๒๒
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ลำดับ กิจกรรม ผู้เกย่ี วขอ้ งในการดำเนนิ งาน เม.ย. พ.ค
๑๒๓๔๑๒
นางสาวจิรัชญา บญุ ประกอบ
นางสาวปรางทิพย์ เร่ียวแรงบญุ ญา
นางสาวกัณฐมณี อินตะ๊ เสน
นางสาวอินทราณี ศรีบญุ เรือง
นางสาวสชุ าดา โพธสิ งิ ห์
๑๙ จดั สง่ รายงานงวดท่ี ๔ (วันท่ี ๒๖ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๕)
เสนอ สำนกั งานขบั เค
๒๓
ระยะเวลา (วัน)
ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
คลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
บทท่ี ๓
ระเบียบวิธีวจิ ยั
๑. วิธีวิทยาการศกึ ษา
๑.๑ การวจิ ัยเชิงปรมิ าณ (Quantitative Research)
การวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการวิจัยโดยการใช้แบบสัมภาษณ์กลุ่มประชาชนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล
ในภาพรวมจากประชาชนถึงประเด็นความขัดแย้งของประเทศไทยในปัจจุบัน สาเหตุสำคัญ สาเหตุร่วม (หรือ
ปัจจัยหนุนเสริม) ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง ผลกระทบจากความขัดแย้ง และแนวทางการแก้ไขหรือบรรเทา
ความขดั แย้ง
๑.๒ การวิจยั เชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) โดยแบ่งเปน็ สองส่วน คอื
๑) การวจิ ยั เอกสาร (Documentary Research) โดยการทบทวนแนวคดิ และทฤษฎีความขดั แยง้ การ
จัดการความขัดแย้ง การเสริมสร้างความปรองดอง และความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน ร่วมกับการศึกษา
กฎหมาย รูปแบบ และกลไกที่เกี่ยวข้องซึ่งเคยมีการนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง และสร้างความ
ปรองดองทั้งในประเทศไทยและในตา่ งประเทศ
๒) การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) โดยการลงพื้นที่เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการหรือการ
ประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถ่ิน
(หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน) เพื่อให้ได้ซึ่งข้อมูลใน
ภาพรวมเชิงคุณภาพ (ทัศนะคติ แนวคิด ประเด็นเฉพาะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความขดั แยง้ ทางการเมอื งไทยใน
ปจั จบุ ัน)
๓) การจัดประชุมกลุ่ม (Focus group) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ โดยใช้เครื่องมือการศึกษา
ไดแ้ ก่ แบบสมั ภาษณก์ ึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) โดยทำการประชุมกลุ่ม ๒ คร้งั
ครั้งแรก เป็นการสอบถามเพื่อหารือถึง ๑) พื้นที่และแนวทางการสำรวจและเก็บข้อมูลและการจัด
ประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง และ ๒) ทัศนคติและมุมมองของผู้ให้สัมภาษณ์ในเรื่องความ
ปรองดอง และอนาคตของประเทศไทย โดยมีประเดน็ คำถามดังน้ี
(๑) ความขดั แย้ง
(๑.๑) ประเด็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมไทยในปัจจุบัน (ช่วงระยะเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมา
พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๖๕)
(๑.๒) สาเหตุของความขดั แยง้
(๑.๓) ผเู้ กี่ยวข้องกบั ความขัดแย้งดังกล่าว
เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๕
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
(๑.๔) การเขา้ ไปมีบทบาทเกย่ี วข้องกบั ความขัดแยง้
(๑.๕) ความขดั แย้งในอนาคต และเงอ่ื นไขความขัดแยง้ ทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต
(๒) ทางออกทีจ่ ะนำไปสู่สนั ตสิ ขุ และการสร้างความปรองดองอย่างยง่ั ยนื
ครั้งที่ ๒ เป็นการรับฟังความคดิ เห็นของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตอ่ การประมวลและการ
วิเคราะห์ผล ข้อเสนอแนวทางการสร้างความปรองดองที่ได้จากการทำการศึกษาของคณะผู้วิจัย ตลอดจน
ร่วมกันเสนอแนะแนวทางที่เห็นควรจะทำให้เกิดการปรองดองแห่งชาติขึ้นได้อย่างประสบความสำเร็จใน
ประเทศไทย
๑.๓ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
๑) ข้อมูลเอกสารทางวิชาการและรายงานจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์การนอกภาครัฐ
(NGO) ท้งั ทไี่ ดร้ ับการเผยแพรแ่ ละไมไ่ ดเ้ ผยแพรส่ สู่ าธารณะ
๒) ประชาชนทั่วประเทศ ที่ครอบคลุมครอบทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา
ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม องค์การนอกภาครฐั (NGO) และประชาชน แบ่งเปน็ ๒ กลุ่มไดแ้ ก่
๒.๑) กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ที่อยู่ในพื้นที่ที่จะจัดประชุมรับฟัง
ความคิดเห็นจำนวน ๕ ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ (รวมภาคตะวันตก) ภาค
ตะวนั ออก ภาคกลางตอนบน และภาคกลางตอนล่าง ภาคละ ๑๐๐ คน รวมทง้ั สิ้น ๕๐๐ คน
๒.๒) กลุ่มตัวอย่างประชาชนท่ีทำการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม โดยเป็นการสุ่มเก็บจากประชาชน
ทั่วประเทศ กำหนดอายุของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีอายุตั้งแต่ ๒๐ – ๖๕ ปี โดยเป็นการคำนวณสูตรตาม
วิธีการทางสถิติ ซึ่งกำหนดระดับนัยสำคัญที่ร้อยละ ๙๕ และบวกความคลาดเคลื่อนร้อยละ ๓๐ โดยกลุ่ม
ตวั อยา่ งจะกระจายอยู่ในทั้ง ๔ ภมู ภิ าค คอื ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในแต่
ละพื้นที่จะกระจายสัดส่วนจำนวนตัวอย่างโดยใช้สัดส่วนจำนวนประชากรเป็นเกณฑ์ ซึ่งจะมีจำนวนตัวอย่าง
อย่างน้อย ๒,๖๐๐ ตัวอย่าง ทั้งนี้อาจเพิม่ เตมิ ในบางจังหวัดทีไ่ ม่ได้สุ่มเลือกแต่มีความน่าสนใจต่อโครงการตาม
ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการฯ ได้มรี ายละเอยี ดกลุม่ ตวั อยา่ ง ดังตาราง
เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๖
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
จำนวน
ตาราง ๑ จำนวนและสัดส่วนตวั อยา่ งทจ่ี ะทำการสำรวจ ๕๓
๕๓
ภูมิภาค จงั หวัด อำเภอ/เขต ตำบล/แขวง หมู่บ้าน ๕๓
๕๓
กรงุ เทพมหานคร หมบู่ ้านที่ ๑ ๕๓
ชลบุรี บางชนั ๕๓
๕๓
หม่บู า้ นที่ ๒ ๕๓
คลองสามวา ๕๓
๔๒
หมบู่ า้ นท่ี ๑ ๗๘
สามวาตะวนั ตก ๕๓
๓๐
หมู่บา้ นที่ ๒ ๒๗
๒๑
ภาคกลาง หมบู่ ้านที่ ๑ ๒๐
บางแคเหนอื ๕๕
๓๒
หมบู่ า้ นที่ ๒ ๒๕๖
บางแค ๒๐
๘๐
หมู่บ้านที่ ๑ ๖๓
หลกั สอง ๔๐
๓๖
หม่บู า้ นท่ี ๒ ๒๙
๑๗
หนองรี หนองไขเ่ นา่
เมอื ง เขาดนิ
ดอนลา่ ง
เหมอื ง ไรไ่ หหลำ
พนสั นคิ ม หนองเหยี ง หนองสังข์
นาเริก หนองตามิตร
เนนิ ไทร
ดอนไร่
เชยี งใหม่ ขัวโก
สันผเี ส้ือ
ภาคเหนือ
ท่าเดอ่ื
เมือง
ช้างเผือก
ช้างเผือก
ขนุ ชา่ งเค่ยี น
เวยี งหวาย
มอ่ นปน่ิ
ลาน
ฝาง
หว้ ยบอน
เวียง
สนั ป่ายาง
เชยี งราย หนองดา่ น
เมือง รอบเวยี ง
ป่ายางมนต์
เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
จำนวน
ภูมภิ าค จงั หวัด อำเภอ/เขต ตำบล/แขวง หมบู่ ้าน ๒๐
ริมกก ฟาร์มสมั พนั ธกจิ ๑๙
นครราชสมี า พาน เมอื งพาน เมอื งงิม ๑๕
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เมือง ปา่ ละหงุ่ ปา่ ไผ่ ๑๒
ปากช่อง ในเมอื ง ทงุ่ มงคล ๔๗
อุบลราชธานี เมือง หนองบวั ศาลา ปางเกาะทราย ๑๕
เดชอดุ ม หนองสาหร่าย ปา่ บงหลวง ๓๒
ภาคใต้ นครศรีธรรมราช เมือง ปากช่อง ประตชู ยั ๒๗
ทงุ่ สง แจระแม วังหนิ ๒๐๓
ไร่น้อย หนองตาคง ๖๔
เมืองเดช หนองตะลมุ ป๊กุ ใหม่ ๘๐
กลาง โคกสง่า ๕๑
นาเคียน หนองคู ๒๙
ปากพนู บนั ไดมา้ ๒๘
กะปาง สะพานดำ ๕๐
ท่าบ่อ ๓๐
ทบั ไทย ๘๓
นาเมือง ๕๖
โนนหงษท์ อง ๒๓
หนองสำราญ ๒๓
สมสะอาด ๒๒
กลาง ๒๒
โนน ๔๖
นาเคียนเหนือ ๔๔
ท่งุ จีน ๒๐๕
สวนจนั ทร์ ๑๒๖
ท่าแพ ๔๕
ศรีสนุ ทร
เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๒๘
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ภมู ิภาค จงั หวดั อำเภอ/เขต ตำบล/แขวง หมู่บ้าน จำนวน
ค่ายเทพสตรีศรสี ุนทร ๔๔
เขาขาว ทรายขาว ๓๔
หนิ ราว ๓๑
เขารูปชา้ ง ปราบ ๑๕๙
เมือง ท่าสะอ้าน ๑๓๓
ทงุ่ หวงั สวนใต้ ๓๐
สงขลา อ่างทอง ๒๗
นาทบั ปากบาง ๒๗
จะนะ ม้างอน ๒๕
ตลิง่ ชัน ปา่ งาม ๔๐
ตล่ิงชนั ๓๕
รวม ๓,๓๘๐
๓) ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ประกอบไปดว้ ย นักวชิ าการ และนักการเมืองอาวโุ ส ผซู้ ึ่งมีบทบาทในการสร้างความ
ปรองดองในสถานการณ์ต่าง ๆ ของประเทศไทย ตลอดจนคณะกรรมกรผู้เชี่ยวชาญตามที่สำนักงาน ป.ย.ป.
กำหนดจำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๑๐ ท่าน
เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
๑.๔ ข้ันตอนการดำเนินงาน
การดำเนินงานโครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ รายการคา่ ใช้จ่ายในการ
สร้างการรบั รู้เพื่อให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ มีขน้ั ตอนการดำเนนิ งานหลกั ๔ ขัน้ ตอน ดังนี้
๑) การรวบรวมขอ้ มูล การวิจัยทางเอกสาร และการทบทวนวรรณกรรม
รวบรวมข้อมูลข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างความปรองดองทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึง
การรวบรวมข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ตั้งแต่สาเหตุที่ทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมือง หรือทางสังคม ตั้งแต่
รากเหง้าของปัญหาไปจนถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งดังกล่าวในการรวบรวมข้อมูลเบื้ องต้นเพ่ือ
นำไปใช้เป็นแนวทางในการยับยั้งเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือความขัดแย้งขึ้น รวมถึงการใช้เป็นแนวทางเพ่ือ
นำไปสู่ความปรองดองในสังคม
๒) การจดั ประชมุ กลมุ่ ผ้เู ช่ียวชาญและผทู้ รงคณุ วุฒิ
จัดประชมุ เพ่ือหารือแนวทางการสำรวจ การคดั เลือกจงั หวดั และกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเก็บ
ข้อมูลพร้อมทั้งร่างแบบสอบถามทีจ่ ะใช้เก็บข้อมูล ประสานกับผู้ที่มสี ว่ นเก่ียวขอ้ ง การประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
และผู้ทรงคุณวุฒิเป็นไปเพื่อเสนอแนวทาง กลไก และมาตรการในการสร้างความสามัคคีปรองดองของ
ประชาชน หลังจากนั้นจัดทำข้อเสนอระบุแนวทางการสร้างความปรองดอง โดยจะมีการจัดประชุมอย่างน้อย
๒ คร้งั เพื่อหาข้อสรปุ ในประเดน็ ทกี่ ล่าวไปข้างต้น
๓) การสำรวจและเก็บข้อมูลจากผู้ท่มี สี ว่ นเกยี่ วข้องในภมู ิภาคตา่ ง ๆ
เมื่อได้ข้อสรุปจากการจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญแล้วจะนำทั้งแนวทางและเครื่องมือมาสำรวจและเก็บ
ขอ้ มลู จากผู้ที่มสี ว่ นเกย่ี วข้องในภูมิภาคต่าง ๆ ตามจำนวนและพ้ืนที่ท่ีมีการหารือร่วมกับผู้เช่ียวชาญ และได้รับ
ความเห็นชอบจาก สำนักงาน ป.ย.ป. รวมทั้งปรึกษาหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในภาครัฐและเอกชน
หลังจากสำรวจและเก็บข้อมูลแล้วจะมีการวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นในการจัดทำ ข้อเสนอแนะและแนวทางใน
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งและการสร้างความสามัคคีปรองดอง เช่น สภาพแวดล้อม จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส
และอุปสรรคในการดำเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อจัดทำสรุปผลการวิเคราะห์ และนำเสนอแนวทางการแก้ไข
ปัญหาเบอื้ งต้น
๔) การจัดประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเป็นการรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
และส่วนท้องถิ่น ประกอบไปด้วย หน่วยงานรัฐ สถาบันการศึกษา องค์การนอกภาครัฐ (NGO) ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนมาแสดงความคิดเห็น และเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างความปรองดอง
ซึ่งกลุ่มตัวอย่างประชาชน ที่เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด ๕ ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ (รวมภาคตะวันตก) ภาคตะวนั ออก ภาคกลางตอนบนและภาคกลางตอนล่าง
เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๓๐
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ภาคละ ๑๐๐ คน รวมท้ังสน้ิ ๕๐๐ คน และศึกษาข้อมลู ที่จำเปน็ เช่น จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรคในการ
ดำเนินการแก้ไขปัญหา หลงั จากนนั้ เขยี นรายงานผลการลงพืน้ ที่เพื่อจัดประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พ่ือให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
บทท่ี ๔
ผลการรวบรวมข้อมูลทางประวตั ิศาสตร์ และเหตกุ ารณ์ทางการเมอื งทีเ่ ปน็ ปัญหาสำคัญ
ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กิดความขดั แยง้
การรวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ทางการเมืองที่เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลให้เกิด
ความขัดแยง้ มีการศึกษาเปรียบเทียบจากทฤษฎี เอกสารทางวิชาการ เหตุการณค์ วามขดั แยง้ และวธิ ีการสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ที่เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งกรณีศึกษาของประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยศึกษาตั้งแต่สาเหตุรากเหง้าของปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้ชุดความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับการ
แก้ไขปัญหาความขดั แยง้ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง
โดยจากศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในประเทศไทยใน
ระยะเวลากว่า ๑๐ ปที ่ีผา่ นมา ซ่ึงเปน็ การศกึ ษา วิเคราะหจ์ ากหลายภาคสว่ น ซึ่งงานศกึ ษาต่าง ๆ ล้วนสะท้อน
ให้เห็นถึงรากเหงา้ ของความขดั แย้งทีม่ ีมลู เหตุสำคัญหลายประการ โดยมีบทสรุปได้ว่ามูลเหตุหลกั ได้แก่ความ
ขัดแย้งระหวา่ งคู่ขัดแยง้ ทางการเมอื ง ความแตกต่างทางความคิดและความเชื่อทางการเมอื งการปกครอง การ
เข้าถงึ ผลประโยชน์และทรัพยากรทไี่ มเ่ ทา่ เทยี ม ตลอดจนมปี จั จยั เก้ือหนนุ หรอื ปัจจยั ร่วมทีก่ ระตนุ้ และเรง่ เร้าให้
ปัญหาความขัดแย้งของประเทศไทยทวีความรุนแรงมากยิง่ ขึ้น เช่น การใช้อำนาจของภาครฐั ท่ีสร้างความร้สู กึ
ไม่เปน็ ธรรมใหแ้ กป่ ระชาชน หรือฝา่ ยที่รูส้ กึ สญู เสยี ผลประโยชนห์ รือท่รี ู้สึกถึงความไม่เป็นธรรม และการพัฒนา
ทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร อย่างไรก็ตามจากพลวัตทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจ
การเมอื งอย่างรวดเรว็ ซงึ่ สง่ ผลหรืออาจจะส่งผลให้ความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบนั มีความแตกต่างไปจาก
ความขัดแย้งในห้วงเวลาในอดีต ทำให้การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายทีส่ ำคัญคือ การทบทวนข้อเท็จจริง
ของรากเหง้าความขัดแย้งทางการเมืองไทยในปัจจุบัน และหาแนวทางการสร้างความปรองดองโดยการแก้ไข
ท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับสาเหตทุ ี่แทจ้ ริงจากความขัดแย้งท่ีเกดิ ขนึ้
ซึ่งในบทนี้นำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความขัดแย้งทางการเมืองและ
แนวทางการสร้างความปรองดอง เพื่อที่จะนำไปสูก่ ารสร้างกรอบแนวคิดของการศึกษาวิจยั และการวิเคราะห์
สังเคราะหผ์ ลการศกึ ษาไดม้ ีรายละเอียดจำแนกตามประเด็นดงั น้ี
๑. ประวตั ศิ าสตร์และสถานการณค์ วามขดั แยง้ ทางการเมือง/สงั คมของประเทศไทย
๒. ความขดั แย้งทางสงั คมและทางการเมอื ง
๓. การจัดการความขัดแย้งละการสร้างการปรองดอง
๔. ตวั อย่างความขัดแยง้ ทางการเมืองและการแก้ไขปัญหา ระบบและกลไกการสร้างการปรองดองของ
ต่างประเทศท่ีมีลกั ษณะใกล้เคียงกับสถานการณ์ในประเทศไทย
๕. การวิเคราะห์ผลการศึกษาประเด็นความขัดแยง้ ทางการเมืองทีผ่ า่ นมา
๖. บทสรุปและกรอบการศึกษาวิจัย
เสนอ สำนักงานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
๑. ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสถานการณ์ความขดั แย้งทางการเมอื ง/สังคมของประเทศไทย
๑.๑ ก่อนการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕
ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปีพ.ศ.๒๔๗๕ ประเทศไทยมีการปกครองแบบสมบูรณาญา
สิทธิราช หรือที่เรียกกันวา่ ราชาธิปไตยอำนาจเด็ดขาดอยู่ท่ีกษัตริย์เพียงพระองคเ์ ดียวโดยเช่ือตามคติพราหมณ์
แบบเขมรว่ากษัตริย์เป็นผู้ได้รับอำนาจจากสวรรค์ ฐานะของกษัตริย์จึงเป็น “สมมติเทพ” ทรงมีอำนาจ
ที่จะกำหนดชะตาชีวิตของใครก็ได้ และมีการปฏิรูประบบการปกครองของสังคมไทยโดยการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบตะวันตก
ตามประวตั ศิ าสตรไ์ ทยของการปฏิวัติ ในวนั ที่ ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ
ราช มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นจากคณะนายทหาร และพลเรือนที่ประกอบกันเรียกตนเองว่า
คณะราษฎร ทำการปฏิวัติ โดยสาเหตุเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลกตกต่ำ ทำให้ไทยได้รับ
ผลกระทบไปด้วย ตลอดจนการเปลย่ี นแปลงทางสังคมและการเมืองภายในประเทศเอง ทรงมีอำนาจสูงสุดและ
เด็ดขาดในการปกครองประเทศ มีอัครมหาเสนาบดี ๒ ตำแหน่ง คือ สมุหพระกลาโหม และสมุหนายก
ตำแหน่งสมุหนายก มีเสนาบดี ๔ ตำแหน่ง ที่เรียกว่า จตุสดมภ์ อยู่ในบังคับบัญชาโดยตรง คือ ทรงแบ่งการ
ปกครองพระราชอาณาเขตออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนหัวเมือง และการ
ปกครองเมืองประเทศราช ขณะที่อำนาจเก่าไม่สามารถปรับตัวในการเปลี่ยนแปลงได้ ก็จะทำให้เกิดความ
ขัดแย้งเกิดขึ้น และในที่สุดก็ระเบิดออกมาในรูปของการใช้กำลังเข้ายึดอำนาจในวันที่ ๒๔ มิถุนายน
พ.ศ.๒๔๗๕ โดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ ไดใ้ หค้ วามเห็นว่า “เมื่อเกิดความออ่ นแอในการปกครองของรัชกาล
