The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พัฒนา บุคลากร, 2024-02-16 06:42:02

การฝึกอบรมขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ A.L.T.C.

A.L.T.C.

-4- หลักการเขียนวัตถุประสงค์ ประธาน ผู้เข้ารับการอบรม ท าอะไรได้ ผ่านการฝึกอบรมแล้วจะท าอะไรได้บ้าง สังเกตและวัดได้ ใช้กริยาซึ่งแสดงการกระท า เช่น แสดง สาธิต ท า บอก เขียน ตอบ เลือก ด าเนินการ อธิบาย วาด วิ่ง กิริยาที่สังเกตและวัดไม่ได้ รู้ เข้าใจ ซาบซึ้ง มี ตระหนัก รู้สึก เชื่อ ศรัทธา ชอบ รัก เกลียด


บทเรียนที่ 9 งานภาคปฏิบัติ วิชาการก าหนดวัตถุประสงค์ของ บทเรียน ข้อ 1 งานส่วนบุคคล ให้แต่ละหมู่แบ่งการเขียน วัตถุประสงค์หลักสูตรการอบรม ให้มีลูกเสือทั้ง 4 ประเภท การท างาน - ให้เขียนลงสมุดบันทึกของตัวเอง - ให้เวลาท างาน 15 นาที ข้อ 2 ให้อภิปรายกลุ่ม การก าหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียนมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ให้เขียนมาเป็นข้อ ๆ - ให้เวลาท างาน 5 นาที


บทเรียรี นที่ 12 ภาวะผู้นำผู้นำ และการทำ งาน ในระบบกลุ่มลุ่


บทเรียนที่ 12 ภาวะผู้น าและการท างานในระบบกลุ่ม กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมที่ใช้วิธีการด าเนินงานให้สะดวกรวดเร็วและทั่วถึง โดยใช้วิธีการ แบ่งกลุ่มเล็กๆ เรียกว่าหมู่ลูกเสือ โดยแบ่งเป็นหมู่ๆละ 4-8 คน มีหัวหน้าหนึ่งคนเป็นผู้น าเรียกว่า นายหมู่ สมาชิกแต่ละคนภายในหมู่จะมีหน้าที่และภารกิจของแต่ละคนครบถ้วน การเป็นนายหมู่นั้นจะมีการผลัดเปลี่ยน ให้สมาชิกทุกคนภายในหมู่ได้มีโอกาสได้เป็น เพื่อเป็นการฝึกให้ลูกเสือทุกคนได้มีโอกาสฝึกการเป็นผู้น า และเป็นผู้รับผิดชอบในงาน ภารกิจของหมู่เป็นอย่างดีซึ่งลูกเสือสามารถจะน าทักษะในการเป็นผู้น าและเจตคติ ในด้านรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนได้รับภารกิจไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับการด าเนินงาน บริหารงานในโลกภายนอกจึงต้องให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและ ลูกเสือได้รู้และเข้าใจในเรื่องการท างานในรายกลุ่ม ภาวะผู้น าที่ดีบทเรียนนี้จึงต้องสร้างให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมได้รู้และเข้าใจ 1. การท างานในระบบกลุ่ม ( Group process) 2. ภาวะผู้น า และคุณลักษณะการเป็นผู้น าที่ดี 3. ระบบหมู่ของลูกเสือ 4. การพัฒนา การท างานในระบบหมู่ให้มีประสิทธิภาพ 5. ภาระหน้าที่ของนายหมู่และสมาชิกภายในหมู่ 6. การพัฒนาระบบหมู่ให้ก้าวหน้า ระบบหมู่และการเป็นผู้น า ระบบหมู่คืออะไร ระบบหมู่คือ หมู่คนจ านวนที่ท างานด้วยกัน หมู่อาจประกอบด้วยคนสองคน หรือหลายคนก็ได้ ประสบการณ์ได้เสนอแนะว่า จ านวน 6 - 8 คน เป็นขนาดปกติของหมู่ ถ้ากลุ่มใหญ่ต้องแบ่งออกเป็นหมู่ย่อย หลายหมู่ คนส่วนมากเป็นสมาชิกของกลุ่มได้อีกหลายกลุ่ม บ้าน ที่โรงเรียน ที่ท างาน ในกรณีของเราในกอง ลูกเสือ ลูกเสือคนหนึ่งอาจเป็นสมาชิกของกลุ่มได้อีกหลายกลุ่ม เช่น เป็นสมาชิกของคณะว่ายน้ า หรือเป็นสมาชิกของกลุ่มเพื่อหกคน ที่ไปไหนมาไหนด้วยกันเสมอ เป็นสมาชิกนักดนตรีของโรงเรียน เป็นคณะกรรมการประจ ากองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ค่อนข้างจะเป็นทางการ พฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่มบุคคลนั้น สามารถกระตุ้น ชี้น า ผลักดัน ให้บุคคลอื่น หรือกลุ่ม บุคคลอื่น มีความ เต็มใจ และกระตือรือร้นในการท าสิ่งต่าง ๆ ตามต้องการ โดยมีความส าเร็จของกลุ่ม หรือองค์การเป็นเป้าหมาย


-2- ภาวะผู้น า (Leadership) ภาวะผู้น า (Leadership) หมายถึง กระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือมากกว่า พยายามใช้อิทธิพล ของตนหรือกลุ่มตน โดยได้รับการยอมรับและยกย่องจากบุคคลอื่นให้เป็นผู้น าในกลุ่มและมีอิทธิพลเหนือ ความส าคัญของภาวะผู้น า การบริหารองค์การ ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีหน้าที่บริหารงานตามภารกิจขององค์การให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่ก าหนด หน้าที่ในการบริหารงานจะเกี่ยวกับกิจกรรมหลายอย่าง เช่น การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การน า (Leading) การควบคุม (Controlling) เป็นต้น องค์ประกอบของภาวะผู้น า ภาวะผู้น านั้นมีปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบหลัก 3 ปัจจัยอันได้แก่ 1. ผู้ น า (Leader) : ห ม า ย ถึงตั วบุค ค ล ที่ น าก ลุ่ม มี บุ ค ลิ ก อุ ป นิ สั ย ลั กษ ณ ะอ ย่ างไร 2. ผู้ตา ม (Followers) : ห ม า ย ถึง บุ ค ค ล ห รื อ ก ลุ่ ม บุ ค ค ล ที่ รั บ อิ ท ธิ พ ล จ า ก ผู้ น า 3. สถานการณ์(Situation) : หมายถึง เหตุการณ์และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ปัจจัยทั้ง 3 ประการข้างต้นนี้จะมีผลต่อรูปแบบของภาวะผู้น าที่แสดงออกมาเป็นที่ทราบกันแล้วว่า ภาวะผู้น าจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลสร้างอิทธิพลอันมีผลการกระท าหรือพฤติกรรมความคิดจิตใจความรู้สึกท าให้ บุคคลเกิดพฤติกรรมไปในทางที่ผู้น าประสงค์ การสร้างอิทธิพลนั้นอาจออกมาได้ในหลายรูปแบบ อาทิ การข่มขู่บังคับการจูงใจ การโน้มน้าวจิตใจ เป็นต้น แต่จากการศึกษาพบว่าการให้อิทธิพลในทางลบ เช่นการบังคับนั้นไม่ก่อให้เกิดผลดีในระยะยาวเพราะการบังคับข่มขู่นั้นเป็นการสร้างความกลัวและ ความกดดันในการท างาน อันจะก่อให้เกิดความไม่พึงพอใจในการท างานได้ นอกจากนี้ ผู้น าต้องสามารถ ชักจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชากล้าแสดงออก กล้าเสี่ยงอย่างมีเหตุผล ไม่กลัวในผลที่จะเกิดขึ้นเพราะหากกลัว หรือคิดแต่เพียงว่าจะเกิดผลเสียจึงไม่กล้าท าการใด ๆ ผลงานก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้เลยผู้น าต้องพยายาม เสริมสร้างบรรยากาศแห่งการสร้างสรรค์การมีความคิดริเริ่มสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เพราะปัญหาหนึ่ง ๆ นั้น มิใช่มีทาง แก้ไขเพียงทางเดียว หากแต่มีหลายวิธีที่จะแก้ไขซึ่งต้องอาศัยการร่วมกันคิด ร่วมกันท า ค้นหาวิธี ที่ดีที่สุด ในส่วนของผู้ตาม (Followers) ผู้น าต้องแสวงหาความเชื่อถือไว้ใจซึ่งกันและกันระหว่างผู้น ากับ ผู้ตาม ผู้น าต้องไว้ใจผู้ตามโดยการให้อ านาจบางส่วนในการด าเนินงานในการตัดสินใจและที่ส าคัญคือ ตัวผู้น า ต้องมีความตั้งใจจริงที่จะท างาน และรู้ให้มากกว่าสมาชิกในกลุ่มหรือผู้ตาม สามารถให้แนวทาง และแก้ไขปัญหาต่าง ๆให้ผู้ตามหรือสมาชิกในกลุ่มได้ด้วยความสามารถดังกล่าวจะช่วยสร้างความมั่นใจ ให้แก่ผู้ตาม ในการที่จะปฏิบัติตาม ยกตัวอย่างเช่น ผู้จัดการท่านหนึ่งเมื่อได้รับต าแหน่งใหม่ ๆ ผู้ใต้บังคับบัญชามีความสงสัยในความสามารถว่าสามารถเข้าใจและให้ค าปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หรือไม่เพราะผู้จัดการใหม่ท่านนี้มาจากธุรกิจที่แตกต่างกันและไม่มีความรู้พื้นฐานในงานด้านนี้เลย


-3- แต่หลังจากที่ท่านผู้จัดการได้ใช้เวลาศึกษาเรียนรู้งานและสามารถให้ค าปรึกษาค าแนะน าที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ได้ ผู้จัดการท่านนี้ก็เป็นที่ยอมรับและได้ความเชื่อถือความเชื่อมั่นจากผู้ใต้บังคับบัญชาและท างานร่วมกัน ได้ประสบความส าเร็จเป็นอย่างดี คุณลักษณะผู้น าที่ดี ริคเคทท์ (Ricketts, 1997, p. 51) กล่าวว่า ผู้น าที่มีคุณภาพและน าไปสู่ความส าเร็จ มี 5 ประการ คือ 1. มีทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ( Human relations skills) ผู้น าหรือผู้บริหารจะต้องยึดมั่น การบริหารด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มั่นคง ต้องมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความมั่นใจในผู้อื่น เป็นแบบอย่างที่ดี ให้กับผู้ร่วมงาน ให้การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ร่วมงานในการบริหารงานและท างานร่วมกันได้อย่างมีความสุข 2. มีทักษะด้านเทคนิคและมนุษย์สัมพันธ์ (Technical human relations skills) ผู้น าหรือ ผู้บริหารต้องมีทักษะด้านเทคนิคและมีมนุษยสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานทั้งภายในและภายนอกองค์กรรวมทั้งบุคคลทั่วไป เป็นผู้ที่มีบุคลิกลักษณะที่ดี มีความเชื่อมั่น ศรัทธาของตัวเองให้เป็นที่ประจักษ์ 3. มีทักษะด้านเทคนิค (Technical skills) ผู้น าหรือผู้บริหารต้องมีการแสดงออกให้เห็นถึง ความสามารถในการบริหารงานในองค์กรได้อย่างดีมีประสิทธิภาพ มีการบริหารงานตามเป้าหมาย และแผนงานที่ได้ก าหนดและประสบผลส าเร็จให้การยอมรับในการปฏิบัติงานที่ผิดพลาดของผู้ร่วมงาน และมีการเสนอแนะวิธีการแก้ไขที่จะก่อให้เกิดความส าเร็จในการปฏิบัติงาน 4. มีทักษะด้านความคิด เทคนิค (Conceptual technical skills) ผู้น าหรือผู้บริหารจะต้อง บริหารโดยใช้สติปัญญาที่เป็นเลิศ ใช้ความคิดไตร่ตรองพิจารณาในการบริหารงานอย่างรอบคอบ ตัดสินใจ มอบหมายงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีความมุ่งมั่นและมีความรับผิดชอบในการบริหารงานเพื่อให้ เกิดผลส าเร็จ 5. มีทักษะด้านความคิด (Conceptual skills) ผู้น าหรือผู้บริหารจะต้องเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ กว้างไกล มีความรอบคอบและหาแนวทางวิธีแก้ไขไว้ล่วงหน้า มีความคิดสร้างสรรค์ ทันต่อความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี มีความคิดกล้าหาญ กล้าตัดสินใจอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ มีแนวคิดของความเป็นผู้น า มีการติดตามผลการด าเนินงานให้เป็นไปอย่างดีมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ การเป็นผู้น าในระบบหมู่ 1. เป็นหลักการท างานแบบประชาธิปไตย ผลงานออกมาจากข้อยุติของหมู่คณะซึ่งเป็นผลมาจาก ความร่วมใจร่วมแรง และร่วมความคิดเห็นกัน งานนี้จะได้ผลดีจัดเป็นแผนงานระยะยาว (Long Term Policy) 2. การสร้างระบบหมู่ให้กระท าดังนี้ - บรรจุเด็กเข้าหมู่ที่มีน้อยคนก่อนอื่น เด็กอื่นจะชอบหรือไม่ยังไม่ต้องค านึงถึง


-4- - ต่อไปพยายามให้สมาชิกในหมู่รักใคร่ฉันพี่น้องเข้ากันได้ถ้าเข้ากันไม่ได้สับเปลี่ยนทันที หมู่ที่ดีควรเป็นหมู่ที่มีความสนใจตรงกันหรือมีวินัยเดียวกัน - อาจจัดเป็นหมู่ถาวรเรื่อยไป แต่บางกรณีอาจแยกหมู่ไปช่วยหมู่ที่เขาสนใจ พิจารณาเรื่องราว ไปก่อนเสร็จแล้วจึงกลับมาประจ าในหมู่ถาวรของตัว 3. การเลือกนายหมู่ อย่ามุ่งแต่จะเลือกคนเก่งอย่างเดียว ทางที่ดีมุ่งเลือกคนที่สมาชิกในหมู่รักใคร่ มีความน่าเชื่อถือและนับถืออย่าค านึงถึงวัยและความล่ าสัน แข็งแรงอย่างเดียว 4. ต้องมีการอบรมนายหมู่ - อบรมให้รู้จักการเป็นผู้น าที่ดีรู้จักขอร้องให้ลูกหมู่ท างานมากกว่าจะออกค าสั่งตลอดเวลา - ถ้ามีปัญหาหนัก ๆ เกิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาในกองต้องรีบช่วยแก้ไข - ผู้น าที่ดีต้องมีงานหลักเป็น 2 เท่า ของผู้ตามเสมอ - พัฒนาตัวนายหมู่ให้เป็นผู้มีทักษะเจตคติที่ดี - ให้นายหมู่เลือกรองนายหมู่เป็นผู้ช่วยเขาเอง ไม่จ าเป็นเสมอไปที่จะเลื่อนรองนายหมู่ไป เป็นนายหมู่ต้องขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเขาเอง - ในการประชุมสภานายหมู่ในกองเล็ก ให้รองนายหมู่เข้าร่วมประชุมด้วย 5. ระบบหมู่จะได้ผลก็ต้องจัดให้มีการป ระชุมของหมู่ทุกหมู่ (Patrol Meeting) ซึ่งเริ่มจาก หน่วยงานเล็กไปสู่หน่วยงานใหญ่ โดยจัดให้มีการประชุมก่อนการประชุมกอง ให้นายหมู่มีบทบาทต่อลูกหมู่ ของเขา และแต่ละหมู่ได้ปรึกษาหารืองานกิจการต่างๆก่อนในการประชุมนี้ ผู้บังคับบัญชาในกองควรเปิด โอกาสให้ประชุมกันบ่อย ๆ จดบันทึกหัวข้อประชุมย่อๆให้นายหมู่ไปด าเนินการพยายามอย่าเข้าไปยุ่ง นอกจากจะเป็นเพียงที่ปรึกษาให้ ข้อแนะน าเท่านั้น 6. ระบบหมู่เป็นการเรียนโดยการกระท า(Learning by Doing) นายหมู่ได้เรียนการเป็นผู้น าจากหน้าที่ ที่ตนได้รับมอบหมาย ลูกหมู่ได้เรียนเรื่องระเบียบวินัยและความจ าเป็นที่ต้องเชื่อฟังผู้สูงอายุ ซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจดีกว่าตน 7. ระบบหมู่เป็นประชาธิปไตย นายหมู่สอนลูกหมู่ให้สนุกสนาน สร้างความสนใจในพวกเดียวกัน โดยป ราศจ ากก ารบังคับ ข่มขู่ ท างานเป็น Team work ป ราศจ ากก ารลงโทษ และก ารให้ รางวัล (No punishment & Reward) 8. การด าเนินงานกองลูกเสือใช้หลักระบบหมู่โดย 8.1 สั่งงานของกองโดยผ่านทางระบบหมู่ ให้นายหมู่ไปสั่งลูกหมู่เอาเอง 8.2 ลูกหมู่ทุกคนต้องเชื่อฟังนายหมู่ 8.3 ความคิดเห็นของสมาชิกแสดงออกโดยผ่านนายหมู่ของตนไปยังผู้บังคับบัญชาในกอง 8.4 จัดให้สภานายหมู่ (Court of Honour)โดยร่วมพิจารณานโยบายกิจกรรม แผนงาน ของกองของตนสภานายหมู่ที่ดีต้องด าเนินงานดังต่อไปนี้


