The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พัฒนา บุคลากร, 2024-02-16 06:42:02

การฝึกอบรมขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ A.L.T.C.

A.L.T.C.

การฝึฝึฝึฝึ กฝึ กฝึ กอบรมบุบุบุบุ ค บุ ค บุ คลากรทางการลูลูลูลู ก ลู ก ลู กเสืสืสื สื อ สื อ สื อ ขั้ขั้ขั้ ขั้ น ขั้ น ขั้ นผู้ผู้ผู้ผู้ช่ผู้ช่ผู้ช่ ช่ ว ช่ ว ช่ วยหัหัหั หั ว หั ว หั วหน้น้น้ น้ า น้ า น้ าผู้ผู้ผู้ผู้ใผู้ผู้ห้ห้ห้ ห้ ก ห้ ก ห้ การฝึฝึฝึฝึ กฝึ กฝึ กอบรม (A.L.T.C.)


บทเรียรี นที่ 1 วัต วั ถุป ถุ ระสงค์ ของการฝึก ฝึ อบรม


บทเรียนที่ 1 วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม การฝึกอบรมขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือและมีสิทธิ์ได้รับเครื่องหมาย วูดแบดจ์ 3 ท่อนนั้น แต่เดิมมีการฝึกอบรมส าหรับผู้ให้การฝึกอบรม (Trainers) เพียงหลักสูตรเดียวคือ Training the Team Course ซึ่งเมื่อจบการฝึกอบรมได้ผลงานพอสมควรแล้วจะได้รับแต่งตั้งให้ได้รับ วูดแบดจ์3 ท่อนก่อน และมีชื่อต าแหน่งตามประเภทลูกเสือ กล่าวคือ ถ้าเป็นลูกเสือส ารองเรียกว่า A.AK.L. (Assistant Akela Leader) ลูกเสือสามัญ เรียกว่า A.D.C.C. (Assistant Deputy Camp Chief) หลังจาก นั้นเมื่อมีผลงานเพิ่มขึ้นก็จะ ได้รับเครื่องหมาย 4 ท่อนต่อไป และได้รับแต่งตั้งให้เป็น AK.L. (Akela Leader) หรือ D.C.C. (Deputy Camp Chief) การฝึกอบรมนั้นต้องไปเข้ารับการฝึกอบรม ณ ศูนย์ฝึก กิลเวลล์ปาร์ค และคณะผู้ให้การฝึกอบรมของกิลเวลล์ปาร์คได้ออกไปท าการฝึกอบรมยังประเทศต่าง ๆ และได้เคยเชิญให้มาท าการฝึกอบรมที่ประเทศไทยเช่นเดียวกัน ต่อมาเมื่อมีส านักงานลูกเสือโลกแทนศูนย์ฝึกกิลเวลล์ปาร์คแล้ว ก็ยังมีการฝึกอบรม เช่นเดิมต่อมาอีกหลายปีจนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานการณ์ในโลกได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นอันมาก คณะอนุกรรมการฝ่ายฝึกอบรมของส านักงานลูกเสือโลก ได้พิจารณาเสนอแนวนโยบายใหม่ต่อที่ประชุม สมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2512 ณ นครเฮลซิงกิประเทศฟินแลนด์เปลี่ยนแปลงการฝึกอบรม ระดับผู้ให้การฝึกอบรมเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ - ขั้นต้น เรียกว่า National Training Course (N.T.C.) คือ หลักสูตรการฝึกอบรม ระดับชาติได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์3 ท่อน มีด าเนินการฝึกอบรมโดยผู้ตรวจการลูกเสือฝ่ายฝึกอบรมของ ประเทศนั้น ๆ ตามค าแนะน าของส านักงานลูกเสือโลก และส านักงานลูกเสือเขตภาคพื้นต่าง ๆ -ขั้นสูง เรียกว่า International Training The Team Course (I.T.T.C) โดยหลักสูตร คณะผู้ให้การฝึกอบรมนานาชาติได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์4 ท่อน จะด าเนินการฝึกอบรมโดยส านักงาน ลูกเสือโลก และส านักงานลูกเสือเขต จนกระทั่งการประชุมสมัชชาลูกเสือโลกครั้งที่ 26 พ.ศ. 2520 ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ได้มีมติเปลี่ยนแปลงนโยบายการฝึกอบรมอีกครั้งหนึ่ง ให้คงเป็น 2 ขั้นตอนเช่นเดิม หลักสูตรการฝึกอบรมก็เหมือนเดิม แต่เรียกชื่อใหม่เป็น ขั้นต้น เรียกว่า Assistant Leader Trainers Course (A.L.T.C.) คือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรม และ ชั้นสูง เรียกว่า Leader Trainers Course (L.T.C.) ขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมดังที่เราใช้ฝึกกันอยู่ในปัจจุบัน และทั้ง 2 หลักสูตร นั้น ประเทศต่าง ๆ สามารถท าหลักสูตรขึ้นมาได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักการและนโยบายของส านักงาน ลูกเสือโลกในการฝึกอบรมหลักสูตรนี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเมื่อจบการฝึกอบรมตามหลักสูตรและได้รับ แต่งตั้งให้มีคุณวุฒิรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่อนแล้ว สามารถที่จะไปเป็นผู้อ านวยการฝึกอบรมให้แก่ ผู้ก ากับลูกเสือในระดับที่หนึ่ง ขั้นความรู้เบื้องต้นได้ฉะนั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความช านาญ ในกระบวนการลูกเสืออย่างลึกซึ้ง กล่าวคือ ต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการและวิธีการของลูกเสือ อย่างแท้จริง เข้าใจชัดเจนและสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องระบบวิธีการฝึกอบรมลูกเสือที่น ามาใช้ใน การฝึกอบรมลูกเสือ รวมทั้งระบบการจัดด าเนินงานของกองลูกเสือ เพื่อให้กองลูกเสือในบังคับบัญชาของ ผู้ก ากับลูกเสือ ได้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างที่สุด อีกทั้งเป็นความต้องการของส านักงานลูกเสือโลก ฉะนั้น


