• วันที่ 7 ธันวาคม 2563 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้นายกรัฐมนตรี เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายเครื่องหมายวูดแบดจ์สี่ท่อน และเครื่องแบบลูกเสือฯ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร. • : นายกรัฐมนตรี สภานายกสภาลูกเสือไทย เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องหมายวูดแบดจ์4 ท่อนและ เครื่องแบบลูกเสือฯ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์พระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ
ลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน มุ่งประสาน ท าความดี ด้วยหัวใจ
สวัสดี
บทเรียรี นที่5 โครงสร้า ร้ งและการบริห ริ ารงาน คณะลูก ลู เสือ สืแห่ง ห่ ชาติ
โครงสร้างและการบริหารงาน คณะลูกเสือแห่งชาติ
มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย โครงสร้างและการบริหารงานคณะ ลูกเสือแห่งชาติได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมควรจะสามารถ วัตถุประสงค์
พระบรมราชโองการ พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๓ การจัดกลุ่ม ประเภท และต าแหน่งลูกเสือ ๗ หมวด ๕ เหรียญลูกเสือ และการยกย่อง เชิดชูเกียรติ ๑๖ บทเฉพาะกาล ๔ หมวด ๒ การปกครอง ๓๒ หมวด ๖ บทก าหนดโทษ ๒ หมวด ๔ ธง เครื่องแบบ และการแต่งกาย ๓ หมวด ๑ บททั่วไป ๕+๕
มอบหมายงานแต่ละกลุ่ม กลุ่ม ๑ ศึกษาหมวด ๑ (มาตรา ๑-๑๐) และหมวด ๓ กลุ่ม ๒ ศึกษาหมวด ๒ มาตรา ๑๑-๒๗ กลุ่ม ๓ ศึกษาหมวด ๒ มาตรา ๒๘-๔๒ กลุ่ม ๔ ศึกษาหมวด ๕ กลุ่ม ๕ ศึกษาหมวด ๔ หมวด ๖ และบทเฉพาะกาล
แนวทางการศึกษา ◼แต่ละกลุ่มศึกษารายละเอียดในหมวดที่ รับผิดชอบ ◼สรุปผลการศึกษาในรูปแบบแผนภูมิ แผนผัง mind map หรือลักษณะอื่น ตามที่กลุ่มพิจารณา ◼ส่งผู้แทนกลุ่มน าเสนอในเวลา ๕ นาที
ทบทวนความเข้าใจ ๑. ค าว่า “บุคลากรทางการลูกเสือ” ไม่หมาย รวมถึงข้อใด ก. ผู้อ านวยการลูกเสือโรงเรียน ข. ผู้อ านวยการใหญ่ ค. รองนายหมู่ลูกเสือ ง. อาสาสมัคร
๒. ต าแหน่ง “ผู้ตรวจการใหญ่พิเศษ” หมายถึงใคร ก. เลขาธิการส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ค. รองนายกรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี
๓. ปลัดกระทรวงท่านใดที่ไม่มีต าแหน่งในสภา ลูกเสือไทย ก. ปลัดกระทรวงการคลัง ข. ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม ง. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์
๔. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติ มีจ านวนไม่เกินกี่คน ก. ๑๐ คน ข. ๑๒ คน ค. ๑๓ คน ง. ๑๕ คน
๕. คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด ท่าน ใดที่ไม่ใช่กรรมการประเภทผู้แทน ก. ค่ายลูกเสือจังหวัด ข. นายกเหล่ากาชาดจังหวัด ค. สมาคมหรือสโมสรลูกเสือ ง. ลูกเสือชาวบ้าน