-5- - มอบความรับผิดชอบให้นายหมู่แต่ละหมู่ไป โดยมิให้คิดว่าผู้บังคับบัญชาหรือผู้ก ากับกองใช้ อ านาจเผด็จการคนเดียว - ประชุมบ่อยๆอย่างน้อยเดือนละครั้ง - สอนเด็กให้รู้หลักของการประชุม การอภิปราย และการวินิจฉัยชี้ขาดเรื่องราวที่น ามา ประชุม - เน้นว่าเรื่องที่ประชุมนั้นถือเป็นความลับไว้ก่อน - ปล่อยให้นายหมู่ประชุมกันเอง เลือกประธาน และเลขานุการเอง ผู้บังคับบัญชาเป็นเพียงที่ ปรึกษา - ต้องถือเสียงข้างมากเป็นหลัก - ในกรณีที่จะมีการลงโทษลูกหมู่ ให้น าเรื่องเข้าพิจารณาในที่ประชุมโดยรีบด่วน 9. การจะพัฒนาระบบหมู่ให้ก้าวหน้า จะต้อง 9.1 ต้องอาศัยระยะเวลา (3 ปี) เพราะถือเป็นโครงการระยะยาว 9.2 จงเริ่มต้นอาศัยสิ่งเล็กๆน้อยๆ ขึ้นไปตามล าดับดังนี้ - กิจกรรมในหมู่ หมู่ก็คือกลุ่มคนที่มาร่วมกันท างานโดยมีนายหมู่ รองนายหมู่คอยดูแลใน ฐานะผู้กระท ากิจกรรมที่เกิดประโยชน์ เช่น ระเบียบวินัย เกม การอยู่ค่ายพักแรม การบ าเพ็ญประโยชน์ ฯลฯ ท างานเป็นทีม แข่งขันกันสร้างความดีให้แก่หมู่คณะ ไม่มีการต าหนิติเตียนให้เสียก าลังใจ มีแต่ทางที่จะ ส่งเสริมพัฒนาสร้างประสบการณ์ทัศนคติและทักษะให้ทุกคนในหมู่ การบริการแก่กันและกันก็มีคุณค่าในการ ร่วมกลุ่มกันด้วยดี - เกี่ยวกับตัวนายหมู่ต้องถือว่านายหมู่เป็นคนส าคัญ จึงต้องให้ความไว้วางใจออกค าสั่งผ่าน นายหมู่อย่าวิพากษ์วิจารณ์นายหมู่ต่อสมาชิก สนับสนุนนายหมู่ให้พัฒนาคนสมกับเป็นผู้น าในหมู่ โดยจัดการอบรมนายหมู่ให้รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบรวมถึงความรู้ - ให้น ายหมู่เป็นเสมือนห่ วงโซ่ อย่ าสั่งงานต รงไป ยังลูกหมู่โดยไม่ผ่ านน ายหมู่ เพราะเป็นการท าลายอิทธิพลของนายหมู่เขา ให้นายหมู่เป็นกันเองกับลูกหมู่ - หมั่นไปเยี่ยมเยียนถึงบ้านลูกหมู่ สร้างความคุ้นเคยกับผู้ปกครองลูกหมู่แทนผู้บังคับบัญชา ของตนและให้มีการประสานงานกับหมู่อื่นๆในกองของตน สร้างความสามัคคีธรรมต่อ กองอื่นด้วย 10. กระบวนการลูกเสือเน้นหนักในเรื่องความเป็นพวกเดียวกัน หรือการสร้างสามัคคีธรรมให้เกิดใน หมู่คณะการด าเนินงานกระบวนการลูกเสือไทยเรา ขอได้โปรดศึกษาจากข้อบังคับของคณะกรรมการบริหาร ลูกเสือแห่งชาติให้เข้าใจ (การจัดหมู่-กอง-กลุ่ม) ในขณะนี้สถานการณ์ของบ้านเมืองและโอกาสก าลังวุ่นวายอย่างน่าวิตก ขอได้โปรดน าเอากิจการ ลูกเสือมาเป็นเครื่องแก้ไข เพื่อความอยู่รอดของไทยให้เป็นไทยอยู่ชั่วกาลนาน


- 6- ลักษณะของผู้น าที่ดี 1. วางตัวเป็นผู้เสนอแนะขอร้องให้กระท าตาม ไม่ถือตัวว่าเป็นนายคน 2. ไม่ถือว่าตัวเองเก่งไปเสียทุกประการ แต่ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น 3. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวที่ตนจะน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่หมู่คณะ 4. ต้องเรียนรู้นิสัยใจคอ ความสนใจ และความต้องการของผู้ตามหรือสมาชิกในคณะของตนทุกคน เพื่อสนองตอบในทางที่ควรตามครรลองครองธรรม 5. รู้จักหน้าที่ของผู้น าของตนอยู่ถูกโอกาสและรับผิดชอบต่อหน้าที่ของผู้น าของตนอย่างชนิด ที่ไม่หาทางหลบหลีกเอาตัวรอด 6. เป็นนักบริหารที่ดีคือ 6.1 รู้จักปัญหา 6.2 วางแผนแก้ปัญหานั้นๆ 6.3 น าไปกระท าโดยรู้จักแบ่งงานกันท า ร่วมมือกัน ประสานงานกัน พากันวัดผลงานของ คณะตนความส าคัญอยู่ที่ไม่ท างานคนเดียวทุกอย่างต้องเชื่อความรู้ความสามารถของสมาชิกในคณะของตน 7. พยายามพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ๆ เพื่อให้สามารถที่จะท าให้งานของแต่ละหมู่คณะด าเนินไป สู่จุดหมายได้ทุกๆเรื่อง 8. วางตัวให้เป็นตัวอย่างที่ดี เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจต่อหมู่คณะ สมาชิกในคณะจึงจะให้ความร่วมมือ ด้วยความใจจริง 9. ส่งเสริม สนับสนุน เร่งเร้า สร้างจุดสนใจให้ผู้ตามเพื่อจะได้ร่วมมือกันท างาน 10. ประการส าคัญที่สุดก็คือ น าหมู่คณะของตนให้กระท าตามครรลองครองธรรมของหลัก ประชาธิปไตย มีเหตุ มีผลข้อยุติของหมู่คณะทุกข้อต้องไม่ขัดระเบียบวินัย กฎหมายของบ้านเมือง ศีลธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติบ้านเมือง


บทเรียรี นที่ 13 การพัฒ พั นาที่ยั่ที่ ง ยั่ ยืน ยื


บทเรียนที่ 13 การพัฒนาที่ยั่งยืน การลูกเสือทั่วโลกมีจุดประสงค์ หลักการ วิธีการ และอุดมการณ์เดียวกัน คือ การพัฒนาศักยภาพ บุคคลให้เป็นพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่าง บุคคล และการพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1 การพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความต้องการของบุคคลในการพัฒนาความรู้ความสามารถของตนจากที่เป็นอยู่ให้มี ความรู้ ความสามารถและพัฒนาศักยภาพของตนเองให้เพิ่มขึ้นและดีขึ้นในการพัฒนาทางกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา สังคม ความรู้ อาชีพ และสิ่งแวดล้อม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) การพัฒนาทางกาย หมายถึง การพัฒนาสุขภาพ อนามัย ให้ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงรวมถึง การพัฒนาบุคลิกภาพ กริยาท่าทาง การแสดงออก การใช้น้้าเสียง วาจา การใช้ค้าพูดในการสื่อความหมาย และ การแต่งกายที่สะอาด เหมาะสมกับกาลเทศะ เหมาะกับรูปร่างและผิวพรรณ 2) การพัฒนาทางจิตใจ หมายถึง การพัฒนาเจตคติที่ดี หรือความรู้สึกที่ดี หรือการมองโลกในแง่ดี รวมถึงการพัฒนาสุขภาพจิตของตนเองให้อยู่ในสถานการณ์ที่เป็นปกติ และ เป็นสุข โดยมีคุณธรรมเป็นหลักในการ พัฒนาจิตใจ 3) การพัฒนาทางอารมณ์ หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการควบคุมความรู้สึก นึกคิดการ ควบคุมอารมณ์ที่เป็นโทษต่อตนเองและผู้อื่น โดยมีธรรมะเป็นหลักพัฒนาทางอารมณ์ 4) การพัฒนาทางสติปัญญา หมายถึง การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยการชี้น้าตนเอง การพัฒนา ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การพัฒนากระบวนการทางความคิดเชิงวิเคราะห์การตัดสินใจด้วย ความเฉลียวฉลาดและมีไหวพริบปฏิญาณภูมิคุ้มกันที่ดีในตน และมีวิถีการด้าเนินชีวิตอย่างพอประมาณ และมี เหตุผลที่ดี 5) การพัฒนาทางสังคม หมายถึง การพัฒนาความเป็นพลเมืองดี คิดดีท้าดี มีจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 6) การพัฒนาทางความรู้ หมายถึง การพัฒนาความรอบรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า สามารถน้าเทคโนโลยีที่มีอยู่มาใช้ในชีวิตประจ้าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7) การพัฒนาทางอาชีพ หมายถึง การพัฒนาทักษะฝีมือ ความรู้ความสามารถ ความช้านาญการ ทางอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานโดยการฝึกทักษะฝีมือ 8) การพัฒนาสิ่งแวดล้อม หมายถึง การกระตุ้น และรักษา ตลอดจนแสวงหาแนวทางที่จะท้าให้ สิ่งแวดล้อม มีความยั่งยืน ด้วยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในคุณค่าและการดูแลการรักษา


-2- 2 การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล หมายถึง ความผูกพัน ความเกี่ยวข้อง เป็นกระบวนการ ติดต่อเกี่ยวข้องระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อท้าความรู้จักกัน โดยวัตถุประสงค์ร่วมกันด้วยความเต็มใจ มีความรู้สึกที่ดีต่อกัน อาศัยการแสดงออกทางกายวาจา และใจ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจไม่จ้ากัดแน่นอน สามารถอยู่ร่วมกันและท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันและสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ให้ เกิดขึ้นโดยอาศัยความอดทนในการอยู่ร่วมกันการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลจ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเริ่มที่ ตนเอง ดังนี้ 1) รู้จักปรับตนเองให้มีอารมณ์หนักแน่น ไม่หวาดระแวง ไม่อ่อนแอหรือแข็งกระด้างไม่ เปลี่ยนแปลงหรือผันแปรง่าย 2) รู้จักปรับตนเองให้เข้ากับบุคคล และสถานการณ์ รวมทั้งยอมรับและปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบต่าง ๆ รู้จักบทบาทของตนเอง 3) รู้จักสังเกต รู้จด และรู้จ้า การสังเกตจะช่วยให้เราสามารถเข้ากับทุกคนทุกชั้น ทุกเพศและทุกวัยได้ดี 4) รู้จักตนเองและประมาณตน ช่วยให้คนลดทิฐิ และเห็นความส้าคัญของผู้อื่น ซึ่งช่วยสร้างความ พึงพอใจให้แก่กัน 5) รู้จักสาเหตุและใช้เหตุผลต่อผู้อื่น ช่วยลดความวู่วาม ท้าให้การคบหากันไปด้วยดี 6) มีความมั่นใจในตนเอง และเป็นตัวของตัวเอง 3 การพัฒนาสัมพันธภาพในชุมชนและสังคม การพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในสังคมทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพื่อประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นทั้งด้านที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม สุขภาพอนามัยการศึกษา การมีงานท้า มีรายได้เพียงพอในการครองชีพ ประชาชนได้รับความ เสมอภาคความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทุกขั้นตอนอย่าง มีระบบการพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม จ้าเป็นต้องเริ่มต้นที่ตนเอง ดังนี้ 1) พัฒนาบุคลิกภาพให้ผู้พบเห็นเกิดความชื่นชมและประทับใจด้วยการพูดและกิริยาท่าทาง 2) พัฒนาพฤติกรรมการแสดงออกด้วยความจริงใจ ใจกว้าง ใจดี 3) ให้ความช่วยเหลือเอาใจใส่ในกิจกรรมและงานส่วนรวมด้วยความมีน้้าใจและเสียสละ 4) ให้ค้าแนะน้าหรือเสนอแนะสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 5) ร่วมแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในสังคมให้ดีขึ้น 6) พูดคุยกับทุกคนด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และเป็นมิตรกับทุกคน