- 2 - เพื่อให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ดังกล่าว ส านักงานลูกเสือโลกจึงได้ก าหนดแนวทางให้ไว้ว่า เมื่อจบ การฝึกอบรมแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมควรจะสามารถดังต่อไปนี้อธิบายหลักการส าคัญของกิจการลูกเสือ และวิธีการที่น ามาใช้ในการฝึกอบรมลูกเสือได้ 1. ชี้แจงนโยบายของคณะลูกเสือแห่งชาติได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมลูกเสือ 2. เขียนวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมเป็นรายวิชา รวมถึงการฝึกอบรมวิชาพิเศษและ วิชาเทคนิคต่าง ๆ ซึ่งรวมอยู่ในกระบวนการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือได้ 3. จัดด าเนินการฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือประเภทต่าง ๆ และเป็นผู้อ านวยการฝึกในระดับ การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้นได้ 4. เป็นวิทยากรในคณะผู้ให้การฝึกอบรมในระดับความรู้ชั้นสูงได้ 5. ระบุความต้องการในการฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือประเภทต่าง ๆ ได้ 6. จัดท าตารางการฝึกอบรม และสามารถปรับปรุงตารางให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ในท้องถิ่น เพื่อสนองความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ 7. อธิบายหลักการเรียนรู้โดยทั่วไปส าหรับผู้ใหญ่ได้ 8. จัดล าดับและเลือกใช้แบบวิธีการฝึกอบรมให้เหมาะสม ตลอดจนรู้จักจัดหาและเลือก อุปกรณ์การสอนต่าง ๆ เพื่อใช้ในการฝึกอบรมได้ อ ธิบ ายได้ ว่าก า รฝึ กอบ รมผู้ ก ากับ ลู ก เสื อเป็ น ก ระบ วน ก า รที่ ก้ าวห น้ า แ ล ะ มีความต่อเนื่องกันการจัดการเกี่ยวกับกิจการทุกอย่าง ผู้ด าเนินการจะต้องทราบวัตถุประสงค์ของกิจการ นั้นว่า ในแต่ละกิจการต้องการอะไร เมื่อด าเนินการเสร็จสิ้นไปแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้นั้นคุมค่ากับการลงทุน ทั้งด้านบุคลากร วัสดุอุปกรณ์การเงิน และเวลาที่เสียไปหรือไม่ เพื่อว่าจะได้ปรับปรุงพัฒนางานนั้น ๆ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ในโอกาสต่อไป ส าหรับการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรม ก็เป็นงานชนิดหนึ่งที่ ผู้จัด มีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรให้สามารถฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือในกองลูกเสือต่าง ๆ ได้อย่าง มีคุณภาพ แนวทางของหลักสูตรนี้จึงมุ่งหวังว่า เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรมแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่ผู้จัด คัดเลือกพัฒนา สามารถเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ และทักษะในการให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้นได้พัฒนาตนเองดีขึ้นมากน้อยเพียงใด การประเมินผลดังกล่าวนี้เป็นการยากที่ผู้ให้ การฝึกอบรมจะสามารถประเมินได้ในเวลาอันจ ากัด จะต้องไปประเมินในขั้นติดตามผลต่อไป โดยที่ ส านักงานลูกเสือแห่งชาติมีผู้ทรงคุณวุฒิอยู่เป็นจ านวนมากที่จะช่วยติดตามประเมินผลว่าจะเป็นคณะผู้ให้ การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือที่ดีมีคุณภาพได้ต่อไปหรือไม่ การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมนี้เป็นหลักสูตรที่ใช้กันทั่ว โลกซึ่งได้รับการรับรองจากส านักงานลูกเสือโลกแล้วว่า เป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพ การด าเนินการจึงต้อง เป็นไปตามหลักการ วิธีการ และวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม เมื่อเป็นหลักสูตรที่ค่อนข้างจะตายตัว แต่ก็ ขึ้นอยู่กับว่าผู้ที่ท าหน้าที่เป็นผู้อ านวยการฝึกอบรมและคณะผู้ให้การฝึกอบรมจะตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุด


