The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by researchteam.official, 2022-12-26 01:28:29

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์

STO_รายงานฉบับสมบูรณ์ทดลอง 2

รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๐
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๓.๒ ขา้ ราชการทหาร ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อาชีพหลกั ๒.๙๖ ๓.๓๐ ๒.๘๖๗** ๓.๔๕๑**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๑๖ ๓.๑๒

นักเรียน/นกั ศึกษา ๒.๙๑ ๓.๔๐

รบั จ้างทว่ั ไป ๒.๑๖ab ๓.๘๔

เกษตรกร ๒.๐๙c ๓.๙๕

ลกู จา้ ง/พนักงานเอกชน ๓.๒๙a ๓.๐๕

รับราชการ/พนกั งานราชการ ๓.๑๙b ๓.๐๓

พนักงานรฐั วิสาหกจิ ๒.๙๕ ๓.๓๑

พนักงานสัญญาจา้ ง ๓.๕๓c ๒.๙๒

ธุรกจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๒.๙๔ ๓.๒๑

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๒.๓๙ ๓.๖๒

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๒.๙๐ ๓.๑๔

ดจิ ทิ ัลแพลตฟอรม์ ๓.๓๖ ๒.๘๓

อื่นๆ ๓.๕๐ ๒.๒๒

จากตาราง ๔๑ นำเสนอผลการเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ความคิดเห็นของประชาชนต่อข้าราชการทหารใน
ฐานะทเ่ี ป็นผู้เก่ียวข้องกับความขดั แย้งในประเทศไทยกับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี พบวา่ ประชาชนท่ีมี
เพศ ระดับการศึกษา อาชีพหลักต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อต่อข้าราชการทหารในฐานะท่ีเป็นผู้เกี่ยวข้องกับ
ความขัดแย้งในประเทศไทยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ จากการเปรียบเทียบรายคู่
พบว่า

- ประชาชนกล่มุ ที่เลือกเพศ “อ่ืน ๆ” เห็นดว้ ยในประเดน็ ข้าราชการทหารในฐานะท่ีเปน็ ผเู้ กยี่ วข้องกับ
ความขัดแย้งในประเทศไทยมากกว่าประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ และเพศชายเพศหญิง และเพศหญิงเห็นด้วย
มากกว่าเพศชาย

- ผทู้ ี่มกี ารศกึ ษาในระดับปรญิ ญาเอกเห็นด้วยในประเด็นข้าราชการทหารในฐานะท่ีเป็นผู้เก่ียวข้องกับ
ความขัดแย้งในประเทศไทยมากกว่าผู้มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา/เทียบเท่า มัธยมศึกษาตอนต้น/
เทียบเท่าและมัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า ส่วนผู้ที่มีการศึกษาในระดับปริญญาโทเห็นด้วยมากกว่า
มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า และผู้ที่มีการศึกษาในระดับปริญญาตรีเห็นด้วยมากกว่าระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย/เทียบเทา่

- ผู้ที่มีอาชีพหลักเป็นลูกจ้าง/พนักงานเอกชนเห็นด้วยในประเด็นข้าราชการทหารในฐานะที่เป็น
ผู้เกี่ยวขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทยมากกว่าผู้มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ผู้ที่รับราชการ/พนกั งานราชการเหน็
ด้วยมากกวา่ ผ้ทู ี่รบั จ้างทวั่ ไป และพนักงานสัญญาจา้ งเห็นดว้ ยมากกว่าเกษตรกร

เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่อื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พ่อื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๔๒ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อนักการเมืองในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับ
ความขัดแยง้ ในประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี

๓.๓ นักการเมอื ง ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๘๑ ๒.๔๘ ๔๑.๒๗๕** ๙.๒๙๒**

ชาย ๓.๖๐ab ๒.๗๑

หญิง ๓.๙๖ac ๒.๓๒

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๙๙d ๒.๐๗

อืน่ ๆ ๔.๘๘bcd ๐.๓๔

ระดบั การศึกษา ๓.๘๘ ๒.๔๔ ๒.๘๒๙* ๒.๙๔๓**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๓.๖๘ ๒.๙๘

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่า ๔.๑๒ ๒.๑๔

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๓.๕๒a ๒.๗๓
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๓.๗๓ ๒.๕๖

ปริญญาตรี ๓.๙๙a ๒.๓๕

ปรญิ ญาโท ๔.๐๐ ๑.๗๗

ปริญญาเอก ๔.๓๖ ๐.๘๔

อาชพี หลัก ๓.๘๑ ๒.๔๘ ๒.๔๔๘** ๒.๐๐๕*

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๕๐ ๒.๘๖

นกั เรียน/นกั ศกึ ษา ๓.๘๐ ๒.๖๓

รับจา้ งทั่วไป ๓.๔๑a ๒.๙๘

เกษตรกร ๓.๕๔ ๒.๙๐

ลูกจา้ ง/พนกั งานเอกชน ๔.๐๓ ๒.๒๖

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๓.๘๓ ๒.๓๐

พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ ๔.๐๐ ๒.๓๒

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๔.๒๐ ๑.๙๖

ธุรกิจส่วนตวั /คา้ ขาย ๓.๘๓ ๒.๓๔

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๓.๕๘ ๒.๕๙

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๓.๓๘ ๒.๙๙

ดจิ ทิ ัลแพลตฟอร์ม ๔.๓๑a ๐.๘๒

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๒
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พื่อใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๓.๓ นักการเมือง ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อืน่ ๆ ๓.๘๖ ๐.๘๙

หมายเหตุ: * ระดับนยั สำคญั ทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดบั นัยสำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทม่ี อี กั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกนั คือ คู่ท่ีมคี วามแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ

จากตารางที่ ๔๒ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อนักการเมืองใน
ฐานะท่เี ปน็ ผู้เก่ยี วขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทยกบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชพี พบว่า ประชาชนที่มี
เพศต่างกัน จะมคี วามคดิ เห็นต่อนักการเมืองในฐานะท่ีเป็นผู้เกย่ี วข้องกับความขัดแยง้ ในประเทศไทย แตกต่าง
กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ และประชาชนที่มีระดับการศึกษา และอาชีพหลักต่างกัน จะมี
ความคิดเห็นต่อนักการเมืองในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ ๐.๐๕ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนเพศอื่นๆ เห็นด้วยว่านักการเมืองเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่า
เพศชาย เพศหญงิ และ กลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก)

- ประชาชนเพศหญิง เห็นด้วยว่านักการเมืองเปน็ ผู้เก่ียวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่า
เพศชาย

- ประชาชนทีม่ รี ะดับการศกึ ษาปริญญาตรี เห็นด้วยว่า นักการเมืองเป็นผูเ้ ก่ียวขอ้ งกับความขัดแย้งใน
ประเทศไทย มากกวา่ ประชาชนทีม่ ีระดับการศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเท่า/ปวช.

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพดิจิทัลแพลตฟอร์ม เห็นด้วยว่า นักการเมืองเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย มากกวา่ อาชีพรบั จ้างทว่ั ไป

เสนอ สำนกั งานขับเคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๗๓
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพื่อใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๔๓ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อภาคธุรกิจ/กลุ่มนายทุนในฐานะที่เป็น
ผูเ้ ก่ียวข้องกับความขัดแยง้ ในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๓.๔ ภาคธุรกจิ /กลุม่ นายทนุ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๒๓ ๒.๙๖ ๒๒.๓๔๗** ๘.๔๘๖**

ชาย ๓.๐๕ab ๓.๑๑

หญิง ๓.๒๘cd ๒.๙๒

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๘๒ace ๒.๑๑

อน่ื ๆ ๔.๖๓bde ๐.๗๒

ระดับการศกึ ษา ๓.๒๔ ๒.๙๘ ๖.๒๔๕** ๕.๕๔๒**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๒.๔๖a ๓.๘๗

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทยี บเทา่ ๓.๓๑ ๓.๐๔

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ / ๒.๗๔b ๓.๒๗
ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. ๓.๒๐ ๓.๐๖

ปริญญาตรี ๓.๕๑ ๒.๗๒

ปริญญาโท ๒.๘๑ ๓.๐๐

ปรญิ ญาเอก ๔.๑๔ab ๐.๙๕

อาชพี หลัก ๓.๒๒ ๒.๙๖ ๒.๓๙๐** ๒.๓๘๐**

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๒๙ ๒.๙๒

นักเรยี น/นักศกึ ษา ๓.๓๒ ๓.๐๑

รบั จา้ งทว่ั ไป ๓.๓๐ ๒.๘๗

เกษตรกร ๒.๔๘a ๓.๘๐

ลูกจ้าง/พนกั งานเอกชน ๓.๔๒ ๒.๗๙

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๓.๐๗ ๒.๙๙

พนกั งานรฐั วิสาหกิจ ๓.๓๖ ๓.๐๑

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๗๗ab ๒.๒๙

ธุรกิจสว่ นตัว/คา้ ขาย ๓.๒๕ ๒.๘๓

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๔๗b ๓.๓๘

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๒.๙๒ ๒.๙๘

ดจิ ทิ ัลแพลตฟอรม์ ๒.๕๐ ๓.๕๗

เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๓.๔ ภาคธรุ กิจ/กลุ่มนายทนุ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อืน่ ๆ ๓.๗๗ ๑.๑๙

หมายเหตุ: ** ระดับนัยสำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๑

คทู่ ่ีมีอักษรภาษาอังกฤษเหมือนกนั คอื คูท่ ่มี คี วามแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิ

จากตารางที่ ๔๓ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อภาคธุรกิจ/กลุ่ม
นายทุนในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทยกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อภาคธุรกิจ/กลุ่มนายทุนในฐานะที่
เป็นผเู้ กยี่ วขอ้ งกับความขดั แย้งในประเทศไทย แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการ
เปรยี บเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนเพศอน่ื ๆ เหน็ ดว้ ยวา่ ภาคธุรกิจ/กล่มุ นายทุนเปน็ ผ้เู กีย่ วข้องกับความขัดแยง้ ในประเทศไทย
มากกวา่ เพศชาย เพศหญิง และ กล่มุ LGBTQ+ (เพศทางเลือก)

- ประชาชนกลมุ่ LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นดว้ ยวา่ ภาคธรุ กจิ /กลมุ่ นายทนุ เป็นผู้เก่ยี วข้องกับความ
ขดั แย้งในประเทศไทย มากกวา่ เพศชาย และเพศหญงิ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอก เห็นด้วยว่า ภาคธุรกิจ/กลุ่มนายทุนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับ
ความขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาประถมศึกษา/เทียบเท่า และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช.

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า ภาคธุรกิจ/กลุ่มนายทุนเป็นผู้เกี่ยวข้อง
กบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทย มากกว่าอาชพี เกษตรกร และอาชพี อิสระ (Freelance)

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๕
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่อื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๔๔ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อนักวิชาการในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับ
ความขัดแยง้ ในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๓.๕ นกั วิชาการ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๒๙ ๓.๕๔ ๖.๐๘๙** ๔.๙๔๑**

ชาย ๒.๑๘a ๓.๖๐

หญิง ๒.๒๗b ๓.๕๖

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๒๐ab ๒.๗๙

อื่น ๆ ๓.๒๕ ๓.๓๐

ระดบั การศกึ ษา ๒.๒๙ ๓.๕๖ ๔.๖๓๔** ๕.๘๘๒**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๐.๗๓ab ๔.๓๕

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๒.๒๑ ๓.๙๒

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ / ๒.๑๔a ๓.๕๘
ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. ๒.๐๔ ๓.๗๗

ปรญิ ญาตรี ๒.๖๐b ๓.๓๕

ปริญญาโท ๒.๐๙ ๓.๒๗

ปริญญาเอก ๒.๕๐ ๒.๔๗

อาชีพหลัก ๒.๒๙ ๓.๕๔ ๒.๖๐๐** ๒.๙๑๔**

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๐๔a ๓.๐๘

นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา ๒.๔๑ ๓.๕๒

รับจ้างท่วั ไป ๑.๙๔ ๓.๘๖

เกษตรกร ๑.๐๗abc ๔.๔๓

ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๒.๔๔ ๓.๔๘

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๒.๑๖ ๓.๓๗

พนักงานรัฐวสิ าหกิจ ๒.๙๖b ๓.๒๙

พนกั งานสญั ญาจา้ ง ๒.๗๙c ๓.๑๘

ธรุ กิจส่วนตัว/คา้ ขาย ๒.๒๖ ๓.๕๕

อาชพี อิสระ (Freelance) ๒.๑๘ ๓.๔๘

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๑.๙๕ ๓.๖๓

ดิจิทลั แพลตฟอรม์ ๑.๗๒ ๓.๖๕

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๖
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พือ่ ใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๓.๕ นกั วชิ าการ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อ่ืนๆ ๒.๒๙ ๓.๕๔

หมายเหตุ: ** ระดับนัยสำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ท่ีมีอกั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกัน คอื คู่ทมี่ คี วามแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิ

จากตารางที่ ๔๔ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อนักวิชาการใน
ฐานะทีเ่ ป็นผู้เกย่ี วข้องกบั ความขดั แย้งในประเทศไทยกับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ พบวา่ ประชาชนท่ีมี
เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อนักวิชาการในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่
พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่านักวิชาการเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งใน
ประเทศไทย มากกว่าเพศชาย และเพศหญงิ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเท่า/ปวช. และปริญญาตรี เห็นด้วยว่า
นกั วชิ าการเป็นผเู้ กีย่ วขอ้ งกับความขดั แย้งในประเทศไทย มากกวา่ ประชาชนท่ีมรี ะดับการศกึ ษาประถมศึกษา/
เทียบเท่า

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ และ
พนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า นักวิชาการเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่าอาชีพ
เกษตรกร

ตาราง ๔๕ การเปรยี บเทยี บค่าเฉล่ียความคดิ เหน็ ของประชาชนต่อนักศึกษาในฐานะทีเ่ ป็นผู้เก่ียวข้องกับความ
ขดั แย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๓.๖ นักศึกษา ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๐๓ ๓.๖๗ ๖.๘๒๓** ๕.๕๙๐**

ชาย ๑.๙๐a ๓.๗๑

หญิง ๒.๐๑b ๓.๗๐

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๐๒ab ๒.๘๗

อนื่ ๆ ๓.๐๐ ๓.๓๑

ระดบั การศึกษา ๒.๐๐ ๓.๗๐ ๕.๔๐๔** ๒.๓๑๖*

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๑.๓๕a ๔.๑๖

มัธยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๒.๓๐ ๓.๗๘

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๑.๘๗b ๓.๗๑
ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. ๑.๗๑c ๓.๘๓

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๑๗๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๓.๖ นกั ศกึ ษา ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ปริญญาตรี ๒.๐๙d ๓.๖๕

ปรญิ ญาโท ๒.๓๘ ๓.๒๔

ปรญิ ญาเอก ๓.๕๗abcd ๑.๑๖

อาชพี หลัก ๒.๐๒ ๓.๖๗ ๒.๗๖๐** ๒.๕๘๑**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๒.๗๕a ๓.๒๙

นักเรียน/นกั ศกึ ษา ๒.๓๗ ๓.๖๖

รับจ้างทว่ั ไป ๑.๗๖ ๓.๙๐

เกษตรกร ๒.๑๗ ๓.๘๗

ลูกจ้าง/พนกั งานเอกชน ๒.๐๐ ๓.๖๗

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๑.๗๒ ๓.๕๖

พนกั งานรัฐวิสาหกิจ ๒.๒๔ ๓.๖๓

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๒.๓๗ ๓.๕๒

ธุรกิจสว่ นตวั /คา้ ขาย ๑.๖๔ ๓.๗๘

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๑.๑๔a ๓.๘๐

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๑.๖๑ ๓.๘๒

ดิจทิ ลั แพลตฟอร์ม ๒.๙๒ ๒.๙๓

อื่นๆ ๓.๒๓ ๒.๓๗

หมายเหตุ: * ระดับนัยสำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดบั นัยสำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทีม่ ีอักษรภาษาอังกฤษเหมือนกัน คอื คู่ทีม่ ีความแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติ

จากตารางท่ี ๔๕ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ความคิดเหน็ ของประชาชนต่อนกั ศึกษาในฐานะ
ที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทยกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนท่ีมีเพศ
และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อนักศึกษาในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย
แตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๑ ขณะท่ีประชาชนที่มีระดบั การศกึ ษาต่างกัน จะมีความคิด
เหน็ ต่อนักศกึ ษาในฐานะทเ่ี ปน็ ผู้เกย่ี วข้องกบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทย แตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ
ท่ีระดบั ๐.๐๕ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่านักศึกษาเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง
ในประเทศไทย มากกวา่ เพศชาย และเพศหญิง

เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๗๘
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอก เห็นด้วยว่า นักศึกษาเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง
ในประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาประถมศึกษา/เทียบเท่า มัธยมศึกษาตอนปลาย/
เทยี บเท่า/ปวช. อนุปรญิ ญา/ปวส. และปริญญาตรี

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ เห็นด้วยว่า นักศึกษาเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งใน
ประเทศไทย มากกวา่ อาชพี อสิ ระ (Freelance)

เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๗๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พอื่ ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๔๖ การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ ประชาชนในฐานะท่ีเป็นผู้เก่ยี วขอ้ งกบั
ความขัดแย้งในประเทศไทย กับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี

๓.๗ ประชาชน ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๑๓ ๓.๖๗ ๑๑.๔๘๙** ๑๐.๐๓๓**

ชาย ๑.๘๔a ๓.๗๕

หญงิ ๒.๒๐b ๓.๖๕

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๓๓ab ๒.๘๗

อื่น ๆ ๓.๒๕ ๓.๓๘

ระดับการศกึ ษา ๒.๑๐ ๓.๗๐ ๕.๒๗๔** ๓.๕๙๑**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๑.๙๒a ๔.๑๑

มัธยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเท่า ๒.๒๙ ๓.๗๖

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๑.๗๐b ๓.๘๖
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๑.๕๗cd ๓.๘๖

ปรญิ ญาตรี ๒.๓๑c ๓.๕๘

ปริญญาโท ๒.๔๓ ๓.๒๕

ปรญิ ญาเอก ๓.๖๔abd ๑.๓๙

อาชพี หลกั ๒.๑๒ ๓.๖๗ ๓.๗๑๓** ๓.๖๒๔**

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๒.๙๖ab ๓.๑๔

นกั เรียน/นกั ศกึ ษา ๒.๖๗cd ๓.๕๘

รับจ้างท่วั ไป ๑.๗๖ ๓.๗๗

เกษตรกร ๒.๔๔ ๓.๘๐

ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน ๑.๙๐ ๓.๗๗

รบั ราชการ/พนักงานราชการ ๑.๖๙ac ๓.๕๓

พนักงานรฐั วิสาหกจิ ๒.๗๒ ๓.๔๗

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๒.๗๓ ๓.๓๗

ธุรกิจส่วนตัว/คา้ ขาย ๑.๖๐bd ๓.๘๘

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๑.๖๔ ๓.๗๕

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๑.๖๖ ๔.๐๙

ดิจทิ ลั แพลตฟอรม์ ๒.๒๕ ๓.๕๖

เสนอ สำนกั งานขับเคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๘๐
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๓.๗ ประชาชน ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อน่ื ๆ ๒.๙๕ ๒.๙๘

หมายเหตุ: * ระดบั นยั สำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดบั นยั สำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทม่ี ีอกั ษรภาษาองั กฤษเหมือนกัน คือ คู่ท่มี คี วามแตกต่างกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ

จากตารางที่ ๔๖ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประชาชนใน
ฐานะที่เป็นผเู้ ก่ียวขอ้ งกับความขัดแย้งในประเทศไทยกบั เพศ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มี
เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อประชาชนในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่
พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่าประชาชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งใน
ประเทศไทย มากกวา่ เพศชาย และเพศหญิง

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอก เห็นด้วยว่า ประชาชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งใน
ประเทศไทย มากกว่าประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาประถมศึกษา/เทยี บเทา่ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเท่า/
ปวช. อนปุ รญิ ญา/ปวส.