ที่ ๗ ประจวบเหมาะกบั เศรษฐกิจในยุคน้นั ตกตำ่ ทัว่ โลกจึงเป็นชนวนเหตุ” (ชัยอนนั ต์ สมทุ วณิช, ๒๕๕๖ อา้ งถึง
ใน สภุ ชยั สิงหส์ ำโรง, ๒๕๕๙)
สถาบันพระปกเกล้า (๒๕๕๕) กล่าวว่า ช่วงเวลาที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครอง
จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย แนวคิดการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เรม่ิ เป็นทรี่ ู้จักกันมากขน้ึ ตง้ั แต่ปลายสมัยรัชกาลที่ ๔ จากการทพี่ ระองค์สนับสนุนเช้ือพระวงศ์และขุนนางช้ันสูง
ให้ได้รับการศึกษาจากประเทศตะวันตก จนได้รับอิทธิพลดังกล่าวและนํามาเผยแพร่ในเมืองไทย เมื่อถึงสมัย
รัชกาลที่ ๕ ได้มีเชื้อพระวงศ์และขุนนางจำนวนหนึ่งร่วมกันยื่นบันทึกถวายความเห็นให้ประเทศไทยมีการ
ปกครองแบบตะวันตก โดยให้เหตผุ ลวา่ การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา
ประเทศ รัชกาลที่ ๕ ทรงเห็นว่ายังไม่ถึงเวลาที่ประเทศไทยจะใช้การปกครองระบอบประชาธิปไตย
แต่พระองคก์ ท็ รงดำเนินการปฏิรปู การปกครองให้มคี วามทนั สมัยมากข้นึ การปฏริ ูปต่าง ๆ ของรชั กาลท่ี ๕ เช่น
๑) การยกเลิกประเพณีที่ลา้ สมยั เชน่ การหมอบคลาน การเลกิ ทาส เลิกไพร่
๒) การสรา้ งอำนาจรฐั แบบทนั สมัย คอื ปฏิรปู การบรหิ ารราชการแผน่ ดินใหเ้ ปน็ เอกรัฐ มกี ารรวมศูนย์
อำนาจเข้าสสู่ ว่ นกลาง
เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๓๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๓) การสร้างชาติใช้ระบบการศึกษาโดยมีหลักสูตรจากส่วนกลาง ใช้ภาษากลางเป็นสื่อกลางในการ
ถ่ายทอดเพอื่ ใหเ้ กิดการผสมกลมกลืน
๔) การปฏริ ปู สถาบนั ทหาร มกี ารเกณฑ์ทหารและการขยายหนว่ ยไปทัว่ ประเทศ
๕) การปฏริ ูปการคลัง การเกบ็ ภาษเี พื่อเสรมิ รายไดข้ องรัฐ
๖) การปฏิรูปในด้านการศาล เพื่อแก้กฎหมายที่เสียเปรียบ ได้แก่ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต
ขณะเดยี วกนั ก็เปน็ สัญลกั ษณข์ องอำนาจรฐั บาลกลางท่สี ามารถแผอ่ ำนาจการปกครองเขา้ ไปได้
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ ได้สร้างเมืองทดลองขึ้นเรียกว่า ดุสิตธานี ในปี พ.ศ.๒๔๖๑ ตั้งขึ้นตาม
ธรรมนูญลักษณะการปกครองคณะนคราภิบาล พ.ศ.๒๔๖๑ ซึ่งกำหนดให้มีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร แต่ดุสิต
ธานีมีข้อจำกัดที่ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของความจริงเพราะเป็นเมืองทดลอง ดุสิตธานีจึ งถูกยกเลิกไป
ในปี พ.ศ.๒๔๖๘ แนวคิดในการนํารูปแบบการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยแบบตะวนั ตกมาใชย้ งั คงเกิดข้ึน
โดยมีกลุ่มขุนนางที่มีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กรณีกบฏ ร.ศ.๑๓๐ แต่สำเร็จ
เนื่องจากแผนการทั้งหมดถูกเปิดเผยเสียก่อน บุคคลเหล่านี้จึงถูกจับกุมและลงโทษในข้อหาเป็นกบฏ
ในเวลาต่อมาได้รับการพระราชทานลดหย่อนโทษให้ สาเหตุที่รัชกาลที่ ๖ ทรงปฏิเสธข้อเสนอให้มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง พระองค์ทรงเห็นว่าคนไทยยังไม่มีความพร้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการศึกษา
ของประชาชน ดังนั้นพระองค์จึงได้ออกพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับในปีพ.ศ.๒๔๖๔ โดยที่เด็กชาย
หญิง อายุระหวา่ ง ๗-๑๔ ปี จะตอ้ งเข้าโรงเรยี นประถม
ในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชสู่ระบบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น แสดงใหเ้ หน็ ว่าระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไม่สามารถ
ตอบสนองความต่อความต้องการของคนส่วนมากในสังคมได้ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาเพื่อให้
ตอบสนองต่อความต้องการของคนหมู่มากภายในสังคม จะเห็นได้จากมีการดำเนินการปกครองให้มีความ
ทันสมัยมากยิ่งขึ้น มีการยกเลิกประเพณีบางอย่างขึ้นเพื่อให้เกิดความทันสมัยมากยิ่งขึ้นตามรูปแบบการ
ปกครองในตะวันตก ประเพณีที่ล้าสมัยถูกยกเลิกเนื่องจากเห็นว่าเป็นประเพณีที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา
ผู้คนตระหนักได้ถึงความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในประเทศไทยทำให้กลุ่มแกนนำ
หรอื คณะราษฎรเขา้ มายดึ อำนาจการปกครอง
๑.๒ ระหว่างและหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ – ๒๕๙๐
การเมืองไทยในช่วง ๑๕ ปีแรกหลังจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ.๒๔๗๕ – ๒๔๙๐ ในยุคสมัยนี้แสดงให้
เห็นถึงจุดเริ่มต้นของปัญหาการเมืองไทยในสมัยใหม่ ข้อสังเกตของการเมืองช่วงนี้ คือ ความขัดแย้งทาง
การเมืองเป็นการต่อสู้ระหวา่ งชนชั้นนำทางการเมืองเพียง ๓ กลุ่มได้แก่คณะราษฎรสายพลเรือน คณะราษฎร
สายทหารและกลุ่มจารีตนิยมโดยประชาชนมีส่วนร่วมน้อยมากจึงถือเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดของการเมือง
ไทย
เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๓๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ในระยะเวลาเพียง ๒๕ ปี ระหว่าง พ.ศ.๒๔๗๕-๒๕๙๐ ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญ ส่งผลต่อการพัฒนา
การเมืองประเทศไทยได้แก่การปฏิวัติสยาม พ.ศ.๒๔๗๕ กบฏบวรเดช พ.ศ.๒๔๗๖ และจนถึงการรัฐประหาร
วันที่ ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๔๙๐ การเคล่อื นไหวทางการเมืองดังกล่าวทำให้มีสภาวการณ์แวดล้อมแรงผลักดัน
และผลกระทบที่ตามมาแตกต่างกันออกไปต่อการเมืองเศรษฐกิจสังคม และการศึกษาแต่ปรากฏการณ์ทาง
การเมอื งท่ีจะเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ชว่ งดังกล่าวได้ก่อตัวข้ึนมาจากปัจจัยความขัดแย้งทางการเมือง และการ
ช่วงชิงหรือปกป้องผลประโยชน์ของแต่ละฝ่ายอย่างไรก็ตาม เมื่อฝ่ายการเมืองสามารถแบ่งผลประโยชน์กัน
อย่างลงตัว และสามารถยุติความขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นลงไปชั่วคราว และความขัดแย้งมักจะปะทุข้ึน
ใหม่เสมอ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ทางการเมือง สาเหตุที่ทำให้เกิดความคิดทางการเมืองใหม่ ๆ
คือ มาตรการที่รัฐบาลนำมาใช้มีความล้มเหลวในนโยบายและการแก้ไขปัญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการตัดทอนยุบหน่วยงานราชการการ ดุลข้าราชการ ออกการประกาศพระราชบัญญัติภาษี
เงินเดือนทำให้เกิดปัญหาว่างงาน และมุ่งรักษาแต่ผลประโยชน์ของคนชั้นสูงและคนรวย นอกจากนี้ยังจัดเก็บ
ภาษีโรงเรือน และที่ดินทำให้บรรดาพ่อค้าได้รับความเดือดร้อนในสภาวะการค้าที่ซบเซา และการผลิตข้าว
ที่ไม่ได้ผลอย่างเต็มที่ ทำให้ชาวนาจำนวนมากยื่นฎีการ้องทุกข์ นำมาสู่เหตุผลสำคัญในการยึดอำนาจ
เปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕
การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในกรุงเทพฯ นำโดยกลุ่มคณะราษฎรเข้ายึด
อำนาจปกครองในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ไดจ้ ับกมุ และควบคมุ อภริ ัฐมนตรีบางพระองค์ไว้ (ธำรงศักด์ิ
เพชรเลิศอนันต์, ๒๕๔๓) และจากนั้นประกาศหลกั หกประการ ได้แก่ หลักอิสรภาพของชาติรักสวัสดิการหลัก
แผนทางเศรษฐกิจในการสร้างงานแก่ประชาชนท้ังหมด หลกั ความเสมอภาค หลักเสรภี าพ และหลักการศึกษา
แกม่ วลชน (สมบตั ิ ธำรงธัญวงศ์, ๒๕๔๙)
รัฐบาลได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศโดยมอบหมายให้นายปรีดี พนมยงค์
เป็นผู้วางแผนการเศรษฐกิจแต่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองขึ้นเมื่อ
นายปรีดี พนมยงค์ นำเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติแก่ผู้นำคณะราษฎรเนื่องจากกลุ่มขุนนางเก่าซึ่ง
พระยามโนปกรณ์นิติธาดาชักชวนเพื่อนมาร่วมในงานคณะกรรมการราษฎรมองว่าเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว
มีหลักการแบบสงั คมคอมมิวนิสต์ (สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, ๒๕๔๙) ความขัดแย้งระหวา่ งผูน้ ำคณะราษฎรด้วยกนั
ดังกล่าวเมือ่ รวมเข้ากับความขัดแย้งระหว่างคณะราษฎร กลุ่มเชือ้ พระวงศ์ และขุนนางเก่าที่มีมาตั้งแต่หลังการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองได้นำไปสู่การก่อกบฏต่อต้านอำนาจของรัฐบาลในวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๖
ซง่ึ ตอ่ มาถกู เรียกว่ากบฏบวรเดชตามพระนามของพระองคเ์ จา้ บวรเดชผูน้ ำคณะก่อการ (นคิ ม จารมุ ณี, ๒๕๑๙)
๑.๓ ความขัดแย้งทางการเมอื งช่วงปี พ.ศ.๒๔๗๕-๒๕๐๐
จากการทบทวนวรรณกรรมสามารถกล่าวสรปุ ได้ว่าความขัดแยง้ ทางการเมืองในชว่ งปี ๒๔๗๕-๒๕๐๐
เป็นความขัดแย้งที่เกิดจากชนชั้นนำที่มีหลายฝ่ายหลายกลุ่ม ซึ่งแต่ละฝ่ายนั้นประกอบไปด้วยบุคคลที่อยู่ใน
คราบทหาร ข้าราชการ ขุนนางและพลเรือน ในคณะกลุ่มคนสามัญได้แก่ กลุ่มคณะราษฎร กลุ่ มขุนนาง
เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๓๕
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
กลุ่มจอมพลแปลก พิบูลสงคราม กลุ่มปรีดี พนมยงค์ และกลุ่มพรรคการเมือง นอกจากนี้ยังมีอาชีพพ่อค้า
นักหนังสือพิมพ์ที่มีส่วนร่วมกับเหตุการณ์ความขัดแย้งทาง ซึ่งพิจารณาข้อมูลจากการศึกษาวิจัยรวมถึง
ข้อคิดเห็นการวิเคราะห์ต่าง ๆ จะพบว่าสาเหตุที่เป็นประเด็นการเสริมความขัดแย้งให้เกิดขึ้น คือ ความ
พยายามช่วงชิงอำนาจคืนของฝ่ายที่สูญเสียอำนาจและการพยายามหวงแหนรักษาอำนาจทางการเมืองการ
ปกครองของตนเองไว้ ทำให้ภาพของความขัดแย้งทางการเมืองในห้วงระยะเวลาดังกล่าวไม่ปรากฏการต่อสู้
ของกลุ่มพ่อค้า นักธุรกิจ ปัญญาชนสายนักวิชาการเข้ามาร่วม เนื่องจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้ง
นั้นยังมิได้ส่งผลกระทบอย่างชัดเจนกับระบบเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงอาจจะกล่าวได้ว่าในระยะแรกของ
ความขัดแย้งทางการเมืองของประเทศไทยมีจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองเป็นระบบ
ประชาธปิ ไตยทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การควบคุมอำนาจเฉพาะกลุ่มเทา่ นน้ั (กันตพฒั น์ ชนะบญุ , ๒๕๕๙)
เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๓๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
๑.๔ ความขัดแยง้ ทางการเมอื งชว่ งปี พ.ศ.๒๕๐๑-๒๕๑๙
๑) สมยั รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต์ พ.ศ.๒๕๐๑-๒๕๐๖
จากการทบทวนเอกสารของ (กนั ตพัฒน์ ชนะบุญ, ๒๕๕๙) โดยพืน้ ฐานความขัดแย้ง เปน็ ความขัดแย้ง
การเมืองระหว่างรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์กับกลุ่มนักคดิ หวั กา้ วหน้าสายปัญญาชน และกลุ่มนิสิต นักศึกษา โดยมี
สาเหตุมาจากการใช้อำนาจเผด็จการตามมาตรา ๑๗ ในการบริหารและปกครอง ประเทศ รวมไปถึงความ
ขัดแย้งทางความคิด จากการที่ประเทศไทยหันไปสนับสนุนเสรีประชาธิปไตย ที่นําโดยสหรัฐอเมริกาที่ต่อต้าน
ฝ่ายลทั ธิคอมมวิ นสิ ต์ในประเทศไทย
ภาพลักษณ์ของคอมมิวนิสต์จึงถูกรัฐบาลสร้างขึ้นเสมือนเป็น “ปีศาจ” ทางการเมืองอย่างต่อเนื่องมี
การสรา้ งขา่ วและปลุกปัน่ ต่อต้าน และปราบปรามต่าง ๆ จนกระทั่งมีการกวาดล้างฝ่ายตรงข้ามอย่างรุนแรงขึ้นใน
สมัยที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก้าวขึ้นมาเป็นผู้บริหารประเทศ ภายหลังจากการรัฐประหารโค่นล้ม
จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๐ และรัฐประหารอีกครั้งเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๑ ซึ่งทันทีหลังจากการทำการ
รัฐประหาร จอมพลสฤษดิ์ได้ประกาศห้ามตั้งพรรคการเมือง ยกเลิกรัฐธรรมนูญ และห้ามชุมนุมทางการเมือง
เกินห้าคน พร้อมกวาดล้างผู้ที่ขัดแย้งกับรัฐบาล ในวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๐๑ จอมพลสฤษดิ์ใช้อำนาจ
คณะปฏิวัตสิ ่งั ประหาร นายซง้ แซล่ ม้ิ ข้อหาจ้างวานวางเพลิงท่ีตำบลบางยเ่ี รอื กรุงเทพฯ ในวนั ที่ ๒๖ มิถุนายน
พ.ศ.๒๕๐๒ จอมพลสฤษดิ์ สั่งประหารนายศิลา วงศ์สิน ข้อหากบฏผีบุญ ในเรื่องการปราบปรามน้ัน
จอมพลสฤษดิ์ได้ใช้มาตรการขั้นเด็ดขาด คือ ออกมาตรา ๑๗ ตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.
๒๕๐๒ ใจความว่า…
“ในระหว่างที่ใช้รัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเห็นสมควรเพื่อประโยชน์ในการ
ระงับ หรือปราบปรามการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลายความมั่นคงของราชอาณาจักรหรือราช
บัลลังก์ หรือการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลาย ก่อกวน หรือคุกคามความสงบที่เกิดขึ้นภายใน
หรือมาจากภายนอกราชอาณาจักร ให้นายกรัฐมนตรีโดยมติของ คณะรัฐมนตรีมีอำนาจสั่งการ
หรือกระทำการใด ๆ ได้ และให้ถือว่า คำสั่งหรือการกระทำเช่นว่านั้นเป็นคำสั่งหรือการกระทำท่ี
ชอบด้วยกฎหมาย เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สั่งการหรือกระทำการใดออกไปตามความในวรรคก่อน
แลว้ ให้นายกรฐั มนตรแี จง้ ใหส้ ภาทราบ”
การใช้กฎหมายมาตรานี้ สะท้อนชัดเจนว่าเป็นเสมือนเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการกำจัด
กวาดลา้ ง ฝา่ ยที่ไมเ่ หน็ ดว้ ยกับรฐั บาล
เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๗
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๒) สมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ.๒๕๐๖-๒๕๑๖
ลักษณะของความขัดแย้งเป็นความขัดแย้งทางการเมือง ระหว่างรัฐบาลจอมพลถนอมกับกลุ่มนักคิด
หัวก้าวหน้าสายปัญญาชน อาจารย์มหาวิทยาลัย กลุ่มนิสิต นักศึกษาและประชาชน โดยมีสาเหตุมาจาก
การใช้อำนาจเผด็จการตามมาตรา ๑๗ และการเรียกร้องรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ซึ่งเหตุการณ์สำคัญที่เป็นผล
สบื เนื่องจากเหตุการณ์ความขดั แย้งข้างต้น คอื การเกดิ การเรยี กร้องประชาธปิ ไตย ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๑๖
๓) สมัยรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช พ.ศ.๒๕๑๗-๒๕๑๙
เป็นความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างคณะรัฐบาลที่เป็นกลุ่มทหาร และข้าราชการ กับกลุ่มอาจารย์
นักศึกษา โดยมีสาเหตุสำคัญจากการต่อต้านความพยายามสืบทอดอำนาจของกลุ่มจอมพลถนอม
ในคราบพระสงฆ์ การต่อต้านอำนาจทางเศรษฐกจิ ของอเมรกิ า การหมิน่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ การฝักใฝล่ ัทธิ
คอมมิวนิสต์เพื่อล้มล้างการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ซึ่งสถานการณ์
ความขัดแยง้ ดังกล่าวกลายเป็นเหตุการณ์ ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๙
ถึงแม้การอธิบายเหตกุ ารณ์ ๖ ตุลา อาจมุ่งเน้นไปท่ี ๒ ประเด็นที่สำคัญ คือ (๑) การเดินทางกลบั ไทย
ของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่ทำให้นักศึกษาออกมาประท้วง และ (๒) การแสดงละครของนักศึกษาที่จำลอง
การฆ่าแขวนคอพนักงานการไฟฟ้า ที่ถูกสื่อฝ่ายขวานำไปบิดเบือนว่ามีเจตนาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพและ
ปลุกระดมให้มีการล้อมปราบผู้ชุมนุม แต่ความขัดแย้งระหว่างนักศึกษาและกลุ่มชนชั้นนำฝ่ายขวาเริ่มขึ้นมา
ต้ังแตก่ อ่ นหนา้ น้นั โดยเฉพาะหลังเหตกุ ารณ์ ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๑๔
ในมิติทางการเมือง ประเทศไทยหลังเหตุการณ์ ๑๔ ตุลา เป็นยุคที่สิทธิเสรีภาพเบ่งบาน นักศึกษามี
บทบาทนำและมีพื้นที่ที่กว้างขวางข้ึนในการขับเคลื่อนและเผยแพรอ่ ุดมการณ์ความคิดเชิงสงั คมนิยม ไม่ว่าจะ
สะท้อนโดยตรงผ่านหนงั สือที่ตีพิมพ์ในช่วงนั้น (เช่น โฉมหน้าศักดินาไทย โดย จิตร ภูมิศักดิ์) หรือสะท้อนโดย
อ้อมผ่านการกำเนิดของวงดนตรีที่เล่นเพลง “เพื่อชีวิต” สะท้อนความทุกข์ของประชาชน ในขณะที่มิติทาง
เศรษฐกิจ ประเทศไทยในทศวรรษที่ ๒๕๑๐ เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ ระบบทุน
นิยมขยายเข้ามาผ่านการลงทุนจากต่างชาติ ทำให้สังคมไทยเปลี่ยนเป็นสังคมอุตสาหกรรมและการเกษตรที่
ผลิตเพื่อขาย จนนำไปสู่ความเหลื่อมล้ำสูงขึ้น ชาวนาที่ยากจนไม่มีที่ดินทำกิน กลายเป็นต้องเช่าจากนายทุ น
ส่วนแรงงานได้รับค่าจ้างต่ำ ขณะที่ปัจจัยภายนอก เกิดวิกฤตนำ้ มนั ในปี ๒๕๑๗ ทำให้รัฐบาลขึ้นราคาน้ำมันใน
ประเทศ ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวสงู ขึ้น ซ้ำเติมกำลังซื้อของประชาชนให้ยิง่ ลดน้อยถอยลง เมื่อความ
ลำบากทางเศรษฐกจิ ท่ีสะสมมายาวนาน บรรจบกับการตอ่ สู้ทางการเมืองของนกั ศึกษา ทำให้ชาวนาเกิดความ
ตื่นตัวในการเรียกร้องการแก้ไขปัญหาจากรัฐบาล กรรมกรนัดหยุดงานเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม จากสถิติ
พบว่าหลังเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๖ จนถึงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายนปีเดียวกัน มีกรรมกรนัดหยุดงาน
ถึง ๑๘๐ ครัง้ และในปี ๒๕๑๗ สงู ขนึ้ จนถึง ๓๕๗ ครง้ั ปี ๒๕๑๘ จำนวน ๒๔๑ คร้งั และปี พ.ศ.๒๕๑๙ จนถึง
เดอื นตุลาคมทีเ่ กดิ เหตกุ ารณ์ ๖ ตลุ า อีก ๑๓๓ ครง้ั (พริษฐ์ วชั รสินธุ, ๒๕๖๔)
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๘
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพ่ือให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ปรากฏการณ์นี้ทำให้คนรุ่นใหม่เห็นปัญหาความเหลื่อมล้ำชัดเจนขึ้น และคิดว่าหากจะเปลี่ยนแปลง
สภาพเช่นนี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนต้องมีสิทธิเสรีภาพในระบอบประชาธิปไตยควบคู่ไปด้วย
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ประสานกันในช่วงทศวรรษที่ ๒๕๑๐ ส่งผลในการสร้างความ
หวาดหวั่นต่อกลุ่มผู้มีอำนาจเก่าที่อาจเสียผลประโยชน์อย่างถาวรในภูมิทัศน์เศรษฐกิจ-การเมืองใหม่ ไม่ว่าจะ
