The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by researchteam.official, 2022-12-26 01:28:29

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๒
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๗
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๒
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๗
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๘๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พื่อให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ภาคผนวก ง
ภาพบรรยากาศในการประชมุ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญครง้ั ที่ ๑

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๒
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พอื่ ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ภาคผนวก จ
ความคิดเหน็ ของผเู้ ข้าร่วมประชุมคณะกรรมการผู้เชย่ี วชาญคร้ังท่ี ๑

ลำดบั ชอื่ ตำแหน่งและ ข้อสงั เกต ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ และปญั หา
หนว่ ยงาน

๑. นายยอดฉัตร ตสา นักกฎหมาย - ตัวชี้วัดที่กำหนดเอาไว้ทั้งหมดสองตัวชี้วัด คือ
ริกา กฤษฎกี า ตัวชี้วัด ๑. ต้องการสภาพปัญหาจริงและเป็นสภาพ
ชำนาญการ ปัญหาที่เป็นปัจจุบัน ในสังคมไทยก็มีการศึกษาเรื่อง
พเิ ศษ ความขัดแย้งทางการเมืองไว้มาก แต่ด้วยสภาพทาง
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป สภาพทางเทคโนโลยีท่ี
เปลี่ยนแปลงไป ความคิดของคนรุ่นใหม่ที่อาจ
เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ธรรมชาติของปัญหาความ
ขัดแย้งดังกล่าวก็อาจเปลี่ยนแปลงไปด้วย ควรศึกษา
ถึงรากฐานของปัญหาว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร ตัวชี้วัดที่
๒. เมื่อมีสภาพปัญหาแล้ว ต่อไปคือสามารถจัดทำ
ข้อเสนอแนะที่ถ่ายทอดไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งส่วน
ราชการ รวมถึงส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องสามารถรับไป
ดำเนินการได้

- สง่ิ ทค่ี าดหวงั เม่อื จบเฟสน้ีแล้วในปีงบประมาณต่อ ๆ
ไป ทางสำนักงาน ป.ย.ป. จะผลักดันให้มีการนำ
ขอ้ เสนอแนะนีไ้ ปดำเนนิ การต่อไป

- บทบาทของกรรมการชุดนี้ ขั้นตอนในการทำวิจัยมี
ด้วยกัน ๔ ขั้นตอน คือ ๑. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ๒.
การเก็บขอ้ มูล ๓. วิเคราะห์ ๔. จดั ทำข้อเสนอแนะ

๒. อ.ดร.เอกพนั ธ์ุ ปณิ ฑ สถาบันวจิ ยั - เรื่องกลุ่มเป้าหมาย เห็นด้วยกับการเก็บให้ครอบคลมุ
วณิช สังคม ให้ทั่วภูมิภาคทั่วประเทศไทย ไม่มั่นใจว่าในการเก็บ
จุฬาลงกรณ์ ข้อมูลเชิงปริมาณเราจะไปเก็บกับกลุ่มใด กลุ่มบุคคล
มหาวทิ ยาลัย ทั่วไปหรือกลุ่มที่เกี่ยวกับความขัดแย้งโดยตรง สอง
กลุ่มนี้จะมีความแตกต่างกัน ถ้าเราไปถามกลุ่มบุคคล
ทั่วไป เราอาจจะไมจ่ ำเป็นตอ้ งไปเจาะจงวา่ เขามีความ
เกี่ยวพันกันอย่างไรกับความขัดแย้งตั้งแต่อดีตจนถึง
ปจั จุบัน ไมแ่ นใ่ จว่าถา้ เอาข้อมลู ตรงนน้ั มาจะส่งผลกับ
การวิเคราะห์ความขัดแย้งในฐานะที่มันเป็นประเด็น
ปัญหาของสังคมเราได้มาน้อยแค่ไหน หากไปเก็บกับ
กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งโดยตรง หรือผู้ที่มี
ส่วนได้เสียกับความขัดแย้ง เราต้องย้อนกลับไปดูว่า

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๒๙๕
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชอ่ื ตำแหน่งและ ขอ้ สงั เกต ความคดิ เหน็ ความต้องการ และปญั หา
หน่วยงาน
พื้นที่ที่เราเลือกมันมคี วามสัมพันธ์มากน้อยขนาดไหน
กับประเดน็ ความขัดแย้ง

- ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพเราสามารถที่จะเข้าถึง
กลุ่มที่เป็น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จริง ๆ ได้มากน้อยแค่
ไหน ครอบคลุมกลุ่มภาคีความขัดแย้งกลุ่มใดได้บ้าง
ส่วนในเรื่องประเด็นหรือข้อคำถามเกี่ยวกับความ
ขัดแย้งขอให้ทางทีมไปจัดการกันเอง พวกกลุ่มที่เป็น
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือ sympathizer หรือการเป็น
สมาชิกของกลุ่มก้อนทางการเมือง ก็ถือว่าเป็นเรื่อง
สำคัญกับการไดข้ อ้ มูล

- ในด้านเนื้อหาคำถามเกี่ยวกับความขัดแย้ง ถ้าคำถาม
ของเราไปเจาะจงเกี่ยวกับเรื่องความขัดแย้งหลาย ๆ
คร้ังมักจะไม่ได้คำตอบทด่ี ี หรอื ตามแบบทเี่ ราคาดหวัง
ไว้ ยกตัวอย่างในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มี
ปัญหาความขัดแย้งเกิดขึ้นทุกวัน แต่เมื่อไปถาม
เกยี่ วกบั เรือ่ งความขดั แย้งคำตอบทีไ่ ด้ก็คือ ไม่มี

- ความสามัคคีปรองดองไม่จำเป็นต้องอยู่ด้วยกัน การ
ปรองดองไมจ่ ำเป็นตอ้ งสามัคคีก็ได้ ไม่แน่ใจวา่ เราต้อง
ใช้คำวา่ สามัคคกี ับปรองดองอยู่ในคำเดยี วกนั

- คำถามในเรื่องวิธีการจัดการความขัดแย้ง
กระบวนการหลายอย่างที่เป็นกระบวนการทางสังคม
ซ่งึ ไม่ไดร้ ะบุวา่ เปน็ วธิ ีการในการคลค่ี ลายความขัดแย้ง
โดยนิยามของมัน แต่มันเป็นวิธีการที่เกิดขึ้นได้ เช่น
ถ้าสมมติว่าเรามีผลการวิจัยแล้วเสนอการเลือกตั้งที่
บริสุทธิ์ยุติธรรม มันก็เป็นกระบวนการหนึ่งในการที่
จะทำให้สังคมที่มีความขัดแย้ง สามารถที่จะคลี่คลาย
ความขดั แย้งได้ ถ้าเราไประบุวธิ ีการผลของคำตอบจะ
ถูกจำกัดโดยวิธีการที่คุ้นชินมากกว่าเป็นวิธีการที่จะ
สามารถทำงานได้จริงในทางปฏิบัติ ถ้าถามคนทั่วไป
เรื่องวิธีในการจัดการความขัดแย้งก็จะเลือกวิธีการท่ี
คุ้นชิน แต่ว่ามันมีเครื่องไม้เครื่องมืออื่น ๆ ทางสังคม
ในทางกฎหมายทางโครงสร้างทางสังคมที่จะสามารถ
คลี่คลายปัญหาความขัดแย้งได้ โดยไม่ได้ถูกระบุว่า
เปน็ วิธกี ารจดั การความขดั แย้ง

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พื่อให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ช่อื ตำแหน่งและ ขอ้ สงั เกต ความคดิ เห็น ความตอ้ งการ และปญั หา
หน่วยงาน
๓. นายศุภณัฐ เพม่ิ พนู - วิธีการเก็บข้อมูลที่เราจะไปจัดประชุมรับฟังความ
ววิ ัฒน์ ผอู้ ำนวยการ คิดเห็นในหลาย ๆ พื้นที่ เราใช้กระบวนการในการ
สำนกั สันติวิธี เกบ็ ข้อมูลในลกั ษณะของการทำ work shop วิเคราะห์
และธรรมาภิ ความขัดแย้งผู้ที่เข้าร่วมสามารถที่จะร่วมให้ข้อมูลใน
บาล สถาบนั เชิงมีการคิดวิเคราะห์ประเมินผา่ นกระบวนการตา่ ง ๆ
พระปกเกล้า แล้วเรานำข้อมูลที่ได้มาตั้งต้นในการทำวิจัยต่อไป ใน
กระบวนการเกยี่ วกับการสร้างความปรองดองมันต้อง
มีสามเรื่องหลัก ๆ ๑. ค้นคว้าการเยียวยาในอดีตที่
ผ่านมา เนื่องจากความขัดแย้งในอดีตจะมีบาดแผล
ปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ๒. การหา plat form ปัจจุบันที่
จะทำให้คนในสังคมเข้ามาร่วมคลี่คลายปัญหาที่
เกิดขึ้น เช่น สิทธิเสรีภาพ การบังคับใช้กฎหมาย การ
เคารพสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรม สิ่งเหล่านี้เป็น
พื้นท่ใี นการปฏิสัมพนั ธ์ของคนในสังคมและในปัจจุบัน
มีพื้นที่เหล่านี้มากน้อยแค่ไหน ๓. การค้นหาอนาคต
ร่วมกัน ท่ามกลางบาดแผลที่ผ่านมาในอดีตท้ายที่สุด
แล้วยังไงเราต้องอยู่ร่วมกันในสังคมไม่ว่าเราจะมี
ความคดิ เห็นทางการเมอื งอยา่ งไร