- ประชาชนทีว่ า่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ และนกั เรียน/นักศึกษา เหน็ ดว้ ยว่า ประชาชนเป็นผ้เู ก่ียวข้อง
กับความขดั แย้งในประเทศไทย มากกว่าอาชพี รับราชการ/พนักงานราชการ และธุรกิจส่วนตัว/คา้ ขาย

ตาราง ๔๗ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อภาคต่างประเทศในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้อง
กับความขดั แย้งในประเทศไทย กับเพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ

๓.๘ ภาคต่างประเทศ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๑.๘๖ ๓.๕๘ ๓.๙๑๕* ๔.๐๑๐**

ชาย ๑.๖๗a ๓.๗๓

หญงิ ๑.๙๒ ๓.๔๗

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๒.๕๖a ๓.๓๕

อ่ืน ๆ ๓.๑๓ ๓.๓๒

ระดับการศกึ ษา ๑.๘๓ ๓.๖๑ ๕.๕๒๐** ๖.๑๙๔**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๐.๖๖ab ๔.๓๒

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๒.๐๙ ๓.๗๑

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๑.๑๕c ๓.๗๔

อนุปรญิ ญา/ปวส. ๑.๘๒ ๓.๗๑

เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๘๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พ่ือให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๓.๘ ภาคต่างประเทศ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ปริญญาตรี ๒.๑๐ac ๓.๔๕

ปรญิ ญาโท ๑.๘๓ ๓.๑๘

ปริญญาเอก ๓.๑๔b ๒.๒๑

อาชีพหลกั ๑.๘๔ ๓.๕๙ ๓.๖๔๔** ๓.๓๖๐**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๒.๖๐ ๓.๒๖

นักเรยี น/นักศกึ ษา ๑.๕๖a ๓.๖๑

รบั จ้างทว่ั ไป ๑.๖๓ ๓.๘๑

เกษตรกร ๑.๓๘b ๓.๗๘

ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๒.๑๘ ๓.๕๓

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๑.๖๗c ๓.๔๐

พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ๓.๐๗abcd ๓.๑๓

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๒.๕๐ ๓.๒๖

ธุรกจิ สว่ นตวั /คา้ ขาย ๑.๖๔ ๓.๗๘

อาชีพอิสระ (Freelance) ๑.๑๔d ๓.๗๕

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๑.๘๗ ๓.๘๓

ดิจิทลั แพลตฟอร์ม ๐.๙๔ ๔.๑๑

อืน่ ๆ ๓.๐๕ ๓.๐๒

หมายเหตุ: * ระดบั นยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดับนยั สำคญั ทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ทมี่ ีอกั ษรภาษาองั กฤษเหมือนกนั คือ คทู่ ่มี คี วามแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ

จากตารางที่ ๔๗ นำเสนอผลการเปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยความคดิ เห็นของประชาชนต่อภาคต่างประเทศ
ในฐานะทเ่ี ป็นผูเ้ กี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทยกับ เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ พบวา่ ประชาชน
ที่มีระดับการศกึ ษา และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อภาคต่างประเทศในฐานะทีเ่ ปน็ ผู้เกี่ยวขอ้ งกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ขณะท่ีประชาชนที่มีเพศต่างกัน
จะมีความคิดเห็นต่อภาคต่างประเทศในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกัน
อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ ๐.๐๕ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่าภาคต่างประเทศเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขดั แย้งในประเทศไทย มากกวา่ เพศชาย

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๘๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เห็นด้วยว่า ภาคต่างประเทศเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาประถมศึกษา/เทียบเท่า และมัธยมศึกษาตอน
ปลาย/เทยี บเท่า/ปวช.

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอก เห็นด้วยว่า ภาคต่างประเทศเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย มากกวา่ ประชาชนทีม่ ีระดับการศึกษาประถมศกึ ษา/เทียบเท่า

- ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ เห็นด้วยว่า ภาคต่างประเทศเป็นผู้เกี่ยวข้องกับ
ความขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่า นักเรียน/นักศึกษา อาชีพเกษตรกร รับราชการ/พนักงานราชการ และ
อาชีพอสิ ระ (Freelance)

ตาราง ๔๘ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อองค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐในฐานะที่เป็น
ผู้เกย่ี วขอ้ งกบั ความขดั แย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี

๓.๙ องคก์ รทีไ่ มใ่ ชข่ องรฐั ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๑.๗๕ ๓.๖๖ ๓๙.๐๐๔** ๑๐.๘๔๓**

ชาย ๑.๖๑ab ๓.๗๖

หญงิ ๑.๗๓cd ๓.๖๒

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๒.๖๙ace ๓.๒๗

อน่ื ๆ ๔.๕๐bde ๑.๐๓

ระดับการศกึ ษา ๑.๗๒ ๓.๖๘ ๓.๙๑๗** ๔.๒๑๓**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๐.๗๑a ๔.๒๕

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๑.๘๔ ๓.๘๒

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ /ปวช. ๑.๑๑b ๓.๗๒

อนปุ ริญญา/ปวส. ๑.๗๖ ๓.๗๙

ปรญิ ญาตรี ๑.๙๙ab ๓.๕๕

ปรญิ ญาโท ๑.๖๕ ๓.๓๙

ปรญิ ญาเอก ๑.๗๑ ๓.๕๒

อาชพี หลกั ๑.๗๕ ๓.๖๖ ๔.๑๓๕** ๔.๒๘๖**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๒.๐๕a ๓.๖๒

นักเรยี น/นักศกึ ษา ๑.๗๙b ๓.๕๔

รับจ้างทั่วไป ๑.๖๓ ๓.๗๔

เกษตรกร ๐.๓๖abcde ๓.๙๗

ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน ๒.๒๐cf ๓.๔๗

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๑๘๓
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่ือใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๓.๙ องคก์ รที่ไมใ่ ชข่ องรัฐ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

รับราชการ/พนกั งานราชการ ๑.๑๖fgh ๓.๖๘

พนักงานรฐั วสิ าหกจิ ๒.๘๐dg ๓.๓๖

พนักงานสญั ญาจา้ ง ๒.๓๕eh ๓.๔๖

ธุรกิจส่วนตวั /คา้ ขาย ๑.๖๖ ๓.๘๒

อาชีพอิสระ (Freelance) ๑.๘๓ ๓.๖๙

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๑.๕๙ ๓.๙๖

ดจิ ิทลั แพลตฟอร์ม ๑.๙๔ ๓.๕๖

อ่ืนๆ ๒.๙๕ ๒.๙๗

หมายเหตุ: * ระดับนัยสำคญั ทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดบั นยั สำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๑

คู่ที่มีอกั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกนั คอื คู่ท่มี คี วามแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ

จากตารางที่ ๔๘ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อองค์กรที่ไม่ใช่
ของรัฐในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทยกับ เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า
ประชาชนที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อองค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐในฐานะที่เป็น
ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการ
เปรยี บเทียบรายคู่ พบวา่

- ประชาชนเพศอื่นๆ เห็นด้วยว่าองค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย
มากกว่าเพศชาย เพศหญงิ และกล่มุ LGBTQ+ (เพศทางเลือก)

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่าองค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่าเพศชาย และเพศหญิง

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เห็นด้วยว่า องค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาประถมศึกษา/เทียบเท่า และมัธยมศึกษาตอน
ปลาย/เทยี บเท่า/ปวช.

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน พนักงาน
รัฐวิสาหกิจ และพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า องค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งใน
ประเทศไทย มากกว่าอาชพี เกษตรกร

- ประชาชนท่ีประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ และพนักงานสัญญาจ้าง
เหน็ ด้วยว่า องคก์ รท่ีไม่ใช่ของรัฐเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย มากกวา่ รับราชการ/พนักงาน
ราชการ

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๘๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๔๙ การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ความคิดเห็นของประชาชนต่อสื่อสารมวลชนในฐานะทีเ่ ป็นผู้เกี่ยวข้องกับ
ความขัดแย้งในประเทศไทย กบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ

๓.๑๐ สื่อสารมวลชน ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๗๐ ๓.๒๘ ๑๙.๗๗๗** ๑๐.๓๙๗**

ชาย ๒.๕๔ab ๓.๓๘

หญิง ๒.๗๐c ๓.๒๘

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๖๐ac ๒.๕๒

อื่น ๆ ๔.๓๘b ๑.๐๒

ระดบั การศึกษา ๒.๗๒ ๓.๒๘ ๑๓.๘๖๐** ๘.๖๖๖**

ประถมศึกษา/เทยี บเทา่ ๑.๒๗abcd ๔.๒๗

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /เทียบเท่า ๒.๔๘e ๓.๕๑

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา่ / ๒.๒๐fgh ๓.๓๑
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๒.๖๗ai ๓.๓๙

ปริญญาตรี ๓.๐๐bfj ๓.๑๒

ปรญิ ญาโท ๓.๑๔cgk ๒.๖๑

ปรญิ ญาเอก ๔.๔๓dehijk ๐.๘๕

อาชีพหลัก ๒.๗๐ ๓.๒๘ ๔.๓๘๔** ๕.๑๔๕**

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๒.๖๕ ๓.๓๐

นักเรียน/นักศกึ ษา ๒.๖๐ac ๓.๔๓

รับจ้างท่ัวไป ๒.๓๐b ๓.๔๔

เกษตรกร ๑.๑๗cdefgh ๔.๓๒

ลกู จ้าง/พนกั งานเอกชน ๓.๑๑d ๒.๙๑

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๒.๔๘i ๓.๓๔

พนกั งานรฐั วิสาหกจิ ๓.๒๘e ๒.๙๓

พนักงานสัญญาจา้ ง ๓.๕๐abfi ๒.๖๔

ธุรกจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๒.๘๖g ๓.๐๘

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๖๖ ๓.๓๑

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๓.๓๐ ๒.๖๗

ดจิ ทิ ัลแพลตฟอร์ม ๒.๒๒ ๓.๓๓

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๘๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๓.๑๐ สอื่ สารมวลชน ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อ่ืนๆ ๓.๕๐h ๒.๓๐

หมายเหตุ: * ระดบั นยั สำคัญทางสถติ ิ ๐.๐๕

** ระดับนัยสำคญั ทางสถิติ ๐.๐๑

คู่ทีม่ ีอกั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกนั คือ คทู่ ี่มีความแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ

จากตารางท่ี ๔๙ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียความคิดเหน็ ของประชาชนต่อส่ือสารมวลชนใน
ฐานะทเี่ ปน็ ผเู้ กย่ี วขอ้ งกบั ความขัดแย้งในประเทศไทยกบั เพศ ระดับการศึกษา และอาชพี พบวา่ ประชาชนท่ีมี
เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อสื่อสารมวลชนในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแย้งในประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทียบรายคู่
พบว่า

- ประชาชนเพศอื่นๆ เห็นด้วยว่าสื่อสารมวลชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย
มากกว่าเพศชาย

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) เห็นด้วยว่าสื่อสารมวลชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง
ในประเทศไทย มากกว่าเพศชาย และเพศหญงิ

- ประชาชนท่ีมีระดบั การศึกษาอนปุ ริญญา/ปวส. ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก เห็นดว้ ยว่า
สื่อสารมวลชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
ประถมศึกษา/เทยี บเทา่

- ประชาชนที่มีระดับการศกึ ษาปรญิ ญาเอก เหน็ ดว้ ยว่า สอื่ สารมวลชนเป็นผเู้ กี่ยวข้องกบั ความขัดแย้ง
ในประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น/เทียบเท่า มัธยมศึกษาตอนปลาย/
เทียบเท่า/ปวช. อนปุ รญิ ญา/ปวส. ปริญญาตรี และปรญิ ญาโท

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญตรี และปริญญาโท เห็นด้วยว่า สื่อสารมวลชนเป็นผู้เกี่ยวข้อง
กบั ความขดั แยง้ ในประเทศไทย มากกวา่ ประชาชนที่มรี ะดบั การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเท่า/ปวช.

- ประชาชนท่ีประกอบอาชีพพนักงานสัญญาจ้าง เห็นด้วยว่า สื่อสารมวลชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกับความ
ขัดแยง้ ในประเทศไทย มากกว่านักเรยี น/นกั ศึกษา รับจ้างท่ัวไป และรับราชการ/พนักงานราชการ

- ประชาชนที่เป็นนักเรียน/นักศึกษา ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานสัญญา
จ้าง ธุรกจิ ส่วนตวั /ค้าขาย และอาชพี อืน่ ๆ เห็นดว้ ยวา่ ส่อื สารมวลชนเป็นผู้เกี่ยวข้องกบั ความขัดแย้งในประเทศ
ไทย มากกวา่ อาชพี เกษตรกร

จากตารางดังกล่าวข้างต้นทั้งหมด พบว่า ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อ
ตัวแสดงต่าง ๆ ในฐานะผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย โดยมาก พบว่า ประชาชนเพศอื่น ๆ และ
กลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) จะเห็นด้วยในระดับที่มากกว่าเมื่อเทียบกับประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศ
หญิง ประชาชนที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และโดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับปริญญาเอก จะเห็น
ดว้ ยกบั ตัวแสดงต่าง ๆ ในฐานะผ้เู กี่ยวข้องกับความขดั แย้งในประเทศไทย ในระดบั ทม่ี ากกว่าเม่ือเทียบกับกลุ่ม
ระดับการศึกษาอื่น ๆ และ ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานเอกชน ดิจิทัลแพลตฟอร์ม พนักงานสัญญาจ้าง

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๘๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

พนักงานรัฐวิสาหกิจ และกลุ่มที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ มักจะเห็นด้วยกับตัวแสดงต่าง ๆ ในฐานะ
ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทย ในระดับที่มากกว่ากลุ่มอาชีพอื่น ๆ ขณะที่กลุ่มอาชีพเกษตรกรมัก
เป็นกลมุ่ ที่เหน็ ดว้ ยกบั ตวั แสดงตา่ ง ๆ ในฐานะผเู้ กย่ี วขอ้ งกบั ความขัดแยง้ ในประเทศไทยน้อยกว่ากลมุ่ อาชีพอื่น

เสนอ สำนักงานขบั เคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๘๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๓.๔ การเปรยี บเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย

ตาราง ๕๐ การเปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ความคิดเหน็ ของประชาชนต่อประเดน็ ความเหน็ ทางการเมืองท่ีแตกต่าง
ในฐานะทเ่ี ปน็ สาเหตุของความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทย กับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๔.๑ ความเห็นทางการเมอื งทแี่ ตกต่าง ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๙๕ ๒.๑๙ ๑.๑๐๐

ชาย ๓.๘๙ ๒.๒๒

หญิง ๔.๐๒ ๒.๑๖

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๘๐ ๒.๒๔

อ่ืน ๆ ๔.๓๘ ๑.๓๖

ระดับการศกึ ษา ๓.๙๙ ๒.๑๘ ๒.๗๖๑* ๓.๘๒๖**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๔.๑๐ ๒.๑๔

มัธยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเทา่ ๓.๙๐ ๒.๔๔

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๓.๕๕ab ๒.๗๕
ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. ๔.๐๗ ๒.๐๔

ปริญญาตรี ๔.๐๙a ๒.๐๓

ปริญญาโท ๔.๑๖b ๑.๕๙

ปริญญาเอก ๔.๕๐ ๑.๐๒

อาชีพหลกั ๓.๙๔ ๒.๒๐ ๒.๐๓๕* ๑.๖๗๑

วา่ งงาน/ไมป่ ระกอบอาชพี ๓.๘๘ ๑.๗๙

นักเรียน/นกั ศกึ ษา ๓.๙๑ ๒.๔๕

รบั จา้ งทัว่ ไป ๓.๘๑ ๒.๓๒

เกษตรกร ๔.๒๐ ๑.๙๓

ลูกจา้ ง/พนกั งานเอกชน ๔.๐๗ ๒.๐๖

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๓.๘๑a ๒.๓๑

พนักงานรฐั วิสาหกจิ ๓.๘๑ ๒.๔๒

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๔.๓๘a ๑.๕๗

ธุรกิจส่วนตวั /คา้ ขาย ๓.๙๙ ๒.๐๕

อาชพี อิสระ (Freelance) ๓.๕๙ ๒.๔๗

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๔.๐๘ ๒.๐๘

เสนอ สำนักงานขับเคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๘๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๔.๑ ความเห็นทางการเมืองที่แตกตา่ ง ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ดจิ ิทัลแพลตฟอร์ม ๓.๔๔ ๒.๔๙

อนื่ ๆ ๓.๓๒ ๒.๓๘

หมายเหตุ: * ระดับนยั สำคญั ทางสถิติ ๐.๐๕

** ระดบั นยั สำคัญทางสถิติ ๐.๐๑

คู่ทีม่ ีอกั ษรภาษาอังกฤษเหมือนกัน คือ ค่ทู ่ีมีความแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิ

จากตารางที่ ๕๐ นำเสนอผลการเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยความคิดเหน็ ของประชาชนต่อประเด็นความเห็น
ทางการเมืองที่แตกต่างในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย กับ เพศ ระดับ
การศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตา่ งกัน จะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความเห็นทาง
การเมืองที่แตกต่างในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ ๐.๐๕ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และปริญญาโทเห็นด้วยว่า ความเห็นทางการเมืองที่
แตกต่างเป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย มากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช.

