-9- - บุคลากร - การจัดองค์การ - วัสดุอุปกรณ์ 3. พิจารณาถึงวิธีการที่จะเลือกปฏิบัติ(Consider Alternative Procedures ) - ในด้านการปฏิบัติ - เมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน 4. การให้เกิดตัดสินใจในการวางแผน (Arrival a Secession) - ใช้การอภิปรายเพื่อให้เกิดการตัดสินใจโดยกลุ่มคณะบุคคลของท่าน 5. เขียนแผนขั้นสุดท้าย (Write Down the Final Plan) - แบ่งความรับผิดชอบตามแผนไปยังบุคคลต่างๆเพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามแผนนั้น การวางแผน (Planning) - เป็นขวนการคิดก่อนการด าเนินการ - ขอบเขตของการด าเนินการมีความเกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ที่พึงพอใจ แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผน (Concepts of Planning) ประการแรก - ได้เห็นก่อน (Foresee) - เป็นการท านายอนาคต ประการที่สอง - ได้กระท า (Make) ส าหรับอนาคตเท่าที่จะเป็นไปได้โดยพิจารณาด้วยเหตุผลว่า - วัตถุประสงค์ใดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าส าหรับอนาคต - การวางแผนสมบูรณ์แบบอย่างแท้จริงจะท าให้เกิดผลอย่างถูกต้อง ข้อค านึงของการวางแผน (Immacy of Planning) การวางแผนต้องด าเนินการก่อนลงมือปฏิบัติการปรับปรุง/การประเมินผล ถ้าหากปราศจาก การวางแผนเสียแล้ว จะไม่มีองค์การ คณะท างาน การแนะน า หรือการประสานงาน
บทเรียรี นที่ 29 การดำ เนิน นิ งานตามแผนงาน โดยวิธี วิ นั ธี บ นั วัน วั ถอยหลัง ลั
บทเรียนที่ 29 การด าเนินงานตามแผนโดยวิธีนับวันถอยหลัง (BACK DATING) 1. หลักการ วิธีที่จะด ำเนินให้บรรลุตำมจุดประสงค์โดยมิได้ขำดตกบกพร่อง ผู้ด ำเนินงำนควรจะได้มีวิธีจัดก ำหนด ขั้นตอนกำรด ำเนินงำนไว้เพื่อเป็นกำรเตือนตัวเองเสียแต่เนิ่น ๆ แต่กำรวำงแผนก ำหนดขั้นตอน ในกำรด ำเนินงำนมีหลำยแบบหลำยวิธีสุดแต่ผู้ด ำเนินงำนจะเลือกใช้และผลที่ได้รับคงบรรลุดังจุดประสงค์ ทุกแบบ แต่มีวิธีก ำหนดขั้นตอนกำรด ำเนินงำนที่ดีวิธีหนึ่ง คือ “กำรนับวันถอยหลัง” กำรนับวันถอยหลังเป็น ระบบที่มีเหตุและผลที่จะใช้ในกำรวำงแผน มีประโยชน์ต่อกำรก ำหนดแผนงำนเป็นขั้นตอน เป็นเครื่องมือ ในกำรปฏิบัติงำนและประเมินผลงำน โดยกำรท ำงำนจำกวันที่งำนนั้นได้เริ่มถอยหลังไปจนถึงวันรับหลักกำร กำรนับวันถอยหลังต่ำงจำกกำรก ำหนดแผนงำน (SCHEDULING) ซึ่งเป็นกำรวำงแผนนับจำกวันรับหลักกำร จนถึงวันสุดท้ำยของงำนนั้น ๆ ส ำเร็จลง 2. วิธีการ สมมติว่ำผู้ด ำเนินงำนจะวำงแผนในกำรด ำเนินงำนล่วงหน้ำ 90 วัน ผู้ด ำเนินงำนจะต้องถือ วันด ำเนินงำน (วันฝึกอบรม)เป็นที่ตั้ง (0) แล้วจัดขั้นตอนกำรด ำเนินถอยหลังขึ้นไป 90 วัน (ดังตัวอย่ำงแนบ ท้ำย) ส่วนกำรแบ่งระยะเวลำปฏิบัติงำนสุดแต่ผู้ด ำเนินงำน หรือผู้รับผิดชอบจะก ำหนดเอง อำจเป็นกำรแบ่ง กำรด ำเนินงำนเป็นระยะเวลำ 3 หรือ 10 วันก็ได้จนถึงวันงำนซึ่งจะสมมติให้เป็นเลข 0 ส่วนข้ำงหน้ำของ ระยะเวลำจนถึงเลข 0 ให้ใช้เครื่องหมำยลบ เพื่อเตือนผู้ด ำเนินงำนให้ทรำบว่ำยังเหลืออีกกี่วันจนถึงวันงำน หำกระยะเวลำจัดงำนใกล้เข้ำมำแล้ว แต่ยังมีงำนที่จะต้องจัดท ำอีกมำกและท ำไม่เสร็จ ผู้ด ำเนินงำนอำจก ำหนด ระยะเวลำของกำรด ำเนินงำนให้กี่ขั้นตอนก็สำมำรถท ำได้ภำยหลังจำกที่งำนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ด ำเนินงำน ยังต้องมีหน้ำที่ประเมินผลงำนที่ปฏิบัติไปแล้ว เพื่อทรำบ ข้อบกพร่องและปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นส ำหรับ ใช้ ในโอกำสต่อไป ขั้นตอนปฏิบัติภำยหลังงำนได้เสร็จลงแล้ว อำจแบ่งขั้นตอนเป็นกำรประเมินผล และขอบคุณผู้ร่วมงำน กำรจัดแบ่งขั้นตอนแต่ละขั้นตอนจะต้องมีเครื่องหมำย + (บวก) ไว้ข้ำงหน้ำ เพื่อเตือนให้ผู้ด ำเนินงำนทรำบ ระยะเวลำด ำเนินงำนช้ำหรือเร็วอย่ำงไร สมควรจะเร่งรัดให้เร็วกว่ำนี้หรืออย่ำงไร 3. ประโยชน์ของการนับวันถอยหลัง 1. ควำมเป็นระเบียบ มีก ำหนดเวลำที่แน่นอน (มีที่หมำย) 2. เป็นแนวทำงปฏิบัติกิจกรรมในอนำคตและยังมีอะไรอีกบ้ำงที่ยังไม่ได้ท ำ หรืองำนที่ท ำไปแล้วยังขำด อะไรอีกบ้ำงจะได้รีบด ำเนินกำรให้เสร็จสิ้นไป 3. เป็นเครื่องมือในกำรประเมินผล ติดตำมงำน 4. เพิ่มประสิทธิภำพกำรด ำเนินงำน
-2- แบบการวางแผนด าเนินงานโดยวิธีนับวันถอยหลัง การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ..............................ขั้นความรู้เบื้องต้น ระหว่างวันที่................................................................ ณ ค่ายลูกเสือ..................................อ าเภอ..............................จังหวัด................................... จ านวน วัน วัน เดือน ปี รายละเอียดของงาน ผู้รับผิดชอบ วันที่ งานเสร็จ หมายเหตุ -60 -50 -25 -19 -15 -13 -10 -8 -5 -1 0 วันงำน + 1 + 3 + 5 + 7
บทเรียรี นที่ 30 การจัดหาวิท วิ ยากร และทรัพ รั ยากรใช้ก ช้ ารฝึก ฝึ อบรม
บทเรียนที่30 การจัดหาวิทยากรและทรัพยากรใช้ในการฝึกอบรม การจัดฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ จ าเป็นต้องด าเนินการ ด้วยองค์ประกอบหลายอย่าง แต่องค์ประกอบที่ส าคัญคือคณะผู้ให้การฝึกอบรมและทรัพยากรที่ใช้ ในการฝึกอบรม การรู้จักแหล่งวิทยากรและแหล่งทรัพยากร มีความจ าเป็นมากในขบวนการลูกเสือ เพราะทั้งสองเรื่องนี้ จะมีส่วนช่วยให้กิจการลูกเสือประสบความส าเร็จได้อย่างดี วิทยากร ในการที่จะเชิญบุคคลที่มีความรู้มาช่วยให้การฝึกอบรมนั้น จะต้องใช้ความพิจารณาโดยรอบคอบ เพื่อที่จะได้เชิญบุคคลที่มีความรู้ความสามารถที่ดีที่สุดและเหมาะสมเท่าที่จะหาได้ในท้องถิ่น การเชิญบุคคลมาช่วยให้การฝึกอบรมนั้น อาจให้เขามาเป็นวิทยากรหรือเจ้าหน้าที่หรือหรือจะเชิญ มาเป็นวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิก็ได้ ถ้าเชิญบุคคลอื่นมาเป็นผู้ก ากับลูกเสือได้ก็อาจแก้ปัญหาเรื่องจ านวนผู้ก ากับลูกเสือขาดแคลนได้มาก ส าหรับประเทศไทยการลูกเสืออยู่ในโรงเรียน การที่จะเชิญบุคคลภายนอกมาเป็นผู้ก ากับลูกเสือก็สามารถท าได้ เพราะมีอาสาสมัครลูกเสือที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนมาก การที่จะเชิญบุคคลภายนอกมาเป็นผู้ก ากับลูกเสือหรือวิทยากร ขึ้นอยู่กับทักษะในการติดต่อของ ผู้ที่ไปเชิญและขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ (Motivation) ที่จะดึงให้บุคคลเหล่านั้นเข้ามาและควรจะเป็นบุคคลที่มีความรู้ เรื่องการลูกเสือ เช่น ผ่านการอบรมมาแล้ว การเลือกวิทยากร การเลือกคณะผู้ให้การฝึกอบรมเป็นหน้าที่ของผู้อ านวยการฝึกอบรมโดยเฉพาะในการเลือกคณะผู้ให้ การฝึกอบรม ผู้อ านวยการฝึกต้องค านึงถึงผลงานที่จะเกิดแก่ส่วนรวมเป็นส าคัญผู้อ านวยการฝึกอบรมต้องไม่มี อคติความล าเอียง คัดเลือกแต่พรรคพวกของตนเป็นคณะ ทั้ง ๆ ที่มีบุคคลอื่นมีความรู้ความสามารถดีกว่า คุณสมบัติของคณะผู้ให้การฝึกอบรม ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. 2556 ก าหนดคุณสมบัติของผู้ที่เป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมไว้ดังนี้ 1. ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ (L.T.C.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้ การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ (A.L.T.C) 2. ผู้อ านวยการฝึกอบรมอาจเชิญผู้ที่มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ (W.B.) หรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเป็นวิทยากร ตามที่เห็นสมควร ความตามระเบียบนี้ หมายความว่าผู้ที่จะแต่งตั้งเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรม ต้องมีคุณสมบัติตาม ข้อ 1 ส่วนผู้มีคุณวุฒิ W.B. เป็นอ านาจผู้อ านวยการฝึกอบรมที่จะเชิญมาร่วมเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรม
-2- บุคคลที่ควรได้รับการพิจารณาอยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม ควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1. เป็นผู้น าความรู้ความสามารถในเรื่องการลูกเสือทั้งของคณะลูกเสือไทยและลูกเสือโลก และทักษะการลูกเสือเป็นอย่างดีได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์แล้ว มีความหนักแน่น อดทน มีปฏิภาณไหวพริบ มีอารมณ์ขัน 2. เป็นผู้มีศรัทธาและความสนใจในกิจการลูกเสือมาก ยอมรับเอาหลักการส าคัญของการลูกเสือ มีมนุษยสัมพันธ์ติดต่อกับบุคคลอื่นได้เป็นอย่างดี 3. เป็นผู้มีเวลาเพียงพอ สามารถจะไปประชุมได้ตามเวลานัดหมายและอยู่ตลอดเวลาการฝึกอบรม พร้อมที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์กับผู้อื่น 4. มีสุขภาพดีความประพฤติดีและมีอายุพอสมควร มีความเป็นผู้น า 5. มีความเข้าใจเป็นอย่างดีในเรื่องความรับผิดชอบ และหน้าที่ของผู้ให้การฝึกอบรม รู้จักยอมรับความ คิดเห็นหรือมติของที่ประชุม 6. มีเสียงรื่นหูคล่องในภาษา สงบเสงี่ยม ไม่ตื่นเต้นในการบรรยายสามารถรั้งความสนใจของ ผู้เข้ารับการอบรมในระหว่างการบรรยายหรือสอนได้ 7. มีน้ าใจเป็นนักกีฬารู้จักเรื่องส่วนตัวของคณะผู้ให้การอบรมว่าอะไรควรน าไปพูดหรือเปิดเผย กับบุคคลภายนอกหรือไม่ การพัฒนาคณะผู้ให้การฝึกอบรม 1. ประชุมกันบ่อยๆ ทบทวนความรู้แจกเอกสารเกี่ยวกับเรื่องการฝึกอบรม 2. จัดสัมมนาเป็นครั้งคราว เพื่อให้แต่ละคนได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่กระท า 3. ส่งเสริมให้ไปเข้ารับการฝึกอบรมสูงขึ้น อาจจะเป็นการฝึกอบรมพิเศษเฉพาะวิชาก็ได้ 4. ให้การส่งเสริมสนับสนุนยกย่อง ชมเชย เพื่อให้ท างานให้เต็มความสามารถ การใช้ประโยชน์ให้ได้ผลเต็มที่ 1. มอบงานให้ท าเหมาะสมกับความรู้ความสามารถ 2. แบ่งงานให้สมดุลกับทุกคน อย่าให้ใครคนหนึ่งคนใดท างานอยู่คนเดียว 3. ประชุมชี้แจงข้อบกพร่องที่ได้พบเห็นระหว่างการฝึกอบรม 4. ให้การส่งเสริมสนับสนุนยกย่อง ชมเชย เพื่อให้ท างานให้เต็มสามารถ ทรัพยากร ทรัพยากรที่จ าเป็นต้องใช้ในการฝึกอบรม ประกอบด้วย 1. งบประมาณ 2. วัสดุ
-3- 3. อุปกรณ์ 4. โสตทัศนูปกรณ์ วัสดุที่จะน ามาใช้ในกิจการลูกเสือมีนานาประการ นับตั้งแต่เต็นท์วัสดุอื่นที่ไว้เป็นที่พักนอนในเวลาไป แรมคืนลงมาจนถึงเครื่องใช้ในการสอน วัสดุต่างๆ เหล่านี้มาจากประชาชนหรือร้านค้าในท้องถิ่น ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวว่าเป็นความจ าเป็น และส าคัญอย่างยิ่งที่ผู้ก ากับลูกเสือต้องมีทักษะในความสัมพันธ์กับคนทุกประเภทในท้องถิ่นเป็นอย่างดีเช่น ครูพ่อค้า บุคคลในอาชีพต่างๆ ไม่ว่าบุคคลเหล่านี้จะมีอาชีพอย่างไร แต่ละคนก็จะเป็นประโยชน์แก่งาน ของเราทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อมก็ตาม แรงจูงใจ โดยปกติภารกิจที่จะติดต่อเชื้อเชิญบุคคลภายนอกเข้ามาช่วยกิจการลูกเสือ หาวัสดุเข้ามาใช้ในกิจการ ลูกเสือนั้นเป็นหน้าที่ของที่ประชุมผู้ก ากับกลุ่ม ผู้ก ากับกลุ่มอาจต้องใช้ปฏิภาณหรือกลวิธีในการติดต่อกับบุคคลที่เกี่ยวข้องเรื่องที่จะไปสนทนา กับบุคคลดังกล่าว ยากที่จะกล่าวไว้ในที่นี้ได้แต่อาจจะเป็นเรื่องที่จะต้องแจ้งให้บุคคลที่เราเชิญมานั้นเข้าใจ ว่าการลูกเสือคืออะไร มีอุดมการณ์อย่างไร การที่เขาจะไปช่วยนั้นจะช่วยให้เกิดประโยชน์อย่างไร ดังนี้ เป็นตัวอย่าง
บทเรียรี นที่ 31 การเตรียรี มแผนการฝึก ฝึ อบรม ผู้กำผู้กำ กับ กั ลูก ลู เสือ สื ขั้น ขั้ ความรู้เรู้บื้อ บื้ งต้น ต้
บทเรียนที่ 31 การเตรียมแผนฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือในสาระของวิชาต่าง ๆ ก็ไม่ต่างกับการสอนในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ทั่วไป เพราะผู้สอนจ าเป็นต้องวางแผนการสอน ก าหนดวัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมให้รัดกุมพอเหมาะพอดี กับเวลาที่ก าหนด ตลอดจนตรวจสอบผลการปฏิบัติงานหรือพฤติกรรมที่คาดหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะเปลี่ยน พฤติกรรมหรือได้รับความรู้ใหม่ เพียงแต่ว่า วิธีการสอนของลูกเสือนั้น ใช้วิธีการฝึกอบรม เน้นการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ ผู้เรียน เกิดความรู้ ทักษะและเจตคติจากการลงมือปฏิบัติด้วยระบบหมู่และกระบวนการกลุ่ม ดังนั้น การเตรียมแผนฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ จึงต้องพิถีพิถันในการออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม ให้เป็นไปตามหลักการและวิธีการทางลูกเสือ จึงจะท าให้ผู้ก ากับลูกเสือซึมซับวิธีการเหล่านี้และน าไปใช้ ในการฝึกอบรมลูกเสือในกองของตนให้มีคุณภาพต่อไป หลักการเตรียมแผนฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ 1. ก าหนดวิชาและจุดประสงค์ของเรื่องที่จะฝึกอบรมเพิ่มเติมไว้ให้ชัดเจน 2. ร่างโครงการฝึกอบรมตามเรื่องที่ก าหนด ก. เนื้อหาวิชาต้องคลุมประเด็นส าคัญของวิชานั้นทั้งหมด และตรงตามวัตถุประสงค์ ข. แบ่งเวลาที่จะสอนทุกตอนให้แน่นอน มากน้อยตามขั้นตอนของความส าคัญของเนื้อหาวิชา 3. เตรียมแผนการฝึกอบรมในรายละเอียดให้มีเรื่องต่อไปนี้ ก. ก าหนดเวลาส าหรับบทเรียนให้เพียงพอทุกขั้นตอน ข. ก าหนดหัวข้อการฝึกอบรมเป็นขั้นตอนก่อนหลังตามล าดับ ให้มีโอกาสได้ซักถามและแสดงความ คิดเห็น ค. ล าดับการใช้โสตทัศนูปกรณ์ในการสอนและเอกสารที่จะแจก ง. ล าดับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ข้อซักถามและจุดที่ควรเน้น จ. จัดให้มีโอกาสที่จะได้ปฏิบัติจริง และทดสอบว่าได้ผลตรงกับวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ 4. พิจารณาทบทวนแผนการฝึกอบรมของท่านที่ท าขึ้นอีกครั้งหนึ่งว่าเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย เค้าโครงการสอน เป็นที่พอใจท่านแล้วหรือยัง 5. เตรียมทุกอย่างต่อไปนี้ให้พร้อมเมื่อจะท าการฝึกอบรม - ให้มีแสงสว่างเพียงพอ - เตรียมอุปกรณ์ที่จะใช้ในการจดบันทึก จัดแผนภูมิและสิ่งที่จะสาธิตให้เข้าที่ - จัดแผนภูมิสถิติกราฟ โปสเตอร์ภาพยนตร์ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้ได้ทันที - เอกสารที่เตรียมไว้พร้อมที่จะแจกได้ทันที - จัดโต๊ะ เก้าอี้ให้ผู้เข้ารับการอบรมสะดวกสบาย มองเห็น และฟังเสียงได้ชัด
-2- ตัวอย่าง “การเตรียมแผนฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ” ชื่อหลักสูตร การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น วิชา……….รู้จักลูกเสือสามัญ…………… เวลา..30..นาที ด าเนินการสอนโดย……………………………………..วันที่………………………………….. 1. แผนการฝึกอบรม วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมควรจะสามารถ (1) บรรยายขบวนการพัฒนาของคนวัยหนุ่ม อายุ11-16 ปีได้ (2) อธิบายลักษณะนิสัยส าคัญของลูกเสือสามัญได้ (3) ประเมินความต้องการจ าเป็นรายบุคคลของเด็กชายในประเภทลูกเสือสามัญ และจัดกิจกรรมสนองความต้องการนั้นได้ เนื้อหาวิชา เด็กชายวัยรุ่นคืออะไร ความเจริญเติบโตทางร่างกาย ความเจริญเติบโตทางอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ความต้องการจ าเป็นของเด็กแต่ละอายุ กิจกรรมลูกเสือที่จะสนองความต้องการของเด็กวัน 11 – 16 ปี งานในกลุ่ม แบ่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 3 หมู่ แต่ละหมู่ไปประชุมกลุ่มย่อย 8 นาที ตามใบ งานภาคปฏิบัติ การรายงาน ให้แต่ละหมู่รายงานผล หมู่ละ 2 นาที 2. วิธีการสอน (1) ชี้แจงวัตถุประสงค์ บรรยายน า 10 นาที (2) งานภาคปฏิบัติ ประชุมกลุ่มย่อย 8 นาที (3) รายงานผลการประชุมกลุ่มย่อย 6 นาที (4) สรุป ประเมินผล 6 นาที 3. วัสดุอุปกรณ์ที่จะน ามาใช้ประกอบการฝึกอบรม 3.1 วัสดุอุปกรณ์ แผนภูมิ 3.2 เอกสารหรือหนังสือที่จะน ามาแจก เอกสารประกอบเรื่อง “รู้จักลูกเสือสามัญ” 4. หนังสืออ้างอิงหรือสิ่งช่วยในการเตรียมการฝึกอบรม คู่มือการฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น 5. การทดสอบหรือการประเมินผล สังเกตการท างานในกลุ่ม