- มีข้อสังเกตตรงวัตถุประสงค์ข้อที่สองที่เขียนว่าขจัด
ความขัดแย้งของสังคม ในการแก้ไขปัญหาความ
ขัดแย้งต่าง ๆ เราไม่สามารถขจัดความขดั แย้งออกไป
ได้ คำน้ีควรเปล่ียนใหม่

- ถ้าเราสามารถเพิ่มไปในกระบวนการที่เราจะค้นหา
สภาพของปัญหาแล้วก็แนวทางแก้ปัญหา เพิ่มในการ
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักในเรื่อง
ของการปรองดองสมานฉันท์ไปด้วย การที่จะทำตรง
นั้นไดเ้ ราควรที่จะไปออกแบบกระบวนการโดยเฉพาะ
บนเวทีรับฟังความคิดเห็น กระบวนการเหล่านี้เป็น
กระบวนการทเ่ี รารวบรวมความคิดเห็นได้จากเขาละก็
เปน็ การเสริมสรา้ งความรูใ้ ห้เขาด้วยในตวั การประชุม
รับฟังความคิดเห็นควรจะเป็นการเสริมสร้างความรู้
และความตระหนักใหเ้ ขาแลว้ ควรมีการประเมนิ เข้าไป
ดว้ ย

เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๒๙๗
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชอ่ื ตำแหน่งและ ขอ้ สังเกต ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ และปญั หา
หนว่ ยงาน

- ในส่วนของกลุ่มเป้าหมาย (เห็นด้วยกับอาจารย์เอก
พันธุ์) พื้นที่ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาควรที่จะสามารถ
อธิบายได้ว่ามาได้อย่างไร หรือจะเป็นในกรณีท่ี
อาจารย์เอกพันธุ์พูดว่าเราจะไม่ได้ไปเจอส่วนที่เป็น
รากเหง้าของมันจริง ๆ ผู้ที่เรากำลังจะไปสัมภาษณ์
เขามันมีกระบวนที่วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสียโดยตรงกบั
โดยอ้อมและควรระบุกันให้ชัดเจนว่าเราจะเลือกใคร
หรือเราจะคุยกับใคร จากพื้นที่ของกลุ่มตัวอย่างที่
เลือกมาจะเห็นว่าเราเลือกแต่หัวเมืองใหญ่ ๆ ต้อง
ตอบใหไ้ ดว้ า่ มันมปี ระเด็นความขดั แยง้ อะไรอยู่

- แผนการจัดประชมุ เชิงปฏิบัติการ ในเรื่องของสถานท่ี
ไม่มปี ญั หาแตค่ วามหลากหลายของคนทจ่ี ะมาเข้าร่วม
จะมาจากไหน มาจากจงั หวดั อะไร รปู แบบวธิ ีการเป็น
อย่างไร ถ้าเราใช้วิธีการไปถามปัญหาโดยตรงเรา
อาจจะไม่ได้อะไรกลับมา หากเราใช้คำถามในอนาคต
มันจะได้ทั้งสร้างความสัมพันธ์ของคนที่มาด้วยแล้วก็
ได้ข้อมูลจากเขาด้วย รวมถึงได้แนวทางที่เขาจะพูด
ออกมา

- ในเรื่องของแบบสอบถามที่เราแบ่งเป็นระดับ ๑-๕
สุดท้ายแล้วเราต้องย้อนกลับมาถามว่าจะได้คำตอบที่
มันตอบโจทยไ์ หม มันมหี ลายประเดน็ ท่กี ว้างหรือซ้อน
กันอยู่ ยกตัวอย่าง ข้อที่หนึ่ง ความขัดแย้งทาง
การเมืองหรือความขัดแย้งทางนโยบายการเมือง
เหมือนกันหรือต่างกันยังไง ในหัวข้อของสาเหตุข้อท่ี
หนึ่ง (พรรคการเมือง, อุดมการณ์ทางการเมือง) ข้อ
สามใหญ่อยากให้ระบุให้ชัดว่าเกี่ยวข้องกับคนกลุ่มใด
(พรรคการเมือง, ฝ่ายบริหาร, ฝ่ายรัฐสภา, องค์กร
อิสระ, นักวิชาการ/คณาจารย์, คู่ขัดแย้งโดยตรง) ถ้า
เราจะถามคำถามจากผู้ที่เกี่ยวข้องอาจจะถามว่าใน
ฐานะของคู่ขัดแย้งหรือผู้ได้รับผลกระทบ ถ้าถามใน
ฐานะคู่ขัดแย้งอาจต้องระบุเพิ่ม ถ้าในฐานะผู้ได้รับ
ผลกระทบ คิดว่าทุกคนได้รับผลกระทบทั้งหมด ข้อสี่
ใหญ่กังวลว่าเม่ือนำคำตอบมาวิเคราะหค์ ำตอบท่ีได้จะ
กว้าง จะนำมาทำข้อเสนอแนะได้ยาก ถ้าเราสามารถ
เจาะจงไปได้ เช่น รัฐธรรมนูญเพราะมันมีกติกา

เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๒๙๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พอ่ื ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชอ่ื ตำแหน่งและ ข้อสังเกต ความคิดเห็น ความตอ้ งการ และปญั หา
หนว่ ยงาน
๔. รศ.ดร.จันทรานุช ร่วมกัน ควรทำให้มันยกระดับจากงานเดิมไปพูดคุย
มหากาญจนะ อาจารยป์ ระจำ รับฟังความคิดเห็นจากกลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มเยาวชน
คณะรัฐ กลุ่มของนักวิชาการ คณาจารย์ กลุ่มนักการเมือง
ประศาสน พรรคการเมือง กลุ่มประชาสังคม จัดให้ชัดเจนแบบ
ศาสตร์ การสนทนาแบบกลุ่ม มาเลย มันจะมีการโต้ตอบกัน
สถาบนั มากกวา่
บณั ฑติ พัฒนบ
ริหารศาสตร์ - ถ้าเราพูดถึงการสร้างความสามัคคีปรองดองให้
กลับมามีความสมานฉันท์ภายในกรอบของการเมือง
มันก็จะชัดมากขึ้น จะสามารถระบุได้ว่าผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี คือใคร วิธีการทเี่ ราจะออกแบบ

- เรื่องของการเยียวยาการสร้างภาพอนาคตแล้วพบว่า
จริง ๆ แล้วเนี่ยภาคประชาชนพลเมืองในเรื่องความรู้
ทักษะเจตคติ ๑๐ ประเทศ เขาก็บอกว่าสร้างให้มัน
เกิดความรู้เรื่องประชาธิปไตย สิทธิคนอื่นหรือวา่ เรือ่ ง
กฎกติการัฐธรรมนูญเองเรื่องการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์
โปร่งใสอาจจะเป็นวิธีการหนึ่งที่นำไปสู่ความ
สมานฉันท์ได้ การสมานฉันท์มันไม่สามารถเกิดขึ้น
ภายในหนึ่งวันถึงสองวันได้ ต้องใช้การมีส่วนร่วม
รว่ มกันของประชาชน ข้ันตอนทีพ่ บจาก ๑๐ ประเทศ
ดังกล่าว คือการค้นหาความจริงที่เกิดขึ้นเริ่มตั้งแต่
ความจริงในอดีตว่าจะไปเยียวยากันอย่างไร รวบรวม
ให้เป็นองค์ความรู้ นำองค์ความรู้ไปใช้ สร้าง
กระบวนการยุติธรรมทางกฎหมายและทางสังคมให้
เกิดขึ้น แล้วไปค้นหาว่ามันมีความต้องการที่แท้จริง
อะไรแล้วเยียวยา มีการสารภาพผิด มีการลดโทษ มี
การลงโทษแบบสมานฉันท์ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง
นำไปสู่ความยุติธรรม