ตาราง ๕๑ การเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ความคดิ เหน็ ของประชาชนต่อประเดน็ ความขดั แย้งจากความแตกตา่ งของ
วยั ในฐานะท่ีเปน็ สาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย กับเพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ

๔.๒ ความแตกต่างของวยั ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๘๕ ๓.๒๐ ๒.๓๖๔ ๒.๒๘๓

ชาย ๒.๖๘ ๓.๓๐

หญิง ๒.๙๕ ๓.๑๕

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๒๖ ๒.๘๘

อื่น ๆ ๓.๑๓ ๓.๔๔

ระดบั การศกึ ษา ๒.๘๕ ๓.๒๓ ๑.๖๗๗ ๑.๙๐๖

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๓.๐๔ ๓.๒๖

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๓.๐๖ ๓.๒๑

มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ /ปวช. ๒.๔๙ ๓.๔๐

อนปุ ริญญา/ปวส. ๒.๕๘ ๓.๔๔

ปรญิ ญาตรี ๒.๙๖ ๓.๑๖

ปรญิ ญาโท ๓.๐๓ ๒.๘๓

ปริญญาเอก ๓.๔๓ ๒.๐๖

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๘๙
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พ่ือให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๔.๒ ความแตกต่างของวยั ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อาชพี หลัก ๒.๘๕ ๓.๒๑ ๒.๓๕๗** ๒.๖๒๐**

ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ๓.๒๖ ๒.๗๗

นักเรียน/นักศึกษา ๓.๐๔ ๓.๑๖

รับจา้ งท่ัวไป ๒.๖๑ ๓.๓๙

เกษตรกร ๓.๑๒ ๓.๒๓

ลกู จ้าง/พนักงานเอกชน ๓.๑๒ ๓.๐๓

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๒.๔๖ ๓.๒๘

พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ๒.๖๙ ๓.๔๘

พนักงานสัญญาจา้ ง ๓.๐๘ ๓.๐๘

ธรุ กจิ ส่วนตัว/ค้าขาย ๒.๘๑ ๓.๒๖

อาชีพอสิ ระ (Freelance) ๒.๓๓ ๓.๔๘

ธรุ กิจขายของออนไลน์ ๑.๕๙ab ๓.๘๙

ดจิ ิทัลแพลตฟอรม์ ๓.๓๓a ๒.๒๔

อนื่ ๆ ๓.๕๐b ๒.๓๙

จากตารางที่ ๕๑ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
ขัดแย้งจากความแตกต่างของวัยในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยกับ เพศ
ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า ประชาชนที่มีอาชีพหลักต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นความขัดแย้ง
จากความแตกต่างของวัยในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย แตกต่างกันอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทยี บรายคู่ พบว่า

- ประชาชนที่มอี าชพี ดิจิทัลแพลตฟอรม์ และผู้ที่เลือกตอบ “อ่นื ๆ” เหน็ ด้วยวา่ ความขัดแย้งจากความ
แตกต่างของวัยในฐานะที่เปน็ สาเหตขุ องความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าผู้ทีม่ ีอาชีพธุรกิจขาย
ของออนไลน์

ตาราง ๕๒ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ ใน
ฐานะทเี่ ปน็ สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ

๔.๓ ความเหลื่อมลำ้ ในด้านตา่ ง ๆ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๑๑ ๓.๐๕ ๑๑.๒๔๓** ๖.๓๕๓**

ชาย ๒.๙๗ab ๓.๑๒

หญงิ ๓.๑๕cd ๓.๐๖

LGBTQ+ (เพศทางเลอื ก) ๓.๗๒ac ๒.๔๘

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๙๐
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พอื่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๔.๓ ความเหลอื่ มล้ำในด้านตา่ ง ๆ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ระดับการศึกษา ๓.๑๕ ๓.๐๕ ๔.๔๐๘** ๓.๕๘๑**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเท่า ๓.๑๒ ๓.๔๑

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทียบเท่า ๒.๘๘ ๓.๓๓

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๒.๖๘ab ๓.๓๒
ปวช.

อนปุ ริญญา/ปวส. ๒.๘๙c ๓.๑๙

ปรญิ ญาตรี ๓.๓๖a ๒.๘๗

ปริญญาโท ๓.๓๒ ๒.๗๘

ปริญญาเอก ๔.๐๗bc ๑.๐๗

อาชีพหลกั ๓.๑๑ ๓.๐๕ ๒.๕๕๔** ๒.๘๖๕**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชีพ ๓.๕๖ab ๒.๖๔

นักเรียน/นักศกึ ษา ๓.๓๕ ๒.๙๔

รบั จา้ งทั่วไป ๒.๖๒ ๓.๓๒

เกษตรกร ๓.๒๙ ๓.๒๐

ลกู จา้ ง/พนกั งานเอกชน ๓.๓๗ ๒.๘๔

รับราชการ/พนักงานราชการ ๓.๐๑ ๒.๙๓

พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ๓.๑๙ ๒.๙๙

พนกั งานสัญญาจา้ ง ๓.๕๑ ๒.๗๗

ธรุ กจิ สว่ นตัว/ค้าขาย ๒.๕๑a ๓.๕๕

อาชีพอิสระ (Freelance) ๒.๔๗b ๓.๔๗

ธุรกจิ ขายของออนไลน์ ๒.๖๙ ๓.๓๘

ดิจทิ ัลแพลตฟอร์ม ๓.๔๒ ๒.๕๑

อ่นื ๆ ๓.๐๕ ๒.๘๗

จากตารางที่ ๕๒ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความ
เหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยกับ เพศ ระดับ
การศกึ ษา และอาชพี พบวา่ ประชาชนที่มีเพศ ระดบั การศึกษา อาชพี หลกั ตา่ งกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็น
ความเหล่ือมล้ำในด้านต่าง ๆ ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยแตกต่างกัน
อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่มที่เลือกข้อ “อื่น ๆ” ในการระบุเพศเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากความเหลื่อมล้ำใน
ด้านตา่ ง ๆ ในฐานะท่เี ปน็ สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทยมากกวา่ เพศชายเพศหญงิ

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๙๑
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พ่ือให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ เห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ ในฐานะที่เป็น
สาเหตุของความขดั แยง้ ในอนาคตของประเทศไทยมากกวา่ เพศชายเพศหญิง

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปรญิ ญาเอกเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากความเหลื่อมล้ำในด้านตา่ ง ๆ
ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ อนปุ ริญญา/ปวส.

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ
ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา่

- ประชาชนที่ว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากความเหลื่อมล้ำในด้านต่าง ๆ
ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าผู้ที่มีอาชีพอิสระและธุรกิจส่วนตัว/
คา้ ขาย

เสนอ สำนักงานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่อื นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๑๙๒
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ตาราง ๕๓ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นความขัดแย้งจากประเด็นค่านิยม
ความเช่ือในฐานะทีเ่ ป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย กบั เพศ ระดบั การศึกษา และอาชพี

๔.๔ ค่านยิ ม ความเชือ่ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๒.๕๔ ๓.๔๗ ๒๑.๙๐๕** ๒๐.๐๐๓**

ชาย ๒.๑๓abc ๓.๗๐

หญงิ ๒.๗๕ade ๓.๓๑

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๕๐bd ๒.๗๕

อืน่ ๆ ๔.๕๐ce ๑.๓๗

ระดบั การศึกษา ๒.๕๖ ๓.๔๘ ๘.๔๗๕** ๕.๓๖๙**

ประถมศึกษา/เทยี บเท่า ๑.๖๖ab ๔.๒๑

มธั ยมศึกษาตอนต้น/เทยี บเทา่ ๒.๗๐c ๓.๕๒

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเทา่ / ๒.๔๓d ๓.๔๓
ปวช.

อนุปรญิ ญา/ปวส. ๑.๙๙efg ๓.๘๑

ปริญญาตรี ๒.๗๔eh ๓.๓๗

ปริญญาโท ๓.๒๓af ๒.๖๙

ปริญญาเอก ๓.๙๓bcdgh ๐.๙๒

อาชีพหลกั ๒.๕๓ ๓.๔๗ ๓.๕๔๖** ๓.๕๒๔**

วา่ งงาน/ไม่ประกอบอาชพี ๓.๑๒ ๓.๑๑

นกั เรยี น/นกั ศึกษา ๒.๖๕ ๓.๔๑

รบั จา้ งทั่วไป ๒.๑๓ ๓.๖๒

เกษตรกร ๑.๖๘a ๔.๑๙

ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ๒.๙๖ ๓.๒๖

รับราชการ/พนักงานราชการ ๒.๒๙ ๓.๔๓

พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ๓.๔๗a ๒.๗๐

พนักงานสัญญาจา้ ง ๒.๙๗ ๓.๒๐

ธุรกิจส่วนตัว/คา้ ขาย ๒.๓๑ ๓.๖๖

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๑.๙๔ ๓.๘๐

ธรุ กจิ ขายของออนไลน์ ๑.๖๖ ๓.๙๓

ดจิ ทิ ัลแพลตฟอร์ม ๒.๑๔ ๓.๗๗

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๙๓
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รู้เพ่ือให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๔.๔ คา่ นยิ ม ความเช่ือ ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

อ่นื ๆ ๓.๒๓ ๒.๒๕

จากตารางที่ ๕๓ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นค่านิยม
ความเชือ่ ในฐานะที่เปน็ สาเหตุของความขดั แย้งในอนาคตของประเทศไทยกับ เพศ ระดบั การศึกษา และอาชีพ
พบว่าประชาชนที่มีเพศ ระดับการศึกษา อาชีพหลักต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็นค่านิยม ความเชื่อใน
ฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
๐.๐๑ ผลจากการเปรยี บเทียบรายคู่ พบว่า

- ประชาชนกลุ่มท่เี ลือกขอ้ “อนื่ ๆ” ในการระบุเพศเห็นดว้ ยว่าความขัดแยง้ จากประเด็นคา่ นิยม ความ
เชื่อในฐานะทีเ่ ป็นสาเหตขุ องความขดั แย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกวา่ เพศชายเพศหญิง

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ เห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากประเด็นค่านิยม ความเชื่อในฐานะที่เป็น
สาเหตุของความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าเพศชายเพศหญงิ

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอกเห็นด้วยวา่ ความขัดแย้งจากประเด็นค่านิยม ความเชื่อใน
ฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนทุกระดับการศึกษายกเว้น
ระดบั ปรญิ ญาโท

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากประเด็นค่านิยม ความเชื่อใน
ฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
อนุปรญิ ญา

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาโทเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากประเด็นค่านิยม ความเชื่อใน
ฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
อนปุ ริญญา/ปวส. และประถมศึกษา/เทียบเทา่

- ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากประเด็นค่านิยม ความเชื่อใน
ฐานะท่ีเปน็ สาเหตุของความขดั แยง้ ในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าผ้ทู มี่ ีอาชพี เกษตรกร

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลอื่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๙๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พ่ือใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๕๔ การเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยความคดิ เห็นของประชาชนต่อประเด็นความขัดแย้งจากการไมย่ อมรับการ
เปลี่ยนแปลงในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย กับเพศ ระดับการศึกษา และ
อาชพี

๔.๕ การไมย่ อมรับการเปลย่ี นแปลง ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

เพศ ๓.๒๑ ๓.๐๒ ๑๑.๑๑๐** ๙.๙๘๒**

ชาย ๓.๐๐ab ๓.๑๕

หญงิ ๓.๒๙c ๒.๙๙

LGBTQ+ (เพศทางเลือก) ๓.๙๕ac ๒.๑๔

อื่น ๆ ๔.๓๘b ๑.๓๖

ระดับการศกึ ษา ๓.๒๘ ๒.๙๘ ๖.๘๓๖** ๖.๗๓๖**

ประถมศกึ ษา/เทยี บเทา่ ๒.๕๘a ๓.๗๗

มธั ยมศึกษาตอนตน้ /เทยี บเท่า ๓.๒๒ ๓.๑๒

มธั ยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ / ๒.๙๙bc ๓.๐๖
ปวช.

อนุปริญญา/ปวส. ๒.๖๗def ๓.๔๑

ปรญิ ญาตรี ๓.๕๖bd ๒.๗๔

ปรญิ ญาโท ๓.๖๒e ๒.๓๖

ปรญิ ญาเอก ๔.๒๙acf ๑.๑๔

อาชพี หลกั ๓.๒๑ ๓.๐๒ ๓.๙๔๕** ๔.๔๓๙**

ว่างงาน/ไมป่ ระกอบอาชีพ ๓.๔๓ ๒.๘๘

นกั เรยี น/นักศกึ ษา ๓.๒๒ ๓.๑๔

รับจ้างทว่ั ไป ๒.๖๓ab ๓.๓๙

เกษตรกร ๒.๑๖cde ๓.๙๔

ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ๓.๖๒ac ๒.๖๐

รบั ราชการ/พนกั งานราชการ ๓.๕๗bd ๒.๔๑

พนกั งานรัฐวิสาหกจิ ๓.๗๓e ๒.๕๕

พนักงานสัญญาจา้ ง ๓.๕๒ ๒.๗๖

ธุรกจิ สว่ นตัว/คา้ ขาย ๒.๗๙ ๓.๔๔

อาชพี อสิ ระ (Freelance) ๒.๖๕ ๓.๔๗

ธุรกิจขายของออนไลน์ ๒.๙๘ ๓.๑๕

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๙๕
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รูเ้ พ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๔.๕ การไมย่ อมรับการเปลี่ยนแปลง ̅ S.D. F Welch Brown-
Forsythe

ดจิ ิทัลแพลตฟอร์ม ๒.๔๗ ๓.๒๘

อน่ื ๆ ๓.๕๐ ๒.๓๐

จากตารางที่ ๕๔ นำเสนอผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อประเด็นการไม่
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยกับ เพศ ระดับ
การศกึ ษา และอาชพี พบว่าประชาชนที่มีเพศ ระดบั การศึกษา อาชีพหลกั ตา่ งกันจะมีความคิดเห็นต่อประเด็น
การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคต ของประเทศไทยแตกต่างกัน
อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ ๐.๐๑ ผลจากการเปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่

- ประชาชนกลุ่มที่เลือกข้อ “อื่น ๆ” ในการระบุเพศเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการ
เปล่ยี นแปลงในฐานะท่เี ปน็ สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าเพศชายเพศหญิง

- ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ เห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในฐานะท่เี ป็น
สาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกวา่ เพศชายเพศหญิง

- ประชาชนที่มีระดับการศึกษาปริญญาเอกเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มกี ารศึกษา
ระดบั ประถมศึกษา/เทียบเทา่ มัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเท่า/ปวช. และอนุปริญญา/ปวส.

- ประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาปริญญาตรีเห็นดว้ ยว่าความขดั แย้งจากการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทียบเท่า/ปวช. และอนปุ รญิ ญา/ปวส.

- ประชาชนทม่ี รี ะดับการศึกษาปริญญาโทเห็นด้วยวา่ ความขัดแยง้ จากการไม่ยอมรับการเปล่ียนแปลง
ในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษา
อนปุ รญิ ญา/ปวส.

- ประชาชนที่มีอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ในฐานะท่เี ปน็ สาเหตุของความขดั แย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกวา่ ผู้ที่มอี าชีพเกษตรกร

- ประชาชนที่มีอาชีพลูกจ้าง/พนักงานเอกชนเห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงในฐานะที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าผูท้ ี่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป
และเกษตรกร

- ประชาชนที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานราชการ เห็นด้วยว่าความขัดแย้งจากการไม่ยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงในฐานะท่ีเป็นสาเหตุของความขดั แย้งในอนาคตของประเทศไทยมากกว่าผู้ที่มีอาชพี รับจา้ งทัว่ ไป
และเกษตรกร

จากตารางที่ ๕๑ - ๕๕ พบว่า ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของประชาชนต่อสาเหตุ
ของความขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทยโดยมาก พบว่า ประชาชนกลุ่ม LGBTQ+ (เพศทางเลือก) จะเห็น
ด้วยในระดับที่มากกว่าเมื่อเทียบกับประชาชนที่เป็นเพศชาย และเพศหญิง ประชาชนที่มีการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ปริญญาโท และโดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับปริญญาเอก จะเห็นด้วยกับสาเหตุของความขัดแย้งใน

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๙๖
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอื่ ให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

อนาคตของประเทศไทย ในระดับที่มากกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มระดับการศึกษาอื่น ๆ และ ประชาชนที่มีอาชีพ
ลูกจา้ ง/พนักงานเอกชน รบั ราชการ/พนักงานราชการ พนักงานรฐั วสิ าหกจิ มักจะเห็นดว้ ยกบั สาเหตุของความ
ขัดแย้งในอนาคตของประเทศไทย ในระดับที่มากกว่ากลุ่มอาชีพอื่น ๆ ขณะที่กลุ่มอาชีพเกษตรกรและอาชีพ
อสิ ระมกั เปน็ กลุ่มที่เห็นดว้ ยกบั ตวั แสดงต่าง ๆ ในฐานะผูเ้ กีย่ วข้องกับความขัดแย้งในประเทศไทยน้อยกว่ากลุ่ม
อาชีพอนื่ ๆ

เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๑๙๗
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่อื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

บทที่ ๙
ผลการลงพื้นทเ่ี พือ่ จดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร

การลงพื้นที่เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการหรือการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทุก
ภาคส่วน ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น (หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษาภาคเอกชน
ภาคประชาสงั คม และประชาชน) เพ่ือรว่ มกนั ให้ข้อมูล แสดงความคิดเหน็ และเสนอแนะแนวทางและรูปแบบ
ที่จะใช้แก้ไขปัญหาความขัดแย้งและหาแนวทางการสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ โดยการจัด
ประชมุ ดงั กล่าวมจี ำนวนผลู้ งทะเบียนเข้ารว่ ม และวนั ทีจ่ ดั ประชมุ ในแตล่ ะจงั หวดั เรียงลำดบั ดังนี้

ตาราง ๕๕ จำนวนผลู้ งทะเบยี นเขา้ รว่ ม และวนั ท่ีจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัติการในแต่ละจังหวัด

ลำดบั สถานทจ่ี ัดประชุม วันทีจ่ ัดประชมุ จำนวน
ผู้ลงทะเบยี น

เขา้ รว่ ม

๑ โรงแรมเมอื งลิกอร์ ต.ทา่ วัง อ.เมือง วนั ศุกรท์ ่ี ๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ๑๑๒ คน
จ.นครศรีธรรมราช

๒ โรงแรมบางแสนเฮอริเทจ ต.แสนสุข วนั พุธที่ ๑๔ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ๑๒๓ คน
อ.เมือง จ.ชลบรุ ี

๓ โรงแรมไอบิส สไตล์ เชียงใหม่ จ. วนั อาทิตยท์ ี่ ๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ๑๑๐ คน
เชียงใหม่

๔ โรงแรมฟอร์จูน ถ.มิตรภาพ อ.เมือง วนั พฤหสั บดีท่ี ๒๒ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ๑๒๑ คน
จ.นครราชสีมา

๕ โรงแรม เดอะ เบอร์เคลยี ์ ประตูน้ำ วันศุกร์ที่ ๒๓ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๕ ๒๑๔ คน

กรุงเทพมหานคร

หมายเหต:ุ รายละเอยี ดการจดั ประชมุ อนื่ ๆ แสดงในภาคผนวก ฉ

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๑๙๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั ร้เู พือ่ ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

๑. ผลการจัดประชุมเชงิ ปฏิบัติการในภาคใต้: นครศรีธรรมราช

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคใตม้ ีขึ้นที่จังหวดั นครศรธี รรมราช โดยผู้เข้าร่วมประชุมมีการแสดง
ความคดิ เหน็ ต่อประเดน็ ความปรองดองสรุปได้ดังน้ี

ปจั จยั สำคัญท่ีมีผลต่อการสร้างความปรองดอง

อำนาจรัฐ

โครงสร้างเชงิ อำนาจของรฐั ที่ปัจจบุ ันยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างประชาชน
และหน่วยงานภาครัฐอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้อำนาจรฐั ในทางมชิ อบเพื่อประโยชนส์ ่วนตน หรือ
การใช้อำนาจเกินขอบเขต ซึ่งประชาชนในฐานะผู้ใช้บริการจากรัฐก็จะเป็นผู้ได้รับผลกระทบในการเข้าถึงสิทธิ
อันพงึ มีของตนเอง

ข้อมลู ข่าวสารและการสอ่ื สารขอ้ มูลสู่สาธารณะ
จากข้อมูลที่สะท้อนในที่ประชุมเวทีเสวนาพบว่าประเด็นการสื่อสารข้อมูล ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ
ประเด็นทางการเมืองหรือรากเหง้าความขัดแย้งในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสารจาก
สื่อสารมวลชนภายใตก้ ารกำกับของรัฐหรือการสื่อมวลชนจากภาคเอกชน พบว่า เป็นประเด็นสำคัญที่สร้างให้
เกิดความขัดแย้งของสมาชกิ ในสังคมในปัจจุบนั เน่อื งจากในหลายคร้งั ขอ้ มูลทนี่ ำเสนอต่อสาธารณะเป็นข้อมูลที่
มีหลายชดุ และเปน็ ขอ้ มูลท่ีมคี วามยอ้ นแย้งต่อกัน รวมท้งั เปน็ ขอ้ มลู ท่ีขาดความเป็นกลาง

ความเปราะบางและขาดความสมั พันธเ์ ชิงบวกระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครัว/ชุมชน
ประเด็นของครอบครัวที่ขาดความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างกันต่อสมาชิกของคนในครอบครัว/ชุมชน
อันเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและรูปแบบการดำรงชีวิตทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ รวมทั้งการขาด
ศักยภาพของการเป็นผู้ดูแลบตุ รของผู้ที่เป็นบิดา มารดา หรือผู้ปกครองจึงทำให้คุณภาพของครอบครัวซึง่ เป็น
หน่วยแรกเริ่มที่สำคัญในการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสังคมด้อยลงไป จากความเปราะบางทาง
ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวและชุมชนทำให้การทำความเข้าใจหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็น
สถานการณท์ างการเมืองหรอื ประเด็นทางสังคมรว่ มกันไม่สามารถเกดิ ขนึ้ ได้ หรือเปน็ ไปได้ไม่งา่ ยนัก

ความแตกตา่ งระหวา่ งช่วงวยั
ปัจจุบันมีกลุ่มเยาวชนและนักศึกษาเข้ามีส่วนร่วมเป็นจำนวนมาก ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะมีความเห็นท่ี
แตกต่างจากกลุ่มประชาชนวัยผู้ใหญ่หรือผู้สูงอายุ อันเนื่องมาจากประสบการณ์การมีส่วนร่วมทางการเมือง
และการรับข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างกัน (ทั้งข้อมูลและช่องทางการเข้าถึงข้อมูล) นอกจากนี้ลักษณะของ
สภาพแวดล้อม ครอบครัว และวิถีการดำรงชีวิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันที่มีความแตกต่างจากคนรุ่น
ก่อน (Baby Boomer หรือ Gen X) ยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ความเห็นทางการเมืองของช่วงวัยต่าง ๆ มี
ความแตกตา่ งกันและไม่สามารถผสานความเขา้ ใจตอ่ ความเหน็ ท่ีแตกต่างกนั ได้

สถาบันการศกึ ษา (การปลูกฝงั / การนำเสนอขอ้ มลู / การเขา้ ไม่ถงึ ระบบการศึกษาอย่างเทา่ เทียม)

การนำเสนอข้อมูลรากเหง้าของความขัดแย้งไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง รวมถึงกระบวนการปลูกฝัง
ความเขา้ ใจทีถ่ กู ต้องต่อกระบวนการสร้างประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เป็นประมขุ รวมทัง้ ประชาชนบาง
พ้นื ท่กี ย็ งั ไม่สามารถเข้าถึงระบบการศึกษาได้อย่างเทา่ เทยี ม ซึง่ เป็นสว่ นหนึ่งท่ีทำใหเ้ กดิ ความเหลอ่ื มล้ำท่ีสำคัญ
ของสงั คมเนอ่ื งจากการเข้าถงึ การศกึ ษาเป็นสวัสดิการขัน้ พนื้ ฐานของพลเมอื ง

เสนอ สำนักงานขับเคล่ือนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๑๙๙
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

นอกจากนี้การศึกษาในปัจจุบันยังละเลยการปลูกฝังด้านคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีซ่ึง
เป็นรากเหงา้ ท่สี ำคัญของการสร้างความสามคั คปี รองดองของคนในสังคม

สถาบันทางการเมอื ง (บุคคล/ การบริการจัดการ/ โครงสรา้ งทางการเมอื ง)
สถาบันทางการเมืองเป็นมลู เหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมือง ทั้งในมิติของบคุ คลที่เขา้
ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประชาชนที่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามบทบาทหน้าที่ นอกจากนี้ยังหมายรวมถึง
ลักษณะทางการเมืองไทยที่มีภาพลักษณ์ของความขัดแย้งและสร้างการแบ่งฝ่ายอย่างชัดเจน ซึ่งกระบวนการ
สร้างความขัดแยง้ ทางการเมืองมักจะเป็นกระบวนการสร้างผา่ นกลุ่มฐานเสียงของตนเองท่ีอยู่ในพ้ืนที่ชุมชนทั้ง
ในเขตเมอื งและเขตชนบท ซ่ึงทำให้ความขัดแยง้ ในระดับพื้นท่ไี ด้ขยายตัวอยา่ งรวดเรว็

ความเหลอ่ื มลำ้
ประเด็นความเหลื่อมล้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าถึงทรัพยากรขั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิต และ
สวัสดิการต่าง ๆ เช่น การศึกษา สาธารณสุข กระบนการยุติธรรม นอกจากนี้ระบบทุนนิยมที่เอื้อให้นายทุน
สามารถเข้าถึงทรัพยากรและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรได้มากกว่าทำให้ประชาชนกลุ่มรากหญ้าสูญเสีย
ประโยชน์และสทิ ธอิ นั พงึ มขี องตนตอ่ การเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ จึงทำให้เกิดความขัดแย้งในสังคมขนึ้

แนวทางการสรา้ งความปรองดอง

การสร้างการมีส่วนรว่ มของประชาชน

การสรา้ งการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในสังคมในมิตติ ่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมอันเป็นพ้ืนฐาน
ของการแสดงออกของสิทธิและเสรีภาพอันพึงมีของการเป็นพลเมือง เช่น การมีส่วนร่วมทางการเมือง การ
แสดงออกทางความเห็นที่ไม่ละเมิดสทิ ธิของผู้อื่น และการสร้างจิตสำนกึ ของการอยู่ร่วมกันผ่านระบบทางการ
เช่น การศึกษา การอบรมจากสถาบันต่าง ๆ และผ่านระบบความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ เช่น ระบบ
ครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในชุมชน โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การทำกิจกรรมจิตอาสา หรือ
กจิ กรรมสาธารณะเพ่ือสังคม ผา่ นการสร้างเครือข่ายจิตอาสาในการพฒั นาสังคมยังเป็นประเดน็ เพ่ือนำไปสู่การ
สรา้ งความปรองดองสมานฉันท์

กฎหมาย และระบอบประชาธิปไตย
การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย ของพลเมืองของประเทศ ทั้งนี้ระเบียบฯ ต่าง ๆ นั้น
จะต้องมาจากความชอบธรรมโดยกลไกที่ถูกต้องตามและมีความยุติธรรม พร้อมทั้งมีกลไกที่สามารถอำนวย
ความยุติธรรมใหแ้ ก่ประชาชนไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ

การทำความเข้าใจร่วมกันการลักษณะทางการเมืองและวิถีทางการเมืองตามระบบประชาธิปไตย
โดยเฉพาะอย่างอย่างการแสดงออกตามระบอบประชาธิปไตยที่มอบอำนาจให้แก่ประชาชนได้มีอำนาจในการ
ตัดสินใจ ทั้งการมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็นเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
นอกจากนี้ระบบการศึกษาและระบบของรัฐจำเป็นที่ต้องสร้างความเข้าร่วมให้แก่ประชาชนในวิถีทางท่ี
เหมาะสมในการแสดงออกตามหลักประชาธปิ ไตย

เสนอ สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๐๐
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

๒. ผลการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคเหนือ: เชยี งใหม่

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคเหนือมีขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้เข้าร่วมประชุมมีการแสดง
ความคดิ เห็นต่อประเด็นความปรองดองสรปุ ไดด้ ังน้ี

ปจั จัยสำคญั ท่ีมผี ลต่อการสรา้ งความปรองดอง

โครงสรา้ งเชงิ อำนาจของภาครฐั
การใช้อำนาจเกินขอบเขตของภาครัฐ/บุคลากรของภาครัฐทำให้ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงบริการ
ของภาครฐั ได้ตามสิทธขิ อตนเอง

ขาดการมสี ว่ นร่วมของประชาชน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดกฎหมาย การแสดงความเห็นในประเด็น
สวสั ดกิ าร และปัจจัยพน้ื ฐานในการดำรงชีวติ

ความเหล่อื มลำ้ ในมิติต่าง ๆ
การเข้าไม่ถึงทรัพยากรของประชาชนอย่างไม่เท่าเทียมในมิติทางด้านเศรษฐกิจ และข้อมูลข่าวสาร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล ซึ่งทำให้เกิดการปิดกั้นโอกาสในการพัฒนา
คณุ ภาพในการดำรงชวี ติ อย่างเท่าเทยี ม

ความเปราะบางของครอบครวั /สงั คม
ปัจจุบนั สมาชิกในครอบครัวหลาย ๆ ครอบครัวมีลกั ษณะของความสัมพันธท์ ่ีไม่ราบรื่น ขาดการรับฟัง
และการยอมรับความคิดเหน็ ซึ่งกันและกนั ทำให้เกิดความแตกร้าวของความสัมพันธ์ซ่งึ นำไปสู่ความแตกร้าวใน
ระดบั ท่ีขยายกวา้ งข้ึนไปสรู่ ะดบั ชุมชน และสังคม

ขาดการบรู ณาการระหวา่ งหน่วยงานของภาครัฐ /รัฐและประชาสงั คม
ข้อมูลและการดำเนินงานของภาครัฐยังขาดการบูรณาการจากทุกภาคส่วนทำให้ประชาชนในฐานะ
ผู้ใช้บริการของภาครัฐมีความยากลำบากในการได้รับบริการ รวมทั้งการบูรณาการการดำเนินงานระหว่าง
ภาครัฐและประชาชน/ประชาสังคมยงั ไมร่ าบรื่น สะดวก รวดเร็ว ทำให้การเข้าถงึ และรับประโยชน์จากภาครฐั
ของประชาชนไมเ่ ปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ขาดการสื่อสารขอ้ มลู ของภาครัฐส่ปู ระชาชน
แนวทางการสร้างความปรองดอง

กฎหมาย
ตอ้ งเป็นการไดม้ าซ่ึงรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศที่มาด้วยความโปรง่ ใสถูกต้อง โดย
ประชาชน เพื่อประชาชน รวมทั้งกระบวนการพัฒนากฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม เท่า
เทียม และประชาชนทุกคนสามารถเข้าถงึ กระบวนการยตุ ิธรรมได้อยา่ งเปน็ ธรรม

ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์เป็นประมุข
การมีสว่ นรว่ มของประชาชน/ประชาสงั คม
การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน/ประชาสังคมในการดำเนินการต่าง ๆ ของภาครัฐที่จะ
ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชน รวมทั้งการแสดงความเหน็ อยา่ งอสิ ระของประชาชน

เสนอ สำนกั งานขับเคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๐๑
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั ร้เู พือ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

นอกเหนือจากการสร้างการมีส่วนร่วมให้ประชาชนแล้วรัฐจะต้องสร้างพื้นที่ปลอดภัยในการแสดง
ความเห็น โดยต้องมีการกำหนด กฎ กติกาสำหรับการแสดงความเห็นว่าจะต้องเคารพในสิทธิของผู้อ่ื นด้วย
เช่นกัน

ยตุ ิการใชร้ ะบบปฏวิ ตั ิ/รัฐประหาร

รัฐตอ้ งมกี ารใช้ระบบรัฐสภาเพื่อแสดงความเหน็ โดยผ่านระบบตวั แทนของประชาชน

การจดั บรกิ ารสวสั ดิการให้แกป่ ระชาชน
การบูรณาการส่วนงานของภาครัฐเพื่อสร้างระบบสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ
ให้กับประชาชน

มีการจัดระเบียบทางสังคมเพื่อสร้างความความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตของประชาชน อัน
เป็นสทิ ธขิ ้ันพน้ื ฐานของการดำรงชีวิตของประชาชน

การสร้างความเจริญแบบถ้วนหน้าในทุกมิติโดยมุ่งเน้นการพัฒนาจากฐานราก และการสร้างรายได้
(สร้างอาชีพ) ใหแ้ ก่ประชาชน

การพัฒนาระบบการศึกษา/ความรู้ให้แก่ประชาชน โดยการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการสร้าง
กลไกเพอื่ ให้เกิดการเข้าถึงอยา่ งสมบูรณ์

การสร้างความเขม้ แข็งในระดบั ฐานราก
การสื่อสารข้อมูลสองทางระหว่างรัฐและประชาชน โดยการสื่อสารข่าวสาร/ข้อมูล/ข้อเท็จจริงจาก
ภาครัฐสู่ประชาชน และจากประชาชนสู่รัฐ เพื่อสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างภาครัฐและภาค
ประชาชน

การสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน โดยการอาศัยกลไกทางวัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน
เพื่อสร้างความสัมพันธอ์ ันดีงามระหว่างสมาชิกในครอบครัวและชุมชน ซึ่งจะทำให้เกิดความสมัครสมานสมาน
สามัคคี

๓. ผลการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : นครราชสมี า

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา โดยผู้เข้าร่วม
ประชมุ มกี ารแสดงความคดิ เห็นตอ่ ประเดน็ ความปรองดองสรปุ ได้ดงั นี้