-3- 6. ข้อเสนอแนะ วิชานี้มีเวลาให้การฝึกอบรม 60 นาที วัตถุประสงค์ของบทเรียนบางข้อจึงมิได้น าเสนอใน แผนการฝึกอบรมฉบับนี้ เพื่อให้การน าเสนอเหมาะสมกับเวลาที่ก าหนด (ลงชื่อ)………………………………………… (………………………………………..) เอกสารประกอบแผนการฝึกอบรม 7. เนื้อหาวิชา บรรยายน า เด็กวัยหนุ่มคืออะไร วัยรุ่นหนุ่ม คือ ระยะเวลาในชีวิตของคนทุกคน ต่อท้ายจากวัยเด็กเล็กและตอนเริ่มต้นของวัยผู้ใหญ่ อายุระหว่าง 11-16 ปี เด็กวัยรุ่นหนุ่มแต่ละคนแตกต่างกัน มีความส านึกคิดแตกต่างกัน เราต้องค านึงถึงความแตกต่างนี้ “วัยรุ่นหนุ่ม” เป็นวัยแห่งการเจริญเติบโต คนวัยรุ่นหนุ่ม จะสลัดทิ้งเครื่องป้องกันส าหรับการเป็นเด็กเล็กไว้เบื้องหลังและกลายมาเป็นผู้มีอิสระเสรี สามารถจะก้าวออกสู่โลกภายนอกด้วยตนเองและสามารถรักษาตนเองได้ ผู้ก ากับที่ท างานเกี่ยวกับเด็กวัยรุ่น ภายในระดับอายุ11 ถึง 16 ปี ควรมีความรู้ในการเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกาย และทางอารมณ์ไว้บ้าง และพึงเข้าใจด้วยว่าไม่มีก าหนดเวลาที่แน่นอนที่จะพยากรณ์ได้ว่า เมื่อไรเด็กหนุ่ม แต่ละคนจะประพฤติอย่างไร เด็กวัยรุ่นบางคน การเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างรวดเร็วน่าตกใจ เวลาเดียวกันเด็กวัยรุ่นบางคน เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้ามาก ทั้งไม่ปรากฏอาการภายนอกให้เห็นอย่างชัดเจนด้วย ผู้ก ากับที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้อาจสนองความเปลี่ยนแปลงทางความประพฤติของเด็กวัยรุ่น แต่ละคนได้โดยใช้ก าหนดการของลูกเสือสามัญอย่างระมัดระวัง ผู้ก ากับอาจช่วยเรื่องการเจริญเติบโตได้ทาง ร่างกาย และให้โอกาสแก่เด็กวัยรุ่นขบปัญหา เรื่องการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายและทางอารมณ์ด้วยตนเอง ลักษณะนิสัยของเด็กวัยนี้มีหลายประการ อาทิอยู่ไม่สุข ชอบค้นคว้า มีความต้องการที่จะได้ท าโน่นท านี่ ค้นคว้าด้วยตนเอง กิจกรรมของลูกเสือสามัญที่จะสนองความต้องการเช่นนี้ได้คือการอยู่ค่ายพักแรม การเล่นใน ที่กว้าง การท่องเที่ยว งานอดิเรก การบ าเพ็ญประโยชน์
บทเรียรี นที่ 32 การดำ เนิน นิ งานจัด จัฝึก ฝึ อบรม ผู้กำผู้กำ กับ กั ลูก ลู เสือ สื
บทเรียนที่ 32 การจัดการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น และการดัดแปลงแผนงานการฝึกอบรมให้เหมาะสมกับความต้องการ การจัดการฝึกอบรม เมื่อท่านได้รับมอบหมายให้เป็นผู้อ านวยการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้น ท่านจะต้อง วางแผนการฝึกอบรมของท่านไว้เป็นขั้นตอนว่า ท่านควรจะท าอะไรก่อน -หลัง เพื่อให้งานด าเนินไป อย่างมีระบบ ไม่ซ้ าซ้อนหรือขาดตกบกพร่อง สับสนวุ่นวาย (ควรบันทึกแผนของท่านไว้เป็นลายลักษณ์อักษร) ตามหลักการของ 4’ M คือ MAN, MONEY, MATERLAL และ MANAGEMENT ดังนี้ 1. ก่อนการฝึกอบรม ก. เลือกรองผู้อ านวยการฝึกอบรมและวิทยากร โดยพยายามเลือกวิทยากรที่มีความเข้าใจ ในวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม และสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ ไม่ควรมีจ านวนมากเกินไป อย่างมากไม่ควร เกิน 8 - 9 คน หากจะมีวิทยากรฝึกหัดบ้างก็ได้ แต่ไม่ควรมากนัก ข. เลือกผู้ช่วยและวิทยากรป ระจ าหมู่ เลือกเฉพ าะผู้ที่มีความสาม ารถจะช่วยเหลืองาน ทั้งในด้านวิชาการและอื่น ๆ ค. ผู้อ านวยการฝึกอบรมประชุมวิทยากรและผู้ช่วย เพื่อมอบหมายงาน ฅ. ไม่ควรเลือกวิทยากรที่มาหาความรู้จากการอบรม เลือกแต่วิทยากรที่มาหาความช านาญ ง. ก าหนดวันฝึกอบรม จ. ชี้แจงหน้าที่ของวิทยากรประจ าหมู่ 1.1 ความสะดวกต่างๆ ก. อ านวยความสะดวกในการขนส่ง ข. สถานที่อบรม ค. อากาศ ง. แสงสว่าง น้ าใช้ จ. ที่นั่งเรียน สนามฝึก ฉ. ห้องน้ า - ห้องส้วม ช. อุปกรณ์การเรียนการสอนอยู่ในสภาพดี ซ. ตรวจสถานที่ก่อน (ถ้าไม่คุ้นกับสถานที่) ฌ. ส ารวจความเรียบร้อยของสถานที่ อุปกรณ์ แลอื่นๆ ก่อนการอบรม 1 เดือน 1.2 อาหาร ก. การจัดเตรียมบัญชีอาหารประจ าวันล่วงหน้าและเหมาะสม ข. จัดอุปกรณ์การครัวให้พร้อมโดยจัดเป็นหมู่ๆ 1.3 การบริการ
-2- ก. ส าหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม (1) อุปกรณ์การฝึกและเครื่องใช้ประจ าหมู่ (2) อุปกรณ์ที่จ าเป็นของลูกเสือแต่ละประเภท (3) ที่จอดรถ (4) การประกอบพิธีทางศาสนา (5) ถ่ายภาพ (6) การเยี่ยมเยียนของบุคคลภายนอก (ไม่ควรให้เยี่ยมขณะที่ก าลังท าการฝึกอบรม) (7) เตรียมคู่มือการฝึกอบรมให้ค้นคว้า (8) เครื่องเวชภัณฑ์ในการปฐมพยาบาล (9) ป้ายชื่อ สมุดโน้ต เชือก ฯลฯ ข. ส าหรับวิทยากร (1) ที่พักอาศัย (2) อาหาร (3) คู่มือการฝึกอบรม 1.4 เชิญบุคคลภายนอก ก. ผู้บรรยาย ข. ผู้เยี่ยมเยียน 2. ระหว่างการฝึกอบรม ก. ประชุมนายหมู่ภายหลังการอบรมประจ าวัน เพื่อทราบความต้องการและสารทุกข์สุขดิบของ ผู้เข้ารับ การฝึกอบรม และมอบงานในวันต่อไป ข. ประชุมวิทยากรภายหลังการอบรมประจ าวัน เพื่อทราบข้อบกพร่อง หากกระท าภายหลังการ ประชุม นายหมู่จะดีมาก ค. ควบคุมเวลาให้เป็นไปตามตามรางฝึกอบรม 3. ภายหลังการฝึกอบรม ก. การประชุมปรึกษากับคณะวิทยากร เลือกผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่ดีเด่น ปานกลาง และต่ าที่สุด ข. แจ้งผลการอบรมให้ผู้ไม่ผ่านการอบรมทราบ และเชิญให้มาเข้ารับการอบรมอีกครั้ง ค. แนะน าผู้เข้ารับการอบรมที่ดีเด่นไปยังเจ้าสังกัด เพื่อเลือกไว้เป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรม ง. จัดลงชื่อไว้ในท าเนียบการฝึกอบรม
-3- การจัดการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น การฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือในปัจจุบันได้แพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวางเป็นที่ต้องการของ บุคคลทั่วไปและหน่วยงานต่างๆ ที่ต้องการจะพัฒนาบุคคลในหน่วยงานของตน โดยใช้วิธีการของลูกเสือ นโยบายที่ส าคัญของส านักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาตินั้นต้องใการที่จะฝึกอบรมครูในโรงเรียน ต่างๆ ให้เป็น ผู้ก ากับหรือรองผู้ก ากับลูกเสือ ได้น าความรู้ความสามารถและทักษะทางวิชาลูกเสือไปฝึกอบรม ลูกเสือในกองของตนให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ ในการที่จะให้ผลของการฝึกอบรมวิชาผู้ ก ากับลูกเสือบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์นั้นได้ ผู้รับผิดชอบโครงการ วิทยากร ผู้อ านวยการฝึกอบรมเป็น ปัจจัยส าคัญยิ่งที่จะสามารถท าให้การฝึกอบรมนั้นมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของคณะ ลูกเสือแห่งชาติได้เกิด ประสิทธิภาพ มีประสิทธิผลมากน้อยเพียงไร ในการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้นให้เกิดประสิทธิภาพได้นั้น การด าเนินการ เบื้องต้นจะต้องมีการวางแผนที่ดี และสามารถด าเนินการ (ปฏิบัติ) ได้ให้เป็นไปตามแผนที่ได้จัดท าไว้ ผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมจะต้องร่วมกันวางแผนการฝึกอบรมที่ได้รับมอบหมายมาใส่ไว้ในแผ่นนั้นด้วย โดยที่ ผู้รับผิดชอบในการฝึก อบรมจะต้องระลึกอยู่เสมอว่าจะท าอย่างไรให้นโยบายทั้งสองนั้นประสานกันให้ เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมและสังคมของเมืองไทย วิธีการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือ เป็นวิธีการฝึกอบรมที่ สลับซับซ้อน ไม่เหมือนกับการฝึก อบรมทั่วไป เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องมากินอยู่หลับนอนแบบอยู่ ค่ายพักแรมตลอดการฝึกอบรม จึงจ าเป็นต้องค านึงถึงการบริการและสิ่งอ านวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียง และเหมาะสมกับวิธีการของลูกเสือ ส่วนในด้านการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือจะเป็นแบบการเรียนโดยการ ปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้และทักษะโดยการกระท าให้เป็นหลักส าคัญ จึงท าให้การตระเตรียม การฝคึกอบรมในแต่ละประเภทของลูกเสือแตกต่างกันออกไป ต้องมีการเตรียมการล่างหน้า ทั้งอุปกรณ์การ ฝึกอบรม สถานที่ และฐานต่าง ๆ ที่จะให้ผู้เข้ารับการฝึก อบรมได้เรียนรู้ จึงท าให้ผู้รับผิดชอบการฝึกอบรม ต้องมีการเตรียมการวางแผนจัดการฝึกอบรมไว้ล่วงหน้า พร้อมทั้งตรวจและควบคุมให้ใช้ได้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ถ้าหากผู้รับผิดชอบในการฝึกอบรมมิได้มีการวางแผนที่ดีและการเตรียมการที่ดีแล้วก็ไม่สามารถที่จะให้การ ฝึกอบรมบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติได้ ในการจัดโครงการใดๆก็ตาม จ าต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้าก่อนเสมอว่ามีงานอะไรจะต้องปฏิบัติ บ้าง ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ จะใช้สถานที่ไหนอย่างไร และควรจะก าหนดแล้วเสร็จเมื่อใด เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ในงานนั้น ๆ ในการจัดโครงการฝึกอบรมเช่นนั้น ท่านจ าเป็นจะต้องวางแผนที่จะจัดการฝึกอบรม ต่อไปในรายละเอียดว่าท่านจะต้องท าอะไรบ้าง โดยแยกออกเป็น 3 ช่วงด้วยกันคือ (1) ก่อนการฝึกอบรม (2) ระหว่างการฝึกอบรม และ (3) หลังการฝึกอบรม
-4- เพื่อที่ท่านจะได้ทราบว่ามีงานอะไรที่ท่านจะต้องกระท าบ้าง อะไรควรจะท าก่อนหรือหลัง และไม่ลืมที่จะ ปฏิบัติงานบางอย่างไม่ว่าจะเป็นงานเล็กหรือใหญ่ เพราะในการจัดการฝึกอบรมนั้น หากท่านบกพร่องในงาน แม้ในเรื่องเล็กน้อยหรือดูไม่สลักส าคัญอะไรนัก ก็อาจก่อให้เกิดผลเสียหายมากมายขึ้นได้ ดังนั้น เพื่อให้การจัดโครงการฝึกอบรมของท่านด าเนินไปด้วยดี และมีประสิทธิภาพท่านจึงควรที่จะมี การวางแผนด าเนินการฝึกอบรมไว้ก่อนล่วงหน้า ดังนี้ คือ (1) การวางแผนก่อนด าเนินการฝึกอบรม - หาความจ าเป็นในการฝึกอบรม - จัดท าก าหนดการปฏิบัติงาน และก าหนดคณะวิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ - เขียนโครงการฝึกอบรม - เสนออนุมัติโครงการ - แจ้งเรื่องโครงการฝึกอบรมให้ส่วนราชการต่างๆ ทราบพร้อมทั้งส่งรายละเอียดโครงการ ใบสมัคร และใบประวัติผู้เข้าฝึกอบรม - แจ้งตอบรับและตอบปฏิเสธผู้เข้าฝึกอบรม - จัดพิมพ์หลักสูตรและโครงการฝึกอบรม - จัดเตรียมเอกสารพื้นฐานและเอกสารประกอบการฝึกอบรม - จัดเตรียมอุปกรณ์การสอนต่าง ๆ - จัดเตรียมโสตทัศนูปกรณ์ - จัดเตรียมสถานที่ในการจัดการฝึกอบรม - จัดเตรียมท าฐานต่างๆ ส าหรับการฝึกอบรม - จัดเตรียมรูปแบบของการจัดที่นั้งส าหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิทยากรประจ าวัน ผู้อ านวยการฝึก - จัดเตรียมเกี่ยวกับงบประมาณ - จัดเตรียมเงินหรือของที่ระลึกสมนาคุณวิทยากร - จัดเตรียมเครื่องดื่มและอาหาร - จัดเตรียมกิจกรรมเสริม - จัดท าบัญชีรายชื่อผู้เข้ารับหารฝึกอบรม (1) ส าหรับวิทยากร พร้อมทั้งคุณสมบัติผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ชื่อต าแหน่ง ส่วนราชการที่ สังกัด วุฒิ อายุ ประสบการณ์การท างาน) (2) ส าหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
-5- - ติดต่อวิทยากรเป็นการภายใน พร้อมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการใฝึกอบรมที่วิทยากร ควรทราบและสอบถามจากวิทยากรเกี่ยวกับการจัดส่งรถรับ-ส่ง การจัดสถานที่ อุปกรณ์ และมีเอกสารประกอบ หรือไม่ - ติดต่อเรื่องรอรับ - ส่งวิทยากร และผู้เข้ารับการฝึกอบรม - จัดเตรียมสถานที่จอดรถยนต์ - ท าหนังสือเชิญวิทยากรและหนังสือขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชาวิทยากร พร้อมทั้ง ส่งก าหนดการ ฝึกอบรม รายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตร และรายชื่อ พร้อมคุณสมบัติ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้วิทยากรทราบ - ติดต่อเกี่ยวกับการดางานหรือทัศนศึกษา และยานพาหนะที่จะใช้ (ถ้ามี) เตรียมแบบประเมินผล (1) รายวิชา (2) โครงการ (3) ประเมินโดยวิทยากร (4) ประชุมคณะวิทยากรก่อนการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 6 ครั้ง จัดท าป้ายชื่อต่างๆ (1) ป้ายชื่อวิทยากร (2) ป้ายชื่อผู้เข้าฝึกอบรม (ตั้งโต๊ะ ติดเสื้อ) (3) ป้ายลงทะเบียน (4) ป้ายบอกทางมายังห้องฝึกอบรมและสถานที่ต่างๆ ที่อ านวยความสะดวกให้กับผู้เข้ารับ การฝึกอบรม เตรียมแฟ้มส าหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประกอบด้วย (1) ก าหนดการในวันเปิดการฝึกอบรม (2) รายละเอียดโครงการ (3) รายชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม พร้อมต าแหน่งและหน่วยงานที่สังกัด (4) สมุดจดบันทึก (5) เอกสารพื้นฐานการอบรม (ถ้ามี) เตรียมแฟ้มลงทะเบียน (1) แบบลงทะเบียน (2) รายชื่อจัดหมู่เรียงตามล าดับตามข้อบังคับๆ พร้อมทั้งบอกหน่วยงานที่สังกัด - เตรียมร่างค ากล่าวรายงานและค ากล่าวเปิดการฝึกอบรม พร้อมทั้งรายละเอียดที่ควรทราบ - ท าหนังสือเชิญประธานเปิดการฝึกอบรม พร้อมทั้งรายละเอียดที่ควรทราบ
-6- - ท าหนังสือเชิญประธานเปิดการฝึกอบรม พร้อมก าหนดการพิธีเปิด และค ากล่าวเปิด การฝึกอบรม - ท าหนังสือเชิญแขกผู้มีเกียรติมาในพิธีเปิดการฝึกอบรม - เตรียมเรื่องที่จะชี้แจงแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในวันเปิดการฝึกอบรม เกี่ยวกับ (1) วัตถุประสงค์ ขอบเขตของหลักสูตร (2) แนะน าเจ้าหน้าที่ สถานที่ (3) หลักเกณฑ์การปฏิบัติระหว่างเข้าฝึกอบรม (4) บริหารต่างๆ - จัดเตรียมแผนงานที่จะปฏิบัติในวันพิธีเปิด - และผู้รับผิดชอบ - จัดท าก าหนดการพิธีเปิด – ปิด - จัดเตรียมประกาศนียบัตร (2) การวางแผนด าเนินการระหว่างการฝึกอบรม - เตรียมหีบอุปกรณ์ - เตรียมธงประจ าหมู่ - เตรียมไม้พลอง - เตรียมเครื่องหมายหมู่ นายหมู่ รองนายหมู่ พลาธิการ - เตรียมเอกสารที่จะแจกแต่ละวันและกระดาษเปล่า - จัดเตรียมสถานที่ เครื่องขยายเสียง และโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อมอยู่เสมอ - เตือนวิทยากรแทนหรือใช้กิจกรรมแทน กรณีที่วิทยากรไม่มา - ต้อนรับ อ านวยความสะดวกและส่งวิทยากร - เตรียมและมอบค่าสมนาคุณหรือของที่ระลึกวิทยากร - แนะน าและขอบคุณวิทยากร - เตรียมและมอบค่าสมนาคุณหรือของที่ระลึกวิทยากร - เตรียมเครื่องดื่มส าหรับวิทยากร - ดูแลเรื่องเวลาให้เป็นไปตามก าหนดการ - สังเกตการณ์การฝึกอบรมตลอดระยะเวลาการฝึกอบรม - เปลี่ยนป้ายชื่อ - วิทยากรและป้ายชื่อวิชา - อ านวยความสะดวกให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม - เตรียมประกาศนียบัตรและเสนอเซ็นล่วงหน้า
-7- - เตรียมแบบประเมินผล วิเคราะห์ผล แล้วปรับปรุงในระหว่างการฝึกอบรม - เตรียมแผนการปฏิบัติงานในวันพิธีปิดการฝึกอบรม - เตรียมหนังสือขอบคุณวิทยากร ผู้บังคับบัญชาของวิทยากรและหน่วยงานที่ให้ ความอนุเคราะห์ไปดูงาน หรือให้ความช่วยเหลือต่างๆ - เตรียมหนังสือส่งตัวผู้เข้ารับการฝึกอบรมกลับ (3) การวางแผนด าเนินการหลังจากการฝึกอบรม - ส่งหนังสือขอบคุณวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ส่งหนังสือตัวผู้เข้ารับการอบรมกลับต้นสังกัด - วิเคราะห์ผลการฝึกอบรม - รายงานผลการฝึกอบรมต่อฝ่ายบริหาร - รายงานผลการฝึกอบรมต่อฝ่ายบริหาร - ติดตามผลการฝึกอบรมต่อผู้บังคับบัญชาของผู้เข้าฝึกอบรม - ติดตามผลการฝึกอบรม - วิเคราะห์ผลการติดตามผลที่ได้ - ปรับปรุงเอกสารและอุปกรณ์ต่าง ๆ - ดัดแปลงหรือปรับปรุงหลักสูตรและโครงการฝึกอบรมใหม่ให้เหมาะสม - เป็นตัวกลางในการติดต่อประสานงานหรือการพบปะกันระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรม - จัดท าท าเนียบรุ่นผู้เข้ารับการฝึกอบรม - จัดการเรื่องการเงิน - เก็บอุปกรณ์ - ดูแลความเรียบร้อยของสถานที่ที่ใช้ในการฝึกอบรม - รายงานผลการฝึกอบรม (4) การวางแผนในวันพิธีเปิดและปิดการฝึกอบรม การเตรียมการทั่วไปในวันเปิดและปิด วันเปิดอบรม - ตรวจสอบความเรียบร้อยของสถานที่ - การจัดโต๊ะนั่ง - การวางป้ายชื่อ - โต๊ะลงทะเบียนและโต๊ะจัดเลี้ยงเครื่องดื่ม - โต๊ะส าหรับประธาน และแท่นยืนส าหรับกล่าวเปิด
