รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๘๕
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ตนเองเพื่อ กล่าวขึ้นสู่อำนาจ) ซึ่งความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทางการเมืองนี้เป็นเรื่องที่เป็นปมจากความขัดแย้งทาง
ประวตั ศิ าสตร์ทม่ี มี าอย่างยาวนาน จะมีการเปลี่ยนกเ็ พียงบทบาทของกลมุ่ ผ้นู ำว่าจะเป็นใครกเ็ พยี งเท่านั้น
๒) ในเรื่องของการพัฒนา ในปัจจุบันสังคมมีการพัฒนาที่ก้าวไปอย่างรวดเร็ว มีความทันสมัยขึ้นด้วย
ปัจจัยหลาย ๆ อย่างทั้งเทคโนโลยีหรือการแพทย์ แต่ทว่าสถาบันทางการปกครองต่าง ๆ ทั้งทางด้านการเมือง
การทหาร หรือการปกครองทั้งส่วนของราษฎรและพระมหากษัตริย์ ปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงน้ัน
พอสถาบันหลักเหล่านี้ปรับตัวไม่ทัน ก็ส่งผลต่อการเมืองของประชาชนที่จะขาดพื้นที่ในการแสดงออกทาง
ความคิด ทั้งพื้นที่รับฟังในระดับเล็ก จนถึงพื้นที่ในสภาเอง ที่ไม่ใช่พื้นที่ในการต่อสู้ ซึ่งพอขาดพื้นที่ในการ
แสดงออกเช่นนี้สุดท้ายประชาชนก็ต้องตัดสินใจในการลงสู่ถนนในการแสดงออกซึ่งข้อเรียกร้องในการพัฒนา
ต่าง ๆ ซง่ึ ก็อาจจะส่งผลกระทบแลว้ สรา้ งความเห็นตา่ ง ความขดั แยง้ ในสังคมได้
ทำไมแนวความคดิ ของการแสดงออกจงึ แพร่กระจายในกลุ่มของเยาวชนหรือนักศกึ ษาได้เร็ว
อาจจะเป็นด้วยข้อมูลที่ได้รับมีความรวดเร็วขึ้น รวมถึงผลกระทบต่อสังคมที่ปรากฏขึ้นจากการ
ปฏิบัติงานของรัฐบาลมาตลอดเวลาที่เขารับรู้ ซึ่งสะท้อนออกมาในแง่ที่ไม่ดีนัก รวมถึงการปฏิบัติของกลุ่มผู้มี
อำนาจกับประชาชนที่เห็นต่างเป็นไปด้วยแนวทางที่รุนแรง ซึ่งผู้ที่รับผลกระทบส่วนใหญ่ตรงนั้น ก็เป็นกลุ่ม
เยาวชนท่เี ป็นรุ่นราวคราวเดียวกัน เห็นประโยชน์ต่อสิ่งทเี่ รียกร้องรว่ มกัน จึงอาจจะก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมได้
ง่ายรวมถงึ ความอดทนตอ่ สิ่งท่สี ะสมจากการปฏิบัติของกลุ่มผู้มีอำนาจมาถึงจุดท่ีเยาวชนหลายคนทนไมไ่ หว ไม่
มีพื้นที่ในการแสดงออกมาอย่างยาวนาน อีกทั้งกลัวที่จะแสดงออก พอเห็นกลุ่มคนที่อายุใกล้เคียงกันออกมา
เรียกร้อง จึงอาจทำให้เกิดความรู้สึกร่วมและมีความกล้าที่จะแสดงออก ซึ่งสิ่งที่สะท้อนในการชุมนุมของกลุ่ม
นักศึกษาในปัจจบุ นั จะแตกต่างจากของการชุมนุมในสมัยอดีตเล็กน้อยใน ซึ่งในปัจจุบันจะเป็นในลักษณะของ
การชุมนมุ ด่วน (Flash Mob) ซ่ึงจะเปน็ ในลกั ษณะของการเรยี กชุมนุมอย่างฉับพลนั และไม่ยืดเยอ้ื เพื่อลดการ
ปะทะกันที่รุ่นแรง และศูนย์เสียทรัพยกร อีกท้ังในกลุ่มของแกนนำเองก็จะไม่จำเป็นต้องคนเพียงคนเดียว
เพราะเน้นที่การจัดแบบชุมนุมด่วน จึงมีกลุ่มผู้นำในแต่ละที่แตกต่างกัน มีข้อเรียกเรียกร้องของแต่ละกลุ่มคน
แตล่ ะพ้นื ท่ีนน้ั ๆ
ทั้งนี้สิ่งที่เป็นจุดร่วมของนักศึกษาเรียกร้องทั้งหมดคือ การเรียกร้องประชาธิปไตย แต่ในเรื่องของ
รายละเอียดที่เรียกร้องก็จะแตกต่างกันออกไป เช่น กลุ่ม REDEM (พัฒนาจากกลุ่มเยาวชนปลดแอก) ที่มีการ
โพสภาพค้อนและเคียวที่เป็นสัญลักษณ์ของลัทธิคอมมวิ นิสต์ หรือสังคมนยิ ม ซึ่งกม็ กี ลมุ่ นักศึกษาหลายคนท่ีไม่
เห็นด้วย ซึ่งในมุมมองบุคคลภายนอกอาจจะคิดว่ากลุ่มนักศึกษาทั้งหมดนั้นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแต่แท้จริง
แล้ว ภายในก็มีความขัดแย้งและเห็นต่างกัน รวมถึงการแย่งชิงการเป็นผู้นำขบวนการเคลื่อนไหว หรือจะเป็น
แนวคิดด้านประชาธิปไตยที่แตกต่างกัน ทั้งประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์ที่ไม่เอาสถาบันเลย ประชาธิปไตยแบบ
ราชาชาตนิ ิยม เราอยกู่ ันภายใต้ความเหมือนท่แี ตกต่าง
ความขดั แย้งทเี่ กิดที่เกดิ ข้ึนในปัจจบุ นั เปน็ ปญั หาท่ีเกิดจากบริบทใด
สำหรับผ้ใู ห้สมั ภาษณ์มองวา่ ความขัดแยง้ หรือความเห็นต่างไมใ่ ช่ประเดน็ สำคญั เพราะเราไม่สามารถ
เลี่ยงไม่ให้เกิดความขัดแย้งได้ และเราก็ไม่สามารถทำให้เกิดความปรองดรองกันได้อย่างแท้จริง แต่สิ่งที่เรา
สามารถทำได้คือ ออกแบบกฎกติกาให้มันเท่าเทียมกับทุกฝ่าย ให้พื้นที่ในการแสดงออกทางความคิด
ทาง การเมือง ถ้าให้พื้นที่ทางการเมืองกับประชาชน ประชาชนก็มิมีความจำเป็นต้องหาพื้นที่อื่นในการ
แสดงออก เช่น การลงถนน
เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๘๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอื่ ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ในมุมมองของเยาวชนมองสถานการณใ์ นปัจจุบันนอ้ี ย่างไร
ในสถาณการณ์ปัจจุบันแทบจะเรียกได้ว่าเป็นฉันทมติของสังคมไปแล้วว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเป็นปัญหา
เพราะระบบและกติการในปัจจุบันไม่ได้เอื้อให้ทุกคนมีส่วนร่วมทางการเมือง ที่สามารถใช้คำว่าฉันทมติได้นั้น
ก็สามารถดูจากความคิดสถานะของบุคคลต่าง ๆ ในสังคมได้ไม่ว่าแต่ละคนจะมีต้นทุนในการที่จะแสดงออก
ทต่ี า่ งกนั ท้งั นักศึกษา อาจารย์ หรือนกั การเมืองทกุ คนมตี ้นทุนในการแสดงออกทอี่ าจจะต้องเสยี ตา่ งกัน แต่สง่ิ ที่
เห็นพอ้ งต้องกนั คือระบบในปจั จบุ นั นน้ั อยู่ไม่ได้ ไม่เหมาะสมกับบริบทของสังคมในปัจจบุ ัน
ในมุมมองของเยาวชนคิดว่าจะมีการแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งไร
ต้องมกี ารแก้ไขโครงสรา้ ง ออกแบบระบบให้มคี วามเปน็ ธรรมกบั ทุกฝ่าย ซึง่ อาจจะอิงตามฉันทมติของ
กลุ่มนักศึกษาก็ได้ตาม ๓ ข้อเรียกร้อง คือ ๑. หยุดคุกคามประชาชน ๒. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ๓. ยุบสภา และ
๒ จุดยืน คือ ๑. ไม่มีการทำรัฐประหาร ๒. ไม่มีการจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติ หรืออีก ๑ ความฝันที่ถ้าหากบริบท
ของสังคมเห็นพร้องที่จะทำ คือเป็นระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
อีกโครงสร้างที่สำคัญและจำเป็นต้องแก้คือ โครงสร้างทาการเมืองเพราะระบบในทุกวันนี้ไม่ใช่ระบบ
ประชาธิปไตยที่คนต้องการ ประชาธิปไตยนั้น ๑. จะต้องมีคู่แข่งทางการเมืองได้ ๒. การมีส่วนร่วมของสังคม
จะต้องอยู่ในระดับที่สูง ซึ่งสถานการณ์ในปัจจุบันการมีส่วนร่วมทางการเมืองทำได้ยากและการเลือกตั้งเอง
ก็ ไม่ได้เปิดให้มีคู่แข่งทางการเมืองอย่างแท้จริง ในปัจจุบันเป็นสถานการณ์ที่ใช้การเลือกตั้งเพื่อผดุงอำนาจไว้
เท่านั้น จำต้องมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการเมืองเพื่อให้ทุกฝ่ายสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างยุติธรรม
ตั้งแต่จุดเริ่มต้น คือต้องมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อสร้างกฎเกณฑ์ที่ทำให้เกิดความสมดุลของคู่ขัดแย้ง และ
ออกแบบระบบการบังคบั ใชก้ ฎหมายให้ถูกต้องตรงตมเจตนารมณ์ของบทบัญญัตนิ น้ั ๆ
จึงกล่าวโดยสรุปได้ว่า วิธีการแก้ไขปัญหาสามารถกระทำได้โดย ๑. ทำให้กฎเกณฑ์มีความเป็นธรรม
๒. ออกแบบในการบังคบั ใชก้ ฎหมายใหถ้ กู ตอ้ งตรงตามเจตนา
กล่มุ คนที่สร้างกฎเกณฑด์ ังกล่าวนน้ั ควรเป็นใคร
โดยความคดิ แลว้ เราไมส่ ามารถตอบได้ว่าใครเหมาะสมจะเป็นผสู้ ร้างกฎ แต่กระบวนการในการสรรหา
นั้นจะต้องมาจากประชาชน เสมือนรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ เพื่อทำให้กระบวนการในนการสรรหาเป็นไป
อยา่ งชอบธรรม หากสถานการณเ์ ปน็ ไปตามแนวทางแก้ไข คดิ ว่าสังคมจะเปน็ เช่นไร จะทำให้ทกุ ส่วนของสังคม
สามารถประคองตนเองและเดินหน้าต่อไปได้ ตามลำดับ แต่ก็คงมิอาจขจัด ความขัดแย้งให้หมดไปได้
ความขัดแย้งจะยังคงเกิดขึ้น แต่อยู่ภายใต้กรอบที่ทุกคนตกลงกันขึ้นมาและยอมรับ ได้ซึ่งหากเราออกแบบ
กรอบและระบบที่ยุติธรรม ทุกคนก็จะมีพื้นที่ให้แสดงออกภายใต้กรอบและกติกาที่เป็น ธรรม เพราะสุดท้าย
แลว้ น้นั ความขดั แย้งมิใช่สง่ิ ท่ผี ิดปกตใิ นสังคม แต่อย่ทู ่เี ราจะหาทางตกลงกบั ความขัดแย้ง ที่เกิดขึ้นน้ันอย่างไร
หากเราอยภู่ ายใตก้ รอบทเี่ สมอภาคกส็ ามารถหาทางร่วมกันได้
นอกจากประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองแล้ว คิดว่าสังคมไทยมีประเด็นความขัดแย้งจากเรือ่ งใดได้
อกี บ้าง ความขัดแยง้ ในเชิงเศรษฐกิจ ซง่ึ เปน็ ความขดั แย้งท่ีเกิดจากชนช้นั ทางเศรษฐกจิ อำนาจทางการต่อรอง
ท่ีมไี ม่เท่ากนั
เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๘๗
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอื่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ทั้งนี้จึงกล่าวโดยสรุปได้วา่ การสร้างความปรองดองนั้นสามารถทำได้โดยการหาวธิ ีที่ทำให้ทกุ คนมามี
ส่วนร่วมในการสรา้ งกฎเกณฑ์และใชช้ ีวิตอยู่ภายใต้กฎเกณฑท์ ีก่ ำหนดร่วมกันกับสงั คมนัน้ ซึ่งหากต่อมาบริบท
ของสงั คมเปล่ียน เราก็เพียงรับตวั ตามมาหาแนวทางร่วมกันสร้างกฎเกณฑ์ท่จี ะอยูร่ ่วมกันอีกคร้งั
จากการสัมภาษณ์เชิงลึก เมื่อแยกความคิดเห็นออกเป็นรายกลุ่ม จะพบว่า กลุ่มนักวิชาการ/
กลุ่มภาครัฐ มองว่า ความขัดแย้งเกิดจากความไม่เป็นธรรม ได้แก่ การบังคับใช้กฎหมายอย่างไม่มีมาตรฐาน
เช่น การทำรัฐประหารโดยอ้างสถาบันกษัตริย์ซึ่งอยู่เหนือการเมือง ปัญหาเชิงโครงสร้างของไทยที่มี
ความเหลื่อมล้ำสูงในการพัฒนา ความเหลื่อมล้ำระหว่างเมืองกับชนบท และความเหลื่อมล้ำระหว่างภูมิภาค
ต่าง ๆ ในขณะเดียวกัน กลุ่มเยาวชนนักศึกษาที่ผู้วิจัยไปสัมภาษณ์เห็นว่า ความขัดแย้งทางการเมืองไทยเป็น
เรื่องของประวัติศาสตร์และเรื่องของการพัฒนา ในประเด็นแรกเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบ
ประชาธปิ ไตยของไทยที่ปัจจุบนั กย็ ังไม่สามารถเปลยี่ นผา่ นได้สำเรจ็ และนับเป็นปมความขัดแย้งที่มีมายาวนาน
ไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนกลุ่มผู้ถืออำนาจไปอย่างไรก็ตาม ในประเด็นที่สองเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของโลก
ในทุกด้านแต่สถาบันทางการเมืองของไทยปรับตัวไม่ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง และผลของการปรบั ตวั ชา้ หรือไม่
พยายามปรับตัวของสถาบันการเมืองต่าง ๆ ทำให้การเมืองไทยขาดพื้นที่สำหรับประชาชนที่จะแสดงออกทาง
ความคดิ ในทกุ ระดับแมก้ ระทัง่ ในรัฐสภาทำให้เกดิ การแสดงออกทางการเมืองบนท้องถนน
สำหรบั แนวทางในการแก้ไขปัญหา กลมุ่ นกั วิชาการ/กลมุ่ ภาครฐั คดิ เหน็ ว่านติ ิธรรมหรอื rule of law
เป็นทางออกของความขัดแย้งทางการเมืองที่สืบเนื่องจากความไม่เป็นธรรมโดยที่หากทุกสิ่งเป็นไปตาม
กฎหมายหรือกตกิ า ทกุ ฝา่ ยเสมอภาคกันภายใต้กฎหมาย มกี ระบวนการยุติธรรมหรือฝ่ายตลุ าการที่เที่ยงธรรม
ก็จะสามารถทำให้แต่ละฝ่ายสามารถเห็นต่างกันได้ ในระดับตัวบุคคลนั้นหากนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันหมด
อำนาจลงก็จะทำให้ความขดั แย้งทางการเมืองท่ีเก่ียวกับสถาบนั ลดลงไปดว้ ย ในส่วนของกลุ่มเยาวชนนักศึกษา
ที่มีความคิดเห็นว่าความขัดแย้งทางการเมืองไทยเป็นเรื่องของประวัติศาสตร์และเรื่องของการพัฒนา
ในประเด็นแรกเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ปัจจุบันก็ยังไม่สามารถเปลี่ยน
ผ่านได้สำเร็จและนับเปน็ ปมความขัดแย้งที่มมี ายาวนานไม่วา่ จะมีการเปลี่ยนกลุ่มผู้ถืออำนาจไปอย่างไรก็ตาม
ในประเด็นที่สองเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของโลกในทุกด้านแต่สถาบันทางการเมืองของไทยปรับตัวไม่ทนั
ต่อการเปลี่ยนแปลง และผลของการปรับตัวช้าหรือไม่พยายามปรับตัวของสถาบันการเมืองต่าง ๆ ทำให้การ
เมืองไทยขาดพื้นที่สำหรับประชาชนที่จะแสดงออกทางความคิดในทุกระดับแม้กระทั่งในรัฐสภาทำให้เกิดการ
แสดงออกทางการเมืองบนท้องถนน ซึ่งความขัดแย้งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในสังคม สิ่งที่สามารถกระทำได้
คือการออกแบบกฎกติกาที่เป็นธรรมและเสมอภาค เปิดพื้นที่ให้แสดงออกทางความคิด โดยเฉพาะพื้นที่ทาง
การเมืองอ่ืน ๆ นอกเหนือไปจากการลงถนน ในปจั จบุ ันพวกเขาเห็นวา่ สังคมเกดิ ฉันทมตแิ ลว้ ว่ากติกาและระบบ
การเมืองที่ไม่เป็นธรรมและเหลื่อมล้ำนั้นเป็นปัญหาสำคัญ การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจึงต้องเป็นการแก้ไข
โครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรมนี้ให้มีความเป็นธรรมกับทุกฝ่ายโดยมีการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
๓ ประการคอื หนงึ่ หยุดการคกุ คามประชาชน สอง รา่ งรฐั ธรรมนูญใหม่ และสามยบุ สภา นอกจากนี้จะต้องไม่
มีการทำรัฐประหารหรอื ตั้งรัฐบาลแหง่ ชาติ
ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มนักวิชาการ กลุ่มภาครัฐ หรือกลุ่มเยาวชน/นักศึกษา ต่างเห็นพ้องต้องกันว่า
การแก้ไขรัฐธรรมนูญให้มีกฎกติกาทางการเมืองที่เป็นทางออกของปัญหาได้ โดยพยายามทำให้ทุกฝ่ายมี
สว่ นรว่ มในการรา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบับใหม่น้ี จะชว่ ยลดปัญหาความขัดแยง้ ที่เกดิ ข้ึนได้
เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๘๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
เม่อื คณะผู้วจิ ยั ได้รวบรวมความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์เชงิ ลึก การประชมุ คณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ
ครั้งที่ ๑ รวมถึงการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ จึงนำไปสู่การปรับแบบสำรวจให้ความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน โดยผ่าน
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อใช้ในการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ
โดยครอบคลุมทุกภูมิภาค และนำไปสู่จัดทำสรุปผลการวิเคราะห์ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และนำเสนอ
แนวทางการแกไ้ ขปญั หาเบือ้ งตน้ ตอ่ ไป โดยมกี ารปรบั แก้ ดงั นี้
เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๘๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พื่อใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
(รา่ ง) แบบสอบถาม
โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ทร์ ายการคา่ ใช้จา่ ย
ในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
สัมภาษณ์ ผตู้ อบกรอกข้อมลู เอง วนั /เดอื น/ปี ที่เก็บขอ้ มลู
........................................
คำชแ้ี จง
๑. กรุณาทำเครื่องหมาย หน้าคำตอบที่ท่านต้องการลงในช่องสี่เหลี่ยม และ/หรือเติมข้อความลงในช่องที่ตรงกับ
ความคดิ เหน็ ของตนเองมากท่สี ุด
๒. แบบสอบถามมที ัง้ หมด ๒ ส่วน
ส่วนที่ ๑ ข้อมลู สว่ นบุคคล
ส่วนท่ี ๒ ขอ้ คำถามเก่ยี วกบั ประเด็นความขดั แย้งและข้อเสนอแนะ
๓. ข้อมลู ทีไ่ ดร้ บั จากทา่ นจะถกู เกบ็ เปน็ ความลบั
ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มูลส่วนบคุ คล
คำชี้แจง : กรุณาตอบแบบสอบถามทุกข้อ โดยทำเครื่องหมาย ในช่องสี่เหลี่ยม และ/หรือเติมข้อความ
ในชอ่ งว่าง
๑. ท่านมีภูมลิ ำเนาเดิมอย่ทู ใี่ ด ๑) ภายในกรงุ เทพฯ
๒) ต่างจงั หวดั ระบ.ุ ...............................
๒.๑) เขตเทศบาล ๒.๒) นอกเขตเทศบาล
๒. เชื้อชาติ ๑) ไทย ๒) อ่ืน ๆ ระบุ.................................
๓. สญั ชาติ ๑) ไทย ๒) อืน่ ๆ ระบุ.................................
๔. อาย.ุ ..........................ปี
๕. เพศ ๑) ชาย ๒) หญิง ๓) อ่นื ๆ
๖. ระดบั การศกึ ษา ๑) ไม่ได้เขา้ สู่ระบบการศกึ ษาหรือการศกึ ษานอกระบบ
๒) ประถมศกึ ษาหรือตำ่ กว่า
๓) มัธยมศึกษาตอนตน้ หรอื เทียบเทา่
๔) มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเทา่
๕) อนปุ รญิ ญา/ปวส./ปวช.
๖) ปรญิ ญาตรี
๗) สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี
เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๙๐
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รูเ้ พื่อใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
๗. รายไดต้ ่อเดือน ๑) ต่ำกว่า ๑๐,๐๐๐ บาท ๒) ๑๐,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ บาท
๓) ๒๐,๐๐๑-๓๐,๐๐๐ บาท ๔) ๓๐,๐๐๑-๔๐,๐๐๐ บาท
๕) ๔๐,๐๐๑ บาทข้ึนไป
๘. สถานภาพการสมรส ๑) โสด ๒) สมรสและอยดู่ ว้ ยกัน ๓) สมรสแตแ่ ยกกันอยู่
๔) หยา่ ร้าง ๕) หมา้ ย (ค่สู มรสเสยี ชวี ิต)
สว่ นที่ ๒ ขอ้ คำถามเกีย่ วกบั ประเดน็ ความขัดแย้ง
คำชี้แจง โปรดพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ตอบคำถามทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง โดยทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่
ตรงกับความคิดเห็นของตนเองมากทส่ี ุด
ความหมายของการให้คะแนน
๕ = เหน็ ด้วยมากทส่ี ดุ ๔ = เหน็ ด้วยมาก ๓ = เหน็ ด้วยปานกลาง ๒ = เหน็ ดว้ ยน้อย ๑ = ไมเ่ หน็ ดว้ ย
ประเดน็ คำถาม ระดบั ความคดิ เหน็ เหตุผล
๕๔๓๒๑
๑. ท่านคิดวา่ ประเด็นความขัดแยง้ ในปัจจบุ นั เป็นความขัดแยง้ ดา้ นใด
๑) ความขัดแยง้ ทางการเมือง/นโยบายทางการเมือง
๒) ความขัดแย้งทางความเห็น/ทัศนคตใิ นประเดน็ ท่แี ตกตา่ ง
๓) ความขดั แยง้ ทเ่ี กดิ จากช่องว่างระหว่างวยั
๔) ความขัดแย้งจากการเข้าถึงทรพั ยากร
๕) ความขัดแย้งจากการละเมดิ สิทธิมนุษยชน/สิทธิขนั้ พน้ื ฐาน
๖) ความขดั แยง้ จากความแตกตา่ งทางชาตพิ นั ธุ์
๒. ทา่ นคิดว่าสาเหตุของความขัดแย้งในประเทศไทยในปจั จบุ ันเกิดจาก
สาเหตุใด
๑) ความไม่ลงตัวของความเห็นทางการเมอื งและการเข้าถงึ อำนาจทางการ
เมอื ง
๒) การไมย่ อมรบั ความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งทางการเมอื ง
๓) การไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ยที่ได้รับ
๔) การสญู เสียผลประโยชน์จากการสญู เสยี อำนาจทางการเมือง
๕) การถูกปฏิเสธพ้นื ที่ทางการเมอื ง/การมสี ทิ ธิทางการเมืองที่ไมเ่ ท่าเทยี ม
๖) การจดั สรรผลประโยชน์ทไี่ ม่เทา่ เทียม
๗) ความเหลอ่ื มล้ำจากการเข้าถงึ ทรัพยากร
๘) ความไม่สมดุลของความสัมพนั ธ์เชิงอำนาจระหวา่ งรัฐกับประชาชน
เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๙๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพื่อให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ เหตผุ ล
ประเดน็ คำถาม ระดบั ความคดิ เหน็
๕๔๓๒๑
๙) การบังคับใชก้ ฎหมายทไี่ ม่เป็นธรรม
๑๐) การเขา้ ถึงและการรับรู้ข้อมลู ทแ่ี ตกต่างกนั
๑๑) ความเข้าใจต่อขอ้ มลู ที่ไดร้ ับจากการสอ่ื สารทมี่ ีความแตกต่างกนั
๑๒) ค่านิยมและการใหค้ ณุ คา่ ของสิง่ ต่าง ๆ ทีแ่ ตกต่างกัน
๑๓) ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคู่ขัดแยง้ ที่เปราะบาง
๑๔) ความเจรญิ ก้าวหนา้ ของระบบสอ่ื สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๑๕) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน/ประชาสังคมในด้านกิจการตา่ ง ๆ ของ
รฐั
๑๖) ความคดิ เห็นของแนวทางการปฏริ ูปสถาบันพระมหากษตั รยิ ท์ แ่ี ตกตา่ ง
กัน
๑๗) ความแตกตา่ งของชว่ งวยั และการเกดิ ชอ่ งว่างระหวา่ งวยั ของคนใน
สังคมไทย
๑๘) การแทรกแซงจากตา่ งประเทศ
๓. ท่านคดิ วา่ ผู้เก่ยี วข้องกับความขดั แยง้ ในประเทศไทยเกี่ยวข้องกบั คน
กลุ่มใด
๑) ข้าราชการพลเรอื น
๒) ขา้ ราชการทหาร
๓) นกั การเมอื ง
๔) ภาคธรุ กจิ /กลมุ่ นายทุน
๕) นักวิชาการ
๖) นักศึกษา
๗) ประชาชน
๘) ตา่ งประเทศ
๙) องคก์ รท่ีไม่ใช่องคก์ รของรฐั เช่น องคก์ รไม่แสวงหาผลกำไร องคก์ ร
สาธารณะประโยชน์ หรอื องค์กรพฒั นาเอกชน (อพช.)