- มองภาพใกล้เคียงกับอาจารย์ทั้งสองท่านก่อนหน้า มี
ข้อสงสัยว่าเมื่อนำตัวแบบสอบถามดังกล่าวไปถาม
ประชาชน ตัวคำตอบที่ได้จะเป็นความคิดเห็นของ
ประชาชนมันจะสะท้อนความเป็นจริงหรือไม่ ในเรื่อง
ของความขัดแย้งทางการเมืองของประเทศไทยมี
นักวิชาการวิเคราะห์อยู่แล้วว่าสาเหตุเกิดจากอะไร
มันอาจจะไม่จำเป็นต้องไปถามประชาชนก็ได้ว่ามัน

เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๙๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชอ่ื ตำแหน่งและ ข้อสังเกต ความคิดเห็น ความตอ้ งการ และปัญหา
หน่วยงาน
เกิดจากอะไรเนื่องจากมันมีรีวิวมากมาย ในการทำ
แบบสอบถามอยากให้คำถามออกมาจากผลที่เรา
วิเคราะหแ์ ลว้ ไปถามประชาชนในลกั ษณะของมิติที่มัน
เชื่อมโยงกัน ทางเลือกที่สามารถทำได้คือ ทำเชิง
คุณภาพก่อนอาจจะดีกว่าแล้วค่อยเอาแนวทางที่คิด
ออกมาแล้วนำไปถามประชาชน เนื่องจากคำถามของ
การวิจัยคือต้องการจะรู้ว่าสาเหตุของความขัดแย้งมัน
เกิดจากอะไร มีการเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยเชื่อมโยง
ตา่ ง ๆ มากนอ้ ยแค่ไหน แลว้ นำไปต้งั แบบสอบถามอีก
ทีนึงน่าจะได้ประโยชน์มากกว่า ในการทำ
แบบสอบถามถ้าเราสามารถเจาะกลุ่มเป้าหมายลงไป
เลย เช่น ถ้าส่งแบบสอบถามไปถามนักการเมืองที่อยู่
คนละขั้วกัน กลุ่มธุรกิจหรือกลุ่มคนที่อยู่คนละข้ัว
แบบนี้อาจจะเห็นภาพได้ชัดกว่าการสุ่มแบบรวม ๆ
ทั่วไป ยังมั่นใจว่านักวิชาการสามารถวเิ คราะห์ปัญหา
ตรงนี้ได้ อาจจะไม่จำเป็นต้องทำแบบสอบถามชุดนี้ก็
ได้ ถ้าหากต้องการทำแบบสอบถามก็อาจจะแบ่งกลมุ่
ตัวอย่างออกเป็นเซ็ท แทนที่จะไปกระจายให้กับ
ประชาชนทั่วไป ตั้งข้อสงสัยว่าแบบสอบถามถ้าจะมี
ประโยชน์ในแง่ของการตอบคำถามงานวิจัย มันก็ควร
ที่จะสะท้อนอะไรบางอย่าง กลุ่มเป้าหมายที่จะมา
ตอบต้องเป็นแหล่งขอ้ มูลที่สามารถตอบคำถามไดจ้ ริง
ๆ มากกวา่ ทจี่ ะไปถามประชาชนทว่ั ไป

- การใช้วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลที่มาจากคนหลาย ๆ กลุ่ม
อาจจะมาจากข้อมูลเชิงคุณภาพมากกว่าการกระจาย
แบบสอบถาม เห็นด้วยกับอาจารย์เอกพันธุ์ที่ควรจะ
จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นก่อนค่อยทำ
แบบสอบถาม ทำแบบนี้อาจมีความหมายมากกว่า
เรื่องความขัดแย้งมันเป็นเรื่องปกติในสังคม
ประชาธิปไตย เราพูดถึงความขัดแย้งในแง่ที่ไม่มีกลุ่ม
ไหนที่จะยอมถอย ตรงนี้จะทำอย่างไรให้มันเกิดแล้ว
เอาแนวทางตรงนั้นไปลองสอบถามประชาชนแบบ
เป็นนัยและเห็นภาพความคิดของประชาชนว่าทำไม
โครงการที่ผ่านมามันถึงไมส่ ำเรจ็ เป็นเพราะอะไร หรือ
กระบวนการปรองดองที่ผ่านมามันไม่ได้เพราะอะไร

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๓๐๐
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พือ่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ช่ือ ตำแหน่งและ ข้อสงั เกต ความคิดเหน็ ความต้องการ และปัญหา
หนว่ ยงาน
๕. อ.ดร.พิมพร์ ภชั ดษุ ี แล้วยังมีเรื่องของการบังคับใช้กฎหมาย เรื่องของ
อิสรยิ กลุ ผจู้ ัดการ วัฒนธรรมที่มันต่างกัน หรือว่ามันมีอะไรที่ซับซ้อน
โครงการ พอสมควรถ้าตรงนี้สามารถนำมาวิเคราะห์ให้เป็น
กรอบได้ก่อน แล้วนำไปสอบถามประชาชนแบบ
Friedrich ภาพรวม อันนี้น่าจะความหมายมากกว่า ภายหลัง
Naumann จากการทำ การสนทนาแบบกลุ่ม แล้วอาจจะได้
Foundation ประเดน็ เห็นภาพท่ชี ดั กวา่

- เหน็ ดว้ ยกับกรรมการท้ังสามท่านก่อนหน้า และคิดว่า
เรื่องของกลุ่มจังหวัดว่าเราสุ่มแบบใด ถ้าเราเจาะจง
ลงไปกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเราอาจจะต้องทำ
แผนผังว่ากลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง
โดยตรง กลุ่มนี้เป็นผู้มผี ลกระทบ กลุ่มนี้คอื ประชาชน
ทวั่ ไป เรากจ็ ะได้ผลลัพธท์ ่แี ตกต่างออกไปจากเดิม

- เรื่องของวิธีการ หรือกระบวนการ เวลาที่เราจะเลือก
แม้กระทั่งกลุ่มที่เฉพาะเจาะจง เรามีวิธีการที่เราจะ
เลือกอย่างไร พอเลือกมาแล้วเราเอามาทำเป็น การ
สนทนาแบบกลุ่ม ถามคำถามตามแบบสอบถามที่เรา
มีอยู่เราจะได้คำตอบแบบเดิม แต่เราอยากจะได้
คำตอบทแี่ ตกตา่ งเราอยากจะได้คำตอบที่พิเศษไม่เคย
ถูกตอบที่ไหนมาก่อน แต่ถ้าหากเรายังใช้พ้ืนท่ีเดิม ใช้
วธิ กี ารสุ่มเหมอื นเดิมเราก็จะได้ชุดคำตอบใกลเ้ คียงกับ
คำตอบเดิม ในส่วนของวัตถุประสงค์ที่ตั้งมาว่าลด
ความขดั แย้งหรือขจัดความขัดแย้งเราไมส่ ามารถที่จะ
ทำให้ความขัดแย้งหายไปได้มันเป็นไปไม่ได้เนื่องจาก
มันเป็นธรรมชาติของคนที่อยู่ในสังคมประชาธิปไตย
อาจจะใช้คำอื่น เช่น แสวงหาแนวทางที่จะอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขบนความแตกต่างของสังคม ในข้อ
คำถามชุดคำถามเป็นประเด็นที่เคยเห็นมาอยู่แล้ว
คำตอบสามารถคาดเดาได้ถ้าเราไม่ได้เลือก
กลุ่มเป้าหมายแบบจำเพาะเจาะจง อาจจะกลั่นกรอง
คำถามให้เป็นมิตรให้คนอ่านแล้วเข้าใจวา่ ควรจะตอบ
อย่างไร ระดับของการให้คะแนนในแบบสอบถามที่มี
ตัง้ แตร่ ะดับที่ ๑ – ๕ เกรงว่าผ้ทู ่ีตอบแบบสอบถามจะ
เทคะแนนไปในระดับปานกลางหรือไม่ อาจจะเติม

เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๓๐๑
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชอ่ื ตำแหนง่ และ ข้อสังเกต ความคดิ เห็น ความตอ้ งการ และปญั หา
หน่วยงาน
ช่อง อื่น ๆ ลงไปเพื่อให้ผู้ที่ตอบแบบสอบถามได้ใส่
รายละเอียดเพิ่มเติม รวมถึงเราจะแปลงคำถามยังไง
ให้ความเป็นนามธรรมของคำถามเป็นมิตรกับผู้คน
แล้วก็เป็นรูปธรรมมากขึ้นให้มันเกี่ยวกับชีวิตของเขา
มากขึ้น ให้มันดูเขา้ ใจมากย่ิงขึ้นไม่เป็นคำวิชาการ ข้อ
สามใหญ่มันไม่ใช่การเมืองแบบเขม้ ข้นเหมือนแต่กอ่ น
แต่ผลกระทบของความขัดแยง้ ทางการเมืองมันเข้าไป
ที่โรงเรียน เข้าไปที่ครอบครัว หรือแม้กระทั่งกลุ่ม
เพื่อน แต่ถ้าเราอยากได้ภูมิทัศทางความขัดแย้งที่
เปลี่ยนไปจริง ๆ เราอาจจะต้องทำโจทย์ใหม่ ที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตจริง ๆ ข้อที่สี่ใหญ่เป็นไปได้
ไหมที่เราจะให้พืน้ ท่ีเขาในการคิดมากกวา่ นี้ เช่น มอง
ภาพอนาคตว่าประเทศไทยจะมีความขัดแย้งเรื่อง
อะไรบ้าง เพราะว่าภูมิทัศน์เรื่องของความ
เปลี่ยนแปลงมันรบกวนมาก ๆ เราไม่รู้ว่าอะไรจะ
เกิดขึ้นบ้าง สุดท้ายเมื่อให้คนพูดถึงภาพอนาคตที่
ตัวเองอยากเห็น เขาก็จะกลับมาพูดต่อวา่ มนั เปน็ ไปได้
ยากเพราะว่ามันมีข้อจำกัดแบบนี้ มันก็ดีกว่าที่เราจะ
ให้เขาเริ่มต้นการพูดคุยจากปัญหา ข้อที่ห้าใหญ่
วิธีการจัดการความขัดแย้งและการสร้างความ
ปรองดองในประเทศไทยมีอะไรบ้าง อันนี้อาจจะเป็น
วิธีที่เราเห็นแล้วก็ถูกนำมาใช้ในสังคม แต่ถ้าเราไป
ถามเด็กวันนหี้ รือพนื้ ทีส่ ำหรับคนเห็นต่างมาพูดคุยกัน
ไม่จำเป็นเฉพาะเรื่องการเมือง เด็กก็จะมีแนวทางการ
จัดการปัญหาที่ไม่เหมือนผู้ใหญ่ ฉะนั้นเราต้องทำ
ความเขา้ ใจภูมิทศั น์ความขดั แย้งของสังคมใหม่แล้วต้ัง
คำถามใหม่

- สนใจประเด็นการคน้ หาอนาคตร่วมกันไม่แน่ใจว่าตรง
นส้ี ามารถนำไปใส่ในโจทย์การวจิ ัยได้ไหม ถ้าทำได้มัน
จะเป็นข้อค้นพบใหม่ที่ยังไม่มีสังคมมองหาแล้วก็ไม่ได้
มองถึงจุดนี้เพราะว่าเรามีอคติเรื่องของความขัดแย้ง
สิ่งหนึ่งทีจ่ ะช่วยให้ชอ่ งวา่ งระหว่างความขดั แยง้ ลดลง
คือ การหา Common goal มองว่าอะไรของคนใน
สังคมที่มันเป็นจุดร่วมบางอย่าง การมองภาพอนาคต

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๓๐๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชอื่ ตำแหนง่ และ ข้อสังเกต ความคดิ เห็น ความต้องการ และปัญหา
๖. ศุภฤกษ์ ภูพ่ งศศ์ ักดิ์ หน่วยงาน
เขาอยากเห็นอะไรร่วมกันในสังคม เราจะเห็นวา่ เขามี
รองรกั ษา มมุ มองเก่ยี วกับเรื่องน้อี ยา่ งไร
ราชการแทน
รอง - ตอนที่เราจะทำแบบสอบถามเรามองเห็นการส่ง
ผอู้ ำนวยการ แบบสอบถามไป แล้วก็ทำ การสนทนาแบบกลุ่ม หรือ
สำนกั งาน เรามองถึง option ของ hybrid เพราะว่ามันจะทำให้
ป.ย.ป ขยายกล่มุ ไดก้ วา้ งขวางขน้ึ

- นอกจากการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและแบบ
สัมภาษณ์ น่าจะเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงาน
เจ้าของโครงการที่ทำโครงการตามแผนปฏิรูปด้าน
การเมืองด้วยซึ่งมีทั้งหมดประมาณ ๗๐ โครงการ
โครงการที่อยู่ในแผนปฏิรูปด้านการเมือง ซึ่งมี big
rock อยู่ ๕ ด้าน big rock ด้านที่ ๓ เป็นในเรื่องการ
สร้างความสามัคคีปรองดอง ส่วน big rock ในด้านอน่ื
ๆ ก็มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงในการสร้างความ
สามัคคีปรองดองด้วย เช่น โครงการเสริมสร้างความ
เขม้ แข็งของด้านสทิ ธิเสรภี าพและการมสี ่วนร่วมแล้วก็
กฎหมายแก่ภาคประชาชน อันนี้สถาบันพระปกเกล้า
ดำเนนิ การอยู่ โครงการบริหารราชการแบบมสี ่วนร่วม
โดยยึดประชาชนเป็นหลักอันนี้สำนักงาน ก.พ.ร.
ดำเนินการอยู่ หรือโครงการสร้างจิตสำนึก
ประชาธปิ ไตยใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั การเลือกต้ัง โครงการ
เหล่านี้หน่วยงานได้คิดขึ้นมา เบื้องหลังการสร้าง
โครงการพวกนี้หน่วยงานที่สร้างโครงการเขาน่าจะมี
สมมติฐานเบื้องต้นว่าอะไรเป็นสาเหตุของความ
ขดั แยง้ อะไรเปน็ ประเด็นของความขัดแยง้ ผู้มสี ่วนได้
เสียที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งเป็นใครจึงนำไปสู่
โครงการที่แก้ไขปัญหาความขัดแย้ง การเก็บข้อมูล
จากหน่วยงานที่ดำเนนิ การในโครงการเหล่าน้ีจะทำให้
ได้ข้อมูลอีกฝั่งหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนิน
โครงการ เมื่อได้ผลการศึกษาออกมาแล้วเนี่ยก็น่าจะ
เป็นประโยชน์อย่างมากถ้าผลการศึกษานี้ได้ถูก
ส่งกลับไปยังหน่วยงานที่ดำเนินโครงการพวกนี้ด้วย
เพอ่ื ให้หน่วยงานได้นำไปใชป้ รับปรุงโครงการตอ่ ไป

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๓๐๓
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ช่ือ ตำแหนง่ และ ขอ้ สงั เกต ความคดิ เห็น ความต้องการ และปัญหา
หน่วยงาน
๗. นายวศิ ษิ ฏ์ วิศิษฏส์ ร - เห็นด้วยกับประเด็นการทอดแบบดูแล้วค่อนข้างเกาะ
อรรถ ผอู้ ำนวยการ กลุ่มขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการจะให้ได้รับผลอะไร ถ้า
สำนักงาน เราต้องการความคิดเห็นจากบุคคลทั่วไปมันก็จะเป็น
ป.ย.ป. เรื่องหนึ่ง ถ้าเราทอดแบบไม่ดีก็จะทำให้ข้อมูล
คลาดเคล่อื น สามัคคปี รองดองมันเป็นผลด้านหน่ึงแต่
ว่าที่มันไม่สามัคคีปรองดองหรือข้อขัดแย้งเนี่ยมัน
ไม่ได้มีอันเดียว และมันก็เป็นพลวัต การขัดแย้งบาง
เรื่องเป็นการขัดแย้งระหว่างสีเหลืองและสีแดงก็เป็น
ความขัดแย้งในลักษณะหนึ่ง ถ้าเราไปถามในภาคใตก้ ็
จะเป็นความขัดแย้งในเชิงเรื่องดินแดน ถ้าเราไปถาม
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางแห่งก็จะเป็นความ
ขัดแย้งด้านทรัพยากร ถ้าในปัจจุบันก็จะเป็นการชู
สามนิ้วกับไม่ชูสามนิ้ว ไม่แน่ใจว่าแบบสอบถามที่เรา
ได้ตั้งขึ้นมามันจะครอบคลมุ ในเรือ่ งความขดั แย้ง แลว้
ถ้าเราเอาไปครอบคลุมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง general
opinion จะหนักไปทางใดทางหนึ่ง ตัวแนวความคิดก็
เป็นความคิดเห็นในการแก้ไข ยังเห็นถึงความจำเพาะ
เจาะจงและอยู่ในข้อเสนอเดิมไม่ได้เอนไปในสิ่งที่แก้
ไมไ่ ด้ เช่น ไปปฏริ ูปการเมืองซึ่งมนั จะไม่เกิดประโยชน์
อะไรจะเป็นการโยนจากอีกเร่ืองหน่ึงไปสอู่ กี เร่ืองหน่ึง

- แนวคำถามเน้นกับผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นหลักควรขีดวง
ให้ดีและชัดเจน ถ้าขีดวงแล้วรับฟังข้างหนึ่งแต่ไม่รับ
ฟังอีกข้างหนึ่งก็จะเกิดการเบียดของแนวความคิดขึ้น
การเข้าใจของกลุ่มเยาวชนเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน
อนั นข้ี อตั้งเป็นขอ้ สงั เกต

