The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by researchteam.official, 2022-12-26 01:28:29

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

๑๒๐

เหน็ ดว้ ย

n ̅ S.D. มากท่ีสดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย n ̅ S.D.
กลาง ท่ีสดุ

(๘๔.๓๑) (๑๑.๗๖) (๓.๙๒) (๐.๐๐) (๐.๐๐)

คล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๒๑
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพ่อื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ผลการศกึ ษาจากตาราง ๑๔ จำนวน รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของความคิดเห็นต่อการ
จดั การความขดั แย้งเพ่ือสร้างความปรองดองในประเทศไทย พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่าร้อยละ ๙๐
เห็นด้วยว่าควรมกี ารจัดการความขดั แย้งเพือ่ สรา้ งความปรอดดองด้วยวิธอี ื่น ๆ ได้แก่

๑) การเปลย่ี นแปลงเชงิ สถาบัน ไดแ้ ก่

- การสร้าง/ปฏิรปู กระบวนการยุติธรรมให้มคี วามเปน็ ธรรม บังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม
ทำใหก้ ระบวนการยุตธิ รรมไม่ถูกแทรกแซงจากกล่มุ ผลประโยชน์

- การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผู้นำทางการเมือง การเลือกต้ัง
โดยยึดโยงกับประชาชนให้มากที่สดุ เช่น การร่างรัฐธรรมนูญ/กตกิ าทางการเมืองใหม่ การเปลี่ยนผู้นำทางการ
เมอื งอยา่ งสันติ

- ฝ่ายความมน่ั คงโดยเฉพาะอย่างย่งิ ทหารต้องเลกิ ยุ่งเกยี่ วกับภาคการเมือง

๒) การเปลีย่ นแปลงเชงิ กระบวนการ ได้แก่

- การสง่ เสริมและพัฒนากลไกในการตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายต่าง ๆ เพอื่ ให้เกิดความ
เปน็ ธรรมในสังคม

- สรา้ งความโปร่งใสในการบรหิ ารงาน ทง้ั การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา สร้าง
โอกาสในการเข้าถงึ ข้อมลู ทีถ่ กู ต้อง

- กระจายอำนาจในการบรหิ ารสู่ท้องถิ่นเพ่ือสร้างโอกาสในการกระจายความเป็นธรรมในสังคม

- เปดิ โอกาสและสร้างกลไกการมสี ว่ นรว่ มจากประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ประชาชน
สามารถเข้าไปมีบทบาทและสามารถตรวจสอบกระบวนการงบประมาณได้

- สรา้ งพ้นื ทท่ี างการเมืองท่ีมีความปลอดภัย เคารพสิทธใิ นการแสดงออก เปิดรับความคิดเหน็
ท่ีแตกต่างหลากหลาย

๓) ในระดบั บุคคล การเพ่ิมความสามารถในการยอมรับและรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างเปิด
ใจ การเคารพสทิ ธิซงึ่ กนั และกนั

ผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่าร้อยละ ๘๕ เห็นด้วยว่า การจัดการความขัดแย้งเพื่อสร้างความ
ปรองดองในประเทศไทยควรต้องมีการเจรจาอย่างสนั ตวิ ธิ โี ดยคู่กรณี การปฏิรูประบบ/โครงสร้างท่ีเป็นสาเหตุ
ของความขัดแย้ง เช่น กระบวนการยตุ ธิ รรม การเมืองการปกครอง ระบบ/กลไกทางเศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ การ
สร้างความร่วมมือเพื่อจัดทำข้อตกลงร่วมกัน การสร้างกติกาที่คู่ขัดแย้งยอมรับ การต่อรองเพื่อให้เกิดความ
สมดุลของคูข่ ดั แย้ง

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๑๒๒
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

แนวทางการวิเคราะหข์ ้อมลู เพอ่ื สรุปความคดิ เห็นของผตู้ อบแบบสอบถาม

สำหรับการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้ง
ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้งในอนาคต และการจัดการความขัดแย้งเพื่อสร้างความ
ปรองดองในประเทศไทย นั้น ผู้วิจยั ไดก้ ำหนดค่าของตวั แปรเพอ่ื วิเคราะหด์ งั นี้

มากทสี่ ุด เหน็ ด้วย ไม่เหน็ ด้วย
มาก ๕ -๕
ปานกลาง ๔ -๔
น้อย ๓ -๓
นอ้ ยทสี่ ุด ๒ -๒
๑ -๑

สำหรับการรวมค่าคะแนนเพื่อวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อประเด็นต่าง ๆ
จะไม่ใช้ข้อคำถาม “อื่น ๆ” มารวมเป็นรายด้านด้วยเนื่องจากเป็นข้อที่มีผู้ตอบคำถามจำนวนหนึ่งเลือกที่จะไม่
ตอบขอ้ นี้จะสง่ ผลกระทบต่อจำนวนชุดข้อมลู ท่ีจะนำมาทดสอบสมมติฐานรายด้าน สำหรับการคดิ คะแนนจะใช้
เกณฑ์ข้างต้นในการคำนวณทั้งในภาพรวมแต่ละด้านและรายข้อ โดยเมื่อแปลงคะแนนดังตารางข้างต้นแล้ว
คะแนนสูงสุดของความคิดเห็นคือ ๕ และคะแนนต่ำสุดของความคิดเห็นคือ -๕ จึงสามารถกำหนดเกณฑ์
การแปลความหมายคา่ เฉลี่ยความคิดเห็นเปน็ ช่วง โดยให้แตล่ ะช่วงเท่ากัน ไดด้ ังนี้

ชว่ งห่างของคะแนนแต่ละชว่ ง = (คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ำสุด)/จำนวนช่วงช้ัน
แทนค่า = (๕-(-๕)/๑๐ = ๑.๐๐

คา่ เฉลี่ย ๔.๐๑-๕.๐๐ ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นดว้ ยในประเด็นดงั กล่าวในระดบั มากที่สดุ
ค่าเฉลย่ี ๓.๐๑-๔.๐๐ ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในประเด็นดงั กลา่ วในระดับ มาก
คา่ เฉลย่ี ๒.๐๑-๓.๐๐ ผตู้ อบแบบสอบถามเห็นดว้ ยในประเด็นดังกล่าวในระดบั ปานกลาง
คา่ เฉลี่ย ๑.๐๑-๒.๐๐ ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในประเดน็ ดังกลา่ วในระดบั น้อย
คา่ เฉล่ีย ๐.๐๑-๑.๐๐ ผูต้ อบแบบสอบถามเหน็ ด้วยในประเด็นดงั กลา่ วในระดับ น้อยที่สดุ
คา่ เฉลย่ี -๐.๐๐- (-๑.๐๐) ผ้ตู อบแบบสอบถามไมเ่ หน็ ด้วยในประเด็นดังกลา่ วในระดับ นอ้ ยทสี่ ดุ
คา่ เฉลีย่ -๑.๐๑- (-๒.๐๐) ผู้ตอบแบบสอบถามไม่เห็นด้วยในประเดน็ ดงั กล่าวในระดับ น้อย
คา่ เฉลี่ย -๒.๐๑- (-๓.๐๐) ผตู้ อบแบบสอบถามไมเ่ หน็ ด้วยในประเดน็ ดังกลา่ วในระดับ ปานกลาง

เสนอ สำนักงานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๒๓
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พ่อื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

คา่ เฉลี่ย -๓.๐๑- (-๔.๐๐) ผู้ตอบแบบสอบถามไมเ่ ห็นด้วยในประเดน็ ดังกล่าวในระดับมาก

คา่ เฉลี่ย -๔.๐๑- (-๕.๐๐) ผตู้ อบแบบสอบถามไม่เหน็ ด้วยในประเด็นดังกล่าวในระดับมากท่ีสุด

ซง่ึ สามารถสรุปผลความคดิ เห็นของประชาชนต่อประเดน็ คำถามแต่ละด้านไดด้ งั ตาราง

ตาราง ๑๕ คา่ เฉลีย่ ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ของความคิดเห็นของผูต้ อบแบบสอบถามตอ่ ความขดั แย้ง สาเหตุ
ของความขัดแย้ง ผเู้ ก่ียวข้องกับความขดั แย้ง สาเหตขุ องความขัดแย้งในอนาคต และการจัดการความขดั แย้ง
เพอื่ สร้างความปรองดองในประเทศไทย

ประเดน็ คำถาม ̅ S.D. การแปล
ความหมาย

๑. ประเด็นความขัดแยง้ ในปจั จบุ ันเปน็ ความขัดแย้งดา้ นใด

๑) ความขัดแยง้ ทางการเมือง/นโยบายทางการเมือง ๓.๖๘ ๒.๖๒ มาก

๒) ความขดั แย้งทางความคดิ /อุดมคติ ๓.๑๐ ๓.๐๙ มาก

๓) ความขดั แย้งทเ่ี กิดจากชอ่ งวา่ งระหว่างวัย ๒.๔๔ ๓.๕๐ ปานกลาง

๔) ความขดั แย้งจากการเข้าถึงทรพั ยากรทางเศรษฐกจิ ๒.๖๔ ๓.๔๑ ปานกลาง

๕) ความขัดแย้งจากการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน/สทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐาน ๒.๗๑ ๓.๓๙ ปานกลาง

๖) ความขดั แยง้ จากความแตกต่างทางชาตพิ ันธ/ุ์ ศาสนา ๑.๗๖ ๓.๘๗ นอ้ ย

๗) อื่น ๆ ๓.๔๕ ๓.๑๕ มาก

๒. ปัจจุบนั สาเหตขุ องความขดั แยง้ ในประเทศไทยเกิดจากข้อใด

๑) ความไม่ลงตวั ในความเหน็ และการเข้าถงึ อำนาจทางการเมือง ๓.๗๒ ๒.๕๕ มาก

๒) การไมย่ อมรบั ความเหน็ ทแี่ ตกตา่ งทางการเมอื ง ๓.๕๗ ๒.๖๘ มาก

๓) การไมย่ อมรบั อำนาจของฝา่ ยผปู้ กครอง ๓.๑๕ ๓.๐๕ มาก

๔) สูญเสยี ผลประโยชนจ์ ากการสญู เสยี อำนาจทางการเมอื ง ๓.๓๔ ๒.๘๘ มาก

๕) ถกู ปฏิเสธพืน้ ทท่ี างการเมอื ง/มสี ทิ ธทิ างการเมอื งท่ไี มเ่ ทา่ เทียม ๓.๐๗ ๓.๑๓ มาก

๖) การจัดสรรทรพั ยากรทไ่ี มเ่ ท่าเทยี ม ๒.๗๙ ๓.๓๑ ปานกลาง

๗) ความเหล่อื มล้ำในดา้ นตา่ ง ๆ ๓.๑๙ ๓.๐๔ มาก

๘) ความไม่สมดุลในความสมั พนั ธเ์ ชิงอำนาจของรัฐกบั ประชาชน ๓.๒๐ ๒.๙๖ มาก

๙) การบังคบั ใชก้ ฎหมายทไี่ ม่เป็นธรรม ๓.๒๔ ๒.๙๒ มาก

๑๐) การเขา้ ถงึ และการรับรขู้ ้อมูลทแ่ี ตกต่างกัน ๒.๙๙ ๓.๑๒ ปานกลาง

๑๑) ความเขา้ ใจต่อข้อมลู ทีไ่ ดร้ บั จากการสอ่ื สารทต่ี า่ งกนั ๓.๐๖ ๓.๐๒ มาก

๑๒) ค่านิยมและการใหค้ ณุ ค่าของส่ิงตา่ ง ๆ ท่ีตา่ งกัน ๒.๗๗ ๓.๒๓ ปานกลาง

๑๓) ความสมั พันธร์ ะหว่างคขู่ ัดแยง้ ที่เปราะบาง ๒.๖๘ ๓.๒๙ ปานกลาง

๑๔) ความกา้ วหน้าของระบบสอื่ สารและเทคโนโลยี ๒.๘๖ ๓.๑๙ ปานกลาง

เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๒๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ประเดน็ คำถาม ̅ S.D. การแปล
ความหมาย
๑๕) ประชาชน/ประชาสงั คมมสี ว่ นร่วมในกิจการของรัฐ ๒.๘๘
๑๖) ความแตกตา่ งทางความคดิ เหน็ ตอ่ แนวทางการปฏริ ูปสถาบัน ๒.๕๗ ๓.๑๖ ปานกลาง
พระมหากษตั ริย์ ๓.๕๐ ปานกลาง
๑๗) ความแตกต่างของชว่ งวยั และการเกดิ ช่องวา่ งระหว่างวยั ของคนใน ๒.๗๑
สังคมไทย ๓.๓๖ ปานกลาง
๑๘) การแทรกแซงจากตา่ งประเทศ ๑.๗๙
๑๙) อืน่ ๆ ๓.๙๗ ๓.๗๓ นอ้ ย
๓. ผ้เู กีย่ วขอ้ งกบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทยเกีย่ วข้องกับคนกลมุ่ ใด ๒.๓๗ มาก
๑) ขา้ ราชการพลเรือน ๒.๓๓
๒) ข้าราชการทหาร ๒.๙๕ ๓.๕๘ ปานกลาง
๓) นกั การเมอื ง ๓.๘๑ ๓.๒๙ ปานกลาง
๔) ภาคธรุ กิจ/กลมุ่ นายทุน ๓.๒๒ ๒.๔๘ มาก
๕) นักวชิ าการ ๒.๒๙ ๒.๙๖ มาก
๖) นกั ศกึ ษา ๒.๐๒ ๓.๕๓ ปานกลาง
๗) ประชาชน ๒.๑๒ ๓.๖๗ ปานกลาง
๘) ต่างประเทศ ๑.๘๔ ๓.๖๖ ปานกลาง
๙) องค์กรที่ไม่ใชข่ องรฐั เชน่ องค์กรไม่แสวงหากำไร ๑.๗๕ ๓.๕๙ นอ้ ย
๑๐) ส่ือสารมวลชน ๒.๗๐ ๓.๖๖ นอ้ ย
๑๑) อนื่ ๆ ๓.๙๔ ๓.๒๘ ปานกลาง
๔. ความขดั แยง้ ในอนาคตของประเทศไทยอาจมีสาเหตุมาจากอะไร ๒.๒๓ มาก
๑) ความเห็นทางการเมืองทีแ่ ตกตา่ ง ๓.๙๔
๒) ความขดั แย้งจากความแตกต่างของวัย ๒.๘๔ ๒.๑๙ มาก
๓) ความเหลอื่ มลำ้ ในด้านต่าง ๆ ๓.๑๑ ๓.๒๐ ปานกลาง
๔) ความขัดแย้งจากประเด็นคา่ นยิ ม ความเชอื่ ๒.๕๔ ๓.๐๔ มาก
๕) ความขัดแย้งจากการไมย่ อมรับการเปลย่ี นแปลง ๓.๒๒ ๓.๔๖ ปานกลาง
๖) อ่ืน ๆ ๔.๑๔ ๓.๐๑ มาก
๕. การจัดการความขัดแย้ง สร้างความปรองดองในประเทศไทยควรใช้ ๒.๔๖ มากทสี่ ุด
วธิ กี ารใด ๓.๖๓
๑) การเจรจาอยา่ งสนั ติวิธีโดยคู่กรณี ๓.๑๐ ๒.๖๒ มาก
๒) การไกล่เกล่ียโดยคนกลาง/บุคคลท่ี ๓ ทง้ั ภายในและภายนอก ๓.๐๔ มาก