- 3 – มาใช้ในปัจจุบัน การฝึกอบรมหลักสูตรนี้ประเทศไทยได้เปลี่ยนชื่อหลักสูตรให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติ ลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากร ทางการลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๖ เรียกชื่อว่า “การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การ ฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือลูกเสือ” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษและค าย่อยังคงเดิม โดยก าหนดจุดหมายของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถไปเป็นผู้อ านวยการฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น และเป็น คณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้ชั้นสูง หรือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือในหลักสูตร อื่น ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ


บทเรียรี นที่ 2 หน้า น้ ที่คที่ วามรับ รั ผิด ผิ ชอบ ของผู้ใผู้ห้ก ห้ ารฝึก ฝึ อบรม


บทเรียนที่ 2 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ให้การฝึกอบรม เนื้อหาวิชา การฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือจะส าเร็จได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพต้องได้รับความร่วมมือจาก คณะบุคคลหลายๆฝ่ายด้วยกัน ความจ าเป็นที่ต้องมีคณะบุคคลเข้าร่วมงานแต่ละครั้ง ผู้อ านวยการฝึกนับว่าเป็น บุคคลส าคัญที่สุด การสรรหาและการจัดสรรหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะผู้ให้การฝึกอบรมเป็นภาระ ของผู้อ านวยการฝึกเช่นกัน การฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือแตกต่างกับการฝึกอบรมประเภทอื่น ๆมาก โดยเฉพาะวิธีการฝึกอบรม ดังนั้น คณะบุคคลที่ประกอบกันเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรม จะต้องพึงระลึกถึงงานหน้าที่และความรับผิดชอบ ของตนที่ได้รับมอบหมายไว้ในแต่ละครั้งคราวที่มีการฝึกอบรม ซึ่งจะสอดคล้องถึงคุณสมบัติของผู้ให้การฝึกอบรม เช่นเดียวกันด้วย ผู้ใดเหมาะสมกับงานด้านใด ผู้อ านวยการฝึกเท่านั้นถือได้ว่าเป็นแกนน าไปสู่ความส าเร็จ การให้การฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือไม่เหมือนกับการให้การฝึกอบรมประเภทอื่นๆ ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมจะอยู่ประจ า ณ สถานที่ฝึกอบรมแบบอยู่ค่ายพักแรม การฝึกอบรมจะเป็นแบบภาคปฏิบัติเป็น ส่วนมาก การจัดเตรียมการฝึกอบรมจึงยุ่งยากสลับซับซ้อน ผู้ให้การฝึกอบรมจึงต้องมีทักษะทางวิชาลูกเสือ และ ความรู้ความสามารถในเรื่องกิจการลูกเสือ มีประสบการณ์สะสมทางการให้การฝึกอบรมเป็นอย่างดีจึงจะ สามารถท าให้การฝึกอบรมมีคุณภาพด าเนินไปโดยปราศจากปัญหาและอุปสรรค ถึงแม้ว่าคณะผู้ให้ การฝึกอบรมจะมีความช านาญอย่างไร ก็ขอให้นึกอยู่เสมอว่าการฝึกอบรมไม่ว่าครั้งใดก็ย่อมจะมีปัญหาและ อุปสรรคอย่างแน่นอนไม่มากก็น้อย 1. ความหมายของการฝึกอบรมและผู้ให้การฝึกอบรม ในที่นี้หมายถึง การให้การฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือทุกประเภท ทุกระดับ การที่จะเป็นผู้ให้การฝึกอบได้นั้นจะต้องมี คุณสมบัติตามระเบียบของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ และได้รับการ แต่งตั้งจากผู้มีอ านาจ ในการแต่งตั้งเป็นคราว ๆ ไป หรืออาจจะได้รับเชิญจากผู้อ านวยการฝึกอบรม การให้การฝึกอบรมจะต้อง ปฏิบัติหน้าที่ตามวัน เวลา ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ครบถ้วน ผู้อ านวยการฝึกอบรมจึงจะพิจารณาเห็นสมควรออก หนังสือรับรองการจัดคณะผู้ให้การฝึกอบรมควรจะมีจ านวนให้เหมาะสม ไม่มากเกินไปและไม่น้อยเกินไป ให้ทุกคนมีหน้าที่ปฏิบัติงานให้สมดุลอย่างพอเพียง คณะผู้ให้การฝึกอบรมควรจะระบุหน้าที่ให้ชัดเจน ดังนี้ คือ 1. ที่ปรึกษา (ถ้ามี) 2. ผู้อ านวยการฝึก 3. รองผู้อ านวยการฝึก 4. วิทยากรผู้บรรยาย 5. วิทยากรประจ าหมู่