๘. นายปกรณ์ ปรียากร ประธาน - ในงานนี้เราอยากจะเห็นอยากเห็นข้อค้นพบใหม่ ๆ

กรรมการ ในความเป็นจริงผมมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ

ปฏริ ูปประเทศ ที่สุดของการอยู่ในชีวิตมนุษย์ แต่ว่าที่บ้านเรามีความ

ดา้ นการเมือง รุนแรงอาจเป็นเพราะว่ามีผู้ผูกขาดทางความคิดใน

บางจุด ที่ไม่เข้าใจว่าเราดำรงอยู่ในสังคมที่มีพหุ

วัฒนธรรม ความขัดแย้งของตะวันออกไม่สามารถใช้

กรอบคิดของตะวันตกได้มากนัก ในการแก้ไขปัญหา

ความขัดแย้งอาจจะต้องใช้กรอบหลายกรอบเพื่อมา

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๐๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ช่ือ ตำแหนง่ และ ขอ้ สังเกต ความคดิ เหน็ ความต้องการ และปัญหา
หน่วยงาน

แก้ไข ถ้าเราใช้เรื่องมิติของเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องมัน
อาจจะช่วยให้เรามองภาพในเชงิ ลกึ ได้มากขึ้น ภายใต้
ความขัดแย้งในหลาย ๆ เรื่อง ให้ภาพใหญ่ของสังคม
อย่รู ว่ มกันไดจ้ รงิ ๆ

เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๐๕
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ภาคผนวก ฉ
รายละเอยี ดการจัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารท้งั ในส่วนภูมภิ าคและส่วนกลาง

๑. รายช่อื ผลู้ งทะเบียนเข้าร่วมการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการ: จ.นครศรีธรรมราช

ลำดับ ช่อื -นามสกุล หนว่ ยงาน ตำแหนง่

หน่วยงานภาครัฐ

๑ นายสมาท บญุ พศิ เทศบาลเมืองปากพูน

ผู้แทนพรรคการเมอื ง

๒ นายสุรศกั ดิ์ วงศ์วานิช พรรคประชาธิปตั ย์

๓ นายพงศ์สินธุ์ เสนพงศ์ พรรคประชาธิปตั ย์

๔ นายกัณฑเ์ อรก เกตแุ กว้ พรรคประชาธปิ ัตย์

๕ นายกฤช พิทกั ษค์ ุมพล พรรคประชาธปิ ัตย์

๖ บุญฑริกา ยอดสรุ างค์ พรรคเพอ่ื ไทย

๗ นายโชติ ชสู วุ รรณ์ พรรคเพอ่ื ไทย

๘ น.ส พวงทิพย์ ศรีรักษา พรรคเพอ่ื ไทย

๙ บุญเรงิ ยอดสรุ างค์ พรรคเพอ่ื ไทย

๑๐ นางสปุ ราณี ปานเนอื่ ง พรรคเพื่อไทย

๑๑ นางอนงค์ ล่อใจ พรรคเพอ่ื ไทย

๑๒ นายคำแสน บญุ ลอ้ ม พรรคเพอื่ ไทย

๑๓ นายลอ้ ม บุญชกั พรรคเพอ่ื ไทย

๑๔ พิชรี หกราโชติ พรรคเพื่อไทย

๑๕ โสภติ า ยอดสุรางค์ พรรคเพือ่ ไทย

๑๖ ชมนาถ พรรคเพื่อไทย

๑๗ คณุ สรุ ชาติ หนทู องจนั ทร์ พรรคเพอ่ื ไทย

๑๘ นภิ า ฝ่งั ชลจติ ต์ พรรคเพ่อื ไทย

๑๙ อนุชา ขวญั คาวนิ พรรคเพอ่ื ไทย

๒๐ สมพงศ์ เสียงดี พรรคเพอ่ื ไทย

๒๑ คุณจรญั ศรสี ุข พรรคเพอ่ื ไทย

๒๒ สมพร รตั นพงศ์ พรรคเพอ่ื ไทย

๒๓ คุณสมพงษ์ เสียงดี พรรคเพ่อื ไทย

๒๔ วนิ ติ เอยี ดชว่ ย พรรคเพ่อื ไทย

เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๐๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พื่อให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล หนว่ ยงาน ตำแหน่ง
๒๕ สรวศิ ิษฏ์ มสุ กิ พันธุ์
พรรคเพือ่ ไทย
๒๖ สมนกึ เพชรชำนาญ
๒๗ นายชลอ เอี่ยมสทุ ธ์ื หนว่ ยงานเอกชน
๒๘ นายนอบ อำภาสุวรรณ
๒๙ นายไพโรจน์ ดารารตั น์ สมาคมสอื่ ทอ้ งถิ่นนครศรีธรรมราช
๓๐ นายอุทยั ศริ ิรตั น์
๓๑ น.ส.ศิริพร เนาว์วาส สมาคมสอื่ ทอ้ งถิน่ นครศรธี รรมราช
๓๒ นายชะอ่มุ บญุ วงค์แก้ว
๓๓ นางสมศรี เจนวิชชเุ มธ สมาคมสือ่ ทอ้ งถนิ่ นครศรธี รรมราช
๓๔ นายยงยทุ ธ พลชะตนิ
๓๕ นายนอ้ ย แก้วโสภาค สมาคมสื่อท้องถน่ิ นครศรีธรรมราช
๓๖ นางจรวยรตั น์ บญุ ชูวงค์
๓๗ นางผานติ ย์ พรอ้ มประเสร็ฐ สมาคมสอื่ ท้องถ่นิ นครศรธี รรมราช
๓๘ นางสมพศิ กาญจนโสภา
๓๙ นายชุตพิ นธ์ โภคากรณ์ สมาคมส่อื ท้องถิ่นนครศรธี รรมราช
๔๐ คณุ ไพทรู ย์ อนิ ทศิลา
สมาคมสื่อท้องถิ่นนครศรธี รรมราช
๔๑ อภสิ ิทธิ เสน็ ทอง
๔๒ ณชิ าภัทร สงั ยวน สมาคมสอ่ื ท้องถน่ิ นครศรีธรรมราช
๔๓ ณัฐวธุ จนี ผอม
๔๔ อตชิ าติ จนั ทร์สุวรรณ สมาคมสอ่ื ทอ้ งถน่ิ นครศรีธรรมราช
๔๕ ภสั สรนนั ท์ แซเ่ ตยี ว
๔๖ เนตรชนก ทองรอด สมาคมสือ่ ท้องถน่ิ นครศรีธรรมราช
๔๗ ภทั ราวรรณ คงวัดใหม่
๔๘ กิติกร ม่ยุ สมาคมส่อื ทอ้ งถน่ิ นครศรธี รรมราช
๔๙ ฐติ าพร เพ็งดำ
๕๐ ญาดาวดี ปล้องนุ้ย สมาคมสื่อท้องถิ่นนครศรีธรรมราช
๕๑ สิริกร ดวงสุวรรณ
สมาคมสือ่ ท้องถิ่นนครศรีธรรมราช

