The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by researchteam.official, 2022-12-26 01:28:29

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

๗๐

ข้อสังเกต ความคดิ เห็น ความตอ้ งการ และปญั หา
วชีว้ ัดที่กำหนดเอาไว้ทงั้ หมดสองตวั ชีว้ ดั คอื ตัวชวี้ ัดท่ี ๑. ความต้องการสภาพปัญหา
และสภาพปัญหาที่เป็นปัจจุบัน ในสังคมไทยมีการศึกษาเรื่องความขัดแย้งทาง
มืองไว้มาก แต่ด้วยสภาพทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป สภาพทางเทคโนโลยีท่ี
นแปลงไป ความคดิ ของคนรุ่นใหม่อาจอาจมีเปลยี่ นแปลงทำให้ธรรมชาติของปัญหา
มขัดแย้งดังกล่าวก็อาจเปลี่ยนแปลง จึงควรศึกษาถึงรากฐานของปัญหาว่าเกิดข้ึนได้
ไร ตัวชี้วัดที่ ๒. เมื่อมีสภาพปัญหาแล้วควรจัดทำข้อเสนอแนะที่ถ่ายทอดไปยังผู้ที่
ข้องทัง้ ส่วนราชการ รวมถงึ สว่ นอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งสามารถนำไปดำเนินการได้
รื่องกลุ่มเป้าหมาย เห็นด้วยกับการเก็บข้อมูลให้ครอบคลุมให้ทั่วภูมิภาคและทั่ว
ทศไทย แต่ในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจะต้องไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มใด กลุ่มบุคคล
หรือกลุ่มที่เกี่ยวกับความขัดแย้งโดยตรง สองกลุ่มนี้จะมีความแตกต่างกัน หากเก็บ
จากกลุม่ ทเี่ กยี่ วข้องกบั ความขดั แย้งโดยตรง หรอื ผทู้ ่มี สี ่วนได้เสยี กบั ความขัดแย้งจะ
คล้องกับพื้นที่ที่เลือกใช้ในการเก็บข้อมูลว่ามีความสัมพันธ์มากน้อยขนาดไหนกับ
ด็นความขดั แยง้
ลในการเกบ็ ข้อมูลเชิงคุณภาพวา่ จะสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียโดยตรงได้
อยแคไ่ หน
ดา้ นเน้ือหาคำถามเกยี่ วกบั ประเดน็ ความขัดแยง้ ถา้ หากนำคำถามไปเจาะจงเกี่ยวกับ
ความขัดแยง้ คำตอบทไี่ ดจ้ ะไม่เปน็ ไปตามที่คาดหวงั ไว้

คล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชื่อ ตำแหน่งและหนว่ ยงาน
๓ นายศภุ ณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์
- ถ้าห
คุ้นเคย
สามาร

- วิธีก
กระ
ควา
กระ
กระ
ในอ
หาช
การ
การ
การ
อยู่ร

ผู้อำนวยการสำนักสนั ตวิ ธิ ี - วัตถ
และธรรมาภิบาล สถาบัน ขัดแย้ง
พระปกเกลา้
- อยา
แก้ปัญ
ปรอง
โดยเฉ
ความ

เสนอ สำนกั งานขบั เค


๗๑

ข้อสังเกต ความคดิ เหน็ ความต้องการ และปัญหา

หากคำถามระบุวิธีการจัดการความขัดแย้ง ผลของคำตอบจะถูกจำกัดโดยวิธีการที่
ย แต่ว่ามีเครื่องมืออื่น ๆ ทางสังคม ในทางกฎหมาย ทางโครงสร้างทางสังคมที่จะ
รถคลค่ี ลายปัญหาความขัดแยง้ ได้ โดยไมไ่ ดถ้ ูกระบวุ า่ เป็นวธิ กี ารจดั การความขดั แยง้

การเก็บข้อมูลที่จะมีการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในหลาย ๆ พื้นที่ มักจะใช้
ะบวนการในการเก็บข้อมูลในลักษณะของการทำการประชุมปฏิบัติการวิเคราะห์
ามขัดแยง้ ผทู้ ่ีเข้ารว่ มสามารถที่จะร่วมให้ข้อมูลในเชิงมีการคิดวิเคราะห์ประเมินผ่าน
ะบวนการต่าง ๆ แล้วสามารถนำข้อมูลที่ได้มาตั้งต้นเพื่อใช้ในการทำวิจัยต่อไป ใน
ะบวนการเก่ยี วกับการสร้างความปรองดองมสี ามเรื่องหลักคือ ๑. คน้ คว้าการเยียวยา
อดีตที่ผ่านมา เนื่องจากความขัดแย้งในอดีตมีบาดแผลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ๒. การ
ช่องทางที่จะทำให้คนในสังคมเข้ามาร่วมคลีค่ ลายปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น สิทธิเสรีภาพ
รบังคับใช้กฎหมาย การเคารพสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรม สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นที่ใน
รปฏิสัมพันธ์ของคนในสังคมและในปัจจุบันมีพื้นที่เหล่านี้มากน้อยเพียงใด และ ๓.
รค้นหาอนาคตร่วมกัน ท่ามกลางบาดแผลที่ผ่านมาในอดีตท้ายที่สุดแล้วยังไงก็ต้อง
ร่วมกันในสงั คมไม่ว่าจะมีความคิดเห็นทางการเมืองอยา่ งไร

ถุประสงค์ข้อที่สอง ที่เขียนว่าขจัดความขัดแย้งของสังคม ในการแก้ไขปัญหาความ
งต่าง ๆ ในสังคมไมส่ ามารถขจดั ความขัดแยง้ ออกไปได้

ากให้มีการเพิ่มลงไปในกระบวนการที่ค้นหาสภาพของปัญหาแล้วก็แนวทาง
ญหาเพิ่มเติมในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่องของการ
งดองสมานฉันท์ลงไปด้วย การที่จะทำตรงนั้นได้ควรที่จะออกแบบกระบวนการ
ฉพาะบนเวทีรับฟังความคิดเห็น กระบวนการเหล่านี้เป็นกระบวนการที่เรารวบรวม
มคดิ เหน็ ไดจ้ ากผู้ที่เข้ารว่ มประชุมแลว้ ก็เป็นการเสริมสรา้ งความรู้ให้ดว้ ย การประชุม

คลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พือ่ ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชือ่ ตำแหนง่ และหนว่ ยงาน
๔ รศ.ดร.จันทรานชุ มหากาญจนะ
รับฟัง
ประเม

- ในแบ
ความ
การเม
คนกล
คณาจ

- เมือ่ น
ได้ยาก
ของน
ชัดเจน

อาจารยป์ ระจำคณะรัฐ - เมื่อ
ประศาสนศาสตร์ สถาบัน ประ
บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ การ

ไมจ่

- ในก
ที่คิด
สาเห
มาก
ของ

เสนอ สำนักงานขับเค


๗๒

ขอ้ สงั เกต ความคดิ เห็น ความตอ้ งการ และปญั หา

งความคิดเห็นควรจะเป็นการเสริมสร้างความรู้และความตระหนักให้แล้วควรมีการ
มนิ และผทู้ ่ีเข้าร่วมประชุมควรท่ีจะมคี วามหลากหลาย

บบสอบถาม ตัวคำถามมีหลายประเด็นที่กว้างหรือทับซ้อนกันอยู่ เช่น สาเหตุของ
มขัดแย้งทางการเมืองอยากให้เจาะจงเพิ่มเติม (พรรคการเมือง, อุดมการณ์ทาง
มอื ง) และในขอ้ สามใหญ่อยากใหร้ ะบุให้ชัดวา่ ความขัดแยง้ ทางการเมืองเกี่ยวข้องกับ
ลุ่มใด (พรรคการเมือง, ฝ่ายบริหาร, ฝ่ายรัฐสภา, องค์กรอิสระ, นักวิชาการ/
จารย์, ค่ขู ดั แยง้ โดยตรง)

นำคำตอบมาวิเคราะห์คำตอบท่ีได้จะกวา้ งเกินไป อาจจะทำใหน้ ำมาทำข้อเสนอแนะ
ก ถา้ หากจัดใหม้ กี ารพูดคุยรบั ฟังความคิดเห็นจากกลุม่ ผูน้ ำชมุ ชน กลุ่มเยาวชน กลุ่ม
นักวชิ าการ คณาจารย์ กลมุ่ นกั การเมือง พรรคการเมือง กลุ่มประชาสงั คม ควรจดั ให้
นแบบการสนทนากลมุ่

อนำตัวแบบสอบถามดังกล่าวไปถามประชาชน ตัวคำตอบที่เป็นความคิดเห็นของ
ะชาชนจะสามารถสะท้อนความเป็นจริงหรือไม่ ในเรื่องของความขัดแย้งทาง
รเมืองของประเทศไทยมีนักวิชาการวิเคราะห์อยู่แล้วว่าสาเหตุเกิดจากอะไร อาจจะ
จำเปน็ ต้องไปถามประชาชนกไ็ ด้ว่ามนั เกดิ จากอะไรเนื่องจากมีการศึกษาอย่มู ากมาย

การทำแบบสอบถามควรที่จะทำการสำรวจเชิงคุณภาพก่อนแล้วคอ่ ยนำเอาแนวทาง
ดออกมาแล้วไปถามประชาชน เนื่องจากคำถามของการวิจัยคือต้องการจะรู้ว่า
หตุของความขัดแย้งว่าเกิดจากอะไร มีการเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยเชื่อมโยงต่าง ๆ
กน้อยแค่ไหน เอาแนวทางตรงนั้นไปลองสอบถามประชาชน ทำให้เห็นภาพความคิด
งประชาชนว่าทำไมกระบวนการปรองดองที่ผ่านมาไม่สำเร็จเพราะอะไร ในการทำ

คลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชือ่ ตำแหน่งและหนว่ ยงาน แบบ
๕ อ.ดร.พมิ พ์รภชั ดษุ ีอสิ รยิ กุล นักก
ผู้จดั การโครงการ
- อยา
Friedrich Naumann โดย
Foundation ขัดแ

- ในเร
เพอ่ื

- ในส
จะท
สังค
บนค

- ในข
ระด
ราย
ขึน้

- ควา
ขัดแ
ได้ค
เกีย่ ว

เสนอ สำนักงานขับเค


๗๓

ข้อสงั เกต ความคดิ เห็น ความต้องการ และปญั หา

บสอบถามถ้าสามารถเจาะจงกลุ่มเป้าหมายได้ เช่น ส่งแบบสอบถามไปถาม
การเมอื งท่อี ยู่คนละข้วั ความขัดแย้ง กล่มุ ธรุ กจิ หรือกลุม่ คนท่อี ยคู่ นละขัว้

ากให้เจาะจงลงไปในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมือง
ยตรง แล้วทำแผนผังแบ่งเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความ
แย้ง กลมุ่ ประชาชนทวั่ ไป ทำใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ทีแ่ ตกต่างออกไปจากเดิม

รื่องของวิธีการ กระบวนการ รวมถึงพื้นที่ในการเก็บข้อมูล ต้องมีการเปลี่ยนแปลง
อให้คำตอบทีไ่ ดแ้ ตกต่างจากการศกึ ษาอนื่ ๆ

ส่วนของวัตถุประสงค์ที่ตั้งมาว่าลดความขัดแย้งหรือขจัดความขัดแย้ง ไม่สามารถที่
ทำให้ความขัดแย้งหายไปได้และเป็นไปไม่ได้เนื่องจากเป็นธรรมชาติของคนที่อยู่ใน
คมประชาธิปไตย อาจจะใช้คำอื่น เช่น แสวงหาแนวทางทีจ่ ะอยู่รว่ มกันอย่างสันติสุข
ความแตกต่างของสังคม