๖. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการ ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา มีจ านวนไม่เกินกี่คน ก. ๔ คน ข. ๕ คน ค. ๖ คน ง. ๗ คน
๗. ธงคณะลูกเสือแห่งชาติ มีอะไรเป็นตรา กลางผืนธง ก. คณะลูกเสือแห่งชาติ ข. เสมาธรรมจักร ค. ครุฑ ง. ธรรมจักร
๘. การขอเหรียญลูกเสือยั่งยืน ต้องปฏิบัติ หน้าที่ด้านลูกเสือมาไม่ต่ ากว่ากี่ปี ก. ๑๐ ปี ข. ๑๒ ปี ค. ๑๕ ปี ง. ๒๐ ปี
๙. บทลงโทษของการปลอมเข็มลูกเสือ สมนาคุณ คืออะไร ก. จ าคุกไม่เกิน ๑ เดือน ข. จ าคุกไม่เกิน ๖ เดือน ค. จ าคุกไม่เกิน ๙ เดือน ง. จ าคุกไม่เกิน ๑ ปี
๑๐. ในบทเฉพาะกาล จะอ้างอิงพระราชบัญญัติ ลูกเสือปีใด ใช้บังคับโดยอนุโลมในกรณีที่ยังไม่มี กฎกระทรวง ระเบียบ และอื่นๆออกมา ก. ๒๕๐๗ ข. ๒๕๐๙ ค. ๒๕๒๘ ง. ๒๕๓๕
จุดหมายหรืออุดมการณ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ มาตรา ๘ พระราชบัญญัติ ลูกเสือพ.ศ. ๒๕๕๑ วัตถุประสงค์ของ คณะลูกเสือ แห่งชาติ
“เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มี ความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิด ความสามัคคีและมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้ เพื่อความสงบสุข และความมั่นคงของ ประเทศชาติตามแนวทางดังต่อไปนี้”
1. ให้มีนิสัยในการสังเกต จดจ า เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง 2. ให้ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัยและเห็น อกเห็นใจผู้อื่น 3. ให้รู้จักบ าเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์ ตามแนวทางดังต่อไปนี้
4. ให้รู้จักท าการฝีมือ และฝึกฝนให้ท า กิจกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสม 5. ให้รู้จักรักษาและส่งเสริมจารีต ประเพณี วัฒนธรรม และความมั่นคง ของประเทศชาติ ตามแนวทางดังต่อไปนี้
กองลูกเสือโรงเรียน กองลูกเสือโรงเรียน คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ สภาลูกเสือไทย ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ส านักงานลูกเสือจังหวัด ส านักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา ส านักงานลูกเสือกรุงเทพมหานคร ส านักงานลูกเสือเขต - ลูกเสือ / เนตรนารี - ลูกเสือ / เนตรนารี หมวด ๒ การปกครอง
สภาลูกเสือไทย สภานายกสภาลูกเสือไทย กรรมการโดยต าแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อุปนายกสภาลูกเสือไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี กรรมการและเลขานุการ : เลขาธิการส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้ช่วยเลขานุการ : รองเลขาธิการและผู้ช่วยเลขาธิการส านักงานลูกเสือแห่งชาติ