-2- 6. วิทยากรฝ่ายประสานงาน 7. วิทยากรฝ่ายสนับสนุน เช่น - ฝ่ายการเงิน - ฝ่ายอุปกรณ์ - ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ - ฝ่ายสถานที่ - ฝ่ายเอกสาร ฯลฯ ประเภทของผู้ให้การฝึกอบรม 1. ผู้อ านวยการฝึกอบรม เป็นผู้ควบคุมดูแลการฝึกอบรมให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2. รองผู้อ านวยการฝึกอบรม เป็นผู้ช่วยผู้อ านวยการฝึกอบรม 1คน หรือ 2 คน ตามความเหมาะสม 3. วิทยากรบรรยาย เป็นผู้ให้ความรู้ความเข้าใจ และทักษะแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามหัวข้อวิชา ที่ได้รับมอบหมาย 4. วิทยากรประจ ากลุ่ม เป็นที่ปรึกษาของกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. วิทยากรฝ่ายประสานงาน เป็นผู้ประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ก่อน ระหว่าง และหลังการ ฝึกอบรม 6. วิทยากรฝ่ายสนับสนุน เป็นผู้ให้การสนับสนุนตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เช่น ฝ่ายสถานที่ ฝ่ายพัสดุอุปกรณ์ฝ่ายเอกสาร ฝ่ายการเงิน ฝ่ายอาหาร ฝ่ายประเมินผล ฯลฯ 7. วิทยากรพิเศษ อาจเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะวิชามาร่วมด้วย 2. หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ให้การฝึกอบรม 2.1 การวางแผน 2.1.1 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องวางแผนการฝึกอบรมตามที่ได้รับมอบหมาย จะเป็นด้วยตนเอง หรือ ร่วมกับบุคคลอื่นที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนี้ 2.1.2 ในการวางแผนนี้ผู้ให้การฝึกอบรมต้องใช้เนื้อหาวิชาตามที่คณะกรรมการฝึกอบรมลูกเสือโลก ได้ก าหนดไว้ในนโยบายการฝึกอบรมมาใส่ลงไว้ด้วย 2.1.3 ผู้ให้การฝึกอบรมจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า นโยบายการฝึกอบรมตามที่ลูกเสือโลกก าหนดไว้ จะประสานเข้ากับงานฝึกอบรมของลูกเสือไทยได้อย่างไร โดยค านึงถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะต้องมีขึ้น ในงานนั้น ๆ ด้วย 2.2 การสอน 2.2.1 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องสอนวิชาที่ได้รับมอบหมาย วิธีสอนของเขาจะแสดงออกถึงวิธีการ ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่ถือปฏิบัติอยู่


-3- 2.2.2 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องเลือกวิธีสอนอย่างระมัดระวัง โดยค านึงอยู่เสมอว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม จะน าวิธีสอนเหล่านี้ไปใช้กับงานของเขาในโอกาสต่อไป 2.3 การประเมินผล 2.3.1 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องประเมินผลการสอนวิชาที่ได้รับมอบหมาย 2.3.2 ผู้ให้การฝึกอบรมจัดหาเทคนิคที่จะวัดผลการสอนของตนเองด้วยว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจ ในเรื่องที่สอนมากน้อยเพียงไร 2.3.3 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องวัดผลการสอน โดยรับการช่วยเหลือและยอมรับความคิดเห็นจากผู้อื่น เช่น ผู้อ านวยการฝึกอบรม เป็นต้น 2.4 การรายงาน 2.4.1 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องรายงานการสอนหรืองานอื่นที่ได้รับมอบหมายมา โดยใช้วิธีการรายงานผล ตามแบบของกองลูกเสือก าหนดไว้(ถ้ามี) 2.4.2 ในการรายงานผล ต้องสรุปประเด็นไว้ให้ชัดเจน รายงานสั้นๆ เข้าใจง่าย ตอนท้ายให้มี ข้อเสนอแนะด้วย 2.4.3 รายงานนี้จะช่วยคณะกรรมการลูกเสือฝ่ายฝึกอบรม ได้ทบทวนแผนการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา ลูกเสือแห่งชาติทั้งจะได้ทราบถึงความต้องการในเรื่องการฝึกอบรมอีกด้วยว่ามีอะไรบ้าง 2.5 การพัฒนาตนเอง 2.5.1 ผู้ให้การฝึกอบรมต้องศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับทักษะการฝึกอบรมและการสอนอยู่เสมอ ทั้งพยายามที่จะศึกษาถึงความต้องการและปฏิกิริยาของผู้เข้ารับการฝึกอบรมอยู่เสมอด้วย 2.5.2 ผู้ให้การฝึกอบรมควรเข้าร่วมในการประชุมสัมมนา และการประชุมอย่างอื่นที่จะช่วยให้งานการ ฝึกอบรมของเขาก้าวหน้ายิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการประชุมในระดับจังหวัดระดับเขต ระดับชาติ ระดับนานาชาติ 2.6 การพัฒนาผู้ให้การฝึกอบรมอื่น 2.6.1 ผู้ให้การฝึกอบรมอื่น คือ ผู้ให้การฝึกอบรมใหม่ที่ได้รับมอบหมายให้มาท างานภายใต้การดูแล ของผู้ให้การฝึกอบรมที่มีประสบการณ์และมีความช านาญ เพื่อพัฒนาทักษะหรือความรู้ในวิชาหนึ่งวิชาใด หรือหลายวิชา 2.6.2 ผู้ให้การฝึกอบรมใหม่นี้ได้เรียนรู้โดยการสังเกตดูวิธีการฝึกอบรมหรือโดยการเข้าร่วมการ ฝึกอบรมในบางวิชาภายใต้การดูแลของผู้ให้การฝึกอบรม หรือบางทีก็ท าหน้าที่เป็นผู้น ากลุ่มอภิปราย บางทีก็เข้าร่วมในการวางแผนบทเรียนหรือกิจกรรม 2.6.3 ผู้ให้การฝึกอบรมมีภาระที่จะฝึกอบรมผู้ให้การฝึกอบรมที่ได้รับมอบหมายให้มาอยู่กับตนเพื่อ ให้ทักษะ ความรู้ความสามารถ และความมั่นใจในการด าเนินการฝึกอบรมต่อไป 3. คุณสมบัติของผู้ให้การฝึกอบรม 3.1 มีความรู้เรื่องกระบวนการลูกเสือและโปรแกรมส าหรับเด็กอย่างกว้างขวาง