ข้อคำถามที่มีตั้งแต่ระดับ ๑-๕ กังวลว่าผู้ที่ตอบแบบสอบถามจะเทคะแนนไปใน
ดับปานกลาง อาจจะเติมช่อง อื่น ๆ ลงไปเพื่อให้ผู้ที่ตอบแบบสอบถามได้ใส่
ยละเอียดเพ่ิมเติม รวมถึงปรับปรงุ คำถามให้เป็นมิตรกับผู้คน แล้วก็เปน็ รูปธรรมมาก
เพอ่ื ใหค้ ำถามเกย่ี วกบั ชวี ิตประจำวนั มากขึ้น และเข้าใจได้ง่ายมากยงิ่ ข้ึน

ามขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบันแตกต่างจากอดีต ปัจจุบันผลกระทบของความ
แย้งทางการเมอื งก็มีอยู่ในโรงเรียน ในครอบครัว หรือแม้กระทั่งกลุ่มเพื่อน ถ้าอยาก
คำตอบของความขัดแย้งทางการเมืองที่เปลี่ยนไปควรตั้งคำถามการสัมภาษณ์ท่ี
วข้องกับการใชช้ ีวิตประจำวัน

คลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พื่อให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชื่อ ตำแหนง่ และหนว่ ยงาน
๖ ศภุ ฤกษ์ ภูพ่ งศ์ศักดิ์
- อยา
ประ
ตวั เอ
ใหเ้ ร

- วิธีก
ทำค

- ประ
ทจ่ี ะ
คอื จ

รองรกั ษาราชการแทนรอง - ในกา
ผู้อำนวยการสำนักงาน หน่วย
ป.ย.ป ประมา

การมีส
โดยยึด
เลอื กต
ว่าอะไ
เกี่ยวข
ข้อมูล
ประโย

เสนอ สำนกั งานขบั เค


๗๔

ข้อสงั เกต ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ และปัญหา

ากให้พื้นที่ในการคิดของผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่านี้ เช่น มองภาพอนาคตว่า
ะเทศไทยจะมีความขัดแย้งเรื่องอะไรบ้าง สุดท้ายเมื่อให้คนพูดถึงภาพอนาคตที่
องอยากเหน็ ก็จะพูดตอ่ วา่ มันเปน็ ไปได้ยากเน่ืองจากมีข้อจำกดั อะไรบ้าง ดีกว่าท่ีจะ
รมิ่ ต้นการพูดคยุ จากปัญหาของความขดั แยง้ ทางการเมือง

การจัดการความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในประเทศไทยมีอะไรบ้าง ต้อง
ความเข้าใจภมู ทิ ัศนค์ วามขัดแยง้ ของสังคมใหม่แล้วต้ังคำถามใหม่

ะเดน็ การค้นหาอนาคตรว่ มกนั หากทำได้จะเปน็ ข้อค้นพบใหมท่ ี่ยงั ไม่มีสงั คม สิ่งหน่ึง
ะชว่ ยใหช้ อ่ งวา่ งระหวา่ งความขัดแย้งลดลง คือ การหาเป้าหมายร่วมกนั มองว่าอะไร
จดุ รว่ มบางอยา่ ง ในการมองภาพอนาคต

ารเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ควรที่จะเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจาก
ยงานเจ้าของโครงการที่ทำโครงการตามแผนปฏิรูปด้านการเมืองด้วยซึ่งมีทั้งหมด
าณ ๗๐ โครงการ เช่น โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของด้านสิทธิเสรีภาพและ
ส่วนร่วมแล้วก็กฎหมายแก่ภาคประชาชน โครงการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
ดประชาชนเป็นหลัก โครงการสร้างจิตสำนึกประชาธิปไตยให้ความรู้เกี่ยวกับการ
ต้งั ฯลฯ เน่ืองจากหน่วยงานที่ดำเนินงานของโครงการเหล่าน้จี ะมสี มมตฐิ านเบ้ืองต้น
ไรเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง อะไรเป็นประเด็นของความขัดแย้ง ผู้มีส่วนได้เสียที่
ข้องกับความขัดแย้งเป็นใครจึงนำไปสู่โครงการที่แก้ไขปัญหาความขัดแย้ง การเก็บ
ลจากหน่วยงานที่ดำเนินการในโครงการเหล่านี้จะทำให้ได้ข้อมูลอีกฝั่งหนึ่งที่เป็น
ยชน์ต่อการดำเนินโครงการนี้ เมื่อได้ผลการศึกษาออกมาแล้วก็น่าจะเป็นประโยชน์

คลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชอ่ื ตำแหนง่ และหน่วยงาน อย่างม
๗ นายวิศษิ ฏ์ วิศษิ ฏ์สรอรรถ หน่วย
ผู้อำนวยการสำนักงาน
๘ นายปกรณ์ ปรยี ากร ป.ย.ป. - ปัญห
แดง
ประธานกรรมการปฏิรปู การ
ประเทศดา้ นการเมอื ง คนบ

- แนว
การ
คูข่ ัด

- ควา
ขัดแ
นัก
หลา
มาก

เสนอ สำนักงานขับเค


๗๕

ข้อสังเกต ความคดิ เหน็ ความต้องการ และปญั หา
มากถ้าผลการศึกษานี้ได้ถูกส่งกลับไปยังหน่วยงานที่ดำเนินโครงการ เพื่อให้
ยงานได้นำไปใชป้ รบั ปรุงโครงการต่อไป
หาความขัดแย้งทางการเมืองมีหลากหลาย เช่น ความขัดแย้งระหว่างสีเหลืองกับสี
ง ความขัดแยง้ เร่ืองการแบ่งดินแดน ความขัดแย้งเร่ืองการชสู ามนว้ิ ทำให้กังวลเร่ือง
รนำแบบสอบถามไปถามคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแล้วจะทำให้ความคิดเห็นเอนเอียงไปหา
บางกลุม่
วคำถามในแบบสอบถามควรจะเน้นไปที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับความขัดแย้งทาง
รเมือง และควรแบ่งกล่มุ ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใหช้ ัดเจนและรับฟังความคิดเห็นจาก
ดแยง้ อยา่ งเสมอกัน
ามขัดแย้งเป็นเรื่องปกติของสังคมพหุวัฒนธรรม การที่จะนำวิธีการจัดการความ
แย้งแบบกรอบแนวคิดของตะวันตกมาปรับใช้อาจไม่เหมาะสมกับประเทศไทยมาก
ทำให้เมื่อเราหาวธิ ีการจัดการความขัดแย้งจึงต้องใช้วิธีการจัดการความขดั แย้งจาก
ายหลายกรอบเพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมอาจจะช่วยให้เรามองภาพในเชิงลึกได้
กข้นึ ภายใตค้ วามขัดแย้งในหลาย ๆ เรื่อง

คลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๗๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๓. สรุปผลการประชุมคณะกรรมการผเู้ ชยี่ วชาญครั้งท่ี ๑

ในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ตามโครงการโครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคี
ปรองดองสมานฉันทร์ ายการค่าใช้จ่ายในการสร้างการรับรูเ้ พ่ือใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ โดย
ในที่ประชุมให้ความเห็นว่า ปัญหาของความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมเป็นเรื่องปกติในสังคมประชาธิปไตย
ที่ไมส่ ามารถหลีกเลย่ี งปัญหาความขัดแย้งดังกล่าวได้ การจะขจดั ความขัดแย้งใหห้ มดไปเปน็ สิ่งท่ีไม่สามารถทำ
ได้ แต่จะต้องหาวิธีที่จะอยู่ร่วมกันภายในสังคมที่มีความแตกต่างกัน หรือหาวิธีการที่สามารถลดช่องว่าง
ระหว่างความขดั แยง้ ดังกล่าว

ในส่วนของข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ ที่ประชุมได้เสนอแนะแนวทาง และวิธีการเก็บข้อมูล
รวมถึงการเลือกพื้นทเ่ี พอื่ การศึกษาวิจยั ดังน้ี

- การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ก่อนการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิง
ลึกกลุ่ม Key performance ได้แก่ กลุ่มนักศึกษา กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มเอกชน กลุ่มภาครัฐ กลุ่มนักการเมือง
กลุ่มคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง (กิจกรรมปฏิรูปที่ ๓ การสร้างความสามัคคีปรองดอง
สมานฉนั ท์ของคนในชาต)ิ และกลุ่ม NGOs

- ใช้ประเด็นจากการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (การ Focus group) เพื่อพัฒนาเป็นแนวคำถามเชิง
คณุ ภาพ (การจดั ทำเวที ๕ ภาค) และแบบสอบถามเชงิ ปรมิ าณ

- ปรับการนำเสนอการเก็บข้อมูลการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณให้ชัดเจนว่าเป็นกลุ่ม Specific opinion
และกลุ่ม Public opinion

- การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการที่สำคัญ ๒ ประการ ได้แก่ ๑) Documentary research และ
๒) Deliberative democracy

- ปรับเพิ่มการกระจายแบบสอบถามโดยการใช้ระบบออนไลน์ผ่านช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูล
ความเห็นจากท้งั กลมุ่ Specific opinion และกลุ่ม Public opinion

- การจัดทำเวที ๕ ภูมิภาคให้พิจารณาจาก ๑) จังหวัดที่มีประชากรที่มีทั้งกลุ่ม Specific opinion
และกลุ่ม Public opinion ๒) เขตพื้นท่ีเมอื งและชนบท ๓) กลมุ่ ทีม่ คี วามแตกตา่ งทางด้านประชากรศาสตร์

- การใชค้ ำทสี่ ะทอ้ นความเปน็ จรงิ ของความขดั แย้ง และการใช้คำตามหลักการทางวชิ าการทเ่ี ก่ยี วข้อง

เสนอ สำนักงานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๗๗
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

บทที่ ๖
ผลการคัดเลอื กจงั หวดั ทต่ี ้องการลงพื้นทีเ่ ก็บขอ้ มลู แผนการลงพื้นท่เี กบ็ ขอ้ มูล

และแผนการลงพน้ื ที่การจัดประชุมรับฟังความคดิ เห็น

ผลการดำเนินการในบทน้ีเป็นผลการดำเนินการที่คณะทีป่ รึกษาฯ เป็นผจู้ ัดทำข้ึน โดยเนื้อหาในส่วนนี้
ต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ จากการจัดประชุมครั้งที่ ๑ เพื่อปรึกษาหารือแนวทาง
การสำรวจและเก็บข้อมูลและการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องในภูมิภาคต่าง ๆ ก่อนการ
ดำเนินการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ส่วนแบบสอบถามที่จะใช้สำรวจข้อมูลเชิงปริมาณจะนำเสนอที่คณะวิจัยได้
ออกแบบก่อนเน่ืองจากต้องทำการสัมภาษณ์เพื่อนำผลสัมภาษณ์มาพัฒนาแบบสอบถามด้วยโดยมีรายละเอียด
ดังน้ี

๑. ผลการคดั เลอื กจงั หวดั ที่ต้องการลงพ้ืนที่เกบ็ ข้อมูล

จากการดำเนินการคัดเลือกจังหวัดที่ต้องการลงพื้นที่เก็บข้อมูล โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่
ทำการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม โดยเป็นการสุ่มเก็บจากประชาชนทั่วประเทศ กำหนดอายุของผู้ตอบ
แบบสอบถามทมี่ ีอายุต้ังแต่ ๒๐–๖๕ ปี โดยเปน็ การคำนวณสูตรตามวิธีการทางสถติ ิ ซ่งึ กำหนดระดับนัยสำคัญ
ที่ร้อยละ ๙๕ และบวกความคลาดเคลื่อนร้อยละ ๓๐ โดยกลุ่มตัวอย่างจะกระจายอยู่ในทั้ง ๔ ภูมิภาค คือ
ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในแต่ละพื้นที่จะกระจายสัดส่วนจำนวนตัวอย่าง
โดยใช้สดั สว่ นจำนวนประชากรเป็นเกณฑ์ ซึง่ จะมจี ำนวนตวั อยา่ งอย่างนอ้ ย ๒,๖๐๐ ตัวอยา่ ง ท้งั น้ีอาจเพ่ิมเติม
ในบางจังหวัดที่ไม่ได้สุ่มเลือกแต่มีความน่าสนใจต่อโครงการตามความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ ได้มี
รายละเอยี ดกล่มุ ตัวอย่าง ดงั ตาราง