-3- 7) ยึดหลักปฏิบัติตามค่านิยมพื้นฐาน คือ การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ ประหยัดและออม มีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ นอกจากนี้ ยังจ้าเป็นต้องพัฒนาสัมพันธภาพต่อสิ่งแวดล้อม โดยการส้ารวจสภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ความสนใจและร่วมมือในการจัดกิจกรรม ตลอดจนการบ้ารุงรักษาให้เกิด ประโยชน์ต่อชนรุ่นหลังส้านักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ได้ก้าหนดแนวทางการพัฒนาลูกเสือ 8 ประการ คือ 1) การพัฒนาทางกาย คือ การจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ออกก้าลังกายอย่างเต็มที่และท้า ให้ร่างกายแข็งแรง เช่น การเล่นเกม การเดินทางไกลอยู่ค่ายพักแรม การฝึกว่ายน้้า เล่นฟุตบอล เป็นต้น ให้เหมาะสมกับ สภาพอนามัยและอายุของเด็ก ไม่ใช่กิจกรรมที่ต้องออกแรงมากเกินไปหรือเป็นกิจกรรมส้าหรับเด็กเล็ก ๆ 2) การพัฒนาทางสติปัญญา คือ การจัดกิจกรรมที่เร้าใจให้ลูกเสือได้ปฏิบัติอันเป็นการกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ วิธีการบางอย่างที่ได้น้ามาใช้ในการพัฒนาทางสติปัญญา ได้แก่ งานประเภทงานฝีมือต่าง ๆ เช่น การประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุเหลือใช้ การท้างานด้วยเครื่องมือ การชุมนุมรอบกองไฟ การแสดงหุ่นกระบอก เป็นต้น 3) การพัฒนาทางจิตใจและศีลธรรม ผู้ก้ากับลูกเสือจะช่วยพัฒนาจิตใจ และศีลธรรมให้แก่ลูกเสือ ได้โดยส่งเสริมให้มีความซาบซึ้งในศาสนา ด้วยการฟังเทศน์ ไหว้พระสวดมนต์ การปฏิบัติศาสนกิจและการไป ท้าบุญท้าทานที่วัด พัฒนาแนวความคิดทางศาสนาเช่น การเชื่อค้าสอนในพระพุทธองค์การเชื่อในอ้านาจลึกลับ บางอย่างที่ดลบันดาลความหวังให้แก่ชีวิต กระตุ้นให้เด็กปฏิบัติตามและเชื่อถือตามพ่อแม่ กิจการลูกเสือสามารถที่ จะเชื่อมโยงกับศาสนาต่าง ๆ ได้ 4) การพัฒนาในเรื่องการสร้างค่านิยมและเจตคติ ผู้ก้ากับลูกเสือต้องพยายามสร้างค่านิยมและ เจตคติที่ดีในสิ่งแวดล้อมทั่วไปให้เด็กเห็น และปลูกฝังลงไปในตัวเด็กโดยการแสดงภาพที่ดีที่มีค่านิยม อภิปราย ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับลูกเสือแต่ละคนหรือกับกลุ่มลูกเสือทุกโอกาส เพื่อว่าลูกเสือจะได้พบด้วยตัวเองว่าค่านิยม เจตคติและมาตรฐานอะไรที่มีคุณค่าอย่างยิ่งยวด 5) การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ผู้ก้ากับจะต้องช่วยเหลือให้ลูกเสือสร้างสัมพันธภาพอย่างฉันท์ มิตรกับผู้อื่นอย่างสม่้าเสมอ นอกจากนั้นก็ให้ลูกเสือได้ทดสอบความสามารถหรือทักษะของเขาในการสร้างสรรค์ ความสัมพันธ์กับผู้ก้ากับลูกเสือและทดสอบความสามารถในการผูกมิตรกับเด็กชายหญิงในวัยเดียวกันกับเขา 6) การพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม ผู้ก้ากับลูกเสือควรตระหนักถึงการพัฒนาสัมพันธภาพทาง สังคมว่า เป็นเสมือนส่วนหนึ่งที่สอดแทรกอยู่ในกิจการของลูกเสือ กลุ่มลูกเสือควรจะมีความสามารถที่จะท้างาน ร่วมกันอย่างกลมเกลียวราบรื่น ลูกเสือควรจะได้เรียนรู้ถึงการให้ความร่วมมือ การให้และการรับแสดงบทบาท


-4- ผู้ก้ากับ และเรียนรู้ถึงการยอมรับในคุณค่าและบุคลิกภาพของบุคคลอื่น ๆ เพราะไม่มีใครจะอยู่ได้อย่างเดียวดาย ระบบหมู่ของลูกเสือจะช่วยให้ลูกเสือแต่ละคนเข้าร่วมกันเป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยบุคคลในรุ่นเดียวกัน และมีความ สนใจคล้ายคลึงกันในสภาพเช่นนี้ ลูกเสือสามารถทดลองทักษะในการท้างานในกลุ่มเล็กๆซึ่งจะมีส่วนช่วยเขาใน อนาคตทั้งที่ท้างานและที่บ้าน 7) การพัฒนาสัมพันธภาพต่อชุมชน คือ ความพร้อมและความสามารถให้บริการแก่ผู้อื่น ผู้บังคับบัญชาควรกระตุ้นให้ลูกเสือได้เข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชนอย่างเข้มแข็งไม่ว่าจะเป็นการบ้าเพ็ญประโยชน์ ประจ้าเฉพาะตัว หรือปฏิบัติการร่วมกันทั้งหมู่ในโครงการบ้าเพ็ญประโยชน์ เจตคติและทักษะดังกล่าวจะเป็นทักษะ ที่มีค่าและส้าคัญ ถ้าในวันหนึ่งลูกเสือได้รับการกระตุ้นให้เป็นผู้ที่มีส่วนช่วยสร้างสรรค์สังคม ชุมชนในสังคมนั้นก็จะ มีความประทับใจในผลงานของลูกเสือ 8) การพัฒนาทางด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม คือ การส่งเสริมให้ลูกเสือได้มีความ เพลิดเพลินกับชีวิตกลางแจ้ง ส่งเสริมให้รู้จักรักธรรมชาติและรักษาธรรมชาติการเรียนรู้เรื่องธรรมชาติเป็นกิจกรรม ที่น้าไปสู่ความส้าเร็จในการลูกเสือ เพราะธรรมชาติให้บทเรียนว่า คนเราสามารถเลี้ยงชีพได้อย่างไร รวมทั้งสอนให้ รู้จักการด้ารงชีวิตตลอดไปจนถึงการแสวงหาความสุขจากชีวิตอีกด้วย ความรู้พิเศษในเรื่องของธรรมชาติเป็นวิธีที่ดี ที่สุดที่จะเปิดดวงจิตและความคิดของเด็กให้รู้คุณค่าความงามของธรรมชาติ เมื่อนิยมไพรได้ฝังอยู่ในดวงจิตของเด็กแล้ว การสังเกต การจดจ้า การอนุมานจะได้รับการพัฒนาขึ้นโดยอัตโนมัติจนกลายเป็นนิสัย อีกประการหนึ่งในปัจจุบันประชากรทั่วโลกได้ตระหนักถึงความต้องการที่จะป้องกันและอนุรักษ์ธรรมชาติทั้งหลาย ทั้งรัฐบาลและองค์การอนุรักษ์ธรรมชาติต่าง ๆ ก้าลังด้าเนินการอย่างเข้มแข็งที่จะให้การศึกษาแก่ประชาชนให้คิด และด้าเนินการรักษาสิ่งแวดล้อมรอบตัวมีวิถีทางอย่างมากมายที่ลูกเสือสามารถปฏิบัติและช่วยเหลือในการอนุรักษ์ ธรรมชาติได้ เช่น การรณรงค์ต่อต้านการทิ้งเศษสิ่งของลงในที่สาธารณะ การท้าความสะอาดทางระบายน้้าการปลูก ต้นไม้ การจัดภาพแสดงการอนุรักษ์ปิดไว้ตามที่สาธารณะ เป็นต้น


บทเรียรี นที่ 14 บทบาทของผู้กำผู้กำ กับ กั กอง ลูก ลู เสือ สืและความต้อ ต้ งการใน การฝึก ฝึ อบรม


บทเรียนที่ 14 บทบาทผู้ก ากับกองลูกเสือและความต้องการในการฝึกอบรม ส ำนักงำนลูกเสือโลกได้น ำเอำวิธีบริหำรงำนแบบประชำธิปไตยมำใช้ในกำรบริหำรกิจกำร ลูกเสือ โดยเปลี่ยนค ำ “ผู้ก ำกับกองลูกเสือ” จำกเดิมที่ใช้ว่ำ “Scout Master” มำใช้ค ำว่ำ “Unit Leader” แทน แต่ในกิจกำรลูกเสือไทยทั้งพระรำชบัญญัติลูกเสือ กฎกระทรวง และข้อบังคับคณะกรรมกำรบริหำร ลูกเสือแห่งชำติ ยังคงใช้ค ำว่ำ “ผู้บังคับบัญชำลูกเสือ” “ผู้ก ำกับกองลูกเสือ” “รองผู้ก ำกับกองลูกเสือ” และ ใช้ค ำภำษำอังกฤษว่ำ “Unit Leader” ในควำมหมำยนี้ ผู้ที่เป็นผู้ก ำกับกองลูกเสือเป็นผู้มีบทบำทส ำคัญที่สุดในกำรพัฒนำลูกเสือต้องยอมรับใน วัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชำติและปฏิบัติตำมวัตถุประสงค์นั้นโดยเคร่งครัด เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้ให้กำร ฝึกอบรมผู้ก ำกับลูกเสือจึงต้องเข้ำใจภำระหน้ำที่ของผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมอย่ำงลึกซึ้ง และให้ควำมส ำคัญกับ กำรฝึกอบรมเป็นพิเศษ บทบาทของผู้ก ากับกองลูกเสือ ผู้ก ำกับกองลูกเสือมีบทบำทที่ส ำคัญ 3 ประกำร คือ 1. มีบทบาทต่องาน งำนในหน้ำที่ของผู้ก ำกับกองลูกเสือ จ ำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ ก. งำนบริหำร ได้แก่ กำรจัดตั้งกลุ่มลูกเสือ ตั้งกองลูกเสือ กำรรับสมัครลูกเสือกำรจัดท ำ ทะเบียน กำรเก็บเงิน ท ำบัญชีรับ - จ่ำยเงินค่ำบ ำรุงลูกเสือ รวมถึงกำรรำยงำนกำรลูกเสือประจ ำปี ข. งำนปกครองบังคับบัญชำ ได้แก่ กำรปกครองบังคับบัญชำลูกเสือในกลุ่มหรือกองลูกเสือ ของตนให้มีวินัย ปลอดภัยและได้รับกำรพัฒนำให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชำติ ค. งำนวิชำกำร ได้แก่งำนฝึกอบรมลูกเสือตำมข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชำติ ว่ำด้วยกำร ปกครอง หลักสูตรและวิชำพิเศษลูกเสือ กำรฝึกอบรมกิจกรรมลูกเสือตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำน กำรสอบเลื่อนชั้น รวมไปถึงกำรสอบวัดผลวิชำพิเศษลูกเสือ รวมไปถึงกำรวำงแผนไปอยู่ค่ำย พักแรม กำรจัดท ำก ำหนดกำรฝึกอบรม และกำรฝึกอบรมนำยหมู่ เป็นต้น 2. มีบทบาทต่อกลุ่ม ค ำว่ำ “กลุ่ม” ในควำมหมำยนี้คือ กองลูกเสือ กลุ่มลูกเสือ ผู้ปกครอง บิดำมำรดำ กลุ่ม บุคคลที่มำเกี่ยวข้องกับกำรกองลูกเสือ กำรที่ผู้ก ำกับลูกเสือมีบทบำทต่อ “กลุ่ม” ก็เพรำะในชีวิตของคนเรำนั้น จะต้องพัวพันจนเองกับกลุ่ม ไม่ว่ำจะเป็นชีวิตในบ้ำนที่ท ำงำนหรือในเวลำสันทนำกำร เรำจะเห็นตัวเอง มีชีวิต อยู่กับกำรท ำงำนร่วมกันกับกลุ่มทั้งสิ้น ชีวิตในกองลูกเสือก็เป็นเช่นนี้เหมือนกัน เพรำะในกองลูกเสือมีกลุ่มผู้ ก ำกับ รองผู้ก ำกับ มีที่ประชุมนำยหมู่และมีหมู่ลูกเสือ บำงครั้งบำงครำวกลุ่มเดียวกันมีเรื่องสนใจแตกต่ำงกัน 3 – 4 คน สนใจเรื่องอย่ำงอื่น ฉะนั้น กลุ่มใหญ่ก็สำมำรถแยกกันเป็นกลุ่มย่อยลงไปอีก ผู้ก ำกับลูกเสือมีภำระที่ จะต้องรักษำกลุ่มให้อยู่รวมกัน มีควำมสำมัคคีกัน ดูแลให้กลุ่มมีควำมสุขและสำมำรถท ำงำนร่วมกันได้


-2- ประสำนกิจกรรมต่ำง ๆ ให้เข้ำด้วยกันผู้ก ำกับลูกเสือจะต้องปฏิบัติภำระควำมรับผิดชอบในประเด็นเหล่ำนี้ ร่วมกับรองผู้ก ำกับอื่น ๆ และพยำยำมส่งเสริมให้ผู้อื่นเป็นผู้น ำส่งเสริมให้ผู้อื่นได้ท ำงำนด้วยตนเอง และ น้อยครั้งมำกที่ผู้ก ำกับจะสั่งให้ท ำ หลักควำมจริงนั้นปุถุชนธรรมดำ ไม่ชอบรับค ำสั่ง แต่พอใจที่จะได้รับ ควำมสนับสนุนให้ท ำงำนที่มีควำมล ำบำกด้วยตนเองผู้ก ำกับกองลูกเสือจะไม่ยอมละทิ้งควำมรับผิดชอบงำนที่มี ต่อกลุ่ม ผู้ก ำกับจะรู้เป็นอย่ำงดีว่ำกลุ่มของตนจะรับผลส ำเร็จอย่ำงไร ถึงแม้ว่ำจะไม่ปรำกฏตัวคอยออกค ำสั่ง อยู่เสมอ 3. มีบทบาทต่อบุคคล ผู้ก ำกับกองลูกเสือจะต้องมีควำมรู้สึกไวต่อปัญหำและควำมรู้สึกของทุกคนในกลุ่ม เพื่อท ำให้ เขำเกิดควำมรู้สึกว่ำเป็นพวกเดียวกัน ท ำให้เห็นว่ำทุกคนมีควำมส ำคัญและมีโอกำสที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรม กำรกระท ำดังนี้เป็นกำรท ำให้เกิดควำมอบอุ่นใจและภรำดรภำพ ลูกเสือใหม่จะซำบซึ้งถึงบรรยำกำศที่มีแต่กำร ต้อนรับครั้งแรกที่ก้ำวเข้ำมำในกอง ถ้ำนำยหมู่มีควำมรู้สึกเหมือนผู้ก ำกับที่รู้จักและเข้ำใจลูกเสือแต่ละคน เป็นอย่ำงดีจะช่วยให้มองเห็นควำมต้องกำรของเด็กแต่ละคน และสำมำรถหำทำงสนองควำมต้องกำรได้ กำรมีบทบำทต่อลูกเสือเป็นรำยบุคคล ก็คือหน้ำที่ที่จะต้องฝึกอบรมบ่มนิสัยลูกเสือให้เป็น พลเมืองดี เพี่อน ำควำมเป็นพลเมืองดีนั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม และกำรพัฒนำลูกเสือเป็นรำยบุคคล เข้ำอยู่ในขอบข่ำยกำรพัฒนำบุคคล 8 ประกำร คือ (1) พัฒนำกำรทำงกำย คือ กำรจัดกิจกรรมที่เปิดโอกำสให้ลูกเสือได้ออกก ำลังกำยอย่ำงเต็มที่ และท ำให้ร่ำงกำยแข็งแรง เช่น กำรเล่นเกม กำรเดินทำงไกลอยู่ค่ำยพักแรม กำรฝึกว่ำยน้ ำ เล่นฟุตบอล เป็นต้น ให้เหมำะสมกับสภำพอนำมัยและอำยุของเด็ก ไม่ใช่กิจกรรมที่ต้องออกแรงมำกเกินไปหรือเป็นกิจกรรมส ำหรับ เด็กเล็ก ๆ (2) พัฒนำกำรทำงสติปัญญำ ก็คือกำรจัดกิจกรรมที่เร้ำใจให้ลูกเสือได้ปฏิบัติอันเป็นกำร กระตุ้นให้เด็ก เกิดควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์วิธีกำรบำงอย่ำงที่ได้น ำมำใช้ในกำรพัฒนำทำงสติปัญญำ ได้แก่ งำนประเภทงำนฝีมือต่ำง ๆ เช่น กำรประดิษฐ์สิ่งของจำกวัสดุเหลือใช้กำรท ำงำนด้วยเครื่องมือ กำรชุมนุม รอบกองไฟ กำรแสดง หุ่นกระบอก เป็นต้น (3) พัฒนำกำรทำงจิตใจและศีลธรรม ผู้ก ำกับลูกเสือจะช่วยพัฒนำจิตใจและศีลธรรมให้แก่ ลูกเสือได้ โดยส่งเสริมให้มีควำมซำบซึ้งในศำสนำ ด้วยกำรฟังเทศน์ไหว้พระ สวดมนต์กำรปฏิบัติศำสนกิจ และกำรไปท ำบุญท ำทำนที่วัด พัฒนำแนวควำมคิดทำงศำสนำ เช่น กำรเชื่อค ำสอนในพระพุทธองค์กำรเชื่อใน อ ำนำจลึกลับ บำงอย่ำงที่ดลบันดำลควำมหวังให้แก่ชีวิต กระตุ้นให้เด็กปฏิบัติตำมและเชื่อถือตำมพ่อแม่กิจกำร ลูกเสือสำมำรถที่จะเชื่อมโยงกับศำสนำต่ำงๆ ได้