-8- - และปิด - โต๊ะหมู่บูชาและโต๊ะหมู่ส าหรับพระรูป ร.6 - สถานที่รอบเสาธง - ตรวจสอบความเรียบร้อยเรื่องแสง เสียง อุปกรณ์ที่จะใช้เอกสารที่จะแจก แฟ้มลงทะเบียน - จัดดอกไม้ และเตรียมธูปเทียนและพวงมาลัย - ดูแลเรื่องเครื่องดื่ม - จัดพิธีกร ทั้งพิธีเปิดการฝึกอบรมในห้องประชุมและพิธีปิดรอบเสาธง - เตรียมค ากล่าวและเรียนเชิญประธาน - ต้อนรับประธานและแขกผู้มีเกียรติ - ดูแลเรื่องสถานที่จอดรถ - รับลงทะเบียน - ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมและเรื่องทั่วไป วันปิดอบรม - สรุปและประเมินผลโครงการฝึกอบรม - จัดประกาศนียบัตร - จัดท ารายชื่อหรือท าเนียบรุ่นแจกแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในฐานะที่ท่านเป็นผู้อ านวยการฝึกอบรม มีหน้าที่รับผิดชอบในการฝึกอบรมทั้งในด้านวิชาการและด้านธุรการ ฉะนั้น เพื่อให้การฝึกอบรมได้ด าเนินไปด้วยดีและบรรลุผลตามความมุ่งหมาย ท่านสามารถที่จะดัดแปลงสิ่งซึ่ง เป็นสาระส าคัญหรือหลักการของลูกเสือ เหตุผลในการที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงและดัดแปลงนั้น อาจเนื่องจาก - เพื่อให้เหมาะสมแก่สถานที่ - เพื่อให้เหมาะสมแก่ความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม - เพื่อให้เหมาะสมแก่เวลา - เพื่อให้เหมาะสมแก่ความต้องการของท้องถิ่น - เพื่อให้เหมาะสมแก่กาลเทศะ - เพื่อให้เหมาะสมกับเศรษฐกิจ ฯลฯ
-9- เมื่อได้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือดัดแปลงขึ้นแล้ว ท่านควรจะต้องด าเนินการดังต่อไปนี้ 1. ชี้แจงและวางแนวทางให้ผู้เข้าร่วมงานเข้าใจอย่างชัดเจนว่า ในการฝึกอบรมครั้งนี้มีแนวทางที่จะ ด าเนินการอย่างไร และจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบเพียงไร 2. ก าหนดเนื้อหาสาระของสิ่งที่เปลี่ยนเปลงให้เหมาะสมกับสภาพของบุคคลและท้องถิ่น 3. จัดท าตารางฝึกอบรมให้สอดคล้องตามล าดับความส าคัญของวิชาอย่าให้สับสน ซึ่งอาจก่อให้เกิด ความไม่เข้าใจในสาระส าคัญของแต่ละวิชาได้ 4. เลือกวิธีฝึกอบรมให้เหมาะสมกับวิชานั้นๆ พร้อมทั้งอุปกรณ์ที่เหมาะสม 5. จัดหาวิทยากรและอุปกรณ์การฝึกอบรม ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง เพื่อจูงใจให้เกิดศรัทธา แก่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
-10- หลักสูตรวิชาผู้ก ากับลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น __________________ 1. การกล่าวต้อนรับและความมุ่งประสงค์ของการฝึกอบรม 30 นาที 2. คนวัยหนุ่มในปัจจุบัน 60 นาที 3. กิจการลูกเสือวิสามัญ 90 นาที 4. วินัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อย 60 นาที 5. กฎและค าปฏิญาณของลูกเสือ 75 นาที 6. การลูกเสือนานาชาติและลูกเสือไทย 60 นาที 7. ข้อแนะน าในการชุมนุมรอบกองลูกเสือไฟ 45 นาที 8. หลักสูตรวิชาพิเศษลูกเสือวิสามัญ 75 นาที 9. การบริหารในกองลูกเสือวิสามัญ 45 นาที 10. กิจกรรมเสี่ยงภัย และความรับผิดชอบของผู้น า 75 นาที 11. การปฐมพยาบาล 60 นาที 12. การวางแผนก าหนดการฝึกอบรม 120 นาที 13. ลูกเสือวิสามัญกับการชุมนุม 90 นาที 14. หลักเกณฑ์การอภิปรายและพูดในที่ชุมนุม 45 นาที 15. บทบาทนายหมู่ลูกเสือวิสามัญ 45 นาที 16. แผนที่-เข็มทิศ 60 นาที 17. พิธีการลูกเสือวิชาสามัญ 45 นาที 18. บทบาทผู้ก ากับลูกเสือวิสามัญ 60 นาที 19. โครงการฝึกอบรม 30 นาที รวมเวลา 1 ,100 นาที
-11- ตารางอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น -------------------------------- วันที่ 1 ของการฝึกอบรม (วันที่…………..เดือน………………………..พ.ศ……………) เวลา 08.30 น. รายงานตัว ลงทะเบียน 08.30 น. ปฐมนิเทศ 09.00 น. พิธีเปิดการฝึกอบรม - ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - ถวายราชสดุดี - ประธานพิธีกล่าวปราศรัยเปิดการฝึกอบรม - ถ่ายภาพ พิธีรอบเสาธง - ชักธงขึ้น - สวดมนต์ - สงบนิ่ง - ผู้อ านวยการฝึกกล่าวต้อนรับ 10.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการด าเนินการฝึกอบรม แนะน าคณะผู้ให้การฝึกอบรม 10.30 น. แนะน าให้รู้จักกัน 11.00 น. คนวัยหนุ่มในปัจจุบัน 12.00 น. พัก รับประทานอาหาร 13.30 น. กิจการลูกเสือวิสามัญ 14.45 น. วินัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อย 16.00 น. พัก เครื่องดื่ม 16.35 น. กฎและค าปฏิญาณของลูกเสือ 17.30 น. พัก ประชุมวิทยากร 18.00 น. ชักธงลง รับประทานอาหาร 19.30 น. การลูกเสือนานาชาติ ลูกเสือไทย 20.10 น. ข้อแนะน าในการชุมนุมรอบกองไฟ 21.00 น. สวดมนต์
-12- วันที่ 2 ของการฝึกอบรม (วันที่………เดือน………………….พ.ศ………….) เวลา 05.30 น. ตื่น กายบริหาร ระเบียบแถว 07.00 น. รับประทานอาหาร 07.30 น. รับตรวจ 08.00 น. พิธีรอบเสาธง / เกม 08.45 น. หลักสูตรวิชาพิเศษลูกเสือวิสามัญ 10.00 น. การบริหารในกองลูกเสือวิสามัญ 10.45 น. กิจกรรมเสี่ยงภัย ความรับผิดชอบของผู้น า 12.00 น. พัก รับประทานอาหาร 13.30 น. การปฐมพยาบาล 14.30 น. การวางแผนก าหนดการฝึกอบรม (เครื่องดื่มในเวลา) 16.15 น. ลูกเสือวิสามัญกับชุมชน 17.30 น. พัก ประชุมวิทยากร 18.00 น. ชักธงลง รับประทานอาหาร 19.30 น. การชุมนุมรอบกองไฟ 21.00 น. สวดมนต์ วันที่ 3 ของการฝึกอบรม (วันที่………เดือน………………….พ.ศ………….) เวลา 05.30 น. ตื่น กายบริหาร ระเบียบแถว 07.00 น. รับประทานอาหาร 07.30 น. รับตรวจ 08.00 น. พิธีรอบเสาธง / เกม 08.45 น. หลักเกณฑ์การอภิปรายและการพูดในที่ชุมชน 09.30 น. บทบาทนายหมู่ลูกเสือวิสามัญ 10.15 น. แผนที่เข็มทิศ 11.15 น. พิธีการลูกเสือวิสามัญ 12.00 น. พัก รับประทานอาหาร 13.00 น. บทบาทผู้ก ากับลูกเสือวิสามัญ 14.00 น. โครงการฝึกอบรม 14.45 น. การซักถามปัญหา
-13- 15.15 น. พิธีปิด - ผู้แทนผู้เข้ารับการฝึกอบรมกล่าวในนามรุ่น - ผู้อ านวยการฝึกประกาศผลการฝึกอบรม - มอบวุฒิบัตร - ผู้อ านวยการฝึกกล่าวปราศรัยครั้งสุดท้าย - ทบทวนค าปฏิญาณ - พิธีรอบเสาธง (สวดมนต์ สงบนิ่ง ชักธงลง สามัคคีชุมนุม เพลงก่อนจะจากกัน) 16.00 น. เดินทางกลับ
บทเรียรี นที่ 33 การเตรียรี ม และการใช้โช้ สตทัศ ทั นูป นู กรณ์
บทเรียนที่ 33 การผลิตสื่อและการใช้โสตทัศนูปกรณ์ โสตทัศนูปกรณ์เป็นอุปกรณ์การสอนที่มีความจ าเป็นอย่างมากที่สุด ที่คณะผู้ให้การฝึกอบรม (วิทยากร) ไม่ควรจะละเลย หรือมองข้ามความส าคัญ ถ้าท่านเข้าใจในสุภาษิตจีนบทหนึ่งที่กล่าวว่า “ภาพเพียงภาพเดียว ส าม ารถให้ค าตอบเป็นพันพันค าได้” ท่ านก็จะส าม ารถท าให้ก ารฝึกอบ รมวิช าผู้ก ากับ ลูกเสือ ไม่ว่าจะเป็นระดับใด ขั้นใด ประเภทใด หรือการฝึกอบรมประเภทอื่น มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และการใช้อุปกรณ์ การสอนอย่างดี มีแบบมีแผนก็จะเพิ่มบุคลิกภาพผู้ให้การฝึกอบรมให้ดีเป็นที่ยอมรับมายยิ่งขึ้น การน าเอาโสตทัศนูปกรณ์มาใช้ในการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือนั้นวิทยากรจะต้องมีการวางแผน ล่วงหน้าอย่างดี เป็นต้นว่า จะต้องเลือกเตรีนมอุปกรณ์ชนิดใดและจะใช้อย่างไรจึงจะได้ผลคุ้มค่า อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด วิทยากรลูกเสือที่ดีต้องค านึงอยู่เสมอว่า ผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่เข้ารับการฝึกอบรมวิชาผู้ก ากับลูกเสือ ไม่ว่าจะเป็นระดับใดก็ตาม รวมถึงการฝึกอบรมคณะวิทยากรก็เช่นกันว่า “บุคคลดังกล่าวเหล่านั้น เคยมีประสบการณ์ ในการเลือก เตรียมและใช้โสตทัศนูปกรณ์มาบ้างแล้วพอควร