ตาราง ๔ จำนวนและสดั สว่ นตัวอยา่ งท่ีจะทำการสำรวจ

ภมู ิภาค จงั หวัด อำเภอ/เขต ตำบล/แขวง หมบู่ า้ น จำนวน

กรงุ เทพมหานคร หม่บู ้านที่ ๑ ๕๓
บางชัน ๕๓
ภาคกลาง ๕๓
หมู่บา้ นที่ ๒ ๕๓
คลองสามวา ๕๓
๕๓
หมบู่ า้ นที่ ๑ ๕๓
สามวาตะวันตก ๕๓

หมบู่ ้านท่ี ๒
หม่บู า้ นที่ ๑
บางแคเหนือ
หมบู่ ้านที่ ๒
บางแค
หมบู่ า้ นที่ ๑
หลักสอง
หมูบ่ า้ นท่ี ๒

หนองรี หนองไข่เนา่ ๕๓
๔๒
ชลบรุ ี เมอื ง เขาดิน

เหมือง ดอนลา่ ง ๗๘

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๗๘
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พ่ือใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
จำนวน
ภูมภิ าค จังหวัด อำเภอ/เขต ตำบล/แขวง หมู่บา้ น ๕๓
ไรไ่ หหลำ ๓๐
พนัสนคิ ม หนองเหียง หนองสงั ข์ ๒๗
นาเรกิ หนองตามิตร ๒๑
เนินไทร ๒๐
สันผีเสอ้ื ดอนไร่ ๕๕
เมอื ง ขวั โก ๓๒
ท่าเดือ่ ๒๕๖
ชา้ งเผอื ก ชา้ งเผอื ก ๒๐
ขุนชา่ งเคย่ี น ๘๐
เชยี งใหม่ มอ่ นปนิ่ เวยี งหวาย ๖๓
ภาคเหนือ ฝาง ลาน ๔๐
หว้ ยบอน ๓๖
เชียงราย เวยี ง สันปา่ ยาง ๒๙
หนองด่าน ๑๗
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นครราชสมี า รอบเวียง ปา่ ยางมนต์ ๒๐
เมือง ฟารม์ สมั พนั ธกจิ ๑๙
เมืองงิม ๑๕
ริมกก ปา่ ไผ่ ๑๒
ทุ่งมงคล ๔๗
เมืองพาน ปางเกาะทราย ๑๕
พาน ป่าบงหลวง ๓๒
ประตชู ยั ๒๗
ป่าละหุง่ วังหิน ๒๐๓
หนองตาคง ๖๔
ในเมือง หนองตะลมุ ปกุ๊ ใหม่ ๘๐
เมือง โคกสง่า ๕๑
หนองคู
หนองบวั ศาลา

ปากชอ่ ง หนองสาหร่าย

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๗๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ภมู ิภาค จงั หวัด อำเภอ/เขต ตำบล/แขวง หมบู่ า้ น จำนวน
ภาคใต้ อุบลราชธานี ปากชอ่ ง บันไดม้า ๒๙
นครศรธี รรมราช สะพานดำ ๒๘
สงขลา แจระแม ทา่ บอ่ ๕๐
เมอื ง ทบั ไทย ๓๐
นาเมอื ง ๘๓
ไรน่ ้อย โนนหงษ์ทอง ๕๖
หนองสำราญ ๒๓
เดชอุดม เมอื งเดช สมสะอาด ๒๓
กลาง กลาง ๒๒
โนน ๒๒
นาเคียน นาเคยี นเหนอื ๔๖
เมอื ง ทุ่งจนี ๔๔
สวนจันทร์ ๒๐๕
ปากพูน ทา่ แพ ๑๒๖
ศรสี ุนทร ๔๕
กะปาง คา่ ยเทพสตรีศรสี นุ ทร ๔๔
ทงุ่ สง ทรายขาว ๓๔
หินราว ๓๑
เขาขาว ปราบ ๑๕๙
ท่าสะอา้ น ๑๓๓
เขารปู ช้าง สวนใต้ ๓๐
เมือง อ่างทอง ๒๗
ปากบาง ๒๗
ทงุ่ หวงั ม้างอน ๒๕
ปา่ งาม ๔๐
นาทบั ตลิง่ ชัน ๓๕
จะนะ
๓,๓๘๐
ตลิ่งชนั

รวม

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๘๐
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พอื่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: การส่มุ ประชากรพจิ ารณาและดำเนินการตามขน้ั ตอนทางสถติ ิอยา่ งเคร่งครัดโดยอาศยั กรอบแนวคิดของ
การศึกษาวจิ ยั ทัง้ นี้จำนวนและพน้ื ท่สี ำรวจอาจเพมิ่ เตมิ ไดห้ ากคณะกรรมการมคี วามคิดเห็นใหเ้ พมิ่ เตมิ

เสนอ สำนักงานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๘๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๒. แผนการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ

ตาราง ๕ กลุ่มตวั อย่างในการสมั ภาษณ์เชิงลึก

กลมุ่ เปา้ หมายในการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก

หน่วยงาน ช่ือ/ตำแหน่งผใู้ หส้ มั ภาษณ์ กำหนดนดั หมาย
ระหว่างวนั ที่ ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕
กลุ่มนกั ศกึ ษา อยู่ระหวา่ งดำเนินการ ระหว่างวันท่ี ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕
ระหว่างวันท่ี ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕
กลุ่มนกั วชิ าการ อยรู่ ะหวา่ งดำเนินการ ระหว่างวนั ท่ี ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕
ระหว่างวันท่ี ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕
กลมุ่ เอกชน อยรู่ ะหวา่ งดำเนินการ ระหวา่ งวันท่ี ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕

กลมุ่ ภาครฐั อยรู่ ะหว่างดำเนินการ ระหว่างวนั ท่ี ๑-๑๒ ส.ค. ๒๕๖๕

กลมุ่ นักการเมือง อยรู่ ะหว่างดำเนินการ

กลมุ่ คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศ อยรู่ ะหว่างดำเนินการ
ด้านการเมอื ง

กลมุ่ NGOs อยู่ระหว่างดำเนินการ

เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๓. แผนการลงพนื้ ที่เก็บข้อมูล
ตาราง ๖ แผนการลงพน้ื ที่เก็บขอ้ มูล

พื้นทเี่ ก
วันที่

จงั หวดั อำเภอ/เขต

คลองสามวา



กรุงเทพมหานคร

บางแค

๒๒ - ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕

นครราชสมี า เมอื ง


ปากชอ่ ง ห

เสนอ สำนักงานขบั เค


๘๒

กบ็ ขอ้ มลู หม่บู า้ น ทีมท่ีลงเก็บขอ้ มลู
ตำบล/แขวง หมบู่ า้ นที่ ๑ ทมี ๑
หมู่บ้านที่ ๒ ทีม ๒
บางชนั หมู่บ้านที่ ๑
สามวาตะวันตก หมู่บ้านท่ี ๒
บางแคเหนอื หมบู่ า้ นที่ ๑
หมู่บา้ นที่ ๒
หลกั สอง หมู่บา้ นที่ ๑
ในเมือง หมบู่ ้านท่ี ๒
หนองบัวศาลา ประตชู ัย
หนองสาหร่าย
วงั หิน
หนองตาคง
หนองตะลมุ ป๊กุ ใหม่
โคกสงา่
หนองคู

คลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

พนื้ ท่ีเก
วนั ท่ี

จังหวดั อำเภอ/เขต

เมอื ง
ชลบรุ ี

พนสั นคิ ม

๒๗ - ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๕

อบุ ลราชธานี เมือง

เดชอุดม
เสนอ สำนกั งานขับเค


๘๓

กบ็ ข้อมลู หมู่บา้ น ทีมท่ลี งเกบ็ ขอ้ มูล
ตำบล/แขวง บนั ไดมา้ ทีม ๑
สะพานดำ ทมี ๒
ปากชอ่ ง หนองไข่เน่า
หนองรี เขาดิน
เหมือง ดอนล่าง
หนองเหียง ไรไ่ หหลำ
นาเริก หนองสังข์
แจระแม หนองตามิตร
ไรน่ อ้ ย เนนิ ไทร
เมืองเดช ดอนไร่
ท่าบอ่
ทับไทย
นาเมอื ง
โนนหงษท์ อง
หนองสำราญ
สมสะอาด

คลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

พน้ื ท่ีเก
วนั ท่ี

จังหวดั อำเภอ/เขต

นครศรีธรรมราช เมอื ง
ท่งุ สง

๑- ๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕

เชยี งใหม่ เมือง

ฝาง
เสนอ สำนักงานขบั เค


๘๔

กบ็ ข้อมลู หม่บู า้ น ทีมทลี่ งเกบ็ ข้อมูล
ตำบล/แขวง กลาง ทีม ๑
โนน ทมี ๒
กลาง นาเคียนเหนอื
นาเคยี น ทุ่งจีน
ปากพนู สวนจนั ทร์
กะปาง ท่าแพ
เขาขาว ศรีสุนทร
สนั ผเี สื้อ คา่ ยเทพสตรศี รสี ุนทร
ชา้ งเผอื ก ทรายขาว
ม่อนปิน่ หินราว
ขัวโก
ท่าเด่ือ
ชา้ งเผือก
ขุนช่างเคยี่ น
เวียงหวาย
ลาน

คลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

พืน้ ท่ีเก
วันที่

จงั หวัด อำเภอ/เขต

เมือง
สงขลา

จะนะ

๖ - ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕

เชยี งราย เมอื ง

พาน
เสนอ สำนักงานขบั เค


๘๕

กบ็ ข้อมลู หมู่บา้ น ทีมทล่ี งเก็บขอ้ มลู
ตำบล/แขวง หว้ ยบอน ทมี ๑
สันปา่ ยาง ทีม ๒
เวยี ง ปราบ
เขารปู ชา้ ง ท่าสะอา้ น
ทงุ่ หวัง สวนใต้
อา่ งทอง
นาทับ ปากบาง
ตลิ่งชัน มา้ งอน
รอบเวียง ปา่ งาม
รมิ กก ตลง่ิ ชนั
เมืองพาน หนองดา่ น
ป่ายางมนต์
ฟาร์มสมั พันธกจิ
เมอื งงมิ
ป่าไผ่
ทุ่งมงคล

คลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

พน้ื ที่เก
วนั ที่

จังหวดั อำเภอ/เขต
หมายเหตุ: ทมี ๑ นำโดย รศ.ดร.ศภุ สวสั ด์ิ ชชั วาลย์ (หัวหน้าโครงการ) ทีม ๒ นำโดย ผ้ชู ว่ ยศาสต

เสนอ สำนกั งานขับเค


๘๖

กบ็ ขอ้ มลู หมู่บ้าน ทมี ท่ลี งเกบ็ ข้อมูล
ตำบล/แขวง ปางเกาะทราย
ปา่ บงหลวง
ป่าละหุ่ง

ตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธิ์กลดั (นกั วจิ ยั )

คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พ่อื ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๔. แผนการลงพ้นื ท่กี ารจัดประชุมรบั ฟังความคดิ เห็น

กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ที่อยู่ใน
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคใต้ (รวมภาคตะวันตก) ภาคตะวนั ออก ภาคกลางตอนบ
ตาราง ๗ แผนการลงพืน้ ที่การจดั ประชมุ รบั ฟังความคิดเห็น

วันทจี่ ัดประชมุ ภูมิภาค

๑๙ - ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ภาคกลางตอนบน
ภาคตะวันออก

๒๖ - ๓๐ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ภาคกลางตอนล่าง
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

๓ - ๗ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๕ ภาคใต้ (รวมภาคตะวันตก) น
ภาคเหนือ

หมายเหต:ุ ทีม ๑ นำโดย รศ.ดร.ศภุ สวสั ดิ์ ชชั วาลย์ (หวั หน้าโครงการ)

ทมี ๒ นำโดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธ์ิกลดั (นักวจิ ยั )

เสนอ สำนักงานขบั เค


๘๗

นพื้นที่ที่จะจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นจำนวน ๕ ภาค ได้แก่ ภาคเ หนือ
บน และภาคกลางตอนลา่ ง ภาคละ ๑๐๐ คน รวมท้งั ส้นิ ๕๐๐ คน

จงั หวัด ทมี ทีจ่ ัดประชมุ หมายเหตุ

นครสวรรค์ ทมี ๑ วนั ท่ีในการจัดประชมุ ฯ อาจมี
ชลบรุ ี ทีม ๒ การเปลย่ี นแปลงตามความ
กรุงเทพฯ ทีม ๑ เหมาะสมตามทสี่ ำนกั งาน
ขอนแกน่ ทีม ๒
ทีม ๑ ป.ย.ป. เห็นชอบ
นครศรีธรรมราช ทมี ๒
เชียงใหม่

คล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๖๘
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอื่ ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๕. รา่ งแบบสอบถามเชงิ ปรมิ าณและแนวคำถามสัมภาษณ์

(ร่าง) แบบสอบถามโครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันทร์ ายการค่าใช้จ่าย
ในการสรา้ งการรับรูเ้ พื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

สัมภาษณ์ ผตู้ อบกรอกข้อมูลเอง วัน/เดอื น/ปี ท่เี กบ็ ข้อมลู .....................................