ปจั จัยสำคญั ท่ีมีผลตอ่ การสร้างความปรองดอง

เศรษฐกจิ
ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงทรัพยากร โดยกลุ่มนายทุนหรือกลุ่มผู้มีอำนาจทางการเมืองสามารถ
เข้าถึงทรัพยากรขั้นพื้นฐาน และทรัพยากรอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการค้าและการลงทุน นอกจากนี้ความเห็นของ
ประชาชนยังสะท้อนวา่ การกระจุกตวั ของความเจรญิ ในสว่ นกลางยังมีมาก ในขณะที่ส่วนภมู ิภาค (ยกเวน้ ในเขต
หัวเมือง) การพัฒนาทางเศรษฐกิจและปัจจัยเอื้อต่อการพัฒนาเช่น สาธารณูปโภคและการคมนาคมยังไม่
ทดั เทียมเทา่ ในส่วนกลาง

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๒๐๒
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

สังคม
การเข้าถึงสวัสดิการขั้นพื้นฐานของสมาชิกสังคม เช่น การถึงระบบการศึกษา การสาธารณสุข และ
สาธารณูปโภคและอุปโภคต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิทธิอันพึงมีของประชาชน ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว/
ชุมชน/สังคม ที่เปราะบางที่ขาดการพูดคุย และการยอมรับความเห็นที่แตกต่างระหว่างสมาชิกในครอบครัว/
ชุมชน/สงั คม รวมทั้งการขาดการตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม ประเพณี และหลกั จริยธรรมอันดีงาม
มาใช้เป็นหลักในการดำรงชวี ิตของสมาชกิ ในสงั

สถาบนั การเมือง
ระบอบการเมืองการปกครองยังไม่เป็นระบอบประชาธปิ ไตยทีส่ มบูรณ์ โดยยังขาดการมีส่วนร่วม/ปดิ
โอกาสให้ประชาชนในการแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระตามแนวทางของระบอบประชาธิปไตย การทุจริต
คอร์รัปชั่นของนักการเมืองที่ส่งผลกระทบให้ประชาชนเสียผลประโยชน์และสร้างความเสียหายให้กั บการ
บริหารจัดการโดยเฉพาะกจิ การสาธารณะของประเทศ

กฎหมาย
รัฐธรรมนูญที่ถูกตราขั้นโดยไม่ได้เป็นไปตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย
รัฐธรรมนูญเป็นไปอย่างไม่เป็นธรรม ประชาชนยังไมส่ ามารถเข้าถงึ ความยุตธิ รรมได้อยา่ งเท่าเทียมและมีความ
ไม่เป็นธรรมในการตดั สินคดีความต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ คดีความทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ประเด็นทางการเมือง

แนวทางการสรา้ งความปรองดอง

ยตุ ิการปฏิวัติ
ระบอบประชาธิปไตย
สร้างให้เกิดระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง การสร้างระบบการเมืองที่โปร่งใส และสามารถเป็น
ตัวแทนประชาชนไดอ้ ยา่ งแท้จริง

กฎหมายและการบงั คับใช้กฎหมาย
กฎหมายที่ไม่ละเมิดสิทธิของประชาชน และการบังคับใช้กฎหมายที่เที่ยงธรรมและเท่าเทียม
นอกจากนี้ กฎหมายท่ีนำมาใชบ้ ังคบั ใช้ โดยเฉพาอยา่ งยิ่งกฎหมายสูงสดุ ของประเทศ เชน่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ
จะต้องมาจากประชาชน และเพ่อื ประชาชนอยา่ งแท้จรงิ

การสร้างการเข้าถงึ ระบบสวสั ดกิ ารอยา่ งทวั่ ถงึ เทา่ เทียม และเป็นธรรม
รฐั จะตอ้ งจัดระบบสวสั ดกิ ารขัน้ พน้ื ฐานเพื่อใหป้ ระชาชนกนิ ดี อยูด่ ี มสี ุขให้แกป่ ระชาชนได้อย่างทั่วถึง
และเท่าเทียม สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน แม้จะเกิดความเหลื่อมล้ำขึ้นในสังคมอยู่บ้างแต่ต้อง
เกิดใหน้ ้อยท่สี ดุ

การสรา้ งระบบโครงสรา้ งครอบครัวทมี่ ีความเข้มแขง็
ผู้ทำหน้าที่เป็นพ่อแม่ จะต้องได้รับการเรียนรู้/สร้างให้มีศักยภาพอย่างเพียงพอในการทำหน้าที่ของ
ผู้สร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพให้แก่สังคม อันจะนำไปสู่การสร้างสังคมที่มีคุณภาพ นอกจากน้ี
กระบวนการการทำงานของครอบครัวที่มีคุณภาพ เช่น ปลูกฝังให้สมาชิกในครอบครัวสามารถยอมรับ
ความเห็นที่แตกต่างทางความคิด หรือ การรับฟังซึ่งกันและกันจะทำให้สังคมสามารถอยู่รวมกันได้โดยมิได้มี
ความแตกแยกทางความสัมพันธ์ระหว่างกัน

เสนอ สำนักงานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลื่อนการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๐๓
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสรา้ งการรบั รู้เพือ่ ใหเ้ กิดความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

การสรา้ งสงั คมที่เอื้อเฟื้อ มีศีลธรรม
กระบวนการสร้างสังคมที่เอื้อเฟื้อเกื้อกูล และมีศีลธรรมจะทำให้ลดปัญหาสังคมโดยเฉพาะอย่างย่ิง
ปญั หาอาชญากรรม ซงึ่ กอ่ ใหส้ ังคมเกดิ ความว่นุ วายและความไม่มัน่ คงในการดำรงชวี ิต

การสรา้ งระบบเศรษฐกจิ ที่ทกุ คนสามารถเขา้ ถึงทรัพยากรไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี ม
การสร้างระบบเศรษฐกิจที่ทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรรวมทั้งกระจายทรัพยากรอย่างเท่า
เทียมและเปน็ ธรรม

๔. ผลการจัดประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการในภาคตะวันออก: ชลบุรี

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคตะวันออกมีขึ้นที่จังหวัดชลบุรี โดยผู้เข้าร่วมประชุมมีการแสดง
ความคดิ เหน็ ต่อประเด็นความปรองดองสรปุ ไดด้ ังน้ี

ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ ความปรองดอง

ปจั เจกบคุ คล
ความเห็นแก่ตัว ไม่ประนีประนอม ไม่เคารพสิทธิผู้อนื่ ไม่เคารพกฎหมาย
ผ้มู ีอำนาจ
ชนชั้นนำแสวงหาอำนาจ ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ ระบบและกลไกการบริหารจัดการไม่มี
ประสิทธิภาพ ไม่ยึดโยงกับประชาชน การกำหนดนโยบายจากบนลงล่างขาดการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน การเลน่ พรรคเลน่ พวก
ความเหลือ่ มลำ้
การกระจุกตวั ของความเจรญิ
ปญั หาเศรษฐกิจ
ราคาสนิ คา้ แพง คา่ แรงถกู
สอื่ มวลชน
ไมส่ ามารถทำหนา้ ท่ีอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ไม่เป็นกลาง เป็นเคร่อื งมอื ของกล่มุ ทนุ
สถาบนั ทางการเมือง
ความไม่เป็นประชาธิปไตย ขาดผู้นำที่มีความสามารถ และคุณธรรม การซื้อสิทธิขายเสียงในการ
เลอื กตั้ง
กฎหมาย
ขาดมาตรฐานในการบงั คับใช้กฎหมาย การกำหนดกติกาทเี่ ออื้ ประโยชนใ์ ห้กบั คนเฉพาะกลมุ่
การมีสว่ นร่วมทางการเมอื ง
ประชาชนเข้าไมถ่ ึงโอกาสและอำนาจการเมือง
สงั คม
การแตกแยกทางความคิด ช่องวา่ งระหว่างวัย ทัศนคติท่ีแตกต่างไม่ลงรอยกันระหว่างคนรุ่นเก่ากับคน
รุน่ ใหม่ การไม่ยอมรบั ความเปลีย่ นแปลง

แนวทางในการสรา้ งความปรองดอง

ปจั เจกบคุ คล
ชุมชน ครอบครวั มคี วามเหน็ อกเห็นใจกนั เริ่มตน้ จากตัวเรา ความเสยี สละ

เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขบั เคล่อื นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๒๐๔
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

สถาบันการเมือง
มคี วามยืดหยุ่น ปรบั ตวั ได้ จำกัดอำนาจผู้มีอำนาจ ผู้นำมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ระบอบการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย การเลอื กตัง้
วัฒนธรรมค่านยิ มและทศั นคติ
ผใู้ หญต่ อ้ งรบั ฟงั เด็ก ผู้มีอำนาจต้องฟงั เสยี งประชาชน การแลกเปลย่ี นเรยี นรซู้ ่ึงกนั และกัน
อำนาจรัฐ
ประชาชนต้องสามารถมีส่วนร่วมกำกับดูแลและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ กระจายอำนาจ ป้องกันการ
คอรร์ ัปชนั

สงั คม
การเปิดโอกาสให้ผู้อืน่ ประนีประนอม ถอยคนละกา้ ว
ลดความเหล่ือมล้ำ

๕. ผลการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารในภาคกลาง: กรงุ เทพมหานคร

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคกลางมีขึ้นที่กรุงเทพมหานคร โดยผู้เข้าร่วมประชุมมีการแสดง
ความคิดเห็นต่อประเด็นความปรองดองสรุปได้ดังน้ี

ปัจจัยทีส่ ง่ ผลตอ่ การสรา้ งความปรองดอง

กฎหมายและนโยบายรัฐ

กฎหมายและนโยบายของภาครัฐเป็นสิ่งที่สร้างความขัดแยง้ มีผลกระทบไปถึงทุกภาคส่วนของสังคม
ท้งั ตอ่ คนงาน ต่อชมุ ชนและต่อประเทศ

ผูม้ ีอำนาจ

ชนชั้นนำขัดแยง้ กนั เอง กลวั การสญู เสยี อำนาจและผลประโยชน์ หลกี เล่ียงทจ่ี ะปรบั ตัว

ประวัติศาสตร์

อดตี ของความขัดแย้งทางการเมืองที่ดำเนินต่อเน่ืองมายาวนานเกือบ ๒๐ ปี โดยเกดิ ข้ึนจากความเช่ือ
พื้นฐานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการปกครอง ฝา่ ยหน่ึงสนับสนนุ ระบอบประชาธิปไตยเสยี งขา้ งมาก อีกฝา่ ยหนึ่งสนับสนุน
ระบอบประชาธิปไตยแบบตรวจสอบถ่วงดุล แต่ทั้งสองฝ่ายไม่พยายามทำความเข้าใจกันและแยกทางกัน
ออกไปมากขึ้น ความขัดแย้งนำไปสกู่ ารเคลือ่ นไหวชมุ นุมและการสูญเสยี

ความแตกตา่ งระหว่างช่วงวัยและบรบิ ทใหม่

โลกในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้วมาจากการพัฒนาเทคโนโลยี โลกาภิวัตน์ ฯลฯ ทำให้
โครงสร้างไทยไม่สามารถรับมือการเปลี่ยนแปลงท้าทายได้ เกดิ การเคล่ือนไหวของคนรุ่นใหมท่ ่ีเช่ือว่าโครงสร้าง
เก่าไม่ตอบโจทย์ชีวิตตนเอง โดยพวกเขาที่ให้ความสำคัญกับสิทธิ เสรีภาพ ความหลากหลาย และความอิสระ
ซ่งึ โครงสรา้ งทางสงั คมเกา่ ของไทยไม่สามารถตอบโจทยช์ วี ิตของพวกเขาได้

ความเหล่ือมลำ้ ทางเศรษฐกิจ

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ที่ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศไทยแต่เป็นผลพวงมาจาก
โครงสร้างเศรษฐกิจโลก โดยซ้ำเติมปัญหาความเหลื่อมล้ำในไทย ซ้ำเติมปัญหาความยากจนในไทย อีกท้ัง

เสนอ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๐๕
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รเู้ พ่อื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ฝ่ายรัฐบาลได้ผลักภาระค่าใชจ้ ่ายให้กับประชาชน และออกนโยบายสนับสนุนผู้ประกอบการ ซึ่งได้สร้างความ
ไมพ่ อใจและท้งิ ความรูส้ กึ ขุ่นเคืองไวใ้ นใจประชาชน

แนวทางในการสรา้ งความปรองดอง
การมสี ่วนร่วมของประชาชน

ประชาชนสามารถรวมตัวยื่นวาระของตนเองต่อภาคการเมือง กดดันผู้มีอำนาจให้ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม การเมืองเป็นเรื่องของเจตจำนงของประชาชน

กฎหมายและรฐั ธรรมนญู

สร้างกติกาของประเทศที่ทุกคนยอมรับว่าเป็นธรรม และยกเลิกมาตราที่สร้างความขัดแย้ง เช่น
ต้องยกเลิก มาตรา ๒๗๒ ที่ให้อำนาจ สว.เลือกนายกรัฐมนตรี เปิดโอกาสให้ประชาชนร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ
ทำประชามติ ทำให้เกิดกระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ และสร้างพื้นที่ปลอดภัยภายใต้ รัฐธรรมนูญ
เป็นพ้นื ที่ปลอดภยั ในการพดู แสดงความคดิ เห็นภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ

ทำความจริงให้ปรากฏและนิรโทษกรรม

นิรโทษกรรมนักโทษที่มคี วามผดิ ทางการเมอื งโดยแท้

สวัสดกิ าร

ทำระบบรัฐสวัสดิการ เพือ่ แก้ไขปญั หาความเหล่อื มล้ำ จดั สรรสวัสดกิ ารใหค้ รอบคลมุ ถ้วนหนา้ โดยจะ
ตามมาด้วยการปฏิรูประบบภาษีครั้งใหญ่เพื่อนำรายได้มาจัดทำรัฐสวัสดิการ จัดทำภาษีมั่งคั่ง จัดทำการออม
ภาคบงั คับมากข้นึ อีกท้งั ยงั ตอ้ งแก้ไขปญั หาผูกขาด รวมไปถงึ การกระจุกตัวของอำนาจทางเศรษฐกจิ

สื่อมวลชน

สอื่ มวลชนมอื อาชีพ ไมเ่ ลือกข้าง ไมต่ กอยู่ภายใต้อำนาจรฐั และอำนาจทนุ

ยตุ ริ ฐั ประหาร

ป้องกันระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตย อำนาจของกลไกรัฐและกองทัพ โดยรื้อโครงสร้างอำนาจรัฐนำ
ทหารออกไปจากการเมืองและกองทัพไม่ควรยุ่งเกย่ี วกับความม่นั คงภายใน เนอื่ งจากกองทัพเข้ามายุ่งกับกลไก
การปกครองมากเกินไป

วัฒนธรรมความขัดแย้งและเหน็ ต่างโดยสนั ติ

ความขัดแย้งและความเห็นต่างเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับระบอบประชาธิปไตยเป็นปกติ สิ่งที่สำคัญคือการ
หาทางอยรู่ ว่ มกันภายใตก้ ติกาท่ีเป็นธรรม และไดร้ ับการยอมรับร่วมกนั เปิดเวทสี าธารณะใหป้ ระชาชนสามารถ
แสดงความคิดเหน็ โดยอิสระสรา้ งบรรยากาศ และตอ้ งสร้างกระบวนการมสี ว่ นร่วมต้ังแตร่ ว่ มคิดนโยบาย รับฟัง
ความคิดเหน็ แรงงาน เพอ่ื สร้างความปรองดอง

กระบวนการยตุ ธิ รรม

ต้องทำให้ศาลมีความยุติธรรมจริงเนื่องจากเป็นกลไกสำคัญในการปรองดอง ศาลต้องทำหน้าท่ี
คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ต้องใช้กฎหมายให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม นิติรัฐ อย่างแท้จริง
คำนึงถึงหลักสทิ ธิ และเสรีภาพ

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๒๐๖
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างการรบั รู้เพือ่ ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๖. สรปุ ผลจากการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ

ตัวแทนประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีความเห็นว่าปัจจยั สำคัญท่ีมีผลตอ่
ความปรองดองคือ การใช้อำนาจรัฐโดยมิชอบ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ขาดข้อเท็จจริง ความเปราะบาง
ของชุมชนหรือครอบครัว ช่องว่างระหว่างวัยที่ก่อให้เกิดความเห็นต่าง การปลูกฝังทัศนคติและการเข้าไม่ถึง
การศึกษาท่ีเท่าเทียมของสถาบันการศึกษา การแบ่งข้างทางการเมืองและการไม่ปฏิบัตติ ามหน้าที่ของสถาบนั
การเมือง ความเหลือ่ มลำ้ ในมติ ติ ่าง ๆ

แนวทางในการสร้างความปรองดองคือ การประกันสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชนเพื่อส่งเสริม
และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองในกรอบกฎหมายไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น ที่มา
ของกฎหมายที่มีความชอบธรรม การบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรมและมีกลไกที่ประชาชนเข้าถึงกฎหมาย
ได้โดยสะดวก ระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนมีอำนาจในกระบวนการตัดสินใจ มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
สังคมตวั แทนประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ของจังหวัดเชยี งใหม่มีความเหน็ เหมือนกบั จังหวดั นครศรีธรรมราช
ในเรอื่ งอำนาจรฐั การมีส่วนร่วม ชมุ ชนและครอบครวั ส่วนทีแ่ ตกต่างกนั คอื ในประเดน็ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
กับประชาชนนั้น จังหวัดเชียงใหม่เห็นว่าหน่วยงานรัฐขาดการบูรณาการและขาดการสื่อสารกับประชาชน
ข้อสังเกตที่น่าสนใจของจังหวัดเชียงใหม่คือไม่มีการระบุว่าสถาบันการเมืองเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความ
ปรองดอง