-3- (4) กำรสร้ำงค่ำนิยมและเจตคติ ผู้ก ำกับลูกเสือต้องพยำยำมสร้ำงค่ำนิยมและเจตคติที่ดี ในสิ่งแวดล้อมทั่วไปให้เด็กเห็น และปลูกฝังลงไปในตัวเด็กโดยกำรแสดงภำพที่ดีที่มีค่ำนิยม อภิปรำยปัญหำ ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นกับ ลูกเสือแต่ละคน หรือกับกลุ่มลูกเสือทุกโอกำส เพื่อว่ำลูกเสือจะได้ค้นพบด้วยตนเองว่ำ ค่ำนิยม เจตคติและมำตรฐำนอะไรที่มีคุณค่ำอย่ำงยิ่งยวด (5) พัฒนำกำรทำงด้ำนสัมพันธ์ภำพระหว่ำงบุคคล ควำมสำมำรถที่จะติดต่อสัมพันธภำพกับ สมำชิกนั้นเป็นส่วนหนึ่งของทักษะของผู้ก ำกับที่จะต้องช่วยเหลือให้ลูกเสือสร้ำงสัมพันธภำพอย่ำงฉันท์มิตรกับ ผู้อื่นอย่ำงสม่ ำเสมอ นอกจำกนั้นก็ให้ลูกเสือได้ทดสอบควำมสำมำรถหรือทักษะของเขำในกำรสร้ำง ควำมสัมพันธ์กับผู้ก ำกับกองลูกเสือ และทดสอบควำมสำมำรถในกำรผูกมิตรกับเด็กชำยหญิงในวัยเดียวกันกับเขำ (6) พัฒนำกำรทำงด้ำนสัมพันธภำพทำงสังคม ผู้ก ำกับกองลูกเสือควรตระหนักถึงกำรพัฒนำ ทำงสัมพันธภำพว่ำเป็นเสมอส่วนหนึ่งที่สอดแทรกอยู่ในกิจกำรของลูกเสือ กลุ่มลูกเสือควรจะมีควำม สำมำรถที่ จะท ำงำนร่วมกันอย่ำงกลมเกลียวรำบรื่น ลูกเสือควรจะได้เรียนรู้ถึงกำรให้ควำมร่วมมือกำรให้และกำรรับ กำร แสดงบทบำทผู้ก ำกับ และเรียนรู้ถึงกำรยอมรับในคุณค่ำและบุคลิกภำพของบุคคลอื่นๆ เพรำะไม่มีใครจะอยู่ ได้อย่ำงเดียวดำย ระบบหมู่ของลูกเสือจะช่วยให้ลูกเสือแต่ละคนเข้ำร่วมกันเป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยบุคคล ในรุ่นเดียวกัน และมีควำมสนใจคล้ำยคลึงกันในสภำพเช่นนี้ลูกเสือสำมำรถทดลองทักษะในกำรท ำงำน ในกลุ่มเล็กๆ ซึ่งจะมีส่วนช่วยเขำในอนำคตทั้งที่ท ำงำนและที่บ้ำน (7) พัฒนำกำรทำงด้ำนสัมพันธภำพต่อชุมชน ก็คือ ควำมพร้อมและควำมสำมำรถให้บริกำร แก่ผู้อื่น ผู้ก ำกับกองลูกเสือควรกระตุ้นให้ลูกเสือได้เข้ำไปมีส่วนร่วมในชุมชนอย่ำงเข้มแข็ง ไม่ว่ำจะเป็น กำรบ ำเพ็ญประโยชน์ประจ ำเฉพำะตัว หรือปฏิบัติกำรร่วมกันทั้งหมู่ในโครงกำรบ ำเพ็ญประโยชน์ เจตคติและ ทักษะดังกล่ำวจะเป็นทักษะที่มีค่ำและส ำคัญ ถ้ำในวันหนึ่งลูกเสือได้รับกำรกระตุ้นให้เป็นผู้ที่มีส่วน ช่วยสร้ำงสรรค์สังคม ชุมชนในสังคมนั้นก็จะมีควำมประทับใจในผลงำนของลูกเสือ (8) พัฒนำกำรทำงด้ำนควำมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม หรือกำรส่งเสริมให้ลูกเสือได้มี ควำมเพลิดเพลินกับชีวิตกลำงแจ้ง ส่งเสริมให้รู้จักรักธรรมชำติและรักษำธรรมชำติกำรเรียนรู้เรื่องธรรมชำติ เป็นกิจกรรมที่น ำไปสู่ควำมส ำเร็จในกำรลูกเสือ เพรำะธรรมชำติให้บทเรียนว่ำคนเรำจะสำมำรถเลี้ยงชีพได้ อย่ำงไร รวมทั้งสอนให้รู้จักกำรด ำรงชีวิตตลอดไปจนถึงกำรแสวงหำควำมสุขจำกชีวิตอีกด้วย ควำมรู้พิเศษ ในเรื่องของธรรมชำติเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะเปิดดวงจิตและควำมคิดของเด็กให้รู้คุณค่ำควำมงำมของธรรมชำติ เมื่อกำรนิยมไพรได้ฝังอยู่ในดวงจิตของเด็กแล้วกำรสังเกต กำรจดจ ำ กำรอนุมำนจะได้รับกำรพัฒนำขึ้น โดยอัตโนมัติจนกลำยเป็นนิสัย


-4- อีกประกำรหนึ่ง ในปัจจุบันประชำกรทั่วโลกได้ตระหนักถึงควำมต้องกำรที่จะป้องกันและอนุรักษ์ธรรมชำติ ทั้งหลำย ทั้งรัฐบำลและองค์กำรอนุรักษ์ธรรมชำติต่ำงๆ ก ำลังด ำเนินกำรอย่ำงเข้มแข็งที่จะให้กำรศึกษำแก่ ประชำชนให้คิดและด ำเนินกำรรักษำสิ่งแวดล้อมรอบตัว มีวิถีทำงอย่ำงมำกมำยที่ลูกเสือสำมำรถปฏิบัติและ ช่วยเหลือในกำรอนุรักษ์ธรรมชำติได้เช่น กำรรณรงค์ต่อต้ำนกำรทิ้งเศษสิ่งของลงในที่สำธำรณะ กำรท ำควำม สะอำดทำงระบำยน้ ำ ปลูกต้นไม้จัดภำพแสดงกำรอนุรักษ์ปิดไว้ตำมที่สำธำรณะ เป็นต้น หน้าที่ของผู้ก ากับ บทบำทของผู้ก ำกับกองลูกเสือมีเช่นไร ผู้ก ำกับกองลูกเสือก็ต้องมีหน้ำที่ที่จะท ำงำนนั้นๆ ให้ สมกับบทบำทที่มีอยู่ อย่ำงไรก็ดีหน้ำที่ส ำคัญเป็นหลักใหญ่ ๆ ของผู้บังคับบัญชำลูกเสือมีดังต่อไปนี้ ผู้อ านวยการลูกเสือโรงเรียน (1) ปกครอง บังคับบัญชำบุคลำกรทำงกำรลูกเสือและลูกเสือทุกคนในสถำนศึกษำนั้น (2) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนำกำรด ำเนินกิจกำรลูกเสือของสถำนศึกษำให้เป็นไปตำม นโยบำย ข้อบังคับ ระเบียบ หรือประกำศของคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติและกระทรวงศึกษำธิกำร (3) ปฏิบัติตำมนโยบำย ค ำสั่งหรือค ำแนะน ำของผู้บังคับบัญชำล ำดับสูงขึ้นไป (4) ก ำกับ ควบคุม ดูแล แนะน ำ ให้ค ำปรึกษำกำรด ำเนินงำนของลูกเสือทุกประเภทใน สถำนศึกษำของตนให้เป็นไปตำมกฎหมำย ข้อบังคับ ระเบียบ และแบบธรรมเนียมของลูกเสือ (5) ส่งเสริมกำรรักษำวินัยของบุคลำกรทำงกำรลูกเสือและลูกเสือในสถำนศึกษำ (6) เสนอขอแต่งตั้งหรือจ ำหน่ำยผู้บังคับบัญชำลูกเสือ กรรมกำรลูกเสือหรือเจ้ำหน้ำที่ลูกเสือ สังกัดกลุ่มหรือกองลูกเสือในสถำนศึกษำ (7) จัดให้มีกำรประชุมบุคลำกรทำงกำรลูกเสือในสังกัดสถำนศึกษำอย่ำงน้อยภำคเรียนละครั้ง (8) สรุปและรำยงำนกำรเงินและกิจกำรลูกเสือของสถำนศึกษำประจ ำปี รองผู้อ ำนวยกำรลูกเสือโรงเรียนมีหน้ำทีเป็นผู้ช่วยผู้อ ำนวยกำรลูกเสือโรงเรียนและน ำหน้ำที่ แทนผู้อ ำนวยกำรลูกเสือโรงเรียน เมื่อผู้อ ำนวยกำรลูกเสือโรงเรียนไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้ ผู้ก ากับกลุ่มลูกเสือ (1) ปกครอง บังคับบัญชำบุคลำกรทำงกำรลูกเสือและลูกเสือทุกคนในกลุ่มลูกเสือนั้น (2) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนำกำรด ำเนินกิจกำรลูกเสือของกลุ่มลูกเสือให้เป็นไปตำม นโยบำย ข้อบังคับ ระเบียบหรือประกำศของคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติและกระทรวงศึกษำธิกำร (3) ปฏิบัติตำมนโยบำย ค ำสั่งหรือค ำแนะน ำของผู้บังคับบัญชำล ำดับสูงขึ้นไป (4) ก ำกับ ควบคุม แนะน ำ ให้ค ำปรึกษำกำรด ำเนินงำนของกองลูกเสือทุกประเภทในกลุ่ม ลูกเสือของตนให้เป็นไปตำมกฎหมำย ข้อบังคับ ระเบียบและแบบธรรมเนียมของลูกเสือ


-5- (5) ส่งเสริมกำรรักษำวินัยของบุคลำกรทำงกำรลูกเสือและลูกเสือในกลุ่มลูกเสือของตน (6) เสนอขอแต่งตั้งหรือจ ำหน่ำยผู้บังคับบัญชำลูกเสือ กรรมกำรลูกเสือหรือเจ้ำหน้ำที่ลูกเสือ สังกัดกลุ่มของตน (7) จัดให้มีกำรประชุมบุคลำกรทำงกำรลูกเสือในสังกัดกลุ่มลูกเสือทุกสำมเดือนเป็นอย่ำงน้อย (8) สรุปและรำยงำนกำรเงินและกิจกำรลูกเสือประจ ำปี รองผู้ก ำกับกลุ่มลูกเสือ มีหน้ำที่เป็นผู้ช่วยผู้ก ำกับกลุ่มลูกเสือและท ำหน้ำที่แทน ผู้ก ำกับกลุ่มลูกเสือ เมื่อผู้ก ำกับกลุ่มลูกเสือไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้ ผู้ก ากับกองลูกเสือ (1) ปกครอง บังคับบัญชำและรับผิดชอบกิจกำรลูกเสือในกองของตน (2) ด ำเนินกำรจัดกิจกรรมลูกเสือของกองลูกเสือให้เป็นไปตำมนโยบำย ข้อบังคับ ระเบียบ หรือประกำศของคณะกรรมกำรบริหำรลูกเสือแห่งชำติและกระทรวงศึกษำธิกำร (3) ปฏิบัติตำมนโยบำย ค ำสั่งหรือค ำแนะน ำของผู้บังคับบัญชำและหรือผู้ก ำกับกลุ่มลูกเสือ (4) ฝึกอบรมนำยหมู่ลูกเสือและลูกเสือ (5) ควบคุมและดูแลกำรรักษำวินัยของลูกเสือในกองลูกเสือนั้น (6) เสนอขอแต่งตั้งหรือจ ำหน่ำยกรรมกำรลูกเสือหรือเจ้ำหน้ำที่ลูกเสือสังกัดกองลูกเสือของตน (7) เป็นที่ปรึกษำในกำรประชุมนำยหมู่ลูกเสือ (8) จัดให้มีกำรประชุมนำยหมู่ลูกเสือและประชุมภำยในกองลูกเสือทุกสองเดือนเป็นอย่ำงน้อย (9) สรุปและรำยงำนกิจกำรลูกเสือประจ ำปี รองผู้ก ำกับกองลูกเสือ มีหน้ำที่เป็นผู้ช่วยผู้ก ำกับกองลูกเสือและท ำหน้ำที่แทน ผู้ก ำกับกองลูกเสือ เมื่อผู้ก ำกับกองลูกเสือไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้ นายหมู่ลูกเสือ (1) บังคับบัญชำ และรับผิดชอบกำรด ำเนินงำนในหมู่ลูกเสือ (2) วำงแผนปฏิบัติกิจกรรมของหมู่ร่วมกับผู้ก ำกับกองลูกเสือ (3) ฝึกอบรมลูกเสือในหมู่ของตน (4) ควบคุมและดูแลกำรรักษำวินัยของลูกเสือในหมู่นั้น (5) เป็นสมำชิกในกำรประชุมนำยหมู่ (6) เป็นประธำนในกำรประชุมภำยในหมู่ (7) ปฏิบัติตำมค ำสั่งหรือค ำแนะน ำของผู้ก ำกับกองลูกเสือ