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๒๕
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ประเด็นคำถาม ̅ S.D. การแปล
ความหมาย

๓) การตอ่ รองเพอื่ ใหเ้ กดิ ความสมดุลของค่ขู ดั แยง้ ๓.๓๔ ๒.๘๓ มาก

๔) การไต่สวนเพ่อื ระงบั ข้อพพิ าทอยา่ งสันติ ๓.๒๑ ๒.๙๔ มาก

๕) การประนีประนอมเพอ่ื หาทางออกรว่ มกนั ๓.๕๓ ๒.๖๘ มาก

๖) การสรา้ งความรว่ มมอื เพื่อจดั ทำข้อตกลงรว่ มกัน ๓.๕๑ ๒.๗๐ มาก

๗) การสรา้ งกติกาทีค่ ขู่ ดั แย้งยอมรบั ๓.๒๑ ๒.๙๑ มาก

๘) การกระจายอำนาจเพอื่ สร้างความสมดลุ ของคูข่ ดั แย้ง ๓.๒๐ ๓.๐๐ มาก

๙) การปฏริ ูประบบ/โครงสรา้ งทเี่ ปน็ สาเหตขุ องความขัดแย้ง เชน่ ๓.๖๖ ๒.๖๑ มาก
กระบวนการยตุ ธิ รรม การเมืองการปกครอง ระบบ/กลไกทางเศรษฐกิจ
สังคม ฯลฯ

๑๐) อื่น ๆ ๔.๒๑ ๒.๓๓ มากท่ีสดุ

ผลการศกึ ษาจากตาราง ๑๕ คา่ เฉลยี่ ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน ของความคดิ เหน็ ของผตู้ อบแบบสอบถาม
ต่อความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้ง ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้งในอนาคต
และการจดั การความขัดแย้งเพือ่ สร้างความปรองดองในประเทศไทย พบว่า

๑) ประเด็นความขัดแย้งในปัจจุบนั

ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ความขัดแย้งในปัจจุบันเป็นความขัดแย้งทางความคิด/
อดุ มคติ และความขดั แย้งทางการเมือง/นโยบายทางการเมอื ง และเป็นความขดั แย้งอนื่ ๆ ผตู้ อบแบบสอบถาม
เห็นด้วยในระดับปานกลางว่า ความขัดแย้งในปัจจุบันเป็นความขัดแย้งที่เกิดจากช่องว่างระหว่างวัย ความ
ขัดแย้งจากการเข้าถึงทรพั ยากรทางเศรษฐกิจ และความขดั แยง้ จากการละเมดิ สิทธมิ นุษยชน/สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐาน

๒) สาเหตุของความขัดแยง้ ในประเทศไทย

ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในระดับมาก ว่า สาเหตุของความขัดแย้งในประเทศไทยมาจากความ
ไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง การไม่ยอมรับความเห็นที่แตกต่างทางการเมือง
การสูญเสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมือง การไม่ยอมรับอำนาจของฝ่ายผู้ปกครอง การถูก
ปฏิเสธพืน้ ทีท่ างการเมือง/มสี ทิ ธิทางการเมืองท่ีไม่เท่าเทยี ม การบังคบั ใชก้ ฎหมายท่ไี ม่เปน็ ธรรม ความไม่สมดุล
ในความสมั พนั ธ์เชิงอำนาจของรฐั กับประชาชน ความเหลือ่ มล้ำในดา้ นต่าง ๆ และความเขา้ ใจต่อข้อมูลที่ได้รับ
จากการส่อื สารที่ตา่ งกัน

๓) ผูเ้ กีย่ วขอ้ งกบั ความขัดแย้งในประเทศไทย

ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย ได้แก่
นกั การเมือง และภาคธุรกจิ /กล่มุ นายทุน และตัวแสดงอน่ื ๆ

๔) สาเหตขุ องความขดั แยง้ ในสังคมไทยในอนาคต

ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยในอนาคต
มีสาเหตุมาจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ความไม่เท่าเทียมทางเพศ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ และความแตกต่างทาง

เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๒๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่ือให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ความคิด โดยผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยอาจ
มีสาเหตุมาจากความเห็นทางการเมืองที่แตกต่าง ความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง และความ
เหล่ือมล้ำในดา้ นต่าง ๆ

จากผลการศึกษาข้างต้นสามารถสรปุ ในภาพรวมไดว้ ่า ผู้ตอบแบบสำรวจเห็นว่า ประเด็นความขัดแย้ง
ปจั จุบนั เป็นความขดั แย้งทางความคิด/อุดมคติ ร่วมกับความขดั แย้งทางการเมือง/นโยบายทางการเมือง โดยมี
สาเหตุหลักเกิดจากความไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง การไม่ยอมรับความเห็นท่ี
แตกตา่ ง และการสญู เสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมือง ตามลำดับ ซึ่งผู้ท่เี ก่ียวข้องกับความ
ขัดแย้ง พบว่า นักการเมืองเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องมากที่สุด นอกจากนี้ ผู้ตอบแบบสำรวจยังเล็งเห็นว่า ความขัดแยง้
ในอนาคตของประเทศจะเกิดจากความเห็นต่างทางการเมืองมากที่สุด รองลงมาเป็นเรื่องการไม่ยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงและความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ วิธีในการจัดการความขัดแย้งที่ควรใช้มากที่สุดคือ ใช้วิธีการ
เจรจาอย่างสันติวิธี การประนีประนอมหาทางออกร่วมกัน และการสร้างความร่วมมือเพื่อจัดทำข้อตกลง
ร่วมกัน

๕) การจัดการความขัดแย้ง สรา้ งความปรองดองในประเทศไทย

สำหรับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อการจัดการความขัดแย้ง สร้างความปรองดอง
ในประเทศไทยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยในระดับมากที่สุดต่อการจัดการความขัดแย้งด้วยวิธีการ
อื่น ๆ ซึ่งต้องดำเนินการทั้งในเชิงสถาบัน กระบวนการ และระดับบุคคล นอกจากนี้ผู้ตอบแบบสอบถามเห็น
ด้วยในระดับมากต่อการจัดการความขัดแย้ง สร้างความปรองดองในประเทศไทยทกุ ข้อ ซึ่งสามารถเรียงลำดับ
ค่าเฉลี่ยจากมาไปน้อย ดังนี้ การปฏิรูประบบ/โครงสร้างที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เช่น กระบวนการ
ยุติธรรม การเมืองการปกครอง ระบบ/กลไกทางเศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ การเจรจาอย่างสันติวิธีโดยคู่กรณี
การประนปี ระนอมเพ่ือหาทางออกร่วมกัน การสร้างความรว่ มมือเพื่อจดั ทำข้อตกลงรว่ มกัน การต่อรองเพื่อให้
เกิดความสมดุลของคู่ขัดแย้ง การไต่สวนเพื่อระงับข้อพิพาทอย่างสันติ การสร้างกติกาที่คู่ขัดแย้งยอมรับ
การกระจายอำนาจเพื่อสร้างความสมดุลของคู่ขัดแย้ง การไกล่เกลี่ยโดยคนกลาง/บุคคลที่ ๓ ทั้งภายในและ
ภายนอก ตามลำดบั

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๒๗
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๓. การทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้ง
ผเู้ ก่ยี วขอ้ งกับความขัดแย้ง สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในอนาคต และการจดั การความขัดแย้งเพอื่ สรา้ งความ
ปรองดองในประเทศไทย

สำหรับการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามปัจจยั
ส่วนบคุ คลน้นั ในกรณีทเ่ี ป็นตัวแปรทม่ี ี ๒ กลมุ่ ได้แก่ สญั ชาติ และเชื้อชาติ สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหไ์ ดแ้ ก่ การ
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองกลุ่มอิสระต่อกัน (independent sample t-test) ส่วนตัวแปรที่มีมากกว่า ๒ กลุ่ม
ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพหลัก รายได้ส่วนตัว และสถานะทางเศรษฐกิจของ
ตนเอง ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance-ANOVA) ด้วยสถิติ One-Way ANOVA ใน
กรณีที่มีค่าความแปรปรวนระหว่างกลุ่มเท่ากัน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของ
ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละกลุ่มด้วย Scheffe อย่างไรก็ตามหากความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มต่างกัน จะ
ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของแต่ละกลุ่มด้วย สถิติ Brown-Forsythe และ Welch และ
เปรียบเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉล่ียรายคูด่ ้วยวธิ ีของ Dunnett’s C ซึ่งสามารถนำเสนอผลการวิเคราะห์ได้
ตามลำดบั ดังนี้

๓.๑ การเปรยี บเทยี บความคิดเหน็ ของประชาชนต่อประเดน็ ความขัดแย้งในปัจจุบนั

ตาราง ๑๖ การเปรยี บเทียบคา่ เฉล่ียความคดิ เห็นของประชาชนต่อประเด็นความขดั แย้งทางการเมอื ง/นโยบาย
ทางการเมอื ง กบั เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชพี

๑.๑ ความขัดแย้งทางการเมือง/นโยบาย ̅ S.D. F Welch Brown-
ทางการเมือง Forsythe

เพศ ๓.๖๘ ๒.๖๒ ๒.๗๑๐ ๑.๐๗๕

ชาย ๓.๗๔ ๒.๔๘

หญิง ๓.๖๔ ๒.๗๓

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๕๖ ๒.๗๗

อน่ื ๆ ๔.๓๘ ๑.๐๒

ระดบั การศึกษา ๓.๗๐ ๒.๖๔ ๑.๖๗๑ ๑.๕๘๖

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๓.๒๔ ๓.๔๓

มัธยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๓.๗๗ ๒.๗๓

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๓.๕๖ ๒.๖๑

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๔.๐๑ ๒.๓๐

ปรญิ ญาตรี ๓.๗๑ ๒.๖๓

ปริญญาโท ๓.๕๕ ๒.๖๒

ปริญญาเอก ๓.๕๐ ๒.๗๗

เสนอ สำนักงานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๒๘
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๑.๑ ความขัดแย้งทางการเมือง/นโยบาย ̅ S.D. F Welch Brown-
ทางการเมือง Forsythe

อาชพี หลกั ๓.๖๗ ๒.๖๓ ๓.๓๐๘** ๒.๙๖๐**

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๓.๒๖ ๓.๐๕

นักเรยี น/นกั ศกึ ษา ๓.๕๕a ๒.๗๘

รบั จ้างท่วั ไป ๓.๘๘ ๒.๓๙

เกษตรกร ๓.๖๕ ๒.๘๔

ลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน ๓.๙๑b ๒.๔๘

รับราชการ/พนักงานราชการ ๓.๒๖bc ๒.๙๔

พนักงานรัฐวิสาหกิจ ๓.๘๘ ๒.๔๒

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๙๘ ๒.๔๐

ธรุ กจิ สว่ นตัว/คา้ ขาย ๓.๘๕ ๒.๒๖

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๓.๑๙d ๒.๙๖

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๔.๓๙acd ๑.๓๖

ดจิ ิทัลแพลตฟอร์ม ๓.๙๗ ๒.๑๒

อื่นๆ ๓.๕๕ ๒.๓๔

หมายเหตุ: ** ระดับนยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

คทู่ ่ีมอี ักษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คทู่ ี่มีความแตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิ

จากตารางที่ ๑๖ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
ขัดแย้งในปัจจุบัน กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีอาชีพหลักแตกต่างกัน จะมี
ความคิดเหน็ ต่อประเด็นความขัดแยง้ ทางการเมือง/นโยบายทางการเมืองแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ
ทรี่ ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทียบรายคู่ พบวา่

- ผทู้ ่ปี ระกอบอาชีพธุรกจิ ขายของออนไลน์ เหน็ ดว้ ยว่า ความขดั แย้งในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งทาง
การเมือง/นโยบายทางการเมือง มากกว่าอาชีพนักเรียน/นักศึกษา รับราชการ/พนักงานราชการ และอาชีพ
อิสระ

- ผู้ที่ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานเอกชนเห็นด้วยในระดับท่ีมากกว่าว่า ความขัดแย้งในสังคมไทย
เปน็ ความขดั แย้งทางการเมือง/นโยบายทางการเมือง มากกวา่ อาชพี รับราชการ/พนักงานราชการ

เสนอ สำนักงานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๒๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๑๗ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเดน็ ความขัดแย้งทางความคดิ /อุดมคติ
กับ เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี

๑.๒ ความขดั แย้งทางความคดิ /อุดมคติ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๐๙ ๓.๐๙ ๓.๙๐๑* ๓.๓๑๗*

ชาย ๒.๙๒a ๓.๑๗

หญิง ๓.๑๗ ๓.๐๘

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๖๘a ๒.๕๔

อ่นื ๆ ๓.๑๓ ๓.๓๒

ระดับการศกึ ษา ๓.๐๘ ๓.๑๓ ๓.๘๖๑** ๔.๔๔๕**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๓.๐๔ ๓.๔๗

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๓.๒๘ ๓.๑๗

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๔๑a ๓.๔๘

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๓.๐๔ ๓.๑๖

ปริญญาตรี ๓.๒๙a ๒.๙๖

ปรญิ ญาโท ๒.๘๒ ๓.๑๓

ปรญิ ญาเอก ๓.๗๑ ๒.๐๕

อาชีพหลัก ๓.๐๙ ๓.๑๐ ๓.๓๑๐** ๓.๔๕๓**

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ๒.๙๕ ๓.๒๘

นักเรยี น/นักศึกษา ๓.๐๗ ๓.๑๗

รับจา้ งทัว่ ไป ๓.๑๕ ๓.๐๑

เกษตรกร ๓.๐๘ ๓.๓๑

ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน ๓.๕๗a ๒.๗๑
รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๒.๓๙ab ๓.๔๖

พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ ๒.๙๕ ๓.๒๗

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๕๓b ๒.๗๒

ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย ๓.๑๕ ๒.๙๓

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๙๐ ๓.๒๗

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๒.๗๕ ๓.๓๗

ดิจิทัลแพลตฟอรม์ ๓.๗๒ ๒.๒๑

อืน่ ๆ ๓.๑๘ ๒.๗๐

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๓๐
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พือ่ ให้เกิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: * ระดับนยั สำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดบั นัยสำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

ค่ทู มี่ อี ักษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คูท่ ่ีมีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ

จากตาราง ๑๗ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
ขัดแย้งทางความคิด/อุดมคติ กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีเพศต่างกัน จะมี
ความคิดเห็นต่อประเด็นความขัดแย้งทางความคิด/อุดมคติ แตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ ๐.๐๕
และประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความขัดแย้งทาง
ความคิด/อุดมคติ แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุม่ LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยวา่ ความขัดแย้งในสงั คมไทยเปน็ ความขัดแย้งทาง
ความคิด/อุดมคติ มากกว่าเพศชาย

- ประชาชนทีม่ รี ะดับการศึกษาปริญญาตรี เหน็ ดว้ ยวา่ ความขัดแย้งในสงั คมไทยเป็นความขัดแย้งทาง
ความคดิ /อุดมคติ มากกวา่ ประชาชนทีม่ ีระดบั การศึกษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเท่า/ปวช.