จังหวัดเชียงใหม่เห็นว่าแนวทางสร้างการปรองดองคือ ที่มาของกฎหมายที่ชอบธรรม การบังคับใช้
กฎหมายที่เปน็ ธรรมและประชาชนเขา้ ถึงกระบวนการทางกฎหมายได้ การประกนั สิทธิเสรีภาพประชาชน การ
มสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง การเมืองแบบรฐั สภา ยุติการรฐั ประหาร สวสั ดกิ ารและการพัฒนาอย่างทัว่ ถงึ เท่าเทียม
มนั่ คงและปลอดภัย การเขา้ ถงึ การศกึ ษา การสร้างความเข้มแข็งระดับครอบครวั และชุมชน ภาครฐั ต้องทำงาน
อยา่ งบูรณาการและส่อื สารกบั ประชาชนอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ตัวแทนประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ของจังหวัดนครราชสีมาเหน็ ว่าปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการสร้างความ
ปรองดองเกี่ยวข้องกับความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงทรัพยากร การเข้าถึงการศึกษา สวัสดิการพื้นฐาน ความ
เปราะบางของชุมชนและครอบครัว ระบอบการเมืองแบบไม่เป็นประชาธิปไตย นักการเมืองทุจริต ไม่มี
ประสิทธิภาพ ที่มาของกฎหมายไม่ชอบธรรม การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นธรรม ประชาชนเข้าไม่ถึงกลไกทาง
กฎหมาย

แนวทางในการปรองดองคือระบอบประชาธิปไตย การจำกัดอำนาจรัฐ ความโปรง่ ใส มีมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ที่มาที่ชอบธรรมและการบังคับใช้กฎหมายที่เป็นธรรม การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ที่ประชาชนมีส่วน
ร่วม การยุติการรัฐประหาร ระบบรัฐสวัสดิการ ระบบเศรษฐกิจที่กระจายทรัพยากรทั่วถึงเท่าธรรมและเป็น
ธรรม ครอบครัวและชุมชนท่ีเข้มแขง็

จังหวัดชลบุรีและกรุงเทพมหานครที่มีภาคประชาชนให้ความเห็นเกี่ยวกับปัจจัยและหนทางสู่การ
ปรองดองหลายประการที่คล้ายคลึงกับสามจังหวัดที่ได้กล่าวมาแล้วในประเด็นเรื่องอำนาจรัฐ การเมือง ความ
เหลื่อมล้ำ สวัสดิการ กฎหมาย ตลอดจนการยุตริ ฐั ประหาร สิ่งที่ชลบุรีแตกต่างไปจากจงั หวัดอืน่ คือไม่ได้มกี าร
กล่าวถึงสื่อมวลชนในฐานะปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องในขณะที่กรุงเทพมหานครก็ไม่ได้กล่าวถึงชุมชน ครอบครัว
หรือชอ่ งวา่ งระหว่างช่วงวยั ในฐานะปัจจยั ที่มีส่วนเก่ียวขอ้ งเชน่ เดยี วกนั

จะเห็นได้ว่าข้อมูลจากแบบสอบถามมีความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับข้อมูลที่ได้รับจาก
ประชาชนที่มาร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทุกภาคส่วนเห็นตรงกันเป็นส่วนใหญ่เรื่องความปกติของการ

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ท์ ๒๐๗
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั ร้เู พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ขดั แย้งและเห็นต่าง แต่ละภาคส่วนต่างเห็นด้วยกับข้อเสนอเรื่องการสร้างวัฒนธรรมของการอยูร่ ่วมกัน เรียนรู้
ซ่งึ กนั และกนั ผา่ นการถกเถยี งเหน็ ต่างขัดแย้งโดยสันติ
ขอ้ เสนอแนะ

ข้อเสนอแนะของรายงานการวิจัยนี้มีรากฐานอยู่บน “ความต้องการ” ของประชาชนที่คณะผู้วิจัยทำ
การสำรวจความคิดเห็นผ่านแบบสอบถามจำนวนหลายพันชุดและการเปิดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการที่มี
ผู้เข้าร่วมกว่า ๖๐๐ คน ในภาพรวมประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ที่ให้ข้อมูลและความคิดเห็นในโครงการน้ี
สนับสนุนการปรองดอง หนทางสู่การปรองดองที่ส่วนใหญ่เห็นตรงกันคือการขับเคลื่อนในประเด็นการเมือง
ระบอบการปกครองท่ีเปน็ ประชาธิปไตย กฎหมายที่ชอบธรรม เป็นธรรม เสมอภาค ระบบเศรษฐกิจท่ีลดความ
เหลอ่ื มลำ้ สร้างสวสั ดกิ ารทด่ี แี กป่ ระชาชนอย่างท่ัวถึงและผลกั ดันกองทัพให้ทำหน้าทท่ี หารอาชพี มากกว่าแสดง
บทบาททางการเมือง

ในการนี้คณะผู้วิจัยขอเสนอแนวทางขับเคลื่อน ๓ แนวทางที่จะขับเคลื่อนประเด็นตามแนวทางท่ี
ประชาชนและภาคสว่ นต่าง ๆ เรยี กร้องต้องการคือ

แนวทางแรก การขับเคลื่อนโครงสร้างที่ซับซ้อนแก้ไขยากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกว้างขวางได้แก่ ระบบ
เศรษฐกิจ

แนวทางที่สอง การขับเคลื่อนโครงสร้างที่แก้ไขได้ทันทีแต่ฝืนเจตนารมณ์ผู้มีอำนาจได้แก่ อำานาจรัฐ
รัฐธรรมนญู และกฎหมาย

แนวทางที่สาม การขับเคลื่อนโครงสร้างและตัวกระทำการที่ใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนนานแต่ทำได้
ทนั ทแี ละมกั ไม่เห็นผลกระทบต่อผูม้ อี ำนาจในระยะเวลาอันสั้นไดแ้ ก่ สงั คมและวัฒนธรรม

โดยอดุ มคติแล้วการขับเคล่ือนพร้อมกันไปทั้ง ๓ แนวทางยอ่ มเปน็ หนทางทด่ี ีท่สี ุดและสง่ ผลให้สามารถ
บรรลุสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพรวดเร็ว อย่างไรก็ตามการเลอื กแนวทางและขอบเขตในการขับเคล่อื น
ขึน้ อยกู่ ับปัจจัยหลายประการโดยเฉพาะขดี จำกดั ของหน่วยงานรับผิดชอบตา่ ง ๆ

กลุ่มเป้าหมายของการขบั เคลือ่ น

การขบั เคลื่อนโครงสร้างตามแนวทางต่าง ๆ จะประกอบด้วยบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ในฐานะตัวกระทำการ
ผู้สนับสนุนและผู้รับผลของการดำเนินการตา่ ง ๆ กัน การเลือกขับเคลื่อนแต่ละด้านก็จะมีความจำเป็นต้องนำ
บทบาทหน้าที่ตำแหน่งแห่งที่ของตัวกระทำการแต่ละตวั มาพิจารณาประกอบ ตัวกระทำการที่สำคัญไดแ้ ก่ ผู้มี
อำนาจ ชนช้ันนำ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม นักวชิ าการ นกั การเมอื ง ขา้ ราชการและประชาชน ยกตวั อย่าง
เช่น ในการขับเคลื่อนโครงสร้างที่เปลี่ยนได้ทันทีแต่ต้องเผชิญหน้ากับผู้มีอำนาจอันได้แก่การร่างรัฐธรรมนูญ
ใหมห่ รอื การแก้ไขกฎหมายสำคัญ ๆ เปา้ หมายท่ตี อ้ งขบั เคลื่อนเพ่ือโน้มน้าวกดดนั ใหเ้ ปล่ียนแปลงพฤติกรรมให้
สอดคล้องกับเป้าประสงค์ได้แก่ผู้มีอำนาจ ชนชั้นนำ ผู้สนับสนุนได้แก่ภาคประชาสังคม นักวิชาการ
นักการเมือง ผ้ทู ่ีมีสว่ นไดส้ ว่ นเสียได้แก่นกั การเมืองและประชาชน เป็นตน้ วธิ กี ารโนม้ นา้ วกดดนั ผู้มีอำนาจหรือ
ชนชนั้ นำกอ็ าจจะใชร้ ปู แบบ “ผ้ชู มกีฬา” คืออุปมาประชาชนเปน็ ผชู้ มกฬี าและทำหน้าทีก่ ดดนั ผู้เลน่ ในสนามซึ่ง
ก็คือชนชั้นนำหรือผู้มีอำนาจให้แสดงออกพฤติกรรมที่ประชาชนพึงประสงค์ด้วยเครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ
ตามระบอบประชาธิปไตย เช่น การรวมตัวเสนอวาระ การรวมกลุ่มกดดัน การศึกษาวิจัยทำข้อเสนอแนะเชิง
นโยบาย การจัดเสวนา จัดเวทีสาธารณะ ฯลฯ เพื่อเป็นช่องทางรวบรวมเสียงสนับสนุนในสังคมเพื่อกดดันผู้มี
อำนาจและชนชั้นนำ หรือโน้มน้าวผู้มีอำนาจหรือชนชั้นนำโดยตรง ในกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ สำนักงาน ปยป

เสนอ สำนกั งานขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสรา้ งความสามัคคีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๐๘
รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการสร้างการรบั รู้เพอื่ ใหเ้ กิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ย่อมมีพื้นที่แสดงบทบาทด้านการปฏิรูป การสร้างความปรองดองตามอำนาจหน้าที่และความถนัดของ
หน่วยงานได้

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสร้างความสามคั คปี รองดองสมานฉันท์ ๒๐๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอื่ ใหเ้ กิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

บทที่ ๑๐
ผลการจดั ประชมุ คณะกรรมการผู้เชย่ี วชาญ ครง้ั ที่ ๒

ในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ตามโครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดอง
สมานฉันท์รายการค่าใช้จ่ายในการสร้างการรับรู้เพื่อให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ
จัดขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางและความเป็นไปได้ในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ เพื่อเพื่อปรึกษาแนว
ทางการจัดทำข้อเสนอแนะจากผลการสำรวจข้อมูลและผลการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยภาพรวมการจัด
ประชมุ คณะกรรมการผเู้ ชี่ยวชาญครง้ั ท่ี ๒ มรี ายละเอยี ดดังน้ี

๑. ภาพรวมการประชุมคณะกรรมการผู้เช่ยี วชาญ คร้งั ที่ ๒

ในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ที่จัดขึ้นเมื่อ วันจันทร์ที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕ เวลา
๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ผ่านช่องทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Meeting) การจัดประชุมคณะกรรมการ
ผู้เชย่ี วชาญ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนหลัก คือ ส่วนที่ ๑ การนำเสนอผลการสำรวจข้อมูลและผลการจัดประชุมเชิง
ปฏิบัติการ และส่วนที่ ๒ การรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมี
กำหนดการประชมุ ดังนี้

เสนอ สำนักงานขบั เคล่อื นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๒๑๐
รายการคา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งการรบั รเู้ พ่ือให้เกิดความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

ตาราง ๕๖ กำหนดการการจัดประชุมคณะกรรมการผูเ้ ชยี่ วชาญครง้ั ที่ ๒

เวลา รายการ

๑๐.๐๐ – ๑๐.๑๐ น. กลา่ วเปดิ การประชุม

โดย นายปกรณ์ ปรียากร (ประธานกรรมการปปฏริ ูปประเทศด้านการเมือง)

๑๐.๑๐ – ๑๑.๐๐ น. นำเสนอผลการสำรวจขอ้ มูลและผลการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร

โดย รศ.ดร.ธรี ะ สินเดชารักษ์ (หวั หนา้ โครงการ) และ

ผศ.ดร.เอกสทิ ธ์ิ หนุนภกั ดี (นักวจิ ยั หลกั )

๑๑.๐๐ – ๑๑.๕๕ น. รับฟงั ความคดิ เหน็ จากคณะกรรมการผ้เู ชย่ี วชาญ

๑๑.๕๕-๑๒.๐๐ น. กล่าวสรปุ และปดิ การประชมุ

โดย นายปกรณ์ ปรียากร (ประธานกรรมการปปฏริ ปู ประเทศด้านการเมอื ง)

ผเู้ ข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการผู้เชีย่ วชาญครัง้ ท่ี ๒

๑. นายปกรณ์ ปรียากร ประธานกรรมการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการเมือง ประธานกรรมการ

๒. นางสาวรานี อิฐรตั น์ ผูอ้ ำนวยการกอง ๓ รกั ษาราชการแทนผูช้ ว่ ยผู้อำนวยการสำนกั งาน ป.ย.ป.
ผแู้ ทนผอู้ ำนวยการสำนักงาน ป.ย.ป. รองประธานกรรมการ

๓. นายศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาลสถาบันพระปกเกล้า
กรรมการ

๔. รศ.ดร.จันทรานุช มหากาญจนะ อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต
พฒั นบริหารศาสตร์ กรรมการ

๕. ผศ.ดร.ธานี ชยั วัฒน์ ผ้อู ำนวยการศนู ยเ์ ศรษฐศาสตรพ์ ฤตกิ รรมและการทดลอง คณะเศรษฐศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กรรมการ

๖. อ.ดร.เอกพันธุ์ ปณิ ฑวณิช กรรมการสถาบนั วิจัยสงั คม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั กรรมการ

๗. นางสาวอนิ ทราณี ศรีบุญเรอื ง ผชู้ ่วยเลขานุการ หวั หน้าทีมผ้ชู ่วยนกั วิจัย สถาบันศนู ย์วิจัยและให้
คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ เลขานุการ

๘. นายมหาชยั วงษ์เคี่ยม นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ ผู้ช่วยเลขานุการ

๙. นางสาวธนั ยช์ นก อินตะ๊ วิน นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบตั กิ าร ผชู้ ว่ ยเลขานุการ

เสนอ สำนกั งานขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๒๑๑
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พื่อให้เกดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

๒. ความคดิ เหน็ ทไี่ ดร้ ับจากการประชมุ คณะกรรมการผ้เู ช่ียวชาญคร้งั ท่ี ๒

ลำดบั ผู้เชย่ี วชาญ ตำแหน่ง ความคิดเห็น

๑ อ.ดร.เอกพนั ธ์ุ ปิณฑวนิช สถาบนั วจิ ยั สงั คม ๑. ผลการสำรวจ
จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั - ลักษณะทั่วไปของข้อมูลอาจจะต้อง
วิเคราะหแ์ ยกกลุ่มอาจไม่สามารถนำมาประมวลรวบได้
เช่น ๖๔% เป็นคนที่กำลังเรียนในระดับปริญญาตรี มี
รายได้เพียงพอ

- พิจารณา significant difference ของ
ข้อมลู ทพี่ บ เชน่ ความขดั แย้งเกิดจากอะไร หลายด้าน
ที่เป็นคำตอบอยู่ในระดับสูงเกือบทั้งหมด ต้อง
พจิ ารณาให้ดี

- การจัดการความขัดแย้งมีหลายวิธี ได้มี
การเปิดช่องในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิธีอื่น ๆ
นอกเหนอื จากในคำตอบท่ผี ูว้ จิ ัยให้ผตู้ อบตอบ

๒. ผลการจัดเวที

- จัดกลุ่ม findings ใหม่ เพื่อให้ง่ายในการ
นำเอาทฤษฎีมาวาง ได้แก่ ทัศนคติ (ผลกระทบหรือ
ปัจจัยที่เกิดความขัดแย้ง) โครงสร้างทางสังคม
(กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม) และปัจจัยทางพฤติกรรม
เช่น ความขัดแย้งเกี่ยวข้องกับอัตลักษณ์ เหลืองแดง
ขวาซ้าย แต่ทัศนคติจากอัตลักษณ์มีอะไรบ้าง จาก
ข้อมูลเชิงประจักษ์ มีความแตกตา่ งในอายุหรอื ช่วงวัย
หรอื ไม่ กระบวนการในการเยยี วยา กระบวนการเข้าถึง
การมีส่วนร่วมทางการเมือง การเข้าถึงสิทธิ์ โดย
พฤติกรรมอย่างไร เพื่อให้ได้แนวทางในการปฏิบัติต่อ
กัน เป็นตน้

- การกล่าวถึงสถาบันทางการเมือง อาจจะ
อยู่ในกลุ่มโครงสร้างไม่แน่ใจว่าข้อมูลที่ได้มาเป็นการ
เชื่อมโยงสถาบันทางการเมืองกับนักการเมือง findings
มีบอกกล่าวไว้เชิงประจักษ์ที่มากกว่านักการเมือง
หรือไม่ ตงั้ แตพ่ รรคการเมือง ทีจ่ ะตอ้ งมีปฏิสัมพันธ์กับ
ประชาชน รวมไปถึงสถาบันพระมหากษัตริย์
โดยเฉพาะใน findings ไม่มีการกล่าวถึงมากนักใน
ฐานะสถาบันหลักของชาติ โดยมีทัศนคติ โครงสร้าง
และพฤติกรรมอย่างไร จึงจะช่วยในการวิเคราะห์ได้
ง่ายตามแนวทางที่ให้ไว้

๓. แนวทางในการดำเนินการต่อไป

- การมองไปในอนาคต สิ่งหนึ่งที่ขาดไป คือ
ข้อมูลการจัดการอดีต การจะปรองดองต้องเริ่มจาก

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๒๑๒
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั ร้เู พอ่ื ให้เกิดความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ผเู้ ชี่ยวชาญ ตำแหน่ง ความคดิ เหน็

การยอมรับว่ามีความขัดแย้งทะเลาะกนั เราควรไดเ้ ปิด
ให้มีการพูดคุยกันในอดีตเกิดอะไรขึ้นจึงทำให้เรา
ต้องการปรองดองกันในวันนี้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นที่
ผา่ นมา เราจะเยยี วยาผู้คนเหล่านั้นอย่างไร โดยเฉพาะ
คนที่ไมไ่ ด้รบั ความยุติธรรม สง่ิ สำคญั คือ เราต้องมุ่งไป
จัดการอดตี ด้วย

- ในด้านลบ การพยายามแก้หรือร่าง
รัฐธรรมนูญใหม่ เพื่อให้คนในสังคมมีพื้นที่มาอยู่
ด้วยกัน ในขณะที่เรามีการละเมิดสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน และรวมถึงการคุกคามทำให้เกิดความไม่
ปลอดภัยในสังคม ท่ามกลางแรงฉุดปัจจัยด้านลบ
ทั้งหลายเหล่านี้ เราจะจัดการปัญหาเหล่านี้อย่างไร
เพื่อให้เกิดความสมดุลในการจัดการทั้งในเชิงบวกและ
ลบ