หรือมีความช านาญมา อยู่แล้วก็ได้” เพราะผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่อาจมีพื้นฐานการศึกษาและประสบการณ์ที่ดีมาก่อน แต่อย่างไรก็ตามก็เป็นอุทธาหรณ์ที่วิทยากรจะต้องค านึงและจัดล าดับประสบการณ์ในเรื่องนี้ให้ดีอยู่เสมอ เพราะนอกจากต้องค านึงถึงคุณค่าทางวิชาการที่ได้รับจากโสตทัศนูปกรณ์เป็นพื้นฐานแล้ว จะต้องค านึงถึง ผลการประเมินคุณค่าตัววิทยากรจากผู้เข้ารับการฝึกอบรมอีกด้วย ในเรื่องนี้หมายความว่าผู้รับการฝึกอบรม นอกจากได้ศึกษาวิทยากรอย่างมีคุณค่าแล้ว เขาก็จะศึกษาเทคนิควิธีการตลอดจนบุคลิกภาพและวิธีการใช้ โสตทัศนูปกรณ์ของตัววิทยากรด้วยเช่นกัน ขั้นตอนการวางแผนการเลือกผลิตและใช้โสตทัศนูปกรณ์ คือ 1. ต้องมีจุดมุ่งหมาย ต้องระบุว่าต้องการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสามาระท าอะไรได้บ้างหลังจากการฝึกอบรม 2. ต้องวิเคราะห์ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นรายบุคคล คุณลักษณะและพื้นฐานการศึกษาของผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความแตกต่างกันมาก ดังนั้น อิทธิพลที่มีต่อการฝึกอบรมให้บรรลุจุดหมาย วิทยากรต้องค านึงถึงเป็นอย่างยิ่งสิ่งที่จะต้องน ามาวิเคราะห์คือ - ลักษณะภายนอก เช่น อายุ เพศ สุขภาพ และจ านวน ฯลฯ - ทัศนคติที่มีต่อกิจการลูกเสือ ความจ าเป็น ความสนใจ ฯลฯ - พื้นฐานทางการศึกษา เป็นเรื่องที่ส าคัญส าหรับการฝึกอบรมอย่างยิ่ง - สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ อาชีพ ศาสนา เชื้อชาติฯลฯ 3. ล าดับเนื้อหา วิทยากรจะต้องค านึงอยู่เสมอว่า ท าอย่างไรจึงจะให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจใน เนื้อหาที่ตนสอนหรือบรรยายได้อย่างรวดเร็ว จดจ าได้แม่นย าและสามารถเกิดความรู้ ทักษะ และทัศนคติต่อ
-2- กิจการลูกเสือตามจุดหมายที่เราต้องการได้ การจัดล าดับเนื้อหาอาจแบ่งได้4 แบบ ที่วิทยากรน ามา ประยุกต์ใช้ได้ คือ - ล าดับเนื้อหาโดยใช้เวลาก าหนด (Chronological) - ล าดับเนื้อหาโดยขั้นตอนของเนื้อหา (Step n by Step) - ล าดับเนื้อหาโดยหัวข้อเรื่อง (Topical) - ล าดับเนื้อหาโดยความยากง่าย (Simple to Complex) 4. เลือกอุปกรณ์ วิทยากรที่สันทัดหรือมีความช านาญในเนื้อหาวิชาที่ตนถนัด ย่อมสามารถจัดหาหรือเลือกชนิด ของอุปกรณ์ที่จะใช้ได้อย่างเหมาะสม แต่การเลือกอุปกรณ์ที่ดีต้องค านึงถึงองค์ประกอบมากมาย เช่น ของจริง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แสง สีเสียง อักษร กลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม ขนาดของห้องฝึกอบรม ปัญหาการผลิต และจัดหาความจ าเป็นที่จะต้องเลือกชนิดอุปกรณ์ และความสามารถของผู้รับการฝึกอบรม เป็นต้น และดูเหมือนว่าองค์ประกอบทุกอย่างดังกล่าวเป็นเรื่องที่ส าคัญมากส าหรับกาเลือกอุปกรณ์ ที่จะน ามาใช้ให้เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพมากที่สุด มีค ากล่าวมากมาย เช่น “การได้เห็นภาพเพียง ภาพเดียว อาจดีกว่าการใช้ค าพูดถึงพันค า” และก็ไม่มีอุปกรณ์การสอนชนิดใดที่ถือเป็นอุปกรณ์ที่ดีที่สุด เพราะอุปกรณ์ ทุกอย่างย่อมมีคุณค่าอยู่ในตัวของตัวเอง การที่จะกล่าวว่า สิ่งใดดีกว่าสิ่งใด ย่อมไม่เป็นสิ่งอัน ควร และความชาญฉลาดและประสบการณ์อันสูงส่งของวิทยากรเท่านั้นที่จ าจ าแนกได้ว่าควรจะเลือกใช้ อุปกรณ์หรือสื่อชนิดใด 5. การผลิต หลังจากได้พิจารณาแล้วว่าจะเลือกใช้อุปกรณ์อะไร ขั้นตอนต่อไปคือการผลิต ซึ่งผู้สอนหรือ ตัววิทยากรจะต้องด าเนินการเองหรืออาจควบคุมการปฏิบัติอย่างใกล้ชิดด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ผลิตอาจไม่ใช่ ผู้สอน ดังนั้น ขั้นตอนของการสอนที่วิทยากรได้ตั้งเป้าหมายไว้อาจผิดพลาดได้อย่างไรก็ตามเมื่อผลิตแล้วก็ควร ที่จะทดลองใช้และทดสอบหาข้อบกพร่องบางประการหรืออาจมีการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง เพื่อให้งานที่ผลิตมีคุณภาพและมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และถ้ามีคู่มือการใช้อุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นนี้เพื่อให้วิทยากร ท่านอื่นได้น าไปใช้ได้อย่างถูกต้องด้วย 6. การใช้อุปกรณ์ วิทยากรต้องศึกษาคู่มือการใช้หรือทดลองใช้ดูก่อน จนแน่ใจว่าสอนได้ถูกวิธีและเกิดผลดีที่สุดแล้ว จึงน าอุปกรณ์นี้ออกมาใช้ ซึ่งมีองค์ประกอบอื่นอีกมากมายที่ต้องค านึงถึง คือ - สถานที่ เตรียมสถานที่ให้มีขนาดและสุขลักษณะที่ดี - อุปกรณ์เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ประกอบกันให้เรียบร้อย - ซ้อม ทดลองการท างานของอุปกรณ์และวิธีการใช้ของวิทยากร - จัดบรรยากาศ สร้างบรรยากาศของการเรียนได้ดีและเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา
-3- 7. วัดผลและประเมินผลประสิทธิภาพของอุปกรณ์ การวัดและประเมินผลอุปกรณ์ เพื่อค้นคว้าหาประสิทธิภาพนั้น ผู้สอน (วิทยากร) อาจเป็นผู้ประเมิน เองหรือจะให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมร่วมประเมินด้วยก็ได้และการประเมินผลในเรื่องนี้ ผู้สอนจะต้องแน่ใจตนได้ ท า ถูกขั้นตอนและวิธีการใช้ได้เหมาะสมอย่างดีแล้ว มิฉะนั้นการประเมินประสิทธิภาพของอุปกรณ์อาจเปลี่ยน หรือ ผันแปรเป็นการประเมินประสิทธิภาพของวิทยากรไปข้อประเมินหรือผลทดสอบจะด้วยวิธีการใดก็ตาม จะสามารถน ามาปรับปรุงอุปกรณ์ให้ดียิ่งขึ้นได้ 8. ประเภทของสื่อที่นิยมใช้ในการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ วิทยากรผู้ให้การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ มีบทบาทในการเลือกผลิต และใช้โสต - ทัศนูปกรณ์ ใด ๆ ก็ได้ที่ตนเห็นว่าเหมาะสม และจ าต้องมีความรู้ในเรื่องข้อดี ข้อก าจัด และเทคนิคของการใช้เป็นอย่างดี พอควร มิฉะนั้นผลสัมฤทธิ์ของการเรียนการสอนก็อาจไม่บรรลุวัตถุประสงค์สมความมุ่งหมายทุกประการก็ได้ สื่อที่นิยมใช้กัน คือ แผ่นภาพ แผนภูมิและแผนสถิติมีหลายชนิด สร้างได้สะดวก ใช้ได้ง่ายมีคุณภาพดีพอควรหรือดีมาก คลิปวีดีโอ ธรรมชาติของภาพที่มีการเคลื่อนไหว ย่อมเสนอแนวความรู้ได้ชัดเจนกว่าภาพนิ่ง (เฉพาะบางเรื่อง) และเหมาะส าหรับคนกลุ่มใหญ่ ๆ สามารถหาได้จากแหล่งต่างๆมากมายในระบบ อินเตอร์เน็ต อาจต้องมีการปรับแต่งบ้างให้เหมาะกับเวลา เครื่องขยายเสียง ยังคงเป็นอุปกรณ์ที่มีความส าคัญและมีปะโยชน์มากในการฝึกอบรม สามารถใช้ได้ อย่างหลากหลาย ทั้งแบบประจ าที่และแบบเคลื่อนที่ สิ่งพิมพ์ เหมาะกับงานบางอย่าง แต่ก็มีความสะดวกในการใช้และผลิต กระดานชอล์ก กระดานไวท์บอร์ด (White Board) และกระดานชาร์ท เป็นสิ่งจ าเป็นผู้ใช้ (วิทยากร) ต้องมีความช านาญ มีทักษะอย่างดีจึงจะใช้ได้ดี หุ่นจ าลอง เนื้อหา บางวิชาในการสอนหรือให้การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ หุ่นจ าลองเป็น อุปกรณ์การสอนที่ส าคัญชนิดหนึ่ง ช่วยสอนและได้ผลดีมากในวิชาทักษะของลูกเสือหลายวิชา และวิทยากร ต้องมีความรู้และทักษะดีเช่นกัน ของจริง การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ถ้าวิทยากรรู้จักและน าเอาของจริงมาใช้เป็นอุปกรณ์ การฝึกอบรมก็จะดูมีคุณค่าและมีความหมายเพิ่มมากขึ้น เกมคอมพิวเตอร์ เกมคอมพิวเตอร์สามารถน ามาช่วยในการฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี ท าให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมสนใจมากขึ้น เช่น เกม Kahoot, Wordwall เป็นต้น