-4- 3.2 มีทักษะในการสอน ซึ่งรวมถึงเรื่องต่อไปนี้ - มีความรู้และความสามารถจะใช้แหล่งวิทยากร - มีความสามารถที่จะรับความสนใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่มีระดับความสามารถ ในการเรียน ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน - มีความสามารถที่จะเลือกสรรวิธีสอนและเทคนิคการสอนให้เข้ากับเนื้อหาวิชาให้เหมาะสมกับ ความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม 3.3 มีความเชื่อว่าผู้ใหญ่ก็ยังมีความสามารถในการที่จะศึกษาและเรียนต่อไปได้ 3.4 มีความสามารถในการเป็นผู้น า มีปฏิญาณ ความอดทน และอารมณ์ขัน 3.5 มีเสียงรื่นหูและมีความรู้ทางภาษาดี 3.6 ส าม า รถ จั ดห าเวล าส าห รับ ก า รว างแ ผนง าน แ ล ะก า รเดิน ท างต าม ค ว าม จ าเป็ น ของผู้ให้การฝึกอบรม 3.7 สามารถเห็นภาพการฝึกอบรมที่มีความเกี่ยวพันในวงกว้าง กล่าวคือ ไม่เฉพาะแต่กองลูกเสือ กลุ่มลูกเสือ ชุมชนหรือวัด แต่เกี่ยวถึงคณะลูกเสือโลกด้วย บทบาทของวิทยากรประจ ากลุ่ม 1. ค าที่ใช้ “วิทยากรประจ ากลุ่ม” ส านักงานลูกเสือโลกเขตเอเชีย–แปซิฟิกใช้ภาษาอังกฤษว่า “COUNSELLOR” ศูนย์ฝึกลูกเสือกิลเวลล์ปาร์คของประเทศอังกฤษใช้ค าว่า “TOTOR” อเมริกาเรียกว่า “ADVISOR” วิทยากร โดยวิทยากรประจ ากลุ่มจะมีความมุ่งหมายเหมือนกัน คือ 1. เป็นเครื่องมือส าคัญในการฝึกอบรม 2. ท าให้สมาชิกในกลุ่มเกิดความสะดวกสบายในการฝึกอบรม 3. ช่วยให้การฝึกอบรมด าเนินไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 4. ช่วยเสนอแนะชี้แจงและเข้าร่วมสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม 5. ช่วยเหลือเป็นรายบุคคลให้ประสบความส าเร็จในการฝึกอบรม 6. เป็นผู้ประสานงานระหว่างคณะผู้ให้การฝึกอบรมและผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยท าหน้าที่เป็นผู้แทน ของกลุ่ม 2. บทบาทของวิทยากรประจ ากลุ่มโดยสังเขป ก. ก่อนการฝึกอบรม (PRE-COURSE) 1. ศึกษาและท าความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย วัตถุประสงค์หลักสูตร และวิธีการของการฝึกอบรม ตลอดจนกลวิธีต่าง ๆ ทั้งใหม่และเก่า 2. ตรวจสอบทบทวนตารางฝึกอบรมและพยายามจดจ า 3. เตรียมตัวเอง เอกสาร และอุปกรณ์ที่จ าเป็น