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานเอกชน และพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า ความ
ขัดแย้งในสงั คมไทยเปน็ ความขดั แย้งทางความคิด/อุดมคติ มากกว่าอาชพี รบั ราชการ/พนักงานราชการ

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๓๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๑๘ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความขัดแย้งที่เกิดจากช่องว่าง
ระหวา่ งวัย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชพี

๑.๓ ความขัดแยง้ ทีเ่ กดิ จากช่องว่าง ̅ S.D. F Welch Brown-
ระหว่างวยั Forsythe

เพศ ๒.๔๕ ๓.๕๑ ๘.๕๔๖** ๗.๓๙๕**

ชาย ๒.๑๘ab ๓.๖๑

หญิง ๒.๕๖ac ๓.๔๗

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๔๓bc ๒.๗๘

อน่ื ๆ ๒.๗๕ ๓.๔๙

ระดบั การศกึ ษา ๒.๔๒ ๓.๕๕ ๔.๘๒๗** ๔.๖๙๗**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๒.๐๖ ๔.๑๓

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ /เทียบเท่า ๒.๒๖ ๓.๘๕

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๑.๙๐a ๓.๗๗

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๑๓ ๓.๖๘

ปริญญาตรี ๒.๗๕a ๓.๓๑

ปริญญาโท ๑.๘๕ ๓.๖๔

ปริญญาเอก ๓.๒๙ ๑.๘๖

อาชีพหลกั ๒.๔๕ ๓.๕๑ ๓.๑๖๖** ๓.๓๘๙**

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๒.๘๕ ๓.๓๙

นักเรียน/นักศกึ ษา ๒.๗๕a ๓.๓๓

รับจ้างทั่วไป ๒.๖๕ ๓.๔๓

เกษตรกร ๒.๓๖ ๓.๙๒

ลกู จา้ ง/พนกั งานเอกชน ๒.๗๗b ๓.๓๔
รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๑.๘๖ab ๓.๖๓

พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ ๒.๕๙ ๓.๔๖

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๒.๗๔ ๓.๓๗

ธรุ กิจส่วนตัว/คา้ ขาย ๒.๐๓ ๓.๗๐

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๑.๔๔ ๔.๐๑

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๑.๙๕ ๓.๖๓

ดจิ ิทลั แพลตฟอร์ม ๒.๘๑ ๒.๘๙

อืน่ ๆ ๓.๔๕ ๒.๓๔

เสนอ สำนักงานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๓๒
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: ** ระดบั นัยสำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

ค่ทู ่มี อี กั ษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คือ คูท่ ่ีมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ

จากตาราง ๑๘ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
ขัดแย้งที่เกิดจากช่องว่างระหว่างวัย กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ ระดับ
การศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความขัดแย้งที่เกิดจากช่องว่างระหว่างวัย
แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งที่
เกดิ จากชอ่ งวา่ งระหวา่ งวัย มากกวา่ เพศชาย และเพศหญงิ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งที่
เกดิ จากชอ่ งว่างระหวา่ งวัย มากกว่าประชาชนทีม่ รี ะดับการศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเท่า/ปวช.

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพนักเรยี น/นกั ศึกษา และลูกจ้าง/พนักงานเอกชน เหน็ ด้วยว่า ความขดั แย้ง
ในสังคมไทยเป็นความขัดแยง้ ทีเ่ กดิ จากช่องว่างระหว่างวยั มากกวา่ อาชีพรับราชการ/พนกั งานราชการ

ตาราง ๑๙ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความขัดแย้งจากการเข้าถึง
ทรัพยากรทางเศรษฐกจิ กับ เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชพี

๑.๔ ความขดั แยง้ จากการเขา้ ถงึ ̅ S.D. F Welch Brown-
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ Forsythe

เพศ ๒.๖๓ ๓.๔๑ ๓.๕๓๑* ๓.๑๒๘*

ชาย ๒.๔๓a ๓.๔๙

หญงิ ๒.๗๔ ๓.๓๙

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๒๐a ๒.๙๒

อน่ื ๆ ๒.๗๕ ๓.๘๒

ระดับการศึกษา ๒.๖๓ ๓.๔๔ ๔.๔๔๗** ๔.๔๐๔**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๒.๒๙ ๓.๙๑

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทียบเทา่ ๒.๔๕ ๓.๗๒

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๐๘a ๓.๖๐

อนปุ ริญญา/ปวส. ๒.๔๔ ๓.๕๓
ปริญญาตรี ๒.๙๔a ๓.๒๕

ปรญิ ญาโท ๒.๒๓ ๓.๔๒

ปรญิ ญาเอก ๓.๕๗ ๒.๑๐

เสนอ สำนักงานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๓๓
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๑.๔ ความขัดแย้งจากการเข้าถงึ ̅ S.D. F Welch Brown-
ทรพั ยากรทางเศรษฐกิจ Forsythe

อาชีพหลัก ๒.๖๓ ๓.๔๒ ๒.๕๗๙** ๒.๔๗๖**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๒.๘๑ ๓.๒๐

นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา ๒.๘๙ ๓.๒๐

รบั จา้ งทว่ั ไป ๒.๘๐ ๓.๓๑

เกษตรกร ๒.๐๓ ๔.๐๙

ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน ๒.๗๘ ๓.๔๐

รับราชการ/พนักงานราชการ ๒.๒๕a ๓.๕๕

พนักงานรัฐวิสาหกจิ ๒.๖๙ ๓.๔๐

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๓.๓๑ab ๒.๘๒

ธุรกจิ ส่วนตัว/คา้ ขาย ๒.๒๐b ๓.๖๙

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๕๔ ๓.๔๐

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๒.๐๐ ๓.๗๑

ดจิ ิทลั แพลตฟอร์ม ๑.๘๖ ๓.๙๕

อน่ื ๆ ๓.๕๐ ๒.๒๘

หมายเหตุ: * ระดบั นัยสำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดับนัยสำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คูท่ ม่ี อี ักษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คูท่ มี่ ีความแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ

จากตาราง ๑๙ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
ขัดแย้งจากการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจ กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ
ต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความขัดแย้งจากการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจแตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ และประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็น
ต่อประเด็นความขัดแย้งจากการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนกลุม่ LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) เหน็ ด้วยว่า ความขดั แยง้ ในสงั คมไทยเปน็ ความขัดแย้งจาก
การเข้าถงึ ทรพั ยากรทางเศรษฐกจิ มากกวา่ เพศชาย

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เหน็ ด้วยวา่ ความขดั แยง้ ในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งจาก
การเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจ มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/
ปวช.

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๓๔
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความ
ขัดแย้งจากการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจ มากกว่าอาชีพรับราชการ/พนักงานราชการ และธุรกิจส่วนตวั /
คา้ ขาย

ตาราง ๒๐ การเปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนตอ่ ประเด็นความขัดแย้งจากการละเมดิ สิทธิ
มนุษยชน/สิทธิขัน้ พน้ื ฐาน กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๑.๕ ความขัดแย้งจากการละเมิดสทิ ธิ ̅ S.D. F Welch Brown-
มนษุ ยชน/สทิ ธขิ น้ั พน้ื ฐาน Forsythe

เพศ ๒.๗๒ ๓.๔๐ ๑๑.๓๖๑** ๙.๑๐๑**

ชาย ๒.๔๙a ๓.๔๕

หญงิ ๒.๗๗b ๓.๔๓

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๗๘ab ๒.๔๗

อ่นื ๆ ๓.๗๕ ๓.๐๔

ระดับการศกึ ษา ๒.๗๒ ๓.๔๑ ๓.๐๙๔** ๓.๓๐๘**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๒.๗๕ ๓.๕๖

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๒.๗๓ ๓.๔๙

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๒๙a ๓.๕๒

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๒๙b ๓.๖๙

ปริญญาตรี ๒.๙๗ab ๓.๒๗

ปริญญาโท ๒.๕๖ ๓.๔๔

ปรญิ ญาเอก ๓.๓๖ ๒.๓๑

อาชพี หลัก ๒.๗๑ ๓.๔๑ ๓.๒๖๔** ๓.๒๔๐**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ๓.๒๙ ๒.๙๔

นกั เรยี น/นักศกึ ษา ๒.๘๙ ๓.๒๘

รับจ้างท่ัวไป ๒.๕๘ ๓.๕๓

เกษตรกร ๒.๒๗ ๓.๙๖

ลูกจา้ ง/พนกั งานเอกชน ๓.๑๑a ๓.๒๒
รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๒.๓๑ab ๓.๔๘

พนักงานรฐั วสิ าหกิจ ๒.๓๖ ๓.๔๙

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๓.๓๑bc ๒.๘๕
ธุรกิจสว่ นตวั /ค้าขาย ๒.๒๒c ๓.๗๐

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๓๘ ๓.๕๘

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๓๕
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอื่ ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๑.๕ ความขัดแย้งจากการละเมดิ สิทธิ ̅ S.D. F Welch Brown-
มนุษยชน/สิทธขิ นั้ พืน้ ฐาน Forsythe

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๑.๘๔ ๓.๘๗

ดจิ ิทัลแพลตฟอรม์ ๓.๒๕ ๓.๑๖

อ่ืนๆ ๓.๔๑ ๒.๒๘

หมายเหตุ: ** ระดบั นยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

คู่ท่ีมีอกั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกัน คือ คู่ที่มคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิ

จากตาราง ๒๐ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
ขัดแยง้ จากการละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชน/สิทธิขน้ั พื้นฐาน กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มี
เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความขัดแย้งจากการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน/สิทธิขั้นพื้นฐานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่
พบวา่

- ประชาชนกล่มุ LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เหน็ ด้วยวา่ ความขัดแยง้ ในสงั คมไทยเปน็ ความขัดแย้งจาก
การละเมิดสทิ ธิมนุษยชน/สทิ ธิขน้ั พืน้ ฐาน มากกวา่ เพศชาย และเพศหญิง ตามลำดบั

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เหน็ ดว้ ยว่า ความขัดแยง้ ในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งจาก
การละเมิดสิทธิมนุษยชน/สิทธิขั้นพื้นฐาน มากกว่าประชาชนท่ีมีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/
เทียบเท่า/ปวช. และอนปุ รญิ ญา/ปวส.

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานเอกชน และพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า ความขัดแย้ง
ในสังคมไทยเป็นความขัดแย้งจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน/สิทธิขั้นพื้นฐาน มากกว่าอาชีพรับราชการ/
พนกั งานราชการ

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความ
ขัดแย้งจากการละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชน/สทิ ธิขน้ั พ้ืนฐาน มากกว่าอาชีพธุรกิจสว่ นตวั /ค้าขาย

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๓๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๒๑ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเหน็ ของประชาชนตอ่ ประเด็นความขดั แย้งจากความแตกต่างทาง
ชาติพนั ธุ/์ ศาสนา กับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๑.๖ ความขดั แยง้ จากความแตกตา่ งทางชาติ ̅ S.D. F Welch Brown-
พันธ/ุ์ ศาสนา Forsythe

เพศ ๑.๗๗ ๓.๘๗ ๑๘.๓๐๑** ๑๔.๓๓๖**

ชาย ๑.๓๘ab ๓.๙๗

หญงิ ๑.๘๙ac ๓.๘๔

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๓๒bc ๒.๙๐

อน่ื ๆ ๒.๖๓ ๓.๙๖

ระดบั การศึกษา ๑.๖๗ ๓.๙๓ ๕.๑๐๕** ๔.๙๔๗**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๑.๒๖ ๔.๒๔

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทียบเทา่ ๑.๔๔ ๔.๒๒

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๑.๑๐a ๓.๙๙
อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๑.๑๗b ๔.๑๔

ปรญิ ญาตรี ๒.๐๒ab ๓.๘๐

ปรญิ ญาโท ๑.๗๑ ๓.๕๗

ปรญิ ญาเอก ๓.๒๑ ๒.๒๖

อาชีพหลกั ๑.๗๖ ๓.๘๘ ๓.๔๖๗** ๒.๕๗๔**
ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๐๖abcde ๓.๑๘

นักเรยี น/นกั ศึกษา ๒.๐๗ ๓.๗๔

รับจ้างทว่ั ไป ๑.๗๒a ๔.๐๐

เกษตรกร ๑.๕๒ ๔.๒๔

ลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน ๑.๔๔b ๓.๙๘
รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๑.๗๐c ๓.๗๘

พนกั งานรฐั วิสาหกจิ ๑.๘๙ ๓.๗๙

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๑.๘๖ ๓.๗๒
ธุรกิจส่วนตัว/คา้ ขาย ๑.๕๒d ๔.๐๔

อาชีพอิสระ (Freelance) ๑.๐๘ef ๔.๐๙

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๑.๔๙ ๓.๙๙

ดิจิทัลแพลตฟอรม์ ๒.๑๑ ๓.๗๘

อืน่ ๆ ๓.๕๐f ๒.๒๘

เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๓๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: ** ระดบั นัยสำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

คทู่ ่ีมอี กั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกนั คอื คู่ที่มคี วามแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ

จากตาราง ๒๑ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
แตกต่างทางชาติพันธุ์/ศาสนา กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ ระดับการศึกษา
และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความแตกต่างทางชาติพันธุ์/ศาสนาแตกต่างกันอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทียบรายคู่พบว่า

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความแตกต่าง
ทางชาตพิ ันธุ์/ศาสนา มากกว่าเพศชาย และเพศหญงิ ตามลำดบั

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความแตกต่าง
ทางชาติพันธุ์/ศาสนา มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/ปวช. และ
อนปุ รญิ ญา/ปวส.