-4- 1. โสตทัศนศึกษา (Audio Visual Education) หมายถึง การเรียนรู้ โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและทางตา 2. สื่อ (Media) หมายถึง ตัวกลางหรือพาหนะที่จะให้สิ่งหนึ่งเดินทางจากจุดต้นตอไปยังจุดหมายปลายทาง การสอน (Instructional) หมายถึง การท าของผู้สอนเพื่อจะให้เกิดการเรียนรู้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน สื่อสารสอน (Instructional Media) หมายถึง ตัวกลางหรือพาหนะที่จะน าเนื้อหาสาระจากครู ไปสู่ผู้เรียน 3. ประเภทของสื่อการสอน 3.1 รูปภาพ (Software) ได้แก่ ตัวอุ้ม หรือเก็บความรู้ เช่น รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติ ฟิล์ม แผ่นโปร่งใส แผ่นเสียง ม้วนเทป รายการวิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุโทรทัศน์ ฯลฯ 3.2 อุปกรณ์ (Hardware) ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ดึงความรู้ออกมาจากวัสดุ เช่น เครื่องฉายภาพข้าม ศีรษะ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องเล่นเทปโทรทัศน์ เครื่องขยายเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ 4. เทคนิคและวิธีการ (Technique and Method) ได้แก่ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้เป็นสื่อ ในการถ่ายทอดความรู้ เช่น เกม การสอนแบบสืบสวนสอบสวน การสอนแบบเบญจขันธ์ฯลฯ 5. โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ 5.1 โสตวัสดุ หมายถึง สื่อที่ต้องอาศัยการฟังเป็นสิ่งส าคัญในการเรียนรู้ เช่น วิทยุกระจายเสียง เครื่องขยายเสียง การบรรยาย อภิปราย ฯลฯ 5.2 ทัศนวัสดุ หมายถึง สิ่งที่ต้องอาศัยการมองเห็นเป็นสิ่งส าคัญในการเรียนรู้เช่น รูปภาพ ภาพการ์ตูน เครื่องหมายจากรูปแผนที่ลูกโลก แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติฯลฯ 5.3 โสตทัศนวัสดุ หมายถึง สื่อที่ต้องอาศัยการฟังและการมองเห็นที่เป็นสิ่งส าคัญในการเรียนรู้ เช่น การใช้เครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ ภาพยนตร์ สไลด์ ฟิล์มสตริป เทปโทรทัศน์ เป็นต้น 6. โสตทัศนูปกรณ์ (Audio – Visual Equipment) สื่อที่ต้องอาศัยการฟังและการมองเห็นเป็นสิ่งส าคัญ ของการเรียนรู้ ประกอบด้วย 6.1 เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector) 6.2 เครื่องฉายสไลด์ (Slide Projector) 6.3 เครื่องฉายฟิล์มสตริป (Filmstrip Projector) 6.4 เครื่องฉายภาพยนตร์ (Motion Picture) 6.5 เครื่องเล่นเทปโทรทัศน์ (Video Tape Recorder) หรือ เครื่องฉายภาพเทปโทรทัศน์ 6.6 เครื่องเล่นแผ่นภาพทัศน์ (Video Disc)
-5- โสตทัศนูปกรณ์ที่นิยมใช้ในการฝึกอบรมในปัจจุบัน เช่น ก. เครื่องฉายภาพทึบแสง (Visuallizer Projecter) ข. เครื่องฉายภาพ (Projector) ค. เครื่องคอมพิวเตอร์(Computer) ง. เครื่องขยายเสียง (ข้อนี้ไม่ใช่โสตทัศนวัสดุ แต่พิจารณาเห็นว่าน่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เข้ารับ การอบรมจึงน ามาเสนอไว้อย่างเพียงพอ) 7. หลักการเกี่ยวกับการใช้สื่อ 7.1 หลักการแห่งการเลือก (Principle of Selection) จงใช้สื่อที่จะท าให้บรรลุจุดมุ่งหมายในการ สอนอย่างดี ที่สุด 7.2 หลักการแห่งความพร้อม (Principle of Readiness) ก่อนที่จะน าสื่อเสนอจะต้องมีการสร้าง ความพร้อมให้แก่นักเรียนอย่างเพียงพอ 7.3 หลักการแห่งการควบคุม (Principle of Control) ผู้สอนจะต้องควบคุมสิ่งแวดล้อมทางกาย ภาพที่จะมารบกวนในระหว่างการน าเสนอสื่อ อาทิ ที่นั่ง แสงสว่าง จอ ล าโพง ฯลฯ 7.4 หลักการแห่งการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Principle of Action of Participation) จะต้อง คิดค้นหาวิธีการที่จะให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างกระฉับกระเฉง 7.5 หลักการแห่งการประเมิน (Principle of Action of Evaluation) ต้องประเมินตั้งแต่การ เตรียมการ กระบวนการสอน สื่อ การใช้ ตลอดจนผลที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน 8. แนวปฏิบัติ“กระบวนการใช้สื่อโดยทั่วไป” 8.1 ขั้นตอนเตรียมการ 8.1.1 เลือกสื่อ ก. คุณภาพทางเทคนิค ข. คุณภาพทางเนื้อหา 8.1.2 ตรวจสอบเบื้องต้น (Preview) 8.1.3 เตรียมสถานที่ - ระบบระบายอากาศ - การควบคุมแสงสว่าง - ที่นั่ง - ระบบเสียง - จอรับภาพ
-6- - ระบบกระแสไฟฟ้า - สิ่งรบกวนอื่น ๆ 8.1.4 สื่อเสริมอื่น ๆ 8.1.5 เตรียมผู้เรียน - เร้าความสนใจ - ปูพื้นฐาน 8.2 ขั้นการน าเสนอ 8.2.1 แม่นย าขั้นตอนการใช้เครื่องมือ (ทางเทคนิค) 8.2.2 แม่นย าขั้นตอนการใช้สื่อ (ทางพฤติกรรมศาสตร์) 8.2.3 น าหลักจิตวิทยาเข้าช่วย เช่น ก. หลักการความอยากรู้อยากเห็น - ให้ดูเมื่อถึงเวลาจะให้ดู ข. หลักการเรียนรู้ - Active Participation - Gradual Approximation - Success Experience - Immediate Feedback 8.3 ขั้นสรุปประเมิน 8.3.1 ประเมินการเตรียมการ 8.3.2 ประเมินกระบวนการใช้สื่อ 8.3.3 ประเมินผลที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน 9.เทคนิคการสร้างการน าเสนอให้น่าสนใจ ปัจจุบันการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือนิยมใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์ในการน าเสนอ อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะอย่างยิ่ง โปรแกรม Power point ดังนั้นการใช้โปรแกรมดังกล่าวในการน าเสนอ ต้องอาศัยเทคนิควิธีในการสร้างสไลด์ส าหรับการน าเสนอที่น่าสนใจ จึงขอแสนะแนะสิ่งที่ควรค านึงไว้ในที่นี้ คือ 1. การออกแบบที่เรียบง่าย แบบ Flat Design คือลดทอน การไล่สี การใส่พื้นผิว 2. เลือกรูปแบบอักษรให้เหมาะสม ควรใช้แบบอักษรมาตรฐาน 3. ใช้ขนาดอักษรที่เหมาะสม ขนาดไม่น้อยกว่า 30 พ้อยต์ 4. ใช้กฎ 7 คูณ 7 คือ 7 ต่อ 1 บรรทัด
-7- 5. อย่าใส่ประโยคยืดยาว 6. หลีกเลี่ยงการใช้ Bullet 7. หลีกเลี่ยงการใช้สไตล์ ข้อความมากเกินไป 8. ความคมชัดของข้อความและพื้นหลัง 9. เลือกสีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 5 สี 10. ใช้ภาพแทนค าพูด 11. ใช้ภาพสื่อความหายเพียงแค่ภาพเดียวก็เพียงพอ 12. ใช้อินโฟกราฟฟิก (Infographics) 13. หลีกเลี่ยงการใช้แอฟเฟ็คมากเกินไป และควรหลีกเลี่ยงแอฟเฟ็คที่มาพร้อมภาพเคลื่อนไหว
บทเรียรี นที่ 34 การดำ เนิน นิ การ เพื่อ พื่ ขอแต่ง ต่ ตั้ง ตั้เป็น ป็ผู้ช่ผู้ว ช่ ย
บทเรียนที่ 34 การด าเนินการเพื่อขอแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การด าเนินงานเพื่อขอแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ 1. วิธีด าเนินงาน การขอแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ (A.L.T.) และมีสิทธิประดับเครื่องหมาย วูดแบดจ์สามท่อน ผู้รายงานการขอต้องมีคุณสมบัติตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการฝึกอบรม บุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. 2556 ข้อ 13 (1) และ ข้อ 13(2) และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการด าเนินงาน เกี่ยวกับการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. 2562 2. คุณสมบัติ 2.1 ผ่านการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยหัวหน้าให้การฝึกผู้ก ากับลูกเสือมาแล้วไม่น้อยกว่า หนึ่งปี 2.2 ได้รับแต่งตั้งจากผู้รับผิดชอบในการด าเนินงาน ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. 2556 ข้อ 12 (4) หรือได้รับเชิญจากผู้อ านวยการฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. 