๑๐) สอื่ สารมวลชน
๔. ทา่ นคิดว่าความขดั แย้งในอนาคตของประเทศไทย
มีสาเหตมุ าจากอะไร
๑) ความเห็นทางการเมอื งที่แตกตา่ ง
เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๙๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ประเดน็ คำถาม ระดบั ความคิดเห็น เหตผุ ล
๕๔๓๒๑
๒) ความขัดแย้งจากความแตกต่างของวัย
๓) ความแตกต่างจากความเหล่ือมล้ำ
๔) ความขดั แย้งจากประเด็นค่านยิ ม ความเช่ือ
๕) ความขดั แยง้ จากการไมย่ อมรับการเปลย่ี นแปลง
๕. ทา่ นคิดว่าวิธีการจัดการความขัดแย้ง/การสร้างการปรองดองใน
ประเทศไทยควรใช้วธิ กี ารใด
๑) การเจรจาอย่างสันตวิ ิธโี ดยคนกลาง/บคุ คลที่ ๓
๒) การไกล่เกลยี่ โดยคนกลางหรอื บคุ คลที่ ๓ ทั้งภายในและภายนอก
๓) การตอ่ รองเพื่อใหเ้ กดิ ความสมดลุ ของคู่ขัดแยง้
๔) การไตส่ วนเพ่ือระงบั ข้อพพิ าทอย่างสนั ติ
๕) การประนปี ระนอมเพ่ือหาทางออกร่วมกัน
๖) การสร้างความรว่ มมือเพือ่ จดั ทำข้อตกลงร่วมกัน
๗) การสรา้ งการแขง่ ขนั ระหว่างค่ขู ัดแยง้ อย่างสนั ติ
๘) การกระจายอำนาจเพอ่ื สร้างความสมดลุ ของคูข่ ัดแย้ง
๙) การปฏริ ปู ระบบ/โครงสร้างทีเ่ ป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เช่น
กระบวนการยตุ ิธรรม ระบบการเมอื งการปกครอง ระบบ/กลไกทางเศรษฐกิจ
สังคม ฯลฯ
ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๙๒
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
แบบสอบถาม (ฉบบั ปรับแก้และฉบบั ทีใ่ ช้สำรวจจรงิ )
โครงการขบั เคลอ่ื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันทร์ ายการค่าใช้จา่ ย
ในการสรา้ งการรับรู้เพือ่ ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
แบบสอบถามโครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ และการ
สร้างการรับรเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
สถานทเี่ ก็บข้อมลู หมู่บา้ น..................ตำบล.....................อำเภอ...................จงั หวดั .....................
การได้มาซงึ่ ขอ้ มลู สมั ภาษณ์ ผู้ตอบกรอกขอ้ มลู วัน/เดือน/ปี .....................................
สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มลู ส่วนบุคคล
คำชแี้ จง: กรุณาตอบแบบสอบถามทุกข้อโดยทำเครือ่ งหมาย ในชอ่ งวงกลม หรอื เติมข้อความในชอ่ งวา่ ง
๑. เพศ ชาย หญงิ LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) อืน่ ๆ ระบ.ุ .................................
๒. อาย.ุ ......................................ปี
๓. สถานภาพสมรส โสด สมรสและอย่ดู ้วยกัน สมรสแตแ่ ยกกันอยู่
หย่าร้าง หม้าย (ค่สู มรสเสียชวี ิต) อื่น ๆ ระบ.ุ ........................
๔. สญั ชาติ ไทย อืน่ ๆ ระบ.ุ ...................................................................................
๕. เชื้อชาติ ไทย อื่น ๆ ระบุ....................................................................................
๖. ระดบั การศกึ ษา ไม่ได้ศึกษา (ข้ามไปข้อ ๗) จบการศึกษา กำลังศึกษา
๖.๑ ระดับการศกึ ษาทก่ี ำลงั ศกึ ษาหรือการศกึ ษาท่ีจบสูงสดุ (โปรดเลอื ก)
ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น/เทียบเทา่
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. อนุปรญิ ญา/ปวส.
ปริญญาตรี ปริญญาโท
ปรญิ ญาเอก อน่ื ๆ ระบ.ุ ....................................................
๗. อาชีพหลกั วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ นักเรียน/นกั ศกึ ษา
รบั จา้ งท่ัวไป เกษตรกร
ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน รบั ราชการ
พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ พนกั งานสญั ญาจ้าง
ธุรกิจสว่ นตวั /ค้าขาย อาชพี อิสระ (Freelance)
⑪ ธรุ กิจขายของออนไลน์ ⑫ ดิจิทัลแพลตฟอร์ม เช่น ไรเดอร์สง่ อาหาร
⑬ อน่ื ๆ ระบุ...............................
๘. รายได้ส่วนตวั (โดยประมาณ) ...........................................บาท/เดือน
๙. สถานะทางเศรษฐกิจของตนเอง ไมพ่ อใช้และมหี นส้ี นิ ไมพ่ อใชแ้ ตไ่ มม่ หี นสี้ ิน
พอบา้ งไม่พอบ้าง พอใช้ไมเ่ หลอื เก็บ
พอใชแ้ ละเหลอื เก็บ
เสนอ สำนักงานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๙๓
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ส่วนที่ ๒ ข้อคำถามเก่ียวกับประเด็นความขดั แย้ง
คำชี้แจง: โปรดพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วกรุณาเลือก “เห็นด้วย” หรือ “ไม่เห็นด้วย” แล้วระบุระดับของความ “เห็น
ดว้ ย” หรอื “ไม่เห็นด้วย” (๕ = เห็นดว้ ย/ไมเ่ ห็นดว้ ยมากทีส่ ุด, ๔ = เหน็ ดว้ ย/ไมเ่ หน็ ด้วยมาก, ๓ = เห็นด้วย/ไม่เห็นด้วยปาน
กลาง, ๒ = เห็นดว้ ย/ไมเ่ ห็นดว้ ยน้อย, ๑ = เห็นดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ยนอ้ ยทส่ี ดุ )
ระดบั ความคิดเหน็
ประเดน็ คำถาม เหน็ ไมเ่ หน็ ระดับ เหตผุ ล
ดว้ ย ด้วย (๑-๕)
๑. ประเด็นความขดั แย้งในปัจจบุ ันเป็นความขดั แยง้ ดา้ นใด
๑) ความขัดแย้งทางการเมอื ง/นโยบายทางการเมอื ง
๒) ความขดั แย้งทางความคดิ /อุดมคติ
๓) ความขดั แย้งทเี่ กิดจากช่องวา่ งระหว่างวยั
๔) ความขดั แยง้ จากการเข้าถึงทรพั ยากรทางเศรษฐกิจ
๕) ความขัดแยง้ จากการละเมดิ สิทธมิ นุษยชน/สทิ ธิข้ันพื้นฐาน
๖) ความขัดแยง้ จากความแตกตา่ งทางชาตพิ นั ธุ์/ศาสนา
๗) อ่ืน ๆ ระบ.ุ ...............................................................
๒. ปัจจุบันสาเหตขุ องความขดั แยง้ ในประเทศไทยเกดิ จากข้อใด
๑) ความไมล่ งตวั ในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง
๒) การไมย่ อมรบั ความเหน็ ท่แี ตกตา่ งทางการเมอื ง
๓) การไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ยผปู้ กครอง
๔) สญู เสยี ผลประโยชนจ์ ากการสญู เสยี อำนาจทางการเมอื ง
๕) ถกู ปฏเิ สธพ้นื ที่ทางการเมือง/มสี ทิ ธทิ างการเมอื งทีไ่ มเ่ ท่าเทยี ม
๖) การจัดสรรทรัพยากรท่ไี มเ่ ท่าเทียม
๗) ความเหล่ือมล้ำในดา้ นตา่ ง ๆ
๘) ความไม่สมดลุ ในความสมั พนั ธเ์ ชิงอำนาจของรัฐกบั ประชาชน
๙) การบังคบั ใชก้ ฎหมายทไ่ี มเ่ ป็นธรรม
๑๐) การเขา้ ถึงและการรบั รู้ขอ้ มูลท่ีแตกตา่ งกัน
๑๑) ความเข้าใจต่อขอ้ มลู ทไี่ ดร้ บั จากการสือ่ สารที่ต่างกนั
๑๒) ค่านิยมและการให้คณุ คา่ ของสง่ิ ต่าง ๆ ทต่ี า่ งกัน
๑๓) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคู่ขัดแยง้ ที่เปราะบาง
๑๔) ความก้าวหนา้ ของระบบส่ือสารและเทคโนโลยี
เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๙๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ เหตผุ ล
ระดับความคิดเหน็
ประเดน็ คำถาม เหน็ ไม่เห็น ระดบั
ดว้ ย ด้วย (๑-๕)
๑๕) ประชาชน/ประชาสงั คมมสี ว่ นรว่ มในกิจการของรฐั
๑๖) ความแตกตา่ งทางความคดิ เหน็ ตอ่ แนวทางการปฏิรูปสถาบนั
พระมหากษตั ริย์
๑๗) ความแตกต่างของช่วงวัยและการเกดิ ชอ่ งว่างระหว่างวยั ของคนใน
สังคมไทย
๑๘) การแทรกแซงจากตา่ งประเทศ
๑๙) อน่ื ๆ ระบ.ุ ...........................................................
๓. ผเู้ กี่ยวขอ้ งกับความขดั แย้งในประเทศไทยเกย่ี วขอ้ งกับคนกลมุ่ ใด
๑) ขา้ ราชการพลเรือน
๒) ข้าราชการทหาร
๓) นกั การเมือง
๔) ภาคธุรกิจ/กลมุ่ นายทุน
๕) นกั วชิ าการ
๖) นักศึกษา
๗) ประชาชน
๘) ต่างประเทศ
๙) องคก์ รทไี่ ม่ใช่ของรฐั เชน่ องคก์ รไม่แสวงหากำไร
๑๐) ส่ือสารมวลชน
๑๑) อน่ื ๆ ระบุ............................................................
๔. ความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยอาจมีสาเหตมุ าจากอะไร
๑) ความเหน็ ทางการเมืองทแ่ี ตกตา่ ง
๒) ความขัดแยง้ จากความแตกตา่ งของวัย
๓) ความเหล่อื มลำ้ ในดา้ นต่าง ๆ
๔) ความขดั แยง้ จากประเดน็ คา่ นยิ ม ความเชอ่ื
๕) ความขดั แย้งจากการไม่ยอมรับการเปลย่ี นแปลง
๖) อืน่ ๆ ระบ.ุ ...............................................................