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเปน็ ความแตกต่างทาง
ชาติพันธุ์/ศาสนา มากกว่าอาชีพอิสระ ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย รับราชการ/พนักงาน
ราชการ และรบั จา้ งท่ัวไป

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพอื่น ๆ เห็นด้วยว่า ความขัดแย้งในสังคมไทยเป็นความแตกต่างทางชาติ
พนั ธ์/ุ ศาสนา มากกวา่ เมอื่ เทียบกับอาชพี อาชพี อิสระ

จากตารางดังกล่าวข้างต้นทั้งหมดพบว่า ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อ
ประเดน็ ความขัดแย้งในปจั จุบัน โดยมาก พบว่าประชาชนกลุ่มผู้ทรี่ ะบุเพศตนเองเป็น “อ่ืน ๆ” และ LGBTQ+
มักเป็นกลุ่มที่แสดงความเห็นด้วยต่อประเด็นต่าง ๆ ในระดับที่มากกว่าเพศชายเพศหญิง ประชาชนที่มีระดับ
การศึกษาปริญญาตรีแสดงความเห็นด้วยต่อประเด็นต่าง ๆ ในระดับที่มากกว่าระดับการศึกษามัธยมปลาย/
เทยี บเท่า/ปวช ประชาชนทม่ี อี าชีพหลักเป็นอาชีพภาคเอกชนเช่น ลูกจ้าง พนักงานเอกชน พนกั งานสญั ญาจ้าง
มักมีการแสดงความเห็นด้วยต่อประเด็นต่าง ๆ ในระดับที่มากกว่าประชาชนที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงาน
ราชการ

เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๓๘
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๓.๒ การเปรยี บเทียบความคิดเหน็ ของประชาชนต่อสาเหตขุ องความขัดแย้งในประเทศไทย

ตาราง ๒๒ การเปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ความคดิ เห็นของประชาชนต่อสาเหตขุ องความขัดแยง้ ในประเดน็ ความไม่
ลงตัวในความเห็นและการเขา้ ถึงอำนาจทางการเมือง กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๒.๑ ความไม่ลงตัวในความเหน็ และการ ̅ S.D. F Welch Brown-
เขา้ ถึงอำนาจทางการเมือง Forsythe

เพศ ๓.๗๓ ๒.๕๕ ๐.๒๗๕

ชาย ๓.๖๙ ๒.๕๔

หญงิ ๓.๗๕ ๒.๕๘

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๘๓ ๒.๓๒

อืน่ ๆ ๔.๐๐ ๒.๓๗

ระดับการศึกษา ๓.๗๕ ๒.๕๖ ๓.๔๘๙** ๓.๔๔๓**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๓.๑๙ ๓.๔๐

มัธยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเท่า ๓.๓๑ ๓.๒๙

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๓.๕๕a ๒.๖๑

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๔.๐๘a ๒.๐๐

ปริญญาตรี ๓.๘๔ ๒.๔๕

ปรญิ ญาโท ๓.๕๘ ๒.๕๘

ปริญญาเอก ๔.๒๑ ๐.๙๗

อาชพี หลัก ๓.๗๒ ๒.๕๕ ๓.๕๒๙** ๒.๙๓๙**

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๓.๘๐ ๒.๔๗

นักเรียน/นกั ศกึ ษา ๓.๔๘ab ๒.๘๖

รับจ้างท่วั ไป ๓.๗๕ ๒.๖๑

เกษตรกร ๓.๐๕cd ๓.๓๔

ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๓.๙๕ ๒.๒๙

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๓.๗๙ ๒.๓๕

พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ๓.๘๘ ๒.๔๘

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๔.๒๗ac ๑.๘๔

ธุรกจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๓.๕๓e ๒.๗๕

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๓.๔๐ ๒.๗๖

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๔.๓๙bde ๑.๓๖

ดิจทิ ลั แพลตฟอร์ม ๓.๕๓ ๒.๔๘

เสนอ สำนักงานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๓๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๒.๑ ความไมล่ งตวั ในความเหน็ และการ ̅ S.D. F Welch Brown-
เข้าถึงอำนาจทางการเมือง Forsythe

อืน่ ๆ ๓.๔๑ ๒.๓๒

หมายเหตุ: ** ระดบั นัยสำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

คู่ท่ีมอี กั ษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คูท่ ี่มีความแตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ

จากตาราง ๒๒ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขดั แย้งในประเด็นความไมล่ งตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง กบั เพศ ระดบั การศึกษา และ
อาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความ
ขดั แย้งในสงั คมไทยในประเดน็ ความไม่ลงตวั ในความเห็นและการเขา้ ถึงอำนาจทางการเมืองแตกตา่ งกันอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนทม่ี ีระดับการศึกษาอนุปริญญา/ปวส. เห็นดว้ ยวา่ สาเหตขุ องความขดั แย้งในสังคมไทยเกิด
จากความไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเท่า/ปวช. และปริญญาตรี

- ประชาชนทเ่ี ป็นประกอบอาชีพพนักงานสญั ญาจ้าง เห็นด้วยวา่ สาเหตุของความขดั แยง้ ในสังคมไทย
เกิดจากความไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง มากกว่าอาชีพนักเรียน/นักศึกษา และ
เกษตรกร

- ประชาชนที่ประกอบอาชพี ธุรกิจขายของออนไลน์ เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทย
เกิดจากความไม่ลงตัวในความเห็นและการเข้าถึงอำนาจทางการเมือง มากกว่าอาชีพนักเรียน/นักศึกษา
เกษตรกร และธรุ กจิ สว่ นตัว/ค้าขาย

เสนอ สำนักงานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๔๐
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๒๓ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
ไม่ยอมรับความเห็นที่แตกตา่ งทางการเมือง กับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๒.๒ การไมย่ อมรับความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งทาง ̅ S.D. F Welch Brown-
การเมอื ง Forsythe

เพศ ๓.๕๘ ๒.๖๘ ๐.๑๕๐

ชาย ๓.๕๘ ๒.๖๒

หญิง ๓.๕๘ ๒.๗๓

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๕๓ ๒.๗๗

อืน่ ๆ ๔.๐๐ ๒.๓๗

ระดับการศึกษา ๓.๖๐ ๒.๖๙ ๒.๕๑๘* ๒.๕๗๖*

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๓.๑๘ ๓.๒๙

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๓.๔๓ ๓.๐๗

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๓.๒๔a ๒.๙๕

อนุปรญิ ญา/ปวส. ๓.๖๓ ๒.๖๐

ปริญญาตรี ๓.๗๓ ๒.๕๗

ปริญญาโท ๓.๘๐a ๒.๑๓

ปรญิ ญาเอก ๔.๐๗ ๐.๙๒

อาชพี หลกั ๓.๕๗ ๒.๖๙ ๓.๖๙๕** ๒.๘๓๖**

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๓.๗๑ ๒.๓๒

นักเรยี น/นักศึกษา ๓.๔๙a ๒.๘๙

รบั จา้ งทว่ั ไป ๓.๕๒b ๒.๗๖

เกษตรกร ๒.๕๔ce ๓.๗๕

ลูกจ้าง/พนกั งานเอกชน ๓.๗๕c ๒.๕๐

รับราชการ/พนกั งานราชการ ๓.๕๐d ๒.๖๒

พนักงานรัฐวิสาหกิจ ๓.๕๓ ๒.๘๕

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๔.๑๐e ๒.๐๔

ธรุ กจิ สว่ นตัว/คา้ ขาย ๓.๖๒ ๒.๖๒

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๓.๖๕ ๒.๕๙

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๓.๒๘ ๒.๘๖

ดิจิทลั แพลตฟอร์ม ๔.๓๓abd ๐.๘๙

อืน่ ๆ ๓.๔๑ ๒.๕๖

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๔๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: * ระดบั นัยสำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดบั นัยสำคญั ทางสถิติ ๐.๐๑

คทู่ ี่มีอักษรภาษาองั กฤษเหมือนกนั คือ ค่ทู ่ีมีความแตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ

จากตาราง ๒๓ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นการไม่ยอมรับความเห็นท่ีแตกตา่ งทางการเมือง กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแยง้ ในสังคมไทยในประเด็นการ
ไม่ยอมรับความเห็นที่แตกต่างทางการเมืองแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕
ส่วนประชาชนทม่ี ีอาชีพหลกั ต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแยง้ ในสังคมไทยในประเด็นการไม่
ยอมรับความเห็นที่แตกต่างทางการเมืองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการ
เปรยี บเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การไม่ยอมรับความเห็นที่แตกตา่ งทางการเมือง มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย/
เทียบเท่า/ปวช. และอนปุ ริญญา/ปวส.

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพดิจิทัลแพลตฟอร์ม เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิด
จากการไม่ยอมรับความเห็นที่แตกต่างทางการเมือง มากกว่าอาชีพนักเรียน/นักศึกษา รับจ้างทั่วไป และรับ
ราชการ/พนกั งานราชการ

- ประชาชนที่เป็นประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานเอกชน และพนักงานสัญญาจ้าง เห็นดว้ ยวา่ สาเหตุ
ของความขัดแยง้ ในสงั คมไทยเกิดจากการไม่ยอมรับความเห็นท่แี ตกต่างทางการเมือง มากกว่าอาชพี เกษตรกร

เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๔๒
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่ือให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๒๔ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
ไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ยผปู้ กครอง กับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๒.๓ การไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ย ̅ S.D. F Welch Brown-
ผ้ปู กครอง Forsythe

เพศ ๓.๑๖ ๓.๐๕ ๕.๗๕๙** ๓.๒๐๕*

ชาย ๓.๐๙a ๓.๑๐

หญิง ๓.๑๓b ๓.๐๘

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๙๐ab ๒.๒๒

อน่ื ๆ ๒.๗๕ ๓.๘๒

ระดบั การศกึ ษา ๓.๑๙ ๓.๐๔ ๑.๕๒๘ ๑.๘๘๘

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๓.๒๖ ๓.๒๑

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเท่า ๓.๒๓ ๓.๒๕

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๗๓ ๓.๓๘

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๓.๒๙ ๒.๘๘

ปรญิ ญาตรี ๓.๒๙ ๒.๙๔

ปรญิ ญาโท ๓.๐๖ ๓.๐๐

ปริญญาเอก ๓.๓๖ ๒.๐๖

อาชีพหลัก ๓.๑๕ ๓.๐๖ ๒.๒๐๕* ๒.๑๖๒*

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๐๙ ๓.๐๙

นกั เรยี น/นกั ศึกษา ๒.๘๖a ๓.๔๒

รบั จ้างทว่ั ไป ๓.๒๘ ๓.๐๕

เกษตรกร ๒.๙๐ ๓.๓๔

ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน ๓.๔๐ ๒.๘๙

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๒.๗๘b ๓.๐๖

พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ ๓.๕๒ ๒.๘๓

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๗๕ab ๒.๔๙

ธุรกจิ ส่วนตัว/คา้ ขาย ๓.๒๓ ๓.๐๑

อาชพี อิสระ (Freelance) ๓.๓๓ ๒.๘๓

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๓.๐๐ ๓.๒๔

ดิจทิ ลั แพลตฟอรม์ ๓.๕๖ ๒.๗๓

อน่ื ๆ ๓.๕๐ ๒.๒๔

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๔๓
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: * ระดบั นัยสำคัญทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดับนยั สำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ที่มีอักษรภาษาอังกฤษเหมือนกัน คือ คู่ท่มี ีความแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ

จากตาราง ๒๔ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นการไม่ยอมรับอำนาจของฝ่ายผู้ปกครอง กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีเพศและอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยในประเด็น
การไม่ยอมรับอำนาจของฝ่ายผู้ปกครองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ผลจาก
การเปรียบเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การไม่ยอมรบั อำนาจของฝา่ ยผปู้ กครอง มากกว่าประชาชนที่เปน็ เพศชาย และเพศหญิง

- ประชาชนท่ีประกอบอาชีพพนักงานสญั ญาจา้ ง เห็นดว้ ยว่า สาเหตุของความขดั แย้งในสังคมไทยเกิด
จากการไม่ยอมรับอำนาจของฝ่ายผู้ปกครอง มากกว่าอาชีพนักเรียน/นักศึกษา และรับราชการ/พนักงาน
ราชการ

ตาราง ๒๕ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
สูญเสยี ผลประโยชนจ์ ากการสูญเสยี อำนาจทางการเมือง กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๒.๔ การสญู เสียผลประโยชนจ์ ากการ ̅ S.D. F Welch Brown-
สูญเสยี อำนาจทางการเมือง Forsythe

เพศ ๓.๓๕ ๒.๘๘ ๐.๗๗๒

ชาย ๓.๓๔ ๒.๘๔

หญงิ ๓.๓๒ ๒.๙๕

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๖๒ ๒.๕๘

อน่ื ๆ ๔.๐๐ ๒.๓๗

ระดบั การศกึ ษา ๓.๔๑ ๒.๘๔ ๕.๕๖๑** ๒.๙๙๗**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๓.๑๙a ๓.๒๔