-6- ความรับผิดชอบของผู้ก ากับกองลูกเสือ ผู้ก ำกับกองลูกเสือต้องรับผิดชอบต่องำนในหน้ำที่ รับผิดชอบต่อกลุ่มลูกเสือและรับผิดชอบ ต่อลูกเสือเป็นรำยบุคคล ยิ่งกว่ำนี้ควำมรับผิดขอบของผู้ก ำกับลูกเสือจะต้องเพิ่มขึ้น และต้องรู้ถึงควำมจ ำเป็น ในกำรป้องกันอันตรำยที่อำจเกิดขึ้นได้เมื่อผู้ก ำกับได้น ำลูกเสือออกไปปฏิบัติกิจกรรมกลำงแจ้ง และโดยเฉพำะ ด้ำนผจญภัย ซึ่งแยกได้เป็น ก. เดินทำงไกลในถิ่นอันตรำย ข. กิจกรรมทำงน้ ำ ค. กิจกรรมด้ำนบุกเบิก ในกรณีเช่นนี้กองลูกเสืออำจมีควำมจ ำเป็นที่จะท ำประกันภัยให้แก่ลูกเสือที่เกี่ยวข้องด้วย ควำมต้องกำรในกำรฝึกอบรมของผู้ก ำกับกองลูกเสือ เมื่อบุคคลได้เข้ำมำเป็นผู้ก ำกับกองลูกเสือและรู้ว่ำมีบทบำท หน้ำที่ และควำมรับผิดชอบ อย่ำงไร ก็จะเกิดควำมรู้สึกขึ้นมำทันทีว่ำ ตัวเองมีภำระหน้ำที่ที่ต้องรับผิดชอบมำก และเพื่อจะได้ปฏิบัติหน้ำที่ ให้ได้ผลดีที่สุด ผู้ก ำกับกองลูกเสือจึงมีควำมจ ำเป็นที่จะต้องศึกษำหำควำมรู้และทักษะให้เชี่ยวชำญกำรที่จะ ได้รับควำมรู้เกี่ยวกับวิชำกำรลูกเสือต่ำงๆ จนเกิดทักษะในกำรท ำงำนนั้นก็โดยกำรเข้ำรับกำรฝึกอบรม ส ำนักงำนลูกเสือโลกได้ระบุควำมต้องกำรในกำรฝึกอบรมของผู้บังคับบัญชำลูกเสือ ซึ่งเรียก เป็นภำษำอังกฤษว่ำ “Training Needs” ไว้5 ประกำร โดยใช้ค ำย่อว่ำ “URSPI” 1. ความเข้าใจเรื่องกิจการลูกเสือ ( Understanding ) คือควรรู้และเข้ำใจว่ำกิจกำรลูกเสือ เป็นมำอย่ำงไร มีหลักกำรอย่ำงไร พยำยำมจะท ำอะไร และจะท ำสิ่งนั้นอย่ำงไร 2. ทักษะเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ ( Relationship skills ) หัวข้อนี้เกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำน ร่วมกับคนอื่น ทั้งในและนอกวงกำรลูกเสือ มีควำมสำมำรถในกำรติดต่อสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ 3. ทักษะเกี่ยวกับวิชาการลูกเสือ ( Scouting Skills ) หัวข้อนี้เกี่ยวกับทักษะภำคปฏิบัติ ที่ผู้ก ำกับลูกเสือต้องมีเพื่อว่ำจะได้น ำไปใช้กับลูกเสือของตนได้เช่น วิชำต่ำง ๆ ในหลักสูตร กำรอยู่ค่ำยพัก แรม กำรส ำรวจ และกิจกรรมเฉพำะทำง 4. ทักษะเกี่ยวกับการวางแผน ( Planning Skills ) ภำยใต้หัวข้อนี้ผู้ก ำกับลูกเสือจะต้อง เรียนรู้ในวิธีกำรวำงแผน ทั้งกำรวำงแผนระยะยำวและระยะสั้น กำรท ำก ำหนดกำรฝึกอบรมประจ ำปี ประจ ำภำคเรียน ประจ ำสัปดำห์ รวมทั้งกำรวำงแผนส ำหรับกิจกรรมอื่นๆ เช่น กำรอยู่ค่ำยพักแรม และทักษะ อย่ำงอื่นที่สำมำรถอยู่ภำยใต้หัวข้อนี้ได้


-7- 5. ทักษะเกี่ยวกับการน าไปใช้( Implementing ) หัวข้อนี้เกี่ยวข้องกับกำรน ำทักษะทั้ง 4 ประกำรที่กล่ำวข้ำงต้นไปใช้เพื่อที่จะท ำให้กิจกำรลูกเสือด ำเนินไปได้เช่น กำรหำแหล่งทรัพยำกรสนับสนุน กำรด ำเนินงำน กำรบริหำรงำน กำรหำงบประมำณ กำรท ำระเบียบต่ำง ๆ กำรฝึกอบรมลูกเสือโดยเฉพำะอย่ำง ยิ่งคือกำรอบรมนำยหมู่ลูกเสือ กำรสนองควำมต้องกำรในกำรฝึกอบรมดังกล่ำวนี้ผู้ก ำกับลูกเสือท ำได้โดยวิธีกำร 5 ประกำร คือ 1. กำรฝึกฝนตนเอง ( Self – Training /Self Development) 2. กำรศึกษำจำกกำรสอบถำมผู้มีควำมรู้( Personal Support Training) 3. กำรเข้ำรับกำรฝึกอบรมในปฏิบัติกำรลูกเสือโดยตรง ( Training Studies) 4. กำรฝึกอบรมอย่ำงไม่เป็นทำงกำร (Informal Training) 5. กำรฝึกอบรมอย่ำงเป็นทำงกำร (Formal Course)


บทเรียรี นที่ 15 การสื่อ สื่ ความหมาย


บทเรียนที่ 15 การสื่อความหมาย ในชีวิตประจ ำวัน มีกำรสื่อควำมหมำยอยู่แล้ว โดยมีกำรสนทนำหรือแสดงท่ำทำงประกอบเพื่อให้ คู่สนทนำมีควำมเข้ำใจตรงกัน ยิ่งในหน่วยงำนยิ่งมีกำรสื่อควำมหมำยตลอดเวลำ ไม่ว่ำจะเป็นกำรโต้ตอบ หนังสือรำชกำร กำรบันทึกเสนอผู้บังคับบัญชำ กำรประชุม กำรอธิบำย วิธีกำรปฏิบัติงำน ตลอดจนกำรเขียน ระเบียบ ข้อบังคับ ค ำสั่ง ค ำชี้แจง ก็คือกำรสื่อควำมหมำย ในทำงลูกเสือนั้น ยิ่งมีกำรสื่อควำมหมำยมำกขึ้น มีท่ำทำงประกอบ เช่น กำรฝึกระเบียบแถวมีค ำสั่ง ค ำบอก สัญญำณนกหวีด สัญญำณมือ ในกำรเรียกแถว เป็นต้น ผู้อ ำนวยกำรฝึกอบรมยิ่งจะต้องสื่อควำมหมำยต่อคณะวิทยำกร ต่อผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมเพื่อให้เข้ำใจ และปฏิบัติได้ตรงกัน จึงต้องควรทรำบหลักเกณฑ์และวิธีกำรสื่อควำมหมำย กำรสื่อควำมหมำย คือ ขบวนกำรส ำคัญขบวนกำรหนึ่งที่ผู้ส่งต้องกำรส่งข้อควำมหรือสัญญำณใด ๆ ไปให้ถึง ผู้รับ จะด้วยวิธีกำรใดๆ ก็ตำมที่ท ำให้ผู้รับสามารถ เห็น, ได้ยิน , หรือ สัมผัส แล้วมีควำมเข้ำใจตรง กับที่ผู้ส่งต้องกำรและสำมำรถสนองตอบได้ตำมเป้ำหมำยที่ผู้ส่งต้องกำรหรือตั้งเป้ำหมำยไว้ ซึ่งในกิจกำรลูกเสือได้เห็นควำมส ำคัญและน ำมำเป็นวิธีกำรสอนวิธีกำรหนึ่งในกำรฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชำลูกเสือ ปัจจุบันนี้วิทยำกรของโลกได้มีกำรพัฒนำขึ้นทุกสำขำ โดยเฉพำะเครื่องมือสื่อสำรได้น ำเทคโนโลยี ใหม่ๆ มำพัฒนำขึ้นเป็นอย่ำงมำก เพื่อให้เกิดควำมสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภำพสูงสุดในกำรสื่อสำร กำรสื่อควำมหมำยมีลักษณะส ำคัญ 2 ประกำรคือ 1. ผู้ส่งบอกแจ้งหรือถ่ำยทอดเรื่องไปถึงผู้รับ 2. ผู้รับสนองตอบต่อเรื่องนั้น ตำมที่เขำคิดเห็น องค์ประกอบของการสื่อความหมาย ผู้ส่ง..................................................... สำร.............................................ผู้รับ Sender Media Receive ( ช่องทำงที่จัดส่ง channel ) ประเภทของการสื่อความหมาย 1. โดยวิธีเขียนหรือพูด 2. โดยวิธีท ำท่ำทำง 3. โดยสัญญำณต่ำง ๆ ( Sign Language ) เช่น คนหูหนวก คนใบ้ โดยปกติกำรสื่อควำมหมำยท ำผ่ำนประสำททั้ง 5 มีกำรฟัง กำรเห็น กำรดมกลิ่น กำรชิมรส และ กำรสัมผัสอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดหรือหลำยอย่ำงพร้อมกัน


-2- ปัจจัยที่ท าให้การสื่อความหมายมีประสิทธิภาพ 1. ทักษะในกำรสื่อสำร 2. ทัศนคติ 3. ควำมรู้ 4. สถำนภำพทำงสังคมและวัฒนธรรม 5. ปัจจัยของสำร (รหัสสำร, เนื้อหำ,เวลำ) 6. ปัจจัยสื่อ อุปสรรคในการสื่อความหมาย - ภำษำ - กำรอ่ำนหนังสือไม่ออก - กำรไม่ตั้งใจฟังหรืออ่ำน - ควำมล ำเอียง (Prejudices) - ควำมเกลียดชัง - ผลประโยชน์ขัดกัน - สิ่งรบกวน เช่น เสียงดัง - เวลำไม่เพียงพอ ความสลับซับซ้อนของการสื่อความหมาย เพื่อที่จะให้กำรสื่อควำมหมำยมีควำมชัดเจนแจ่มใส เข้ำใจง่ำยแก่ผู้รับได้มีกำรเน้นหนักให้มีทักษะ ในกำรเขียน กำรพูด กำรอ่ำน ตลอดจนกำรฟัง ทักษะเหล่ำนี้มีควำมส ำคัญมำก กำรเขียน กำรพูดอย่ำงรัดกุม แจ่มชัด ถูกต้อง ละเอียดถี่ถ้วน ท ำให้กำรสื่อควำมหมำยมีควำมสะดวกและได้ผลดี ควำมผิดพลำดที่เกิดขึ้นโดยมำกมำจำกกำรใช้ถ้อยค ำผิดท ำให้เข้ำใจไปคนละอย่ำงบำงครั้งเกิดขึ้น เพรำะควำมไม่สนใจหรือไม่ตั้งใจฟังว่ำผู้พูดพูดว่ำอะไร ท ำให้ประเด็นส ำคัญของผู้พูดขำดหำยไป


บทเรียรี นที่ 16 หลัก ลั การสอนและการเรียรี นรู้


ขั้นที่ 2 ความรู้ ความเข้าใจ ตัว เด็กและสิ่งแวดล้อม ก่อนน าไปสู่ พฤติกรรมการสอน ขั้นที่3 วิธีสอน หรือวิธี ฝึกอบรมแบบต่างๆ การสะท้อน ขั้นที่4 การประเมินผล การสอนหรือการ ฝึกอบรม ขั้นที่1 จุดมุ่งหมายการ สอนหรือการ ฝึกอบรม บทเรียนที่ 16 หลักการสอนและการเรียนรู้ หลักการสอนและการเรียนรู้เบื้องต้น ค าจ ากัดความ “ การสอน ” คือการถ่ายทอด การอภิปราย การบรรยาย การฝึก การสาธิต การแนะน าวิชาความรู้และการแก้ปัญหา ( จาก Oxford Dictionary ) วิธีการสอนและการฝึกอบรมนั้นมีหลายวิธีขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย สภาพเนื้อหาวิชา ปัญหา สิ่งแวดล้อม เวลาและทฤษฎีซึ่งสนับสนุนการสอนและการฝึกอบรมแบบนั้น ๆ ขั้นของขบวนการสอนพื้นฐานประกอบด้วยขั้นที่ส าคัญ 4 ขั้น คือ 1. ก าหนดจุดมุ่งหมายการสอนหรือการฝึกอบรม 2. ความรู้ความเข้าใจตัวเด็กและสิ่งแวดล้อมก่อนน าไปสู่พฤติกรรมการสอน 3. วิธีสอนหรือวิธีฝึกอบรมต่าง ๆ 4. การประเมินผลการสอนหรือการฝึกอบรม ขั้นที่หนึ่ง ก าหนดจุดมุ่งหมายการสอนหรือการฝึกอบรม คือ ผลซึ่งเด็กหรือผู้เข้ารับการอบรม จะได้หลังจากการสอนหรือการฝึกอบรมแล้ว ขั้นที่สอง ความรู้ความเข้าใจตัวเด็กและสิ่งแวดล้อม ก่อนน าไปสู่พฤติกรรมการสอน คือ การเรียนรู้ จิตวิทยาส าหรับเด็ก วัยของเด็ก พัฒนาการของเด็ก เหตุจูงใจ ความสามารถ ความพร้อม ระหว่างบุคคล รวมไปถึงสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีความเป็นอยู่ฯลฯ ขั้นที่สาม วิธีสอนห รือวิธีฝึกอบ รมแบบต่าง ๆ เป็นเรื่องของครูหรือผู้ให้การฝึกอบ รม จะต้องตัดสินใจว่าจะใช้วิธีสอนหรือฝึกอบรมวิธีใด จึงจะท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถาวร ของผู้เรียน วิธีสอนก็จะแตกต่างกันไปตามจุดมุ่งหมายการสอนส าหรับผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับ ลูกเสือ ( A.L.T.C.) ส านักงานลูกเสือโลกเสนอวิธีฝึกอบรม10 วิธี คือ


-2- 1. การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) 2. การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz Group) 3. การบรรยาย (Lecture) 4. การระดมสมอง (Brainstorming) 5. การสาธิต (Demonstration) 6. ระบบฐานหรือการสอนแบบฐาน (Base Method) 7. การสวมบทบาท (Role Playing) 8. การแบ่งกลุ่มปฏิบัติงานตามโครงการ (Project Work Group) 9. การศึกษารายกรณี (“ Case Study ” Method) 10. การอภิปรายเป็นคณะ (Pannel Method) ขั้นที่สี่ ประเมินผลการสอนหรือการฝึกอบรม ประกอบด้วยการทดสอบต่างๆ การสังเกต ฯลฯ เพื่อดูว่าเด็กเรียนได้ผลส าเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้เพียงใด ขั้นตอนของวิธีสอนแบบหนึ่งซึ่งส านักงานลูกเสือโลกเสนอ คือ ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมหรือขั้นน า (Introduction) ขั้นที่ 2 ขั้นสอนหรือขั้นเสนอ (Presentation) ขั้นที่ 3 ขั้นสาธิต (Demonstration) ขั้นที่ 4 ขั้นทบทวน (Review) ขั้นที่ 5 ขั้นท าแบบฝึกหัดหรือขั้นปฏิบัติ(Practice) ขั้นที่ 6 ขั้นทดสอบหรือประเมินผล (Test) หลักการเรียนรู้เบื้องต้น (Primary Learning Principles) ค าจ ากัดความ “ การเรียนรู้” คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมถาวร อันเป็นผลเนื่องจาก ประสบการณ์การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในตัวผู้เรียนหรือผู้รับการฝึกอบรมนั้น จะเปลี่ยนในด้านสมอง (Cognitive Behaviors) ท างด้ าน ร่ างก า ย (Psychomotor Behaviors) แ ล ะ ท างด้ าน อ า รม ณ์ และความรู้สึก (Affective Behaviors) การเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านสมอง ได้แก่ ความคิด การหาเหตุผล การแก้ปัญหา ความจ า มโนภาพการเรียน และหลักการต่างๆ รวมถึงความเข้าใจและความรู้จักใช้หลักการดังกล่าวให้สอดคล้องกับ ประสบการณ์ใหม่เพื่อมาใช้ประโยชน์ต่อไป ฯลฯ การเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านร่างกาย คือ การใช้สวนต่างๆ ของร่างกายเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ เช่น การเดิน การคัดลายมือ การพิมพ์หนังสือ การเล่นกีฬา และการพูด ฯลฯ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านอารมณ์หรือความรู้สึก ได้แก่ การเปลี่ยนในเรื่องอารมณ์ ค่านิยม ความสนใจ เหตุจูงใจ เจตคติฯลฯ