- ข้อแนะนำ คือ ไม่ควรไปเน้นที่ผู้อำนาจจะ
ทำหรอื ไม่ แตต่ ้องหาทางทจ่ี ะทำให้ประชาชนกลุ่มต่าง
ๆ ภาคสว่ นต่าง ๆ สามารถทำไดเ้ องภายใต้ข้อจำกัดท่ี
มี

- ขอ้ จำกดั ในการจดั เวทีกล่าวถึงไว้ในการ
สรปุ เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในเสยี งสะท้อนของผ้คู น
การใช้องคาพยพในสงั คมปกติ ซ่ึงมีการปรับเปลีย่ น
สังคมปกติ การเลอื กตัง้ ท่ีบรสิ ทุ ธ์ยิ ุติธรรมก็จะเป็น
เครื่องมือสำคัญในการจดั การความขดั แย้งได้ การ
แกไ้ ขรัฐธรรมนญู ก็เป็นการแก้ไขความขัดแย้งไปในตัว
เชน่ การตง้ั สภารา่ งรฐั ธรรมนญู ทีผ่ ่านการเลอื กตง้ั ท่ีมี
ความหลากหลาย จะมาอยใู่ นสภาร่างรฐั ธรรมนูญที่คน
ท่มี ีความเห็นแตกตา่ งกนั ร่วมกนั ในการรา่ งรฐั ธรรมนญู
กระบวนการรา่ งรฐั ธรรมนูญทผี่ ่านกระบวนการให้ทุก
คนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม อาจจะไมส่ มบูรณ์แต่อาจจะได้
รฐั ธรรมนญู ทดี่ ีไดใ้ นฐานะเคร่ืองมือการจดั การความ
ขัดแยง้

๔. การเขยี นข้อเสนอแนะ

- หากจะมองผ่านความขัดแย้งทางการ
เมืองไทยมีลักษณะ “ความขัดแย้งทางการเมือง
เศรษฐกิจและสังคม” ที่ร้าวลึก เราต้องเห็นว่ามีขั้ว
หรือภาคีความขัดแย้งซึ่งคือกลุ่มความขัดแย้งหลัก
จำเป็นต้องมีการเจรจาหรือเครื่องมืออื่น ๆ โดย
พิจารณาคู่เจรจาที่ชัดเจนเพื่อหาคำตอบจากผู้นำทาง
ความคิดโดยเนน้ ไปทีช่ นชนั้ นำมคี วามขัดแย้งกัน

เสนอ สำนักงานขับเคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๑๓
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รเู้ พอ่ื ให้เกดิ ความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดบั ผ้เู ชย่ี วชาญ ตำแหน่ง ความคิดเห็น

๒ รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทรา อาจารยป์ ระจำคณะรฐั - การจดั การความขัดแย้งอาจเปรยี บเหมือน
สนามฟุตบอล ที่จำต้องแยกกลุ่มคนที่มี platform ใน
นชุ มหากาญจนะ ประศาสนศาสตร์ การจัดการความขัดแย้งในสังคม โดยอาจจะต้อง
แบง่ เป็น นักฟุตบอลทอี่ ยู่ในสนาม กองเชยี ร์ แฟนบอล
สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริ ทางบ้าน และอื่น ๆ ที่มี หากเราสามารถจำแนกได้
หารศาสตร์ เช่นนี้ จะทำให้เราช่วยหา platform ในการจำแนก
ปัญหาความขดั แยง้ กไ็ ด้

- จะใช้การประกอบรื้อสร้างโดยถอดทีละ
ชิ้นแก้ปัญหาไปที่จะจุด คงต้องเลือกดูว่าวิธีใดจะ
เหมาะในการสรา้ งความปรองดอง

๑. การแบ่งประเด็นในการวเิ คราะหแ์ ละนำเสนอจะ
ชัดเจนมากขึ้น หากนำเสนอตามคำแนะนำของ
อาจารย์เอกพนั ธุ์

๒. ความอดทนต่อความคดิ เห็นท่แี ตกต่างกัน จะทำ
อย่างไรให้เกิดวัฒนธรรมการยอมรับความเห็นที่
แตกต่างกนั

๓. แนวคิดที่แตกต่างกัน ทำอย่างไรให้สามารถท่จี ะ
ถอยเพื่อมาหาจุดร่วมทีแ่ ตกตา่ งกัน ความปรองดอง
คือความสามารถที่จะมาเจอกันและมาคยุ กนั

๓ นายศุภณฐั เพิม่ พูนวิวฒั น์ ผอู้ ำนวยการสำนักสนั ติ ๑. ผลการศึกษา
วิธแี ละธรรมาภิบาล
สถาบนั พระปกเกลา้ - เปน็ ไปตามท่ีคาดหวงั

- ผลการศึกษาในการสำรวจขอให้ทำใน
เชิงลึกมากยิ่งขึ้น เช่น ความขัดแย้งต้องระบุให้ชัด
มาจากปัจจยั อะไร เปน็ ตน้

- ผลการศึกษาทไี่ ดศ้ กึ ษามามกั เปน็
ความรสู้ ึก ความคดิ เหน็ จะทำอยา่ งไรให้เกิดองค์
ความรู้ทจ่ี ะนำเสนองานเพื่อให้ขอ้ เสนอแนะตอ่ ไปได้

- กระบวนการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย
รวมถึงประเด็นที่สอบถามมีความเห็นสอดคล้องกับ
อาจารย์เอกพันธ์ุ และอาจารยจ์ นั ทรานชุ ผลสำรวจ
พบว่า ส่วนใหญ่เป็น นศ. ยังมีกลุ่มอื่น ๆ ในการ
สำรวจเพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์แยกกลุ่มต่อไป
หรอื ไม่

- ประเด็นเร่ืองสาเหตุ คู่ขัดแย้ง จะมีผลที่
ใกล้เคยี งกันควรจะได้แยกวิเคราะห์ต่อไป

เสนอ สำนักงานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคล่ือนการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๒๑๔
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสร้างการรบั รเู้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ

ลำดบั ผเู้ ชีย่ วชาญ ตำแหน่ง ความคดิ เหน็

๔ นายปกรณ์ ปรียากร - อน่ื ๆ มรี อ้ ยละสงู มาก
๕ อ.ดร.พิมพ์รภชั ดุษฎอี ิสรยริ
๒. การสรุปแนวทางการขับเคลอื่ นฯ
ยากุล - อาจต้องแยกกลมุ่ ในการขับเคลือ่ น

- ในเรื่องของความขัดแย้งอาจต้อง
พิจารณาจากสาเหตุ แล้วดึงเรื่องการมีส่วนร่วมใน
การขับเคล่ือนกลุม่ ใดกอ่ นหลงั อย่างไร

- พิจารณาการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย
ภายในและภายนอกเพื่อสร้างความปรองดองทั้ง
โดยตรงโดยออ้ ม

- ผลกระทบที่เกิดจากเหตุความขัดแย้งที่
เกิดจากปัจจัยตน้ ทาง คือโครงสร้าง มีเหตุที่ตามมา
ใหม่ไหม จะต้องแก้ที่เหตุจะแก้ที่เหตุหลักหรือไม่
อยา่ งไร

- การแก้ไขรัฐธรรมนญู จะเกิดความ
ปรองดองขน้ึ จรงิ หรอื ไม่

- เห็นด้วยกบั แนวทางการขบั เคล่อื นท้งั ๓
ทคี่ ณะวจิ ยั เสนอ แตค่ วรเพมิ่ ผ้มู สี ่วนไดเ้ สียเพ่ิมเตมิ

ประธานกรรมการปฏิรปู ๑. การตีกรอบการปฏิรูปทางการเมือง ควรให้
ประเทศดา้ นการเมอื ง ความสำคัญด้านอื่น ๆ ด้วยแม้จะแยกไม่ออก ท้ัง

เศรษฐกจิ และสงั คม รวมทัง้ อ่ืน ๆ

๒. การแก้ไขหรือร่างรัฐธรรมนูญ เกิดจากการมอง
รัฐธรรมนูญ ว่ามีปัญหาความเห็นไม่ตรงกัน ทำให้
เกิดการไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน จำเป็นต้อง
พิจารณารายประเด็นทางการเมืองที่มีความเห็นที่
ต่างกัน โดยเฉพาะพรรคการเมืองบางพรรคที่ไม่
ยอมดำเนนิ การตามกฎกติกาทีม่ ี

๓. โครงสร้างทางการเมืองมีงานวิจัยของสถาบัน
พระปกเกล้า อาจนำมาพิจารณาประกอบเพิ่มเติม
ได้

ผจู้ ดั การโครงการ ๑. การเลือกกลุ่มเป้าหมายมาตอบคำถามและการต้ัง
Friedrich Naumann คำถาม คิดว่ากลุ่มเป้าหมายยังมีความหลากหลาย
Foundation ไม่มากพอและยังคงเป้นคนกลุม่ เดิม ๆ ที่ความคิดเห็น
สามารถคาดเดาได้ ดังนั้นความคิดเห็นที่ได้มาจึงยัง
เป็นความคิดเหน็ เดมิ ๆ

๒. ในแต่ละคำถาม จะเห็นเปอร์เซ็นต์คำตอบ ที่ตอบ
ว่า อื่น ๆ มีเปอร์เซ็นต์ที่มากเป็นนัยสำคัญ หาก
สามารถคลี่ออกมาได้ว่าประกอบด้วยความคิดเห็น

เสนอ สำนกั งานขบั เคลือ่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคล่ือนการสรา้ งความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๑๕
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ลำดับ ผ้เู ชยี่ วชาญ ตำแหน่ง ความคดิ เหน็

อะไรบ้าง น่าจะมีประโยชน์ต่อการวิเคราหะ์เพ่ือ
นำไปใช้ประโยบน์ต่อไป

๓. ถามข้อที่ ๑ คำตอบสัมพันธ์กับเราถามใคร และอยู่
ในพื้นที่ไหน เนื่องจากกลุ่มที่ตอบแบบสอบถามหรือ
เข้าร่วมกิจกรรมเป้นคนกลุ่มเดิม ๆ จึงได้คำตอบที่
คาดเดาได้ และ คำตอบ อื่น ๆ มีนัยสำคัญ ในความ
คิดเห็น คิดว่า งานวิจัยยังไม่ได้ฉายภาพภมู ิทัศน์ความ
ขัดแย้งที่ครบถ้วน และคิดว่ายังเป็นความคิดเห็นของ
กลุ่มคนท่ีเขา้ ร่วมเวทแี บบนี้อยู่แลว้

๖ สำนกั งาน ป.ย.ป. ๑. เนื่องจากเรื่องใหญ่ต้องนำข้อเสนอไปทำงานต่อ
ขอให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สรุปการขับเคลื่อน
โดยระบุชื่อหน่วยงานแยกรายกลุ่มเป้าหมายและ
วิธีการ จำแนกตามภูมิภาคตามกลุ่มต่าง ๆ ด้วยวิธีท่ี
แตกตา่ งกัน

๒. รูปแบบการแกไ้ ขปญั หา วธิ ีท่ีใชใ้ นการจัดการ
ความขัดแยง้ บางกลุ่มอาจตา่ งขว้ั กัน ในทางปฏิบัติ
จะต้องเลอื กกลมุ่ ใหช้ ดั วา่ ควรเปน็ กลมุ่ ใด

๓. สรุปผลการประชุมคณะกรรมการผ้เู ชีย่ วชาญครั้งที่ ๒

ในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ตามโครงการโครงการขับเคลื่อนการสร้างความสามัคคี
ปรองดองสมานฉนั ทร์ ายการค่าใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพ่ือใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ โดย
ในท่ปี ระชุมใหค้ วามเหน็ ไว้ใน ๓ ส่วน ดงั นี้

สว่ นท่ี ๑ ผลการสำรวจ

คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่า ผลการสำรวจในข้อมูลทั่วไปบางประเด็นมีความขัดแย้งกัน
โดยคณะวิจัยชี้แจงว่าอาจเกิดจากข้อจำกัดในการนำเสนอข้อมูลที่ไม่ได้ลงรายละเอียดเชิงลึก แต่จะมีการ
ปรับปรงุ ให้การรายงานผลมีการอธิบายให้เกิดความเขา้ ใจที่ถูกต้อง โดยเฉพาะในการนำเสนอคำตอบ “อ่ืน ๆ”
ที่มีร้อยละสูงเกินไปอาจต้องวิเคราะห์แยกกัน และควรอธิบายข้อมูลเชิงลึกของประเด็นต่าง ๆ ในข้อคำถาม
เชน่ ปัจจยั ที่เกิดความขัดแยง้ การจัดการกบั ปญั หาความขัดแย้ง เป็นตน้

สว่ นที่ ๒ ผลการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ

คณะกรรมการมีความเห็นว่าควรมีการจัดกลุ่มสรุปความคิดเห็นจากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้
สามารถอ้างอิงทฤษฎหี รือแนวคิดได้ เช่น ทศั นคติ โครงสร้างทางสงั คม เปน็ ตน้

ส่วนที่ ๓ แนวทางการจดั ทำขอ้ เสนอแนะ

คณะกรรมการมีความเห็นว่าข้อเสนอแนะที่จะมีการจัดทำต้องชัดเจนและเป็นรูปธรรม รูปแบบการ
แก้ไขปญั หา วธิ ีท่ีใชใ้ นการจัดการความขัดแย้ง ซ่งึ อาจแตกต่างกันในแต่ละภูมภิ าค และเพ่อื ให้ผลจากโครงการ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชงิ นโยบายได้เหน็ ควรใหร้ ะบุชอ่ื หนว่ ยงานแยกรายกลุ่มเป้าหมายและวธิ กี ารด้วย

เสนอ สำนกั งานขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และใหค้ ำปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลอื่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉันท์ ๒๑๖
รายการคา่ ใชจ้ ่ายในการสรา้ งการรบั รูเ้ พ่ือใหเ้ กดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

บทท่ี ๑๑
เปรียบเทียบมุมมองเรอื่ งความขดั แยง้ และการปรองดอง
จากการทบทวนงานวจิ ัย สัมภาษณ์ แบบสอบถามและประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ

๑. การทบทวนงานวิจยั

ความขดั แย้ง

มูลเหตุหลักคือความขัดแย้งระหว่างคู่ขัดแย้งทางการเมือง ความแตกต่างทางความคิดและความเชื่อ
ทางการเมืองการปกครอง การเข้าถงึ ผลประโยชน์และทรัพยากรท่ีไม่เท่าเทียม ปัจจยั ที่กระตุ้นเร่งเร้าให้ปัญหา
ความขัดแย้งทางการเมืองของไทยให้รุนแรงมากยิ่งขึ้นคือการใช้อำนาจรัฐที่ส ร้างความรู้สึกให้ประชาชนหรือ
ฝา่ ยทีส่ ูญเสยี ผลประโยชนร์ สู้ ึกไมเ่ ปน็ ธรรม และความเจรญิ กา้ วหน้าดา้ นนวัตกรรมและการสอ่ื สาร

ประวัตศิ าสตรก์ ารเมอื งไทยสมยั ใหมห่ ลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ มที ัง้ ความขัดแย้ง
ระหว่างชนชั้นนำตั้งแต่ช่วง พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๕๐๐ ที่เป็นความขัดแย้งระหว่างกลุ่มคณะราษฎร กลุ่มขุนนาง
กลุ่มจอมพลแปลก พิบูลสงคราม กลุ่มปรีดี พนมยงค์และกลุ่มพรรคการเมือง โดยไม่ปรากฎกลุ่มทุนและ
ปัญญาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในความขัดแย้ง หรือความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลเผด็จการทหารกับปัญญาชนและ
นิสิต นักศึกษาระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๐๖ ระหว่างรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์กับปัญญาชนและนิสิต
นักศึกษา และระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๑๖ ระหว่างรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจรกับปัญญาชน อาจารย์
มหาวิทยาลัย นิสิต นักศึกษาและประชาชน ก่อนจะมาถึง พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๙ อันเป็นความขัดแย้งทาง
การเมืองที่รุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในการเมืองไทยคือข้อเสนอว่าด้วยระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสม์ของ
ปัญญาชนและนิสิต นักศึกษาที่ถูกฝ่ายอนุรักษนิยมและผู้มีอำนาจในขณะนั้นกดปราบด้วยความรุนแรงก่อนท่ี
จะมีนโยบายที่เรียกว่าคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ ๖๖/๒๓ ประนีประนอมกับผู้ที่เคยเห็นต่างทางการเมือง
ภายหลังความอ่อนแอของพรรคคอมมวิ นิสต์แห่งประเทศไทย หลังจากนั้นความขัดแย้งทางการเมืองไทยก็เปน็
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนชั้นนำอีกโดยระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๓๑ เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพล
เอกเปรม ติณสูลานนท์กับฝ่ายทหารกลุ่มที่เรียกว่ายังเติร์ก และความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลที่มาจากการ
เลือกตั้งกับกองทัพในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหวัณระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๔ ก่อนที่จะเกิดความ
รุนแรงจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มทหารที่มีนักการเมือง นักธุรกิจและคนชั้นกลางร่วมเป็นคู่ขัดแย้งด้วยอีก
ครั้งในสมัยรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูรในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ในเหตุการณ์ที่เรียกว่า “พฤษภาทมิฬ” ซ่ึง
นำไปสู่กระบวนการร่างรัฐธรรมนญู ใหม่เพื่อเปิดพื้นที่ทางการเมืองให้กับกลุ่มนักการเมือง นักธุรกิจและคนชัน้
กลางมากขึ้นกลายมาเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ที่สามารถทำให้เกิดพรรคการเมืองที่เข้มแข็งเพื่อ
กำหนดนโยบายและแนวทางบริหารประเทศเองได้โดยไม่จำเป็นต้องต่อรองกบั กล่มุ อำนาจเดมิ อกี