๕. การจัดการความขดั แย้ง สรา้ งความปรองดองในประเทศไทยควรใชว้ ธิ กี ารใด
เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๙๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ เหตผุ ล
ประเดน็ คำถาม ระดบั ความคิดเห็น
เหน็ ไมเ่ หน็ ระดับ
๑) การเจรจาอยา่ งสันตวิ ิธีโดยคกู่ รณี ดว้ ย ดว้ ย (๑-๕)
๒) การไกล่เกลีย่ โดยคนกลาง/บุคคลที่ ๓ ทั้งภายในและภายนอก
๓) การต่อรองเพ่อื ให้เกดิ ความสมดลุ ของคขู่ ัดแยง้
๔) การไต่สวนเพอื่ ระงบั ข้อพพิ าทอย่างสันติ
๕) การประนปี ระนอมเพอ่ื หาทางออกร่วมกัน
๖) การสรา้ งความร่วมมือเพ่อื จดั ทำข้อตกลงร่วมกัน
๗) การสร้างกตกิ าท่คี ่ขู ัดแย้งยอมรบั
๘) การกระจายอำนาจเพือ่ สร้างความสมดุลของคู่ขัดแย้ง
๙) การปฏริ ูประบบ/โครงสร้างทเ่ี ป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เชน่ กระบวนการ
ยุติธรรม การเมืองการปกครอง ระบบ/กลไกทางเศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ
๑๐) อน่ื ๆ ระบุ.............................................................
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๙๕
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพ่ือให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
บทท่ี ๘
ผลการลงพ้นื ทเี่ พอื่ สำรวจและเก็บข้อมูล
การนำเสนอผลการศึกษาในส่วนนี้ประกอบด้วย ๓ ตอน ได้แก่ ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ข้อมูลส่วน
บุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี ๒ การวิเคราะห์สภาพปญั หา กำหนดแนวทาง และสรา้ งกระบวนการใน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย และตอนที่ ๓ การทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยต่าง ๆ
ท่เี กี่ยวขอ้ งกับความขัดแยง้ ทางการเมือง ซงึ่ จะนำเสนอตามลำดบั ดังนี้
๑. การวเิ คราะห์ข้อมลู สว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตาราง ๙ จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล (n=๒,๙๕๒)
ขอ้ มลู ส่วนบุคคล จำนวน รอ้ ยละ
เพศ (n=๒,๙๒๒)
ชาย ๑,๒๔๕ ๔๒.๖๑
หญงิ ๑,๔๙๘ ๕๑.๒๗
LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๑๖๒ ๕.๕๔
อายุ (n=๒,๘๓๒)
ไมเ่ กนิ ๒๐ ปี ๓๒๓ ๑๑.๔๑
๒๑ – ๓๐ ปี ๘๘๐ ๓๑.๐๗
๓๑ – ๔๐ ปี ๖๘๔ ๒๔.๑๕
๔๑ – ๕๐ ปี ๕๓๕ ๑๘.๘๙
๕๑ – ๖๐ ปี ๒๙๗ ๑๐.๔๙
มากกวา่ ๖๐ ปี ๑๑๓ ๓.๙๙
̅ = ๓๕.๕๖ ปี S.D. = ๑๒.๙๖ ปี
สถานภาพสมรส (n=๒,๙๒๗)
โสด ๑,๖๔๙ ๕๖.๓๔
สมรสและอยู่ดว้ ยกัน ๙๕๐ ๓๒.๔๖
สมรสแต่แยกกนั อยู่ ๑๑๐ ๓.๗๖
หยา่ รา้ ง ๑๒๐ ๔.๑๐
หมา้ ย (คสู่ มรสเสยี ชีวติ ) ๗๕ ๒.๕๖
สัญชาติ (n=๒,๙๕๒)
ไทย ๒,๙๐๙ ๙๙.๘๓
เช้อื ชาติ (n=๒,๙๕๒)
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๙๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ขอ้ มลู ส่วนบุคคล จำนวน รอ้ ยละ
ไทย ๒,๙๐๐ ๙๙.๕๙
ระดบั การศกึ ษา (n=๒,๘๗๕)
ไม่ได้ศกึ ษา ๑๔๔ ๑๔๙ ๕.๐๑ ๖.๘๕
จบการศกึ ษา ๒,๑๘๑ ๑๗๒ ๗๕.๘๖ ๗.๙๑
ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๓๒๔ ๑๔.๙๐
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทียบเทา่ ๕๕๐ ๓๒๒ ๑๙.๑๓ ๑๔.๘๑
มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๑๐๖๕ ๔๘.๙๙
อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๑๒๘ ๕.๘๙
ปรญิ ญาตรี ๑๔ ๐.๖๔
ปรญิ ญาโท ๒,๑๗๔ ๑๐๐.๐๐
ปรญิ ญาเอก
รวม ๐ ๐.๐๐
กำลงั ศกึ ษา ๑๕ ๒.๗๔
ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๑๑๖ ๒๑.๑๗
มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทียบเท่า ๒๘ ๕.๑๑
มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๓๕๓ ๖๔.๔๒
อนุปริญญา/ปวส. ๓๓ ๖.๐๒
ปริญญาตรี ๒ ๐.๓๖
ปรญิ ญาโท ๕๔๘ ๑๐๐.๐๐
ปริญญาเอก
รวม ๑๓๔ ๔.๖๐
อาชพี หลกั (n=๒,๙๑๓) ๔๙๕ ๑๖.๙๙
วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๒๙๖ ๑๐.๑๖
นักเรียน/นักศกึ ษา ๑๔๑ ๔.๘๔
รบั จ้างทั่วไป ๕๘๒ ๑๙.๙๘
เกษตรกร ๔๙๑ ๑๖.๘๖
ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๘๑ ๒.๗๘
รับราชการ/พนกั งานราชการ
พนกั งานรัฐวิสาหกิจ
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๙๗
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ข้อมูลส่วนบุคคล จำนวน รอ้ ยละ
พนักงานสญั ญาจา้ ง ๑๘๖ ๖.๓๙
ธุรกิจส่วนตัว/คา้ ขาย ๒๖๕ ๙.๑๐
อาชพี อิสระ (Freelance) ๑๒๑ ๔.๑๕
ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๖๓ ๒.๑๖
ดิจิทลั แพลตฟอร์ม เชน่ ไรเดอรส์ ง่ อาหาร ๓๖ ๑.๒๔
รายได้สว่ นตวั (n=๒,๓๔๘)
ไม่เกนิ ๕,๐๐๐ บาท/เดอื น ๒๗๐ ๑๑.๕๐
๕,๐๐๑-๑๐,๐๐๐ บาท/เดือน ๔๕๐ ๑๙.๑๗
๑๐,๐๐๑-๑๕,๐๐๐ บาท/เดอื น ๕๒๕ ๒๒.๓๖
๑๕,๐๐๑-๒๐,๐๐๐ บาท/เดอื น ๔๕๐ ๑๙.๑๗
๒๐,๐๐๑-๒๕,๐๐๐ บาท/เดอื น ๒๐๕ ๘.๗๓
๒๕,๐๐๑-๓๐,๐๐๐ บาท/เดือน ๒๐๒ ๘.๖๐
มากกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท/เดอื น ๒๔๖ ๑๐.๔๘
̅ = ๑๗,๙๙๔.๗๑ บาท S.D. = ๑๓,๓๑๑.๕๓ บาท
สถานะทางเศรษฐกจิ ของตนเอง (n=๒,๘๘๕) ๔๙๙ ๑๗.๓๐
ไมพ่ อใชแ้ ละมหี นสี้ ิน ๒๐๙ ๗.๒๔
ไม่พอใชแ้ ตไ่ มม่ ีหนีส้ ิน ๘๓๖ ๒๘.๙๘
พอบา้ งไม่พอบา้ ง ๖๘๐ ๒๓.๕๗
พอใชไ้ ม่เหลือเกบ็ ๖๖๑ ๒๒.๙๑
พอใชแ้ ละเหลอื เก็บ
จากตาราง ๙ พบว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง ส่วนใหญ่มีอายุ ๒๑ – ๓๐ ปี
มีสถานภาพ โสด ร้อยละ ๕๖.๓๔ ผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมดมีสัญชาติและเชื้อชาติไทย โดยพบว่า
ผ้ตู อบแบบสอบถามร้อยละ ๗๕.๘๖ อยใู่ นกลุ่มสำเร็จการศึกษา ซง่ึ ในกลุ่มนม้ี ากกว่าครึ่งสำเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไป สำหรับอาชีพ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ ๑๙.๙๘ ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงาน
เอกชน รองลงมาประกอบอาชีพ นักเรียน/นักศกึ ษา และรับราชการ/พนกั งานราชการ ในสัดส่วนใกล้เคียงกนั
คือ ร้อยละ ๑๖.๙๙ และ ๑๖.๘๖ ตามลำดับ ทั้งนี้พบว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามมีรายได้ไม่เกิน
๑๕,๐๐๐ บาท/เดือน และส่วนมากมีรายได้พอบ้างไม่พอบ้าง รองลงมาคือ พอใช้ไม่เหลือเก็บ และ พอใช้และ
เหลอื เกบ็ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๓.๕๗ และ ๒๒.๙๑ ตามลำดับ
เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๙๘
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๒. การวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา กำหนดแนวทาง และสร้างกระบวนการในการแกไ้ ขปัญหาความขดั แย้งใน
สงั คมไทย
ในตอนนี้เป็นการนำเสนอการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อความขัดแย้ง สาเหตุ
ของความขัดแย้ง ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้งในอนาคต และการจัดการความขัดแย้ง
เพื่อสร้างความปรองดองในประเทศไทย โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๙๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ตาราง ๑๐ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ยี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของความคิดเหน็ ต่อความข
ประเด็น ไมเ่ ห็น เห็นด้วย มาก ปานกลาง ไมเ่ หน็ ด้วย n
ด้วย มากที่สดุ นอ้ ย น้อยทสี่ ุด
๑) ความ ๓๔๕ ๒,๕๘๑ ๑๒๑ ๓๘ ๕๑ ๑๒ ๓๘ ๒๖
ขดั แย้งทาง (๑๑.๗๙) (๘๘.๒๑) (๔๖.๕๔) (๑๔.๖๒) (๑๙.๖๒) (๔.๖๒) (๑๔.๖๒)
การเมอื ง/
นโยบายทาง
การเมือง
(n=๒,๙๒๖)
๒) ความ ๕๑๐ ๒,๔๐๔ ๑๕๗ ๖๐ ๑๓๙ ๓๑ ๒๖ ๔๑
ขดั แย้งทาง (๑๗.๕๐) (๘๒.๕๐) (๓๘.๐๑) (๑๔.๕๓) (๓๓.๖๖) (๗.๕๑) (๖.๓๐)
ความคิด/
อุดมคติ
(n=๒,๙๑๔)
๓) ความ ๖๘๓ ๒,๒๒๘ ๒๔๗ ๑๐๓ ๑๓๘ ๖๔ ๒๒ ๕๗
ขัดแย้งท่เี กดิ
จากชอ่ งวา่ ง (๒๓.๔๖) (๗๖.๕๔) (๔๓.๐๓) (๑๗.๙๔) (๒๔.๐๔) (๑๑.๑๕) (๓.๘๓)
ระหวา่ งวัย
(n=๒,๙๑๑)
เสนอ สำนักงานข
ขดั แย้งในสังคมไทย เห็นด้วย ๑๐๐
n ̅ S.D. มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อย n ̅ S.D.