สมาคมสอ่ื ท้องถน่ิ นครศรธี รรมราช

เดลินวิ ส์

สถาบันการศกึ ษา

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ นักศกึ ษา

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ นกั ศกึ ษา

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ นักศกึ ษา

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ นกั ศกึ ษา

มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์ นักศกึ ษา

มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นักศกึ ษา

มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ นกั ศกึ ษา

มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นักศกึ ษา

มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ นกั ศกึ ษา

มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นกั ศกึ ษา

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ นกั ศกึ ษา

เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๓๐๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชื่อ-นามสกลุ หน่วยงาน ตำแหน่ง
๕๒ ณัฏฐนันท์ ไชยยัง มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์
๕๓ กมลพรรณ รยิ าพนั ธ์ มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ นักศึกษา
๕๔ นรมน นกุ ูล มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ นกั ศึกษา
๕๕ อิทธิเดช ชูชีวติ มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ์ นักศึกษา
๕๖ เจนจริ า คณุ ะชล มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ นักศกึ ษา
๕๗ นรชิ า วรังอาสน์ มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ นักศกึ ษา
๕๘ อรววรณ บรรจงการ มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ นกั ศึกษา
๕๙ เนตรชนก โชติรตั น์ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ นักศึกษา
๖๐ โสรยา ประดบั เพชร มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ นักศกึ ษา
๖๑ บวั ชมพู กลิ่นสุคนธ์ มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ นักศกึ ษา
๖๒ กฤษณวิทย์ ศรบี ัวจบั มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ นกั ศกึ ษา
๖๓ ธนกฤต ยอดพิจตร์ มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ นกั ศกึ ษา
๖๔ ปน่ิ ปนิ ทั ธ์ หนวู งศ์ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ นกั ศึกษา
นกั ศึกษา
๖๕ วันดี สขุ บำเพิง ประชาชนทัว่ ไป
๖๖ นายเกรยี งศกั ดิ์ จงประดิษฐ์
๖๗ นายนุกลู พูสวสั ดิ์ ประชาชนทว่ั ไป
๖๘ นายพงษ์ศักดิ์ อายุภักดิ์ ประชาชนทว่ั ไป
๖๙ นายวราวุธ สดุ ครี ี ประชาชนทว่ั ไป
๗๐ นายพรเทพ เอกาพนั ธ์ ประชาชนทั่วไป
๗๑ นายมนสั ชว่ ยกรด ประชาชนทว่ั ไป
๗๒ นายโสภณฏั ฐ คงแกว้ ประชาชนทั่วไป
๗๓ นางอสุ ะนา ธำรงค์รกั ษ์ ประชาชนทว่ั ไป
๗๔ นายพนม สดุ ครี ี ประชาชนทว่ั ไป
๗๕ นางณัฐชยา จนิ ตนรงุ่ โรจน์ ประชาชนทว่ั ไป
๗๖ สมศกั ดิ์ ขาวอทุ ยั ประชาชนทว่ั ไป
๗๗ นางสุจติ รา หนสู ุวรรณ ประชาชนทัว่ ไป
๗๘ นายชูลกั ษณ์ ศรภี กั ตรา ประชาชนทั่วไป
๗๙ นายหริ ญั ปรีชา ประชาชนทั่วไป
ประชาชนท่วั ไป
ประชาชนทั่วไป

เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๓๐๘
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ช่ือ-นามสกุล หนว่ ยงาน ตำแหนง่
๘๐ นางวาสนา ปลอดจนั ทร์ ประชาชนทั่วไป
๘๑ นายอดุ ร ขนุ อำ ภาคประชาสังคม ประชาชนทว่ั ไป
๘๒ นายสมบรู ณ์ อำมะเนย๊ี ะ ประชาสังคม ประชาชนท่วั ไป
๘๓ นายสมชาย วาทีรกั ษ์ ประชาชนทั่วไป
๘๔ นายประมวล อินทรพ์ รหม ประชาชนทั่วไป
๘๕ อรรถชยั อันชุม ประชาชนทั่วไป
๘๖ ออมสนิ บญุ นอง ประชาชนทั่วไป
๘๗ พัชรภรณ์ รัตนพงศ์ ประชาชนทั่วไป
๘๘ ธรินทร์รัตน์ จันชุม ประชาชนทว่ั ไป
๘๙ มูฮมั หมดั พรหมเกษร ประชาชนท่วั ไป
๙๐ ชัญญา ทองคำชมุ ประชาชนทว่ั ไป
๙๑ ธัญลกั ษณ์ ทองตรี ประชาชนทว่ั ไป
๙๒ เกศรา เจษฏารมย์ ประชาชนทว่ั ไป
๙๓ ลดั ดาวลั ย์ พรมลี ประชาชนทว่ั ไป
๙๔ นฤชล สไลรวม ประชาชนทว่ั ไป
๙๕ ปิยะวัตร สทุ รพอมี ประชาชนทว่ั ไป
๙๖ มณฑา เสอื เผ่น ประชาชนทว่ั ไป
๙๗ สมคิด ณฐณพ ประชาชนท่ัวไป
๙๘ สทุ ศั น์ นากปลดั ประชาชนทว่ั ไป
๙๙ นยิ ดา วิลาส ประชาชนทว่ั ไป
๑๐๐ ยามีน รตั นพงศ์ ประชาชนทว่ั ไป
๑๐๑ วรรณา บรุ ีภกั ดี ประชาชนท่วั ไป
๑๐๒ งนั ผิงผัน ประชาชนทั่วไป
๑๐๓ สิริโสภา ภักดีวานชิ ประชาชนทั่วไป
๑๐๔ นภิ าวรรณ จันทรวงศ์ ประชาชนทวั่ ไป
๑๐๕ สรศกั ด์ิ มัฎฐารกั ษ์ ประชาชนท่วั ไป
๑๐๖ รัตนพร สมุ น ประชาชนทว่ั ไป

๑๐๗ นายวรี ะ เขนย นายกสมาคมคนพิการจังหวัด
นครศรธี รรมราช

เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๓๐๙
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ลำดบั ชอื่ -นามสกุล หน่วยงาน ตำแหน่ง

๑๐๘ นายนราธร ปานดี สำนกั งาน ป.ย.ป. นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ
สำนกั งาน ป.ย.ป. พเิ ศษ รกั ษาราชการแทนผอู้ ำนวยการกอง ๒
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
๑๐๙ นายมหาชัย วงษเ์ คย่ี ม สำนักงาน ป.ย.ป. นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ
๑๑๐ นางสาวธนั ท์ชนก อินตะ๊ วิน สำนกั งาน ป.ย.ป. นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน
๑๑๑ นายพรี พัฒน์ ส่งสขุ สำนักงาน ป.ย.ป.
ผู้อำนวยการสำนักสันติวิธแี ละธรรมาภิบาล
๑๑๒ นายศุภณฐั เพ่ิมพนู วิวัฒน์ สถาบนั พระปกเกา้
สถาบันพระปกเกล้า

เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๓๑๐
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๒. ภาพบรรยากาศการประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร: จ.นครศรธี รรมราช

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๓๑๑
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๓. รายชือ่ ผู้ลงทะเบยี นเขา้ ร่วมการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ: จ.ชลบุรี

ลำดับ ชอื่ -นามสกลุ หนว่ ยงาน ตำแหนง่

หนว่ ยงานภาครัฐ

๑ คุณขนั ชยั ประมวลรตั น์ สำนกั งานจงั หวดั ชลบรุ ี นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ

๒ คณุ สุทธพิ งษ์ ไทยบรรเทงิ สำนักงานจงั หวดั ชลบรุ ี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

๓ คณุ สโรชา หนเู ทพ สำนกั งานยุติธรรมจงั หวดั ชลบุรี นกั วชิ าการเงินและการบัญชี

๔ คุณนวรตั น์ เชี่ยวประสิทธิ์ สำนกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั ชลบรุ ี นักวชิ าการยุตธิ รรม

๕ คณุ วสิ ตุ ร ทากสินธุ์ ทบ.สัตหบี สมปก.

๖ คณุ อหิ ศั น์ ทากสนิ ธ์ุ ทบ.สตั หีบ สมปก.

๗ คุณณัฐณชิ า พรมภกั ดี สำนักงานเกษตรจังหวดั ชลบรุ ี นวส.ปก.

๘ คณุ ชาญณรงค์ เป็งเรือน สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบรุ ี นวส.ปก.