คำชแี้ จง
๑. กรุณาทำเครอ่ื งหมาย หนา้ คำตอบทที่ ่านต้องการลงในชอ่ งสเ่ี หลี่ยม และ/หรอื เติมขอ้ ความลงในช่อง
ท่ตี รงกบั ความคิดเห็นของตนเองมากท่ีสดุ
๒. แบบสอบถามมีทง้ั หมด ๒ ส่วน

ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล
ส่วนที่ ๒ ข้อคำถามเกีย่ วกับประเด็นความขดั แยง้ และข้อเสนอแนะ
๓. ขอ้ มลู ที่ได้รบั จากท่านจะถกู เก็บเป็นความลับ

สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นบุคคล

คำชี้แจง : กรุณาตอบแบบสอบถามทุกข้อ โดยทำเครื่องหมาย ในช่องสี่เหลี่ยม และ/หรือเติมข้อความ
ในชอ่ งว่าง

๑. ท่านมภี ูมลิ ำเนาเดมิ อยู่ที่ใด  ๑) ภายในกรงุ เทพฯ

 ๒) ตา่ งจงั หวัด ระบุ................................

 ๒.๑) เขตเทศบาล  ๒.๒) นอกเขตเทศบาล

๒. เชื้อชาติ  ๑) ไทย  ๒) อน่ื ๆ ระบ.ุ ................................
๓. สญั ชาติ  ๑) ไทย  ๒) อนื่ ๆ ระบุ.................................
๔. อายุ...........................ปี
๕. เพศ  ๑) ชาย  ๒) หญิง  ๓) อน่ื ๆ

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๖๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๖. ระดบั การศกึ ษา  ๑) ไมไ่ ด้เขา้ สรู่ ะบบการศึกษาหรือการศึกษานอกระบบ
 ๒) ประถมศึกษาหรือต่ำกวา่
 ๓) มธั ยมศกึ ษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
 ๔) มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเทา่
 ๕) อนุปรญิ ญา/ปวส./ปวช.
 ๖) ปริญญาตรี
 ๗) สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี

๗. รายไดต้ ่อเดอื น  ๑) ต่ำกวา่ ๑๐,๐๐๐ บาท  ๒) ๑๐,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ บาท
 ๓) ๒๐,๐๐๑-๓๐,๐๐๐ บาท  ๔) ๓๐,๐๐๑-๔๐,๐๐๐ บาท
 ๕) ๔๐,๐๐๑ บาทข้ึนไป

๘. สถานภาพการสมรส  ๒) สมรสและอยดู่ ว้ ยกนั  ๓) สมรสแตแ่ ยกกนั อยู่
 ๑) โสด  ๕) หม้าย (คสู่ มรสเสยี ชีวิต)
 ๔) หย่าร้าง

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๗๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ส่วนท่ี ๒ ข้อคำถามเกย่ี วกับประเดน็ ความขดั แย้ง

คำชี้แจง โปรดพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ตอบคำถามทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง โดยทำเครื่องหมาย
ลงในชอ่ งทีต่ รงกบั ความคดิ เห็นของตนเองมากทสี่ ุด และระบเุ หตผุ ลหรือความคิดเหน็ เพมิ่ เติม (ถ้ามี)

ความหมายของการใหค้ ะแนน

๕ = เห็นดว้ ยมากท่สี ดุ

๔ = เห็นดว้ ยมาก

๓ = เห็นดว้ ยปานกลาง

๒ = เหน็ ด้วยนอ้ ย

๑ = ไมเ่ หน็ ด้วย

ประเดน็ คำถาม ระดบั ความคิดเหน็ เหตุผล
๕๔๓๒๑

๑. ทา่ นคดิ วา่ ประเดน็ ความขดั แย้งในปจั จบุ นั เป็นความ
ขดั แยง้ ดา้ นใด

๑) ความขดั แยง้ ทางการเมอื ง/นโยบายทางการเมอื ง

๒) ความขัดแย้งทางความเห็น/ทัศนคติในประเด็นที่
แตกต่าง

๓) ความขัดแย้งท่ีเกดิ จากช่องว่างระหว่างวัย

๔) ความขัดแย้งจากการเขา้ ถึงทรพั ยากร

๕) ความขดั แย้งจากการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน/สทิ ธขิ น้ั
พน้ื ฐาน

๖) ความขดั แยง้ จากความแตกตา่ งทางชาตพิ นั ธุ์

๒. ท่านคิดว่าสาเหตุของความขัดแยง้ ในประเทศไทยใน
ปจั จบุ นั เกิดจากสาเหตุใด

๑) ความไม่ลงตัวของความเห็นทางการเมอื งและการ
เข้าถงึ อำนาจทางการเมอื ง

๒) การไมย่ อมรบั ความเหน็ ท่ีแตกต่างทางการเมือง

๓) การไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ยท่ีไดร้ ับ

๔) การสญู เสียผลประโยชนจ์ ากการสญู เสยี อำนาจทาง
การเมอื ง

๕) การถูกปฏิเสธพน้ื ท่ที างการเมือง/การมสี ิทธทิ าง
การเมอื งทีไ่ มเ่ ทา่ เทียม

เสนอ สำนักงานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๗๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ เหตุผล

ประเด็นคำถาม ระดบั ความคิดเห็น
๕๔๓๒๑

๖) การจัดสรรผลประโยชน์ทไ่ี มเ่ ทา่ เทยี ม

๗) ความเหลื่อมลำ้ จากการเข้าถึงทรัพยากร

๘) ความไมส่ มดลุ ของความสมั พันธเ์ ชิงอำนาจระหวา่ งรฐั
กับประชาชน

๙) การบังคบั ใช้กฎหมายทไ่ี มเ่ ป็นธรรม

๑๐) การเข้าถงึ และการรับรู้ข้อมูลทแ่ี ตกต่างกนั

๑๑) ความเขา้ ใจต่อข้อมลู ทีไ่ ดร้ บั จากการสอื่ สารที่มีความ
แตกตา่ งกนั

๑๒) ค่านิยมและการใหค้ ณุ ค่าของสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีแตกต่างกนั

๑๓) ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคขู่ ัดแยง้ ทเ่ี ปราะบาง

๑๔) ความเจรญิ กา้ วหน้าของระบบสอื่ สาร และเทคโนโลยี
สารสนเทศ

๑๕) การมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชน/ประชาสังคมใน
ดา้ นกจิ การต่าง ๆ ของรฐั

๑๖) ความคดิ เหน็ ของแนวทางการปฏิรูปสถาบัน
พระมหากษตั ริย์ทแี่ ตกต่างกัน

๑๗) ความแตกต่างของชว่ งวัยและการเกดิ ช่องว่าง
ระหว่างวัยของคนในสงั คมไทย

๑๘) การแทรกแซงจากต่างประเทศ

๓. ท่านคิดวา่ ผู้เกยี่ วข้องกบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทย
เก่ยี วขอ้ งกับคนกล่มุ ใด

๑) ข้าราชการพลเรือน

๒) ขา้ ราชการทหาร

๓) นักการเมอื ง

๔) ภาคธุรกจิ /กลมุ่ นายทุน

๕) นกั วิชาการ

๖) นกั ศกึ ษา

๗) ประชาชน

๘) ต่างประเทศ

เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๗๒
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่ือใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ประเด็นคำถาม ระดบั ความคิดเห็น เหตุผล
๕๔๓๒๑

๙) องค์กรทไี่ ม่ใช่องค์กรของรัฐ เชน่ องค์กรไม่แสวงหาผล
กำไร องคก์ รสาธารณะประโยชน์ หรอื องคก์ รพัฒนา
เอกชน (อพช.)

๑๐) สื่อสารมวลชน

๔. ทา่ นคิดวา่ ความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทย
มสี าเหตมุ าจากอะไร

๑) ความเหน็ ทางการเมอื งท่แี ตกตา่ ง

๒) ความขดั แยง้ จากความแตกต่างของวัย

๓) ความแตกตา่ งจากความเหล่อื มลำ้

๔) ความขดั แยง้ จากประเด็นค่านยิ ม ความเช่อื

๕) ความขัดแย้งจากการไม่ยอมรบั การเปลย่ี นแปลง

๕. ทา่ นคิดว่าวิธกี ารจดั การความขัดแยง้ /การสรา้ งการ
ปรองดองในประเทศไทยควรใช้วธิ ีการใด

๑) การเจรจาอยา่ งสันติวิธโี ดยคนกลาง/บุคคลที่ ๓

๒) การไกลเ่ กล่ียโดยคนกลางหรือบคุ คลท่ี ๓ ทงั้ ภายใน
และภายนอก

๓) การต่อรองเพอ่ื ให้เกดิ ความสมดลุ ของคู่ขัดแย้ง

๔) การไต่สวนเพอ่ื ระงับข้อพพิ าทอย่างสนั ติ

๕) การประนปี ระนอมเพ่ือหาทางออกร่วมกัน

๖) การสรา้ งความร่วมมือเพ่ือจดั ทำข้อตกลงรว่ มกนั

๗) การสรา้ งการแข่งขนั ระหว่างคขู่ ัดแย้งอยา่ งสันติ

๘) การกระจายอำนาจเพือ่ สรา้ งความสมดุลของคูข่ ดั แย้ง

๙) การปฏริ ปู ระบบ/โครงสร้างท่ีเป็นสาเหตุของความ
ขดั แยง้ เช่น กระบวนการยตุ ธิ รรม ระบบการเมอื งการ
ปกครอง ระบบ/กลไกทางเศรษฐกจิ สังคม ฯลฯ

ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

เสนอ สำนักงานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๗๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พือ่ ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

แนวคำถามการสมั ภาษณ์

๑. ความขัดแย้ง

๑) ปจั จบุ ันนี้ ท่านคดิ วา่ ความขัดแยง้ ทเี่ กิดข้ึนในสงั คมไทยมีประเดน็ อะไรบ้าง

๒) อะไรเปน็ สาเหตุของความขดั แย้งนั้น

๓) ท่านคิดว่าใครบา้ งที่เกีย่ วข้องกบั ความขัดแยง้ คร้ังนี้

๔) ทา่ นคดิ ว่าท่านได้เข้าไปมบี ทบาทเกยี่ วข้องกับความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นหรือไม่ อย่างไร