เป็นความหวาดกลัวของชนชั้นนำฝ่ายขวาเกี่ยวกับการแผ่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในลักษณะการล้มของ
โดมิโน (domino theory) ท่ไี ดร้ บั แรงสง่ จากชัยชนะของคอมมวิ นิสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน ความต้องการหวน
คืนอำนาจของกองทัพที่ถกู บังคับโดยสังคมใหต้ ้องลดบทบาททางการเมืองหลัง ๑๔ ตุลา ซึ่งปรากฏให้เห็นจาก
ความพยายามของหลายฝ่ายภายในกองทัพเองที่วางแผนการทำรัฐประหาร หรือความกังวลของนายทุนหรือ
เจ้าของที่ดินที่มองว่าข้อเรียกร้องทางเศรษฐกิจของขบวนการนักศึกษาและชนชั้นแรงงานกำลังคุกคามความ
มั่นคง และความมั่งคั่งของพวกเขา ดังนั้นการชุมนุมของนักศึกษาในเวลานั้นจึงมีท่ีมาที่ลึกซึ้งกว่าเพียงแค่การ
ต่อต้านการกลับมาของจอมพลถนอม เนื่องจากเป็นการประสานกันระหว่างปัจจัยทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ยังสามารถอธิบายเหตุผลของการชุมนุมทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งไปไกลกว่าแค่การต่อสู้เรื่องตัวบุคคล
(พริษฐ์ วชั รสินธุ, ๒๕๖๔)
ดังนั้น เมื่อพิจารณาประเด็นความขัดแย้งในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕
พบว่าสาเหตุสำคัญคือ เป็นความขัดแยง้ ท่ีเกิดข้ึนจากข้ัวอำนาจทางการเมืองซงึ่ มีการนำโดยคณะทหาร ซ่ึงเป็น
กลุ่มผู้ควบคุมอำนาจทางการเมืองที่สำคัญกับกลุ่มอำนาจเดิม ตลอดจนการขัดแย้งระหว่างรัฐบาลซ่ึงเป็นกลุ่ม
ทหารกับ กลุ่มนักคิดสายปัญญาชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักการเมือง นิสิต นักศึกษาที่เติบโตมาพร้อม
ระบอบประชาธิปไตย โดยฝ่ายรัฐบาลได้ใช้กลไกและเงื่อนไขสำคัญในการตอบโต้กลุ่มปัญญาชนดังกล่าวผ่าน
การจดั ตั้งกองทัพทหาร ตำรวจ กล่มุ มวลชนจัดต้ังผนวกเข้ากบั เง่ือนไขทว่ี า่ ด้วยฝักใฝ่ลัทธิคอมมิวนิสต์และหม่ิน
สถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งภาพของสถานการณ์ในห้วงเวลาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการหยิบยก
ประเด็นว่าด้วย การหมิ่นสถาบันพระพระมหากษัตริย์” มาเป็นเงื่อนไงสำคัญเพื่อสร้างความชอบธรรมทาง
การเมอื งและความชอบธรรมในการใช้อำนาจทางการเมืองอยา่ งชัดเจน
เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๓๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่ือให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
๑.๕ ความขดั แยง้ ทางการเมืองช่วงปี พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๔๙
จากการศึกษาของ (กันตพัฒน์ ชนะบุญ, ๒๕๕๙) ได้นำเสนอข้อมูลความขัดแย้งทางการเมืองในช่วง
พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๔๙ โดยสรุปดงั นี้
๑) สมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ตณิ สูลานนท์ พ.ศ.๒๕๒๓-๒๕๓๑
ลักษณะของความขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพลเอกเปรมกับฝ่าย
ทหารท่ีไมไ่ ด้สนบั สนุนรฐั บาล หรอื ท่ีร้จู ักกนั ในนามฝ่ายกลุ่มทหารยังเติร์ก (นายทหารหน่มุ ) โดยมสี าเหตุมาจาก
ความแตกแยกในกองทพั ทหาร อันเปน็ ผลใหเ้ กิดเหตุการณท์ ี่เรยี กว่ากบฏเมษาฮาวาย
๒) สมัยรฐั บาลพลเอกชาตชิ าย ชณุ หะวัณ พ.ศ.๒๕๓๑-๒๕๓๔
ลักษณะของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมีความแตกต่างไปจากเดิมโดยเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับ
นกั การเมอื งและพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้ามและกล่มุ ทหาร โดยมสี าเหตุสำคัญมาจากความไม่ลงตวั หรือการ
ได้อำนาจในตำแหน่งทางการเมืองในรัฐบาล ข้าราชการประจำถูกแทรกแซงจากรัฐบาลความขัดแย้งระหว่าง
นายทหาร จปร.รนุ่ ๕ กบั จปร.รุ่น ๗ อันเป็นผลใหเ้ กิดการรัฐประหารปี ๒๕๓๔
๓) สมยั รฐั บาลพลเอกสจุ ินดาคราประยรู พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๓๕
ความขัดแย้งการเมืองในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพลเ อกเปรมกับสภา
ผู้แทนราษฎร กลุ่มนักการเมือง พรรคการเมือง นักธุรกิจและประชาชน โดยมีสาเหตุมาจากนายกรัฐมนตรีไม่
ได้มาจากการเลือกตั้ง อันเป็นผลให้เกิดเหตุการณ์พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๕ หรือเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
พ.ศ.๒๕๓๕ ข้นึ
๔) สมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย พ.ศ.๒๕๓๕-๒๕๓๘ สมัยรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา
พ.ศ.๒๕๓๘-๒๕๓๙, สมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๔๐ และสมัยรฐั บาลนายชวน หลกี ภัย
พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๔
ช่วงความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงรัฐบาลหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ๒๕๓๕ อาจจะกล่าวได้ว่า
เป็นความขัดแย้งทางเมืองที่มีคู่ความขดั แย้งระหวา่ งรัฐบาลกับพรรคการเมือง นักการเมือง โดยมีสาเหตุสำคัญ
มาจากการเอื้ออำนาจและผลประโยชน์ใหก้ ับกองทัพ และกลุ่มข้าราชการที่สนับสนุนรัฐบาล โดยความขัดแย้ง
ในแต่ละช่วงรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในแต่ละครั้งอาจจะมีชนวนความขัดแย้งที่แตกต่างกันออกไป
ทว่าสาเหตุสำคัญที่เหมือนกันคือความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่ไม่มีพรรคการเมืองใด
ชนะการเลือกตัง้ ดว้ ยคะแนนท่ีเด็ดขาดเพยี งพรรคเดียว ซึง่ สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงรฐั บาลบอ่ ยคร้ัง
เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๔๐
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
๕) สมัยรัฐบาล พนั ตำรวจโท ดร.ทกั ษิณ ชนิ วตั ร พ.ศ.๒๕๔๔-๒๕๔๘ และ พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๔๙
เป็นความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โดยมี
สาเหตุสำคัญจากการใช้อำนาจของนายกรัฐมนตรีที่เอื้อต่อการทุจริต การใช้อำนาจรัฐบาลในการแทรกแซง
กองทัพทหาร การหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์ การใช้อำนาจรัฐเพื่อเอือ้ ต่อธรุ กิจพวกพ้อง และเครือญาติ อัน
เป็นผลใหเ้ กดิ การรฐั ประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙
อย่างไรกต็ ามในช่วงระยะเวลานีม้ ไิ ด้มีเพียงความขัดแยง้ ทางการเมอื งระหวา่ งรฐั บาลภายใต้การนำของ
พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร กับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเท่านั้น หากยังมีความขัดแย้ง
ทางด้านชาติพันธ์ุและความเชือ่ เกดิ ขนึ้ ในพนื้ ทีส่ ามจงั หวดั ชายแดนใต้ (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) ร่วมด้วย โดย
ผลการศึกษาวิจัยและข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ความขัดแย้งในพื้นที่ดังกล่าวพบว่า ปัญหาความขัดแย้ง
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรก ความขัดแย้งภายในที่ต่อเน่ืองมานับจาก
อดีตที่มีความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้กับการเมืองการปกครองจากส่วนกลางที่
แสดงออกจากชนชั้นนําของรัฐจารีตนับตั้งแต่สมัยอยุธยาที่มีการทำสงครามระหว่างอยธุ ยากับปัตตานเี พื่อการ
ขยายอำนาจต่อเนื่องถึงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ จนมีการจัดตั้งการปกครองภูมิภาคแบบมณฑลเทศาภิบาลใน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่สร้างรัฐสมัยใหม่หรือรัฐชาติ และแม้ภายหลังการ
เปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ยงั คงมีความขัดแย้งอยา่ งต่อเนื่องที่สำคัญ คอื จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แม้สมัยหลังจะพยายามแก้ปัญหาแต่ยังคงมีความขัดแย้งเป็นระยะจน
กลายเป็นความรนุ แรง ความไม่ไวว้ างใจ ความไมเ่ ป็นธรรม ความอยุติธรรม ความลา้ หลัง และความดอ้ ยพัฒนา
ทที่ ำให้เกิดความคับข้องใจของประชาชนในพนื้ ทีส่ ะสมจนกลายเป็นปัญหาเชงิ โครงสร้างที่ก่อให้เกิดผลกระทบ
อย่างกว้างขวาง เปน็ ปัญหาทม่ี ีทม่ี าและต่อเน่ืองจากอดีต การยุบศนู ย์อาํ นวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้
(ศอ.บต.) และกองบัญชาการ ผสมพลเรือน ตํารวจ ทหาร ที่ ๔๓ (พตท. ๔๓) ขณะ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเท่ากับเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบปฏิบัติการในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม
สว่ นทส่ี อง ความขดั แยง้ ภายนอกเปน็ ความขดั แย้งระดับสากล จากความขดั แย้งทางศาสนาและวัฒนธรรมหรือ
ตะวันตกกับมุสลิมหัวรุนแรง จนก้าวสู่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นที่ที่มีความอ่อนไหวมากที่สุดในเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้ จนกลายเปน็ การก่อการร้ายทมี่ ีแนวโนม้ ทวคี วามรุนแรงเพิม่ ขน้ึ
ทั้งนี้ กันตพัฒน์ ชนะบุญ (๒๕๕๙) กล่าวว่า วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๕๗ เป็นความ
ขดั แย้งระหว่างกลุ่มการเมืองซ่งึ ตอ่ ต้าน และสนับสนนุ ดร.ทกั ษณิ ชนิ วัตร อดีตนายกรัฐมนตรี โดยวิกฤตการณ์
ดังกล่าวทำให้เกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับเสรีภาพสื่อเสถียรภาพทางการเมืองในไทย ทั้งยังสะท้อนภาพความ
ไม่เสมอภาคและความแตกแยกระหว่างชาวเมือง และชาวชนบท การละเมิดพระราชอำนาจการหม่ินพระบรม
เดชานุภาพ และผลประโยชน์ทับซ้อน ซึ่งวิกฤตการณ์ดังกล่าวได้บั่นทอนเสถียรภาพทางการเมืองตั้งแต่
ปี พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๗ แบง่ เปน็ ๓ ชว่ งเวลาดงั นี้
ชว่ งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๔๘ – ๒๕๕๑
เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๔๑
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
อำนาจทางการเมืองในช่วงเวลาข้างต้น ตกอยู่ภายใต้รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเป็นรัฐบาล
ชว่ั คราวภายใตก้ ารนำของคณะรฐั ประหารของ พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน หรือกลา่ วได้วา่ เปน็ รัฐบาลทหารผสม
พลเรือนที่ประกอบไปด้วยข้าราชการเสียส่วนใหญ่ และปรากฏการณ์ทางการเมืองเต็มไปด้วยการแสดงออก
ทางการเมืองของกลุ่มที่ต่อต้านรัฐประหารและไม่เอาเผด็จการ และในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ยังเกิดการ
เคลื่อนไหวของกลุ่มทักษิณที่สูญเสียอำนาจทางการเมืองหลังรัฐประหาร พ.ศ.๒๕๔๙ พยายามเคลื่อนไหวทาง
การเมืองเพือ่ กลบั เข้ามาสืบทอดอำนาจทางการเมอื งอีกครงั้
การเคลื่อนไหวทางการเมืองหลังปี พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๑ ของกลุ่มทักษิณได้รับการสนับสนุนทาง
ความคดิ และตอ่ ส้จู ากกลุ่มมวลชนภายใตช้ ่ือแนวร่วมประชาธปิ ไตยขับไลเ่ ผดจ็ การ (นปก.) และเปลย่ี นเป็นแนว
ร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เพื่อเรียกร้องคืนอำนาจให้แก่ทักษิณ ซึ่งหากมองสมาชิก
แกนนำของกลุ่มมวลชน นปช. ย่อมเห็นชัดเจนถึงความเป็นอดีตนักการเมืองของพรรคไทยรักไทย และพรรค
พลังประชาชน อาทิ จตพุ ร พรหมพนั ธุ์ ณัฐวุฒิ ใสเก้อื และวีระ(กานต)์ มุกสกิ พงศ์ ซง่ึ บุคคลดังกลา่ วยังสามารถ
โน้มน้าวประชาชนที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหารออกมาแสดงออกทางการเมืองด้วยการต่อต้าน ชุมนุม
เรียกรอ้ งหากแต่ในการเรียกรอ้ งของกล่มุ นปช. กลับสะทอ้ นให้เห็นนยั ทางการเมืองได้สองลกั ษณะคือ
๑) การเรียกร้องด้วยการต่อต้านรัฐประหารและไม่เอาเผด็จการ ได้กลายเป็นประเด็นที่ต้องการ
สะท้อนถึงรูปแบบ และกระบวนการยึดอำนาจผู้นำทางการเมอื งที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนที่พวกเขา
เชื่อว่าไม่ชอบธรรมทางการเมือง เพราะการรัฐประหารเป็นวิธีการที่ขัดกันทางความคิดกับระบอบ
ประชาธิปไตย
๒) การเรียกร้องทางการเมืองของกลุม่ นปช. ยังนำประเด็นที่วา่ ด้วยรัฐประหารและเผด็จการมาสร้าง
เป็นวาทกรรมทางการเมืองดว้ ยการ โจมตี เปิดโปง ตีแผค่ ณะรฐั ประหารที่ทำการยึดอำนาจปี พ.ศ.๒๕๔๙ ว่ามี
อำนาจเหนือกว่าระบอบประชาธิปไตยอยู่เบื้องหลังในการรัฐประหาร นอกจากน้ียังกล่าวถึงรัฐบาลพลเอก
สุรยุทธ์ จุลานนท์ และพลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ ว่าเป็นกลุ่มอำนาจอนุรักษ์นิยม หรือกล่มุ อำมาตยาธิปไตยท่ีมี
ความเกี่ยวข้องกับการรัฐประหารปี พ.ศ.๒๕๔๙ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า การเรียกร้องของกลุ่มมวลชน นปช. ท่ี
ต่อต้านรัฐประหารและเผด็จการ หากแต่การเรียกร้องกลับมองข้ามพฤติกรรมทางการเมืองของรัฐบาลทักษิณ
และกลุ่มทักษิณขณะบริหารประเทศในช่วงดังกล่าว อีกทั้งยังการเรียกร้องยังเป็นการสนับสนุนทักษิณ
และกลุ่มทกั ษิณอยา่ งชัดเจนซ่งึ ผเู้ ขยี นเชอ่ื วา่ เป็นการเรยี กร้องแบบเลือกขา้ งมากกว่าขอ้ เทจ็ จริงทางการเมือง
ประการที่สาม ความพยายามกลับมามีอำนาจทางการเมืองอีกครั้งของกลุ่มทักษิณ และมีฐานกำลัง
มวลชน นปช. สนับสนุน ผนวกกับแรงกดดันทางการเมืองจากฝ่าย นปช. และอดีตนักการเมืองไทยรักไทย
พร้อมกบั เกิดรฐั ธรรมนูญฉบับ ๒๕๕๐ และนำไปสู่การจัดตั้งรฐั บาลสมัคร และรัฐบาลสมชาย ซ่ึงทั้งสองรัฐบาล
ดังกล่าวกลับกลายเป็นประเด็นทางการเมืองที่นำไปสู่การกลับมาต่อต้านรัฐบาลสมัครและรัฐบาลสมชายของ
กลุม่ พธม. (กล่มุ พันธมติ รประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย) ในฐานะกลมุ่ มวลชนท่ีเช่ือว่ารฐั บาลท้ังสองชุดดังกล่าว
คือตัวแทนหรือนอมินีของกลุ่มทักษิณและมีความพยายามจะนำทัก ษิณคืนสู่อำนาจทางการเมืองอีกคร้ัง
เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๔๒
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอื่ ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ซึง่ ประเด็นดังกลา่ วยิ่งสะท้อนใหเ้ หน็ ภาพรวมของสถานการณ์ทางการเมืองในชว่ งปี พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๑ ไดเ้ ป็น
อย่างดีว่า เมื่อมีความพยายามกลับมามีอำนาจทางการเมืองของกลุ่มทักษิณมากเท่าไร ยิ่งได้เห็นการออกมา
เคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ของกลุ่ม พธม. เพื่อต่อต้านรัฐบาลสมัคร และรัฐบาลสมชาย และกลุ่มทักษิณ
มากขึ้นเท่านัน้ ซึ่งสังเกตได้จากการเคลือ่ นไหวย่อยของกลุ่ม พธม. ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และนัดชุมนมุ
ใหญ่ท่ีบรเิ วณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๐ พรอ้ มกบั กระจายการเคลื่อนไหวไปตาม
สถานทตี่ ่าง ๆ เพ่ือกดดนั รัฐบาลใหล้ าออกจากตำแหน่ง
กล่าวโดยสรปุ ความขดั แยง้ ทางการเมืองจนนำไปสกู่ ารต่อตา้ นทางการเมืองระหว่างกลุ่มมวลชน นปก.
จับมือกับกลุ่มทักษิณเพื่อต่อต้านรัฐบาลสุรยุทธ์ กลุ่มพธม.กับกลุ่มรัฐบาลสมัครและรัฐบาลสมชาย จนนำไปสู่
การเผชิญหน้ากันระหว่างมวลชน นปก. กับกลุ่ม พธม. ขึ้นซึ่งปรากฏการณ์ทางการเมืองดังกล่าว ถือเป็นการ
ต่อสู้เพื่อช่วงชิงอำนาจทางการเมืองระหว่างชนชั้นนำด้วยกันเอง หากแต่วิธีการ รูปแบบของแต่ละกลุม่ มีความ
แตกต่างกันและคล้ายกันบ้างในบางสถานการณ์ และยิ่งไปกว่านั้น การต่อสู้กันทางการเมืองของรัฐบาลสมัคร
และรฐั บาลสมชายยังได้ใชม้ วลชน นปช. เป็นเกราะป้องกันความชอบธรรมทางการเมืองให้กบั กลุ่มตนมากกว่า
จะจัดการความไม่ชอบธรรมทางการเมืองให้เกิดความชอบธรรมทางการเมืองขึ้น และยิ่งไปกว่านั้นใน
สถานการณ์ดังกล่าวแทนที่จะยุติลงไปพร้อมกับการสิ้นสุดของรัฐบาลสมัคร และรัฐบาลสมชายหลังศาล
รัฐธรรมนูญพิพากษายุบพรรคพลังประชาชน หากแต่เกิดความขัดแย้งและนำไปสู่การต่อสู้ทางการเมอื งขึ้นอกี
ครั้งในปี พ.ศ.๒๕๓๒-๒๕๕๓ ภายใต้สภาวะทางการเมืองที่มีการเลือกข้างมวลชนการเมืองอย่างชัดเจน และ
ด้วยความเลือกข้างแบบสนับสนุนอีกฝ่ายพร้อมต่อต้านอีกฝ่ายก็ยิ่งนำไปสู่การแก้แค้น หรือการเอาคืนทาง
การเมอื งต่อไป
ช่วงท่ี ๒ พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๓
ความขัดแย้งในช่วงเวลาข้างต้นมีรอ่ งรอยมาจากเหตุการณท์ างการเมืองในปี พ.ศ.๒๕๕๑ หากแต่เปน็
ปีแห่งการครองอำนาจนำทางการเมืองของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ภายใต้การนำโดยพรรคประชาธิปั ตย์
และภาพทีส่ ะท้อนถงึ บทบาททางการเมอื งของรฐั บาลอภสิ ิทธ์ิ คอื เกิดความขดั แย้งทางการเมอื งระหว่างรัฐบาล
อภสิ ทิ ธ์กิ ับกลุม่ นปช. คนเส้ือแดง จนนำไปสู่การชมุ นุมทไี่ ดเ้ กิดรูปแบบใหม่ ๆ ในการชุมนมุ และตอ่ สู้กับรัฐบาล
อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการต่อรองและสร้างพื้นที่ข้อมูลข่าวสารเพื่อเป้าหมายทางการเมืองแข่งกับรัฐบาล
อาทิ การชุมนุมแยกราชประสงค์ และเกิดจลาจลเกิดการเผาห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ในพื้นที่กรุงเทพฯ
และเผาศาลาว่าการจังหวัดในภูมภิ าคต่าง ๆ นอกจากนี้ยังสร้างสถานีโทรทัศน์สื่อทางเลือกสำหรบั คนเส้ือแดง
ขึน้ เพื่อเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารและเป็นช่องทางสื่อสารกับทกั ษิณ
ดงั น้ันสาเหตุทนี่ ำไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงดงั กล่าวคือ
๑) ความพยายามกลับมามีอำนาจทางการเมืองของกลุ่มทักษิณ หลังจากมีการยบุ พรรคพลังประชาชน
เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๐ แตไ่ มย่ บุ พรรคประชาธิปัตย์ในศาลเดียวกนั และในกรณีท่ีคล้ายกันจึงนำไปสู่
เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๔๓
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พอื่ ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
วาทกรรมสองมาตรฐานของกลุม่ นปช. คนเสื้อแดงที่มีต่อศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระอื่น ๆ อาทิ ป.ป.ช.
(คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาต)ิ เปน็ ตน้
๒) ความพยายามทำลายภาพลักษณ์และลดความน่าเชื่อถือทางการเมืองของรัฐบาลอภิสิทธิ์ลง
ด้วยการโจมตีว่ามีผู้อุปถัมภ์ทางการเมืองจนนำไปสู่การเปิดเผยชื่อ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เข้ามาเกี่ยวข้อง
กับการเมือง และกลายเป็นตัวแทนอำนาจฝ่ายอนรุ ักษน์ ิยมของรัฐบาลอภิสทิ ธิไ์ ปโดยปรยิ าย
๓) การหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์โดยการสร้างวาทกรรม อำมาตย์ คือ ผู้อยู่เบื้อ งหลัง
การรฐั ประหาร การยุบพรรคไทยรกั ไทยยบุ พรรคพลังประชาชน
จากสาเหตุแห่งความขัดแย้งทางการเมืองข้างต้นจึงพอสรุปได้ว่า สถานการณ์ทางการเมืองที่เกิดข้ึน
ส่วนใหญ่เกิดจากกลุ่มชนชั้นนำที่สูญเสียอำนาจ และพยายามที่จะรักษาอำนาจด้วยการสร้างเครือข่ายอำนาจ
และใช้เครือข่ายอำนาจต่อสู้ในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละรูปแบบสะท้อนภาพได้จากการชุมนุมของกลุ่ม
นปช. คนเสื้อแดงในปี พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ซึ่งภาพในปีดังกล่าวยังสะท้อนให้เห็นถึงวิธีการแก้ปัญหาของ
รัฐบาลอภิสิทธิ์ทีไ่ ม่สามารถควบคุมสถานการณ์ทางการเมืองในช่วงเวลานั้นได้ ซึ่งเราจะเห็นได้ถึงความขดั แย้ง
ระหว่างมวลชนที่ไมม่ ีอาวุธ แต่มีกองกำลังพิทกั ษ์คนเสื้อแดงที่มอี าวุธคอยปกปอ้ งมวลชนและพรอ้ มใช้อาวุธตอ่
ฝ่ายรัฐบาล จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจึงสะท้อนได้ถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างกลุ่มทักษิณ กลุ่มทุนสาย
ทักษณิ สนบั สนุนการต่อสู้ของกลุม่ นปช. ในการต่อสู้กับรฐั บาลอภิสิทธิ์ และกลมุ่ ทุนเก่าที่สนับสนุนการบริหาร
รัฐบาลอภิสิทธิ์อย่างชัดเจน ซึ่งกรณีดังกล่าวข้างต้นยังสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้ของกลุ่ม นปช. คนเสื้อแดงท่ี
ส่งผลให้อำนาจทางการเมืองของรัฐบาลอภิสิทธิ์เสื่อมลงได้ และการเสื่อมอำนาจก็นำไปสู่การกลับคืนมา มี
อำนาจทางการเมืองอีกครั้งของกลุ่มทักษิณ และกลายเป็นร่องรอยประวัติศาสตร์ทางการเมืองแก่
ปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ ต่อไป
ช่วงที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๗
กลา่ วไดว้ า่ สถานการณท์ างการเมอื งตั้งแตป่ ี พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๑ และปี พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓ คือ ความ
ขัดแย้ง และนำไปสู่การต่อสู้ทางการเมืองระหว่างชนชั้นนำด้วยกันแล้ว ซึ่งสะท้อนได้จากตัวแสดงหลักทาง
การเมืองกข็ งั เปน็ ตัวแสดงหลักเดิม ๆ ทีห่ มุนเวียนผลัดเปลีย่ นตอ่ สกู้ นั อาทิ ปี พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓ ระหว่างกลุ่ม
นปช. กับรัฐบาลอภิสิทธิ์จากพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าช่วงปีดังกล่าวเป็นช่วงการเอาคื นทาง
การเมืองของกลุ่มทักษิณ โดยมีเครือข่ายทางความคิดสำคัญ ๆ และกลุ่มมวลชน นปช. เป็นกำลังหลักในการ
ตอ่ สู้ ซงึ่ การตอ่ สู้ของกลุ่ม นปช. ได้สะทอ้ นให้เห็นถึงรูปแบบการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ทไ่ี ม่เนน้ วิธีการ หากแต่เน้น
เป้าหมายทางการเมืองเพื่อทักษิณเปน็ สำคัญอยา่ งไรก็ดี ในชว่ งปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ สถานการณท์ างการเมือง
กลับพลิกผันให้กลุ่มทักษิณกลับมามีอำนาจทางการเมืองผ่านรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ซึ่งการกลับมามีอำนาจย่ิง
สะทอ้ นถงึ ความพ่ายแพ้ทางการเมืองของกลมุ่ ประชาธิปตั ย์ในฐานะตัวแทนกล่มุ อนรุ ักษ์นยิ ม รวมไปถึงกลุ่มทุน
สายประชาธิปัตย์และกลุ่มทุนเก่าอีกด้วย ดังนั้นหากกล่าวถึงสาเหตุแห่งความขัดแย้งทางการเมืองในช่วง
ดังกล่าวยอ่ มสะทอ้ นภาพไดจ้ ากกรณี ดงั นี้
เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๔๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พื่อให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
๑) ความรว่ มมือของกลมุ่ การเมืองทักษิณภายใต้รฐั บาลยงิ่ ลักษณ์เสนอร่างกฎหมายปรองดองแห่งชาติ
และร่างกฎหมายนิรโทษกรรมเข้าสภาฯ เพื่อให้บุคคลต่าง ๆ ที่มีส่วนร่วมทางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๙-
๒๕๕๗ ให้พ้นผิดทางการเมือง ซึ่งบุคคลที่รับประโยชน์จากกฎหมายดังกล่าวก็คือ ทักษิณ ชินวัตร รวมถึงการ
ทจุ รติ ภายใตโ้ ครงการของรัฐต่าง ๆ
๒) การหมิ่นสถาบนั พระมหากษตั ริย์ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒
๓) โครงการรับจำนำข้าวที่ก่อเกิดการทุจรติ คอรร์ ัปชนั และเปน็ การเอ้ือประโยชน์แก่กลุ่มทุนพวกพ้อง
บางกลุ่มนั่นหมายความว่า สาเหตุแห่งความขัดแย้งทางการเมืองเป็นความขัดแย้งที่เกิดจากความพยายาม
กลับมามีอำนาจทางการเมืองของ ทักษิณ ชินวัตร ภายใต้การผลักดันของรัฐบาลยิง่ ลักษณ์ และกลุ่มเครือข่าย
ของตนจนเกิดการต่อต้านจากฝ่ายท่ีไม่เห็นด้วย นั่นคือ กลุ่ม คปท. กลุ่ม กปปส.(คณะกรรมการประชาชนเพอ่ื
การเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เปน็ ประชาธปิ ไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข)
กลมุ่ อปท. (องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน) กลมุ่ เครือขา่ ยจฬุ า-ธรรมศาสตร์ และกล่มุ ศิลปินต่าง ๆ
โดยสรุปจากข้อมูลในเบื้องต้น ข้อค้นพบที่สำคัญของความขัดแย้งทางการเมืองช่วงปี
พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๔๙ นั้น แม้ในช่วง ๑๕ ปีแรก (พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๓๕) จะเป็นความขัดแย้งทางการเมืองระหว่าง
กลุ่มการเมอื งท่ีเปน็ ทหารเปน็ แกนนำหลัก แตห่ ลังจากปี พ.ศ.๒๕๓๕ เปน็ ต้นมา ความขัดแย้งทางการเมืองของ
ประไทยได้เปลี่ยนรูปเป็นความขัดแย้งระหว่างกลุม่ นักการเมืองในนามพรรคการเมือง และกลุ่มนักการเมืองท่ี
อยู่ฝ่ายตรงกันข้ามกับพรรคร่วมรัฐบาลเป็นหลัก โดยความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงระยะเวลาดังกล่าวได้ใช้
สภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภาเป็นพื้นที่ในการแก้ไขปัญหาทางการเมือง โดยหนทางแก้ปัญหาความขัดแย้งที่
สำคัญคอื การยุบสภา ในขณะเดยี วกนั นอกเหนือไปจากความขัดแยง้ ที่เกิดข้ึนจากความไมล่ งตัวของอำนาจและ
ผลประโยชน์ทางการเมืองแล้ว สถานการณ์ในช่วงเวลาดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาค
การเมอื งและภาคธุรกิจ หรือกลมุ่ นายทุนท่ีเร่ิมสนับสนุนพรรคการเมือง ตลอดจนการก้าวเข้าสู่วงการการเมือง
ของกลุ่มนกั ธุรกจิ อย่างชดั เจนมากขน้ึ
ตวั อย่างทีช่ ดั เจนของสถานการณ์ทางการเมอื งช่วงปี พ.ศ.๒๕๔๔ คอื การก้าวเข้าสูว่ งการการเมืองของ
ผู้บริหารของกลุ่มธุรกิจเครือชินวัตรและพันธมิตรที่ประกอบไปด้วยนักธุรกิจ นักบริหารและนักวิชาการซึ่งได้
จัดตั้งพรรคไทยรักไทย และสามารถเอาชนะการเลือกตั้งได้โดยสมบูรณ์ ซึ่งส่งผลชนวนความขัดแย้งทาง
การเมืองที่สำคญั ได้กอ่ รา่ งข้ึนจากสาเหตุของการถึงทรัพยากรอย่างไม่เท่าเทยี ม การเอื้อประโยชนต์ อ่ พวกพอ้ ง
ในกลุ่มธุรกิจ ความชัดเจนของระบบทุนนิยมท่ีเฟือ่ งฟูในยุคดังกล่าวนอกเหนือไปจากการชนะการเลือกตั้งของ
พรรคไทยรักไทยแล้ว ยังสะท้อนให้เห็นจากรัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ ที่เปิดเสรีภาพและสิทธิต่าง ๆ ทางการเมือง
อย่างกว้างขวางมากขึ้นเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า ทว่าสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาจากการบังคับใช้
รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวคือ ภาพของนักการเมืองในคราบธุรกิจ นักบริหารที่ใช้อำนาจรัฐในการเอ้ือ
ผลประโยชนต์ ่าง ๆ ให้แก่ธุรกิจของกลุ่มพวกพ้องและเครอื ญาติ จนกระทั่งนำไปสู่การแทรกแซงกองทัพทหาร
ตำรวจ เพอ่ื สร้างฐานอำนาจให้แก่รัฐบาล ตลอดจนความพยายามท่ีใช้อำนาจรัฐในการแทรกแซงส่ือเพื่อลดการ
เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๔๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ตรวจสอบจากระบบและกลไกการส่อื สารมวลชน นอกจากนีย้ งั มปี ระเด็นเปราะบางทางความเชื่อที่ถือได้ว่าเป็น
ปรากฏการณ์ทางการเมืองใหม่คือ การใช้อำนาจรัฐในการแทรกแซงองค์กรศาสนาพุทธด้วยการแต่งตั้งสมเด็จ
พระสังฆราชซ้อน รวมถึงประเดน็ สำคญั ที่นำไปสู่ความขดั แย้งทางการเมืองในปี พ.ศ.๒๕๔๙ คือ การหมิ่นพระ
บรมเดชานุภาพจากการกล่าวอ้างของกลุ่มประชาชน ในนามพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.)
(พ.ศ.๒๕๔๘-พ.ศ.๒๕๔๙) กลมุ่ ปญั ญาชนสายวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลยั กลุ่มศลิ ปนิ ดารา นักรอ้ ง และสื่อ
กลุ่มตา่ ง ๆ ที่รวมตัวกนั ต่อตา้ นรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร. ทกั ษิณ ชินวตั ร
ข้อค้นพบสำคัญของชนวนความขัดแยง้ ทางการเมืองในห้วงเวลาดังกล่าวสะท้อนชัดว่าเป็นการเปลี่ยน
รูปจากการผกู ขาดอำนาจทางการเมืองโดยฝา่ ยทหารและข้าราชการในอดตี ทม่ี ุ่งรักษาฐานอำนาจดงั้ เดิมของตน
เป็นความขัดแย้งท่ีเกิดขึน้ จากการผูกขาดอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ และธุรกิจการสือ่ สาร โดยนักธุรกิจที่
ร่วมมือกับนักการเมือง ทหาร และตำรวจ รวมถึงข้าราชการบางกลุ่ม จากสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ เครือข่าย
ทางการเมือง เครือข่ายพวกพ้องและเครือญาติ เครือข่ายมวลชน และอื่น ๆ เพื่อผลประโยช น์ในการเข้าถึง
ทรัพยากรและความได้เปรียบทางธุรกิจ รวมทั้งการรักษาอำนาจและสืบทอดอำนาจในรูปแบบต่าง ๆ มากขึ้น
ดังที่ปรากฏในเหตุการณ์ ทางการเมืองในระยะหลัง เช่น ความขัดแย้งในปี พ.ศ.๒๕๕๑, พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓,
และ พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗
๑.๖ หลงั การเกิดรฐั ประหารโดยคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ – ปจั จุบนั
หลังการปฏวิ ัติเปล่ยี นแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชยเ์ ปน็ ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันท่ี
๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ มาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีการรัฐประหารที่สำเร็จรวมทั้งสิ้น ๑๓ ครั้ง
ผู้ก่อการรัฐประหารในประเทศไทยเป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่เกิดจากฝ่ายกองทัพบก ส่วนทหารเรือเคยพยายาม
ก่อรัฐประหารมาแล้ว ในกรณีกบฏวังหลวง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๒ และกบฏแมนฮัตตัน เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๔
แต่กระทำการไมส่ ำเร็จแล้วหลงั จากน้นั ทหารเรอื ก็เสียอำนาจในทางการเมืองไทยไป
ลำดับเหตกุ ารณ์รฐั ประหารในประเทศไทยท้ัง ๑๓ คร้งั ได้แก่
๑) รัฐประหาร ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๖ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ประกาศพระราชกฤษฎีกา
ปิดสภาผู้แทนราษฎร พรอ้ มงดใชร้ ัฐธรรมนูญบางมาตรา
๒) รัฐประหาร ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๖ นำโดย พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ยึดอำนาจรัฐบาล
พระยามโนปกรณ์นติ ธิ าดา
๓) รัฐประหาร ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๐ นำโดย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ยึดอำนาจรัฐบาล
พล.ร.ต.ถวลั ย์ ธำรงนาวาสวสั ดิ์
๔) รัฐประหาร ๖ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๑ คณะนายทหารกลุ่มที่ทำการรัฐประหาร ๘ พฤศจิกายน
พ.ศ.๒๔๙๐ จี้บังคับให้ นายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และมอบตำแหน่งต่อให้
จอมพล ป. พิบลู สงคราม
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๔๖
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
๕) รัฐประหาร ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๔ นำโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ยึดอำนาจรัฐบาล
ตนเอง
๖) รัฐประหาร ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๐ นำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชย์ ยึดอำนาจรัฐบาล
จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม
๗). รัฐประหาร ๒๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๑ นำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจรัฐบาล
จอมพลถนอม กติ ติขจร (ตามทตี่ กลงกนั ไว้)
๘) รัฐประหาร ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๕๑๔ นำโดย จอมพลถนอม กติ ตขิ จร ยึดอำนาจรัฐบาลตนเอง
๙) รัฐประหาร ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๙ นำโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ยึดอำนาจรัฐบาล
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
๑๐) รัฐประหาร ๒๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๐ นำโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ยึดอำนาจรัฐบาล
นายธานินทร์ กรยั วิเชยี ร
๑๑) รัฐประหาร ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๔ นำโดย พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ยึดอำนาจรัฐบาล
พล.อ.ชาติชาย ชณุ หะวัณ
๑๒) รัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙ นำโดย พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ยึดอำนาจรัฐบาล
รกั ษาการพ.ต.ท.ทกั ษณิ ชินวตั ร
๑๓) รัฐประหาร ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ นำโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษา
ความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) ยึดอำนาจรฐั บาลรักษาการ นิวัฒนธ์ ำรง บญุ ทรงไพศาล (ปฏบิ ัติหนา้ ทนี่ ายกรัฐมนตรี
หลังยิง่ ลักษณ์ ชินวตั รถกู ศาลรัฐธรรมนญู วินิจฉยั ใหพ้ ้นจากตำแหน่ง)
รัฐประหารในประเทศไทยครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๗ มีต้นเหตุมาจากวิกฤตการณ์การเมืองจากการ
ประท้วงต่อต้านการเสนอกฎหมายร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ นำโดย นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีต
เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ต่อมาภายหลัง นายสุเทพได้ตั้ง
“คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” (กปปส.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตั้ง “สภาประชาชน” ที่ไม่ได้มาจากการ
เลือกตั้งเพื่อดูแลการปฏิรูปการเมือง ในขณะที่กลุ่มนิยมรัฐบาล รวมทั้ง “แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จ
การแห่งชาติ” (นปช.) นำโดย นายจตุพร พรหมพันธุ์ ก็จัดชุมนุมเช่นกัน มีความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว
เปน็ เหตใุ ห้มีผเู้ สยี ชวี ติ และบาดเจ็บจำนวนมาก
หลังรัฐประหารมีประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลงยกเว้น
หมวด ๒ คณะรัฐมนตรีรักษาการหมดอำนาจ ตลอดจนให้ยุบวุฒิสภา จนเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๗
มกี ารประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชั่วคราว) พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ ซง่ึ ให้มีสภานิติบัญญัติ
เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๔๗
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
แห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา และกำหนดให้มีคณะกรรมาธิการยกร่าง
รฐั ธรรมนูญ จำนวน ๓๖ คน สรรหามาจากสภาปฏริ ปู แหง่ ชาตสิ ภานติ ิบัญญตั แิ หง่ ชาติ คณะรัฐมนตรี และคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติ เพื่อรา่ งรฐั ธรรมนูญถาวรฉบบั ใหม่ และกำหนดให้คณะกรรมาธิการฯ ร่างรัฐธรรมนูญ
ให้เสร็จภายใน ๑๒๐ วันนับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยเมื่อวันที่ ๔
พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๗ นายเทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติลงนามคำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมาธกิ ารฯ ซ่งึ มี ดร.บวรศกั ด์ิ อุวรรณโณ เป็นประธาน
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทำร่างรฐั ธรรมนูญให้ครอบคลมุ เนอื้ หาต่าง ๆ ตามท่ีมาตรา
๓๕ ของรฐั ธรรมนญู ชั่วคราวกำหนด รา่ งรัฐธรรมนญู ฉบบั น้เี ดิมมี ๓๑๕ มาตรา หลังจากได้รับข้อเสนอของสภา
ปฏิรูปแห่งชาติแล้วนั้น คณะกรรมาธิการฯ ได้ปรับแก้เนื้อหาให้เหลือ ๒๘๕ มาตรา และเสนอต่อสภาปฏิรูป
แห่งชาติเมื่อวันที่ ๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๘ แต่สภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติไม่รับร่ างรัฐธรรมนูญของ
คณะกรรมาธกิ ารฯ สง่ ผลใหส้ ภาปฏิรปู แหง่ ชาติ และคณะกรรมาธิการฯ สนิ้ สุดลงในวนั น้ัน
รัฐธรรมนูญชั่วคราว มาตรา ๓๙/๑ กำหนดว่า "ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ
และคณะกรรมาธกิ ารยกร่างรัฐธรรมนูญส้ินสดุ ลง หรอื นับแตว่ นั ท่ีคณะกรรมาธิการยกรา่ งรฐั ธรรมนูญสิ้นสุดลง
หรือนับแต่วันที่ร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันตกไป ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง
รัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอื่นอีกไม่เกินยี่สิบคน เพื่อทำ
หน้าที่ร่างรฐั ธรรมนูญใหแ้ ลว้ เสร็จภายในหนงึ่ รอ้ ยแปดสิบวนั นับแต่วนั ทีไ่ ดร้ บั แต่งต้งั "
ในวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๘ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตไิ ด้
ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจำนวน ๒๑ คน โดยนายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธาน
ต่อมาเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ผลออกมาปรากฏว่าร่าง
รัฐธรรมนูญผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง ๑๖,๘๒๐,๔๐๒ คะแนน ในขณะที่บทเฉพาะกาลว่าด้วยการ
กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภาเลือกนายกรัฐมนตรีภายในระยะเวลา ๕ ปีแรกผ่าน
ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง ๑๕,๑๓๒,๐๕๐ คะแนน จากนั้นคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญนำร่าง
รฐั ธรรมนญู ไปปรบั ปรงุ ในบางมาตรา และในบทเฉพาะกาลเพื่อให้เข้ากับคำถามพว่ งเป็นเวลา ๓๐ วนั หลังจาก
ปรบั ปรงุ ร่างรฐั ธรรมนูญเสรจ็ ส้นิ แลว้ คณะกรรมการรา่ งรัฐธรรมนูญได้ส่งร่างฯ กลับคืนนายกรัฐมนตรีให้นำขึ้น
ทูลเกล้าฯ เพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยในรา่ งรัฐธรรมนญู เพอ่ื ประกาศใชเ้ ป็นกฎหมายตอ่ ไป
ต่อมาในวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐ จึงได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ถือเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศฉบับที่ ๒๐ และเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ ๒ ที่ผ่านการ
ออกเสียงประชามติ ต่อจากรัฐธ รรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ทั้งนี้
เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๐ สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เผยแพร่ผลสำรวจความคิดเห็น
ประชาชนเรอ่ื ง "รัฐธรรมนูญไทย" ในสายตาประชาชนโดยสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนทั่วประเทศจำนวน
ทั้งสิ้น ๑,๑๖๔ คน ระหว่างวันท่ี ๖-๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ต่อการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๔๘
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พอื่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยประชาชนมองว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปราบโกง เน้นการป้องกันการทุจริต
คอรร์ ัปชนั แตช่ ีจ้ ดุ ออ่ นถกู มองเป็นการสืบทอดอำนาจของ คสช. อย่างไรกต็ าม เป็นทน่ี ่าสังเกตว่า มาตรา ๒๖๕
ในรฐั ธรรมนญู ฯ ปี ๒๕๖๐ กำหนดให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติยังคงดำรงอยู่ต่อไป และหัวหน้าคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติยังคงมีอำนาจตามรัฐธรรมนูญฯ ปี พ.ศ.๒๕๕๗ มาตรา ๔๔ ต่อไป แม้รัฐธรรมนูญฯ
ปพี .ศ.๒๕๕๗ ส้ินผลไปแลว้ จนกวา่ คณะรัฐมนตรีท่ีต้ังข้ึนภายหลังการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฯ ปี พ.ศ.๒๕๖๐
จะเข้ารับตำแหน่ง ดังนั้น ณ วันนี้ ประเทศไทยจึงเสมือนมี "รัฐธรรมนูญคู่" ได้แก่ รัฐธรรมนูญฯ ปี พ.ศ.๒๕๖๐
รวม ๒๗๙ มาตรา และมาตรา ๔๔ ในรัฐธรรมนญู ฯ ปี พ.ศ.๒๕๕๗
การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
ทำให้สังคมไทยเป็นสังคมประชาธิปไตยประชาชนขึ้นมาเป็นเจ้าของประเทศ และมีบทบาทในการปกครอง
ประเทศด้วยกระบวนการตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ บ้านเมืองมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และการศึกษา การดำรงชีวติ ในสังคมไทยเป็นไปตามหลักประชาธิปไตย ซ่ึงประกอบดว้ ยหลัก
เหตุผล หลักความเสมอภาค หลักสิทธิและเสรีภาพ หลักการยึดเสียงข้างมาก และหลักภราดรภาพ (สมบัติ
เฉลมิ วุฒนิ นั ท์, ม.ป.ป.)