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๓.๔๘ ๒.๙๓
มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๓.๐๒bc ๓.๐๖

อนุปริญญา/ปวส. ๓.๑๗d ๓.๐๘
ปรญิ ญาตรี ๓.๕๖b ๒.๖๘

ปรญิ ญาโท ๓.๖๓ ๒.๔๗

ปรญิ ญาเอก ๔.๕๐acd ๐.๘๕

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๔๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๒.๔ การสญู เสยี ผลประโยชนจ์ ากการ ̅ S.D. F Welch Brown-
สญู เสียอำนาจทางการเมอื ง Forsythe

อาชีพหลัก ๓.๓๔ ๒.๘๘ ๓.๒๔๒** ๓.๕๓๘**

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๓.๓๓ ๒.๗๕

นกั เรียน/นกั ศกึ ษา ๓.๒๒ ๓.๑๔

รบั จา้ งท่วั ไป ๓.๔๖ ๒.๘๑

เกษตรกร ๒.๔๙ab ๓.๖๘

ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๓.๕๖ ๒.๖๘

รับราชการ/พนักงานราชการ ๓.๓๓ ๒.๕๗

พนกั งานรฐั วิสาหกจิ ๔.๐๔ad ๒.๑๘

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๓.๙๐bc ๒.๒๒

ธุรกจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๓.๐๓ ๓.๓๔

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๖๑cd ๓.๔๒

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๓.๘๗ ๒.๒๑

ดิจิทัลแพลตฟอรม์ ๓.๘๖ ๒.๓๒

อืน่ ๆ ๓.๓๒ ๒.๓๒

หมายเหตุ: ** ระดับนยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

คทู่ ่ีมีอักษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คทู่ ม่ี ีความแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติ

จากตาราง ๒๕ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของ
ความขดั แย้งในประเด็นการสูญเสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมือง กบั เพศ ระดับการศึกษา
และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของ
ความขัดแย้งในสังคมไทยในประเด็นการสูญเสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมืองแตกต่างกัน
อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การสูญเสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมือง มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
ประถมศึกษา/เทยี บเท่า อนุปริญญา/ปวส. มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/ปวช. ปรญิ ญาตรี และปริญญาโท
ตามลำดับ

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ และพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า สาเหตุของ
ความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจากการสูญเสียผลประโยชน์จากการสูญเสียอำนาจทางการเมือง มากกว่าอาชีพ
เกษตรกร และอาชีพอสิ ระ

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๔๕
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๒๖ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนตอ่ สาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการถูก
ปฏเิ สธพ้นื ท่ีทางการเมอื ง/มีสิทธทิ างการเมืองที่ไมเ่ ทา่ เทยี ม กับ เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ

๒.๕ การถูกปฏิเสธพนื้ ท่ีทางการเมือง/มี ̅ S.D. F Welch Brown-
สิทธทิ างการเมอื งทีไ่ มเ่ ทา่ เทียม Forsythe

เพศ ๓.๐๗ ๓.๑๓ ๕.๕๒๓** ๓.๗๖๙*

ชาย ๒.๙๖a ๓.๑๖

หญงิ ๓.๐๗b ๓.๑๘

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๘๓ab ๒.๓๖

อ่นื ๆ ๓.๑๓ ๓.๓๒

ระดับการศกึ ษา ๓.๑๑ ๓.๑๓ ๓.๙๐๒** ๔.๐๖๒**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๒.๔๘ ๓.๗๖

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเท่า ๓.๐๕ ๓.๓๓

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๖๑a ๓.๔๓

อนปุ ริญญา/ปวส. ๓.๐๘ ๓.๑๔

ปรญิ ญาตรี ๓.๓๕a ๒.๙๒

ปรญิ ญาโท ๒.๙๐ ๓.๐๙

ปริญญาเอก ๓.๗๑ ๑.๑๔

อาชพี หลกั ๓.๐๗ ๓.๑๓ ๑.๖๙๙ ๒.๑๑๒*

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๔๒ ๒.๖๘

นกั เรียน/นักศกึ ษา ๓.๒๗ ๓.๐๗

รับจา้ งทวั่ ไป ๓.๐๑ ๓.๓๑

เกษตรกร ๒.๑๗ ๓.๘๓

ลูกจา้ ง/พนกั งานเอกชน ๓.๒๓ ๒.๙๘

รับราชการ/พนักงานราชการ ๓.๐๐ ๓.๐๘

พนักงานรัฐวสิ าหกจิ ๓.๑๖ ๓.๒๕

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๓.๔๒ ๒.๘๗

ธรุ กจิ ส่วนตวั /คา้ ขาย ๓.๐๑ ๓.๑๕

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๒๘ ๓.๕๘

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๓.๑๓ ๒.๗๕

ดจิ ิทลั แพลตฟอรม์ ๒.๖๑ ๓.๕๐

อน่ื ๆ ๓.๑๔ ๒.๓๖

เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๔๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พื่อใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: * ระดับนยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดับนัยสำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทมี่ อี ักษรภาษาอังกฤษเหมือนกนั คือ คู่ทมี่ คี วามแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ

จากตาราง ๒๖ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของ
ความขัดแย้งในประเด็นการถูกปฏิเสธพื้นที่ทางการเมือง/มีสิทธิทางการเมืองที่ไม่เท่าเทียม กับ เพศ ระดับ
การศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และระดับการศึกษาต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุ
ของความขัดแย้งในสังคมไทยในประเด็นการถูกปฏิเสธพื้นที่ทางการเมือง/มีสิทธิทางการเมืองที่ไม่เท่าเทียม
แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ ๐.๐๕ ผลจากการเปรยี บเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การถกู ปฏิเสธพน้ื ที่ทางการเมอื ง/มีสทิ ธทิ างการเมืองทไี่ มเ่ ท่าเทียม มากกวา่ เพศชาย และเพศหญงิ ตามลำดับ

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การถูกปฏิเสธพื้นที่ทางการเมือง/มีสิทธิทางการเมืองที่ไม่เท่าเทียม มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช.

ตาราง ๒๗ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
จดั สรรทรัพยากรทไ่ี ม่เทา่ เทยี ม กบั เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ

๒.๖ การจัดสรรทรัพยากรท่ีไมเ่ ท่าเทียม ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๘๐ ๓.๓๑ ๖.๖๗๔** ๔.๖๔๒**

ชาย ๒.๖๒a ๓.๓๗
หญิง ๒.๘๖b ๓.๓๒

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๖๔ab ๒.๕๖

อ่นื ๆ ๒.๐๐ ๔.๐๓

ระดับการศึกษา ๒.๘๓ ๓.๓๐ ๖.๑๐๕** ๔.๗๑๕**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๓.๐๕ ๓.๔๑

มัธยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเท่า ๒.๗๓ ๓.๔๑
๓.๖๑
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๒๐ab

อนุปรญิ ญา/ปวส. ๒.๕๒c ๓.๔๙
ปริญญาตรี ๓.๐๗a ๓.๑๒

ปริญญาโท ๒.๘๔ ๓.๒๗

ปริญญาเอก ๓.๙๓bc ๑.๐๐

อาชพี หลัก ๒.๗๙ ๓.๓๒ ๔.๒๙๘** ๔.๕๘๘**

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๔๗
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๒.๖ การจดั สรรทรพั ยากรท่ีไม่เท่าเทยี ม ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๓.๔๖abc ๒.๖๒

นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา ๓.๒๖def ๒.๙๘

รบั จา้ งทว่ั ไป ๒.๐๓adg ๓.๘๖

เกษตรกร ๓.๑๑ ๓.๓๓

ลูกจ้าง/พนกั งานเอกชน ๒.๘๒ ๓.๒๒

รับราชการ/พนกั งานราชการ ๒.๙๘ ๓.๑๒

พนักงานรฐั วิสาหกจิ ๒.๘๔ ๓.๔๙

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๓.๒๗gh ๒.๙๒

ธรุ กิจส่วนตวั /ค้าขาย ๒.๑๑beh ๓.๗๓

อาชพี อิสระ (Freelance) ๑.๘๕cf ๓.๗๐

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๒.๒๑ ๓.๖๗

ดจิ ิทลั แพลตฟอร์ม ๑.๙๗ ๓.๙๖

อ่นื ๆ ๒.๕๙ ๒.๖๓

หมายเหตุ: ** ระดับนยั สำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คูท่ ่มี อี ักษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คูท่ มี่ คี วามแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ

จากตาราง ๒๗ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของ
ความขัดแย้งในประเด็นการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียม กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนท่มี รี ะดบั การศึกษา และอาชพี หลกั ต่างกัน จะมคี วามคิดเหน็ ต่อสาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทย
ในประเด็นการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจาก
การเปรียบเทียบรายคู่ พบว่า

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การจดั สรรทรพั ยากรที่ไม่เทา่ เทยี ม มากกว่าประชาชนท่ีเปน็ เพศชาย และเพศหญงิ ตามลำดับ

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การจัดสรรทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียม มากกว่าประชาชนที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/
ปวช. อนปุ ริญญา/ปวส. และปรญิ ญาตรี ตามลำดับ

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี และนักเรียน/นกั ศึกษา เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแยง้
ในสังคมไทยเกิดจากการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียม มากกวา่ อาชพี อสิ ระ อาชพี รบั จ้างทว่ั ไป ธรุ กิจส่วนตัว/
คา้ ขาย และพนักงานสญั ญาจ้าง ตามลำดับ

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๔๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๒๘ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ กับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี

๒.๗ ความเหลือ่ มลำ้ ในด้านตา่ ง ๆ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๑๙ ๓.๐๔ ๑๔.๕๑๓** ๙.๑๓๓**

ชาย ๓.๐๙a ๓.๐๘

หญิง ๓.๑๖b ๓.๑๒

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๔.๐๑ab ๒.๐๑

อ่นื ๆ ๔.๓๘ ๑.๐๒

ระดับการศึกษา ๓.๒๒ ๓.๐๕ ๖.๓๗๔** ๔.๒๘๒**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๒.๙๕a ๓.๓๕

มัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเทา่ ๒.๙๒b ๓.๔๘

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๙๒cd ๓.๒๓

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๘๐ef ๓.๓๕

ปริญญาตรี ๓.๔๙ce ๒.๘๐

ปรญิ ญาโท ๓.๐๓ ๓.๐๒

ปริญญาเอก ๔.๒๙abdf ๐.๙๑

อาชีพหลกั ๓.๑๙ ๓.๐๔ ๒.๗๘๕** ๓.๑๐๔**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๓๖ ๒.๘๔

นกั เรยี น/นักศึกษา ๓.๔๘ ๒.๙๒

รบั จ้างท่ัวไป ๒.๗๗a ๓.๔๒

เกษตรกร ๓.๒๘ ๓.๑๙

ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๓.๒๗ ๒.๙๑

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๓.๓๐ ๒.๘๕

พนักงานรัฐวิสาหกจิ ๒.๙๙ ๓.๒๑

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๓.๗๘abc ๒.๕๐

ธุรกจิ สว่ นตวั /คา้ ขาย ๒.๖๑c ๓.๔๔

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๓๗b ๓.๕๔

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๒.๘๒ ๓.๓๒

ดิจทิ ัลแพลตฟอร์ม ๓.๗๒ ๒.๔๓

อ่ืนๆ ๓.๓๒ ๑.๙๔

เสนอ สำนักงานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๔๙
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: ** ระดับนยั สำคญั ทางสถิติ ๐.๐๑

คู่ทีม่ อี ักษรภาษาองั กฤษเหมือนกนั คือ ค่ทู มี่ ีความแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ

จากตาราง ๒๘ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของ
ความขดั แยง้ ในประเดน็ ความเหลอ่ื มล้ำในด้านต่าง ๆ กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนท่มี ี
เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทย
ในประเด็นความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจาก
การเปรยี บเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความเหลอ่ื มล้ำในดา้ นต่าง ๆ มากกว่าประชาชนทเี่ ป็นเพศชาย และเพศหญงิ ตามลำดับ

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่า
อนปุ รญิ ญา/ปวส. ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/ปวช. และปรญิ ญาตรี ตามลำดับ

- ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความเหล่ือมลำ้ ในด้านต่าง ๆ มากกวา่ อาชพี อสิ ระ อาชีพธุรกิจสว่ นตวั /ค้าขาย และอาชีพรบั จ้างทวั่ ไป

ตาราง ๒๙ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ความไมส่ มดลุ ในความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำนาจของรฐั กบั ประชาชน กับ เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ

๒.๘ ความไม่สมดุลในความสมั พนั ธเ์ ชงิ ̅ S.D. F Welch Brown-
อำนาจของรัฐกบั ประชาชน Forsythe

เพศ ๓.๒๐ ๒.๙๖ ๑๖.๐๖๐** ๑๑.๐๖๗**

ชาย ๓.๐๖a ๓.๐๓

หญงิ ๓.๒๐b ๓.๐๐

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๔.๐๗ab ๑.๙๙

อ่นื ๆ ๔.๓๘ ๑.๐๒

ระดับการศกึ ษา ๓.๒๑ ๒.๙๗ ๘.๕๑๑** ๖.๕๙๑**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๒.๙๓a ๓.๔๙

มัธยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเท่า ๓.๒๓b ๓.๒๐

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๕๒cde ๓.๓๔

อนุปรญิ ญา/ปวส. ๓.๐๓ ๓.๐๕

ปริญญาตรี ๓.๔๔c ๒.๗๘

ปรญิ ญาโท ๓.๖๕d ๒.๒๙

ปริญญาเอก ๔.๖๔abe ๑.๐๘

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๕๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๒.๘ ความไมส่ มดุลในความสมั พนั ธ์เชิง ̅ S.D. F Welch Brown-
อำนาจของรัฐกับประชาชน Forsythe

อาชพี หลกั ๓.๑๙ ๒.๙๗ ๒.๗๐๙** ๒.๗๗๕**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ๓.๒๗ ๒.๗๙