๕) ในทัศนะของทา่ น ท่านคิดว่าในอนาคตความขัดแยง้ น้จี ะสิน้ สุดหรือไม่ จะมคี วามขดั แย้งใหมห่ รือไม่
และอะไรคอื เงื่อนไขความขัดแยง้ ในอนาคต

๒. ทางออกของการจดั การความขัดแย้ง

๑) ท่านคิดวา่ วธิ ีการจดั การความขดั แย้ง เพื่อการสร้างสนั ติสุข หรือความปรองดองของคนในสงั คมอย่าง
ย่ังยนื ควรเปน็ อยา่ งไร

๒) แนวทางการจดั การความขัดแย้งที่เปน็ รูปธรรมควรเป็นอยา่ งไร

๓) ใครควรมบี ทบาทสำคัญในการจัดการความขดั แยง้

๔) ปัจจัยสำคญั ท่ีจะทำใหค้ วามขดั แยง้ ยุติลง หรือเปน็ ความขดั แย้งทางบวกท่สี ร้างให้เกิดพฒั นาสังคม
คอื ปจั จยั ใดบ้าง

๕) อืน่ ๆ

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอื่ ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

บทท
ผลการสัมภ

จากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ ที่ประชุม จากการประชุมคณะกรรมก
พื้นที่เพื่อการศึกษาวิจัย โดยให้มีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ก่อนการศึกษาวิจัยเชิงป
กลุ่มนักศึกษา กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มเอกชน กลุ่มภาครัฐ กลุ่มนักการเมือง กลุ่มคณะ
ปรองดองสมานฉนั ท์ของคนในชาติ) และกล่มุ NGOs ซ่ึงมีประเด็นทีส่ ำคญั ดงั น้ี

ตาราง ๘ ความคิดเหน็ จากการสัมภาษณ์เชงิ ลึก

วนั ท่ี ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ ตำแหน่ง สาเหตคุ วามข

และตน้ สงั กดั

๒๕/๐๘/๒๕๖๕ ๑. ดร.สติธร ธนานิธโิ ชติ ผูอ้ ำนวยการสำนัก - เร่ิมจากความขัดแย
(กล่มุ นักวิชาการ/กล่มุ ภาครฐั ) นวตั กรรม
- โครงสร้างทางอำน
เพ่อื ประชาธิปไตย ทางการเมือง โครงสร้า
ทำใหเ้ กดิ วกิ ฤติทางการ
สถาบันพระปกเกลา้

- การรฐั ประหาร

เสนอ สำนักงานขับเค


๗๕

ท่ี ๗
ภาษณเ์ ชงิ ลกึ

การผู้เชี่ยวชาญครั้งที่ ๑ ได้เสนอแนะแนวทาง และวิธีการเก็บข้อมูล รวมถึงการเลือก
ปริมาณ โดยการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่ม Key performance ได้แก่
ะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง (กิจกรรมปฏิรูปที่ ๓ การสร้างความสามัคคี

ขัดแยง้ วิธกี ารจดั การความขัดแยง้ ความคดิ เห็น หมายเหตุ

ย้งทางการเมือง - ถ้าการรัฐประหารม ีการ - การเลือกตั้งปี ๒๕๔๘ สู่การ สัมภาษณ์โดย

นาจ โครงสร้าง เปลย่ี นแปลงเชิงโครงสรา้ งร่วมด้วย รัฐประหารในรัฐบาลทักษิณในปี รศ.ดร.ศุภสวัสดิ์
างทางเศรษฐกิจ และลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความ ๒๕๔๙ ยิ่งเป็นการตอกย้ำให้คนที่ ชชั วาลย์
รเมือง เป็นธรรมปัญหาความขัดแย้งก็จะ สนับสนุนทักษิณถูกผลักไสให้ไปอยู่
หยุด ขั้วตรงข้ามมากขึ้น เริ่มจากความ

- ต้องใช้ความต่อเนื่องของ ขัดแย้งระดับบุคคล และ Identity
กระบวนการประชาธิปไตย หาทาง อัตลักษณ์เฉพาะกลุ่มรสนิยมทาง
ออกด้วยกติกา/กลไกรัฐสภา/การ การเมือง และนำไปสู่การพัฒนา
เลือกตั้ง อาศัยช่องทางตาม เป็นอุดมการณ์ มีการสร้างวาท
กฎหมาย/รัฐธรรมนูญ กรรมของคนรากหญ้า

- ควรปรับใช้อำนาจของตุลาการ - การรัฐประหารทั้งสองครั้งที่
ใหม้ ีความเหมาะสม ผ่านมา ถือเป็นตัวเร่งที่ทำให้ความ

คล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

วันที่ ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ ตำแหนง่ สาเหตคุ วามข

และตน้ สงั กดั

๑๗/๐๘/๒๕๖๕ ๒. ผศ.ดร.ปรญิ ญา เทวานฤมติ รกลุ อาจารยป์ ระจำภาควิชา - การรัฐประหารแล
(กล่มุ นักวชิ าการ) กฎหมายมหาชน อำนาจทางการเมือง

คณะนติ ศิ าสตร์ - ความไม่เปน็ ธรรม
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
- มีผู้ไม่ปฏิบัติตาม
ทหาร ตำรวจ มายุติค
เกิดขึ้นยิ่งก่อให้เกิดคว
ขึน้

๑๖/๐๘/๒๕๖๕ ๓. รศ.ดร.ประจกั ษ์ ก้องกรี ติ รองคณบดฝี ่ายวิจัย - ปัญหาเชงิ โครงสร้า
(กลุ่มนกั วิชาการ/กล่มุ ภาครัฐ) และบริการวิชาการ ความเหลือ่ มล้ำสงู ในกา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ความขัดแย้งเชิงอ
มูลเหตุมาจาก เศรษ
การเมือง

- รัฐธรรมนูญ

๐๒/๐๙/๒๕๖๕ ๔. นายยามารุดดิน ทรงศิริ และ เยาวชนและนกั ศกึ ษา ต้นเหตุของความข

เพ่อื น (กลุม่ เยาวชน/นักศึกษา) แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภ

๑. ในเรอ่ื งของทางประ

- เกิดจากการเปล่ีย
พยายามจะเป็นประช

เสนอ สำนักงานขบั เค


ขัดแย้ง วิธีการจดั การความขัดแยง้ ความคิดเหน็ ๗๖
หมายเหตุ

ขัดแย้งรุนแรงขึ้นและขาดบทเรียน
ของผนู้ ำท่ีมอี ำนาจลน้ เกิน

ละการสืบทอด - Rules of law ถ้าทุกอย่าง - ถ้านายกรัฐมนตรีหมดอำนาจ ใหข้ ้อคิดเหน็
กระทำการตามกติกา เห็นต่างได้ หรือสิ้นสุดอำนาจลง ความขัดแย้ง จากประเดน็
คนละฝ่ายได้ ทุกคนเสมอกันใต้ ทางการเมืองที่เกี่ยวกับสถาบันคง คำถามทีไ่ ดต้ งั้ ไว้
กติการัฐธรรมนูญ แล้วให้ศาล จะลดลงตามไปดว้ ย

มกติกา นำม็อบ เปรียบเสมือนเป็นกรรมการ อาจ
ความขัดแย้งท่ี ชว่ ยลดปญั หาความขดั แย้งได้
วามขัดแย้งมาก

างของไทยท่มี ี - แกไ้ ขรฐั ธรรมนูญให้เป็นฉบับ - หากแก้ไขรัฐธรรมนูญใหม่ สมั ภาษณโ์ ดย

ารพัฒนา ประชาชน ระบบเลือกตั้งใหม่ กระบวนการ รศ.ดร.ศุภสวสั ด์ิ
ควรให้มีการถกเถียงกัน Free & ชชั วาลย์
อุดมการณ์ที่มี - รัฐบาลควร Responsive ใน fair ทุกกลุ่มสามารถออกเสียงได้
ษฐกิจ/สังคม/ การแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างที่ Referendum มันต้องคัดค้านและ
เกดิ ข้นึ สนบั สนุนได้

ขัดแย้งสามารถ - ต้องมีการแก้ไขโครงสร้าง - การสร้างความปรองดองน้ัน สมั ภาษณ์โดย

ภทใหญ่ ๆ คือ ออกแบบระบบให้มีความเป็น สามารถทำได้โดยการหาวิธีที่ทำให้ ผศ.ดร.เสาวธาร

ะวัตศิ าสตร์ ธรรมกับทุกฝ่าย ซึ่งอาจจะอิง ทุกคนมามีส่วนร่วมในการสร้าง โพธ์ิกลัด
ตามฉันทมติของกลุ่มนักศึกษา กฎเกณฑ์และใช้ชีวิตอยู่ภายใต้
ยนผ่านของการ ตาม ๓ ข้อเรยี กร้อง คอื
ชาธิปไตย ซึ่งใน กฎเกณฑ์ที่กำหนดร่วมกันกับสังคม

นั้น ซึ่งหากต่อมาบริบทของสังคม

คล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พื่อให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

วันที่ ผ้ใู ห้สัมภาษณ์ ตำแหน่ง สาเหตคุ วามข

และตน้ สังกัด

ทุกวันนี้ก็ยังไม่สามาร
ได้อย่างแท้จริง ตั้งแ
สยาม พ.ศ. ๒๔๗๕
เปลี่ยนไม่ผ่าน และต้อ
กนั มาอยา่ งต่อเน่อื ง

- การต่อสู้ระหว่า
กลุ่มคน ๒ กลุ่ม คือ
ประชาธิปไตย และ ก
ประชาธปิ ไตย

๒. ในเรือ่ งของการพัฒ

- สถาบันทางการป
ทั้งทางด้านการเมืองก
การปกครองทั้งส่วนข
พระมหากษัตริย์ ปร
การเปลย่ี นแปลง

- ประชาชนที่ขาด
แสดงออกทางความค
ฟังในระดับเล็ก จนถ
เอง ท่ไี ม่ใชพ่ ้ืนท่ีในการ

เสนอ สำนักงานขบั เค


ขัดแยง้ วธิ กี ารจดั การความขัดแยง้ ความคิดเห็น ๗๗
หมายเหตุ

รถเปลี่ยนผ่าน ๑. หยดุ คุกคามประชาชน เปลี่ยน เราก็เพียงรับตัวตามมาหา
แต่การปฏิวัติ ๒. รา่ งรัฐธรรมนูญใหม่ แนวทางร่วมกันสร้างกฎเกณฑ์ที่จะ
ซึ่งเราก็ยังไม่ ๓. ยบุ สภา และ ๒ จดุ ยืน คือ อยรู่ ่วมกนั อีกคร้งั
องต่อสู้ขัดแย้ง
๑) ไม่มกี ารทำรฐั ประหาร

างแนวคิดของ ๒) ไม่มีการจัดตั้งรัฐบาล
กลุ่มคนที่เอา แห่งชาติ หรืออีก ๑ ความฝันท่ี
กลุ่มคนที่ไม่เอา ถ้าหากบรบิ ทของสงั คมเห็นพร้อง

ที่จะทำ คือเป็นระบอบ
ฒนา ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์
ปกครองต่าง ๆ อยู่ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ
การทหาร หรือ - แก้ไขโครงสร้างทางการเมือง
ของราษฎรและ เพราะระบบในทุกวันนี้ไม่ใช่ระบบ
ับตัวไม่ทันต่อ ประชาธิปไตยที่คนต้องการ

ประชาธิปไตยน้นั

ดพื้นที่ในการ ๑. จะต้องมคี ู่แขง่ ทางการเมือง
คิด ทั้งพื้นที่รับ ได้
ถึงพื้นที่ในสภา ๒. การมีส่วนร่วมของสังคม
รตอ่ สู้ จะต้องอยูใ่ นระดบั ทส่ี ูง