๖๐ ๓.๗๔ ๑.๔๕ ท่ีสดุ ๒,๓๖๗ ๔.๔๙ ๐.๘๔
๑,๖๑๑ ๓๘๓ ๓๑๘
(๖๘.๐๖) (๑๖.๑๘) (๑๓.๔๓) ๓๕ ๒๐
(๑.๔๘) (๐.๘๔)
๑๓ ๓.๗๐ ๑.๒๒ ๑,๓๐๕ ๕๐๓ ๓๒๙ ๕๘ ๑๗ ๒,๒๑๒ ๔.๓๗ ๐.๘๘
(๕๙.๐๐) (๒๒.๗๔) (๑๔.๘๗) (๒.๖๒) (๐.๗๗)
๗๔ ๓.๘๕ ๑.๒๐ ๑,๑๐๗ ๔๓๔ ๓๗๙ ๘๔ ๔๓ ๒,๐๔๗ ๔.๒๑ ๑.๐๒
(๕๔.๐๘) (๒๑.๒๐) (๑๘.๕๑) (๔.๑๐) (๒.๑๐)
ขับเคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ไมเ่ ห็น ไม่เหน็ ด้วย
ด้วย
ประเดน็ เหน็ ด้วย มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ n
มากท่ีสดุ
๔) ความ ๖๕๐ ๒,๒๖๑ ๑๘๗ ๑๓๓ ๑๔๒ ๔๕ ๔๐ ๕๔
ขดั แย้งจากการ (๒๒.๓๓) (๗๗.๖๗) (๓๔.๑๙) (๒๔.๓๑) (๒๕.๙๖) (๘.๒๓) (๗.๓๑)
เขา้ ถึง
ทรัพยากรทาง
เศรษฐกิจ
(n=๒,๙๑๑)
๕) ความ ๖๑๔ ๒,๒๙๒ ๑๙๔ ๑๒๙ ๑๓๐ ๓๓ ๓๑ ๕๑
ขัดแย้งจากการ (๒๑.๑๓) (๗๘.๘๗) (๓๗.๕๒) (๒๔.๙๕) (๒๕.๑๕) (๖.๓๘) (๖.๐๐)
ละเมดิ สิทธิ
มนษุ ยชน/สิทธิ
ขน้ั พื้นฐาน
(n=๒,๙๐๖)
๖) ความ ๘๙๑ ๒,๐๑๓ ๓๔๓ ๑๖๔ ๑๘๑ ๕๓ ๓๙ ๗๘
ขัดแยง้ จาก (๓๐.๖๘) (๖๙.๓๒) (๔๓.๙๗) (๒๑.๐๓) (๒๓.๒๑) (๖.๗๙) (๕.๐๐)
ความแตกตา่ ง
ทางชาติพันธ/ุ์
ศาสนา
(n=๒,๙๐๔)
๗) อื่น ๆ ๑๖ ๑๒๓ ๙ ๔ - ๒ - ๑
(n=๑๓๙)
(๑๑.๕๑) (๘๘.๔๙) (๖๐.๐๐) (๒๖.๖๗) (๐.๐๐) (๒๖.๖๗) (๐.๐๐)
เสนอ สำนักงานข
๑๐๑
เหน็ ด้วย
n ̅ S.D. มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ย n ̅ S.D.
ที่สุด
๔๗ ๓.๗๐ ๑.๒๒ ๑,๑๘๘ ๔๖๙ ๓๑๓ ๗๒ ๓๒ ๒,๐๗๔ ๔.๓๑ ๐.๙๕
(๕๗.๒๘) (๒๒.๖๑) (๑๕.๐๙) (๓.๔๗) (๑.๕๔)
๑๗ ๓.๘๒ ๑.๑๘ ๑,๒๔๘ ๔๒๙ ๓๐๓ ๙๒ ๓๐ ๒,๑๐๒ ๔.๓๒ ๐.๙๗
(๕๙.๓๗) (๒๐.๔๑) (๑๔.๔๑) (๔.๓๘) (๑.๔๓)
๘๐ ๓.๙๒ ๑.๑๘ ๙๙๘ ๓๙๑ ๒๗๒ ๑๐๙ ๖๙ ๑,๘๓๙ ๔.๑๖ ๑.๑๑
(๕๔.๒๗) (๒๑.๒๖) (๑๔.๗๙) (๕.๙๓) (๓.๗๕)
๑๕ ๔.๓๓ ๑.๐๕ ๘๑ ๘ ๖ ๔ ๒ ๑๐๑ ๔.๖๐ ๐.๙๒
(๘๐.๒๐) (๗.๙๒) (๕.๙๔) (๓.๙๖) (๑.๙๘)
ขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๐๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
จากตาราง ๑๐ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อความขัดแย้งใน
สังคมไทย พบว่า มากกว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยว่าความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความ
ขัดแย้งทางการเมือง/นโยบายทางการเมือง ความขัดแย้งทางความคิด/อุดมคติ และเป็นความขัดแย้งใน
ประเด็นอื่น ๆ ได้แก่ ความขัดแย้งทางการเมืองซึ่งมีกติกาที่เอื้อให้ผู้นำทางการเมือง (นายกรัฐมนตรี) ที่อยู่ใน
ตำแหน่งนานเกินไป ความขัดแยง้ จากความแตกตา่ งทางเพศ ความขัดแยง้ จากการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนที่
เลือกขา้ งและช้ีนำความคิด และความขดั แยง้ ของคนในชมุ ชน
นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่าร้อยละ ๗๐ เห็นด้วยว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นใน
สงั คมไทยเป็นความขดั แยง้ จากการละเมิดสิทธิมนุษยชน/สทิ ธิข้ันพน้ื ฐาน ความขัดแย้งจากการเขา้ ถึงทรัพยากร
ทางเศรษฐกจิ ความขัดแยง้ ที่เกิดจากช่องว่างระหวา่ งวยั
เสนอ สำนักงานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๐๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ตาราง ๑๑ จำนวน ร้อยละ คา่ เฉลยี่ คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานของความคิดเหน็ ต่อสาเหต
ประเด็น ไมเ่ หน็ เหน็ ดว้ ย มากที่สุด มาก ปาน ไมเ่ ห็นดว้ ย n
ดว้ ย กลาง ๒๒
๒,๖๐๓ น้อย นอ้ ย
๑) ความไม่ลงตัว ๓๑๐ (๘๙.๓๖) ๑๐๓ ๔๓ ๕๑ ที่สดุ
ในความเห็นและ (๑๐.๖๔)
การเขา้ ถงึ อำนาจ (๔๔.๙๘) (๑๘.๗๘) (๒๒.๒๗) ๑๙ ๑๓
ทางการเมอื ง (n=
๒,๙๑๓) (๘.๓๐) (๕.๖๘)
๒) การไมย่ อมรับ ๓๖๘ ๒,๕๔๑ ๑๑๐ ๕๒ ๗๐ ๑๘ ๒๒ ๒๗
ความเหน็ ท่ี (๑๒.๖๕) (๘๗.๓๕) (๔๐.๔๔) (๑๙.๑๒) (๒๕.๗๔) (๖.๖๒) (๘.๐๙)
แตกตา่ งทาง
การเมอื ง (n=
๒,๙๐๙)
๓) การไมย่ อมรบั ๔๗๑ ๒,๔๒๙ ๑๔๘ ๘๘ ๘๔ ๓๔ ๒๗ ๓๘
อำนาจของฝา่ ย (๑๖.๒๔) (๘๓.๗๖) (๓๘.๘๕) (๒๓.๑๐) (๒๒.๐๕) (๘.๙๒) (๗.๐๙)
ผู้ปกครอง (n=
๒,๙๐๐)
๔) สญู เสีย ๔๔๐ ๒,๔๖๖ ๑๑๙ ๖๙ ๘๓ ๔๓ ๒๕ ๓๓
ผลประโยชนจ์ าก (๑๕.๑๔) (๘๔.๘๖) (๓๕.๑๐) (๒๐.๓๕) (๒๔.๔๘) (๑๒.๖๘) (๗.๓๗)
การสูญเสีย
อำนาจทาง
การเมือง
(n=๒,๙๐๖)
๕๑๗ ๒,๓๘๓ ๑๔๒ ๙๔ ๙๗ ๕๙ ๓๒ ๔๒
เสนอ สำนกั งานข
ตุของความขดั แย้งในสงั คมไทย ๑๐๔ S.D.
๐.๘๘
เหน็ ดว้ ย n ̅
n ̅ S.D. มากท่ีสดุ มาก ปาน น้อย น้อย ๒,๓๕๓ ๔.๔๖
กลาง ทส่ี ดุ
๒๙ ๓.๘๙ ๑.๒๓ ๑,๕๗๘ ๓๘๙ ๓๑๑ ๔๙ ๒๖
(๖๗.๐๖) (๑๖.๕๓) (๑๓.๒๒) (๒.๐๘) (๑.๑๐)
๗๒ ๓.๗๗ ๑.๒๗ ๑,๔๗๐ ๔๖๒ ๓๐๒ ๖๐ ๑๔ ๒,๓๐๘ ๔.๔๔ ๐.๘๖
(๖๓.๖๙) (๒๐.๐๒) (๑๓.๐๘) (๒.๖๐) (๐.๖๑)
๘๑ ๓.๗๘ ๑.๒๕ ๑,๒๙๕ ๕๐๒ ๓๐๕ ๕๖ ๓๐ ๒,๑๘๘ ๔.๓๖ ๐.๙๑
(๕๙.๑๙) (๒๒.๙๔) (๑๓.๙๔) (๒.๕๖) (๑.๓๗)
๓๙ ๓.๖๓ ๑.๒๘ ๑,๓๖๖ ๕๑๓ ๒๖๑ ๗๕ ๒๒ ๒,๒๓๗ ๔.๔๐ ๐.๘๙
(๖๑.๐๖) (๒๒.๙๓) (๑๑.๖๗) (๓.๓๕) (๐.๙๘)
๒๔ ๓.๖๐ ๑.๒๘ ๑,๓๒๓ ๔๕๖ ๒๖๙ ๖๑ ๓๕ ๒,๑๔๔ ๔.๓๙ ๐.๙๒
ขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ไม่เหน็ ไม่เหน็ ด้วย
ดว้ ย
ประเดน็ เหน็ ด้วย มากที่สุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย n
กลาง ทีส่ ุด
๕) ถกู ปฏเิ สธ (๑๗.๘๓) (๘๒.๑๗) (๓๓.๔๙) (๒๒.๑๗) (๒๒.๘๘) (๑๓.๙๒) (๗.๕๕)
พืน้ ที่ทางการ
เมอื ง/มีสิทธทิ าง
การเมอื งทไี่ ม่เทา่
เทียม
(n=๒,๙๐๐)
๖) การจัดสรร ๕๙๖ ๒,๓๑๐ ๑๖๘ ๑๑๘ ๑๓๐ ๔๑ ๒๙ ๔๘
ทรพั ยากรทีไ่ มเ่ ท่า (๒๐.๕๑) (๗๙.๔๙) (๓๔.๕๗) (๒๔.๒๘) (๒๖.๗๕) (๘.๔๔) (๕.๙๗)
เทียม
(n=๒,๙๐๖)
๗) ความเหลื่อม ๔๗๓ ๒,๔๒๙ ๑๔๑ ๘๗ ๙๐ ๓๐ ๒๗ ๓๗
ลำ้ ในด้านตา่ ง ๆ (๑๖.๓๐) (๘๓.๗๐) (๓๗.๖๐) (๒๓.๒๐) (๒๔.๐๐) (๘.๐๐) (๗.๒๐)
(n=๒,๙๐๒)
๘) ความไม่สมดุล ๔๕๓ ๒,๔๕๑ ๑๓๕ ๗๓ ๙๓ ๓๓ ๑๕ ๓๔
ในความสัมพันธ์ (๑๕.๖๐) (๘๔.๔๐) (๓๘.๖๘) (๒๐.๙๒) (๒๖.๖๕) (๙.๔๖) (๔.๓๐)
เชิงอำนาจของรฐั
กับประชาชน
(n=๒,๙๐๔)
๔๔๔ ๒,๔๖๐ ๑๒๗ ๖๙ ๗๗ ๔๘ ๒๒ ๓๔
เสนอ สำนกั งานข
๑๐๕
เหน็ ด้วย
n ̅ S.D. มากท่ีสุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย n ̅ S.D.