1.ความรู้ การนา ไปใช้ 2.ทกัษะ ทกัษะ 3.เจตคติ 3.เจตคติ ตคติ สอื่ความหมาย หมาย 4. ความเขา้ใจ 5. การนา ไปใช้ -3- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างของร่างกายไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้เช่น การตอบสนองของร่างกาย ซึ่งติดมากับมนุษย์โดยก าเนิดหรือโดยธรรมชาติเช่น การขยิบตาการหายใจความกลัวการเจ็บป่วยซึ่งครั้งหนึ่ง เราเคยเรียกสิ่งเหล่านี้ว่า สัญชาติญาณ นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมบางอย่างที่ไม่เกิดผลจากการเรียน เช่น ภาวะ ถึงสุดขีด ความงอกงาม ความสูง น้ าหนัก พฤติกรรมเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายชั่วคราว เช่น ความเหน็ดเหนื่อย การมึนเมาเพราะพิษยา ขบวนการเรียนประกอบด้วยสิ่งส าคัญ 3 ส่วน คือ 1. สิ่งกระตุ้น ( Stimulus ) 2. ตัวผู้เรียนเอง ( Organism ) 3. การตอบสนอง ( Response ) ขั้นของการเรียนรู้อาจจะเขียนเป็นภาพได้ดังนี้ - สิ่งแวดล้อม - ประสบการณ์ - ทางสมอง - ความต้องการ - การเรียนรู้ - ทางร่างกาย - ค าสั่ง - ทางอารมณ์ ความรู้สึก สรุป การเรียนรู้หรือการฝึกอบรมโดยทั่วไป จุดมุ่งหมายก็คือต้องการให้ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้รับสิ่งต่อไปนี้คือ ( KUSA ) สิ่งกระต้นุตวัผู้เรียน การตอบสนอง


-4- หลักของการเรียนรู้ทั่วไป ( General Learning Principles ) การเรียนรู้เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพแก่ผู้เรียนนั้น ครูหรือผู้ให้การอบรมควรจะต้องพิจารณา หลักการเรียนรู้9 ประการ ดังต่อไปนี้ หลักที่ 1วิธีการเรียนรู้แบบหนึ่งที่ได้ผลดีก็คือ การเรียนด้วยการกระท าโดยผ่านประสาท ทั้ง 5 ของร่างกาย หลักที่2 การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของผู้เรียน ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ได้ดีต่อเมื่อผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียน ความพร้อมในที่นี้หมายถึง ความพร้อมใน ร่างกาย วุฒิภาวะ สติปัญญา ภูมิหลัง ประสบการณ์สิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อน เหตุจูงใจ และอื่น ๆ ผู้สอนจึงต้องรู้ ความพร้อมของผู้เรียนและค านึงในเรื่องต่อไปนี้ 1. ผู้เรียนจะเรียนได้ดีถ้าสิ่งที่เรียนนี้ใกล้เคียงสัมพันธ์กับความสามารถความสนใจและภูมิหลัง ของเขา 2. เรื่องของการเรียน วัสดุอุปกรณ์และกิจกรรม จะต้องจัดให้สอดคล้องกับความพร้อมของผู้เรียน และมีให้มาก หลักที่ 3 ผู้เรียนจะเรียนได้ดีหากสิ่งที่เรียนนั้นมีความหมาย ความส าคัญและตรงตาม ความต้องการของผู้เรียน เด็กเล็ก ๆ มีความอยากรู้อยากเห็น อยากค้นคว้า ฉะนั้นการสอนในระดับเด็กควรจะได้รับ การส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก และควรค านึงในเรื่องต่อไปนี้ 1. เหตุจูงใจ (Motive) การเรียนของผู้เรียนจะมีมากขึ้นถ้าผู้เรียนได้รู้เหตุผลและมีความเชื่อว่าการ เรียนนั้นสนองความต้องการของเขา 2. เครื่องกระตุ้น (Incentive) โดยการให้รางวัลเป็นวัตถุสิ่งของบางครั้งก็มีค่าส าหรับการเรียน แต่บางครั้งก็ไม่เหมาะเพราะผู้เรียนจะเรียนเพื่อมุ่งหวังรางวัลเท่านั้นแทนที่จะเรียนเพื่อวัตถุประสงค์ของการเรียน 3. ถ้าหากการเรียนหรือการจัดกิจกรรม เพื่อการเรียนสัมพันธ์กับความสนใจของผู้เรียน ในขณะนั้น ก็จะมีเหตุจูงใจให้อยากเรียนมากขึ้น หลักที่ 4 การเรียนรู้แตกต่างกันระหว่างตัวบุคคล การสอนที่ดีจึงต้องพิจารณาตัวผู้เรียน แต่ละบุคคลให้มาก ความแตกต่างของผู้เรียนจะมีมากเมื่อเด็กโตขึ้น ผู้สอนจะต้องเข้าใจภูมิหลัง อารมณ์เหตุจูงใจ และความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน และพยายามปรับปรุงอุปกรณ์การเรียนการสอนและเนื้อหา ให้เหมาะสมกับความแตกต่างของผู้เรียน และควรค านึงในเรื่องต่อไปนี้ 1. ผู้สอนควรจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจตัวเองทั้งในด้านทักษะและความสามารถและควรจะให้งานและ กิจกรรมแตกต่างกัน และควรมุ่งหวังผลของการเรียน ความสามารถของผู้เรียนเอง 2. ให้โอกาสแต่ละบุคคลที่มีอิสระที่จะมาร่วมในกิจกรรมการเรียน เพื่อผู้เรียนจะสนใจ ในการแก้ปัญหาและการเรียนเพิ่มขึ้น


-5- หลักที่ 5 การเรียนจะมีประโยชน์ ถ้าผู้เรียนได้น าประสบการณ์เดิมไปใช้ประยุกต์เพื่อเรียนรู้ในสิ่งใหม่ กรณีเช่นนี้เรียกว่า “การถ่ายเทความรู้” ฉะนั้นการเรียนที่จะให้ได้ผลจึงต้องพยายามสร้างความประทับใจ เพื่อให้เกิดความรู้แก่ผู้เรียนให้มากที่สุด ผู้สอนหรือผู้ฝึกอบรมควรค านึงในเรื่องต่อไปนี้ 1. อุปกรณ์การสอนที่มีประโยชน์จะสร้างความประทับใจ และท าให้ผู้เรียนมีความรู้เป็นอย่างดี 2. การให้ท าแบบฝึกหัด เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีและแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น 3. การเรียนในระยะสั้นๆ เป็นตอนๆ ดีกว่าใช้เวลาเรียนยาวในตอนหนึ่งๆ 4. การเรียนรู้จะเกิดผลดีถ้าจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามล าดับเหตุผล 5. การทบทวนเรื่องทักษะและมโนภาพ จะเพิ่มการจดจ าในเรื่องการเรียนรู้และประโยชน์ ในการน าไปถ่ายเทความรู้เป็นอย่างดี หลักที่ 6 การเรียนเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมทางสมองเกี่ยวข้องกับทางปัญญาไหวพริบ และ การค้นพบของผู้เรียน การเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าวนี้รวมไปถึงความจ ามโนภาพ ทักษะ การค้นหา ความคิด เหตุผลการประเมินผล จินตนาการ สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับทางสมอง การเรียนรู้เพื่อความเปลี่ยนแปลง ทางสมองนี้เป็นเรื่องซับซ้อนและต้องการส่งเสริมกิจกรรมทางสมองให้มาก ผู้สอนหรือผู้ฝึกอบรมจึงต้อง ค านึงถึงความแตกต่างในระดับสติปัญญา และจะต้องสอนให้ผู้เรียนได้งอกงามทางสมอง ซึ่งจะต้องค านึง ในเรื่องต่อไปนี้ 1. ผลการเรียนทางสมองแตกต่างกันไปแต่ละบุคคล 2. การทดสอบความพร้อม ค าศัพท์ความสามารถ การอ่านเชาว์และประสบการณ์บางอย่างจะเป็น ผลกระทบถึงการเรียนทางสมอง 3. การจัดเนื้อหาวิชาการสอน ต้องให้เหมาะสมกับทางสมองและวัยของเด็ก 4. ในการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะต้องเรียนถึงวิธีการแก้ปัญหา คือ ชี้ถึงปัญหา หาข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและวิเคราะห์ปัญหา หลักที่7 การเรียนรู้ในด้านความรู้สึกของผู้เรียน ดูได้จากความสัมพันธ์ของตัวผู้เรียนกับ ประสบการณ์ใหม่ซึ่งจะช่วยในการสอนเป็นอย่างมาก การเรียนรู้ในด้านความรู้สึกรวมถึงสิ่งต่อไปนี้คือ ค่านิยมอารมณ์เหตุจูงใจ ความสนใจ และเจตคติ การเรียนรู้ในด้านความรู้สึกของผู้เรียนมีอิทธิพลส าคัญเกี่ยวกับการเรียนของผู้เรียนโดยทั่วไป จึงต้องค านึง เรื่องต่อไปนี้ 1. ในชีวิตมนุษย์เกี่ยวข้องกับความรู้สึกเป็นอย่างมาก 2. การเรียนกับสุขภาพทางสมอง มีความสัมพันธ์กันเป็นอย่างมาก คนมีสุขภาพทางสมองดี ก็จะเรียนได้เร็วกว่าผู้มีสุขภาพทางสมองไม่ดี


-6- 3. ผู้สอนอาจจะช่วยให้ผู้เรียนได้เติบโตตามวุฒิภาวะของเขา โดยช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเจตคติ ความรู้สึกและอารมณ์ของผู้เรียนเองการยอมรับเจตคติของผู้เรียน ความรู้สึก และความคับข้องใจ จะช่วยให้ ผู้เรียนเข้าใจตนเองและวุฒิภาวะของเขา หลักที่ 8 การเรียนรู้ในทางร่างกายของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้สอนได้จัดกิจกรรมได้เหมาะสมกับ ความสามารถทางร่างกายของผู้เรียนได้ หลักที่ 9 การประเมินผล แบบการประเมินผล ขอบเขตของการประเมินผล และความเชื่อมั่น ในการประเมินผลจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตามมาอย่างมีประสิทธิภาพ การประเมินผลการเรียนเป็นขบวนการจะช่วยการเรียนรู้ของผู้เรียนและแก้ไขแนวการเรียนที่วางไว้ แต่ต้นซึ่งมีข้อควรค านึงถึง 1. การประเมินผลการเรียนเป็นขบวนการ จะช่วยการเรียนรู้ของผู้เรียน และแก้ไขแนวการสอน ของผู้สอนหรือผู้ฝึกอบรม 2. ถ้าจุดมุ่งหมายของการเรียนและการวัดผลการเรียนมีนัยสัมพันธ์กันแสดงว่าการประเมินผลนั้น จะมีความส าคัญต่อผู้เรียนเป็นอย่างมาก 3. การประเมินผลความก้าวหน้าตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้จะช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนเข้าใจ ซึ่งกันและกันทั้งในด้านความคิด ความรู้สึกและการสังเกต วิธีการลูกเสือ 1. ต้องมีจิตที่ตั้งมั่นและเชื่อถือตนเองว่า พื้นฐานของชีวิตที่เป็นอยู่นี้ดีที่สุดแล้ว โดยมีค าปฏิญาณ และกฎของลูกเสือเป็นบรรทัดฐาน 2. รู้จักการเรียนรู้ด้วยการกระท า 3. การบ าเพ็ญประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่น 4. ท างานในระบบหมู่พวก 5. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะความเป็นผู้น า ระบบหมู่ โดยตอบสนองความต้องการของแต่ละบุคคล อย่างมีแบบแผน 6. ต้องพัฒนากิจกรรมที่สามารถตอบสนองความสนใจของแต่ละบุคคลโดยเฉพาะกิจกรรมที่กระท า นั้น ต้องมีความเกี่ยวข้องกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะกิจกรรมกลางแจ้ง


บทเรียรี นที่ 17 การอภิปภิ รายกลุ่มลุ่


บทเรียนที่ 17 การอภิปรายกลุ่ม วิธีสอนแบบอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) การอภิปรายกลุ่ม เป็นวิธีการฝึกอบรมอย่างหนึ่งที่สมาชิกภายในกลุ่มมีโอกาสทัดเทียมกัน ในการแสดงความคิดเห็นด้วยการอภิปรายโต้ตอบกันเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ถูกก าหนดให้เพื่อแสวงหาข้อยุติของ เรื่องดังกล่าวนั้น อย่างไรก็ตามการอภิปรายกลุ่มจะต้องอยู่ในภายใต้ภาวะของผู้น ากลุ่ม ดังนั้น การอภิปราย กลุ่ม จึงมีลักษณะเด่น คือ 1. เป็นวิธีการทางประชาธิปไตย 2. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์เดิมของสมาชิกเป็นแนวทางของการสร้างสรรค์การเรียนรู้ซึ่งกันและ กันยิ่งขึ้น 3. สถานการณ์ในการอภิปรายกลุ่มเป็นการเสริมสร้างการใช้ความคิดอย่างรอบคอบที่สุด วิธีการนี้จะส าเร็จได้ผลดีก็ต้องอาศัยความเข้าใจตามหลักการดังกล่าว ประกอบกับความช านาญของ ผู้น ากลุ่มในการอภิปรายด้วย ภาระงานของผู้น ากลุ่ม ภาวะผู้น ากลุ่มมีหน้าที่ดังนี้ แนะน า และเสนอหัวข้อส าคัญเพื่ออภิปราย กระตุ้น ให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ชี้แจง วัตถุประสงค์ให้สมาชิกเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งก่อน สรุป ข้ออภิปรายให้สมาชิกทราบ วิธีการอภิปรายกลุ่ม องค์ประกอบของการอภิปรายกลุ่ม สมาชิกของกลุ่ม (ประมาณ 7 - 8 คน) และผู้น ากลุ่ม การอภิปรายกลุ่มที่ถูกต้องไม่ใช่ลักษณะของครูและนักเรียนดังปรากฏในภาพที่ 1 - ผู้น ากลุ่มที่เชี่ยวชาญจะต้องไม่สอนหรือสั่ง แต่ท าหน้าที่เป็นประธานหรือผู้ประสานการอภิปราย - ผู้น ากลุ่มจะต้องรวมและดึงเอาความคิดจากสมาชิกของกลุ่มแทนการใช้ความคิดของตนเอง