- แก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อสร้าง
กฎเกณฑ์ที่ทำให้เกิดความสมดุล
ของคู่ขัดแย้ง และออกแบบระบบ

คลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

วนั ที่ ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ ตำแหน่ง สาเหตุความข

และต้นสังกดั

เสนอ สำนกั งานขับเค


ขัดแยง้ วิธกี ารจดั การความขัดแยง้ ความคิดเหน็ ๗๘
หมายเหตุ
การบังคับใช้กฎหมายให้ถูกต้อง
ตรงตามเจตนารมณข์ องบทบัญญัติ
นนั้ ๆ

คล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๗๘
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ความคิดเห็นทั้ง ๔ ท่าน สามารถแยกออกเป็นประเด็นต่าง ๆ โดยมี
รายละเอยี ด ดังนี้

๑. ดร.สติธร ธนานธิ ิโชติ

จดุ เร่มิ ตน้ ความขัดแย้ง

เริ่มจากความขัดแย้งทางการเมืองแล้วค่อย ๆ แผ่ขยายเป็นวงกว้าง เริ่มจากยุคทักษิณ ที่เป็นคู่ขัดแย้ง
ระหว่างฝ่ายที่ชอบทักษิณและฝ่ายที่ไม่ชอบทักษิณ คู่ขัดแย้งกังวลเรื่องความ Popularity ของทักษิณ ทำให้
ปญั หาความขดั แย้งทเ่ี กดิ รนุ แรงและรา้ วลกึ มากข้ึน

มีสาเหตุความขัดแยง้ อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับทกั ษณิ หรือไม่

โครงสร้างทางอำนาจ โครงสร้างทางการเมือง โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ทำให้เกิดวิกฤติทางการเมือง
อยู่ในในช่วงไทยรักไทยเข้ามาและทักษิณมีบทบาทมากขึ้น ทำให้เกิดโอกาสบวกกับความสามารถพิเศษ
เฉพาะตัวของทักษณิ และ Connection

ลักษณะเฉพาะตวั อย่างไรของทกั ษิณที่ส่งผลใหเ้ กดิ ความขดั แยง้

คดิ วา่ มาจากท้ังลักษณะของทักษิณเอง และนโยบายทเ่ี ค้ามีดว้ ยท้ังสองอย่างประกอบกันเป็นตัวเร่งให้
มีการเปลี่ยนแปลงวิธีคิดเร็วมากยิ่งขึ้น มีการใช้นโยบายแบบประชานิยม นำนโยบายแบบธุรกิจมาใช้แล้ว
ประสบผลสำเร็จ และทักษิณเองไม่ได้มีแนวคิดแบบประนีประนอมเหมือนนายกรุ่นก่อน ๆ ส่งผลให้เกิดความ
ไม่ไวว้ างใจเกิดข้นึ

เปรียบเทยี บระหวา่ งทักษณิ /ชชั ชาติ

ชัชชาติมีความประนีประนอมมากกว่า ส่วนทักษิณมองการบริหารประเทศแบบเอกชนคิดว่าการมี
ความขดั แยง้ เปน็ เรอ่ื งปกติ

ความขัดแยง้ เริม่ ข้ึนและบานปลายเพราะเหตใุ ด

การเลือกตั้งปี ๒๕๔๘ สู่การรัฐประหารในรัฐบาลทักษิณในปี ๒๕๔๙ ยิ่งเป็นการตอกย้ำให้คนที่
สนับสนุนทักษิณถูกผลักไสให้ไปอยู่ขั้วตรงข้ามมากขึ้น เริ่มจากความขัดแย้งระดับบุคคล และ Identity อัต
ลักษณเ์ ฉพาะกลุ่มรสนิยมทางการเมือง และนำไปสู่การพัฒนาเป็นอุดมการณ์ มกี ารสร้างวาทกรรมของคนราก
หญา้

การรัฐประหารทั้งสองครั้งที่ผ่านมา ถือเป็นตัวเรง่ ท่ีทำใหค้ วามขัดแยง้ รนุ แรงขึ้นและขาดบทเรยี นของ
ผู้นำท่มี ีอำนาจล้นเกนิ

ถา้ จะออกจากปญั หาความขัดแยง้ จะทำไดอ้ ยา่ งไร

ถ้าจะออกจากปัญหาความขัดแย้งทั้งหมดไม่ควรทำ เพราะในความขัดแย้งบางครั้งนำไปสู่โอกาส
บางอย่าง แต่ถ้าเป็นความขัดแย้งที่รุนแรง เล่นเกมนอกกติกา ความรุนแรงแบบนี้ควรรบี ออก แต่การออกจาก
ความขัดแย้งแบบนี้ก็ทำได้ยาก และกลายเป็นเครื่องมือให้คนบางกลุ่มนำไปใช้เป็นข้ออ้างในการจัดการความ
ขัดแยง้ (การรฐั ประหาร)

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๗๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พื่อให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

การแก้ปัญหาเชิงโครงสรา้ งแก้ไขปญั หาความขัดแยง้ (แผนระยะยาว)

ถ้าการรัฐประหารมีการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างร่วมด้วย และลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็น
ธรรมปัญหาความขัดแย้งก็จะหยดุ แต่รฐั ประหารทผี่ า่ นมามแี ต่ไปเพ่ิมปญั หาเชิงโครงสร้าง (แบ่งเขา แบง่ เรา)

การออกจากความขัดแย้งในระยะเวลาสั้น ๆ

ต้องใช้ความต่อเนื่องของกระบวนการประชาธิปไตย หาทางออกดว้ ยกติกา/กลไกรัฐสภา/การเลือกต้ัง
อาศัยช่องทางตามกฎหมาย/รฐั ธรรมนูญ

การเข้ามามีบทบาทมากของตุลาการที่ไม่เป็นธรรม (ควรจะมีอำนาจตามความเหมาะสม) ควรปรับใช้
อำนาจของตลุ าการใหม้ ีความเหมาะสม

มคี นกลุม่ ไหนทถี่ ูก Left Out ไปจากการเมือง

ในสมัยก่อนภาคประชาชนเคยมีเสียงที่ดัง กลุ่มเหล่านี้จะมีทางเข้าไปในพรรคการเมืองต่าง ๆ ถ้ากลุ่ม
เหล่านี้อยากจะผลักดันอะไรที่เป็นรูปธรรมก็จะหาทางเข้าไปในพรรคการเมือง แต่พรรคการเมืองจะมีหลาย
แบบแต่ไมไ่ ด้เป็นทพ่ี ่งึ สำหรบั กล่มุ ต่าง ๆ ไดท้ งั้ หมด

การพดู คุยสามารถขจดั ความขัดแยง้ ได้หรือไม่

ประเทศไทยเลยจุดที่ต้องมานั่งคุยกันแล้ว ไม่เหมือน ๑๐ ปีที่แล้ว และไม่ควรเป็นการเจรจาเพื่อการ
ปรองดองแตค่ วรจะเป็นการเจรจาเพ่ือออกแบบกติการ่วมกัน

ควรมีการพูดคยุ กับใครเพม่ิ เติม

รศ.ดร.ภูมิ มลู ศิลป์

๒. ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกลุ

ต้นเหตคุ วามขดั แย้งทางการเมือง-สถาบนั

ประเทศไทยกับการรัฐประหารดำเนินมาคู่กนั เหมือนเป็นประเพณีไทยต้งั แต่ กรงุ ศรีอยุธยาท่ีมีระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ก็สืบตามสายเลือด และมีการปราบดาภิเษก ชนะเป็นเจ้า แพ้เป็นโจร หลังการ
เปลี่ยนแปลง ๒๔๗๕ การรัฐประหารก็กลายเป็นลายลกั ษณ์อักษรรับรู้ร่วมกัน (รัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๔๐) ทุกคน
เสมอกันใต้รัฐธรรมนูญ (ปรีดีไม่ได้จะเขียนแค่ชั่วคราว แต่ ร.๗ บอกให้ชั่วคราว) มีการเปลี่ยนแปลงมาตรา ๑
monarchy กบั democracy การรัฐประหารในประเทศไทยมมี าตั้งแตส่ มัยก่อนคือการเปล่ียนพระมหากษัตริย์
ในการขึ้นครองราชย์ แต่ในปัจจุบันการรัฐประหารไม่ใช่เกิดจากพระมาหากษัตริย์อีกต่อไปเพราะ
พระมหากษัตริย์อยเู่ หนือการเมือง กลายเป็นวา่ ใครมีทรัพยากรในการปฏวิ ัติก็กลายเป็นผู้มีอำนาจ หลังจากนั้น
กม็ ีผู้สืบทอดอำนาจ รฐั ธรรมนูญปี ๒๕๓๔ เปน็ เคร่ืองมือของสจุ ินดา (นายกรฐั มนตรีในขณะนั้น) ตอนปี ๒๕๓๔
ไม่มีศาลรัฐธรรมนูญ ไม่มี กกต. ไม่มี ป.ป.ช. กลไกบ้านเมืองตอนนั้นไม่มีความเป็นธรรมเมื่อประชาชนไม่
สามารถแก้ไขตรงน้ไี ด้ก็เคล่อื นไหวผา่ นม็อบ

ความขัดแย้งทั่วโลกเกิดจากความไม่เป็นธรรม ความร้ายแรงที่ตามมา ๑. การเป็นนายกรัฐมนตรีจะ
เป็นเจ้าหน้าที่รัฐไม่ได้ แต่ต่างจากนายกรัฐมนตรีไทยคนปัจจุบันที่เป็นหัวหน้า คสช. (กินเงินเดือนรัฐ) ๒.
นายกรัฐมนตรีไม่เคยแพ้ศาลรัฐธรรมนูญ ๓. นายกรัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ต่อรัฐธรรมนูญ ต้องอ่านถ้อยคำให้

เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๘๐
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ครบ (นายกรัฐมนตรีไม่ทำขัดต่อรัฐธรรมนูญ) แต่ศาลไม่รับคำร้องและวินิจฉัยว่าการถวายสัตย์ถือเป็น
ความสัมพันธ์เฉพาะพระมหากษตั ริย์กบั นายกรัฐมนตรีรัฐมนตรี ทำให้คนตีความว่าพระมหากษัตริย์อนญุ าตให้
นายกรฐั มนตรอี ่านคำถวายสัตยไ์ มค่ รบ ส่งผลใหก้ ลายเปน็ ความขัดแย้งท่เี กย่ี วโยงกับสถาบนั

การตรา พรก. นั้นเทียบเท่ากับ พ.ร.บ. จะกระทำได้ต้องมีกระบวนการให้ครบคือ ๑. เรียกประชุมไม่
ทัน ๒. ไม่มีสภาผู้แทน สภายุบ ทำให้เรียกประชุมสภาแสดงความเห็นชอบไม่ได้ แต่กลายเป็นว่าปัจจุบัน
สามารถ ตราพรก.ได้ไมต่ ้องอาศยั กระบวนการ ๒ ขอ้ ข้างบน

มีพรรคไทยรักษาชาติถูกยุบ (ทูลกระหม่อมอยู่เหนือกฎหมายไม่ควรยุ่งการเมือง) คนที่ทำให้เป็นเรือ่ ง
คือ กกต. ศาลรัฐธรรมนูญ (การยุบพรรคเป็นความรับผิดชอบของศาล) ทำให้คนคิดว่าเรื่องนี้เกี่ยวโยงกับ
สถาบันและเกิดเป็นความขัดแย้งทางการเมืองที่มีสถาบันเข้ามาเกี่ยวข้อง การรัฐประหาร ๑๙ ก.ย. ๒๕๔๙ ก็
เป็นอีกหนึ่งเหตุการณ์ที่คนตั้งข้อสงสัยว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมืองหรือไม่
เพราะคณะปฏิวัติแถลงการณ์แล้วมีฉากหลังที่มีรูปพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลที่ ๙ และพระราชินี ทำให้คน
เชือ่ วา่ สถาบันเป็นผูอ้ ยเู่ บอ้ื งหลงั การรัฐประหาร