กลาง ท่สี ุด
(๖๑.๗๑) (๒๑.๒๗) (๑๒.๕๕) (๒.๘๕) (๑.๖๓)
๘๖ ๓.๗๓ ๑.๑๙ ๑,๒๒๙ ๔๒๘ ๓๑๑ ๘๒ ๓๘ ๒,๐๘๘ ๔.๓๑ ๐.๙๘
(๕๘.๘๖) (๒๐.๕๐) (๑๔.๘๙) (๓.๙๓) (๑.๘๒)
๗๕ ๓.๗๖ ๑.๒๔ ๑,๓๗๐ ๔๒๖ ๒๘๓ ๘๖ ๓๓ ๒,๑๙๘ ๔.๓๗ ๐.๙๕
(๖๒.๓๓) (๑๙.๓๘) (๑๒.๘๘) (๓.๙๑) (๑.๕๐)
๔๙ ๓.๘๐ ๑.๑๘ ๑,๒๘๓ ๔๘๒ ๓๓๔ ๖๓ ๕๑ ๒,๒๑๓ ๔.๓๐ ๐.๙๘
(๕๗.๙๘) (๒๑.๗๘) (๑๕.๐๙) (๒.๘๕) (๒.๓๐)
๔๓ ๓.๖๗ ๑.๒๘ ๑,๓๕๕ ๔๓๗ ๒๓๔ ๑๕๒ ๔๑ ๒,๒๑๙ ๔.๓๑ ๑.๐๓
ขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ไม่เหน็ ไม่เห็นดว้ ย
ด้วย
ประเด็น เหน็ ดว้ ย มากท่ีสดุ มาก ปาน น้อย น้อย n
๔๑
กลาง ทีส่ ดุ
๙) การบงั คับใช้ (๑๕.๒๙) (๘๔.๗๑) (๓๗.๐๓) (๒๐.๑๒) (๒๒.๔๕) (๑๓.๙๙) (๖.๔๑)
กฎหมายทไ่ี มเ่ ป็น
ธรรม (n=
๒,๙๐๔)
๑๐) การเขา้ ถงึ ๕๑๒ ๒,๓๙๖ ๑๔๕ ๙๑ ๑๑๒ ๓๘ ๒๘
และการรบั รู้ (๑๗.๖๑) (๘๒.๓๙) (๓๕.๐๒) (๒๑.๙๘) (๒๗.๐๕) (๙.๑๘) (๖.๗๖)
ข้อมูลทีแ่ ตกต่าง
กนั (n=๒,๙๐๘)
๑๑) ความเขา้ ใจ ๔๙๓ ๒,๔๑๔ ๑๓๐ ๗๓ ๑๐๐ ๕๖ ๓๔ ๓๙
ต่อขอ้ มลู ท่ีได้รบั (๑๖.๙๖) (๘๓.๐๔) (๓๓.๐๘) (๑๘.๕๘) (๒๕.๔๕) (๑๔.๒๕) (๘.๖๕)
จากการสื่อสารท่ี
ตา่ งกัน (n=
๒,๙๐๗)
๑๒) ค่านยิ มและ ๕๘๘ ๒,๓๐๔ ๑๓๖ ๑๒๒ ๑๑๖ ๕๔ ๕๓ ๔๘
การใหค้ ณุ ค่าของ (๒๐.๓๓) (๗๙.๖๗) (๒๘.๒๗) (๒๕.๓๖) (๒๔.๑๒) (๑๑.๒๓) (๑๑.๐๒)
สง่ิ ตา่ ง ๆ ที่
ต่างกนั (n=
๒,๙๐๔)
เสนอ สำนกั งานข
๑๐๖
เหน็ ดว้ ย
n ̅ S.D. มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย n ̅ S.D.
กลาง ทส่ี ุด
(๖๑.๐๖) (๑๙.๖๙) (๑๐.๕๕) (๖.๘๕) (๑.๘๕)
๑๔ ๓.๖๙ ๑.๒๓ ๑,๒๔๕ ๔๖๓ ๒๙๓ ๙๕ ๕๙ ๒,๑๕๕ ๔.๒๗ ๑.๐๓
(๕๗.๗๗) (๒๑.๔๘) (๑๓.๖๐) (๔.๔๑) (๒.๗๔)
๙๓ ๓.๕๓ ๑.๓๑ ๑,๒๕๘ ๔๔๑ ๓๐๘ ๗๙ ๗๔ ๒,๑๖๐ ๔.๒๖ ๑.๐๕
(๕๘.๒๔) (๒๐.๔๒) (๑๔.๒๖) (๓.๖๖) (๓.๔๓)
๘๑ ๓.๔๙ ๑.๓๑ ๑,๑๗๔ ๔๐๘ ๓๑๒ ๘๖ ๗๑ ๒,๐๕๑ ๔.๒๓ ๑.๐๗
(๕๗.๒๔) (๑๙.๘๙) (๑๕.๒๑) (๔.๑๙) (๓.๔๖)
ขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพื่อให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ไมเ่ หน็ ไมเ่ ห็นดว้ ย
ดว้ ย
ประเดน็ เห็นดว้ ย มากที่สดุ มาก ปาน นอ้ ย น้อย n
๔๙
กลาง ท่ีสดุ
๑๓) ๖๔๖ ๒,๒๔๓ ๑๕๗ ๑๑๐ ๑๔๐ ๕๐ ๔๑
ความสัมพันธ์ (๒๒.๓๖) (๗๗.๖๔) (๓๑.๕๓) (๒๒.๐๙) (๒๘.๑๑) (๑๐.๐๔) (๘.๒๓)
ระหว่างคขู่ ดั แยง้
ท่เี ปราะบาง (n=
๒,๘๘๙)
๑๔) ๕๓๒ ๒,๓๖๑ ๑๔๒ ๑๑๙ ๙๙ ๕๔ ๒๔ ๔๓
ความกา้ วหน้า (๑๘.๓๙) (๘๑.๖๑) (๓๒.๔๒) (๒๗.๑๗) (๒๒.๖๐) (๑๒.๓๓) (๕.๔๘)
ของระบบสื่อสาร
และเทคโนโลยี
(n=๒,๘๙๓)
๑๕) ประชาชน/ ๕๔๔ ๒,๓๔๓ ๑๖๐ ๘๒ ๑๐๑ ๔๓ ๕๖ ๔๔
ประชาสังคมมี (๑๘.๘๔) (๘๑.๑๖) (๓๖.๒๐) (๑๘.๕๕) (๒๒.๘๕) (๙.๗๓) (๑๒.๖๗)
สว่ นร่วมใน
กิจการของรฐั
(n=๒,๘๘๗)
เสนอ สำนกั งานข
n ̅ S.D. มากที่สุด มาก เหน็ ด้วย ๑๐๗
๙๘ ๓.๕๙ ๑.๒๕ ๑,๑๒๒ ๔๓๙
ปาน น้อย น้อย n ̅ S.D.
กลาง ทีส่ ดุ ๒,๐๒๙ ๔.๒๑ ๑.๐๕
๒๙๘ ๑๒๒ ๔๘
(๕๕.๓๐) (๒๑.๖๔) (๑๔.๖๙) (๖.๐๑) (๒.๓๗)
๓๘ ๓.๖๙ ๑.๒๐ ๑,๑๗๓ ๔๖๓ ๒๙๐ ๙๖ ๗๓ ๒,๐๙๕ ๔.๒๓ ๑.๐๗
(๕๕.๙๙) (๒๒.๑๐) (๑๓.๘๔) (๔.๕๘) (๓.๔๘)
๔๒ ๓.๕๖ ๑.๓๙ ๑,๑๕๗ ๔๘๗ ๒๙๕ ๙๔ ๕๖ ๒,๐๘๙ ๔.๒๔ ๑.๐๓
(๕๕.๓๙) (๒๓.๓๑) (๑๔.๑๒) (๔.๕๐) (๒.๖๘)
ขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอื่ ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ไมเ่ ห็น ไม่เห็นด้วย
ดว้ ย
ประเดน็ เหน็ ด้วย มากที่สดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ย n
๕๐
กลาง ที่สุด
๔๘
๑๖) ความ ๖๑๔ ๒,๒๗๐ ๒๘๑ ๖๖ ๙๕ ๓๑ ๓๖
แตกตา่ งทาง (๒๑.๒๙) (๗๘.๗๑) (๕๕.๒๑) (๑๒.๙๗) (๑๘.๖๖) (๖.๐๙) (๗.๐๗) ๗๔
ความคิดเห็นต่อ ๕
แนวทางการ
ปฏิรูปสถาบัน
พระมหากษัตริย์
(n=๒,๘๘๔)
๑๗) ความ ๕๘๖ ๒,๓๐๓ ๒๑๒ ๑๐๐ ๘๙ ๔๑ ๔๐
แตกตา่ งของชว่ ง (๒๐.๒๘) (๗๙.๗๒) (๔๓.๙๘) (๒๐.๗๕) (๑๘.๔๖) (๘.๕๑) (๘.๓๐)
วยั และการเกดิ
ชอ่ งว่างระหว่าง
วยั ของคนใน
สังคมไทย (n=
๒,๘๘๙)
๑๘) การ ๙๑๐ ๑,๙๗๕ ๒๔๕ ๑๗๒ ๒๑๕ ๕๘ ๕๙
แทรกแซงจาก (๓๑.๕๔) (๖๘.๔๖) (๓๒.๗๑) (๒๒.๙๖) (๒๘.๗๐) (๗.๗๔) (๗.๘๘)
ตา่ งประเทศ (n=
๒,๘๘๕)
๑๙) อื่น ๆ (n= ๕ ๗๓ ๒ ๒ ๑ - -
๗๘) (๖.๔๑) (๙๓.๕๙) (๔๐.๐๐) (๔๐.๐๐) (๒๐.๐๐) (๐.๐๐) (๐.๐๐)
เสนอ สำนกั งานข
๑๐๘
เหน็ ด้วย
n ̅ S.D. มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย n ̅ S.D.
กลาง ท่สี ุด
๐๙ ๔.๐๓ ๑.๒๗ ๑,๑๗๗ ๔๐๑ ๒๖๔ ๑๐๗ ๗๓ ๒,๐๒๒ ๔.๒๔ ๑.๐๙
(๕๘.๒๑) (๑๙.๘๓) (๑๓.๐๖) (๕.๒๙) (๓.๖๑)
๘๒ ๓.๘๔ ๑.๓๐ ๑,๑๗๓ ๔๓๕ ๒๙๘ ๗๓ ๗๑ ๒,๐๕๐ ๔.๒๕ ๑.๐๕
(๕๗.๒๒) (๒๑.๒๒) (๑๔.๕๔) (๓.๕๖) (๓.๔๖)
๔๙ ๓.๖๕ ๑.๒๓ ๙๒๔ ๓๗๗ ๒๖๙ ๑๑๖ ๙๒ ๑,๗๗๘ ๔.๐๘ ๑.๑๘
(๕๑.๙๗) (๒๑.๒๐) (๑๕.๑๓) (๖.๕๒) (๕.๑๗)
๕ ๔.๒๐ ๐.๘๔ ๖๗ ๔๗ ๑๔ ๔ ๒ ๖ ๔.๕๘ ๐.๗๔
(๑๐๐.๐ (๗๐.๑๕) (๒๐.๙๐) (๕.๙๗) (๒.๙๙)
๐)
ขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๐๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ผลการศึกษาจากตาราง ๑๑ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อ
สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่าร้อยละ ๘๐ เห็นด้วยว่าความขัดแย้ง
ในสังคมไทยมีสาเหตุมาจากสาเหตุทางการเมือง ได้แก่ ความไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทาง
การเมือง การไม่ยอมรับความเห็นที่แตกต่างทางการเมือง การบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นธรรม ความไม่สมดุล
ในความสัมพันธ์เชิงอำนาจของรัฐกับประชาชน สูญเสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมือง
การไม่ยอมรับอำนาจของฝ่ายผู้ปกครอง การถูกปฏิเสธพื้นที่ทางการเมือง/มีสิทธิทางการเมืองที่ ไม่เท่าเทียม
และสาเหตจุ ากประชาชน/ประชาสงั คมมีสว่ นร่วมในกจิ การของรฐั
นอกจากนี้ ความขัดแย้งในสังคมไทยยังมีสาเหตุมาจาก ความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ และ
ความก้าวหนา้ ของระบบสื่อสารและเทคโนโลยี และรวมถึงสาเหตุมาจากตวั บุคคล ได้แก่ ความเข้าใจตอ่ ข้อมลู
ท่ไี ดร้ ับจากการส่อื สารท่ตี า่ งกนั การเขา้ ถงึ และการรับรู้ข้อมูลทแี่ ตกต่างกนั
สำหรับความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยในประเด็นอื่น ๆ พบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามเหน็ ดว้ ยว่าความขดั แย้งทางการเมืองมีสาเหตุมาจากผ้นู ำทางการเมือง ผลประโยชน์ทางการเมือง
การไมย่ อมรับเพศทางเลอื ก และขอ้ พิพาททีด่ ินระหวา่ งรฐั กบั ประชาชน
เสนอ สำนักงานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๑๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ตาราง ๑๒ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานของความคดิ เหน็ ต่อผทู้ ีเ่ กี่ย
ประเดน็ ไมเ่ ห็น เหน็ ด้วย มากที่สุด มาก ไมเ่ ห็นดว้ ย n
ด้วย
ปาน นอ้ ย น้อย
กลาง ที่สุด
๑) ๖๖๘ ๒,๑๙๗ ๒๖๙ ๑๒๗ ๑๑๘ ๓๑ ๒๒ ๕๖๗
ขา้ ราชการ (๒๓.๓๒) (๗๖.๖๘) (๔๗.๔๔) (๒๒.๔๐) (๒๐.๘๑) (๕.๔๗) (๓.๘๘)
พลเรอื น (n=
๒,๘๖๕)
๒) ๕๓๕ ๒,๓๓๖ ๑๗๙ ๑๒๕ ๙๒ ๒๙ ๑๗ ๔๔๒
ข้าราชการ (๑๘.๖๓) (๘๑.๓๗) (๔๐.๕๐) (๒๘.๒๘) (๒๐.๘๑) (๖.๕๖) (๓.๘๕)
ทหาร (n=
๒,๘๗๑)
๓) ๒๙๗ ๒,๖๐๒ ๙๑ ๓๗ ๖๑ ๑๒ ๑๘ ๒๑๙
นกั การเมือง (๑๐.๒๔) (๘๙.๗๖) (๔๑.๕๕) (๑๖.๘๙) (๒๗.๘๕) (๕.๔๘) (๘.๒๒)
(n=๒,๘๙๙)
๔) ภาค ๔๕๓ ๒,๔๑๕ ๑๑๘ ๗๖ ๑๐๑ ๓๙ ๓๐ ๓๖๔
ธุรกจิ /กลมุ่ (๑๕.๗๙) (๘๔.๒๑) (๓๒.๔๒) (๒๐.๘๘) (๒๗.๗๕) (๑๐.๗๑) (๘.๒๔)
นายทนุ (n=
๒,๘๖๘)
๕) ๗๐๐ ๒,๑๕๙ ๒๒๕ ๑๒๘ ๑๔๔ ๕๘ ๓๘ ๕๙๓
นกั วชิ าการ (๒๔.๔๘) (๗๕.๕๒) (๓๗.๙๔) (๒๑.๕๙) (๒๔.๒๘) (๙.๗๘) (๖.๔๑)
(n=๒,๘๕๙)
๖) นกั ศกึ ษา ๗๘๓ ๒,๐๗๙ ๒๕๒ ๑๘๓ ๑๒๕ ๖๑ ๔๑ ๖๖๒
(n=๒,๘๖๒) (๒๗.๓๖) (๗๒.๖๔) (๓๘.๐๗) (๒๗.๖๔) (๑๘.๘๘) (๙.๒๑) (๖.๑๙)
เสนอ สำนกั งานข
ยวข้องกบั ความขดั แย้งในสังคมไทย ๑๑๑
เหน็ ดว้ ย n ̅
๑,๙๘๘ ๔.๑๕
̅ S.D. มากที่สดุ มาก ปาน นอ้ ย น้อย S.D.
