานรอง
จดั ทำขอ้ เสนอแนะ
นางสาวรงุ่ กมล โพธสิ มบัติ
นางสาวจริ ชั ญา บญุ ประกอบ
นางสาวปรางทพิ ย์ เรย่ี วแรงบญุ ญา
นางสาวกัณฐมณี อินตะ๊ เสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบุญเรือง
เสนอ สำนกั งานขบั เค
๑๘
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ลำดบั กจิ กรรม ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
นางสาวสุชาดา โพธิสงิ ห์
๑๓ จัดทำรายงานข้อเสนอที่ ผู้ดำเนินงานหลัก
ระบุแนวทาง กลไก และ ศาสตราจารย์ ดร.อุดม รฐั อมฤต
มาตรฐานในการสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวัสด์ิ ชชั วาลย์
ของประชาชน และขจัด ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธก์ิ ลัด
ความขัดแย้งทางการเมือง
ในสังคม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชัยยทุ ธ ถาวรานุรักษ์
อาจารย์วชิ าญ กติ ติรตั นพนั ธ์
ผู้ดำเนนิ งานรอง
นางสาวรุ่งกมล โพธสิ มบัติ
นางสาวจริ ชั ญา บญุ ประกอบ
นางสาวปรางทพิ ย์ เร่ียวแรงบุญญา
นางสาวกัณฐมณี อนิ ต๊ะเสน
นางสาวอินทราณี ศรบี ุญเรือง
นางสาวสชุ าดา โพธสิ ิงห์
เสนอ สำนักงานขับเค
๑๙
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดบั กิจกรรม ผู้เก่ียวข้องในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
๑๔ จัดทำรายงานงวดที่ ๓ ผดู้ ำเนินงานหลกั
โดยมีเนื้อหาครอบคลุม รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวสั ดิ์ ชัชวาลย์
กิจกรรมที่ ๘ และ ๑๔
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธก์ิ ลดั
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ยั ยุทธ ถาวรานรุ กั ษ์
อาจารยว์ ชิ าญ กติ ติรตั นพันธ์
ผดู้ ำเนินงานรอง
นางสาวรุง่ กมล โพธสิ มบัติ
นางสาวจิรัชญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทพิ ย์ เรี่ยวแรงบุญญา
นางสาวกัณฐมณี อินตะ๊ เสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรบี ญุ เรือง
นางสาวสุชาดา โพธิสิงห์
๑๕ สง่ รายงานงวดท่ี ๓ (วนั ท่ี ๒๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕)
๑๖ ประชาสมั พนั ธ์ตาม ผู้ดำเนนิ งานหลัก
ขอ้ เสนอแนะในรายงาน
เสนอ สำนกั งานขับเค
๒๐
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พือ่ ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ลำดับ กจิ กรรม ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
ให้กับผู้มีส่วนเกย่ี วข้อง ๑๒๓๔๑๒
โดยประชาสมั พนั ธใ์ น
รปู แบบหนังสอื รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ สวัสดิ์ ชัชวาลย์
อิเลก็ ทรอนิกส์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธกิ์ ลดั
(e-book) ผู้ช่วยศาสตราจารยช์ ัยยุทธ ถาวรานุรกั ษ์
อาจารยว์ ิชาญ กิตตริ ัตนพันธ์
ผู้ดำเนินงานรอง
นางสาวร่งุ กมล โพธสิ มบัติ
นางสาวจิรชั ญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทิพย์ เรย่ี วแรงบุญญา
นางสาวกัณฐมณี อนิ ตะ๊ เสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรีบญุ เรอื ง
นางสาวสุชาดา โพธิสงิ ห์
๑๗ จัดทำบทสรุปผู้บริหาร ผ้ดู ำเนนิ งานหลัก
( Executive Summary) รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวสั ดิ์ ชชั วาลย์
ผลการศึกษาทั้งหมด
ตลอดโครงการ ข้อเสนอท่ี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธ์ิกลดั
ระบุแนวทางกลไกและ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชัยยทุ ธ ถาวรานรุ กั ษ์
เสนอ สำนกั งานขับเค
๒๑
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดับ กจิ กรรม ผูเ้ กี่ยวข้องในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
มาตรการในการสร้าง อาจารยว์ ชิ าญ กิตตริ ตั นพนั ธ์
ความปรองดองสมานฉันท์
ของประชาชน และขจัด
ความขัดแย้งทางการเมือง ผดู้ ำเนินงานรอง
ในส ั งค ม แ ล ะ ผ ล การ นางสาวรุง่ กมล โพธสิ มบัติ
ประชาสัมพนั ธข์ อ้ เสนอ นางสาวจริ ชั ญา บุญประกอบ
นางสาวปรางทพิ ย์ เรย่ี วแรงบญุ ญา
นางสาวกณั ฐมณี อนิ ตะ๊ เสน
นางสาวอนิ ทราณี ศรบี ุญเรือง
นางสาวสชุ าดา โพธิสิงห์
๑๘ จัดทำเล่มรายงานผลการ ผดู้ ำเนินงานหลัก
ดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภสวสั ดิ์ ชัชวาลย์
โดยมีเนื้อหาทั้งหมดของ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธก์ิ ลดั
โครงการ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชยั ยุทธ ถาวรานรุ กั ษ์
อาจารย์วชิ าญ กิตตริ ัตนพันธ์
ผดู้ ำเนนิ งานรอง
นางสาวรงุ่ กมล โพธิสมบัติ
เสนอ สำนักงานขบั เค