ตอนขึน้ ครองราชยข์ องรชั กาลท่ี ๑๐ จะเหน็ ว่ายงั ไม่มกี ารใชม้ าตรา ๑๑๒ นายกรัฐมนตรรี บั ใช้ในหลวง
ทำให้คนหันไปประท้วงสถาบัน ตามหลักกฎหมายพระมหากษัตริย์ตั้งกฎหมายไม่ได้ การตั้งข้อหาต่าง ๆ คือ
นายกรัฐมนตรีมีอำนาจตรงนี้ และนายกรัฐมนตรีเป็นคนชอบอ้างพระมหากษัตริย์ทำอะไรเพื่อเป็น
พระมหากษัตริย์ กลายเป็นนายกรัฐมนตรีเป็นผู้กระทำทกุ อย่าง โดยอ้างอำนาจจากพระมหากษตั รยิ ์ในการคุย
กับหัวหน้าพรรคอื่น ๆ กลายเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองที่เกี่ยวโยงถึงสถาบัน อำนาจยุบพรรค
อนาคตใหมท่ ่ีมสี าเหตุมาจากพรรคอนาคตใหมค่ ้าน พรก. โอนอตั รากำลงั พล จริง ๆ แล้วพรรคอนาคตใหม่ไม่ได้
ค้านเนื้อหา พรก. โอนอัตรากำลังพลฯ เพียงแต่คัดค้านกระบวนการที่เล็กเห็นว่าการโอนอัตรากำลังพลไม่ใช่
เรอื่ งเรง่ ด่วนถึงขนาดตราเป็น พรก. การเคลื่อนไหวมอ็ บต่าง ๆ เกดิ ขนึ้ ถึงสถาบนั ทั้งสนิ้ ส่ิงท่เี กย่ี วโยงถึงสถาบัน
มาจาก ๑. ผลงานศาลรฐั ธรรมนญู ๒.ศาลยตุ ิธรรม ๓. นายกรฐั มนตรี

สาเหตุความขดั แย้ง

การปฏิวัติสำเร็จมีหลักฐานเป็นการเซ็นชื่อของพระมหากษัตริย์ ถือเป็นการรับรองการปฏิวัติ ในยุค
สมยั ของรชั กาลท่ี ๙ ท่มี กี ารรฐั ประหารในตอนน้ันมผี ู้สำเรจ็ ราชการแทนเซ็น เน่อื งจากรัชกาลที่ ๙ ยังทรงพระ
เยาว์ สว่ นในการรฐั ประหารครง้ั ต่อมา ศาลฎกี าพิพากษาประกาศให้ยึดอำนาจสำเร็จ ทำใหร้ ัชกาลที่ ๙ ปฏิเสธ
ไมไ่ ด้ทำให้ตอ้ งเซน็ รบั รองรฐั ประหาร

ในยคุ สมยั ของนายกรฐั มนตรคี นปัจจุบนั เปน็ การสบื ทอดอำนาจตา่ งจากสจุ ินดาเปน็ อย่างมาก ซ่ึงมีทั้ง
ศาลรัฐธรรมนูญ กกต. ป.ป.ช. แต่กระบวนการตรวจสอบถ่วงดุลไม่ได้ และยังสามารถเลือกตัวเองเป็น
นายกรฐั มนตรี

โครงสรา้ งระบบ

Rules of law ถ้าทุกอย่างกระทำการตามกติกา เห็นต่างได้ คนละฝ่ายได้ ทุกคนเสมอกันใต้กติกา
รัฐธรรมนูญ แล้วให้ศาลเปรียบเสมือนเป็นกรรมการ แต่ก็มีผู้ไม่ปฏิบัติตามกติกา นำม็อบ ทหาร ตำรวจ มายุติ
ความขัดแย้งดังกล่าว ฉะนั้นควรมีศาลที่เที่ยงธรรม ตอนนี้ความขัดแย้งในปัจจุบันตัวบุคคลก็มีปัญหา และ
รฐั ธรรมนูญกม็ ปี ญั หาเช่นเดียวกนั

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๘๑
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

การคาดการณ์ในอนาคต ถ้านายกรัฐมนตรีหมดอำนาจ หรือสิ้นสุดอำนาจลง ความขัดแย้งทาง
การเมืองทเี่ กี่ยวกบั สถาบันคงจะลดลงตามไปดว้ ย

ควรพดู คยุ กับใครเพิ่ม

๑. อดลุ ย์ เขียวบรบิ ูรณ์ (นักเคล่อื นไหว)

๒. ธรรมนัส พรหมเผ่า

๓. รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกรี ติ

ความขัดแย้งทางการเมืองหลงั ปี ๔๐

เริม่ จากวิกฤติเศรษฐกิจ และรัฐธรรมนูญปี ๔๐ ไมไ่ ด้ขัดแย้งกันเฉพาะนักการเมืองแต่ซมึ ลึกไปถึงสังคม
ครอบครัว เพื่อน ที่ทำงาน คนที่จัดกลุ่มให้ประเทศไทยอยู่ใน depolarization คือนักรัฐศาสตร์ที่ทำการเมือง
เปรียบเทียบ (Jenifer McCoy) การแบ่งขั้วแตกแยกร้าวลึก เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก (อเมริกา
เวเนซุเอลา ฟิลิปปินส์ ตุรกี ฮังการี) อ. ประจักษ์อิงจาก Analytical flamework ที่ใช้งานชั้นนั้นในการทำ
ความเข้าใจ

เมือ่ ใชค้ ำว่า depolarization จัดวา่ ประเทศพวกนีม้ ีค่ขู ัดแยง้ แค่ ๒ คู่หรอื ไม่

เป็น ๒ ขั้วหลัก ๆ แต่ขั้วสามารถเปลี่ยนไปได้เรื่อย ๆ แต่การแบ่งเป็น ๒ ขั้วหลักๆ จะยังดำรงอยู่ แต่
สามารถยา้ ยขว้ั ยา้ ยข้างได้ Individual รวมถงึ ประเด็นความขัดแย้งจะ shift ไปบ้างในแต่ละช่วงเวลา

ปกติประชาธิปไตยไทยควรจะมีหลากหลายกลุ่ม (พรรคการเมืองนายพรรค กลุ่มการเมืองหลายกลุม่ )
Plural ไม่ค่อยมีปัญหามักจะไม่มีความขัดแย้งรุนแรง เนื่องจากไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด แพ้ ชนะ ๑๐๐ %
(เยอรมัน) พอมีหลายกลุ่มหลายขั้วก็จะสามารถร่วมมือกันได้ พอมันเป็น ๒ ขั้ว มันเลยง่ายที่การเมืองจะเป็น
ขาว / ดำ การเมืองแบบขัว้ ตรงขา้ ม ๒ ข้วั จะแก้ยากและร้าวลกึ

แบ่ง factor เป็น ๔ ระดบั เพ่ือการวิเคราะห์ทเ่ี ปน็ ระบบ สว่ นใหญค่ นไปวเิ คราะห์ทตี่ วั actor ซึ่งคดิ วา่
มนั ไม่ช่วยอธบิ ายอะไรเท่าไร ของไทยมนั ยึดเช้อื รา้ วลกึ ยาวนาน แล้วไม่สามารถแก้ได้สักที

๑) structural factor

๒) institutional factor

๓) บทบาท actor (individual factor ทั้งหลายโดยเฉพาะ elite)

๔) ideological factor (อุดมการณค์ วามคิดขัดแย้งกัน)

เริม่ ตน้

ปัญหาเชิงโครงสร้างของไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงในการพัฒนา ความเหลื่อมล้ำระหว่างเมือง
กบั ชนบทความเหลื่อมล้ำระหว่างภูมิภาคต่าง ๆ เกิดขึ้นขึ้นก่อนจะมีพรรคไทยรักไทย และทักษิณ ทักษิณไม่ได้
สร้างความเหลื่อมล้ำในการพัฒนาเหล่านี้ ถ้าไม่มีทักษิณปัญหาเชิงโครงสร้างก็ต้องปะทุออกมาไม่ช้าก็เร็ว
เมื่อโดนซ้ำเติมในวิกฤตเศรษฐกิจปี ๔๐ คนทำงานลำบาก ไม่มีโอกาสเลื่อนชนชั้นในสังคม คนยากจนมากข้ึน
ทำให้มีการปฏิรูปประเทศการเมือง/ออกรัฐธรรมนูญใหม่ เริ่มมาจากความตั้งใจที่ดีในการสร้างพรรคการเมือง

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๘๒
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ที่เข้มแข็ง และพยายามสร้างรัฐบาลที่เข้มแข็ง เพื่อนำไปยับยั้งวิกฤติที่เกิดขึ้น ส่งผลให้เกิดผลที่ไม่ได้ตั้งใจข้ึน
รัฐบาลมีความเข้มแข็งมากและนายกรัฐมนตรีในขยะนั้นก็ได้รับความนิยมมากเช่นกัน เป็นผลผลิตจากวิกฤติ
เศรษฐกิจและรฐั ธรรมนญู ปี ๔๐ แต่เอื้อให้พรรคการเมืองขนาดใหญ่เติบโตขึ้น เมื่อรัฐบาลทำงานให้ตอบสนอง
ต่อความต้องการของคนจำนวนหนึ่ง โดยเฉพาะชนบท คนยากจน (ภาคอีสาน ภาคเหนือ) ความขัดแย้งเร่ิม
เกิดขึ้นจากที่คนเริ่มรู้สึกว่ารัฐบาลเป็นรัฐบาลแบบ Decisive และเป็นรัฐบาลที่เข้มแข็ง สำหรับคนที่ได้
ประโยชน์จากรัฐบาลชุดนี้ก็จะสนับสนุน และคิดว่าเป็น Democracy แบบนี้เป็น Democracy ที่ดีและตอบ
โจทย์ คิดว่ารัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสามารถทำงานได้ดี โดยไม่สนใน Check & Balance กลายเป็นว่า
นยิ ามของคนเหล่านั้นคอื รัฐบาลควร Responsive ในการแกป้ ญั หา โดยเฉพาะเปน็ รัฐบาลทต่ี อบสนองต่อเสียง
ข้างมาก Majoritarian democracy

เริ่มมีคนไม่พอใจต่อรัฐบาลทักษิณจากนโยบายต่าง ๆ รวมถึงวิธีการจัดการ ส่งผลให้เกิดการ
วิพากษ์วิจารณ์ ทำให้เกิด Ideological conflict (มองไม่ตรงกันเรื่องนิยามประชาธิปไตย นิยามนักการเมืองท่ี
ดีและไม่ดีต่างกัน) Institutional design ส่งผลให้เกิด Ideological เป็นตัวที่ทำให้ความขัดแยง้ พัวพันกันมาก
ข้นึ กระบวนการ คอื เริม่ จากปจั จัย Elite conflict มีนกั วิชาการสองสำนักท่เี ถยี งกัน

สำนกั ท่ี ๑. อธิบายจากมมุ Elite conflict ความขดั แย้งระหวา่ งทกั ษณิ เครอื ข่ายทกั ษิณ และ
Monarchy มีการทะเลาะกันของ Elite แบ่งอำนาจและผลประโยชน์ การเกิดขึ้นของรัฐบาลไทยรักไทย เป็น
รัฐบาลที่ Popularity สูงอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน เป็นรัฐบาลที่เข้มแข็งที่สุดที่มาจากการเลือกตั้งตาม
ประวัติศาสตร์ไทย มีการ Threat ผลประโยชน์และ Status co establishment ที่เคยมี ทำให้ Network
monarchy Strike back กลับเพื่อดึงอำนาจคืนมา ใช้เครื่องมือคือรัฐบาลทหาร ตุลาการภิวัฒน์ และการ
Mobilize นำมาต่อสู้เพื่อโค่นล้มทักษิณ คำอธิบายของสำนักนี้มองว่า Elite conflict สำคัญที่สุด ส่วนการทำ
รฐั ประหาร เสื้อเหลอื งเสอ้ื แดง ท้ังหมดเปน็ เพียงสว่ นหน่ึงเทา่ นั้น ถา้ จะแก้ไขตรง Elite conflict ได้ทุกอย่างจะ
คลคี่ ลาย