กลาง ทีส่ ดุ ๑.๑๒
๔.๐๔ ๑.๑๒ ๑,๐๗๕ ๔๑๑ ๓๐๐ ๑๒๘ ๗๔
(๕๔.๐๗) (๒๐.๖๗) (๑๕.๐๙) (๖.๔๔) (๓.๗๒)
๓.๙๕ ๑.๑๑ ๑,๓๑๘ ๔๕๒ ๒๔๔ ๘๒ ๒๖ ๒,๑๒๒ ๔.๓๙ ๐.๙๒
(๖๒.๑๑) (๒๑.๓๐) (๑๑.๕๐) (๓.๘๖) (๑.๒๓)
๓.๗๘ ๑.๒๗ ๑,๖๖๗ ๔๐๑ ๒๑๘ ๖๘ ๓๒ ๒,๓๘๖ ๔.๕๑ ๐.๘๗
(๖๙.๘๗) (๑๖.๘๑) (๙.๑๔) (๒.๘๕) (๑.๓๔) ๐.๙๔
๓.๕๙ ๑.๒๗ ๑,๓๐๓ ๔๘๓ ๒๗๑ ๖๖ ๓๙ ๒,๑๖๒ ๔.๓๖
(๖๐.๒๗) (๒๒.๓๔) (๑๒.๕๓) (๓.๐๕) (๑.๘๐)
๓.๗๕ ๑.๒๔ ๑,๐๐๙ ๔๓๑ ๓๐๒ ๑๓๑ ๕๒ ๑ ๔.๑๗ ๑.๓๗
๑.๐๗
(๕๒.๓๙) (๒๒.๓๘) (๑๕.๖๘) (๖.๘๐) (๒.๗๐)
๓.๘๒ ๑.๒๑ ๙๒๐ ๔๒๒ ๓๔๗ ๑๑๗ ๔๖ ๑,๘๕๒ ๔.๑๑
(๔๙.๖๘) (๒๒.๗๙) (๑๘.๗๔) (๖.๓๒) (๒.๔๘)
ขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พ่อื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ไมเ่ ห็น ไม่เห็นดว้ ย
ด้วย
ประเด็น เห็นด้วย มากที่สดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย n
๑๒๖
กลาง ท่ีสุด ๖๙๒
๗๓๒
๗) ประชาชน ๗๖๕ ๒,๑๐๓ ๒๖๔ ๑๖๕ ๑๓๒ ๔๐ ๓๘
(n=๒,๘๖๘) (๒๖.๖๗) (๗๓.๓๓) (๔๑.๓๑) (๒๕.๘๒) (๒๐.๖๖) (๖.๒๖) (๕.๙๕) ๑๑๔
๗
๘) ๘๕๐ ๒,๐๐๒ ๒๓๖ ๑๖๓ ๑๓๕ ๖๘ ๙๐
ต่างประเทศ (๒๙.๘๐) (๗๐.๒๐) (๓๔.๑๐) (๒๓.๕๕) (๑๙.๕๑) (๙.๘๓) (๑๓.๐๑)
(n=๒,๘๕๒)
๙) องค์กรท่ี ๘๘๙ ๑,๙๕๑ ๒๔๙ ๑๕๙ ๑๖๙ ๗๗ ๗๘
ไม่ใชข่ องรัฐ (๓๑.๓๐) (๖๘.๗๐) (๓๔.๐๒) (๒๑.๗๒) (๒๓.๐๙) (๑๐.๕๒) (๑๐.๖๖)
เช่น องค์กร
ไมแ่ สวงหา
กำไร
(n=๒,๘๔๐)
๑๐) ส่ือสาร ๕๗๒ ๒,๒๘๐ ๑๘๔ ๙๒ ๑๑๔ ๓๔ ๓๔
มวลชน (๒๐.๐๖) (๗๙.๙๔) (๓๒.๑๗) (๑๖.๐๘) (๑๙.๙๓) (๕.๙๔) (๕.๙๔)
(n=๒,๘๕๒)
๑๑) อื่น ๆ ๗ ๘๓ ๒ - ๓ - ๒
(n=๙๐) (๗.๗๘) (๙๒.๒๒) (๒๘.๕๗) (๐.๐๐) (๔๒.๘๖) (๐.๐๐) (๒๘.๕๗)
เสนอ สำนักงานข
๑๑๒
เห็นดว้ ย
̅ S.D. มากท่ีสุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย n ̅ S.D.
กลาง ที่สดุ
๑.๐๙
๓.๙๐ ๑.๑๘ ๙๙๓ ๔๒๘ ๓๐๗ ๑๑๖ ๖๐ ๑,๙๐๔ ๔.๑๔
๘๔๘
(๕๒.๑๕) (๒๒.๔๘) (๑๖.๑๒) (๖.๐๙) (๓.๑๕) (๔๖.๘๒)
๘๔๓
๓.๕๖ ๑.๓๘ ๘๔๘ ๓๕๘ ๓๒๙ ๑๔๖ ๑๓๐ ๑,๘๑๑ ๓.๙๑ (๔๗.๗๓)
(๔๖.๘๒) (๑๙.๗๗) (๑๘.๑๗) (๘.๐๖) (๗.๑๘)
๓.๕๘ ๑.๓๓ ๘๔๓ ๓๕๔ ๓๒๙ ๑๓๖ ๑๐๔ ๑,๗๖๖ ๓.๙๖
(๔๗.๗๓) (๒๐.๐๕) (๑๘.๖๓) (๗.๗๐) (๕.๘๙)
๑๘๐. ๓๕๓. ๑,๑๐๓ ๔๒๕ ๓๒๗ ๑๐๒ ๘๗ ๒๓๖ ๙๕.๖๔ ๑,๑๐๓
๐๑ ๕๓
(๔๘.๓๘) (๑๘.๖๔) (๑๔.๓๔) (๔.๔๗) (๓.๘๒) (๔๘.๓๘)
๓.๐๐ ๑.๖๓ ๘๓ ๕๘ ๑๕ ๘ ๒ - ๔.๕๓ ๘๓
(๑๐๐.๐๐) (๖๙.๘๘) (๑๘.๐๗) (๙.๖๔) (๒.๔๑) (๑๐๐.๐๐)
ขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๑๓
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ผลการศึกษาจากตาราง ๑๒ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อผู้ที่
เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในสังคมไทย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามกว่าร้อยละ ๙๐ เห็นด้วยว่าความขัดแย้ง
ในสังคมไทยเกี่ยวข้องกับนักการเมืองมากกว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยว่าความขัดแย้ง
ในสังคมไทยเก่ียวข้องกับ ภาคธุรกิจ/กลุ่มนายทุน ขา้ ราชการทหาร และสื่อมวลชน สำหรบั กรณตี วั แสดงอื่น ๆ
ที่เกย่ี วขอ้ งกับความขดั แยง้ ในสังคมไทย ไดแ้ ก่ ๓ สถาบันหลักของประเทศ และกลุ่ม LGBTQ+
นอกจากนี้พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ ๓๐ ไม่เห็นด้วยว่า ภาคต่างประเทศ และองค์กรที่ไม่ใช่
ของรัฐ เชน่ องค์กรไมแ่ สวงหากำไร มคี วามเกย่ี วขอ้ งกับความขดั แย้งในสังคมไทย
เสนอ สำนักงานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๑๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอื่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ตาราง ๑๓ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ยี คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานของความคดิ เห็นต่อสาเหต
ไม่เห็นดว้ ย
ประเดน็ ไม่เห็นดว้ ย เห็นด้วย มากท่ีสุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ยท่สี ุด n
กลาง
๑) ความเห็น ๒๓๖ ๒,๖๖๑ ๖๔ ๒๓ ๔๕ ๑๒ ๓๐ ๑๗๔
ทางการเมอื งท่ี (๘.๑๕) (๙๑.๘๕) (๓๖.๗๘) (๑๓.๒๒) (๒๕.๘๖) (๖.๙๐) (๑๗.๒๔)
แตกต่าง
๒) ความ ๕๔๐ ๒,๓๔๐ ๑๕๑ ๑๐๕ ๑๓๗ ๓๓ ๒๗ ๔๕๓
ขดั แยง้ จาก (๑๘.๗๕) (๘๑.๒๕) (๓๓.๓๓) (๒๓.๑๘) (๓๐.๒๔) (๗.๒๘) (๕.๙๖)
ความแตกตา่ ง
ของวัย
๓) ความ ๔๗๓ ๒,๔๐๘ ๑๒๕ ๘๖ ๑๑๘ ๔๖ ๒๔ ๓๙๙
เหล่อื มลำ้ ใน (๑๖.๔๒) (๘๓.๕๘) (๓๑.๓๓) (๒๑.๕๕) (๒๙.๕๗) (๑๑.๕๓) (๖.๐๒)
ดา้ นต่าง ๆ
๔) ความ ๖๒๑ ๒,๒๕๕ ๒๐๑ ๑๕๓ ๑๑๗ ๔๔ ๒๗ ๕๔๒
ขัดแยง้ จาก (๒๑.๕๙) (๗๘.๔๑) (๓๗.๐๘) (๒๘.๒๓) (๒๑.๕๙) (๘.๑๒) (๔.๙๘)
ประเดน็ ค่านยิ ม
ความเชอื่
๕) ความ ๔๔๕ ๒,๔๓๔ ๑๒๘ ๙๘ ๘๒ ๓๔ ๒๕ ๓๖๗
ขดั แย้งจากการ (๑๕.๔๖) (๘๔.๕๔) (๓๔.๘๘) (๒๖.๗๐) (๒๒.๓๔) (๙.๒๖) (๖.๘๑)
ไมย่ อมรบั การ
เปลีย่ นแปลง
๖) อืน่ ๆ ๑๐ ๑๖๔ ๖ ๔ - - - ๑๐
(๕.๗๕) (๙๔.๒๕) (๖๐.๐๐) (๔๐.๐๐) (๐.๐๐) (๐.๐๐) (๐.๐๐)
เสนอ สำนกั งานข
ตุของความขดั แย้งในอนาคตในสงั คมไทย ๑๑๕
เห็นด้วย n ̅ S.D.