2556 ข้อ 7(7) หรือข้อ 9(7) หรือข้อ 12(7) 2.3 มีผลงานการเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมไม่น้อยกว่าหกครั้ง ตามกรณีใดกรณีหนึ่งต่อไปนี้ 2 .3 .1 ได้ รับ แต่งตั้งเป็ น คณ ะผู้ให้ ก า รฝึกอบ รมผู้ก ากับ ลู กเสือ ขั้นค ว าม รู้เบื้ องต้น (B.T.C) ห รือ ขั้น ค ว าม รู้ขั้น สูง (A.T.C) ห รือขั้น ผู้ ช่ วยหั วห น้ าผู้ให้ ก า รฝึ ก อบ รม ผู้ ก ากับ ลู ก เสื อ (A.L.T.C.) รวม กัน ไม่น้อยกว่าหกครั้ง หรือ 2.3.2 ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมตามความในข้อ 2.3.1 ไม่น้อยกว่าสามครั้ง และได้รับเชิญ จากผู้อ านวยการการฝึกอบรมเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือตามความในข้อ 2.3.1 ไม่เกินสามครั้ง หรือ 2.3.3 ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมตามความในข้อ 2.3.1 ไม่น้อยกว่าสามครั้ง และได้รับเชิญ จากผู้อ านวยการฝึกอบรมเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรม หรือ เป็นผู้รับผิดชอบฝึกอบรมลูกเสือ เช่น วิชานายหมู่ลูกเสือ วิชาอยู่ค่ายพักแรม หรืออื่นๆ ไม่น้อยกว่าสามครั้ง หรือ 2.3 .4 ได้ รับแต่งตั้งเป็นคณ ะผู้ให้ก ารฝึกอบ รมต ามค วามในข้อ 2.3.1 ไม่น้อยกว่าส ามครั้ง และเป็นผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมลูกเสือ เช่น วิชานายหมู่ลูกเสือ วิชาอยู่ค่ายพักแรมหรืออื่น ๆ ไม่น้อยกว่าสามครั้ง 3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน เมื่อผ่านการฝึกอบรม A.L.T.C. และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อ 2 ผู้ผ่านการฝึกอบรมต้องด าเนินการดังนี้ 1. จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานตามแบบที่ส านักงานลูกเสือแห่งชาติก าหนด (แบบแนบท้ายเอกสารนี้) 2. รวบรวมเอกสารทุกรายการต่อไปนี้เย็บเป็นเล่มตามล าดับรายการต่อไปนี้ 2.1 แบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์สามท่อน 2.2 สรุปข้อมูลการปฏิบัติงานเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมแต่ละครั้ง
2.3 บัตรประจ าตัวประชาชน 2.4 หนังสือส าคัญแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งทางลูกเสือ และใบส าคัญจ่ายค่าบ ารุงลูกเสือ ประจ าปี หรือตลอดชีพ(แล้วแต่กรณี) (ล.ส.13 และ ล.ส.19) 2.5 หนังสือส าคัญหรือค าสั่งแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ 2 ท่อน (W.B.) 2.6 วุฒิบัตรผ่านการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ 2.7. ผลการปฏิบัติงานการเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมตามความในข้อ 2 เรื่องคุณสมบัติ ผลการปฏิบัติงานแต่ละครั้งให้ประกอบด้วย 2.7.1 ค าสั่งแต่งตั้งเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมของผู้รับผิดชอบในการด าเนินงานที่มีชื่อ ของผู้รายงาน โดยท าเครื่องหมายขีดเส้นใต้ชื่อของผู้รายงานในค าสั่งให้ชัดเจน 2.7.2 หนังสือรับรองการปฏิบัติงานของผู้อ านวยการฝึกอบรม 2.7.3 กรณีใช้ผลงานการเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมที่เป็นหนังสือเชิญของผู้อ านวยการฝึกอบรม ต้องแนบค าสั่งแต่งตั้งผู้อ านวยการฝึกอบรมของผู้รับผิดชอบในการด าเนินงานด้วย 2.7.4 กรณีใช้ผลงานการเป็นผู้รับผิดชอบฝึกอบรมลูกเสือ ให้แนบโครงการและค าสั่งแต่งตั้ง ของหน่วยงานหรือสถานศึกษาที่มีชื่อของผู้รายงานในค าสั่งด้วย 2.8 เอกสารตามข้อ 2.3 ถึง 2.7 ให้ผู้รายงานถ่ายส าเนาและลงนามรับรองส าเนาทุกแผ่น 2.9 เอกสารตามข้อ 2 นี้ ควรจัดท า 3 ชุด ชุดที่ 1 เก็บไว้ที่ผู้จัดท ารายงานขอรับการแต่งตั้ง ชุดที่ 2 เก็บไว้ที่ส านักงานลูกเสือจังหวัดหรือหน่วยงานต้นสังกัดแล้วแต่กรณี ชุดที่ 3 จัดส่งส านักงานลูกเสือแห่งชาติ 2.10 เสนอแบบ รายงานถึงส านักงาน ลูกเสือจังห วัด ห รือหน่วยงานต้นสังกัดแล้ วแต่กรณี เพื่อเสนอส านักงานลูกเสือแห่งชาติพิจารณ าด าเนินการตามระเบียบคณ ะกรรมการบ ริห ารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. 2556 ข้อ 13 (4)
แบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่อน สถานที่…………………..………………………… วันที่………เดือน………….………..พ.ศ…….……. ข้าพเจ้า………………………………….......………… อายุ..............ปี หมายเลขประจ าตัวประชาชน ..................................... ต าแหน่งหน้าที่การท างาน……………..........……….ต าแหน่งทางลูกเสือ….………………….......……………........................................ โทรศัพท์.....................................................ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อน ประเภทลูกเสือ..………...........……………………. เมื่อวันที่…............…… เดือน………..……….…………... พ.ศ. .....................หนังสือส าคัญเลขที่..................................................... ข้าพเจ้าขอเสนอผลงานเพื่อขอรับการแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ (A.L.T.) และมีสิทธิประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์สามท่อน โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ข้าพเจ้าผ่านการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ (A.L.T.C.) รุ่นที่......................... ระหว่างวันที่............................................ เดือน................................................ พ.ศ............................... ณ ค่ายลูกเสือ................................................................................................... จังหวัด............................................................ 2. ข้าพเจ้ามีผลการปฏิบัติงานเป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางลูกเสือ พ.ศ. 2556 ข้อ 13(2) ดังต่อไปนี้ 2.1 เป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น จ านวน........................ครั้ง 2.2 เป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ ขั้นความรู้ชั้นสูง จ านวน............................ครั้ง 2.3 เป็นคณะผู้ให้การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ จ านวน....................ครั้ง 2.4 เป็นผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมลูกเสือ จ านวน.......................ครั้ง ทั้งนี้ได้แนบรายละเอียดข้อมูลการเป็นผู้ให้การฝึกอบรมแต่ละครั้งพร้อมด้วยชื่อผู้อ านวยการฝึกอบรมมาด้วยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาเสนอรายงานผลการปฏิบัติงานถึงส านักงานลูกเสือแห่งชาติเพื่อด าเนินการต่อไป (ลงชื่อ)……………………................…………………ผู้รายงาน (………………............………....……………..) รูปถ่าย ชุดเครื่องแบบ ลูกเสือหน้าตรง ไม่สวมหมวก
~ 2 ~ ความเห็นของส านักงานลูกเสือจังหวัดหรือหัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัดแล้วแต่กรณี ………………………………………………………………………………………………….............................................................……… …………………………………………………………………………….............................………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………....……………………. (………......………………..……………) ต าแหน่ง................................................ ความเห็นส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ………………………………………………………………………………………………….............................................................……… …………………………………………………………………………….............................………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………....……………………. (………......………………..……………) ต าแหน่ง................................................ ความเห็นของผู้ตรวจการลูกเสือฝ่ายพัฒนาบุคลากร ………………………………………………………………………………………………….............................................................……… …………………………………………………………………………….............................………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………....……………………. (………......………………..……………) ผู้ตรวจการลูกเสือฝ่ายพัฒนาบุคลากร
รายละเอียดข้อมูลการเป็นผู้ให้การฝึกอบรม ของ...................................................................... ครั้งที่ วันเดือนปี หลักสูตรการฝึกอบรม สถานที่ ผู้รับผิดชอบ ด าเนินงาน ชื่อผู้อ านวยการฝึกอบรม ลงชื่อ .............................................................ผู้รายงาน (..............................................................)