ตลอด ๘๖ ปีของการเมืองไทยภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญ
มาแล้วทง้ั ส้ิน ๒๐ ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบบั ปัจจุบนั ที่ประกาศใช้เม่อื วนั ท่ี ๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐ คือ รฐั ธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งจัดร่างโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญในระหว่าง
พ.ศ.๒๕๕๗–๒๕๖๐ ภายหลังการรัฐประหารในประเทศครั้งที่ ๑๓ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ โดย
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นับเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ ๒ ที่ผ่านการออกเสียงประชามติโดยได้รับ
เสียงเห็นชอบท่วมท้นถึง ๑๖.๘ ล้านเสียง ต่อเสียงคัดค้าน ๑๐.๕ ล้านเสียง อีกทั้งประชาชนยังมองว่าเป็น
รัฐธรรมนูญฉบับปราบโกง เน้นการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน แต่มีจุดอ่อนที่ถูกมองเป็นการสืบทอดอำนาจ
ของคสช.ผ่านผลสํารวจของสวนดุสิตโพล อย่างไรก็ตาม เป็นที่คาดหวังว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้จะนําพา
ประเทศชาติไปสู่ความเป็นประชาธปิ ไตยที่สมบูรณภ์ ายหลงั การเลอื กต้ังที่คาดว่าจะเกิดขนึ้ ในปี พ.ศ.๒๕๖๒
๒. ความขัดแย้งทางสังคมและทางการเมือง
ในประเด็นความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองจะนำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับภาพรวมของความ
ขัดแย้ง เช่น การนิยามและการความหมาย ประเภทของความขัดแย้งท่ีมีการวิเคราะหแ์ ละจำแนกทางวชิ าการ
แนวคิดและทฤษฎที ี่อธิบายถึงความขัดแยง้ ท้ังสาเหตุ ปัจจัยหลกั ปัจจัยร่วม กลไกการเกิดขึ้นของความขัดแยง้
และผลลัพธ์ของความขัดแย้งในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งรายละเอียดต่าง ๆ เหล่านี้จะใช้เป็น
กรอบการวิเคราะห์และจำแนกความขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เพื่อนำไปสู่การสร้างแนว
ทางการบรรเทาและการแก้ไขปญั หาความขัดแยง้ ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ซ่งึ รายละเอยี ดโดยสังเขปมีดังนี้
๒.๑ นยิ าม ความหมาย ประเภทความขดั แยง้
เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๔๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๖ ให้คำอธิบายว่า คำว่า “ขัดแย้ง” ประกอบด้วยคำ
สองคำ กลา่ วคือ “ขดั ” ซ่ึงหมายถึงการไมท่ ำตามฝา่ ฝืน ขืนไว้ และ “แยง้ ” หมายถึง ไมต่ รงหรอื ลงรอยเดียวกัน
ต้านไว้ ทานไว้ เพราะความขดั แย้งเป็นความรสู้ ึกนกึ คิด หรือการกระทำทขี่ ัดกันท้ังภายในตนเอง ระหว่างบุคคล
และระหว่างกลุ่ม ซึ่งมีผลทำให้เกิดการแข่งขัน หรือการทำลายกัน เมื่อรวมความแล้ว ความขัดแย้ง หมายถึง
“สภาพความไมล่ งรอยกันคอื ไม่ยอมทำตามและยังมีความต้านทานไว้”
ความขัดแย้ง คือ ชนิดของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นชนิดหน่ึง เมื่อมีกลุ่มตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไปมคี วามคิดเห็น
การรับรู้ที่ไดจ้ ากกจิ กรรม สิ่งจูงใจ ความคาดหมาย ค่านิยม หรือการเกี่ยวข้องต่อกันไม่ลงรอยกัน เป็นปรปักษ์
ต่อกัน (Thongchai Santiwong andSomchai Santiwong, ๒๐๐๓)
จากความหมายของความขัดแยง้ อาจสามารถสรปุ ได้ ๒ ความหมายหลกั ดังนี้
๑) ความหมายของความขัดแย้งในแง่บวก หมายถึง ความขัดแย้งที่ก่อให้เกิดในเชิงสร้างสรรค์
ซึ่งก่อให้เกิดผลดีต่อตัวเอง องค์กร และสังคม ทั้งในแง่ของทัศนคติ และพฤติกรรมในบางคราว เมื่อเกิดความ
ขดั แย้งแลว้ กส็ ามารถทีจ่ ะหาทางออกในเชิงสมานฉันท์
๒) ความหมายของความขัดแย้งในแง่ลบ หมายถึง ความขัดแย้งที่ก่อให้เกิดผลเสีย และบรรยากาศ
ทไี่ ม่ดีตอ่ ตนเอง องคก์ ร และสงั คม ซ่ึงเปน็ การสะทอ้ นรูปลักษณ์ของความขัดแยง้ ออกมาไม่ว่าจะเปน็ การด่าการ
ทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย และการทำสงครามซึ่งกันและกัน (รัฐพล เย็นใจมา และสุรพล สุยะพรหม ,
๒๕๖๑)
อย่างไรกต็ าม ในกรณีทีค่ วามขดั แยง้ ขยายตัวยกระดับความรุนแรงในระดบั ทีเ่ กิดการมุ่งเอาแพ้เอาชนะ
กันมากขึ้น จะมีกระบวนการเข้ามาจัดการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การหลีกหนีปัญหา
การใช้คนกลางในการเจรจา (Mediation) การเจรจาไกล่เกลี่ยกันเอง (Negotiation) การใช้อนุญาโตตุลาการ
(Arbitration) การฟ้องร้องกัน (Litigation) การใช้กระบวนการนิติบัญญัติในการออกกฎหมายการชุมนุม
ประทว้ งและการใชค้ วามรุนแรง (วนั ชัย วฒั นศพั ท์, ๒๕๕๐)
ความขัดแย้ง เป็นสภาพการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างที่บุคคล ๒ คน หรือมากกว่า
แสดงพฤตกิ รรมเปิดเผยออกมาอยา่ งแตกต่างกนั สภาพการณเ์ หลา่ น้ีคือ ความขดั แย้ง ซงึ่ อาจเกดิ จากมกี ารรับรู้
ในเป้าหมายที่แตกต่างกนั มีความเข้าใจผิดหรือไมเ่ ข้าใจวัตถุประสงค์ มีความต้องการท่ีแตกตา่ งกันหรือแย่งชงิ
ในสิ่งเดียวกัน หรือต้องการความเท่าเทียมกันทั้งด้านวัตถุประสงค์ และคุณค่าเกิดความรู้สึกต้องการเอาชนะ
หรือทำให้ฝ่ายตรงข้ามไม่พึงพอใจ สูญเสีย หรือถูกกดดันหรือเกิดความต้องการที่เหนือกว่าอีกฝ่ายหน่ึง
สถานการณเ์ หล่านจี้ ะทำให้เกิดความตึงเครยี ดเพราะความไมเ่ ห็นด้วยหรือไม่ตกลงด้วย และมีแนวโน้มทำให้แต่
ละฝ่ายมีทศิ ทางท่ีตรงข้าม บทสรปุ ของความขดั แย้งก็จะกลายเป็นแบง่ ฝักแบ่งฝ่ายเป็นหนว่ ยย่อยของสังคมที่ไม่
ขึ้นตรงต่อกลุ่มใหม่ทั้งในแง่ของความคิด และการปฏิบัติส่งผลกระทบเสียหายต่อสันติสขุ ของสังคม (รัฐพล ใจ
เยน็ มา และสรุ พล สุยะพรหม, ๒๕๖๑)
เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๕๐
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ดังนั้น ความขดั แย้ง หมายถงึ ความรูส้ กึ นึกคิดพฤตกิ รรมท่ีเกิดขน้ึ ชนิดหน่ึง หรอื การกระทำที่ขัดกันทั้ง
ภายในตนเอง ระหวา่ งบุคคล และระหวา่ งกลุ่ม เปน็ สถานการณค์ วามแตกต่างท่ีบคุ คลขัดแยง้ ซึ่งอาจเกิดจากมี
การรับรูใ้ นเปา้ หมายท่แี ตกต่างกนั มคี วามเขา้ ใจผิดหรอื ไมเ่ ข้าใจวัตถปุ ระสงค์ มีความตอ้ งการทแี่ ตกต่างกันหรือ
แยง่ ชิงในส่งิ เดยี วกัน จงึ เกิดการแยง่ ชิงในสงิ่ ทีแ่ ตล่ ะฝ่ายตอ้ งการ
๒.๒ ประเภทของความขดั แย้ง
ครสิ โตเฟอร์ มัวร์ (อ้างถึงในวันชัย, ๒๕๕๐) แบง่ ความขดั แยง้ ท่ัวไปออกเปน็ ๕ ประเภท
๑) ความขัดแยง้ ด้านข้อมูล (Data Conflict) เปน็ ปญั หาพ้นื ฐานของความขัดแย้ง อาจเกิดจากที่แต่ละ
ฝา่ ยมีขอ้ มลู น้อยไป การแปรผลผดิ พลาด การวเิ คราะห์ผลออกมาด้วยความเหน็ ท่ตี ่างกัน หรือความแตกต่างใน
การรับร้ขู ้อมลู (Perception) อาจกอ่ ให้เปน็ ปัญหาขัดแย้งกันได้ในบางครงั้
๒) ความขดั แย้งจากผลประโยชน์ (Interest Conflict) เกดิ จากการแย่งผลประโยชนใ์ นส่ิงท่ีดูเหมือนมี
หรอื ไมเ่ พยี งพอเปน็ เร่อื งของทงั้ ตัวเนื้อหา กระบวนการและจติ วทิ ยา
๓). ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง (Structure Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกี่ยวกับเรื่องอำนาจ
การแย่งชงิ อำนาจ การกระจายอำนาจรวมไปถึงกฎระเบยี บ บทบาท ภมู ศิ าสตร์ ระยะเวลา และระบบ
๔) ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ (Relationship Conflict) เป็นปัญหาด้านความสัมพันธ์
บคุ ลิกภาพพฤติกรรมตา่ ง ๆ ในอดีต อารมณท์ ร่ี นุ แรง ความเขา้ ใจผดิ หรอื การสอ่ื สารทบ่ี กพร่อง
๕) ความขัดแย้งด้านค่านิยม (Values Conflict) เป็นปัญหาเกี่ยวกับความเชื่อ ความแตกต่างของ
ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมถึงการเลี้ยงดูที่หล่อหลอมความเป็นตัวตนขึ้นมานอกจากความขัดแย้ง
ทั่วไปแล้ว ยังสามารถแบ่งความขัดแย้งได้เป็น ความขัดแย้งภายในรัฐ (Intrastate Conflict) ที่มีความยืดเยื้อ
และรุนแรงถึงข้นั ท่ีมีการเสยี ชวี ิตเกดิ ข้ึน โดยสามารถแบง่ ออกได้ ๓ ประเภทหลัก ๆ คือ
๕.๑) ความขดั แย้งที่ม่งุ เปลี่ยนแปลงรปู แบบการปกครองโครงสร้างอำนาจรฐั (อดุ มการณ์ทาง
การเมอื ง)
๕.๒) ความขัดแย้งที่มุ่งเปลี่ยนแปลงรัฐบาลหรือได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองหรือจัดสรร
ผลประโยชน์ (กลุ่มอำนาจ/ผลประโยชน์)
๕.๓) ความขัดแย้งท่ีมุ่งแยกตัวเป็นอิสระ (อัตลักษณ์/ชาติพันธุ์) ซึ่งเหล่านี้จะเป็นการต่อส้กู นั
ระหวา่ งกลุม่ คนทมี่ คี วามเชอื่ แตกตา่ งกนั ชาตพิ นั ธุ์ หรือสถานะทางสังคม และเศรษฐกจิ
ความขัดแย้งที่กล่าวมานี้มักจะเป็นการต่อสู้ระหว่างกลุ่มคนที่มีความแตกต่างกันในด้านความเชื่อ
ชาติพนั ธ์ุ หรอื สถานะทางเศรษฐกิจ สงั คม และอาจก่อใหเ้ กดิ ความแตกแยกในสงั คม ก่อใหเ้ กดิ ความสูญเสียทั้ง
ทางชวี ติ และจติ ใจระหวา่ งคนในสังคม เกิดการแบง่ ฝ่ายอยา่ งชดั เจน มีทศั นคตทิ เี่ ปน็ ศตั รกู นั มุ่งทำร้ายกนั และ
เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๕๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
ตอบโต้กันในระดับที่การดำรงอยู่ของฝ่ายเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายของตน รวมถึงการเกิดความ
ตอ่ ต้านในความพยายามใด ๆ ทจ่ี ะประนีประนอม
๒.๓ แนวคิดเก่ียวกบั ความขัดแยง้
แนวความคิดที่เกี่ยวกับความขัดแย้ง แนวความคิดที่เกี่ยวกับความขัดแย้งได้ให้มุมมอง ความเช่ือ
เก่ยี วกบั ความขัดแยง้ ไว้ ๓ ทศั นะ ไดแ้ ก่ (Robbins, ๒๐๐๑ อา้ งถึงในศริ วิ รรณ มนอัตระผดงุ , ๒๕๕๙)
๑) แนวคิดแบบดั้งเดิม ช่วง ค.ศ.๑๙๓๐-๑๙๔๐ (The Traditional View) เป็นมุมมองยุคเริ่มแรก
ท่ีเชื่อวา่ บรรดาความขดั แยง้ ทัง้ หลายลว้ นเปน็ สง่ิ ท่ีเลวรา้ ย ความขดั แยง้ ถกู มองในแงล่ บโดยมองว่าเป็นการสร้าง
ความรุนแรง (Violence) การทำลาย (Destruction) หรือความไร้เหตุผล (Irrationality) มองว่าความขัดแย้ง
จึงเปน็ เรื่องท่เี สียหายควรหลีกเล่ยี งใหเ้ กิดขึ้นในองคก์ าร
๒) แนวคิดเชิงมนุษยสัมพันธ์ ช่วงระหว่างทศวรรษ ๑๙๔๐ - กลางทศวรรษ ๑๙๗๐ (The Human
Relations) มุมมองเชิงมนุษยสัมพันธ์เชื่อว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นได้โดยธรรมชาติได้ในทุกกลุ่ ม
หรือทุกองค์การเนื่องจากความขัดแยง้ เป็นส่ิงทีม่ ิอาจหลีกเลี่ยงได้ ความขัดแย้งไม่สามารถขจดั ความขัดแยง้ ให้
หมดไป และหลายครง้ั ทีค่ วามขัดแยง้ ได้สง่ เสรมิ การทำงานของกลุ่ม
๓) แนวคิดแบบนักปฏิสัมพันธ์ ( The Interactionist View) หรือ แนวความคิดสมัยใหม่
(Contemporary View ในขณะท่มี ุมมองเชิงมนุษยสัมพันธใ์ ห้การยอมรับเร่ืองความขัดแย้งน้ันแนวคิดแบบนัก
ปฏิสมั พันธ์กลับกระตุ้นสง่ เสรมิ ให้เกดิ ความขดั แย้งข้นึ และความขดั แย้งไว้ในองค์การในระดับที่เพียงพอที่กลุ่ม
ยังสามารถทำงานร่วมกันได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ตนเองและเกิดความคิดสร้างสรร ค์ใหม่ ๆ ขึ้น
กล่าวคือ ความขัดแย้งในสมัยใหม่นี้มีมุมมองแบบนักปฏิสัมพันธ์จากแนวคิดทั้ง ๓ กลุ่มนี้สามารถ
สรปุ ได้เปน็ ๒ กลมุ่ คือแนวคิดแบบดงั้ เดิม และแนวคิดสมัยใหม่ โดยนกั วชิ าการที่สนับสนนุ แนวคิดแบบดั้งเดิม
คือ Max Weber และ Frederick Taylor ที่มีความคิดเห็นตรงกันว่า ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่ไม่มีประโยชน์เปน็
การทำให้การปฏิบัติงานมีผลสัมฤทธิ์ต่ำก่อให้เกิดความเฉื่อยชา และไม่สร้างสรรค์ โดยได้ค้นหาวิธีแก้ปัญหา
ความขัดแย้ง อาทิ การออกกฎระเบียบ มีกระบวนการที่เข้มงวด เพื่อที่จะให้ความขัดแย้งหมดไปแต่สำหรับ
แนวคิดสมัยใหม่มีความเห็นว่าความขัดแย้งเป็นธรรมชาติหลีกเลี่ยงไม่ได้จึงต้องรักษาระดับให้เหมาะสม
เพือ่ สง่ ผลให้การปฏิบัติงานดีและองค์การมีความเจริญก้าวหน้า (ศุภกร อิ่มวฒั นกลุ ,๒๕๕๓ อา้ งถึงใน ศิริวรรณ
มนอัตระผดุง, ๒๕๕๙)
แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง เกิดขึ้นมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้มีผู้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม
ความขดั แยง้ แตกต่างกัน ๓ กลุม่ ดงั น้ี (กอบกลุ วิศษิ ฏ์สรศกั ดิ์, ๒๕๖๐)
๑) แนวคิดสมัยดั้งเดิม (Traditional View) มีความเห็นว่า ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดีส่งผลกระทบ
ด้านลบต่อองค์กร จงึ ควรหลกี เลีย่ งมใิ ห้มใี นองคก์ ร ดังนั้นผู้นำในองค์กรจึงต้องบรหิ ารจดั การไม่ให้ความขัดแย้ง
คงอยู่ เชน่ ดว้ ยวิธีออกกฎระเบยี บมาใชใ้ นองค์กร เป็นต้น
เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๕๒
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
๒) แนวคิดด้านมนษุ ยสมั พันธ์ (Human Relation View) เหน็ วา่ ความขัดแยง้ เปน็ สง่ิ ท่ีมตี ามธรรมชาติ
หลกี เลย่ี งได้ยากในองคก์ รพัฒนา ทศั นะน้จี ึงยอมรับความขดั แยง้ เพราะอาจมปี ระโยชน์ในบางโอกาส
๓) แนวคิดสมัยใหม่ เห็นว่าความขัดแย้งเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงยากย่อมเกิดขึ้นในองค์กร และเห็นว่าความ
ขัดแย้งอาจนำไปสู่การส่งเสริมการปฏิบัติงานให้เกิดผลดี เช่น ช่วยกระตุ้นแรงจูงใจให้คนหาทางแก้ปัญหา
ดังนั้นแนวคิดสมัยใหม่ จึงสนับสนุนผู้บริหารรักษาระดับความขัดแยง้ ให้อยู่ระดับต่ำสุดเพื่อให้องค์กรเติบโตได้
อย่างสร้างสรรค์ จากแนวคิดความขัดแย้งข้างต้นจะเห็นมุมมองเกี่ยวกับความขัดแย้งในทิศทางที่เป็นโทษ
ตอ้ งขจัดให้หมดไป และที่เป็นคณุ คอื เสรมิ ให้การทำงานมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ
๒.๔ ปจั จยั หลัก และปัจจยั รว่ มทกี่ อ่ ใหเ้ กิดความขัดแย้ง
กรุณา มธลุ าภรังสรรค์ (๒๕๖๔) ไดพ้ ูดถึงสาเหตุของความขัดแย้งในสงั คมไทยเอาไว้ ดงั น้ี
๑) ความไมล่ งตัวกันทางความเห็นทางการเมือง ตง้ั แตใ่ นอดตี แล้วท่ีคนสยาม คนไทย หรือจะเรยี กด้วย
ศัพท์อะไรก็ตามมีการสร้างระบอบการปกครองจากชุมชนเล็ก ๆ สู่อาณาจักรขนาดใหม่ แต่เมื่อใดก็ตามที่มี
แสดงความคิดเห็นของตนให้ผู้อื่นได้รับรู้ผู้ที่มีความคิดเห็นเช่นเดียวกันก็จะถูกมองว่าเป็นฝ่ายเดียวกัน
ผู้ทมี่ ีความเห็นตา่ งออกไปกจ็ ะถูกมองว่าเปน็ ศตั รูมีการต่อสู้เพ่ือแยง่ ชิงอำนาจเป็นวัฏจกั รอยา่ งน้ีเรอื่ ยไป
๒) การไม่ยอมรับในความเห็นของฝ่ายอื่น เมื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลก้าวขึ้นมามีอำนาจสูงสุดในการ
ปกครอง ตนเองกย็ ่อมต้องการท่ีจะมีสิทธิเ์ ด็ดขาดในสังคมจึงมิไดร้ บั ฟังความคิดเห็นท่ีแตกต่างออกไป ด้วยเห็น
วา่ เปน็ ผทู้ ี่คดิ ต่อต้าน แต่เมอ่ื ขาดการรบั ฟังก็ทำใหเ้ กดิ ความหลงระเริงในอำนาจ การฉ้อราษฎรบ์ ังหลวง และสิ่ง
เปน็ ผลเสยี ตอ่ สังคมอีกมากมาย
๓) การไม่ยอมรับในอำนาจที่อีกฝ่ายได้รับ กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจไม่ว่าจะสมัยใด
ก็ตามฝ่ายอำนาจเก่ามักจะไม่ยอมรับในอำนาจของอีกฝ่ายเพราะทำให้ตนสูญเสียอำนาจ เกิดการต่อต้านเพื่อ
เรยี กรอ้ ง รอ้ งขออำนาจ ทำให้อำนาจกลายเป็นเครือ่ งมือในการต่อรองทางการเมืองอกี อย่างหน่ึงไปโดยปริยาย
มกี ารต้งั กลุ่มเพือ่ ดำเนินการตอ่ ตา้ น ท้งั ที่เปดิ เผย เปน็ กล่มุ ลับใชท้ ัง้ วิธีสะอาด และสกปรก
๔) ผลประโยชน์ ทก่ี ล่าวไว้ข้างต้นว่า อำนาจกลายเปน็ เคร่ืองมือต่อรองทางการเมือง เพราะอำนาจนั้น
สามารถก่อให้เกิดผลประโยชน์ได้ แต่เมื่อผลประโยชน์ที่ได้ถูกจัดแบ่งไม่เท่ากัน ก็ก่อให้เกิดเป็นความขัดแย้ง
ขึ้นมาได้อีกเช่นกัน เช่น การขัดแย้งผลประโยชน์ตำแหน่งทางการเมือง การขัดแย้งผลประโยชน์ทางการค้า
และการทำทุกวิถีทางเพื่อให้ตนยังคงไวซ้ งึ่ อำนาจและผลประโยชน์
เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๕๓
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๓. การจดั การความขดั แยง้ และการสร้างการปรองดอง
จากการพิจารณาภาพรวมของความขดั แย้งข้างตน้ ในสว่ นท่ี ๓ นจ้ี ะนำเสนอแนวทางการจัดการความ
ขัดแย้งและการสร้างความปรองดองในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งเครื่องมือการจัดการความขัดแย้งที่มีการ
ดำเนนิ การท้งั ในอดตี และปัจจุบัน ตลอดจนขอ้ เสนอของการจดั การดังกลา่ วในมติ ทิ างวชิ าการซ่ึงอาจจะยังไม่ได้
มกี ารนำมาใช้อย่างเตม็ รปู แบบในสถานการณ์ปจั จบุ ัน ดงั มรี ายละเอียดโดยสังเขปต่อไปนี้
๓.๑ นิยาม ความหมาย การจดั การความขัดแย้งและการสรา้ งความปรองดอง
การจัดการความขัดแย้ง ไม่ใช่การยุติความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management) มี
เป้าหมายใหผ้ ู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย (ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียs) ทุกฝ่ายเห็นสถานการณ์ในภาพเดียวกันเข้าใจ และยอมรว่ มมือ
กันอย่างแท้จริง ซึ่งจำเป็นต้องใช้เวลาความอดทน ทักษะ และบุคลากรเฉพาะที่มารับหน้าที่เป็น Facilitator หรือผู้
อำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรม ซึ่งตำแหน่งนี้จะไม่มีบทบาทหรือสามารถเป็นผู้ตัดสินพิพากษา หากแต่
เป็นได้เพียงผู้ไกล่เกลี่ยให้เกิดการจัดการความขัดแย้งเท่านั้น(ส่วนมากมักลงเอยที่การประนปี ระนอม) ในขณะที่การ
ยุติความขัดแย้งคอื การกระทำใดก็ตามที่ทำให้สถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ๆ จบลง เช่น การปะทะกันให้ราบไปขา้ ง
หนงึ่ การหนเี อาตวั รอด การอาศยั กระบวนการตอ่ รอง และใช้อำนาจศาล (Maywadee Lertphadungtham, ๒๐๑๖)