-5- 4. ติดต่อผู้บรรยายแต่ละวิชาเพื่อขอความรู้และเอกสารเตรียมไว้ล่วงหน้า 5. ติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายเอกสารและฝ่ายอุปกรณ์ ข. ระหว่างการฝึกอบรม (ON-COURSE) 1. ให้การต้อนรับเมื่อ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงทะเบียน รายงานตัว 2. ปฐมนิเทศกลุ่มของตน – แจกสมุด – ป้ายชื่อ เสนอแนะหน้าที่ในกลุ่ม (อย่าก าหนดเอง) 3. น าเข้าห้องพิธีเปิด 4. เสนอแนะ ช่วยเหลือ ยั่วยุให้กลุ่มของตนท างาน 5. ช่วยเหลือเป็นรายบุคคลในกรณีที่จ าเป็น 6. ดูแลสุขภาพ อนามัย ความเป็นระเบียบและสวัสดิการต่าง ๆ 7. เป็นที่ปรึกษาเสนอแนะในด้านวิชาการ ช่วยให้เกิดข้อวินิจฉัย และข้อตกลงในการอภิปราย 8. อ านวยความสะดวกในด้านอุปกรณ์การท างานของกลุ่ม การพิมพ์เอกสาร การแจกเอกสาร 9. สาธิตกลวิธีและทักษะต่าง ๆ 10. การประสานงานระหว่างคณะผู้ให้การฝึกอบรมและผู้เข้ารับการฝึกอบรม 11. สังเกตความเป็นอยู่ การศึกษา ท่าทีความสนใจที่มีต่อกลุ่มต่อคณะผู้ให้การฝึกอบรมและวิธีการ ฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งวิทยากรประจ ากลุ่มประจ าอยู่เพื่อเสนอต่อผู้อ านวยการฝึกอบรม ค. หลังการฝึกอบรม (AFTER COURSE) 1. ประเมินผลรายงานต่อผู้อ านวยการฝึกได้ทราบ 2. ติดต่อช่วยเหลือที่ได้รับค าร้องขอ เสนอแนะหัวข้อการรายงานการฝึกอบรม เมื่อได้ท าการฝึกอบรมไปแล้ว ในฐานะผู้อ านวยการฝึกอบรม ต้องรายงานให้จังหวัดหรือเขตทราบการ ด าเนินงาน โดยมีหัวข้อรายงานดังนี้ 1. ท าการฝึกอบรมอะไร (เช่น วิชาผู้ก ากับลูกเสือส ารอง ขั้นความรู้เบื้องต้น) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ระยะเวลาที่ท าการฝึกอบรม (ระหว่างวันที่………………..ถึงวันที่………………….) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. สถานที่ท าการฝึกอบรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. คณะผู้ให้การฝึกอบรม (มีใครบ้าง) …………………………………………………………………………………………………………………………………………


-6- 5. จ านวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ถ้าแยกชาย – หญิง และอายุเฉลี่ยในรุ่นได้ก็จะเป็นการดี) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. วิธีด าเนินการฝึกอบรม (เช่น แบ่งเป็น 5 หมู่ๆละ 8 คน โดยมีวิทยากรประจ าหมู่) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ผลของการฝึกอบรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ (ถ้ามี) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………


-7- บทเรียนที่2 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ให้การฝึกอบรม เวลา 90 นาที ตัวอย่างการออกค าสั่งแต่งตั้งคณะวิทยากร ค าสั่ง (ชื่อหน่วยงาน)………………. ที่………………../25………… เรื่อง แต่งตั้งคณะวิทยากรผู้ให้การฝึกอบรม ผู้ก ากับลูกเสือประเภท…………………ขั้นความรู้เบื้องต้น ---------------------------------------- เพื่อให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือประเภท……………………………..ขั้นความรู้เบื้องต้น รุ่นที่……………………. ระหว่างวันที่……..……เดือน…….…………พ.ศ……………. ณ ค่ายลูกเสือ………………..…….อ าเภอ………….………….….. จังหวัด…………………………เป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุผลสมความมุ่งหมาย จึงขอแต่งตั้งให้บุคคลต่อไปนี้ เป็นคณะวิทยากรและเจ้าหน้าที่ คือ 1. …………………………………….. ที่ปรึกษา 2. …………………………………….. ที่ปรึกษา 3. …………………………………….. ที่ปรึกษา 4. …………………………………….. ผู้อ านวยการฝึกอบรม 5. …………………………………….. รองผู้อ านวยการฝึกอบรม 6. …………………………………….. วิทยากร 7. …………………………………….. วิทยากร 8. …………………………………….. วิทยากร 9. …………………………………….. วิทยากร 10. …………………………………….. วิทยากร 11. …………………………………….. วิทยากร 12. …………………………………….. วิทยากรประจ าหมู่ 1 13. …………………………………….. วิทยากรประจ าหมู่ 2 14. …………………………………….. วิทยากรประจ าหมู่ 3 15. …………………………………….. วิทยากรประจ าหมู่ 4


-8- 16. …………………………………….. วิทยากรประจ าหมู่ 5 17. …………………………………….. วิทยากรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายประสานงาน 18. …………………………………….. วิทยากรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ 19. …………………………………….. วิทยากรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุอุปกรณ์ 20. …………………………………….. วิทยากรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายฝ่ายสถานที่ -7- 21. …………………………………….. วิทยากรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน 22. …………………………………….. เจ้าหน้าที่เอกสาร 23. …………………………………….. เจ้าหน้าที่เอกสาร ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่………..เดือน…………………..พ.ศ………… (ลงชื่อ) ……………………………………….. (………………………...…………..………..) ต าแหน่ง………….……………………………


บทเรียรี นที่3 นโยบายและกิจ กิ กรรม สำ นัก นั งานลูก ลู เสือ สืโลก A.L.T.C


นโยบายและกิจกรรม ส านักงานลูกเสอ ื โลกด้าน การพัฒนาบุคลากรทางการลูกเสอ ื การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสอ ื ขั้นผู้ชวยผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเส ่ อ ื (A.L.T.C.)