อย่างไรก็ตามรัฐบาลจากพรรคการเมืองที่เข้มแข็งอันเป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับปี
๒๕๔๐ ของพลตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตรระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๘ และรัฐบาลในเครือข่ายของเขา
หลงั จากน้นั ก็ได้เปน็ จุดเริม่ ต้นของความขัดแยง้ ทางการเมอื งครั้งใหญ่ยาวนานและรา้ วลึกของไทยจนถงึ ปจั จุบัน

จะเห็นได้วา่ ในเชิงระบอบการเมือง ความขัดแย้งทางการเมืองของไทยเปน็ ความขัดแย้งทางอุดมการณ์
ระหว่างระบอบการปกครองที่มีทั้งระบอบการปกครองที่แตกต่างกันอย่างถึงรากถึงโคนระหว่างระบ อบเผด็จ
การทหารกับระบอบคอมมวิ นิสม์ในทศวรรษท่ี ๒๕๑๐ หรอื ระหวา่ งระบอบที่มีอดุ มการณ์หลักคล้ายคลึงกันแต่
แตกต่างกันตรงกระบวนการคัดเลือกผู้บริหารประเทศระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึงปัจจุบันที่ระบอบ

เสนอ สำนกั งานขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการขับเคลื่อนการสรา้ งความสามัคคปี รองดองสมานฉันท์ ๒๑๗
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสามคั คีปรองดองของคนในชาติ

ประชาธิปไตยเป็นทางเลือกที่สังคมเห็นตรงกันแต่มีความแตกต่างกันในองค์ประกอบข องความเป็น
ประชาธิปไตยว่าจะให้ความสำคัญกับด้านเสรีนิยมอันหมายถึงการจำกัดขอบเขตอำนาจของรัฐหรือการให้
ความสำคญั กบั ท่ีมาของรัฐบาลวา่ จะต้องมาจากประชาชน

ในเชงิ สถาบนั การเมือง ความขัดแยง้ ในหมูช่ นช้นั นำมักไมส่ ร้างผลสะเทือนหรือแสดงใหเ้ ห็นปัญหาของ
สถาบันการเมอื งมากนักแต่ความขัดแยง้ ท่ีกระจายตัวในวงกว้างและมผี ู้เก่ยี วข้องกับความขัดแยง้ มากไปกว่าชน
ช้ันนำมักสะทอ้ นปัญหาของสถาบันทางการเมืองและส่งผลสะเทือนต่อสถาบนั ทางการเมอื งทเ่ี กย่ี วข้องในความ
ขัดแย้งด้วย

ในเชิงตัวแสดงทางการเมือง ความขัดแย้งทางการเมืองที่มีผู้ขัดแย้งทางการเมืองกว้างขวางไปกว่าชน
ชั้นนำจำนวนน้อยมักนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้และผลของการ
เปลีย่ นแปลงทางการเมืองน้นั ก็สง่ ผลกระทบตอ่ สงั คมไทยต่อเนื่องยาวนานทง้ั ในด้านบวกและในดา้ นลบ

สำหรับความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบันนี้แม้ว่าจะแสดงออกผ่านความไม่ลงรอยกันของ ๒ ขั้ว
การเมืองหลักและมีความขัดแย้งด้านอุดมการณ์ที่เด่นชัดแต่ความขัดแย้งดังกล่าวก็เกี่ยวข้องอย่างชัดเจนกับ
ประเดน็ สำคัญต่าง ๆ ของสงั คมไทยท้งั ในเร่ืองความเหลื่อมล้ำ ความไมเ่ สมอภาค ปัญหาที่แฝงฝังอยู่ในสถาบัน
การเมืองตา่ ง ๆ ระบบการเลอื กตง้ั มาตรฐานและจรยิ ธรรมของสื่อ ตลอดจนการเส่ือมสลายของฉนั ทมตริ ่วมกัน
ของสมาชิกรว่ มชุมชนชาตไิ ทย

ความปรองดอง

ข้อเสนอเรื่องการปรองดองตามองค์ความรู้ในวงวิชาการบางส่วนได้แก่ข้อเสนอของโยฮัน กัลตุง
(Johan Galtung) นักสังคมวทิ ยาชาวนอรเ์ วยผ์ ู้ก่อต้ังสาขาวชิ าสันตวิ ิธีและความขดั แย้ง เขายังเป็นผู้ก่อตั้งและ
ผู้อำนวยการคนแรกของ Peace Research Institute โดยกัลป์ตงุ เสนอ ๓ แนวทางได้แก่ หนึง่ การแก้ปัญหา
ระดับโครงสร้าง สอง การฟื้นฟูบูรณะผู้คน สังคมภายหลังการเผชิญความรุนแรงทางตรง และสาม การ
ปรองดองระหวา่ งฝา่ ยตา่ ง ๆ ทขี่ ดั แยง้ กนั หรอื แนวคดิ เร่ืองความยุตธิ รรมในระยะเปล่ียนผ่านในฐานะเครื่องมือ
สร้างความปรองดองในระดบั ชาติ โดยเครอื่ งมอื นี้จะช่วยลดอคติความเกลียดชงั และสรา้ งความไว้วางใจระหว่าง
ผูท้ ีม่ ีความขดั แย้งรุนแรง ซ่ึงประกอบด้วย

๑) การค้นหาและตรวจสอบข้อเทจ็ จริง เพื่อการรับรู้ คล่ีคลายสาเหตปุ มปญั หา

๒) การยอมรบั ขออภยั และแสดงความรับผิดชอบตอ่ การกระทำผิด

๓) การนิรโทษกรรม (Amnesty) และการให้อภัย โดยมีข้อยกเว้นให้การนิรโทษกรรมกับผู้กระทำ
ความผิดในกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนระดับของอาชญากรรมสงคราม อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ และการล้าง
เผา่ พันธ์ุ

๔) การเยียวยาและชดเชยใหก้ บั ผู้ท่ไี ดร้ ับผลกระทบจากความรุนแรง

๕) การปฏริ ปู หรอื ปรบั เปล่ียนโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมเพ่ือลดความเหลื่อมล้ำแบ่ง
สรรอำนาจทางการเมืองใหเ้ กิดดุลยภาพในการเข้าถงึ ทรัพยากรเพ่ือปอ้ งกนั การก่อเกดิ ขึ้นซำ้ ของความขดั แย้ง

นอกจากกระบวนการและหลักการในการสร้างความปรองดองข้างต้นแล้ว ในระดับวิธีการกระบวนการ
แก้ไขความขัดแย้งโดยสันติยังประกอบด้วย การเจรจา การไกล่เกลี่ย การสานเสวนา การประชุมเสวนาทางออก
ซ่งึ จะตอ้ งทำเป็นกระบวนการต่อเนื่องและส่งเสริมให้ทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม

เสนอ สำนักงานขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบันวจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขบั เคลือ่ นการสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ ๒๑๘
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสร้างการรบั รู้เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคปี รองดองของคนในชาติ

๒. แบบสอบถาม

โครงการวิจัยนใ้ี ช้แบบสอบถามสำรวจความคิดเหน็ ของประชาชนในพนื้ ทตี่ ่าง ๆ ครอบคลุมทุกภูมิภาค
จำนวนประมาณสามพันคน ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายและหญิงในอัตราส่วนใกล้เคียงกัน ครึ่งหนึ่งเป็น
คนโสด เกือบครงึ่ หนง่ึ ของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีจบการศึกษาแลว้ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี กว่าร้อยละ
๖๐ ของผตู้ อบแบบสอบถามที่กำลังศึกษาอยู่กำลงั ศกึ ษาอยู่ในระดับปริญญาตรี

ผลการสำรวจพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมดเห็นว่าความขัดแย้งในปัจจุบันของประเทศไทย
เป็นความขัดแย้งทางการเมืองหรือนโยบายและเป็นความขัดแย้งทางความคดิ สาเหตุของความขัดแย้งเป็นเรื่อง
ของความต้องการอำนาจการเมือง การสูญเสียผลประโยชน์และอำนาจการเมือง ความเหลื่อมล้ำ ความไม่เท่า
เทียม การใช้กฎหมายที่ไม่เป็นธรรม การไม่ยอมรับความเห็นต่างทางการเมือง การเข้าใจข้อมูลที่ได้รับต่างกัน
โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งมีทั้งนักการเมือง นักธุรกิจ ข้าราชการทหารในอัตราส่วนที่สูงกว่าข้าราชการ
พลเรือน นกั วิชาการ นักศกึ ษา ประชาชน NGOs ส่อื และตา่ งประเทศเลก็ น้อย

ผู้ตอบแบบสอบถามเกอื บทัง้ หมดเหน็ ดว้ ยกบั แนวทางในการจดั การความขัดแย้งด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เช่น
การเจรจาสันติวิธี การไกล่เกลี่ยโดยบุคคลที่สาม การต่อรองเพื่อให้เกิดความสมดุล การไต่สวนเพื่อระงับข้อ
พพิ าท การประนีประนอม การสร้างกตกิ าท่ีคแู่ ขง่ ยอมรับ การกระจายอำนาจและการปฏิรปู โครงสร้าง

ข้อมูลเบื้องต้นจากแบบสอบถามบ่งชี้ว่าประชาชนรับรู้เรื่องความขัดแย้งของประเทศในระดับสูงและ
เห็นดว้ ยกับการใชว้ ิธกี ารจัดการความขดั แยง้ ดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ โดยสนั ติ

จากขอ้ มลู เปรียบเทียบความคิดของผู้ตอบแบบสอบถามตามปัจจัยสว่ นบุคคลเร่ืองเพศ การศึกษาและ
อาชพี แล้วพบว่ามีลักษณะแตกต่างกันโดยมภี าพรวมวา่ ผทู้ ่ีมีการศึกษาสูงกวา่ ประกอบอาชพี ในภาคเอกชนและ
มีเพศสภาพ LGBTQ จะมีความคิดเหน็ ต่อประเด็นต่าง ๆ ในเรื่องความขัดแย้งในระดับที่มากกว่าผู้ที่การศึกษา
น้อยกว่า ประกอบอาชีพข้าราชการ และมีเพศสภาพชายหรือหญงิ (รายละเอียดดูในส่วนที่ ๑ นับจากตารางท่ี
๑๓ เป็นต้นไป)

๓. การประชุมเชิงปฏบิ ัติการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการดำเนินการใน ๕ จังหวัดได้แก่ นครศรีธรรมราช ชลบุรี เชียงใหม่
นครราชสีมาและกรุงเทพมหานคร โดยเชิญภาคส่วนต่าง ๆ เข้าร่วมอย่างกว้างขวางและหลากหลายทั้ง
ประชาชน ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการทหารและความมั่นคง สื่อมวลชน ทนาย ภาคประชาสังคม สหภาพ
แรงงาน ภาคเอกชน นกั วชิ าการ นักการเมอื ง และนิสติ นกั ศึกษารวมผมู้ ีสว่ นร่วมในขน้ั ตอนนี้กว่า ๖๐๐ คน

ความขดั แย้ง

กลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ ๕ จังหวัดค่อนข้างเห็นสอดคล้องตรงกันว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเป็นปัญหา
อุดมการณ์หรือความแตกต่างทางความคิดอันเกิดมาจากช่องว่างระหว่างช่วงวัย การศึกษาอบรมจาก
สถาบันการศึกษา การได้รับข้อมูลข่าวสารและตีความข้อมูลข่าวสารแตกต่างกัน และความเหลื่อมล้ำไม่เท่า
เทียมทง้ั ในดา้ นโอกาสในการเข้าถึงสวสั ดิการของรฐั และโอกาสทางเศรษฐกจิ ปัญหาต่าง ๆ เหล่านีถ้ ูกตอกย้ำให้
เห็นชัดโดยการใช้อำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรมและความบกพร่องหรือความด้อยประสิทธิภาพของสถาบันทาง
การเมอื งต่าง ๆ และนักการเมอื งทำให้ไมส่ ามารถเป็นช่องทางในการแก้ไขบรรเทาปัญหาทเี่ กิดขนึ้ แก่ประชาชน

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคปี รองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ัยและใหค้ ำปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการขับเคลือ่ นการสร้างความสามคั คีปรองดองสมานฉนั ท์ ๒๑๙
รายการคา่ ใช้จ่ายในการสรา้ งการรบั รู้เพื่อใหเ้ กิดความสามคั คปี รองดองของคนในชาติ

ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอ ส่งผลให้ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นนอกจากจะไม่สามารถบรรเทาเบาบางลงไปได้
แลว้ ยงั ขยายตวั ลงลกึ ไปสูช่ ุมชน ครอบครวั และระหว่างปจั เจกชนตา่ ง ๆ

การปรองดอง

กลุ่มตัวอย่างทั้ง ๕ จังหวัดมีข้อเสนอร่วมกันหลายประเด็นสำหรับทางออกสำหรับการอยู่ร่วมกันหรือ
การปรองดองคือ การมีส่วนร่วมของประชาชน การส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย การสร้างและบังคับใช้
กฎหมายอย่างเป็นธรรม การลดปัญหาความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ การจัดหาสวัสดิการให้แก่ประชาชน การ
กระจายอำนาจ

ส่วนข้อเสนออย่างเป็นรูปธรรมที่ทุกพื้นที่เห็นตรงกันคือการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ การพิทักษ์สิทธิ
เสรีภาพประชาชนและการจำกัดบทบาทของกองทัพในทางการเมือง กลุ่มตัวอย่างในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
เสนอเพิ่มเติมเรื่องการนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง ในจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดตัวแทนจากกองทัพและ
หน่วยงานความมั่นคงเห็นต่างจากภาคส่วนอื่น ๆ โดยตัวแทนจากกองทัพและหน่วยงานความมั่นคงได้ให้
น้ำหนักต่อการสร้างความปรองดองไปที่การรณรงค์สร้างความรักความสามัคคีให้แก่ประชาชนทุกคนใน
ประเทศเป็นประเดน็ สำคัญ

อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่มีความคาดหวังที่จะเห็นการประนีประนอม เลิกทะเลาะเบาะแว้ง
กันทั้งในระดับระหวา่ งชนช้ันนำและในระหว่างประชาชนด้วยกนั เอง โดยประชาชนทัง้ หมดเห็นว่าการเหน็ ต่าง
เป็นเรื่องปรกติและสังคมที่ปรารถนาคือสังคมที่เห็นต่างแต่สามารถอยู่ร่วมกันได้โดยสันติภายใต้กติกาที่ชอบ
ธรรม เป็นธรรมและเสมอภาค และด้วยความคาดหวังทำนองนี้ทำให้กลุ่มตัวอย่างบางพื้นที่ให้ความสำคัญกับ
การปรับเปลี่ยนค่านิยมและทัศนคตดิ ว้ ย

๔. การสมั ภาษณ์เชิงลกึ

รองศาสตราจารย์ ดร. ประจักษ์ กอ้ งกรี ติ อาจารย์ประจำคณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ให้
ความเห็นว่าความขัดแย้งในการเมืองไทยมีลักษณะเป็นความขัดแย้งแบบ ๒ ขั้วที่ Jennifer Mccoy เรียกว่า
depolarization ส่งผลใหค้ วามขัดแย้งที่เกดิ ข้นึ มีลักษณะเปน็ คูต่ รงขา้ มท่ชี ัดเจน ร้าวลกึ ลงไปท้ังในระดับสังคม
ครอบครัว คนใกล้ชิดรอบตัวจึงแก้ไขยาก ทั้งนี้สิ่งที่ทำให้เกิดความขัดแย้งมีทั้งปัจจัยด้านโครงสร้าง ปัจจัยเชิง
สถาบัน ปัจจัยเชิงตัวแสดงและปัจจัยทางอุดมการณ์ โดยที่แต่ละปัจจัยมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันนับจาก
ปัญหาเชงิ โครงสร้างเรื่องความเหลื่อมล้ำท่สี ่งผลต่อโครงสรา้ งทางการเมือง พรรคการเมือง การเลือกตั้งซึ่งเป็น
เรอื่ งเชิงสถาบัน ความขัดแยง้ ทางอดุ มการณ์ระหวา่ งประชาชน ความขดั แย้งระหวา่ งชนชนั้ นำ ด้วยเหตุนี้ความ
ขดั แยง้ ทางอุดมการณใ์ นการเมอื งไทยจึงมที ี่มาจากปัญหาเชงิ โครงสร้าง

ความขัดแย้งทางอุดมการณ์มีรากฐานมาจากโครงสร้างเป็นความขัดแย้งที่แก้ไขได้ยากและการที่จะ
แกไ้ ขความขัดแย้งต้องกระทำดว้ ยการแก้ไขโครงสรา้ งดังกล่าว ประเด็นสำคญั ประการหน่ึงคือการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมก่อให้เกิดตวั แสดงทางการเมืองใหม่ ๆ ที่ยังไม่มีตวั แทนหรือพ้ืนทท่ี างการเมืองทำให้มีการเคลื่อนไหว
เพื่อเรียกร้องการปรับเปลี่ยนพื้นที่ดังกล่าวจากกลุ่มผู้ถืออำนาจเดิมที่ไม่ยอมปรับตัวหรือพยายามรักษา
โครงสรา้ งอำนาจเดมิ เอาไว้

สำหรับวิธีการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยการออกแบบโครงสร้างเชิงสถาบันใหม่ที่ดูเหมือนไม่ค่อย
ประสพความสำเร็จน้ันประจกั ษ์เห็นว่าเกดิ จากวธิ ีการออกแบบที่มาจากบนลงล่างมากกว่าการเปิดโอกาสให้ทุก
ฝ่ายมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ขาดกระบวนการถกเถียงอย่างเสรีและเป็นธรรม ตัวแบบที่เป็น

เสนอ สำนกั งานขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง (สำนกั งาน ป.ย.ป.)
โดย สถาบนั วจิ ยั และให้คำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์


Click to View FlipBook Version