ปรองดอง คือ ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน ตกลงกันด้วยความ ไกล่เกลี่ย ตกลง
กันดว้ ยไมตรีจิต (พจนานุกรม ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๔ อ้างถงึ ในเจริญ ทุนชยั และคณะ, ๒๕๖๐) ปรองดอง
ในความหมายในแง่มุมเชิงทฤษฎี และแนวทางการปฏิบัติ โดยในแง่มุมเชิงทฤษฎีนั้นการปรองดอง
ไดแ้ ก่กระบวนการตา่ ง ๆ ทป่ี ้องกนั แก้ไขไมใ่ ห้ความขัดแยง้ เกดิ ขึ้นมาใหม่อีกครงั้ โดยการสร้างสันติภาพหยุดย้ัง
วงจรความรุนแรงและสร้างสถาบันที่เป็นประชาธิปไตย ให้กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง แต่ในส่วนของแนวทางการ
ปฏิบัติน้ันเป็นที่ยอมรับวา่ อาจไมง่ า่ ยนัก ที่จะสามารถทำตามแนวคิดเชงิ ทฤษฎขี องการปรองดองเนื่องจากการ
ปรองดองไม่ใช่การกระทำที่จะสามารถแยกออกจากสังคมที่มีปัญหาความขัดแย้ง และความหวาดกลัวอย่าง
รนุ แรงออกไปได้การปรองดองไมใ่ ช่เหตุการณ์ท่ีเกิดข้นึ แต่เป็นกระบวนการที่ยากลําบากยาวนาน คาดเดาไม่ได้
และเกี่ยวข้องกับการวางแผนขั้นตอน และวิธีการต่าง ๆ ที่หลากหลายและต้องมีการกระทำอย่างต่อเนื่อง
เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ เช่น การมีสันติธรรมแทนที่จะแก้แค้นการจัดการ ความทรงจำร่วมกัน
และสร้างการอธิบายจาก มุมมองต่าง ๆ ของคู่ขัดแย้งอย่างเท่าเทียมกัน การสร้างความปรองดองเป็น
กระบวนการที่นาํ ไปสู่การลดความเกลียดชังแตกแยกและสร้าง ความไวว้ างใจ เพ่ือฟื้นคืนความสมั พันธ์ระหว่าง
กลุ่มคนที่เคยขัดแย้งรุนแรงโดยผ่านการแสดงความรับผิดชอบต่อการกระทำในอดีตการยอมรับ ความจริงท่ี
เกดิ ข้ึนการเมตตาให้อภัยตลอดจน การมองภาพอนาคตของสังคมร่วมกัน (AbuNimer, ๒๐๐๑ อ้างถึงในเจริญ
ทุนชัยและคณะ, ๒๕๖๐)
ดังนั้น การปรองดองจึงหมายความว่าประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน และเป็นกระบวนการที่
ปอ้ งกนั แก้ไขไม่ให้ความขัดแย้งเกิดข้ึนใหม่ โดยใชว้ ิธที ่ไี มร่ ุนแรงในการแก้ไขปัญหาความขดั แย้ง เช่น ไกล่เกล่ีย
เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๕๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พอื่ ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
พูดคุยเป็นกระบวนการที่นําไปสู่การลดความเกลียดชังแตกแยก และสร้างความไว้วางใจ เพื่อฟื้นคืน
ความสมั พันธ์ระหว่างกลมุ่ คนท่เี คยขดั แยง้ กนั
๓.๒ แนวคิด ทฤษฎี หลักการการจัดการความขัดแยง้ และการสรา้ งความปรองดอง
Johnson David, & Johnson Roger (๑๙๘๗) มีแนวคิดการจัดการแก้ไขความขัดแย้ง ว่าบุคคล
แตกต่างกัน จึงใช้กลยุทธ์ในการจัดการความขัดแย้งโดยแต่ละคนมีรูปแบบการแก้ปัญหาเป็นของตน สามารถ
เปลี่ยนแปลงการเรียนรู้และหาวิธีการใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพในการจัดการความขัดแย้งในภาวะขัดแย้ง
ประเด็นหลกั ทีต่ ้องใหค้ วามสำคัญคือ คอื ๑. การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคส์ ่วนตัว เน่อื งจากเมอ่ื อยู่ในภาวะขัดแย้งคน
แตล่ ะคนจะมีวัตถุประสงค์ท่ีแตกตา่ งจากผู้อน่ื และ ๒. การรกั ษาสัมพันธภาพกับบคุ คลอื่น
ซึ่งการแก้ปัญหาความขัดแย้งมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และบคุ ลิกของผู้ขัดแย้งว่า เป็นอย่างไร
ผู้ทม่ี ีบทบาทสำคัญในการจดั การความขัดแย้ง ตอ้ งเลือกวธิ กี ารแก้ปัญหาให้ถูกวิธีและพยายามทำให้ทุกคนรู้สึก
ว่าตนเองเป็นผู้ชนะ องค์กร/สังคมนั้น ๆ จึงจะประสบความสำเร็จ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ที่เปลี่ยนจาก
การทำลายด้วยมูลเหตุจากความขัดแย้ง (Destructive Conflict) ให้กลายเป็นความขัดแย้งที่สร้างสรรค์
(Constructive Conflict) ต้องพจิ ารณาท่ีเนื้อหาของความขดั แยง้ แทนที่จะมองที่ตวั บุคคล โดยวิธีการดังกล่าว
นี้เป็นการมุ่งที่จะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นมากกว่าการตำหนิ (Blaming) คู่กรณี ซึ่งไม่สามารถสร้างผลดีต่อฝ่ายใด
ท้งั ส้นิ หากแตจ่ ะเป็นการกอ่ ให้เกดิ ความขัดแยง้ เพิ่มมากขึน้
กลุม่ นกั วชิ าการและผู้ที่ปรารถนาให้ความสมานฉนั ท์เกิดขึ้นอย่างแท้จริง ได้มคี วามพยายามหลายคร้ัง
เพื่อนำเสนอให้มีกระบวนการรับฟังกันและกันด้วยใจที่ไร้อคติ (Dialogue) แต่ก็พบกับความล้มเหลว
ทเ่ี ป็นเช่นน้นั ผเู้ ขียนวิเคราะหไ์ ด้ ดงั นี้ (สพุ ตั รา จิตตเสถยี ร, ๒๕๖๓)
๑) แกนนำของค่ขู ดั แยง้ ไมเ่ ข้าใจอย่างลกึ ซ้ึงต่อการเจรจาตามแนวทางสันติวิธี
๒) ต่างฝ่ายตา่ งใช้สันติวธิ ีเปน็ คำพูดทส่ี วยหรูต่อภาพลักษณฝ์ ่ายตน แต่แท้จรงิ ไมส่ ามารถปฏิบัติตามได้
เลย เพราะสิ่งที่มอี ิทธิพลเหนือกว่า สันติวธิ ี คือ กิเลส และความใฝ่มุ่งเอาชนะกัน โดยขาดการคิดถึงประชาชน
ผบู้ ริสุทธิท์ ่ตี อ้ งมาเดือดรอ้ นจากสถานการณ์อนั เลวร้ายที่พวกเขาไม่ได้ก่อขึ้น น่นั คอื ปรากฏการณข์ องการลืมนึก
ถงึ การเอาใจเขามาใส่ใจเราน่นั เอง
๓) การไม่ยอมรับกฎ กติกา ตามแนวทางประชาธิปไตยอย่างแท้จริงทำให้มักอ้างสิทธิเสรีภาพ
แต่ขาดการคำนึงถึงภาราดรภาพ คือ ความเป็นพี่เป็นน้องกัน มนุษย์ทุกคนจะต้องมีความเท่าเทียมกัน
และปฏิบัติต่อกันดุจพี่น้อง ความเป็นพี่เป็นน้องเป็นสิ่งที่ธรรมชาติมอบให้มนุษย์ คือ การไม่เน้นผิวพรรณ
หรอื เผา่ พนั ธ์ุ
๔) การสื่อสารและการใหข้ ้อมูลแก่สังคมมีการบิดเบือนเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มตนจนทำให้คนอืน่ ท่ี
ไม่ได้เกี่ยวข้อง (หรือ คนไม่มีสีเส้ือ ว่าเป็นฝ่ายใด) จะเกิดความสับสน และในที่สุดจะนำมาซึ่งการถูกแทรกแซง
และบ่อนทำลายความมน่ั คง และความสามคั คใี นชาตไิ ด้
เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๕๕
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
๕) ผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจยุติความขัดแย้งที่เกิดขึ้นต้องถามใจตัวเองให้ชัดเจนว่า “พวกท่าน
ทั้งหลายรักชาติรักแผ่นดินนี้อย่างแท้จริงหรือไม่” เพราะนั่นหมายถึง เราจะค้นหาทางออกท่ี เป็นจุดหมาย
ร่วมกันท่ีต่างฝา่ ยตา่ งชนะนน่ั คือประเทศชาติชนะมิใชใ่ ครกลมุ่ ใดกลมุ่ หนึง่ ชนะ
ความขัดแยง้ ท่นี ำไปสคู่ วามรนุ แรงในสงั คมไทยไดย้ กระดับและขยายผลเพอื่ เอาชนะกันจำเป็นที่จะต้อง
มีกระบวนการเพื่อยุติความขัดแย้งเข้ามาจัดการแก้ไขปัญหา ซึ่งในหลักการสากลมักเริ่มต้นจากการเจรจาไกล่
เกลี่ย โดยจะเป็นเจรจากันเองระหว่างคู่ความขัดแย้งหรือมีคนกลางเข้ามาดำเนินการให้ หรือการใช้
อนุญาโตตุลาการ หรือการฟ้องร้องเข้าสู่กระบวนการทางศาล หรือการใช้กระบวนการนิติบัญญัติในการออก
กฎหมาย ในหลายประเทศที่ประสบปัญหาจากความขัดแย้งทางการเมืองที่รุนแรงยืดเยื้อ ได้นำกระบวนการ
ของความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice) มาใช้ในการสร้างความปรองดองในระดับชาติ
โดยมีเป้าหมายเพื่อลดอคติความเกลียดชัง สร้างความไว้วางใจระหว่างผู้ที่มีความขัดแย้งรุนแรงที่ต้องใช้เวลา
และดำเนินการอย่างเป็นองค์รวม โดยคำนึงถึงสทิ ธิของผูท้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากความรุนแรงเปน็ หลัก
ในทางสากล ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านครอบคลุมถึงวิธีการ ดังต่อไปนี้ (สถาบันพระปกเกล้า,
๒๕๕๕ อา้ งถงึ ในกลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ๓ สำนกั วชิ าการ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร, ม.ป.ป.)
๑) การค้นหาและตรวจสอบขอ้ เท็จจริง เพอ่ื การรบั รู้ คล่ีคลายสาเหตปุ มปญั หา
๒) การยอมรบั ขออภยั และแสดงความรับผดิ ชอบต่อการกระทำผิด
๓) การนิรโทษกรรม (Amnesty) และการให้อภัย โดยมีข้อยกเว้นให้การนิรโทษกรรมกับผู้กระทำ
ความผิดในกรณีละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนระดับของอาชญากรรมสงคราม อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ และการล้าง
เผ่าพนั ธ์ุ
๔) การเยียวยาและชดเชยให้กับผ้ทู ี่ไดร้ บั ผลกระทบจากความรนุ แรง
๕) การปฏริ ปู หรอื ปรับเปลย่ี นโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจและสงั คมเพื่อลดความเหล่ือมล้ำแบ่ง
สรรอำนาจทางการเมืองให้เกิดดุลยภาพในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรเพ่ือป้องกนั การก่อเกิดขน้ึ ซำ้ ของความขัดแย้ง
๓.๓ เครื่องมอื ในการแกไ้ ขการจดั การความขัดแย้งและการสรา้ งความปรองดอง
การแก้ไขความขัดแย้งกลายเป็นความยืดเยื้อและรุนแรง จึงต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบและต้อง
แก้ไขที่รากเหง้าของปัญหาอย่างแท้จริง การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทาง
การเมือง สังคม และเศรษฐกจิ ตลอดจนทัศนคตแิ ละความสัมพนั ธร์ ะหว่างคู่ขดั แย้งหรือกลุ่มผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย
ซึ่งมุ่งเน้นในการขจัดเงื่อนไขของความขัดแย้งเพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
ไปสกู่ ารเกดิ สนั ตสิ ุขที่ย่งั ยืนในสังคม
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๕๖
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
Edward Azar อ้างถึงใน Abu-Nimer (๒๐๐๑) เห็นว่าการจัดการความขัดแย้งที่เรื้อรัง (Protracted
conflict) ที่เกิดการสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินนั้นไม่สามารถใช้การจดั การความขัดแย้งทางทหารที่เน้นทยุติ
ความขดั แย้งชั่วคราว โดยปราศจากการเขา้ ไปตอบสนองความตอ้ งการพนื้ ฐานของมนุษย์
ในขณะที่ Galtung อ้างถึง Miall et al (๑๙๙๙) เสนอ ๓ แนวทาง ประกอบด้วย ๑) การแก้ปัญหาท่ี
รากเหง้าที่ระดับโครงสร้าง ๒) การฟื้นฟูบูรณะผู้คน สังคม สังคมภายหลังการเผชิญความรุนแรงทางตรง
๓) การปรองดองระหว่างฝา่ ยต่าง ๆ ที่ขัดแยง้ กัน ความรุนแรงมผี ลก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม หากยุติความ
รุนแรงได้จะก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมในวงกว้าง การจัดการความขัดแย้งต้องทำควบคู่กันในหลายระดบั ดว้ ยการ
ลดพฤติกรรมความขัดแยง้ ให้น้อยลง สร้างความเข้าใจ และเปลี่ยนความสัมพันธ์ ความรุนแรงทางตรงที่เหน็ ได้
ชัดเจน สามารถยตุ ิไดด้ ้วยการเปลยี่ นพฤติกรรมเพ่ือนำไปสกู่ ารลดความขดั แยง้ ความรุนแรงเชงิ โครงสรา้ งยุติได้
โดยการเปลี่ยนโครงสร้างและความไม่เป็นธรรม และความรุนแรงทางวัฒนธรรมสามารถยุติได้ด้วยการ
เปล่ียนแปลงทศั นคติที่ไม่ดีตอ่ กนั
การแก้ไขความขัดแย้งนั้นสามารถเลือกใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการในการยุติความรุนแรงได้หลากหลายวิธี
ไดแ้ ก่
๑) การเจรจา (Negotiation) เป็นการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแบบสันติวิธีด้วยการแสดงออกซึ่ง
ข้อเสนอที่ต้องการให้ได้รับการตกลงบนพ้ืนฐานของประโยชนท์ ี่จะเกิดขึ้นร่วมกัน (Fred C. Ikle, ๑๙๖๔) และ
เป็นการสร้างความสัมพันธ์ในการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือความรู้สึกของกันและกัน (Wanchai
Watthnasap, ๒๐๐๙) หรอื เป็นการแสดงออกถึงความตั้งใจ ความพยายาม ความมุ่งหมายที่อยากจะมีการตก
ลงรว่ มกันเพื่อหาข้อยตุ ิทีจ่ ะยึดถือเป็นแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ตี ่อกันในอนาคต (Nopnithi Suriya, ๑๙๘๓)
๒) การไกล่เกลี่ย (Reconciliation) เป็นการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแบบสันติวิธี ในกรณีที่คู่กรณีไม่
สามารถหาข้อยุติรว่ มกันได้ จงึ ต้องอาศัยบุคคลท่ีสามที่ท้ังสองฝ่ายยอมรับเข้ามามสี ่วนร่วมในการเจรจาเพื่อหา
ข้อตกลงหรือหาทางออกให้กับปัญหาความขัดแย้งร่วมกัน โดยจะดำเนินการในลักษณะไกล่เกลี่ยโดยคนกลาง
(Mediation) (Wanchai Watthnasap, ๒๐๐๙) หรือ ไกลเ่ กลีย่ โดยอาศัยคนกลางเปน็ คนติดต่อเชื่อมประสาน
(Good Officer or Facilitator) (Clyde Eagleton, ๑๙๘๔) ทัง้ สองฝา่ ยกไ็ ด้
๓) การสานเสวนา (Dialogue) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสนทนา ที่มุ่งให้เกิดความเข้าใจ ทั้งมุมมอง
ของตนและของผู้อื่นได้ดียิ่งขึ้น โดยรากศัพท์แล้ว dia แปลว่าผ่าน logos แปลว่าคำหรือความหมาย เมื่อ
รวมกันได้เป็นคำว่า dialogue ซึ่งหมายถึงกระบวนการทำให้เกิดความหมายที่ไหลลื่นผ่านไปในหมู่ผู้
สนทนา เมื่อแปลเป็นไทยว่าสานเสวนา ซึ่งหมายถึงการสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ (เสวนา) ที่มุ่งสาน
ความหมายและความเข้าใจ โดยยอมรบั ความแตกต่างของจุดยนื ความคดิ และอัตลกั ษณ์ของผู้สนทนา การนำ
การสานเสวนามาใช้เพื่อการจัดการความขัดแย้ง เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจและเห็นใจซึ่งกันและกัน
เพื่อปรับความสัมพันธ์ระหว่างกัน ตลอดจนร่วมกันหาทางออกหรือปรับโครงสร้างต่าง ๆ ภายใต้การยอมรับ
ความแตกต่างระหว่างกัน
เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๕๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
๔) การประชุมเสวนาทางออก (Deliberation) เป็นกระบวนการที่นำไปสู่การตัดสินใจในเรื่องยากท่มี ี
หลายฝ่ายเกีย่ วข้อง และแตล่ ะฝ่ายมคี วามคดิ เห็นทแี่ ตกต่างกนั การสานเสวนาอาจไมจ่ ำเป็นตอ้ งมีการตัดสินใจ
ร่วมกันก็ได้ (วันชัย วัฒนศัพท์, ๒๕๕๐) ซึ่งในกระบวนการสานเสวนาทางออกดังกล่าวสามารถจำแนกได้ท้ัง
การประชาเสวนาหาทางออก (Public Deliberation) การตัดสินใจด้วยการเสวนาหาทางออก (Deliberative
Decision Making) และการเมอื งของการเสวนาหาทางออก (Deliberative Politics) โดยในแต่ละแนวทางจะ
มแี นวคิดและใหค้ วามสำคญั กบั ผ้เู ขา้ รว่ มรวมถงึ เสยี งของประชาชนที่แตกต่างกัน
๕) การจัดการความขัดแย้งทางสังคม และการเมืองไทยไม่ได้อยู่ที่การจับคู่กรณีฝ่ายตรงข้ามมา
เผชิญหน้า นั่งคุยกันแล้วปัญหาก็จะหมดไป แต่จะต้องมีกระบวนการที่ต่อเนื่องในการส่งเสริมให้ประชาชนทกุ
คนมีส่วนร่วมในกระบวนการประชาธิปไตยชุมชน การประนีประนอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงบางคนได้เพียง
ชั่วข้ามคืนคนเคยคิดอย่างไรหรือเคยชอบใครก็ยังคงคิด และชอบอยู่อย่างนั้น อาจจะลง “ใต้ดิน” ไปชั่วคราว
เพราะการรัฐประหาร พอรัฐประหาร “เสื่อมมนต์” ไปก็พร้อมจะปะทุขึ้นมาได้อีกทุกเมื่อ นั่นก็คือสูตรการร่าง
รัฐธรรมนูญใหม่ และการเลือกตั้งใหม่ไม่เป็นสาเหตุให้เกิดการปรองดองได้ (อรอนงค์ พุกกะคุปต์ , ชัยโรจน์
เจรญิ ชยั กรณ์ และนภิ าพร พทุ ธพงษ์, ๒๕๕๘)
๔. ตวั อยา่ งความขดั แย้งทางการเมอื งและการแกไ้ ขปัญหา ระบบและกลไกการสรา้ งการปรองดองของ
ตา่ งประเทศที่มลี กั ษณะใกล้เคยี งกับสถานการณใ์ นประเทศไทย๑
ในส่วนนีจ้ ะนำเสนอข้อมูลตัวอยา่ งสถานการณค์ วามขัดแย้งทางการเมืองและแนวทางการแก้ไขปัญหา
ความขดั แย้งทีเ่ กิดข้ึนในประเทศต่าง ๆ ซง่ึ มบี ริบทคล้ายคลงึ หรือใกล้เคยี งกบั สถานการณค์ วามขดั แย้งท่ีเกิดข้ึน
ในประเทศไทย โดยตัวอย่างประเทศ/เมืองที่ได้นำมาศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง และ
ประเทศสเปน ซง่ึ มรี ายละเอยี ดโดยสรุป ดังน้ี
๔.๑ สถานการณใ์ นฮอ่ งกง
การชุมนุมประท้วงเริ่มจากม็อบหน้ากากบุกยึดอาคารสภานิติบัญญัติในเดือนกรกฎาคม มีการทุบ
ทำลายโต๊ะเก้าอี้และขีดเขียนภาพเจ้าพนักงานรัฐจนได้รับความเสียหาย เหตุการณ์นี้สร้างความไม่พอใจ
จนกลายเป็นชนวนให้เกิดความขัดแย้งกับม็อบอีกฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาล มีผู้ประท้วงฝ่ายเรียกร้อง
ประชาธิปไตยถูกดักทำร้ายในสถานีรถไฟใต้ดินหยวนหล่าง ส่งผลให้สถานการณ์ตึงเครียดขึ้นไปอีก ผู้ประท้วง
ก็ยงั จดั การชุมนุมอยา่ งต่อเน่ืองในทุกสุดสัปดาห์ เน่อื งจากหวาดระแวงว่ารัฐบาลอาจร้ือฟ้ืนร่างกฎหมายการส่ง
ผรู้ า้ ยข้ามแดนกลับข้ึนมาพิจารณาอีกในอนาคต ดังนั้นจึงมีการยกระดับการชุมนุมให้สร้างแรงกดดันต่อรัฐบาล
ยิ่งขึ้นจนนำไปสู่การปิดสนามบิน ซึ่งถือเป็นการพลิกโฉมหน้าการประท้วงขึ้นไปอีกขั้น ขณะเดียวกันก็บีบให้
๑ ท้งั นส้ี ถานการณ์ในต่างประเทศทมี่ ีความใกลเ้ คียงกบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทยจะถูกพจิ ารณาและนำเสนอเพิม่ เตมิ อกี ครัง้
หากมีการนำเสนอจากผูท้ รงคณุ วุฒแิ ละหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษาในคร้ังน้ี
เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๕๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
รัฐบาลต้องใช้กำลังปราบปรามผู้ประท้วงอย่างหนักข้อขึ้นด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยาง สเปรย์พริกไทย
รวมถึงการฉีดนำ้ แรงดันสงู (คมปฑติ สกลุ หวง, ๒๕๖๓)
สว่ นจดุ ยนื ของจนี ก็คือไม่ต้องการให้กรณขี องฮ่องกงกลายเปน็ ตวั อย่างของการทอี่ อกมาเรียกร้องอะไร
แล้วกไ็ ดส้ ิ่งน้นั ตามที่ต้องการ สำหรบั จีนแล้ว ถ้าอยากได้อะไรให้มานั่งลงพดู คยุ กัน หรือประนีประนอม หรือให้
มีการปรบั เปลี่ยนแบบค่อยเปน็ ค่อยไป แต่ไม่ใช่วา่ จะออกมาเดินขบวนปิดถนนแลว้ จะได้ในส่ิงท่ีต้องการ ซึ่งเป็น
ตวั อย่างท่ีจนี ไม่อยากใหเ้ กิดข้ึน แต่การควบคุมไม่ให้เหตุประทว้ งทวีความรุนแรงก็ยังจำเป็นต้องทำอยู่ เพียงแต่
จะใช้กำลังตำรวจเข้าควบคุมสถานการณ์ตามปกติ ย่งิ ผ่านพ้นวันชาตจิ นี มาแล้ว จนี ก็ยงิ่ ไม่มคี วามจำเป็นต้องไป
เร่งให้จบ ความคิดของจีนก็คืออาจปล่อยให้สถานการณ์เป็นแบบนี้ไปเรื่อย ๆ รอให้ผู้ประท้วงเหน่ือยกันไปเอง