สลช. -----------------------------------------------------------------


สลช. -----------------------------------------------------------------


สลช. -----------------------------------------------------------------


สลช. -----------------------------------------------------------------


สลช. -----------------------------------------------------------------


ทา ่ นรฐ ั มนตรว ี า ่ การกระทรวงศก ึ ษาธก ิ าร พลตา รวจเอกเพม ิ ่ พน ู ชด ิ ชอบ กับ ลก ู เสอ ื สลช. -----------------------------------------------------------------


ขอบข่ายรายวิชา : ๑. นโยบายและกจิกรรมขององคก ์ ารลกูเสอ ื โลก ๒. การพฒ ั นาบคุลากรทางการลกูเสอ ื ของส านก ั งานลกูเสอ ื โลก จุดหมาย : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจการ ลกูเสอ ื โลกและสามารถน าไปใชใ้ นการบรหิารกจิการลกูเสอ ื ไทย ในระดับต่าง ๆได้ วัตถุประสงค์ : ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถ... ๑. บอกและอธบิายกจิการขององคก ์ ารลกูเสอ ื โลกไดพ ้ อสง ั เขป ๒. น าไปบรหิารกจิการลกูเสอ ื ไดอ ้ ยา ่ งมปี ระสทิธภิาพ สลช. -------------------------------------------------------------------------------


ขอ ้ ตกลงเบอ ื ้ งตน ้ : เวลา ๖๐ นาที : Speed test ๑. ความรเ ู ้ บอ ื ้ งตน ้ ๒๐ นาที ๒. กลุ่มอภิปราย ๒๐ นาที ๓. น าเสนอ (จับฉลาก ๒ กลุ่ม) ๑๐ นาที ๔. สรุป ๑๐ นาที สลช. -----------------------------------------------------------------


ประเมินตนเอง : ๑. สมาธิ ความตั้งใจ - ๓๐ คะแนน ๒. ความเข้าใจในประเด็นการเรียนรู้ - ๓๐ คะแนน ๓. ความมง ุ ่ มน ่ ัในการน าไปส ู ่ การปฏิบัติ - ๔๐ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน สลช. -----------------------------------------------------------------


Lord Robert Stephenson Smyth Baden Powell (B-P) ผใ ู ้ หก ้ า เนด ิ กจ ิ การลก ู เสอ ื โลก สลช. -------------------------------------------------------------------------------


สลช. -------------------------------------------------------------------------------


ท่าน B-P กบ ั ลก ู เสอ ื ........ - ปรับวิชาทางทหารมาให้เด็กเยาวชนเรียน แบบวชิ าลก ู เสอ ื - กจ ิ การลก ู เสอ ื ไดร ้ บ ั การยอมรบ ัไปทว ่ ัโลก - เด็กเยาวชนไดร ้ บ ั การฝึ กความมว ี น ิ ย ั เสย ี สละ - ลก ู เสอ ื รจ ู ้ ก ั กน ั และเป็นมต ิ รกบ ั ผค ู ้ นทว ่ ัโลก - ลก ู เสอ ื ถก ู ฝึ กใหอ ้ ดทน กลา ้ หาญ.... - ............................................. - ............................................ etc. สลช. -------------------------------------------------------------------------------


Chief Scout of the world : Lord B-P ให้ ความสา คญ ั กบ ั การ ฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสอ ื เพราะ.ผกู้ า กบ ั ลกูเสอ ื ใกลช้ ดิกบ ั ลกูเสอ ื มากที่สุด สลช. -------------------------------------------------------------------------------


กิจกรรมที่ ๑ ใหท ้ า ่ นสมาชกิทา กจิกรรมเดย ี่ วใชเ ้ วลา ๒ นาที ค าถามที่ ๑ ท่านมีความเห็นอย่างไรกับแนวคิดของท่าน B-P เกย ี่ วกบ ั ทใี่ หค ้ วามส าคญ ั กบ ั การฝึ กอบรมผกู้ า กบ ั ลกูเสอ ื (Leaders’ Training) ....................................................................... ............................................................................... สลช. -------------------------------------------------------------------------------


LORD BADEN POWELL’s WORDS สลช. -------------------------------------------------------------------------------


ข้อมูลปัจจุบันเกี่ยวกับ กจ ิ การลก ู เสอ ื โลก (WOSM) ประกอบดว ้ ยจา นวนลก ู เสอ ื ภาคพน ื ้ (Region) จ านวน 6 ภาคพน ื ้ (Regions) สลช. -------------------------------------------------------------------------------


กจ ิ การลก ู เสอ ื โลก สลช. -------------------------------------------------------------------------------


๓. สา นกังานลกูเสอื โลก : WORLD SCOUT BUREAU : WSB สลช. -------------------------------------------------------------------------------


The Vision for Scouting, Vision 2023, was adopted at the 40th World Scout Conference in Ljubljana, Slovenia in 2014. © World Scout Bureau Inc. 20


ภายในปี ค.ศ. 2023 (พ.ศ.2566) การลก ู เสอ ื จะต้องเป็ นกระบวนการการพัฒนาเยาวชนทาง การศก ึ ษาชน ั ้ น าของโลก อก ี ทง ั ้ ยง ัสามารถท าให้ เยาวชนกว่า 100 ล้านคน เติบโตเป็ นประชากรที่ มีความกระตือรือร้น (Active citizen) มีคุณภาพ และสรา ้ งผลกระทบเชง ิ บวกในเชง ิ ของการแบง ่ ปน ั ใหก ้ บ ัสง ั คมและโลก วสิ ย ั ทศั น ์2023 21