นักเรยี น/นักศกึ ษา ๓.๔๔ ๒.๘๗

รับจา้ งทัว่ ไป ๒.๙๑ ๓.๓๒

เกษตรกร ๒.๓๙a ๓.๖๐

ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ๓.๒๓ ๓.๐๒

รับราชการ/พนักงานราชการ ๓.๐๗ ๒.๖๓

พนกั งานรัฐวิสาหกจิ ๓.๘๐ ๒.๔๖

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๓.๘๓a ๒.๔๓

ธุรกิจสว่ นตวั /ค้าขาย ๓.๐๗ ๓.๑๙

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๒.๗๒ ๓.๓๐

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๒.๙๗ ๓.๓๗

ดจิ ิทัลแพลตฟอร์ม ๓.๘๑ ๒.๕๔

อน่ื ๆ ๓.๑๘ ๑.๖๘

หมายเหตุ: ** ระดับนัยสำคญั ทางสถิติ ๐.๐๑

คทู่ ่มี อี กั ษรภาษาองั กฤษเหมือนกนั คอื คทู่ มี่ คี วามแตกตา่ งกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

จากตาราง ๒๙ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขดั แย้งในประเด็นความไมส่ มดลุ ในความสมั พันธเ์ ชิงอำนาจของรฐั กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งใน
สังคมไทยในประเด็นความไม่สมดุลในความสัมพันธ์เชิงอำนาจของรัฐแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความไม่สมดุลในความสัมพนั ธเ์ ชงิ อำนาจของรฐั มากกวา่ ประชาชนที่เปน็ เพศชาย และเพศหญงิ ตามลำดับ

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความไมส่ มดลุ ในความสัมพนั ธ์เชิงอำนาจของรัฐ มากกว่าประชาชนที่มีการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย/
เทียบเท่า/ปวช. ประถมศึกษา/เทียบเท่า อนุปริญญา/ปวส. มัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่า ปริญญาตรี และ
ปรญิ ญาโท ตามลำดบั

- ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความไมส่ มดลุ ในความสัมพนั ธ์เชิงอำนาจของรฐั มากกว่าอาชพี เกษตรกร

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๕๑
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๓๐ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
บงั คบั ใช้กฎหมายทีไ่ มเ่ ปน็ ธรรม กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี

๒.๙ การบงั คบั ใช้กฎหมายที่ไมเ่ ปน็ ธรรม ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๒๔ ๒.๙๓ ๕.๑๒๘** ๒.๓๖๙*

ชาย ๓.๑๙a ๒.๙๐

หญงิ ๓.๒๓b ๒.๙๙

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๖๒ ๒.๗๔

อน่ื ๆ ๔.๒๕ab ๑.๑๓

ระดับการศึกษา ๓.๒๖ ๒.๙๔ ๑๑.๓๙๕** ๘.๔๒๒**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๒.๙๑a ๓.๔๓

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๓.๒๒bc ๓.๑๗

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๕๒ ๓.๓๕

อนุปริญญา/ปวส. ๒.๙๑ ๓.๑๗

ปรญิ ญาตรี ๓.๖๐bd ๒.๖๒

ปริญญาโท ๓.๒๗e ๒.๗๗

ปริญญาเอก ๔.๕๗acde ๐.๘๕

อาชพี หลัก ๓.๒๔ ๒.๙๓ ๔.๗๘๔** ๔.๒๙๖**

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๓๓ ๒.๗๒

นกั เรียน/นกั ศกึ ษา ๓.๔๓ ๒.๙๒

รบั จ้างท่ัวไป ๒.๙๐a ๓.๓๖

เกษตรกร ๒.๕๖b ๓.๕๗

ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ๓.๖๖c ๒.๕๗

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๒.๙๐cd ๒.๗๐

พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ ๓.๘๐ ๒.๕๘

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๔.๐๒abdef ๒.๒๓

ธุรกจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๒.๙๙e ๓.๒๕

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๒.๖๗f ๓.๔๐

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๒.๗๔ ๓.๕๓

ดิจทิ ัลแพลตฟอรม์ ๓.๖๙ ๒.๑๖

อน่ื ๆ ๒.๖๘ ๒.๖๓

เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๕๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พื่อให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: * ระดบั นยั สำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดบั นัยสำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทม่ี ีอักษรภาษาอังกฤษเหมือนกัน คอื คู่ทม่ี ีความแตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติ

จากตาราง ๓๐ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแยง้ ในประเดน็ การบงั คับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นธรรม กับ เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ พบวา่ ประชาชนท่ี
มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
บังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบ
รายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่มผู้เลือกเพศสภาพ “อื่น ๆ” เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การบงั คบั ใชก้ ฎหมายทไี่ ม่เปน็ ธรรม มากกว่าประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศหญงิ ตามลำดับ

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เป็นธรรม มากกว่าประชาชนที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/
ปวช. ประถมศึกษา/เทียบเท่า อนุปริญญา/ปวส. มัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่า ปริญญาโท และปริญญาตรี
ตามลำดบั

- ประชาชนท่มี อี าชพี พนกั งานสัญญาจา้ ง เหน็ ดว้ ยว่า สาเหตุของความขดั แยง้ ในสงั คมไทยเกิดจากการ
บงั คบั ใช้กฎหมายท่ไี มเ่ ปน็ ธรรม มากกว่าอาชพี เกษตรกร

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๕๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๓๑ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
เขา้ ถงึ และการรบั รูข้ ้อมลู ท่แี ตกต่างกัน กบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ

๒.๑๐ การเขา้ ถึงและการรบั รขู้ อ้ มูลที่ ̅ S.D. F Welch Brown-
แตกต่างกนั Forsythe

เพศ ๒.๙๙ ๓.๑๓ ๐.๓๑๘

ชาย ๒.๙๗ ๓.๐๖

หญิง ๒.๙๘ ๓.๑๙

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๒๐ ๓.๐๓

อน่ื ๆ ๒.๖๓ ๓.๗๒

ระดับการศึกษา ๓.๐๖ ๓.๐๙ ๖.๕๘๔** ๖.๕๒๙**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๒.๒๙a ๓.๙๔

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทียบเทา่ ๓.๑๑ ๓.๒๕

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๓๕bc ๓.๔๓

อนุปริญญา/ปวส. ๓.๐๕ ๓.๐๖

ปรญิ ญาตรี ๓.๓๔b ๒.๘๔

ปรญิ ญาโท ๒.๙๓ ๓.๐๙

ปริญญาเอก ๓.๘๖ac ๐.๙๕

อาชีพหลกั ๒.๙๘ ๓.๑๓ ๒.๖๖๓** ๓.๐๔๒**

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๓.๔๕a ๒.๔๔

นักเรยี น/นักศกึ ษา ๓.๑๕ ๓.๐๑

รบั จ้างทั่วไป ๒.๕๑ ๓.๖๑

เกษตรกร ๒.๕๙ ๓.๗๖

ลูกจา้ ง/พนกั งานเอกชน ๓.๒๕b ๒.๘๖

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๓.๑๕ ๒.๘๖

พนกั งานรฐั วิสาหกจิ ๓.๔๓ ๒.๙๘

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๓๔c ๒.๖๗

ธุรกิจส่วนตวั /ค้าขาย ๒.๒๗abc ๓.๖๗

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๔๗ ๓.๔๑

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๒.๘๕ ๓.๑๖

ดิจทิ ัลแพลตฟอรม์ ๒.๓๑ ๓.๕๓

อ่ืนๆ ๓.๑๘ ๒.๔๒

เสนอ สำนักงานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๕๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่ือใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: ** ระดบั นัยสำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทีม่ ีอักษรภาษาองั กฤษเหมือนกนั คือ คู่ท่ีมคี วามแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิ

จากตาราง ๓๑ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นการเข้าถึงและการรับรู้ข้อมูลที่แตกต่างกัน กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
การเข้าถึงและการรับรู้ข้อมูลที่แตกต่างกัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการ
เปรียบเทียบรายคู่ พบว่า

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
การบงั คับใช้กฎหมายทีไ่ ม่เปน็ ธรรม มากกว่าประชาชนที่มีการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย/เทียบเท่า/ปวช. ปริญญาโท อนุปริญญา/ปวส. มัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่า และปริญญาตรี
ตามลำดบั

- ประชาชนที่วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ เห็นดว้ ยวา่ สาเหตุของความขัดแยง้ ในสังคมไทยเกิดจากการ
บังคับใช้กฎหมายทไี่ ม่เป็นธรรม มากกวา่ อาชพี ธรุ กิจส่วนตัว/คา้ ขาย

ตาราง ๓๒ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
เข้าใจตอ่ ข้อมูลท่ีไดร้ ับจากการสอ่ื สารทต่ี ่างกัน กบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ

๒.๑๑ ความเขา้ ใจตอ่ ข้อมูลท่ไี ดร้ ับจาก ̅ S.D. F Welch Brown-
การสื่อสารทตี่ ่างกนั Forsythe

เพศ ๓.๐๖ ๓.๐๓ ๐.๐๗๖

ชาย ๓.๐๕ ๒.๙๗

หญิง ๓.๐๘ ๓.๐๗

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๐๖ ๓.๐๘

อน่ื ๆ ๓.๓๘ ๓.๐๑

ระดับการศึกษา ๓.๑๐ ๓.๐๒ ๗.๙๕๗** ๖.๖๐๐**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๒.๖๙a ๓.๖๓

มัธยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๒.๘๙ ๓.๕๑

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๔๑bc ๓.๓๓

อนุปริญญา/ปวส. ๒.๘๙d ๓.๒๖

ปริญญาตรี ๓.๔๓b ๒.๖๗

ปรญิ ญาโท ๓.๐๔ ๓.๐๖

ปริญญาเอก ๔.๐๐acd ๐.๘๘

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๕๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พือ่ ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๒.๑๑ ความเข้าใจต่อข้อมลู ท่ีไดร้ ับจาก ̅ S.D. F Welch Brown-
การสอื่ สารท่ตี ่างกนั Forsythe

อาชีพหลกั ๓.๐๖ ๓.๐๓ ๑.๕๔๕ ๑.๕๗๙

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๓.๑๙ ๒.๙๑

นกั เรียน/นักศึกษา ๓.๑๓ ๒.๙๘

รบั จ้างท่ัวไป ๒.๖๘ ๓.๔๒

เกษตรกร ๒.๗๒ ๓.๖๕

ลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน ๓.๒๓ ๒.๘๘

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๓.๒๗ ๒.๗๑

พนักงานรัฐวสิ าหกิจ ๓.๔๑ ๓.๐๑

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๔๓ ๒.๕๔

ธุรกิจสว่ นตวั /ค้าขาย ๒.๗๐ ๓.๒๖

อาชพี อิสระ (Freelance) ๒.๖๒ ๓.๓๑

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๒.๙๐ ๓.๒๐

ดิจิทัลแพลตฟอรม์ ๒.๕๘ ๓.๕๔

อนื่ ๆ ๒.๖๘ ๒.๖๖

หมายเหตุ: * ระดบั นยั สำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดบั นยั สำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

ค่ทู มี่ ีอกั ษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คอื คู่ทม่ี คี วามแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ

จากตาราง ๓๒ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นความเข้าใจต่อข้อมูลที่ได้รับจากการสื่อสารที่ต่างกัน กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ
พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งใน
ประเด็นความเข้าใจต่อข้อมูลที่ได้รับจากการสื่อสารที่ต่างกัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่ พบว่า

- ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความเข้าใจต่อข้อมูลที่ได้รับจากการสื่อสารที่ต่างกัน มากกว่าประชาชนที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ประถมศึกษา/เทียบเทา่ มัธยมศึกษาตอนตน้ /เทียบเท่าและอนปุ ริญญา/ปวส. ปริญญา
โท และปริญญาตรี ตามลำดบั

- ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า สาเหตุของความขัดแย้งในสังคมไทยเกิดจาก
ความเขา้ ใจตอ่ ข้อมลู ทไี่ ด้รับจากการสื่อสารทีต่ ่างกนั มากกว่าอาชีพดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม

เสนอ สำนักงานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๕๖
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๓๓ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นค่านิยม
และการใหค้ ณุ คา่ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ตี ่างกันกบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี

๒.๑๒ คา่ นิยมและการให้คุณคา่ ของสิง่ ̅ S.D. F Welch Brown-
ต่าง ๆ ที่ต่างกนั Forsythe

เพศ ๒.๗๗ ๓.๒๔ ๔.๙๓๙** ๓.๘๙๔*

ชาย ๒.๕๘a ๓.๓๓

หญิง ๒.๘๖ ๓.๒๑

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๔๕a ๒.๖๓

อน่ื ๆ ๒.๑๓ ๓.๘๔

ระดับการศึกษา ๒.๘๑ ๓.๒๓ ๑๒.๑๕๕** ๔.๓๗๓**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๒.๒๖a ๔.๐๐

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น/เทียบเทา่ ๒.๘๐b ๓.๕๑

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๓๖cd ๓.๓๓

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๕๗e ๓.๔๘

ปริญญาตรี ๓.๐๘c ๒.๙๗

ปรญิ ญาโท ๒.๔๙f ๓.๔๐

ปรญิ ญาเอก ๔.๕๗abdef ๐.๘๕

อาชพี หลัก ๒.๘๗ ๓.๒๑ .๙๙๙ ๑.๐๒๕

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๒.๘๗ ๓.๒๑

นกั เรยี น/นักศกึ ษา ๓.๐๓ ๓.๐๔

รบั จ้างท่ัวไป ๒.๖๑ ๓.๔๓

เกษตรกร ๒.๖๑ ๓.๗๔

ลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน ๒.๙๖ ๓.๐๘

รับราชการ/พนักงานราชการ ๒.๘๔ ๓.๐๘

พนกั งานรฐั วิสาหกจิ ๒.๙๒ ๓.๔๒

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๒.๖๖ ๓.๑๘

ธุรกจิ ส่วนตัว/ค้าขาย ๒.๕๒ ๓.๓๖

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๒๓ ๓.๕๖

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๒.๓๐ ๓.๔๖

ดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม ๒.๑๗ ๓.๖๗

อื่นๆ ๒.๙๕ ๒.๘๗

เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๕๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

หมายเหตุ: * ระดับนยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดับนยั สำคญั ทางสถิติ ๐.๐๑

คทู่ มี่ อี ักษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คือ คู่ท่ีมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ

จากตารางที่ ๓๓ นำเสนอผลการเปรียบเทยี บคา่ เฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นค่านิยมและการให้คุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ที่ต่างกัน กับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพพบว่า
ประชาชนทม่ี เี พศต่างกัน จะมคี วามคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นค่านิยมและการให้คุณค่าของ
สิ่งต่าง ๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ และประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน จะมี
ความคดิ เห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นค่านยิ มและการให้คุณคา่ ของสิ่งต่าง ๆ แตกต่างกัน
อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุม่ LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นดว้ ยว่าสาเหตุของความขัดแย้งคือประเดน็ ค่านิยมและ
การให้คณุ คา่ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ แตกต่างกนั มากกวา่ เพศชาย

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอก เห็นด้วยว่าสาเหตุของความขัดแย้งคือประเด็นค่านิยม
และการให้คุณค่าของสิ่งต่าง ๆ แตกต่างกันมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาประถมศึกษา/เทียบเท่า
มัธยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเท่า มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. อนปุ รญิ ญา/ปวส. และปริญญาโท

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยว่าสาเหตุของความขัดแย้งคอื ประเด็นค่านิยมและ
การให้คุณค่าของส่ิงตา่ ง ๆ แตกต่างกนั มากกว่าประชาชนทีม่ ีระดับการศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า

เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๕๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๓๔ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ความสัมพันธ์ระหวา่ งคูข่ ัดแยง้ ทเี่ ปราะบางกบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๒.๑๓ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคู่ขดั แย้งที่ ̅ S.D. F Welch Brown-
เปราะบาง Forsythe

เพศ ๒.๖๘ ๓.๓๐ .๔๓๙

ชาย ๒.๖๑ ๓.๓๑

หญิง ๒.๗๑ ๓.๓๑

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๒.๘๗ ๓.๑๘

อื่น ๆ ๓.๑๓ ๓.๓๒

ระดับการศึกษา ๒.๖๙ ๓.๓๑ ๓.๗๒๐** ๓.๗๕๐**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๒.๒๗ ๓.๗๘

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๒.๓๕ ๓.๖๖

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๓๙a ๓.๓๖

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๕๓ ๓.๕๒

ปริญญาตรี ๒.๙๙a ๓.๐๗

ปรญิ ญาโท ๒.๐๓ ๓.๖๐

ปรญิ ญาเอก ๓.๒๑ ๒.๐๘

อาชีพหลกั ๒.๖๙ ๓.๒๙ ๑.๔๐๐ ๑.๕๕๐

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๓.๐๔ ๒.๘๙

นักเรียน/นักศกึ ษา ๒.๘๙ ๓.๑๐

รบั จ้างทั่วไป ๒.๐๓ ๓.๘๔

เกษตรกร ๒.๓๗ ๓.๘๓

ลกู จ้าง/พนักงานเอกชน ๒.๗๖ ๓.๒๘

รับราชการ/พนักงานราชการ ๒.๖๖ ๓.๑๘

พนักงานรฐั วิสาหกจิ ๓.๑๑ ๓.๒๘

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๒.๘๓ ๓.๐๘

ธรุ กิจส่วนตัว/ค้าขาย ๒.๖๐ ๓.๓๗

อาชพี อิสระ (Freelance) ๒.๕๓ ๓.๓๖

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๒.๖๑ ๓.๓๙

ดิจทิ ลั แพลตฟอร์ม ๓.๕๐ ๒.๕๐

อื่นๆ ๒.๕๐ ๒.๗๗

เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๕๙
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอื่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

จากตาราง ๓๔ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างคู่ขัดแย้งที่เปราะบางกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีเพศต่างกันหรืออาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแยง้ ในประเด็นในประเดน็
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคู่ขดั แยง้ ท่เี ปราะบางไมแ่ ตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีระดบั การศึกษาต่างกันจะมีความคิด
เห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความสัมพนั ธ์ระหว่างคู่ขัดแย้งท่ีเปราะบางแตกต่างกันอย่าง
มนี ัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยว่าสาเหตุของความขัดแย้งคือในประเด็น
ความสมั พันธร์ ะหว่างคู่ขัดแย้งทีเ่ ปราะบางมากกวา่ ประชาชนท่ีมีระดบั การศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเท่า

ตาราง ๓๕ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ความกา้ วหน้าของระบบสอ่ื สารและเทคโนโลยีกบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี

๒.๑๔ ความก้าวหน้าของ ̅ S.D. F Welch Brown-
ระบบสอ่ื สารและเทคโนโลยี Forsythe

เพศ ๒.๘๗ ๓.๑๘ ๒.๒๔๑ ๒.๒๗๕

ชาย ๒.๖๙ ๓.๓๑

หญงิ ๒.๙๘ ๓.๐๙

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๒๑ ๒.๙๙

อ่ืน ๆ ๓.๑๓ ๓.๓๒

ระดบั การศกึ ษา ๒.๙๐ ๓.๑๙ ๕.๐๓๖** ๕.๒๘๓**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๑.๘๔a ๔.๑๗

มัธยมศึกษาตอนตน้ /เทียบเท่า ๒.๗๐ ๓.๕๐

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ / ๒.๓๒b ๓.๔๒
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๓.๐๖ ๓.๑๕

ปรญิ ญาตรี ๓.๑๘ab ๒.๙๓

ปริญญาโท ๒.๘๔ ๒.๙๙

ปรญิ ญาเอก ๑.๘๖ ๓.๗๔

อาชีพหลัก ๒.๘๖ ๓.๑๙ ๑.๔๑๗ ๑.๕๒๒

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ๒.๙๖ ๓.๐๓

นักเรียน/นกั ศกึ ษา ๓.๐๙ ๓.๐๑

รับจา้ งท่ัวไป ๒.๖๔ ๓.๔๗

เกษตรกร ๒.๒๑ ๓.๙๒

ลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน ๒.๘๖ ๓.๒๕

เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๑๖๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๒.๑๔ ความกา้ วหน้าของ ̅ S.D. F Welch Brown-
ระบบสื่อสารและเทคโนโลยี Forsythe

รับราชการ/พนกั งานราชการ ๒.๖๔ ๓.๒๓

พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ๓.๔๐ ๒.๘๙

พนักงานสัญญาจา้ ง ๓.๑๒ ๒.๙๐

ธุรกจิ สว่ นตวั /ค้าขาย ๒.๙๓ ๓.๑๕

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๓.๐๙ ๒.๘๖

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๒.๔๘ ๓.๕๓

ดิจิทัลแพลตฟอรม์ ๓.๕๓ ๒.๔๐

อืน่ ๆ ๒.๖๔ ๒.๘๐

จากตาราง ๓๕ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นความก้าวหน้าของระบบสื่อสารและเทคโนโลยีกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพพบว่า
ประชาชนที่มีเพศ และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นในประเด็น
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคู่ขัดแยง้ ท่เี ปราะบางไมแ่ ตกตา่ งกัน แต่ประชาชนทม่ี รี ะดับการศึกษาต่างกันจะมีความคิด
เห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความก้าวหน้าของระบบสื่อสารและเทคโนโลยีแตกต่างกัน
อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยว่าสาเหตุของความขัดแย้งคือประเด็น
ความก้าวหน้าของระบบสื่อสารและเทคโนโลยีมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา/
มธั ยมศึกษา/เทียบเทา่

เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๖๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๓๖ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ประชาชน/ประชาสงั คมมีสว่ นร่วมในกิจการของรัฐกับเพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ

๒.๑๕ ประชาชน/ประชาสงั คมมสี ่วน ̅ S.D. F Welch Brown-
ร่วมในกิจการของรัฐ Forsythe

เพศ ๒.๘๘ ๓.๑๗ ๑.๑๔๒

ชาย ๒.๙๓ ๓.๑๓

หญงิ ๒.๗๙ ๓.๒๔

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๒๕ ๒.๘๐

อน่ื ๆ ๓.๑๓ ๓.๓๒

ระดบั การศึกษา ๒.๘๙ ๓.๑๘ ๒.๖๐๐* ๒.๕๓๔*

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๒.๓๖ ๓.๘๐

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทียบเทา่ ๒.๙๐ ๓.๔๕

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๒.๔๕a ๓.๓๐
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๒.๙๔ ๓.๒๓

ปรญิ ญาตรี ๓.๐๙a ๓.๐๑

ปรญิ ญาโท ๒.๖๑ ๓.๑๑

ปรญิ ญาเอก ๒.๒๙ ๓.๔๑

อาชพี หลัก ๒.๘๘ ๓.๑๖ ๒.๕๕๔** ๓.๐๑๙**

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๓.๑๒ ๒.๙๖

นกั เรยี น/นักศึกษา ๒.๙๔ ๓.๐๙

รับจ้างทั่วไป ๓.๐๗ ๓.๑๒

เกษตรกร ๑.๗๙a ๔.๑๑

ลูกจา้ ง/พนกั งานเอกชน ๓.๒๙ab ๒.๘๒

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๒.๕๗b ๓.๒๙

พนกั งานรัฐวิสาหกิจ ๓.๒๙ ๒.๙๖

พนักงานสัญญาจา้ ง ๒.๙๒ ๓.๐๘

ธรุ กจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๓.๑๑ ๓.๐๐

อาชพี อิสระ (Freelance) ๒.๒๓ ๓.๔๘

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๒.๕๙ ๓.๔๕

ดจิ ิทัลแพลตฟอร์ม ๓.๐๓ ๓.๐๙

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๖๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอ่ื ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๒.๑๕ ประชาชน/ประชาสังคมมสี ่วน ̅ S.D. F Welch Brown-
ร่วมในกจิ การของรัฐ Forsythe

อน่ื ๆ ๒.๓๒ ๒.๘๓

จากตาราง ๓๖ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแยง้ ในประเด็นประชาชน/ประชาสงั คมมสี ่วนรว่ มในกิจการของรฐั กับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี พบว่า
ประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประ เด็น
ประชาชน/ประชาสังคมมีส่วนร่วมในกิจการของรัฐแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ และ
ประชาชนที่มีอาชีพหลักต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นประชาชน/
ประชาสังคมมีส่วนร่วมในกิจการของรัฐแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการ
เปรยี บเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นประชาชน/
ประชาสงั คมมสี ่วนรว่ มในกจิ การของรฐั มากกวา่ ประชาชนทม่ี ีระดับการศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่

- ประชาชนที่มีอาชีพหลักเป็นลกู จ้าง/พนักงานเอกชนเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเดน็
ประชาชน/ประชาสังคมมีส่วนร่วมในกิจการของรัฐมากกว่าประชาชนที่มีอาชีพหลักเป็นเกษตรกรหรือรับ
ราชการ/พนกั งานราชการ

ตาราง ๓๗ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
แตกต่างทางความคดิ เห็นต่อแนวทางการปฏริ ปู สถาบันพระมหากษัตริย์กับเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๒.๑๖ ความแตกต่างทางความคิดเหน็ ต่อ ̅ S.D. F Welch Brown-
แนวทางการปฏริ ูปสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ Forsythe

เพศ ๒.๕๘ ๓.๕๑ ๗.๔๑๔** ๗.๒๗๘**

ชาย ๒.๓๒a ๓.๖๔

หญงิ ๒.๖๘b ๓.๔๖

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๔๗ab ๒.๘๒

อน่ื ๆ ๓.๒๕ ๒.๙๖

ระดับการศกึ ษา ๒.๕๙ ๓.๕๑ ๕.๐๕๗** ๓.๘๐๐**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๒.๓๔ ๓.๘๔

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทียบเทา่ ๒.๑๘a ๓.๘๒

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๒.๓๐b ๓.๕๓

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๑๙cd ๓.๕๖

ปรญิ ญาตรี ๒.๘๘ce ๓.๔๑

ปรญิ ญาโท ๒.๓๔e ๓.๕๑

ปรญิ ญาเอก ๔.๐๐abde ๑.๔๗

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๖๓
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๒.๑๖ ความแตกต่างทางความคดิ เหน็ ต่อ ̅ S.D. F Welch Brown-
แนวทางการปฏิรูปสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ Forsythe

อาชพี หลัก ๒.๕๘ ๓.๕๑ ๒๐.๙๕๙** ๗.๐๗๐**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๐๒ab ๓.๒๙

นักเรยี น/นักศกึ ษา ๓.๒๔cdef ๓.๑๔

รับจ้างทั่วไป ๒.๒๑cg ๓.๗๐

เกษตรกร ๒.๒๕h ๓.๘๑

ลูกจ้าง/พนกั งานเอกชน ๒.๙๙i ๓.๑๖

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๑.๖๒adj ๓.๗๘

พนักงานรฐั วิสาหกจิ ๒.๙๒k ๓.๓๖

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๒.๙๑l ๓.๓๙

ธรุ กิจส่วนตวั /คา้ ขาย ๒.๒๕em ๓.๗๗

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๐๐n ๓.๘๓

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๒.๐๗o ๓.๘๗

ดจิ ทิ ัลแพลตฟอรม์ ๔.๕๐bfghijklmno ๐.๗๐

อืน่ ๆ ๒.๖๘ ๒.๗๗

จากตาราง ๓๗ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขดั แยง้ ในประเดน็ ความแตกตา่ งทางความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏริ ูปสถาบันพระมหากษตั รยิ ์กับ เพศ ระดับ
การศึกษา และอาชีพพบว่า ประชาชนที่มีเพศ ระดับการศึกษา อาชีพต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็น
สาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความแตกต่างทางความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรูปสถาบัน
พระมหากษัตรยิ แ์ ตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยกับประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ความแตกต่างทางความคิดเหน็ ตอ่ แนวทางการปฏริ ูปสถาบันพระมหากษัตรยิ ์มากกวา่ เพศชายและเพศหญงิ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
แตกต่างทางความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์มากกวา่ ประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มัธยมศกึ ษาตอนต้น/เทียบเท่า มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช./ อนุปริญญา/ปวส. และปรญิ ญาโท

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอกเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
แตกต่างทางความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์มากกว่าประชาชนท่ีมีระดับการศึกษา
อนปุ รญิ ญา/ปวส. และปรญิ ญาโท

- ประชาชนที่มอี าชีพดิจิทัลแพลทฟอร์มเห็นดว้ ยกับสาเหตุของความขัดแยง้ ในประเด็นความแตกต่าง
ทางความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์มากกว่าประชาชนท่ีว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ
มีอาชีพเป็นเกษตรกร นักเรียน/นักศึกษา รับจ้างทั่วไป ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน รับราชการ/พนักงานราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกจิ พนกั งานสญั ญาจ้าง ธรุ กจิ ส่วนตวั /ค้าขาย อาชพี อิสระและขายของออนไลน์