๙ นายสมนึก เวชไธสง สำนกั งานพาณชิ ยจ์ ังหวดั ชลบรุ ี เจา้ หน้าท่ีสถติ ชิ ำนาญการ

๑๐ นายสนชยั ประมาณ

๑๑ นางปรณิ ดา สำนักงานประชาสัมพนธจ์ ังหวัด ผสู้ ือ่ ข่าว
ชลบุรี

๑๒ นางกตญั ญู อยู่เพง็ เทศบาลเมอื งแสนสขุ หัวหน้าฝา่ ยปกครอง

ผแู้ ทนพรรคการเมือง

๑๓ วรท เลิศเกยี รตคิ ณุ พรรคก้าวไกล สมาชิกผแู้ ทนราษฎร

๑๔ ลลิตา ตนั วงศ์ษา พรรคก้าวไกล สมาชิกผแู้ ทนราษฎร

๑๕ ชวาล พลเมืองดี พรรคก้าวไกล สมาชิกผูแ้ ทนราษฎร

๑๖ นจุ รินทร์ นามลุ ทา พรรคกา้ วไกล สมาชกิ ผแู้ ทนราษฎร

หน่วยงานเอกชน

๑๗ วิรตน พานชิ กุล บ.เกรทเซน็ เตอร์ หวั หนา้ ธรุ การ

สถาบันการศึกษา

๑๘ คณุ บรู พา พรหมดำ สพม. ชบรย นกั ศกึ ษา

๑๙ คุณคณิศร แจม่ รศั มี โรงเรยี นชลราษฎรอำรงุ นักศกึ ษา

๒๐ คณุ อภิชาติ เบกิ ประโคน โรงเรยี นชลบรุ ี "สขุ บท" นักศกึ ษา

๒๑ คณุ จันทรจ์ ริ า สพุ ลดี โรงเรียนชลกันยานุกลู สงั กดั สพ นักศกึ ษา
ม.ชบรย

๒๒ นายกตภาส กงคณุ านนท์ โรงเรียนชลบรุ ี "สุขบท" นกั ศกึ ษา

๒๓ ผศ.ชนกรณ์ จารพุ รประสาน มหาวิทยาลยั บรู พา นักศกึ ษา

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๓๑๒
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดบั ช่ือ-นามสกลุ หน่วยงาน ตำแหน่ง
๒๔ นางสาวสโรชา ทนแก้ว มหาวิทยาลยั บรู พา
๒๕ กณกวรรณ ชตพละกลุ มหาวทิ ยาลยั หอหารคา้ ชลบุรี นกั ศึกษา
นักศึกษา
๒๖ นางซี ชูผล ประชาชนทั่วไป
๒๗ นางชวลั พชั ร เหลาพรม ประชาชน
๒๘ นางจำเนยี ร ม่งิ มาวงษ์ ประชาชน
๒๙ นางน้ำผง้ึ อบเชย ประชาชน
๓๐ นางอำไพ บุญทา ประชาชน
๓๑ นางพิม ชูผล ประชาชน
๓๒ น.ส.มีนา บุญโชติ ประชาชน
๓๓ นางพนั ธชา แซ่ตัง้ ประชาชน
๓๔ น.ส.จฑุ านนั ท์ อนิ แย้ม ประชาชน
๓๕ น.ส.มุกธดิ า คำสงิ ค์ ประชาชน
๓๖ นางสรุ ยี ์ ญาณประภาส ประชาชน
๓๗ น.ส.วิราวรรณ ขนั ถโท ประชาชน
๓๘ นางเพญ็ ศรี บุญผดุ ประชาชน
๓๙ นางสุพตั รา สวนสุข ประชาชน
๔๐ นายชิด แซ่เฮ้ง ประชาชน
๔๑ นายพงษ์ศกั ด์ิ สาระ ประชาชน
๔๒ นางอภญิ ญา คำธิมา ประชาชน
๔๓ นางนลินลักษณ์ ปฐมสวัสดิ์ ประชาชน
๔๔ น.ส.สุชาดา รตั นมาลี ประชาชน
๔๕ นางละออ สวัสดี ประชาชน
๔๖ นางกลัยา อนิ ทร์อุดม ประชาชน
๔๗ นางวรรณทพิ ร คำนงึ วิทย์ ประชาชน
๔๘ นางนติ ยา แซห่ า่ น ประชาชน
๔๙ นางณัฐถนอม ประชาชน
๕๐ นางวราพร ศริ ิโส ประชาชน
๕๑ นางสมถวลิ สันตพิ ทิ กั ษ์ ประชาชน
ประชาชน

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๓๑๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พ่ือให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชอ่ื -นามสกุล หนว่ ยงาน ตำแหนง่
ประชาชน
๕๒ นายกมล สมชพิทกั ษื ประชาชน
ประชาชน
๕๓ นางเยาวเรศ นาคปฐม ประชาชน
ประชาชน
๕๔ นางสกณุ า ศรสี วสั ด์ิ ประชาชน
ประชาชน
๕๕ น.ส.นิธิรตั น์ ทีฆะสวสั ด์ ประชาชน
ประชาชน
๕๖ นางวยั เรียน อนุ่ ใหม่ ประชาชน
ประชาชน
๕๗ นางรัตนา สิงหส์ ุวิทย์ ประชาชน
ประชาชน
๕๘ น.ส.มณั ฑติ า บญุ เถอื น ประชาชน
ประชาชน
๕๙ นายสุพจน์ แสงสี ประชาชน
ประชาชน
๖๐ นางกหุ ลาบ จค๋ี ีรี
ประชาชน
๖๑ นางปยิ นชุ ปญั ชาณรงค์
ประชาชน
๖๒ นางรตั บงกช รนื่ ภาคตะยะ ประชาชน
ประชาชน
๖๓ นางนงพรรณ พนาลี ประชาชน
ประชาชน
๖๔ คุณไฉน วงสายนั ต์ ประชาชน
ประชาชน
๖๕ คณุ กงทอง แตกหนองโน ประชาชน
ประชาชน
๖๖ คณุ จนั ทร์ฉาย คนธสงิ ห์ ประชาชน
ประชาชน
๖๗ คุณอ๊งั ทองระอา

๖๘ คณุ ชนนิภา เสาวรส

๖๙ คุณนพวรรณ ธรรมกจิ
ไพโรจน์

๗๐ คุณทพิ า ประยรู ญาติ

๗๑ คณุ สุนยี ์ ใจจริง

๗๒ คณุ จรนิ ทร์ ขอบใจ

๗๓ คุณเบญจมาศ โฉมงาม

๗๔ คณุ จนั ทรเ์ พ็ญ ชลอยบญุ

๗๕ คุณแช่มช้อย หวานล้ำ

๗๖ คุณบานเชย นามเมือง

๗๗ คุณภัททชิ า บวั จนั ทร์

๗๘ คุณนวพร หอมหวล

๗๙ คณุ บุญเชิด ไพรวงษ์

๘๐ คณุ สภุ รณ์ บญุ ค้มุ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๓๑๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชื่อ-นามสกลุ หนว่ ยงาน ตำแหนง่
๘๑ คณุ สวุ รรณา กระชนั้ ประชาชน
๘๒ คุณสมุ ล ถนอมแนบ ประชาชน
๘๓ คุณปิยวรรณ เสือหลง ประชาชน
๘๔ คุณปรยิ พชิ ญ์ แสงสี ประชาชน
๘๕ คุณกลั ยา พรรณพลอย ประชาชน
๘๖ คุณนฤมล ประยรู ศกั ด์ิ ประชาชน
๘๗ คุณบุญชอบ ทองใบ ประชาชน
๘๘ คณุ จริ ฎั ฐ์ มขุ โพธเ์ิ ยน็ ประชาชน
๘๙ คุณปราณี แดงทำดี ประชาชน

๙๐ นางเพียงพร ดำรงคร์ ักษ์ ภาคประชาสงั คม
๙๑ นางเพ็ญจันทร์ แจ่มใส อสม.
๙๒ นางบุญณภทั ร วงสดใส อสม.
๙๓ นางประนอม เกิดอยู่ อสม.
๙๔ นส.อวริ ญา ผอ่ งศรใี ส อสม.
๙๕ นส.นพมาศ ผ่องศรีใส อสม.
๙๖ นส.ผสุ ดี ผ่องศรีใส อสม.
๙๗ นางภทั รา ม่งุ ประชาชน อสม.
๙๘ นส.พอตา นะสะวุฒิ อสม.
๙๙ นส.ชนัดดา เสริมสี อสม.
๑๐๐ นายโสภณ ใจดี อสม.
๑๐๑ นางจนิ ตนา พ่มุ อรุณ อสม.
๑๐๒ นางทพิ ย์วรินทร สงิ หเสนี อสม.
๑๐๓ นส.เกษร สมบรู ณฐ์ านะ อสม.
๑๐๔ นางถาวร พรหมเจรญิ อสม.
๑๐๕ นางอดุ มพร อมุ า อสม.
๑๐๖ นางยุพา จรยิ าธนธรรม อสม.
๑๐๗ น.ส.พรทิพย์ แซช่ อ้ื อสม.
๑๐๘ นางวรรณี บญุ คมุ้ พรมทวี อสม.
อสม.

เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๓๑๕
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดับ ชือ่ -นามสกลุ หน่วยงาน ตำแหน่ง
๑๐๙ นางอษุ า ทองคำแท้ อสม.
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ
สำนกั งาน ป.ย.ป. พเิ ศษ รกั ษาราชการแทนผอู้ ำนวยการกอง ๒
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ
๑๐๘ นายนราธร ปานดี สำนักงาน ป.ย.ป. นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร

๑๐๙ นายมหาชยั วงษเ์ คย่ี ม สำนกั งาน ป.ย.ป. ผูอ้ ำนวยการสำนักสันตวิ ธิ แี ละธรรมาภบิ าล

๑๑๐ นางสาววรวรรณ เครอื กล่อม สำนักงาน ป.ย.ป.