-2- การอภิปรายกลุ่มที่ถูกต้องไม่ใช่ลักษณะของครูและนักเรียนดังปรากฏในภาพที่ 2 แต่การอภิปรายกลุ่มที่ถูกต้องนั้นจะต้องมีปฏิกิริยาตอบโต้ระหว่างสมาชิกด้วยกัน ดังปรากฏในภาพที่ 3


-3- การเตรียมส าหรับการน ากลุ่มอภิปราย ผู้น ากลุ่มจะต้องเตรียม - ตัวเอง - วางแผนการอภิปราย ก าหนดวัตถุประสงค์ขั้นต้นส าหรับการอภิปราย สรุปย่อข้อมูลที่ทราบเกี่ยวกับข้อเรื่องอภิปราย หาข้อมูลเพิ่มเติมถ้าหากจ าเป็น - จัดอุปกรณ์และเตรียมการ - จัดท าโครงการอภิปรายโดยให้มีข้อส าคัญนี้ วัตถุประสงค์ จัดล าดับข้อเรื่องส าหรับอภิปราย (ก าหนดเวลา) บันทึกค ากล่าวแนะน าข้อเรื่อง บันทึกจุดส าคัญของเรื่อง ปัญหาที่จะหยิบยกมาพิจารณาข้อมูลจากเอกสารการวิเคราะห์วิจัย ปัญหาดังกล่าว ฯลฯ บันทึกการใช้อุปกรณ์โสตทัศนศึกษา บันทึกการสรุปหรือย่อที่น่าจะเป็นไปได้ของข้อเรื่องอภิปราย การเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ สถานที่ส าหรับการอภิปรายกลุ่ม ควรเป็นห้องที่มีขนาดกว้างเหมาะกับจ านวนสมาชิก มีอุปกรณ์พร้อม แต่อย่างไรก็ตามถ้าไม่จ าเป็นไม่ควรจัดให้สมาชิกต้องเขียนบันทึกหรือค้นคว้าเอกสาร เพราะอาจท าให้ บรรยากาศการอภิปรายไม่เป็นกันเอง แสงสว่างและอุณหภูมิตลอดจนสิ่งอ านวยความสะดวก ถือว่าเป็น สิ่งจ าเป็นอย่างมาก เช่นกัน ห้องอภิปรายที่ดีที่สุด คือ ห้อง สี่เหลี่ยมด้านเท่า เพราะสามารถจัดที่นั่งเป็น วงกลมเพื่อให้สมาชิกด้วยกันเห็นได้ทั่วถึง ห้องอภิปรายส่วนมากมักจะเป็นห้องสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่าผู้จัด จะต้องระมัดระวังการจัดแบบ “ขบวนตู้รถไฟ”


-4- -4- การน ากลุ่มอภิปรายกลุ่ม ตอนที่ 1 การเริ่มและบทน า - จัดบรรยากาศให้เป็นประชาธิปไตย - ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการอภิปราย ชี้แจงเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นภูมิหลังของหัวเรื่อง - ชี้แจงความหมายหรือให้ค าจ ากัดความในวิธีการและค าศัพท์ต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดการเข้าใจ ผิด ตอนที่ 2 การเสนอเรื่อง การน าเรื่อง และการสรุปย่อหัวข้ออภิปราย ขั้นที่ 1 - การเสนอเรื่องอภิปราย - ใช้บทน าเข้าสู่เรื่อง เปิดโอกาสให้ถาม จัดค าถามให้เข้ารูปเรื่อง หากจ าเป็นอาจ ตั้งค าถามให้ผู้เข้าร่วมอภิปรายคิดแล้วตอบ ขั้นที่ 2 - การแนะแนวการอภิปราย - สนับสนุนให้มีการร่วมมือกันอย่างจริงจัง พยายามอยู่เบื้องหลังการอภิปราย ไม่ ใช้อ านาจหน้าที่ในฐานะเป็นผู้น า - ป้องกันไม่ให้ผูกขาดการอภิปรายโดยคนใดคนหนึ่ง ต้องใช้ความช านาญในการ ใช้ ค าถามเพื่อให้การอภิปรายด าเนินต่อไปไม่หยุดยั้ง ขั้นที่ 3 - การสรุปย่อแต่ละขั้นตอนหรือข้อเรื่องการอภิปราย - ชี้จุดและให้ความกระจ่างชัดแก่ข้อถกเถียงที่ส าคัญ ๆ แล้วสรุปผลการอภิปราย และการจัดแบบ “อยู่กันละฟาก” การจัดห้องอภิปรายในห้องรูปยาวที่อาจ ท าได้ นั้น ต้องจัดให้ผู้น ากลุ่มอยู่ทางก าแพงด้านยาว แล้วจัดที่นั่งของสมาชิกในลักษณะครึ่งวงกลม การ จัดแบบนี้ไม่ใช่เป็นวิธีที่ดีที่สุด แต่อย่างน้อย สมาชิกจะได้อยู่ใกล้กับผู้น ากลุ่ม


-5- ตอนที่ 3 การปิดการอภิปราย ทบทวนวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวเนื่องกับผลการอภิปรายที่สรุปได้จากกลุ่ม ขยายข้อส าคัญของ เรื่องแล้วเรียบเรียงเพิ่มเติมสิ่งที่ตกหล่นหรือบกพร่อง แสดงความขอบคุณต่อผู้เข้าร่วมอภิปรายแล้ว ปิดการอภิปรายตามก าหนดเวลา ค าถามในการอภิปรายกลุ่ม ค าถามเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการแนะแนว การกระตุ้น และการให้ความแจ่มแจ้ง ในการอภิปราย ประโยชน์ของการใช้ค าถาม - เพื่อกระตุ้นความสนใจ เพื่อส่งเสริมแนวความคิดและเพื่อให้สมาชิกไดเข้าร่วมในการอภิปราย - เพื่อรวบรวมข้อมูลเพื่อค้นหาสาระส าคัญและสรุปผลการอภิปราย - เพื่อเปลี่ยนแนวโน้มของการอภิปราย เพื่อจ ากัดหรือตั้งจุดจบในการอภิปราย ประเภทของค าถาม ค าถามที่มีประโยชน์และสามารถผลิตค าตอบนั้น ไม่ใช่ค าถามประเภทที่ตอบง่าย ๆ ด้วยการใช้ค าว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ค าที่ควรใช้ในค าถาม เช่น ใคร ท าไม อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร อะไร 1. ค าถามส าหรับน าเรื่อง เป็นค าถามที่ใช้ถามในกลุ่มทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจง เพื่อเปิดการอภิปราย หรือกระตุ้นการอภิปราย ผู้น ากลุ่มจะต้องตั้งค าถามให้รัดกุม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอภิปรายได้คิด 2. ค าถามระบุผู้ตอบ เป็นค าถามโดยตรงระบุไปยังผู้ตอบด้วยการเรียกชื่อผู้ตอบ เพื่อให้บุคคลนั้น ได้เข้าร่วมการอภิปราย เพื่อตัดการผูกขาดการอภิปราย เพื่อตัดการสนทนานอกเรื่องแล้ว ดึงความสนใจกลับเข้าสู่การอภิปราย เพื่อหันเหการอภิปรายเข้ามาสู่จุดตามวัตถุประสงค์ 3. ค าถามย้อนกลับและค าถามผ่าน ผู้น ากลุ่มอภิปรายที่เชี่ยวชาญจะต้องไม่ตอบค าถามของสมาชิก นอกจาก ค าถามนั้นต้องการข้อมูลเพิ่มเติม และผู้น ากลุ่มเพียงคนเดียวเท่านั้นที่จะตอบได้ ในการหลีกเลี่ยงการตอบค าถาม ผู้น ากลุ่มอาจย้อนค าถามไปยังผู้ถามหรือผ่านค าถามไปยัง สมาชิกอื่น 4. ค าถามติดตามผลเป็นค าถามเพื่อให้การอภิปรายด าเนินไปให้ถึงวัตถุประสงค์ ข้อควรค านึง “ถ้าต้องการค าตอบที่พอใจ ท่านต้องถามด้วยค าถามที่ดี” “ท าจิตใจให้สงบไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นจงรักษาอารมณ์นั้นเอาไว้”


-6- ประเภทของผู้ร่วมอภิปราย 1. ประเภทขัดแย้งโต้เถียง - ผู้น ากลุ่มต้องเงียบ อย่าเกี่ยวข้อง - แต่ใช้กลวิธีเพื่อระงับการผูกขาดการอภิปราย 2. ประเภทให้ความร่วมมือ - ประเภทนี้มีประโยชน์ในการอภิปราย - ต้องยอมรับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของเขา - และให้เขาได้มีโอกาสเสนอบ่อย ๆ 3. ประเภทตรัสรู้ - ประเภทนี้ต้องปล่อยให้สมาชิกในกลุ่มช่วยจัดการเอง 4. ประเภทพูดมาก - ผู้น ากลุ่มต้องใช้ชั้นเชิงเพื่อหยุดการพูด - หรือจ ากัดเวลาในการพูด 5. ประเภทขี้อาย - ต้องถามด้วยค าถามง่าย ๆ - สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง - ยกย่องเมื่อมีโอกาส 6. ประเภทไม่ร่วมมือ “ไม่ยอมรับ” - ให้โอกาสแสดงความคิดเห็น เก็บเอาความรู้และประสบการณ์มาใช้ให้เป็นประโยชน์ 7. ประเภทหนังหนาไม่สนใจ - ต้องถามเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับงานของเขา - แล้วให้เขาชี้แจงถึงงานที่เขาสนใจ 8. ประเภทหัวสูง - อย่าวิพากษ์วิจารณ์ - ใช้เทคนิค “ถูกต้อง….แต่” ในการโต้ตอบ 9. ประเภทตั้งปัญหา - ประเภทนี้พยายามขุดหลุมดักผู้น ากลุ่ม - ต้องใช้วิธีการผ่านค าถามไปยังสมาชิกในกลุ่ม


-7- แบบประเมินผู้น าการอภิปราย (ประเมินตนเอง) ใช่ ไม่ใช่ - ข้าพเจ้าได้เตรียมงานที่จ าเป็นในการประชุมกลุ่มครบถ้วนทุกประการ (ตัวเอง, ( ) ( ) วัสดุอุปกรณ์,การจัดการ,แผนงานอภิปราย และหัวข้อเรื่อง) - ข้าพเจ้าได้เริ่มการประชุมกลุ่มหรือการอภิปรายตรงตามเวลา ( ) ( ) - ข้าพเจ้าได้เตรียมค าถามอย่างดีและใช้ค าถามได้ตามโอกาสและเวลา ( ) ( ) - สมาชิกได้มีส่วนร่วมอภิปรายทุกคน ( ) ( ) - บรรยากาศของการอภิปรายเป็นกันเอง (ไม่ใช่การใช้อ านาจ) ( ) ( ) - การอภิปรายได้ด าเนินการอย่างก้าวหน้าไปอย่างดี(ข้าพเจ้าได้ด าเนินการอภิปราย ( ) ( ) ในเนื้อหาหัวข้อเรื่องและน ามาอภิปรายไปสู่วัตถุประสงค์) ( ) ( ) ข้าพเจ้าได้พยายามหลีกเลี่ยงการบรรยาย การเป็นผู้บงการกลุ่มหรือแสดงความ ( ) ( ) คิดเห็นของตนเอง - ข้าพเจ้าได้พยายามให้ที่ประชุมรับฟัง และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ( ) ( ) - ข้าพเจ้าหลีกเลี่ยงการพูดนอกเรื่องแล้ว ( ) ( ) - ข้าพเจ้าได้พยายามหลีกเลี่ยงการตอบปัญหา (ด้วยการถามย้อนกลับหรือผ่านค าถาม ( ) ( ) ไปให้สมาชิกในกลุ่ม) - ข้าพเจ้าได้พยายามหลีกเลี่ยงการแสดงตนเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่อภิปราย ( ) ( ) - ข้าพเจ้าได้ระบุค าถามเมื่อจ าเป็นจริง ๆ โดยใช้ภาษาง่าย สั้น และกระชับ ( ) ( ) - ข้าพเจ้าสามารถควบคุมการอภิปรายได้ตลอดเวลา ( ) ( ) - ข้าพเจ้าสามารถสร้างความสนใจให้สมาชิกได้ตลอดเวลาการอภิปราย ( ) ( ) - ข้าพเจ้าได้อภิปรายครอบคลุมเนื้อหาที่จ าเป็นทั้งหมด ( ) ( ) - ข้าพเจ้าสามารถสรุปได้อย่างดีเพื่อให้กลุ่มได้คิดอย่างแจ่มแจ้ง ( ) ( ) - ข้าพเจ้าได้สรุปขั้นสุดท้ายโดยให้กลุ่มได้มีส่วนร่วมด้วย ( ) ( ) - เมื่อเสร็จสิ้นการประชุมกลุ่มและสรุปผลแล้ว สมาชิกยังต้องน าไปคิดใคร่ครวญอีก ( ) ( ) - ข้าพเจ้าได้ขอบคุณสมาชิกในกลุ่มที่ร่วมแสดงความคิดเห็น ( ) ( ) - ข้าพเจ้าปิดการประชุมตรงตามเวลา ( ) ( ) ข้อดีข้อจ ากัด 1. สมาชิกทุกคนได้รับโอกาสในการอภิปรายเท่าเทียมกัน 2. เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างสมาชิกด้วยกันในการหาข้อยุติ 3. เป็นการสร้างสรรค์ความคิดจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 4. สมาชิกเกิดทักษะทางแนวความคิดในเรื่องการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี


-8- 5. ผู้น าการอภิปรายเป็นบุคคลส าคัญของการอภิปราย ดังนั้น ผู้น าควรเป็นผู้เชี่ยวชาญและช านาญ ต่อวิธีการนี้จริง ๆ ข้อเสนอแนะ สถานที่และอุปกรณ์ สถานที่หรือห้องที่ใช้ส าหรับการอภิปรายต้องมีอุปกรณ์วัสดุประจ าห้องเพียงพอ ให้กว้างพอเหมาะกับจ านวนสมาชิกไม่โตหรือเล็กเกินไป มีเก้าอี้นั่งที่สบายพอควร แต่ไม่ถึงกับสบายมากเกินไป ที่นั่งควรเป็นแบบเคลื่อนย้ายได้และทุกคนสามารถได้ยินเสียงกันชัดเจนทุกคน มองเห็นกันและมองเห็น ประธานในการอภิปราย กระดานด า ภาพประกกอบได้โดยตลอด แต่อย่างไรก็ตามถ้าไม่จ าเป็นไม่ควรจัดให้ สมาชิกต้องเขียนบันทึกหรือค้นคว้าเอกสาร เพราะอาจท าให้บรรยากาศการอภิปรายไม่เป็นกันเอง แสงสว่าง และอุณหภูมิ ตลอดจนสิ่งอ านวยความสะดวกถือว่าเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างมากเช่นกัน การประเมินผล โดยวิธีการสังเกตและซักถามผู้เข้ารับการฝึกอบรม


บทเรียรี นที่ 18 การประชุม ชุ กลุ่มลุ่ ย่อ ย่ ย (BUZZGROUP)