๒,๔๑๙ ๔.๔๘ ๑,๖๔๓
̅ S.D. มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย
กลาง ท่ีสดุ (๖๗.๙๒)
๔ ๓.๔๕ ๑.๔๗ ๑,๖๔๓ ๔๐๕ ๒๘๓ ๕๗ ๓๑
(๖๗.๙๒) (๑๖.๗๔) (๑๑.๗๐) (๒.๓๖) (๑.๒๘)
๓ ๓.๗๑ ๑.๑๗ ๑๑๕๔ ๔๘๙ ๓๕๓ ๘๒ ๓๘ ๒,๑๑๖ ๔.๒๕ ๐.๙๘
(๕๔.๕๔) (๒๓.๑๑) (๑๖.๖๘) (๓.๘๘) (๑.๘๐)
๙ ๓.๖๑ ๑.๒๑ ๑,๒๙๔ ๔๗๐ ๓๐๕ ๗๕ ๒๘ ๒,๑๗๒ ๔.๓๕ ๐.๙๓
(๕๙.๕๘) (๒๑.๖๔) (๑๔.๐๔) (๓.๔๕) (๑.๒๙)
๒ ๓.๘๔ ๑.๑๖ ๑,๑๒๑ ๔๕๗ ๓๒๑ ๘๐ ๔๘ ๒,๐๒๗ ๔.๒๔ ๑.๐๑
(๕๕.๓๐) (๒๒.๕๕) (๑๕.๘๔) (๓.๙๕) (๒.๓๗)
๗ ๓.๗๔ ๑.๒๒ ๑,๓๖๘ ๔๕๖ ๒๖๓ ๖๕ ๔๙ ๒,๒๐๑ ๔.๓๘ ๐.๙๖
(๖๒.๑๕) (๒๐.๗๒) (๑๑.๙๕) (๒.๙๕) (๒.๒๓)
๐ ๔.๖๐ ๐.๕๒ ๑๑๔ ๑๕ ๘ - - ๑๓๗ ๔.๗๗ ๐.๕๔
(๘๓.๒๑) (๑๐.๙๕) (๕.๘๔) (๐.๐๐) (๐.๐๐)
ขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๑๖
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ผลการศึกษาจากตาราง ๑๓ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อ
สาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตในสังคมไทย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากว่าร้อยละ ๙๐ เห็นด้วยว่า
ความเห็นทางการเมืองที่แตกต่างจะเป็นสาเหตุของความขัดแย้งของสังคมไทยในอนาคต ทั้งน้ี มีสาเหตุอื่น ๆ
ที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งของสังคมไทยในอนาคต เช่น ความไม่เท่าเทียมทางเพศ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
และความแตกต่างทางความคิด นอกจากนี้มากกว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้ตอบบแบบสอบถาม เห็นด้วยว่า
การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ และความขัดแย้งจากความแตกต่างของวัย
เป็นสาเหตขุ องความขัดแย้งของสังคมไทยในอนาคต
เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๑๗
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ตาราง ๑๔ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ยี ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อการจดั
ประเด็น ไม่เห็น เหน็ ด้วย มากท่ีสดุ มาก ไมเ่ หน็ ดว้ ย n
ด้วย
ปาน น้อย นอ้ ย
กลาง ท่สี ดุ
๑) การเจรจา ๓๔๔ ๒,๕๔๒ ๑๐๕ ๕๑ ๕๑ ๒๓ ๑๕ ๒๔
อย่างสนั ตวิ ธิ โี ดย (๑๑.๙๒) (๘๘.๐๘) (๔๒.๘๖) (๒๐.๘๒) (๒๐.๘๒) (๙.๓๙) (๖.๑๒)
คกู่ รณี
๒) การไกล่เกลีย่ ๔๖๗ ๒,๔๑๑ ๑๕๒ ๘๓ ๘๖ ๒๗ ๒๐ ๓๖
โดยคนกลาง/ (๑๖.๒๓) (๘๓.๗๗) (๔๑.๓๐) (๒๒.๕๕) (๒๓.๓๗) (๗.๓๔) (๕.๔๓)
บุคคลที่ ๓ ท้งั
ภายในและ
ภายนอก
๓) การตอ่ รอง ๔๑๓ ๒,๔๖๒ ๑๐๕ ๗๗ ๘๑ ๓๐ ๒๓ ๓๑
เพอ่ื ใหเ้ กิดความ (๑๔.๓๗) (๘๕.๖๓) (๓๓.๒๓) (๒๔.๓๗) (๒๕.๖๓) (๙.๔๙) (๗.๒๘)
สมดลุ ของคู่
ขดั แยง้
๔) การไต่สวน ๔๕๗ ๒,๔๑๘ ๑๐๘ ๙๑ ๘๕ ๕๐ ๒๘ ๓๖
เพอื่ ระงับข้อ (๑๕.๙๐) (๘๔.๑๐) (๒๙.๘๓) (๒๕.๑๔) (๒๓.๔๘) (๑๓.๘๑) (๗.๗๓)
พพิ าทอยา่ งสันติ
๕) การ ๓๗๖ ๒,๔๙๘ ๑๐๒ ๔๗ ๖๖ ๓๖ ๓๑ ๒๘
ประนีประนอม (๑๓.๐๘) (๘๖.๙๒) (๓๖.๑๗) (๑๖.๖๗) (๒๓.๔๐) (๑๒.๗๗) (๑๐.๙๙)
เพ่อื หาทางออก
รว่ มกัน
เสนอ สำนกั งานขับเค
ดการความขดั แยง้ เพื่อสรา้ งความปรองดองในประเทศไทย ๑๑๘ S.D.
๐.๙๕
เหน็ ดว้ ย n ̅
n ̅ S.D. มากที่สดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ๒,๓๒๙ ๔.๔๒
กลาง ที่สดุ
๔๕ ๓.๘๕ ๑.๒๔ ๑,๕๓๘ ๓๙๘ ๒๕๔ ๑๐๕ ๓๔
(๖๖.๐๔) (๑๗.๐๙) (๑๐.๙๑) (๔.๕๑) (๑.๔๖)
๖๘ ๓.๘๗ ๑.๑๙ ๑,๓๐๐ ๔๑๖ ๓๐๒ ๑๓๔ ๔๙ ๒,๒๐๑ ๔.๒๖ ๑.๐๕
(๕๙.๐๖) (๑๘.๙๐) (๑๓.๗๒) (๖.๐๙) (๒.๒๓)
๑๖ ๓.๖๗ ๑.๒๓ ๑,๓๘๔ ๔๑๗ ๒๙๔ ๑๐๗ ๔๗ ๒,๒๔๙ ๔.๓๓ ๑.๐๑
(๖๑.๕๔) (๑๘.๕๔) (๑๓.๐๗) (๔.๗๖) (๒.๐๙)
๖๒ ๓.๕๖ ๑.๒๖ ๑,๓๒๕ ๔๖๕ ๒๗๑ ๘๓ ๕๙ ๑ ๔.๓๓ ๑.๐๘
(๖๐.๑๒) (๒๑.๑๐) (๑๒.๓๐) (๓.๗๗) (๒.๖๘)
๘๒ ๓.๕๔ ๑.๓๘ ๑,๔๕๖ ๔๕๒ ๒๖๙ ๕๘ ๔๙ ๒,๒๘๔ ๔.๔๐ ๐.๙๔
(๖๓.๗๕) (๑๙.๗๙) (๑๑.๗๘) (๒.๕๔) (๒.๑๕)
คล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พื่อให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ไม่เห็น ไม่เห็นดว้ ย
ด้วย
ประเดน็ เหน็ ดว้ ย มากที่สุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย n
๒๗
กลาง ทีส่ ดุ
๖) การสร้าง ๓๖๑ ๒,๕๑๔ ๑๐๔ ๖๕ ๕๘ ๒๗ ๑๗
ความร่วมมือเพื่อ (๑๒.๕๖) (๘๗.๔๔) (๓๘.๓๘) (๒๓.๙๙) (๒๑.๔๐) (๙.๙๖) (๖.๒๗)
จัดทำข้อตกลง
ร่วมกัน
๗) การสร้าง ๔๓๑ ๒,๔๔๕ ๑๒๒ ๘๘ ๖๘ ๓๘ ๒๗ ๓๔
กตกิ าที่คขู่ ัดแย้ง (๑๔.๙๙) (๘๕.๐๑) (๓๕.๕๗) (๒๕.๖๖) (๑๙.๘๓) (๑๑.๐๘) (๗.๘๗) ๓๖
ยอมรับ ๔๖๐ ๒,๔๑๔ ๑๔๐ ๒๖
(๑๖.๐๑) (๘๓.๙๙) (๓๘.๘๙) ๘๙ ๖๑ ๔๓ ๒๗
๘) การกระจาย ๓๕๒ ๒,๕๒๑ (๒๔.๗๒) (๑๖.๙๔) (๑๑.๙๔) (๗.๕๐) ๗
อำนาจเพ่ือสรา้ ง (๑๒.๒๕) (๘๗.๗๕) ๙๐
ความสมดุลของคู่ (๓๓.๙๖) ๕๔ ๕๑ ๒๓ ๔๗
ขดั แย้ง ๗ ๓๐๗ (๒๐.๓๘) (๑๙.๒๕) (๘.๖๘) (๑๗.๗๔)
๔
๙) การปฏริ ูป ๒ ๑ - -
ระบบ/โครงสร้าง
ทเี่ ป็นสาเหตุของ
ความขัดแยง้ เชน่
กระบวนการ
ยตุ ธิ รรม
การเมืองการ
ปกครอง ระบบ/
กลไกทาง
เศรษฐกจิ สงั คม
ฯลฯ
๑๐) อื่น ๆ
เสนอ สำนักงานขับเค
๑๑๙
เหน็ ดว้ ย
n ̅ S.D. มากที่สุด มาก ปาน น้อย น้อย n ̅ S.D.
กลาง ท่สี ุด
๗๑ ๓.๗๘ ๑.๒๓ ๑,๔๔๓ ๔๓๘ ๒๘๕ ๙๒ ๓๘ ๒,๒๙๖ ๔.๓๗ ๐.๙๖
(๖๒.๘๕) (๑๙.๐๘) (๑๒.๔๑) (๔.๐๑) (๑.๖๖)
๔๓ ๓.๗๐ ๑.๒๗ ๑,๓๑๑ ๔๑๒ ๓๖๗ ๘๒ ๕๒ ๒,๒๒๔ ๔.๒๘ ๑.๐๒
(๕๘.๙๕) (๑๘.๕๓) (๑๖.๕๐) (๓.๖๙) (๒.๓๔)
๖๐ ๓.๗๖ ๑.๒๙ ๑,๓๔๗ ๔๔๙ ๒๕๗ ๑๐๔ ๔๖ ๒,๒๐๓ ๔.๓๔ ๑.๐๐
(๖๑.๑๔) (๒๐.๓๘) (๑๑.๖๗) (๔.๗๒) (๒.๐๙)
๖๕ ๓.๔๔ ๑.๔๗ ๑,๕๘๖ ๓๖๗ ๒๒๗ ๗๑ ๔๒ ๒,๒๙๓ ๔.๔๘ ๐.๙๒
(๖๙.๑๗) (๑๖.๐๑) (๙.๙๐) (๓.๑๐) (๑.๘๓)
๗ ๔.๔๓ ๐.๗๙ ๘๖ ๑๒ ๔ - - ๑๐๒ ๔.๘๐ ๐.๔๙
คลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอื่ ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ไม่เห็น ไม่เหน็ ด้วย
ด้วย
ประเดน็ เห็นดว้ ย มากท่ีสดุ มาก ปาน น้อย น้อย n
กลาง ทส่ี ุด
(๒.๒๐) (๙๗.๘๐) (๕๗.๑๔) (๒๘.๕๗) (๑๔.๒๙) (๐.๐๐) (๐.๐๐)
เสนอ สำนักงานขบั เค