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๖๔
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความแตกต่าง
ทางความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรปู สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์มากกวา่ ผู้ทีร่ ับราชการ/พนักงานราชการ

- นักเรียน/นักศึกษาเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความแตกต่างทางความคิดเห็นต่อ
แนวทางการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์มากกว่าผู้ที่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป รับราชการ/พนักงาน
ราชการ ธุรกิจสว่ นตัว/คา้ ขาย

ตาราง ๓๘ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ความคดิ เหน็ ของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเดน็ ความ
แตกตา่ งของช่วงวยั และการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทยกบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชพี

๒.๑๗ ความแตกต่างของช่วงวัยและ ̅ S.D. F Welch Brown-
การเกดิ ชอ่ งวา่ งระหว่างวยั ของคนใน Forsythe
สังคมไทย

เพศ ๒.๗๒ ๓.๓๗ ๘๓.๔๗๕** ๑๐.๒๑๔**

ชาย ๒.๕๒a ๓.๕๐

หญิง ๒.๗๘b ๓.๓๓

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๔๔abc ๒.๖๓

อื่น ๆ ๔.๗๕c ๐.๔๕

ระดบั การศึกษา ๒.๗๓ ๓.๓๙ ๒.๒๗๐* ๒.๑๗๘*

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๒.๗๐ ๓.๖๒

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๒.๕๘ ๓.๖๑

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๒.๓๐a ๓.๕๔
ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. ๒.๕๕ ๓.๕๕

ปรญิ ญาตรี ๒.๙๒a ๓.๒๕

ปรญิ ญาโท ๒.๖๐ ๓.๒๗

ปริญญาเอก ๓.๗๑ ๒.๑๓

อาชีพหลกั ๒.๗๒ ๓.๓๗ ๓.๐๙๗** ๓.๒๒๒**

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๓.๔๘a ๒.๗๐

นักเรยี น/นกั ศึกษา ๓.๑๑b ๓.๑๔

รบั จา้ งทว่ั ไป ๒.๕๑ ๓.๕๖

เกษตรกร ๒.๕๙ ๓.๖๖

ลกู จ้าง/พนักงานเอกชน ๒.๙๘c ๓.๐๘

รับราชการ/พนักงานราชการ ๒.๗๓ ๓.๑๙

พนักงานรัฐวิสาหกิจ ๒.๕๓ ๓.๗๗

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๖๕
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๒.๑๗ ความแตกต่างของชว่ งวัยและ ̅ S.D. F Welch Brown-
การเกิดช่องว่างระหวา่ งวัยของคนใน Forsythe
สงั คมไทย

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๒.๖๗ ๓.๔๐

ธุรกจิ สว่ นตัว/คา้ ขาย ๑.๘๗abc ๓.๙๒

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๓๕ ๓.๕๘

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๑.๕๖ ๓.๙๕

ดิจทิ ลั แพลตฟอรม์ ๒.๖๙ ๓.๗๖

อืน่ ๆ ๓.๓๒ ๒.๓๘

จากตาราง ๓๘ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นความแตกต่างของช่วงวัยและการเกิดชอ่ งว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทยกับ เพศ ระดับ
การศึกษา และอาชีพพบว่า ประชาชนที่มีเพศต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งใน
ประเด็นความแตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทยแตกต่างกันอย่างมี
นยั สำคัญทางสถิติท่รี ะดับ ๐.๐๑

ประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
ความแตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถติ ทิ รี่ ะดับ ๐.๐๕ และประชาชนท่ีมอี าชพี หลักตา่ งกันจะมีความคิดเหน็ ต่อประเดน็ สาเหตขุ องความขัดแย้งใน
ประเด็นความแตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทย แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่มที่ไม่ระบุเพศสภาพตนเองมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งใน
ประเด็นความแตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทย มากกว่าประชาชนกลุ่ม
LGBTQ+ และประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ มีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
แตกตา่ งของช่วงวัยและการเกดิ ช่องวา่ งระหวา่ งวยั ของคนในสังคมไทยมากกว่าชายและหญิง

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
แตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
ตอนปลาย/เทียบเทา่

- ประชาชนที่มีอาชีพธุรกิจส่วนตัว/ค้าขายเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นความ
แตกต่างของช่วงวัยและการเกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในสังคมไทย น้อยกว่าประชาชนกลุ่มว่างงาน/ไม่
ประกอบอาชพี นักเรียน/นกั ศกึ ษาและลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๖๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอื่ ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๓๙ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการ
แทรกแซงจากต่างประเทศกับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๒.๑๘ การแทรกแซงจากต่างประเทศ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๑.๘๑ ๓.๗๓ ๑๒๕.๗๘๗** ๖.๖๓๒**

ชาย ๑.๗๒a ๓.๗๗

หญงิ ๑.๗๘b ๓.๗๒

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๒.๓๓c ๓.๕๒

อื่น ๆ ๔.๖๓abc ๐.๕๐

ระดับการศกึ ษา ๑.๗๘ ๓.๗๖ ๒.๑๙๗* ๒.๒๙๑*

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๑.๕๑ ๔.๒๖

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทยี บเทา่ ๒.๒๓ab ๓.๙๐

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๑.๓๗a ๓.๘๐

อนปุ ริญญา/ปวส. ๑.๓๙b ๓.๙๐

ปริญญาตรี ๑.๙๗ ๓.๖๔

ปรญิ ญาโท ๑.๘๓ ๓.๕๙

ปรญิ ญาเอก ๑.๘๖ ๓.๓๐

อาชพี หลกั ๑.๘๐ ๓.๗๓ ๖.๕๕๕** ๖.๐๑๐**

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๒.๙๔abcd ๓.๐๘

นักเรียน/นักศกึ ษา ๑.๘๗ef ๓.๖๔

รบั จา้ งท่ัวไป ๒.๐๘g ๓.๗๙

เกษตรกร ๑.๒๒ah ๔.๐๖

ลกู จ้าง/พนักงานเอกชน ๑.๙๒ ๓.๗๖

รับราชการ/พนกั งานราชการ ๑.๐๓begi ๓.๖๙

พนกั งานรฐั วิสาหกิจ ๓.๒๗fhk ๓.๐๔

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๒.๕๘ij ๓.๒๑

ธุรกิจส่วนตวั /ค้าขาย ๑.๑๗cjk ๔.๐๗

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๑.๒๕d ๔.๐๖

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๑.๙๘ ๓.๖๒

ดจิ ิทลั แพลตฟอรม์ ๒.๕๘ ๓.๕๘

อน่ื ๆ ๓.๑๔ ๒.๔๐

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๖๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

จากตาราง ๓๙ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขัดแย้งในประเด็นการแทรกแซงจากต่างประเทศกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพพบว่า ประชาชนที่มีเพศ
ตา่ งกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการแทรกแซงจากตา่ งประเทศแตกต่าง
กันอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั ๐.๐๑

ประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
การแทรกแซงจากต่างประเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ และประชาชนที่มีอาชีพ
ตา่ งกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการแทรกแซงจากต่างประเทศแตกต่าง
กันอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่มที่ไม่ระบุเพศสภาพตนเองมีความคิดเห็นต่อประเด็นสาเหตุของความขัดแย้งใน
ประเด็นการแทรกแซงจากต่างประเทศมากกวา่ ประชาชนกลมุ่ LGBTQ+ และชายและหญิง

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่าเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งใน
ประเด็นการแทรกแซงจากต่างประเทศมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่าและระดับ
อนปุ รญิ ญา/ปวส.

- ประชาชนที่มีอาชพี พนักงานรฐั วสิ าหกิจเหน็ ด้วยกบั สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในประเด็นการแทรกแซง
จากตา่ งประเทศมากกวา่ ประชาชนกลุ่ม นักเรยี น/นักศกึ ษา เกษตรกร ธุรกิจสว่ นตัว/คา้ ขาย

- ประชาชนกลุ่มอาชีพพนักงานสัญญาจ้างเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็น
การแทรกแซงจากต่างประเทศมากกวา่ อาชีพธรุ กิจสว่ นตัว/คา้ ขายและขา้ ราชการ/พนักงานราชการ

- ประชาชนกลุ่มรับจ้างทั่วไปเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นการแทรกแซงจาก
ตา่ งประเทศมากกวา่ ขา้ ราชการ/พนกั งานราชการ

- ประชาชนกลุ่มว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพเห็นด้วยกับสาเหตุของ ความขัดแย้งในประเด็น
การแทรกแซงจากต่างประเทศมากกว่าเกษตรกร ข้าราชการ/พนักงานราชการ ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย อาชีพ
อสิ ระ

จากตารางที่ ๒๒ - ๓๙ ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความ
ขดั แย้งในประเด็นตา่ ง ๆ พบวา่ ประชาชนกลุม่ LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เหน็ ดว้ ยในระดับที่มากกวา่ เม่ือเทียบ
กับประชาชนท่ีเปน็ เพศชาย และเพศหญิง ยกเวน้ ตารางท่ี ๓๑ ๓๗ และ ๓๘ ท่ีเพศสภาพต่าง ๆ มีความเห็นใน
ระดับที่ไม่แตกต่างกัน ในขณะที่ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ระดับปริญญาเอก เห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งในประเด็นต่าง ๆ ในระดับที่มากกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่ม
ระดับการศึกษาอื่น ๆ และ ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง และกลุ่มที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ
มกั จะเห็นดว้ ยกบั สาเหตขุ องความขัดแย้งในประเดน็ ตา่ ง ๆ ในระดบั ที่มากกวา่ กลมุ่ อาชพี อนื่ ๆ

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๖๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๓.๓ การเปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ยความคดิ เห็นของประชาชนต่อดา้ นผูเ้ ก่ยี วขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทย

ตาราง ๔๐ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อข้าราชการพลเรือนในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวขอ้ งกับ
ความขดั แย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๓.๑ ข้าราชการพลเรือน ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๓๓ ๓.๕๙ ๑๑๔.๒๐๘** ๑๒.๗๒๐**

ชาย ๒.๐๗ab ๓.๗๔

หญิง ๒.๔๓cd ๓.๕๒

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๑๗ace ๓.๐๑

อ่ืน ๆ ๔.๗๕bde ๐.๔๕

ระดบั การศกึ ษา ๒.๓๓ ๓.๖๑ ๑.๕๑๗ ๑.๕๗๕

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๑.๖๙ ๔.๑๒

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๒.๓๗ ๓.๘๘

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๒.๑๕ ๓.๖๖
ปวช.

อนปุ รญิ ญา/ปวส. ๒.๑๕ ๓.๖๗

ปรญิ ญาตรี ๒.๔๕ ๓.๕๔

ปรญิ ญาโท ๒.๖๕ ๓.๑๓

ปรญิ ญาเอก ๓.๒๙ ๒.๕๘

อาชีพหลกั ๒.๓๔ ๓.๕๙ ๔.๓๐๗** ๔.๐๘๐**

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๒.๘๗ ๓.๒๙

นักเรยี น/นกั ศึกษา ๒.๓๒ ๓.๖๕

รับจ้างทว่ั ไป ๒.๐๕ ๓.๙๒

เกษตรกร ๑.๔๓a ๓.๙๒

ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน ๒.๙๓ab ๓.๒๙

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๑.๗๔bc ๓.๔๗

พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ ๒.๒๓ ๓.๘๕

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๒.๘๐c ๓.๒๕

ธรุ กิจส่วนตวั /คา้ ขาย ๒.๐๙ ๓.๘๔

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๒๕ ๓.๗๑

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๒.๖๖ ๓.๕๕

เสนอ สำนักงานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๖๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รูเ้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๓.๑ ข้าราชการพลเรือน ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ดิจิทลั แพลตฟอร์ม ๓.๒๕ ๒.๙๘

อื่นๆ ๓.๕๐ ๒.๒๒

จากตาราง ๔๐ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อขา้ ราชการพลเรือน
ในฐานะที่เปน็ ผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั ความขดั แย้งในประเทศไทยกบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพพบวา่ ประชาชนท่ี
มีเพศและอาชีพหลักต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อต่อข้าราชการพลเรือนในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแยง้ ในประเทศไทยแตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดบั ๐.๐๑ จากการเปรยี บเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่มท่ีเลือกเพศ “อนื่ ๆ” เหน็ ดว้ ยในประเดน็ ขา้ ราชการพลเรอื นในฐานะท่เี ป็นผู้เก่ียวข้อง
กับความขัดแย้งในประเทศไทยมากกว่าประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ และเพศชายเพศหญิง ในขณะที่ประชาชน
กลมุ่ LGBTQ+ เห็นด้วยในประเด็นขา้ ราชการพลเรือนในฐานะที่เป็นผู้เก่ียวขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทย
มากกว่าเพศชายและเพศหญิง

- ประชาชนที่มีอาชีพหลักเปน็ ลูกจ้าง/พนักงานเอกชนเห็นดว้ ยในประเด็นข้าราชการพลเรือนในฐานะ
ทีเ่ ปน็ ผู้เกี่ยวข้องกบั ความขดั แย้งในประเทศไทยมากกว่า ขา้ ราชการ/พนกั งานราชการ และพนกั งานสัญญาจ้าง
เห็นดว้ ยมากกวา่ ขา้ ราชการ/พนกั งานราชการ

ตาราง ๔๑ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อข้าราชการทหารในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้อง
กับความขัดแยง้ ในประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๓.๒ ขา้ ราชการทหาร ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๙๖ ๓.๓๐ ๑๐๘.๕๖๑** ๑๐.๒๘๒**

ชาย ๒.๖๖ab ๓.๔๙

หญงิ ๓.๑๕ac ๓.๑๕

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๒๒d ๓.๐๘

อนื่ ๆ ๔.๗๕bde ๐.๔๕

ระดบั การศกึ ษา ๓.๐๑ ๓.๓๐ ๗.๗๐๗** ๕.๓๒๘**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๒.๓๕a ๓.๙๓

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๓.๐๗b ๓.๒๘

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ / ๒.๓๙cde ๓.๖๓
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๒.๙๙ ๓.๒๙

ปรญิ ญาตรี ๓.๑๘c ๓.๑๗

ปรญิ ญาโท ๓.๕๗d ๒.๕๘

ปริญญาเอก ๔.๕๐abe ๑.๐๙

เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


Click to View FlipBook Version