สถาบนั พระปกเกา้

๑๑๑ นายศภุ ณฐั เพ่ิมพูนววิ ัฒน์ สถาบันพระปกเกล้า

ผู้รว่ มเสวนา

๑๑๒ ผศ. ร.ต.อ. ดร.วเิ ชยี ร ตนั ศริ ิ คณะรัฐศาสตร์และนิตศิ าสตร์
คงคล มหาวทิ ยาลยั บูรพา

๑๑๓ คุณณภทั ร์ ขุนนากลดั สื่อมวลชนจงั หวดั ชลบรุ ี

๑๑๔ อาจารยพ์ งศธร แก้วมณี คณะรัฐศาสตร์และนิตศิ าสตร์
มหาวิทยาลยั บูรพา

๑๑๕ คุณนภดล พรบรบิ ูรณ์ ตวั แทนภาคประชาชน

๑๑๖ คณุ สกุ ลภทั ร ใจจรญู ตัวแทนภาคประชาสงั คม

๑๑๗ คุณศุภกร เผา่ ดี ตวั แทนภาคเอกชน

๑๑๘ รองศาสตราจารย์ ดร. โอฬาร คณะรัฐศาสตร์และนิตศิ าสตร์
ถิ่นบางเตยี ว มหาวทิ ยาลยั บรู พา

๑๑๙ คณุ สว่างจติ ต์ เลาหะโรจน ตวั แทนพรรคการเมอื ง
พนั ธ์

๑๒๐ ผศ. ดร. ผกาวดี สุพรรณจติ คณะรฐั ศาสตร์
วนา มหาวิทยาลยั รามคำแหง

๑๒๑ ผศ. ดร. เอกสิทธ์ิ หนนุ ภกั ดี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

๑๒๒ ดร. เอกลักษณ์ ณถั ฤทธ์ิ คณะรัฐศาสตร์และนิตศิ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั บูรพา

๑๒๓ คณุ พชั รภา ตันตระจนิ คณะรัฐศาสตรแ์ ละนิตศิ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั บรู พา

เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๓๑๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๔. ภาพบรรยากาศการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ: จ.ชลบุรี

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๓๑๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๕. รายชื่อผูล้ งทะเบียนเขา้ รว่ มการประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร: จ.เชียงใหม่

ลำดับ ชอื่ -นามสกุล หนว่ ยงาน ตำแหนง่

หน่วยงานภาครัฐ

๑ ร.ต.อ.นพ พึ่งศรี สถานตี ำรวจภูธรเมืองเชียงใหม่ รอง สวป.สภ.เมืองเชยี งใหม่

๒ ร.ต.อ.จริ โชติ ถามกิ ลุ สถานตี ำรวจภูธรเมืองเชียงใหม่ รอง สวป.สภ.เมืองเชยี งใหม่

๓ นายเอกชยั ท้าวคำมา เทศบาลนครเชียงใหม่ หวั หน้าฝ่ายปกครอง

๔ นางสาววราศณิ ี สุนทร อบจ.เชียงใหม่ ผอ.กองยุทธศาสตรแ์ ละงบประมาณ

สอื่ มวลชน

๕ ปัถย์ เสรรี กั ษ์ ThaiPBS ผู้สอ่ื ข่าว

๖ นายเลอพงษ์ รัตนประภา ThaiPBS ช่างภาพ

๗ สริ ิธรรม.อนิ ทสรุ รณ ThaiPBS ผ้ชู ว่ ยช่างภาพ

ผู้แทนพรรคการเมือง

๘ คณุ ณริ ชยา คำทพิ ย์ พรรคไทยสรา้ งไทย เลขานกุ าร

สถาบันการศกึ ษา

๙ เสาวรส ไกรดวง มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ นกั ศกึ ษา

๑๐ นางสาวพิมพช์ นก กอ้ น มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นักศกึ ษา
สมบตั ิ

๑๑ นายวัฒนา วัฒนดิษย์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ นกั ศกึ ษา

ประชาชนทั่วไป

๑๒ นางปะทมุ ทพิ ย์ แซโ่ ง้ว ประชาชน

๑๓ นางภสั ราภรณ์ ภู่แกว้ ประชาชน

๑๔ นางธีรวรรณ เจรญิ สขุ ประชาชน

๑๕ นายหริ ญั กจิ เทพบญุ ประชาชน

๑๖ น.ส.พชั รนิ ทร์ พุทธวงศ์ ประชาชน

๑๗ นายพงษศ์ ักดิ์ สวุ รรณ ประชาชน

๑๘ น.ส.ศรสวุ รรณ อนิ ตะ๊ ประชาชน

๑๙ นายฟงหวนิ ศกั ด์อิ ัศวนิ ประชาชน

๒๐ นางจนั ทรท์ พิ ย์ จนั ทร์กระ ประชาชน
โทก

๒๑ นายชาญ นันทพงษ์ ประชาชน

๒๒ นางจริ าภรณ์ ฟองคำ ประชาชน

เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๓๑๘
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ลำดบั ช่ือ-นามสกลุ หน่วยงาน ตำแหนง่

๒๓ นายสวุ รรณ ศรวี ิชยั ประชาชน

๒๔ นางพชร ศรวี ชิ ยั ประชาชน

๒๕ นายธานนิ ทร์ สรุ ินทร์ ประชาชน

๒๖ วัชรภทั ร ธรรมจกั ร ประชาชน

๒๗ วฑิ ูรย์ ลาลอยเลิศสกลุ ประชาชน

๒๘ วลิ าภรณ์ คาลอย ประชาชน

๒๙ ฟงหวนิ ศักด์วิ ศิ วนั ประชาชน

ภาคประชาสงั คม

๓๐ นายธรี วฒั น์ กนั ทยิ ะมลู ประธาน อสม.

๓๑ นายนฤมติ ร บณุ ยตุลย์ ประธานชุมชน

๓๒ น.ส.การะเกด ทองเกษ อพม.

๓๓ นางพิมพท์ อง ทองเกษ ประธาน อสม.

๓๔ น.ส.นงนุช รัตนาภรณ์ แกนนำสขุ ภาพ

๓๕ นางพริ านนั ท์ เกตหุ นองโพธ์ิ แกนนำสขุ ภาพ

๓๖ นางเพชรา ณรงค์ศรี อสม.

๓๗ นางปะทมุ ทิพย์ แซ่โงว้ อสม.

๓๘ นายธรี วฒั น์ เพลิงบตุ ร อพม.

๓๙ นางอมุ าพร ทองเพ็ญ ประธาน อสม.

๔๐ นางจันทรแ์ รม ชะนะเลศิ อสม.

๔๑ นางกมลทิพย์ บุญสงิ ห์ ประธานชุมชน

๔๒ น.ส.อุษณยี ์ แก้วคำมลู อสม.

๔๓ นางนงลักษณ์ วงศำ อสม.

๔๔ นายสมศกั ดิ์ สปุ นิ อสม.

๔๕ นางพัชราภรณ์ ทองลน้ อสม.

๔๖ นายกฤษณ์ ชัยวรศรี ประธานชมุ ชน

๔๗ น.ส.จำเนยี ร อินตะ๊ อสม.

๔๘ น.ส.อนงค์ หมอ่ งแกว้ ประธาน อสม.

๔๙ นางจินดามาตร์ จันทร์อำพล อพม.

๕๐ นายบรวิ ัฒน์ จนั ทรอ์ ำพล อพม.

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๓๑๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ลำดับ ช่อื -นามสกลุ หนว่ ยงาน ตำแหน่ง

๕๑ นางวนิดา สทิ ธนิ อ้ ย ประธาน อสม.

๕๒ นางยพุ ิน สภุ ารตั น์ อสม.

๕๓ นางศิรริ ัตน์ คำมา อสม.

๕๔ นางฉววี รรณ ไชยมณี อสม.

๕๕ นางศรสี มยั อนุ่ เรอื น อสม.

๕๖ นางแสงเดือน โพธิวงศ์ อสม.

๕๗ นางชนิฐกาต์ วยั ชณิ กุลโรจน์ อพม.

๕๘ นางณชั ชา ปนั สุพฤกษ์ อพม.

๕๙ นางกอบแก้ว ศรีภา อพม.

๖๐ นางสภุ าวดี ณ คำปัน ประธาน อสม.

๖๑ นายชาตรี วรรณฤทธ์ิ อพม.

๖๒ นางสุวิมล ยอดคำแปง ประธานชมุ ชน

๖๓ นางอรนชุ ร้อยลา อพม.

๖๔ นายสงัด โพธิวงศ์ อพม.

๖๕ นายชัยณรงค์ อนนั ทปัญญ
สุทธิ์ อพม.

๖๖ นางจันทรส์ มทุ ร ปะสุนะ อสม.

๖๗ นางดวงเดอื น จอมราช ประธาน อสม.

๖๘ นางสุพัตรา ศรวี งค์วรรณ ประธาน อสม.

๖๙ นางกลิน่ จันทร์ บญุ สิน อสม.

๗๐ นางบุญรว่ ม เพยี งเกตุ อสม.

๗๑ นางอุไร เวียงดา้ น อสม.

๗๒ นางธนัตติ า จอมออ๊ ด อสม.

๗๓ นางนที ศรสี วุ รรณ อสม.

๗๔ นางสุนยี ์ ศรสี ุวรรณ อสม.

๗๕ นางอรวรรณ วงคศ์ ริ ิอำนวย อสม.

๗๖ นางซอน สมจกั ร อสม.

๗๗ นายธนเดช ทรัพย์รตั นสกลุ อสม.

๗๘ นางอำพร ไชยชนะ อสม.

๗๙ นาอำพรรณ์ อภัย อสม.

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


Click to View FlipBook Version