บทเรียนที่ 18 การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz Group) การจัดการฝึกอบรมโดยทั่วไปนั้น ในบางโอกาสอาจจะต้องแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นกลุ่มเล็ก ๆ 3 - 6 คน เพื่ออภิปรายปัญหาในช่วงเวลาอันจ ากัด 2 - 3 นาที แต่ละกลุ่มอาจพิจารณาคนละเรื่อง หรือ เรื่องเดียวกัน แต่คนละประเด็นก็ได้ มีลักษณะเป็นการประชุมปรึกษาหารือกันอย่างไม่เป็นทางการหรือ พิธีรีตองมากนัก หัวข้อที่จะพิจารณาก็เป็นหัวข้อเล็ก ๆ หรือปัญหาง่าย ๆ การประชุมกลุ่มย่อยนี้ช่วยให้ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมที่ ไม่ยอมแสดงความคิดเห็นต่อที่ประชุมใหญ่ได้มีโอกาสและมีส่วนร่วมในการฝึกอบรมมากขึ้นและ การหลอมความคิดจากการประชุมกลุ่มย่อยอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเป็นความคิดของกลุ่มใหญ่ก็อาจกระท าได้ ในกรณีของการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ถ้าไม่มีแบบสอบถามไปล่วงหน้า วิธีการนี้อาจช่วยได้ เช่นกัน เพราะจะท าให้ผู้ให้การฝึกอบรมรู้และเข้าใจผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ดียิ่งขึ้น วิธีการ 1. แบ่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ กลุ่มละ 3-6 คน อาจมีการเลือกประธานและ เลขานุการ เพื่อท าหน้าที่ต่อกลุ่มส าหรับการประชุมก็ได้ 2. ก่อนแยกกลุ่มไปประชุมกัน วิทยากรผู้บรรยายพึงต้องอธิบายให้ชัดแจ้งถึงเรื่องและวิธีการที่กลุ่ม จะได้ประชุมกันแต่ละกลุ่มอาจมอบงานอย่างเดียวกันหรือที่แตกต่างกันตามหัวข้อที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น - ต้องการพิจารณาปัญหาง่าย ๆ อาจให้อภิปรายในหัวข้อปัญหาเรื่องบทบาทของนายหมู่ - ต้องการขจัดข้อขัดแย้งในข้อปัญหาระหว่างสมาชิก อาจให้อภิปรายเรื่องเกณฑ์อายุของผู้ก ากับลูกเสือ ที่เหมาะสม - ต้องการให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆในเวลาอันจ ากัดอาจหยิบยกปัญหาให้อภิปราย เรื่องผู้ก ากับจะศึกษา และเข้าใจคนวัยรุ่น (ลูกเสือวิสามัญ) ได้อย่างไร 3. ในขณะที่กลุ่มย่อยปฏิบัติการอยู่ วิทยากรผู้บรรยายต้องคอยจับตาดูถ้ามีกลุ่มไหนไม่เข้าประเด็น ต่าง ๆ ให้เข้าช่วยแนะน าได้ทันที 4. เมื่อทุกกลุ่มท างานเสร็จแล้ว อาจจัดให้ร่วมประชุมใหญ่ เพื่อให้มีการอภิปรายซักถามหรือหล่อหลอม ความคิดจากกลุ่มย่อยให้เป็นความคิดของกลุ่มใหญ่ ในกรณีที่เป็นเรื่องเดียวกันก็ได้ 5. วิทยากรสรุปผลและแนะน าเพิ่มเติม สถานที่ โดยปกติการประชุมกลุ่มย่อยนี้จะกระท ารวมกันอยู่ในห้องประชุมใหญ่ทุกกลุ่ม ไม่มีความจ าเป็นต้อง แยกออกไป แม้จะมีเสียงรบกวนจากกลุ่มข้างเคียงบ้าง แต่การกระท าในช่วงเวลาจ ากัดนี้ก็อาจขจัดตัวแปรอื่น ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการประชุมของแต่ละกลุ่มได้


-2- ข้อดีข้อจ ากัด 1. เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้ประชุมอภิปราย ท าให้บรรยากาศจะเป็นกันเอง และการ อภิปรายก็จะได้แนวความคิดหลายแง่หลายประเด็นเช่นกัน 2. วิธีการนี้ช่วยให้ประสบผลส าเร็จในการพิจารณาปัญหาง่าย ๆ ช่วยขจัดข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิก นอกจากเป็นการส่งเสริมโอกาสการแสดงความคิดแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมสร้างสรรค์แนวความคิดใหม่ ๆ ภายใน เวลาอันจ ากัดอีกด้วย 3. เป็นการส่งเสริมการท างานเป็นหมู่คณะอีกประเด็จหนึ่งที่กิจการลูกเสือต้องการ 4. การให้ความรู้ใหม่ๆ วิธีการนี้นั้น อาจไม่ได้รับผลส าเร็จเท่าที่ควรส าหรับกิจการลูกเสือ การท างาน ระบบกลุ่ม (Working Groups) จะให้โอกาสความสัมฤทธิ์ผลได้ดีกว่า


บทเรียรี นที่ 19 การระดมสมอง (BRAINSTORMING)


บทเรียนที่ 19 การระดมสมอง (BRAIN STORMING) เทคนิคนี้เปิดโอกาสให้ทุกคนภายในกลุ่มได้เสนอความคิดอย่างเสรีเพื่อแก้ปัญหาหรือ ปรับปรุงสิ่งหนึ่งสิ่งใดกิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด โดยปราศจากข้อจ ากัดหรือกฎเกณฑ์ใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่มีการ อภิปรายหรือประเมินผลความคิดเห็นนั้นในระหว่างการเสนอความคิด ซึ่งอาจจะกระท าได้ภายหลังการ ระดมสมองสิ้นสุดลง เลขานุการต้องบันทึกความคิดเห็นเอาไว้ทั้งหมด โดยไม่ค านึงถึง ข้อผิด-ถูก ดี-ไม่ดี เหมาะสม-ไม่เหมาะสม ควร-ไม่ควร ความคิดทุกอย่างจะต้องได้รับการยอมรับจากกลุ่มทั้งสิ้นและผู้เข้าร่วม ระดมสมองจะต้องไม่หัวเราะเยาะหรือเย้ยหยันความคิดเห็นใด แม้ความคิดนั้นจะเป็นความคิดที่มีลักษณะ ประหลาดก็ตามการขัดแย้งต่อความคิดที่ถูกเสนอจะไม่เกิดขึ้น แต่สามารถที่จะขยายเพิ่มเติมโดยคนอื่นได้ และบุคคลที่จะเสนอความคิดเห็นเพิ่มเติมนั้น จะต้องกล่าวค าว่า “ผมเห็นด้วยกับความคิดเห็นของคุณ… และขอเสริมว่า….” นอกจากนี้ค าถามที่ใช้ในการระดมสมอง ไม่ควรเลือกค าถามที่ต้องการค าตอบยาว เพราะ เราต้องการความคิดเห็นในสิ่งที่จะท า (What) ส่วนวิธีการที่จะท าอย่างไร (How) นั้น ควรจะได้พิจารณา ภายหลัง ลองฝึกระดมสมอง ถ้าท่านยังไม่เคยท าการระดมสมองมาก่อน ขอให้ลองฝึกประชุมระดมสมอง 10 นาทีโดยใช้หัวข้อเรื่องที่ง่ายไม่มีความส าคัญอะไร เช่น “เราจะปรับปรุงเสื้อลูกเสืออย่างไรดี” ผลของ การระดมสมองนี้จะเป็นเครื่องชี้ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเห็นความส าคัญของการใช้วิธีการนี้ความคิดเห็น มากมาย 30 - 50 ความคิด เกิดขึ้นจากสมาชิกภายในเวลาจ ากัด วิธีการ 1. เตรียมสถานที่ที่ขนาดพอเหมาะกับจ านวนคน จัดที่นั่งเป็นรูปวงกลมหรือวงรีก็ได้ให้สมาชิก ทุกคนเห็นหน้ากัน 2. แบ่งกลุ่มสมาชิกมีขนาด 6 - 8 คน ให้มีประธานและเลขานุการลุ่ม ถ้าเห็นว่าเลขานุการคน เดียวอาจจดไม่ทันก็อาจเพิ่มเลขานุการขึ้นอีกหนึ่งคนก็ได้ 3. ประธานจะต้องอธิบายให้สมาชิกทราบหัวข้อสาระส าคัญ กติกาเงื่อนไขต่าง ๆ และเวลาที่ ก าหนด (ไม่ควรเกิน 15 นาที) 4. เริ่มด าเนินการ - ประธานถามเป็นรายคนตามล าดับอย่างต่อเนื่อง และรวดเร็ว - ทุกคนต้องตอบเมื่อถูกถาม ถ้ามีค าตอบให้ตอบ / ถ้าไม่มีค าตอบให้กล่าวค าว่า “ผ่าน”


-2- ถ้าต้องการเสริมค าพูดผู้อื่น ให้ใช้ค าว่า (Hitch hike) “ผมเห็นด้วยกับความคิดเห็นของ คุณ… และของเสริมว่า….” ประธานจะถามต่อไปจนครบรอบที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และต่อไป จนสมาชิกบอก “ผ่าน” หมดทุกคนแสดงว่า สมาชิกหมดความคิดเห็นแล้ว - ประธานและเลขานุการ อาจจะเพิ่มความคิดเห็นลงไปในท้ายนี้ได้ 5. หลังจากการระดมสมองแล้ว กลุ่มจะใช้เวลาอีกช่วงหนึ่งส าหรับพิจารณา วิเคราะห์และ ประเมินคุณค่าข้อเสนอทั้งหมด โดยวิธีรวบรวมข้อที่ใกล้เคียงกัน และอาจเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น ตัดข้อที่ไม่เหมาะสมทิ้งไป 6. สรุปและรับรองผลของกลุ่ม เพื่อเสนอหรือน าไปใช้ต่อไป การประมวลความคิด 1. ให้กระท าหลังจาการประชุมระดมสมองแล้ว 2. ควรตั้งกรรมการประมวลผล 2-3 คน ที่ใกล้ชิดและเกี่ยวข้องเรื่องที่ระดมสมอง ( เพื่อพิจารณา ความคิดเป็นราย ๆ ไป) 3. การมวลผลอาจจะกระท าในเวลาอื่น หรือสถานที่อื่นใดก็ได้ไม่จ าเป็นต้องกระท าทันที 4. วิธีการแรกต้องตัดความคิดที่คาดว่าเป็นไปไม่ได้ทิ้ง 5. จัดรวมเอาความคิดเห็นที่ใกล้เคียงกันเอาไว้ด้วย 6. ความคิดเห็นที่เหลือจากการกลั่นกรองแล้ว อาจน าไปใช้กับการศึกษาในขั้นต่อไปได้ควรเก็บ ความคิดนี้ไว้เพราะความคิดเห็นที่ไร้ค่าในเวลานี้อาจมีคุณค่ายิ่งในโอกาสต่อไป ข้อดีข้อจ ากัด 1. เป็นการสร้างงานในระบบกลุ่ม 2. เปิดโอกาสสมาชิกให้ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 3. ช่วยให้เกิดแนวความคิดใหม่และสร้างสรรค์แนวทางแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น 4. เร้าความสนใจของสมาชิกและไม่สิ้นเปลือง 5. ข้อเสนอแนะจ านวนมาก อาจมีคุณค่าน้อย 6. ถูกจ ากัดเรื่องขนาดของกลุ่มและเวลา 7. ไม่สามารถพิจารณา ปัญหาที่กว้างขวางมากนัก


-3- ข้อควรค านึง ชื่อของผู้เสนอความคิดเห็นนั้น ไม่ใช่เรื่องส าคัญ ฉะนั้น จึงไม่มีความจ าเป็นที่ต้องบันทึกชื่อ ผู้เสนอความคิดเห็นไว้ถือว่าเป็นความคิดเห็นจากกลุ่ม ประธานจะเป็นผู้ตัดสินการวิจารณ์ วิเคราะห์หรือประเมินความคิดเห็นใด ๆ ไม่ให้มีการยืดเยื้อและจะต้องกระตุ้นให้สมาชิกผู้ร่วม ระดมสมองได้ใช้ความคิดอย่างต่อเนื่อง ไม่ไขว้เขวออกนอกทาง เวลาเป็นสิ่งส าคัญ ต้องการก าหนดแน่นอน อาจตั้งผู้รักษาเวลาเพื่อแจ้งเมื่อหมดเวลาได้ บทสรุป ความส าเร็จของการระดมสมอง จะได้มาจากความคิด เพราะ 1. ผู้ร่วม (สมาชิกกลุ่ม) ต่างมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องที่จะน ามาระดมสมอง 2. ความคิดหลาย ๆ ความคิดเมื่อรวมกันและจัดเข้าสู่เป้าหมายย่อมมีข้อดีมากกว่าความคิดเดียว 3. คนขี้อายอาจมีความคิดดีและไม่กล้าแสดงในที่ประชุมใหญ่ แต่เขาก็ยินดีและยินยอม ให้กลวิธีนี้ 4. การระดมสมอง ถือว่าเป็นภาคปฏิบัติของการท างานเป็นหมู่มาก


บทเรียรี นที่ 20 การอภิปภิ รายเป็น ป็ คณะ (PANNELMETHOD)


บทเรียนที่ 20 การอภิปรายเป็นคณะ (PANNEL METHOD) วิธีการให้การฝึกอบรมวิธีนี้ คือ การอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่มีจ านวนตั้งแต่ 3-5 คน ในหัวข้อที่ก าหนดไว้แล้ว โดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิทุกคนจะน าเสนอโดยให้ความรู้ ข้อเท็จจริง และให้แนวความคิด เห็น ตามทัศนะของตนของแก่ผู้ฟัง หรืออาจใช้กลวิธีนี้ในการเสนอความคิดเพื่อวิเคราะห์ปัญหาเพื่อพิจารณา ข้อดีข้อเสียทางปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง วิธีการ แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะด้วยกันคือ 1. การอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิฝ่ายเดียวกัน (A Panel Presentation) 2. การอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิถามและโต้ตอบกัน (A Panel Discussion) 3. การอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิและสมาชิกผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ผู้ฟัง) ร่วมซักถามและแสดง ความคิดเห็นด้วย ( A Panel Forum) การอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิฝ่ายเดียวกัน (A Panel Presentation) การที่ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 - 5 คน ซึ่งเป็นผู้ช านาญการในแต่ละสาขาวิชา กอปรกับประธาน (Chairman) ของกลุ่มจะต้องท าหน้าที่เป็นพิธีกร (Moderator) ในโอกาสเดียวกัน เริ่มจากการแนะน าผู้ทรงคุณวุฒิทีละ คนอย่างย่อ ๆ พร้อมทั้งจัดก าหนดเวลาพูด และเสนอแนวความรู้ของผู้ทรงคุณวุฒิด้วย ลักษณะการพูดหรือเสนอผลงานจะอยู่ในรูปของสื่อทางเดียว (One Way Communication) ผู้ฟังหรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่มีโอกาสที่จะได้แสดงความคิดเห็นของตน เมื่อมีความต้องการโต้แย้ง หรือข้อคับข้องใจ ถ้าไม่ได้รับการอนุญาต หรือเปิดโอกาสให้ซักถาม หรือแสดงความคิดเห็น แผนภูมิแสดงลักษณะการอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ (A Panel Presentation) P = ผู้ทรงคุณวุฒิ C = ประธาน A = ผู้ฟังหรือผู้เข้ารับการฝึกอบรม


Click to View FlipBook Version