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ประธานกรรมการ กรรมการโดยต าแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ / ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการและเลขานุการ : เลขาธิการส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้ช่วยเลขานุการ : รองเลขาธิการและผู้ช่วยเลขาธิการส านักงานลูกเสือแห่งชาติ
บทเรียรี นที่ 6 บทเรียรี นรู้จัรู้ก จั ซึ่ง ซึ่ กัน กัและกัน กั
บทเรียนที่ 6 บทเรียนรู้จักซึ่งกันและกัน หลักการทางจิตวิทยา เรื่องการเปิดเผยตนเอง ตามทฤษฎี JOHARI WINDOW บุคคลพยายาม ที่จะเรียนรู้ซึ่งกันและกันในการติดต่อสัมพันธ์กัน ซึ่งบางเรื่องก็มักใช้ประสบการณ์ของตนเองเข้าไปตัดสินการ กระท าของคนอื่นๆ อยู่เสมอ ทั้งนี้ บุคคลที่จะรู้จักคนอื่นได้ดีนั้น สิ่งส าคัญประการแรกคือต้องรู้จักตนเองให้ดี พอเสียก่อน “คุณรู้จักตนเองดีพอแล้วหรือยัง” ค าตอบที่อยู่ในใจของคุณคือ “ก็ตัวเราเองจะไม่รู้จักตัวเองได้ อย่างไร” แต่คุณเชื่อไหมว่า ยังมีอีกหลายสิ่งหลายอย่างที่เรายังไม่รู้จักตัวเอง บางเรื่องของเราคนอื่นรู้แต่เรา ไม่รู้ ตัวอย่างเช่น กลิ่นปาก กลิ่นตัว เดินหลังโค้ง ติดค าว่า “เออ” “อ้า” หรือ “แบบว่า” เป็นต้น แล้วท า อย่างไรล่ะเราจะได้รู้จักตัวเรามากที่สุด หน้าต่างของโจฮารี่ (Johari Window) ช่วยคุณได้ หน้าต่างนี้ประกอบ ไปด้วยหน้าต่าง 4 ช่อง ดังนี้ เรารู้ เราไม่รู้ คนอื่นรู้ 1 เปิดเผย (Open) 2 จุดบอด (Blind) คนอื่นไม่รู้ 3 ปิดบัง (Hidden) 4 ไม่มีใครรู้ (Unknown ) หน้าต่างช่องที่ 1 เรารู้จักตัวเราและคนอื่นก็รู้จักตัวเรา ช่องหน้าต่างนี้จึงเป็นข้อมูลเปิดเผยของตัวเรา ซึ่งตัวเราและคนอื่นต่างรู้เหมือนกัน หน้าต่างช่องที่ 2 เราไม่รู้ตัวเราแต่คนอื่นรู้หรือเห็นตัวเรา ช่องหน้าต่างนี้จึงเป็นจุดบอดของตัวเรา เพราะข้อมูลบางอย่างเราไม่รู้แต่คนอื่นรู้ เช่น มีกลิ่นปาก กลิ่นตัวแรง หรือติดค าพูด “แบบว่า” หรือ “เออ/อ้า” เป็นต้น หน้าต่างช่องที่ 4 เราไม่รู้ คนอื่นก็ไม่รู้ เป็นข้อมูลที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัวเราแต่ยังไม่แสดงออกมา จนเมื่อถึง เวลาหนึ่งอาจแสดงออกมาโดยที่เราไม่รู้ตัว เช่น โกรธแค้นเลยท าร้ายตนเองหรือคนอื่นโดยไม่รู้ตัว ซึ่งการ แสดงออกนี้ ไม่มีใครคาดคิดมาก่อนว่าจะเกิดขึ้นได้