หรือรอจนกระทั่งกระแสเบาบางลง หรือให้คนทั่วไปรู้สึกเบื่อและเกิดกระแสโต้กลับ เพราะเวลานี้ประชาชน
จำนวนมากได้รับความเดอื ดรอ้ นจากการชุมนมุ ประทว้ งท่ยี ืดเยอื้ และมคี นบางกลุ่มทเี่ ร่ิมไมเ่ หน็ ด้วยกับแนวทาง
ของผู้ประท้วงที่เป็นคนรุ่นใหม่ เพราะแรกเริ่มคนส่วนใหญ่ที่ออกมาประท้วงคือการคัดค้านและต่อต้าน
กฎหมายส่งผู้ร้ายข้ามแดน เมื่อประเด็นกฎหมายนี้ตกไปแล้ว แรงก็จะแผ่วลงไป เพราะคนที่อยู่ตรงกลา งก็
อาจจะไม่สนับสนุนการประท้วงต่อ ส่งผลให้การชุมนุมจำกัดวงอยู่แต่ในกลุ่มคนหัวรนุ แรง (คมปทิต สกุลหวง,
๒๕๖๓)
ประเด็นความขัดแย้ง เริ่มมาจากการร่างกฎหมายส่งผู้ร้ายข้ามแดน เริ่มต้นจากการที่คณะบริหาร
ฮอ่ งกงของ แคร์รี ลมั ตดั สินใจผลักดันร่างกฎหมายส่งผ้รู า้ ยข้ามแดนในสภานิตบิ ัญญัติ สง่ ผลให้เกิดความกังวล
ว่ากฎหมายใหม่อาจบ่อนทำลายความเป็นนิติรัฐของฮ่องกง ซึ่งถือเป็นอัตลักษณ์ที่ชาวฮ่องกงหวงแหน
เพราะกฎหมายนี้เปิดทางให้ทางการสามารถส่งตัวผู้ต้องสงสัยไปดำเนินคดีที่จีนแผ่นดินใหญ่ ซึ่งถูกมองว่า
เปน็ เคร่อื งมอื ท่จี ีนอาจใช้กำจดั ผู้ที่เหน็ ต่างหรือศตั รูทางการเมืองได้ และถอื เป็นการแทรกแซงระบบยุติธรรมอัน
เป็นมรดกตกทอดจากเจ้าอาณานิคมอังกฤษ ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของชาวฮ่องกง ด้วยเหตุนี้จึงจุดชนวนไฟ
ประทว้ งของคนหัวกา้ วหนา้ ให้กลบั มาลกุ โชนอกี ครง้ั
รากเหง้าของความขัดแย้ง มาจากแนวความคิดเรื่องการปกครองแบบ “หนึ่งประเทศ สองระบบ”
เป็นแนวความคิดที่เดิมที่เป็นข้อเสนอที่เติ้ง เสี่ยวผิง ยื่นให้แก่ไต้หวันระหว่างความพยายามที่จะรวมประเทศ
ในปี ค.ศ.๑๙๗๘ และได้ถกู นำมาใชก้ บั ฮอ่ งกงและมาเกา๊ เมอ่ื องั กฤษและโปรตุเกสมอบการปกครองคืนให้จีนเนื่องจาก
ทั้งสองท่ีเป็นตลาดทุนใหญ่เมือ่ เทียบกับประเทศจีนที่เพิ่งปฏิรูประบบเศรษฐกิจออกมาจากนโยบายคอมมิวนิสตแ์ บบ
เหมาเจ๋อตุง ทั้งฮ่องกงและมาเก๊าได้ถูกใช้เป็นจุดยุทธศาสตร์ในการขยายทุนและโอกาสทางเศรษฐกิจจีน สถานะ
“หนึ่งประเทศ สองระบบ” นั้นจะอยู่จนถึงปี ค.ศ.๒๐๔๗ ทำให้การเปลี่ยนถ่ายอำนาจเปน็ ไปโดยลดสภาวะแรงกดดนั
โดยรัฐบาลจีนสวมบทบาทเป็นผู้แตง่ ตั้ง “ผู้ว่าเกาะฮ่องกง” แทนอังกฤษที่เดมิ จะแต่งตั้งผู้ว่าภายใต้ระบบอาณานิคม
โดยผู้ว่าจะถูกเลือกผ่านคณะผู้เลือกตั้งจำนวน ๑,๒๐๐ คน จากบุคคลที่ได้รับการอนุมัติโดยรัฐบาลจีน โดยคณะ
ผู้ปกครองฮ่องกงที่ได้ผ่านการเลือกตั้งมีหน้าที่ปกครองเกาะฮ่องกงภายใต้ระบบสภาเดียวไม่ต่างจากระบบของสภา
อังกฤษ รัฐบาลจีนกลางทำหน้าที่ปกครองเพียงด้านนโยบายการต่างประเทศและทหารเท่านั้น แต่ทั้งนี้ทิศทางการ
เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๕๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ปฏิบัติของประเทศจีนที่ผ่านมาไม่ได้สร้างความเชื่อมั่นและยังแสดงถึงการเข้ามาก้าวก่ายกฎหมายและข้อตกลงของ
“หน่งึ ประเทศ สองระบบ” มาโดยตลอด ซึง่ สรา้ งความไม่พอใจใหค้ นฮ่องกงจำนวนมากอกี ท้งั ยังส่อื ถงึ ช่องว่างระหว่าง
กลุ่มผลประโยชน์ทางธุรกิจกับประชากรคนรุ่นใหม่ของฮ่องกงที่รู้สึกว่าประเทศจีนได้กลับคำเรื่องหนึ่งประเทศสอง
ระบบอีกทงั้ ยังขาดความเชือ่ มนั่ ในระบบกฎหมายของประเทศจีนอีกด้วย (พชรพร พนมวนั ณ อยธุ ยา, ๒๕๖๒)
กระบวนการสร้างความปรองดองของฮอ่ งกง คือ สภานติ ิบญั ญัตฮิ อ่ งกงไดเ้ พิกถอนร่างกฎหมายสง่ ผู้ร้ายข้าม
แดนออกจากการพิจารณาอย่างเป็นทางการแล้ว หลังจากร่างกฎหมายฉบับนี้ ได้จุดกระแสไม่พอใจให้ชาวฮ่องกง
ออกมาชมุ นมุ ประท้วงยดื เยอ้ื หลายเดือน ขณะเดยี วกัน หนังสอื พมิ พ์ไฟแนนเชียลไทมสร์ ายงานวา่ รฐั บาลจนี กำลังร่าง
แผนการปลดนางแคร์รี ลัม ออกจากตำแหน่ง โดยหากประธานาธิบดีสี จิ้นผิงอนุมัติแผนการนี้ นางแคร์รี ลัมจะถูก
แทนท่โี ดยผู้ว่าการเฉพาะกาลหลังจากฮ่องกงกลับเขา้ สูค่ วามสงบ (BBC NEW, ๒๕๖๒)
สำหรับวิธีการหาทางออก มีนักวิชาการอิสระของฮ่องกงได้รวมตัวจัดงานสานเสวนาเพื่อหาทางออกจาก
ปัญหาที่เกิดขึ้น เมื่อวันเสาร์ที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ที่ฮ่องกงได้มีการจัดงาน Ways Forward: Let’s Talk and
Listen โดยมีจุดประสงค์หลักคือการสานเสวนาเพื่อหาทางออกจากปัญหาการเมือง หลังจากผ่าน ๕ เดือนของการ
ชุมนุมเนื้อหาในงานส่วนใหญ่ วิทยากรได้ลำดับเหตุการณท์ ี่ตนเองเคยผ่านมา และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเหตกุ ารณ์นั้น ๆ
ซึ่งสิ่งหนึ่งที่เห็นพ้องต้องกันคือความรุนแรงไม่ได้นำพาไปสู่ทางออกได้ และภาครัฐต้องรับฟังและพร้อมปรับตัว
ปรับท่าทีเม่อื เหมาะสม งานเสวนาในคร้ังน้ีมจี ุดเดน่ ดังนี้ (Today, ๒๕๖๒)
๑) เปดิ กว้างให้คนทุกอาชพี ทกุ วยั และทกุ แนวคิดทางการเมืองมาเข้าร่วม ในงานมกี ระทงั่ การเสนอแนวคิด
จากฝั่งผู้สนับสนุนจีนที่ถือว่าสุดโต่ง และมีผู้ชุมนุมที่ใช้เวทีนี้ระบายความรู้สึกที่อัดอั้นมานาน แต่จบลงด้วยความ
พยายามในการเปิดพ้ืนท่ีให้มีการพดู คยุ กนั
๒) เวทพี ยายามให้เกิดการมีสว่ นร่วมของผู้เข้าร่วม จากเวลางาน ๗ ช่ัวโมง วิทยากรแต่ละคนมีเวลาพูดเพียง
แค่คนละ ๘ นาทีเท่านั้น งานออกแบบให้คนมีส่วนร่วมมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ผ่านการพูดคุยในห้อง และการ
โหวตทางออนไลน์
๓) การมีส่วนร่วมทางออนไลน์ โดยการจัดงาน มีการไลฟ์สดตลอด และมีการให้คนร่วมโหวตผ่าน
minimeter เพื่อแสดงออกผ่านคำถามต่างๆ เช่นคีย์เวิรด์ ที่สำคัญที่เหมาะกับฮ่องกงตอนน้ีคืออะไร ซึ่งคำที่พูดถึงกัน
มากทีส่ ดุ คอื Solution หรือ ทางออก แต่ในเวลาเดยี วกัน ก็มคี นพดู ถงึ คำวา่ Violence หรอื ความรนุ แรงดว้ ยเชน่ กนั
๔) การสงวนพื้นทีส่ ว่ นตวั ของผูเ้ ข้ารว่ มงานเสวนา ใส่ใจกับเรื่องน้ีเปน็ อยา่ งยง่ิ ดว้ ยสถานการณ์ทางการเมือง
ที่ตอนนี้คนในฮ่องกงระแวงระวังเรื่องความปลอดภัยไปหมด ทำให้ไม่มีการเก็บชื่อผู้เข้าร่วม ไม่มีการฉายภาพคนใน
งาน ในชว่ งทม่ี คี นถามคำถาม การไลฟ์ก็จะปิดเสยี งไม่ใหท้ ราบไดว้ า่ เปน็ ใคร ผลจากความการเสวนาคนทมี่ าร่วมรับฟัง
สว่ นใหญ่ไดร้ ับพลังบวกและประสบความสำเร็จอยา่ งมาก ทา่ มกลางสถานการณก์ ารเมืองท่ีคุกรุ่น
สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างฮ่องกงและจีนมีหลายสาเหตุโดยเริ่มจากการคัดค้านร่างกฎหมายส่งผู้ร้าย
ข้ามแดน อริยพร โพธิใส (๒๕๕๒) ได้อธิบายความหมายของการส่งผู้ร้ายข้ามแดนเอาไว้ดังนี้ การส่งผู้ร้ายข้ามแดน
เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๖๐
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
(Extradition) หมายถึง “การส่งมอบตัวผู้ต้องหาหรือผู้ซึ่งต้องคำพิพากษาให้ลงโทษแล้วไปยังรัฐซึ่งผู้นั้นต้องหาว่า
กระทำความผดิ อาญาหรือถูกพิพากษาให้ลงโทษทางอาญาแลว้ ในดินแดนของรัฐที่ร้องขอให้ส่งตัวโดยรัฐซ่ึงบคุ คลน้นั
ปรากฏตัวอยู่เพื่อส่งตัวบุคคลดังกล่าวมาดำเนินการพิจารณาพิพากษาลงโทษตามกฎหมายต่อไป” กฎหมายฉบับน้ี
สรา้ งความไม่พอใจใหก้ ับชาวฮ่องกงจำนวนมาก
ที่จีนได้ประกาศออกมาว่ามีแผนบังคับใช้กฎหมายความมั่นคงแห่งชาติที่จะทำให้ “การโค่นล้ม การแยก
ดินแดน การก่อการร้ายและการแทรกแซงจากต่างประเทศ” เป็นความผิดอาญา ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ทำให้เสรีภาพใน
การแสดงความคิดเห็น การประท้วงและการคดั คา้ นเป็นอาชญากรรม และอาจหมายรวมถึงจดุ จบของอิสรภาพท่ที าง
จนี เคยไดใ้ ห้การรับรองไวก้ บั ฮ่องกงเมอื่ เขตปกครองพเิ ศษนีถ้ กู ส่งกลับคืนใหจ้ นี ในปี ๑๙๙๗ (เกรซ ฉ่อย, ๒๕๖๓)
จะเห็นได้ว่าวิธีการหาทางออกของสถานการณ์ทางการเมืองของฮ่องกง ทางด้านสภานิติบัญญัติฮ่องกงได้
เพิกถอนรา่ งกฎหมายส่งผรู้ า้ ยข้ามแดนออกจากการพิจารณาอย่างเปน็ ทางการเนื่องจากกฎหมายฉบับบน้ีเป็นต้นเหตุ
ของความขดั แย้งดังกล่าว
การหาทางออกขอสถานการณ์ความขัดแย้งในฮ่องกงได้มีการเชิญผู้นำชุมชน นักวิชาการและผู้แทนองค์กร
วิชาชีพทุกภาคส่วนมาร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่ฝังรากลึกในฮ่องกง และร่างข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในการแก้ปัญหา
นั้น ส่วนทางด้านประชาชนได้มีการจัดงานเสวนาเพื่อหาทางออกจากสถานการณ์ความขัดแย้ง โดยเน้นถึงการเข้าถึง
จากคนทุกกลมุ่ ทัง้ การรับฟังผา่ นทางออนไลน์และเวที เน้นการมสี ่วนร่วมจากผเู้ ขา้ รว่ มเพอื่ ให้ผเู้ ข้ารว่ มได้ระดมความ
คิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการแก้ไข จะเห็นได้ว่าการหาทางออกของสถานการณ์ความขัดแย้งดังกล่าวเป็นการ
พยายามหาทางออกกนั ทง้ั สองฝา่ ยไม่ใชเ่ พียงฝ่ายใดฝา่ ยเดยี ว
๔.๒ สถานการณ์ในประเทศสเปน
สถานการณ์ในสเปนมีกระแสการเรียกร้องเอกราชที่ถูกเร่งเร้าให้ทวีความรุนแรงมากขึ้นไปอีก
หลายเท่าตัวในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ทำให้ผู้คนในสเปนเกิดความรู้สึกแบ่งแยกเป็นฝักฝ่ายอย่างชัดเจน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้สึกเป็นศัตรูระหว่างคนเชื้อสายสเปนและเชื้อสายคาตาลันที่แสดงออกมาอย่างไม่
ปิดบังหนุ่มสาวชาวคาตาลันหลายร้อยคนพากันไปยืนปิดถนนหน้าสำนักงานตำรวจแห่งชาติสเปนในนครบาร์
เซโลนา พร้อมท้ังตะโกนข้อความเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีมาริอาโน ราฆอยของสเปน ถอนกำลังตำรวจ
๑๐,๐๐๐ นายที่ถูกส่งมาปราบปรามการลงประชามติของชาวคาตาลัน ออกไปจากแคว้นของพวกเขาเสีย
ชาวคาตาลันที่มาร่วมชุมนุมบางคนบอกกับผู้สื่อข่าวบีบีซีว่า เขาเคยไม่เห็นด้วยกับการแยกตัวเป็นอิสระจาก
สเปนมาก่อน แต่ตอนนี้เขากลับอยากเป็นพลเมืองของสาธารณรัฐคาตาลูญญาที่เป็นเอกราชอย่างมาก เพราะ
ทุกวันนี้ชาวคาตาลันถูกลิดรอนสิทธิขั้นพื้นฐานไปแทบทุกอย่างโดยรัฐบาลสเ ปนที่เต็มไปด้วยการคอร์รัปชัน
อนา ฮอร์เกส์ สาวสเปนวัย ๒๐ ปีที่มีแฟนหนุ่มเป็นชาวคาตาลันบอกว่า เธอรู้สึกไม่สบายใจเมื่อมาคิดว่าชาว
คาตาลันจะต้องเห็นว่าเธอเป็นคนเลว เพียงเพราะเหตุการณ์รุนแรงที่เกิดขึ้นในวันลงประชามติ อย่างไรก็ตาม
เธอไม่สามารถทนฟังชาวคาตาลันก่นด่าประเทศบา้ นเกิดเมืองนอนของตนได้ (BBC NEWS, ๒๕๖๐)
เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๖๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พอื่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ประเด็นความขัดแย้ง การวิเคราะห์ถึงสาเหตุของวิกฤตการณ์ทางการเมืองในครั้งนี้จำเป็นต้อง
วิเคราะห์ทั้งในมิติทางประวัติศาสตร์ การเมืองและเศรษฐกิจโดยกระแสชาตินิยมของแคว้นคาตาลูญญาน้ัน
ส่วนหน่ึงเกดิ จากประวัตศิ าสตร์การรวมชาตขิ องสเปนทีเ่ กิดจากการรวมกันของแคว้นต่าง ๆ ที่มีความแตกต่าง
ทางอัตลักษณ์ ภาษาและวัฒนธรรม ในขณะเดียวกันประวัติศาสตร์ของสเปนที่มีทั้งความขัดแย้งและ
การต่อสู้กัน ระหว่างกลุ่มการเมืองฝ่ายขวาและฝ่ายซ้าย ได้ก่อให้เกิดความเชื่อมโยง ในมิติทางประวัติศาสตร์
กับปัจจัยทางการเมืองของสเปน กลไกทางการ เมืองของสเปนที่ให้อิสระบางส่วนต่อสภาท้องถิ่นในการ
ปกครอง ขณะที่รัฐบาลกลางก็มีพยายามในการรักษาอำนาจความเป็นรัฐเดี่ยวเอาไว้นั้นได้เป็นทั้งประโยชน์
และข้อจำกัดต่อรัฐบาลคาตาลูญญาในการเสริมอำนาจของตนเองผ่านกลไกต่าง ๆ สว่ นปัจจัยทางเศรษฐกิจนั้น
เป็นเรื่องทจี่ ำเปน็ มากในการอธิบายถึงสถานการณ์ที่เกิดข้ึน แควน้ คาตาลูญญาถือเป็นแคว้นที่ร่ำรวยท่ีสุดแคว้น
หนึ่งในสเปน วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปประกอบกับนโยบายทางการคลังที่มีปัญหาของสเปนได้กลายเป็นแรง
ผลักที่สำคัญของชาวกาตาลันจำนวนมากในการเรียกร้องอิสระจากสเปน จนส่งผลให้เกิดการลงประชามติ
แยกตวั เปน็ เอกราชใน วันที่ ๑ ตุลาคม ค.ศ.๒๐๑๗ ในทีส่ ดุ (ณภัทร พมุ่ ศริ ิ, ๒๕๕๙)
กระบวนการสร้างความปรองดองของสเปน ในเวลานี้ การวิเคราะห์ว่าสเปนและคาตาลูญญาจะมี
ทางออกรว่ มกันอยา่ งไรนนั้ คงเป็นเรอื่ งยาก และเปน็ ไปได้หลายทางดังต่อไปนี้ (ชลิตา สุนนั ทาภรณ์, ๒๕๖๐)
๑) ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมถ้ารัฐบาลกลางใช้ไม้แข็ง ปลดรัฐสภาท้องถิ่นออกทั้งหมดและเอาคณะตัวแทน
จากรฐั บาลกลางเข้าไปแทนนำมาสปู่ ญั หาแน่นอน
๒) เจรจากันโดยมีสหภาพยุโรปเป็นตัวกลาง ซึ่งนี่เป็นสิ่งที่รัฐบาลสเปนไม่ยอมโดยมองว่าเรื่องทั้งหมด
ถอื เป็นกิจการภายในของสเปน
๓) แกไ้ ขรัฐธรรมนูญ ๑๙๗๘ เพ่ือให้สทิ ธปิ ระโยชน์ในการปกครองตัวเองกับคาตาลูญญามากขึน้ ซ่ึงน่ัน
อาจมผี ลกระทบตามมาต่อแคว้นอ่นื ๆ ทตี่ อ้ งการแยกเป็นเอกราชเช่นกัน โดยเฉพาะแคว้นบาสก์
๔) จัดตง้ั สเปนเปน็ สหพนั ธรัฐสเปน
กระบวนการสร้างความปรองดองของสเปน คือ จนถึงตอนนี้ดูเหมือนว่าการเมืองสเปนยังคงไร้
ทางออกสำหรับทุกฝ่ายประชาชนจากทั่วทั้งประเทศ ทั้งกลุ่มผู้สนับสนุนความเป็นเอกภาพและผู้เรียกร้องให้
แยกตัวเป็นอิสระต่างยังคงชุมนุมแสดงจุดยืนของกลุ่มตน โดยเฉพาะจัตุรัสและท้องถนนในเมอื งบาร์เซโลนาใน
การนี้ นายกรัฐมนตรีมาริอาโน ราฆอย ให้การสนับสนุนกลุ่มที่ยืนยันว่า ประเทศสเปนยังอยู่ร่วมกันได้ภายใต้
ความแตกต่างหลากหลายและช่องว่างทางเศรษฐกิจนี้ พร้อมทั้งระบุว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเพียงการคืนสถานะที่
ชอบธรรมด้วยกฎหมายให้แก่แคว้นคาตาลูญญาเท่าน้ัน และยังไม่ถือเปน็ การยกเลิกสิทธ์ิในการปกครองตนเอง
ของแคว้นแหง่ นีอ้ ย่างแนน่ อนนบั จากนี้ไปเราอาจจะต้องจับตาดสู ถานการณ์ก่อนวนั เลอื กตั้งอย่างใกลช้ ิดว่ากลุ่ม
ผู้สนับสนุนสาธารณรัฐในคาตาลูญญาจะเดินหมากเกมนี้ต่อไปอย่างไรเพื่อให้ได้รับ ความชอบธรรมและเสียง
สนับสนุนจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ หากยังคงต้องการทจี่ ะเดินทางเข้าใกลค้ วามฝนั ในการมีประเทศ
เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๖๒
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พือ่ ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
เป็นของตนเองต่อไป และท่าทีจากทางรัฐบาลกลางที่จะดำเนินการนับจากนี้ รวมถึงโฉมหน้ารัฐบาลแคว้น
คาตาลูญญาคณะใหม่ที่จะส่งผลและเปลี่ยนแปลงทิศทางของวิกฤตการเมืองสเปน-คาตาลูญญาที่ดำเนินมา
มากว่า ๓๐๐ ปี (ณรงคก์ ร มโนจันทรเ์ พญ็ , ๒๕๖๐)
คาดการณ์ว่าการต่อสู้ของกาตาลันในอนาคตจะไม่ใช่การเรียกร้องเอกราช แต่อาจเป็นการเจรจา
ต่อรองเพื่อให้ได้อำนาจการปกครองตนเองที่เพิ่มมากขึ้น รัฐบาลชุดปัจจุบันภายใต้การนำของนายเปโดร
ซานเชส มีท่าทีพร้อมจะเจรจาแต่การเจรจาต้องอยู่ในกรอบของรัฐธรรมนูญ และพร้อมที่จะใช้อำนาจ
มาตรา ๑๕๕ (มาตรา ๑๕๕ มีใจความว่า ถ้ารัฐบาลท้องถิ่นไม่สามารถรักษากฎหมายหรือบงั คับใชก้ ฎหมายได้
รัฐบาลกลางสามารถยกเลิกการปกครองตนเองของแคว้นได้แล้วเข้ามาปกครองโดยตรง) แทรกแซงรั ฐบาล
คาตาลูนญาแก้ไขปัญหาการเรียกร้องเอกราชของคาตาลูนญา จากการสำรวจครั้งล่าสุดพบว่า คนสเปนกว่า
๖๐% ต้องการให้มีการเจรจา และมีเพียง ๒๐% เศษเท่านั้นที่ต้องการให้ใช้ไม้แข็ง ผลการสำรวจครั้งนี้จึงเป็น
สัญญาณว่าต้องมีการคยุ กนั (ณรจญา ตญั จพัฒนก์ ลุ , ๒๕๖๔)
จากวิกฤตท่ีเกิดขึ้น ทำให้หลายฝ่ายต่างเสนอให้มีการเจรจา อย่างอียู (EU) ที่ได้แสดงจุดยืนต่อวิกฤต
ดังกล่าว โดยนายฟรานซ์ ทิมเมอร์มาน รองประธานคณะกรรมาธิการยุโรปกล่าวในสภายุโรป เรียกร้องให้
รัฐบาลสเปน และรัฐคาตาลูญญาเปิดการเจรจา โดยระบุว่ามันถึงเวลาต้องคุยกันแล้วเชน่ เดียวกันกับอีกหลาย
กลุ่มทีม่ ีความพยายามหาทางเจรจาเพ่อื ยุตวิ กิ ฤต (มตชิ น, ๒๕๖๐)
จะเห็นว่าปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองของสเปนมสี าเหตหุ ลายปัจจยั ทงั้ ทางดา้ นมติ ิ และทางด้าน
ประวัติศาสตร์ที่มีการต่อสู้เพื่อเอกราชของชาวคาตาลันมาอย่างยาวนานส่งผลให้ความขัดแย้งดังกล่าวยืดเ ยื้อ
และไม่จบส้ิน มีกลุ่มต่อส้เู พอื่ อสิ ระภาพเกดิ ขน้ึ เพือ่ การปกครองตนเองโดยอิสระจากสเปน และก็ถูกปราบปราม
จากสเปนเพื่อลดทอนอำนาจทางการเมืองของแคว้นคาตาลูญญา และยังรวมถึงปัญหาทางความแตกต่างทาง
วัฒนธรรมที่ชาวคาตาลันมีอัตลักษณ์และวัฒนธรรมเป็นของตนเองทำให้ชาวคาตาลั นมีความรู้สึกว่าไม่ใช่
อันหนึ่งอันเดยี วกบั สเปน และสเปนเองก็พยายามทีจ่ ะทลายอตั ลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมของชาวคาตาลนั ไม่ใช่แค่
เพียงปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นแต่เพียงเท่านั้น ยังรวมถึงที่ชาวคาตาลันถูกลิดรอนสิทธิขั้นพื้นฐานบางอย่าง
เช่น การศกึ ษา และระบบสาธารณสุข เป็นตน้
การแสดงออกของชาวคาตาลันต่อเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในครั้งนี้ จำแนกได้เป็นสอง
กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ๑. กลุ่มที่เห็นด้วยกับการประกาศเอกราชของคาตาลูญญา ๒. กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการ
ประกาศเอกราชมกี ลุม่ ชาวคาตาลันที่ไม่เห็นด้วยกบั การประกาศเอกราชในครงั้ น้ซี ่ึงก็คือกลุม่ ต่อต้านการแยกตัว
ของแคว้นคาตาลูญญาออกมาเดินขบวนประท้วง เพื่อเรียกร้องให้มีการเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหาหาความขัดแย้ง
ทางการเมอื งดังกล่าว สว่ นกลุ่มทเ่ี หน็ ด้วยกบั การประกาศเอกราชของคาตาลูญญามีการออกมาชุมนุมในวันชาติ
ของคาตาลันเพื่อเรียกร้องเอกราชและให้ผู้นำการเรียกร้องเมื่อปีที่แล้วได้รับการปล่อยตัว และยังมีการชุมนุม
เพื่อย้ำเตือนว่าพวกเขาต้องการแยกตัวอิสระออกจากเสปนแม้ว่าการประกาศเอกราชแยกตัวเป็นอิสระจาก