สำนักที่ ๒ ไม่ชอบการอธิบายแบบสำนักที่ ๑ เพราะมองว่าไม่เห็นบทบาทของประชาชนเลย
รวมถึงขบวนการเคลื่อนไหวต่าง ๆ และความขัดแย้งในสังคม สำนักที่ ๒ เสนอว่าต่อให้ Elite ไปเจรจาไกล่
เกล่ยี กัน ก็ไมส่ ามารถแก้ปัญหาไดอ้ ยดู่ ี เพราะมวลชนแต่ละฝ่ังอาจจะไมอ่ าด้วย

ในความคิดเห็นของอ.ประจักษ์ ถา้ เราจะเข้าใจความขัดแยง้ ทางการเมืองของไทยได้มนั ต้องเอามุมมอง
ของทั้งสองสำนักมาประกอบกันเพราะทั้ง Elite conflict แล้วก็ Conflict ระดับประชาชนมัน Interact กัน
เปน็ เหตผุ ลทำใหค้ วามขัดแย้งยดื เยอ้ื และแก้ไม่ได้ รฐั บาลทกั ษิณเปน็ รฐั บาลที่หลายคนชอบและเป็นรฐั บาลแบบ
กนิ ได้ ทำให้คนอีกกล่มุ คัดคา้ น และ Activate เปน็ ความขดั แย้งเชงิ อดุ มการณ์ กลายเป็นวา่ คนมีมุมมองต่างกัน
ตอ่ รฐั บาลแบบนี้ (Strong government) และทำใหค้ วามคิดเชงิ อุดมการณต์ ่างกัน

ในสมัยก่อนเชื่อว่า Ideology ทางการเมืองเกิดก่อนแล้วส่งผลให้เกิดพฤติกรรมทางการเมือง
รปู แบบต่าง ๆ ๑ หรอื ไม่

ในสังคมไทยมิติเชิงอุดมการณ์ยังไม่มีความชัดเจน จนกระทั่งเกิดความขัดแย้งทางการเมืองที่
ไม่เหมอื นกนั แล้วคอ่ ยพฒั นากลายเป็นอดุ มการณ์ โดยเร่ิมกอ่ รา่ งจากการเปล่ยี นแปลงเชงิ โครงสร้าง เศรษฐกิจ
และการเมือง อุดมการณ์จะไม่มีพลังเลยถ้าไม่มีฐานทางสังคมรองรับ สามารถนำกรอบวิธีคิดแบบนี้ไปอธิบาย
ความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจบุ ันได้

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๘๓
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพ่ือให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ความขัดแยง้ ทุกวนั น้เี ปน็ ความขดั แย้งเชงิ อุดมการณ์ที่แกไ้ ขได้ยาก

ความขัดแย้งทุกวันนี้เป็นความขัดแย้งเชงิ อุดมการณ์ที่แก้ได้ยาก ความขัดแย้งเชิงอุดมการณ์มีมูลเหตุ
มาจาก เศรษฐกิจ/สังคม/การเมือง ก็ต้องแก้ไขตรงนี้ รัฐไม่สามารถคาดหวังว่าไปปราบอุดมการณ์นั้น ๆ จะทำ
ใหอ้ ดุ มการณ์นน้ั หมดไปได้

ถ้ามองแบบ Comparative ความขัดแย้ง สถานการณ์ทางการเมือง และปรากฏการณ์ทางการ
เมือง ทำให้เกิดปัญหาเชิงอุดมการณ์ที่ต่างกัน ประชาธิปไตยในยุโรปมีการพัฒนาแบบนี้ไหม
Institutionalized ค่อย ๆ พฒั นาความแตกตา่ งเชิงอุดมการณช์ ัดเจนมากยงิ่ ขนึ้

ทุกประเทศ Social change / Social transformation ทำให้เกิดกลุ่มอาชีพใหม่ ๆ กลุ่มชนชั้นใหม่
ๆ มีความรู้สึกไม่พอใจโครงสร้างทางสังคมแบบเดิม มันไม่มี Representation ของกลุ่มใหม่ ๆ ส่งผลให้
ปรับเปลย่ี น Institution ถ้าฝา่ ยอำนาจเกา่ ไม่ยอมปรบั ตวั ก็จะเกิดการต่อสู้ทางอดุ มการณ์

พวกความขัดแย้งทางการเมืองแบบ Ideology ที่เกิดขนึ้ ในหลายประเทศของยุโรป มนั ไม่มีปญั หาส่วน
หน่งึ เพราะว่าระบบการเมืองมันมีช่องทางใหแ้ ต่ละคนมีทางออก มกี ลไกในการ Reconcile ความขดั แย้ง

ความขัดแยง้ ดา้ นอดุ มการณ์ทีเ่ กิดขึ้นเปน็ Warning ใหเ้ รารวู้ า่ ระบบมปี ัญหา

กระบวนการออกแบบโครงสร้างสถาบันใหม่ที่ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ หรือมีปัญหาเกิดขึ้น
เกิดจากอะไร

Institution design จะ design แบบ Top down ไมไ่ ด้ คิดเชิง out come และ out put ไมเ่ พยี งพอ
ต้องเป็นกระบวนการที่คนที่มีความขัดแย้งทั้งหลายเข้ามามีส่วนร่วมได้ต้อง Inclusive และVoice ได้ ถ้าขาด
ตรงนจี้ ะไม่มที างแก้ปัญหาได้

ถา้ เราจะพยายามทำให้มัน Inclusive กอ็ าจจะมีคนตั้งคำถามว่าแล้วใครละ่ ทเ่ี ป็นคน Represent
กลุ่มทงั้ หลาย

กลุ่มจะโผล่ขึ้นมาเอง กลุ่มไหนไม่มีมวลชนก็จะไม่มีน้ำหนัก หากเราจะทำรัฐธรรมนูญใหม่ ระบบ
เลือกตั้งใหม่ กระบวนการควรให้มีการถกเถียงกัน Free & fair ทุกกลุ่มสามารถออกเสียงได้ Referendum
ตอ้ งคัดคา้ นและสนบั สนุนได้

การมมี วลชนกเ็ ป็น evident อย่างหน่ึงวา่ กลุม่ นน้ั ควร Recognize ในการพูดคุย

ควรจะอยู่ใน Social base

ตัวอยา่ งประเทศท่ีทำเก่ียวกบั เรอ่ื งนี้ และตัวอยา่ งประเทศที่คล้ายกับประเทศไทย

เรื่องการปฏิรูปการเลือกตั้ง ตอ้ งนวิ ซแี ลนด์ ยงั ไม่มีประเทศทใ่ี กล้เคยี งกับไทยประเทศไหนเปน็ ตัวอย่าง
ท่ดี ี หากปล่อยปญั หาท้งิ ไว้ก็จะกลายเป็นปมปัญหาที่แน่นขน้ึ

หาแนวทางหรือกระบวนการคล้าย ๆ รัฐธรรมนูญปี ๔๐ แต่จะออกแบบให้ดีกว่า สสร./สมัชชาปี
๔๐ แบบน้ันจะ practical หรอื ไม่

Practical และคิดว่าโมเดลปี๔๐ เป็นจุดตั้งต้นที่ดี ปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัยปัจจุบัน ไม่ใช่เพียง
ตัวแทนจังหวัดเท่านั้น ควรคิดถึงกลุ่มอาชีพ อายุ ผู้เชี่ยวชาญในบางประเทศจะค่อนข้างสำคัญมีหน้าที่มา

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๘๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

นำเสนอชุดข้อมูลใหก้ ับสสร. ซึ่งมาจากตัวแทนประชาชนกลุ่มต่าง ๆ และเป็นคนตบให้เข้ารูปเข้ารอย แต่ไม่ใช่
เปน็ คนมาตดั สนิ ใจ ให้สสร.ตดั สินใจเอง อาจจะเหลอื หลายตวั เลือกแล้วให้ประชาชนลงมติ ในประเทศไทยหาก
ไมแ่ ก้ไขปัญหาความเหล่ือมล้ำก็ไม่มที างแก้ไขความขัดแย้งได้ ใหค้ นมี social mobility มากกว่าน้ี รวมถึงกลุ่ม
คนรวยทไ่ี ดป้ ระโยชนจ์ ากโครงสร้างเศรษฐกจิ ปัจจุบนั ทำให้คนไม่พอใจและเกดิ ความขัดแย้ง หากจะแก้ปัญหา
หรอื สร้างการปรองดองควรท่ีจะแก้ไขทโ่ี ครงสร้างทางสงั คม

ถา้ จะคยุ ถงึ เร่ืองความขัดแย้งทางการเมอื งควรจะเกบ็ ขอ้ มลู จากใครหรือแหล่งไหนเพ่ิมเติม

๑. ทหาร

๒. ธรุ กิจกลมุ่ ทุน (มิตรผล)

๓. รศ.ดร. ปิยบตุ ร แสงกนกกลุ

๔. นพ.อำพล จนิ ดาวฒั นะ

๕. นักธุรกิจ

๖. แกนนำมวลชน

๗. พรรคไทยภกั ดี

๘. นพ.วรงค์ เดชกิจวิกรม

๙. นายอานนท์ นำภา

๑๐. นายรงั สิมนั ต์ โรม

๑๑. นายไพบูลย์ นิติตะวัน

๑๒. นายคำนณู สิทธิสมาน

๑๓. นายกรวรี ์ ปรศิ นานันทกุล

๔. นายยามารดุ ดิน ทรงศิริและเพอื่ น (กลุ่มเยาวชน/นกั ศกึ ษา)

สาเหตขุ องความขัดแยง้ เกิดจากอะไร

ต้นเหตุของความขัดแย้งสามารถแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภทใหญๆ่ คอื ๑) ในเร่อื งของทางประวัติศาสตร์
และ ๒) ในเรอื่ งของการพัฒนา

๑) ในเรื่องของทางประวัติศาสตร์ จะเห็นได้ว่าเกิดจากการเปลี่ยนผ่านของการพยายามจะเป็น
ประชาธิปไตย ซึ่งในทุกวันนี้ก็ยังไม่สามารถเปลี่ยนผ่านได้อย่างแท้จริง ตั้งแต่การปฏิวัติสยาม พ.ศ. ๒๔๗๕
ซึ่งเรา ก็ยังไม่เปลี่ยนไม่ผ่าน และต้องต่อสู้ขัดแย้งกันมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งกรณีกบฏบวรเดช, การรวมกันของ
ขบวนการ นักศกึ ษาในยุคแรก, เหตุการณ์ ๑๔ ตลุ าคม, พฤษภาทมิฬ, การปะทะกนั ของกลุ่มคนเส้ือเหลืองและ
เส้อื แดง จนมาถึงการประท้วงที่เกิดขึ้นของกลมุ่ นกั ศึกษาในปัจจบุ ัน มปี ระเด็นขดั แย้งกนั เร่ือยมาทุกยุคทุกสมัย
โดยมอง วา่ มันคือการต่อสรู้ ะหว่างแนวคิดของกลุ่มคน ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มคนท่เี อาประชาธิปไตย และ กลุ่มคนท่ี
ไม่เอา ประชาธิปไตย (ทั้งนี้กลุ่มคนไม่เอาประชาธิปไตยที่หมายถึงนี้คือกลุ่มคนที่ไม่ได้ต้องการประชาธิปไตย
อย่าง เสมอภาคและเสรี กล่าวคือมีการใช้ประโยชน์จากประชาธิปไตยเพื่อผลักดันตนเองหรือกลุ่มคนของ

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


Click to View FlipBook Version