องคป์ ระกอบของ องคก ์ ารของลก ู เสอ ื โลก .............................. ๑. คณะกรรมการลก ู เสอ ื โลก : WORLD SCOUT COMMITTEE ๒. การประช ุ มสมชั ชาลก ู เสอ ื โลก : WORLD SCOUT CONFERENCE ๓. ส านก ั งานลก ู เสอ ื โลก : WORLD SCOUT BUREAU : WSB ๔. องคก ์ ารลก ู เสอ ื โลก :WORLD ORGANIZATION OF THE SCOUT MOVEMENT : WOSM สลช. -------------------------------------------------------------------------------


บทบาทหนา ้ ที่ภารกจิของลกูเสอื โลก .............................. คณะกรรมการลก ู เสอ ื โลก: WORLD SCOUT COMMITTEE - คณะกรรมการมาจากการเลือกตั้งจากที่ประชุมสมัชชาใหญ่ ๑๒ คน อีก ๒ คน คือเลขาธิการและเหรัญญิก รวม ๑๔ คน - อยู่ในวาระ ๖ ปี แต่ ในการประชุมสมัชชาใหญ่แต่ละครั้ง ในทุก ๓ ปี มีการเลือกตั้งกรรมการคนใหม่เข้าแทนที่ จ านวน ครง ึ ่ หนง ึ ่ ของกรรมการลกูเสอ ื โลกที่หมดวาระ รวมทั้งจากการลาออก/เสย ี ชว ี ติ - นอกจากนย ี้ ง ัประกอบดว ้ ย Youth Advisor to the World Scout Committee จ านวน ๖ คน สลช. -------------------------------------------------------------------------------


10 24


คณะกรรมการลก ู เสอ ื โลก WORLD SCOUT COMMITTEE . 25


On the other hand, the World Scout Committee is the executive body of WOSM. It is responsible for the implementation of the resolutions of the World Scout Conference and for acting on its behalf between its meetings. During the recently held virtual World Scout Conference last August, we have elected 12 new members who will serve for a 3-year term. © World Scout Bureau Inc. 10 26


บทบาทหนา ้ ท ี่ ภารกจ ิ ของลก ู เสอ ื โลก .............................. การประช ุ มสมชั ชาลก ู เสอ ื โลก : WORLD SCOUT CONFERENCE # - ที่ประชุมคือ “สมัชชาใหญ่” (General Assembly) จัดการประชุมรอบ ๓ ปีครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผแู้ ทนจากประเทศสมาชกิจา นวน ๖ คน (ไทยเคยเป็ นเจ้าภาพจัดประชุมครั้งที่ ๓๓ ปี ๑๙๙๓) The 42nd World Scout Conference in Egypt in 2021, please visit the https://scoutconference.org สลช. -------------------------------------------------------------------------------


บทบาทหนา้ที่ภารกจิของลกูเสอื โลก .............................. # การประชุมสมชั ชาลกูเสอื โลก : WORLD SCOUT CONFERENCE # สลช. -------------------------------------------------------------------------------


บทบาทหนา้ที่ภารกจิของลกูเสอื โลก .............................. การประชุมสมชั ชาลกูเสอื โลกครงั้ที่๔๒ : WORLD SCOUT CONFERENCE #42nd ทาง Virtual สลช. -------------------------------------------------------------------------------


การประชุมสมชั ชาลกูเสอื โลกครงั้ที่๔๓ WORLD SCOUT CONFERENCE 43 Egypt © World Scout Bureau Inc. 30


บทบาทหนา้ที่ภารกจิของลกูเสอื โลก .............................. ส านก ั งานลกูเสอ ื โลก : WORLD SCOUT BUREAU …is the Secretariat of the World Organization. And.. is directed by the Secretary General of WOSM. สลช. -------------------------------------------------------------------------------


32


สา นกังานลกูเสอื โลก : WORLD SCOUT BUREAU : WSB สลช. -------------------------------------------------------------------------------


สา นกังานลกูเสอื โลก : WORLD SCOUT BUREAU : WSB ขอ ้ มลูทน ี่ า ่ สนใจส าหรบ ั ทา ่ น.... - 173 Member Organizations in the world. - at least another 52 countries -local Scouting activities exist. - 57 million Scouts worldwide. Functions : As the secretariat of the World Organization สลช. -------------------------------------------------------------------------------


สา นกังานลกูเสอื โลก/ภาคพนื้ : WORLD SCOUT BUREAU : WSB comprises of …. World Scout Bureau Global Support Centre - Kuala Lumpur, Malaysia World Scout Bureau Global Support Centre - Geneva, Switzerland World Scout Bureau Africa Support Centre - Nairobi, Kenya World Scout Bureau Arab Support Centre - Cairo, Egypt World Scout Bureau Asia-Pacific Support Centre - Makati City, Philippines World Scout Bureau Eurasia Support Centre - Kiev, Ukraine World Scout Bureau Europe Support Centre - Geneva, Switzerland and Brussels, Belgium World Scout Bureau Interamerica Support Centre - Panama City, Republic of Panama สลช. -------------------------------------------------------------------------------


Click to View FlipBook Version