สเปนในคร้งั ก่อนจะไมส่ ำเรจ็ ก็ตาม (ประชาไทย, ๒๕๖๒) ได้เขียนว่า มผี ชู้ ุมนมุ พากันโบกธงและสวมเสื้อยืดท่ีมี
เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๖๓
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
คำขวัญว่า “พวกเรากำลังสร้างสาธารณรัฐคาตาลัน” มีผู้คนเปล่งคำขวัญว่า "ท้องถนนจะเป็นของพวกเรา
ตลอดไป" และ "เป็นอิสระ"
การหาทางออกของความขัดแย้งทางการเมืองของสเปนหลายฝ่ายมีการเสนอให้มีการเจรจา
เพื่อหาทางออกและจากการสำรวจพบว่าคนสเปนเกินกว่าครึ่งต้องการให้มีการเจรจาของกลุ่ มคนส่วนใหญ่
ในสงั คมร่วมกันเพื่อหาความเปน็ ไปได้รว่ มกันในการหาทางออก แตก่ ย็ ังไม่มีข้อสรปุ สำหรับปัญหาความขัดแย้ง
ทางการเมืองดังกล่าว เนื่องจากการลงประชามติของแคว้นคาตาลญู ญาในปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีคนเห็นด้วยกับการ
ให้แคว้นคาตาลูญญาเป็นอิสระในรูปแบบสาธารณรัฐ และประกาศเอกราชแต่เพียงฝ่ายเดียว เป็นสิ่งที่ขัดต่อ
รัฐธรรมนูญของสเปนซ่ึงไม่ถูกต้องตามกฎหมายของสเปนแต่ถูกต้องตามกฎหมายของท้องถิ่น แต่ในการเจรจา
เพื่อหาทางออกของความขัดแย้งทางการเมืองดังกล่าวต้องเจรจาอยู่ในกรอบของรัฐธรรมนูญ หากการ
ดำเนินการไม่อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญให้ประกาศใช้มาตรา ๑๕๕ เพื่อแทรกแซงรัฐบาลคาตาลูญญาในการแก้ไข
ปัญหาการเรียกรอ้ งเอกราชดังกลา่ ว จะเห็นวา่ การหาทางออกของความขดั แย้งทางการเมืองโดยการเจรจาของ
สเปนจากหลายฝ่ายนั้นอยู่ภายใต้กรอบสันติวิธเี พื่อไม่ให้ความขัดแย้งดังกล่าวกลายเป็นความรุนแรงและสร้าง
ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ให้มีการสื่อสารแบบสองทางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเพื่อลดอคติ
และความเกลียดชัง แต่รัฐบาลกลางของสเปนมีการใช้อำนาจภายใต้มาตรา ๑๕๕ ของรัฐธรรมนูญ
ปลดประธานาธิบดีคาตาลูญญาและคณะรัฐมนตรี ในอนาคตอาจมีการตอบโต้ที่รุนแรงจากคาตาลูญญา
ตอ่ รฐั บาลกลางของสเปน
๕. การวิเคราะห์ผลการศึกษาประเดน็ ความขดั แยง้ ทางการเมอื งที่ผ่านมา
จากการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยสะท้อน
อย่างชัดเจนว่าในอดีตหลังจากการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เกิดขึ้นความต้องการ
อำนาจและการรักษาผลประโยชน์ของกลุ่มตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้นำและผู้ที่บทบาททางการเมือง
ไม่ว่าจะเป็นนักการเมืองที่มาจากเหล่าทัพทหาร นักการเมืองที่มาจากพลเรือนซึ่งมักจะเป็นกลุ่มนายทุนและ
นักธุรกิจ แม้รูปแบบและลักษณะการแสดงออกของสถานการณ์ความขัดแย้งที่ถูกนำเสนอจะมีความแตกต่าง
กันออกไปในแต่ละช่วงเวลา แต่กระนั้นรากเหง้าของความขัดแย้งทางการเมืองไทย จากการศึกษาของ
สถาบันพระปกเกล้าเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๕ ยังสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัญหาใจกลางคือมุมมองที่แตกต่าง
กันต่อความเป็นประชาธิปไตยของประเทศที่เก่ียวข้องกับระบบการจัดการอำนาจแล ะทรัพยากรในสังคม
ระหว่างฝ่ายหนึ่งที่ให้น้ำหนักต่อการเลือกตั้งซึ่งความชอบธรรมของผู้บริหารประเทศอยู่ที่ “เสียงข้างมาก”
ของประชาชน กับอีกฝ่ายหน่ึงท่ีให้น้ำหนักต่อ “คุณธรรมจริยธรรม” ของผู้บริหารประเทศมากกว่าความเป็น
ตัวแทนของคนส่วนใหญ่ โดยทั้งสองมุมมองนี้ ต่างก็มีทั้งกลุ่มท่ีเช่ือม่ันอย่างแรงกล้าในมุมมองของตนกับกลุ่ม
ท่ีอิงอยู่กับความเช่ือนั้นเพื่อแสวงหาและรักษาอำนาจตลอดจนผลประโยชน์ส่วนตน ท้ังหมดได้ส่งผลให้ความ
ขัดแย้งทาง ความคิดนี้มีความซับซ้อนมากยิ่งข้ึน ซึ่งปัญหาใจกลางท่ีกล่าวไปแล้วน้ีได้เกิดขึ้นท่ามกลางบริบท
ของปัญหา พื้นฐานในสังคมไทย คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม อันเป็นเงื่อนไขที่ตอกย้ำให้
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๖๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ
ความแตกต่างทางความคิดทางการเมืองกลับกลายเป็นความแตกแยกและแหลมคมมากยิ่งขึ้น โดยมูลเหตุ
แห่งความขัดแย้งข้างต้นได้ขยายตัวไปสู่วงกว้างมากขึ้นจากการสะสม “ความรู้สึก” ของทั้งสองฝ่ายว่า
อีกฝ่ายหนึ่งได้ใช้อำนาจที่ไม่เป็นธรรมในการดำเนินการตามความเช่ือข้างต้นและ/หรือ ผลประโยชน์ของ
ตน อาทิ การแทรกแซงกลไกการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ หรือการรัฐประหาร และถึงที่สุดได้ขยายตัวเป็น
ความขัดแย้งรุนแรงในทุกระดับของสังคมไทยจากการระดมฐานมวลชนเพื่อสนับสนุนฝ่ายตน และจากการ
เสนอข่าวของสื่อบางส่วนที่มิได้เน้นการนําเสนอข้อคิดเห็นที่ครอบคลุมทุกแง่มุม
อย่างไรก็ตามลักษณะของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยหลังจากปฏิวัติของ คสช.
ในพ.ศ.๒๕๕๗ การศึกษาวิจัยหลายเรื่องต่างสะท้อนว่ามีความแตกต่างจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในช่วงปี
พ.ศ.๒๕๔๗-๒๕๔๔ ที่นอกเหนือจากความขัดแย้งในหลายพื้นที่ทั่วประเทศจากความแตกต่างของขั้วอำนาจ
ทางการเมืองและปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน ยังร่วมกับความรุนแรงในประเด็นความขัดแย้งทางชาติพันธุ์อัน
เนื่องมาจากการต่อต้านการปกครองจากส่วนกลางและการตอบโต้การควบคุมปราบปรามของเจ้าหน้าที่รัฐใน
พื้นทส่ี ามจงั หวัดชายแดนใต้ ซ่ึงเม่ือพจิ ารณารากเหง้าของปัญหาจะพบวา่ มลู เหตสุ ำคญั คือ การกลืนชาตพิ ันธ์ุให้
เป็นหนึ่งเดียวผ่านการนิยามความเป็น “รัฐชาติ” ในสมัยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่มีความ
พยายามสร้างความเป็นไทยขึ้นมาใหม่ ด้วยการกำหนดนโยบายที่มีความเป็นชาตินิยม และใช้ในการสร้าง
วัฒนธรรมไทยให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อเชิดชูในความเป็นไทย รวมถึงการการสร้างความเป็นสมัยใหม่
การกระตุ้นให้ประชาชนเกิดกระแสความรักชาติและการแสดงออกเชิงสัญญะโดยการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก
“สยาม” เป็น “ประเทศไทย” อันเป็นการแสดงออกถึงว่าเป็นประเทศของชาวไทย โดยกระบวนการดัง
กล่าวคือลักษณะของการสร้างวัฒนธรรมตามรูปแบบตะวันตก ซึ่งนับว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่ประเด็นการมี
สว่ นรว่ มของชาติพันธ์ุเป็นอัตลักษณ์ได้กลายมาเป็นข้ออ้างในการก่อการความไม่สงบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
และการตอ่ ตา้ นอำนาจจากสว่ นกลางมาจนถงึ ปจั จบุ นั
ในมิติทางวิชาการการเกิดขึ้นของความขัดแย้งความบาดหมางกันระหวา่ งบุคคล กลุ่มคน องค์กรหรือ
สถาบนั จากมูลเหตปุ จั จัยตา่ ง ๆ เชน่ การตัดสนิ ใจ การรบั รู้ อำนาจและผลประโยชน์ คา่ นิยม ทศั นะ ความคิดที่
ต่างกันซึ่งส่งผลให้เกิดความตรึงเครียด ความไม่สงบสุข ความหวาดระแวงในสังคมนั้นเป็นเครื่องมือสำคัญที่
ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคม และกระบวนการดังกล่าวนี้ได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ที่มีการ
ประกอบสรา้ งเปน็ สังคม ดังนั้นความขดั แยง้ ในสังคมเปน็ เรอื่ งปกติ เพยี งแค่ความขัดแย้ง สามารถหาขอ้ ยุตไิ ด้ใน
กรอบของกลไกที่มีอยู่ สังคมนั้นก็สามารถดำเนินต่อไปได้ตราบเท่าที่ปัญหาความขัดแย้งอยู่ในสัดส่วนที่ไม่แผ่
กระจายไปทั่วจนหาวิธีการหรือกลไกเพื่อยุติความขัดแย้งไม่ได้ สังคมนั้นก็สามารถดำเนินต่อไป ถือได้ว่าสังคม
นั้นยังอยู่ได้อย่างสมานฉันท์ ในทางตรงกันข้าม หากความขัดแย้งที่เกิดขึ้นไม่สามารถจะแก้ไขเยียวยาได้
ทางเลือกของสังคมก็จะถกู จำกัดลง กลไกการแก้ไขความขัดแยง้ ที่มอี ยู่ในปจั จุบันถูกแบ่งออกเป็นสองหลักการ
คือ แก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธีดว้ ยการเจรจาหรือไกล่เกล่ีย และการแก้ไขความขัดแย้งด้วยการใช้กำลังหรือ
เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๖๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
ความรุนแรงซึ่งผลลัพธ์ของแนวทางการจัดการความขัดแย้งทั้งสองแนวทางนั้นมีทั้งที่สามารถจัดการความ
ขดั แยง้ ไดโ้ ดยสมบรู ณ์ และนำไปสู่การสรา้ งความขดั แยง้ ใหมท่ รี่ นุ แรงเพ่ิมมากข้ึน
สำหรับแนวทางการจัดการความขัดแย้งในประเทศไทย จากข้อเสนอแนะของหลายภาคส่วนล้วน
นำเสนอไปในทิศทางเดียวกันว่าการควรมีลักษณะของการสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นโดยรูปแบบละมุน
ละม่อม รวมทั้งการสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาโดยการพูดคุยทั้งในระดับพื้นที่และระดับ
นโยบาย ซึ่งต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง ทั้งนี้ในภาครัฐ โดยเฉพาะรัฐบาลในฐานะผู้บริหาร
ประเทศต้องสร้างบรรยากาศของความปรองดอง การกระจายอำนาจและการเข้าถึงทรัพยากรให้เกิดขึ้นแก่
กลุ่มคนทกุ กลุ่มอย่างเท่าเทยี มภายใต้หลักการความเป็นธรรม และความเป็นประชาธิปไตย โดยข้อเสนอแนะท่ี
สำคัญของการศึกษาวิจัยของสถาบันพระปกเกล้าระบุอย่างชัดเจนว่า “การที่กระบวนการสร้างความ
ปรองดองในชาติจะบรรลุเป้าหมายได้นั้น ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะต้องก้าวข้ามไปให้ไกลกว่าการถกเถียงกัน
เพียงแค่ในข้อกฎหมาย กล่าวคือ ต้องพิจารณาให้กว้างและลึกลงถึงเหตุแห่งความขัดแย้ง คํานึงถึงมิติ
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มพลังต่าง ๆ ในสังคม รวมถึงการมีกระบวนการในการแก้ไขปัญหาและสร้าง
ความปรองดองที่ทุกฝ่ายในสังคมให้การยอมรับ ภายใต้บรรยากาศของความเป็นประชาธิปไตยที่ทำให้ทกุ
ฝ่ายรู้สึกว่ามีบทบาทและพื้นที่ในการเสวนาถกเถียงถึงภาพอนาคตของประเทศ อันเป็นเสมือนหลักหมุด
ปลายทางท่ที กุ ฝา่ ยจะร่วมเดินทางไปภายใต้กตกิ าทส่ี งั คมเหน็ พ้องต้องกัน”
๖. บทสรุปและกรอบการศกึ ษาวจิ ยั
จากการทบทวนวรรณกรรมโดยสังเขปข้างต้น พบว่าความขัดแย้งโดยปกติแล้วนั้นเป็นกลไกหนึ่งของ
การขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ทั้งนี้สังคมจำเป็นตอ้ งควบคุมมใิ ห้
ความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนบานปลายจนกระทั่งเกิดความแตกแยกของคนในสงั คมและนำไปสู่การไร้เสถียรภาพของ
การดำรงอยู่ของสังคมนั้น อย่างไรก็ตามกระบวนการจัดการความขัดแย้งในแต่ละสังคมมีความแตกต่างกัน
ออกไปตามมูลเหตุของความขัดแย้งและสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น ดังเช่นสถานการณ์ความขัดแย้งที่
เกิดขึ้นในประเทศไทย แม้ว่าเมื่อพิจารณารากเหง้าความขัดแย้งในทุกช่วงเวลาจะพบว่าปัจจัยความเหลื่อมล้ำ
ทางเศรษฐกิจและสังคมและความแตกตา่ งทางความคิดมักเป็นมลู เหตุสำคัญเสมอ ทว่าสถานการณ์และบริบท
ทางสังคมในช่วงเวลานั้น ๆ กลายเป็นปัจจัยเสริมที่มีนัยที่ส่งผลต่อรูปแบบการแสดงออกของความขัดแย้งที่
เกดิ ขนึ้
ดงั นั้น ในการศึกษาวจิ ยั ครัง้ น้ีจงึ กำหนดกรอบแนวคดิ ของการศึกษาวจิ ัยที่ครอบคลุมทั้งแนวคิด ทฤษฎี
ความขัดแย้ง กรณีศึกษาในต่างประเทศ บทวิเคราะห์การศึกษาความขัดแย้งของประเทศไทยจากการ
ศึกษาวิจัยในอดีต ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยในปัจจุบัน และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและ
ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง เพื่อวิเคราะห์มูลเหตุของความขัดแย้งในปัจจุบันอันจะนำไปสู่การวิเคราะห์
แนวทางการแก้ไขความขัดแย้งที่สอดคล้องกับความเป็นจริงให้ได้มากที่สุด และสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องของ
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๖๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
สังคมต่อความขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นซึ่งจะทำให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติได้ในที่สุด
ดงั ภาพประกอบ ๒
กรณศี กึ ษาในตา่ งประเทศ บทวเิ คราะห์การศกึ ษาความ
ขดั แย้งของประเทศไทยจาก
แนวคดิ ทฤษฎีความขดั แยง้
การศึกษาวิจัยในอดีต
ลักษณะการเปล่ียนแปลง มลู เหตุของความขัดแยง้ ของ การสัมภาษณผ์ ูท้ รงคณุ วุฒิ
ทางสงั คมไทยในปจั จบุ นั ประเทศไทยในปจั จุบนั และผเู้ กีย่ วข้องกับความ
ขัดแย้ง
แนวทางการแก้ไขความ
ขัดแยง้ ท่ีสอดคล้องตอ่
สถานการณจ์ รงิ ของประเทศ
ไทยในปจั จบุ ัน
สรา้ งการรบั รูท้ ่ีถกู ตอ้ งของสังคมตอ่
ความขดั แย้งที่เกิดขน้ึ
ภาพประกอบ ๒ กรอบแนวคิดและทฤษฎเี บ้อื งตน้
เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๖๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
บทท่ี ๕
ผลการจดั ประชมุ คณะกรรมการผู้เช่ยี วชาญ ครงั้ ท่ี ๑
ในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ตามโครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดอง
สมานฉันท์รายการค่าใช้จ่ายในการสร้างการรับรู้เพื่อให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ จัดขึ้นเพื่อ
ศึกษาแนวทางและความเป็นไปได้ในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สภาพ
ปัญหา กำหนดแนวทาง และสรา้ งกระบวนการในการแก้ไขปญั หาความขัดแย้ง ตามหลกั วชิ าการทเ่ี ก่ียวกับการ
ดำเนนิ การเพ่ือแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง สันตวิ ิธี และการสรา้ งความปรองดองสมานฉนั ทใ์ นสังคม โดยภาพรวม
การจัดประชุมคณะกรรมการผูเ้ ช่ียวชาญคร้ังที่ ๑ มีรายละเอียดดงั นี้
๑. ภาพรวมการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ
ในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ที่จัดขึ้นเมื่อ วันศุกร์ที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๕ เวลา
๑๓.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๒ สำนักงาน ก.พ. (เดิม) และผ่านช่องทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(Zoom Meeting) การจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนหลัก คือ ส่วนที่ ๑ การ
นำเสนอข้อมูลเบื้องต้นของโครงการ ส่วนที่ ๒ การนำเสนอและพิจารณากลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูล และ
การประชุมรับฟังความคิดเห็น รวมถึงเสนอรา่ งแบบสอบถาม ส่วนที่ ๓ การรับฟังความคิดเห็นเกีย่ วกับพืน้ ท่ที ี่
ใช้เก็บข้อมูล วิธีการตั้งคำถามในการเก็บข้อมูล รวมถึงกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ซึ่งมีกำหนดการ
ประชมุ ดังนี้
ตาราง ๒ กำหนดการการจัดประชมุ คณะกรรมการผู้เชย่ี วชาญคร้ังที่ ๑
เวลา รายการ
๑๓.๑๕ – ๑๓.๓๐ น. ลงทะเบียน
๑๓.๓๐ – ๑๓.๔๐ น. กล่าวเปิดการประชุม
โดย นายปกรณ์ ปรยี ากร (ประธานกรรมการปปฏิรปู
๑๓.๔๐ – ๑๔.๓๐ น. ประเทศด้านการเมอื ง)
(ระเบียบวาระที่ ๑.๑)
๑๔.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. นำเสนอข้อมูลเบอ้ื งต้นของโครงการ
โดย รศ.ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์(หัวหนา้ โครงการ) และ
๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. ผศ.ดร. เสาวธาร โพธก์ิ ลัด (นักวิจยั หลกั )
(ระเบียบวาระท่ี ๒.๑)
นำเสนอและพจิ ารณาให้ความคดิ เห็นต่อกลุ่มตวั อย่าง
และพื้นที่ในการศกึ ษาข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ
(ระเบียบวาระท่ี ๓.๑)
นำเสนอและพจิ ารณาให้ความคดิ เห็นต่อพ้ืนที่ใน
การศกึ ษาข้อมูลเชิงคุณภาพ
เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๖๘
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ
เวลา รายการ
(ระเบียบวาระที่ ๓.๒)
๑๔.๔๕ – ๑๕.๓๐ น. นำเสนอและพจิ ารณาให้ความคดิ เห็นตอ่ พื้นท่ีใน
การศกึ ษาขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ
(ระเบียบวาระที่ ๓.๓)
และพจิ ารณากำหนดการประชมุ คร้งั ที่ ๒
(ระเบยี บวาระท่ี ๔)
หมายเหตุ: มกี ารสรปุ ความคิดเหน็ ของผูเ้ ชย่ี วชาญหลังจบแตล่ ะวาระการประชมุ
ผู้เข้าร่วมการประชมุ คณะกรรมการผเู้ ชยี่ วชาญครั้งที่ ๑
ประธานกรรมการปฏริ ูปประเทศด้านการเมือง
ผู้อำนวยการสำนักงาน ป.ย.ป.
ผ้อู ำนวยการสำนักสนั ติวธิ ีและธรรมาภิบาลสถาบนั พระปกเกล้า
อาจารยป์ ระจำคณะรฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์
ผอู้ ำนวยการศูนยเ์ ศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการทดลอง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย
สถาบนั วิจยั สังคม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
ผู้จัดการโครงการ Friedrich Naumann Foundation
นกั กฎหมายกฤษฎีกาชำนาญการพเิ ศษ
หวั หน้าทมี ผชู้ ่วยนกั วิจัย สำนกั งานศนู ย์วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร
รองรกั ษาราชการแทนรองผู้อำนวยการสำนกั งาน ป.ย.ป.
เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๖๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ
๒. ความคดิ เหน็ ทีไ่ ดร้ ับจากการประชุมคณะกรรมการผ้เู ชี่ยวชาญคร้งั ท่ี ๑
ตาราง ๓ ความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการผเู้ ชีย่ วชาญครั้งท่ี ๑
ลำดบั ช่อื ตำแหน่งและหนว่ ยงาน
๑ นายยอดฉตั ร ตสาริกา นักกฎหมายกฤษฎกี า - มีตวั
ชำนาญการพิเศษ จริงแ
การเม
เปลย่ี น
ความ
อย่างไ
เกยี่ วข
๒ อ.ดร.เอกพันธ์ุ ปณิ ฑวณชิ สถาบนั วจิ ยั สังคม - ในเร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเท
ทั่วไปห
ขอ้ มลู จ
สอดค
ประเด
- กังวล
มากน้อ
- ในด
เรื่องค
เสนอ สำนักงานขับเค