-2- หน้าต่างช่องที่ 3 เรารู้ตัวเราแต่คนอื่นไม่รู้ เพราะเราไม่ต้องการให้รู้ เลยพยายามปิดบังหรือซ่อนเร้น ข้อมูลในส่วนนี้เอาไว้ เช่น เรารู้ว่ามีกลิ่นตัว เลยพยายามใช้น้ าหอมดับกลิ่น ซึ่งคนอื่นไม่รู้ว่าเรามีกลิ่นตัว หรือ ศีรษะล้านก็สวมวิก (ผมปลอม) ปิดไว้ไม่ให้ใครรู้ เป็นต้น ดังนั้น การที่คุณจะรู้จักตนเองให้ได้มากที่สุดนั้น คุณจึงต้องขยายหน้าต่างช่องที่ 1 ให้กว้างมากที่สุด ซึ่งหมายถึงการลดขนาดของหน้าต่างช่องที่ 2 และหน้าต่างช่องที่ 3 ให้เล็กลงหรือแคบลงนั่นเอง ทั้งนี้การที่คุณ จะลดขนาดของหน้าต่างช่องที่ 2 ลงได้นั้นคุณต้องกล้ารับฟังค าติชม (Feed back) จากคนอื่นๆ และถ้าคุณจะ ลดขนาดของหน้าต่างช่องที่ 3 ลงนั้น คุณต้องกล้าที่จะเปิดเผยตนเอง (Self-disclosure) และกล้ายอมรับความ เป็นจริงที่เกี่ยวกับตนเอง รับค าติชม 1 เปิดเผยตนเอง 2 3 4 หากสามารถลดขนาดของช่องหน้าต่างดังกล่าวทั้งสองลงได้ ก็จะท าให้หน้าต่างช่องที่ 4 ลดลงไปได้ โดยปริยาย ในขณะเดียวกันหน้าต่างช่องที่ 1 ก็จะขยายมากขึ้นท าให้คุณรู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น ซึ่งการกล้า ยอมรับฟังค าติชมและการกล้าที่จะเปิดเผยตนเองนั้น คุณควรใช้วิจารณญาณเพื่อพิจารณาความถูกต้องของ ค าติชมที่ได้รับ และหรือควรพิจารณาความเหมาะสมในกรณีที่จะเปิดเผยตนเองอีกด้วย ทั้งนี้ เพราะหากคุณ ไม่ใช้วิจารณญาณดังกล่าวแล้ว คุณอาจจะไปหลงเชื่อค าติชมที่ไม่เป็นจริงและหรือเปิดเผยตนเองในบางเรื่อง ที่ไม่เหมาะสมกับบุคคลบางคนก็เป็นได้ซึ่งอาจจะกลายเป็นผลเสียกับคุณในภายหลังได้ การพิจารณาเกี่ยวกับบุคคลที่เราจะเชื่อหรือเปิดเผยตนเองต่อเขานั้น ถ้าเป็นบุคคลที่คุณเพิ่งรู้จัก หรือยังไม่รู้จักคุ้นเคยกันดีพอ คุณต้องใช้การพิจารณาให้มากที่สุด ว่าจะเชื่อหรือควรเปิดเผยตนเองกับเขามาก น้อยเท่าใดจึงจะเหมาะสม ส่วนบุคคลที่คุณรู้จักคุ้นเคยสนิทสนมดีอยู่แล้ว การพิจารณาในเรื่องนี้ก็จะง่ายยิ่งขึ้น และถ้าคุณเห็นว่าเรื่องใดที่หากเปิดเผยออกไปแล้ว น่าจะเป็นผลเสียมากกว่าผลดี ก็ไม่จ าเป็นต้องเปิดเผย
-3- ก็ได้เพราะเป็นสิทธิของคุณ แต่ไม่ควรใช้การพูดโกหกหรือพูดเท็จ เพราะจ าให้คุณติดเป็นนิสัยได้ กลายเป็นคนที่ ไม่ยอมรับสภาพความเป็นจริงของตนเอง ตัวอย่าง ของการขยายหน้าต่างช่องที่ 1 โดยลดหน้าต่างช่องที่ 2 และ 3 เช่น กรณีคุณเป็นคนมีกลิ่นตัว แรงแต่ไม่รู้จักตนเอง พอดีมีเพื่อนคนหนึ่งมากระซิบบอกด้วยความหวังดี คุณควรส ารวจตนเองว่าเป็นจริงหรือไม่ หากพบว่าเป็นความจริง ก็ควรจะหาทางป้องกันหรือก าจัดกลิ่นตัวนั้นเสีย หรือถ้าคุณเป็นคนนอนกรน เสียงค่อนข้างดัง หากจ าเป็นต้องนอนพักค้างกับเพื่อนๆ ก็ควรบอกความจริงให้เพื่อนทราบ ดีกว่ายอมทน อดหลับอดนอนเพราะกลัวขายหน้าเพื่อนๆ รู้ความจริง ดังนั้น คุณควรกล้าที่จะยอมรับความจริงของตัวเอง หากสิ่งใดเป็นจุดอ่อนหรือข้อบกพร่อง ก็ควรหาทางป้องกันหรือแก้ไขให้หมดไป หรือจ าใจยอมรับสภาพนั้นหากแก้ไขไม่ได้จริงๆ โดยไม่หวาดหวั่นหรือ หมดก าลังใจ อย่าลืมว่าในตัวคุณนั้นยังมีสิ่งอื่นๆ ที่ท าให้คุณภาคภูมิใจได้อีก
บทเรียรี นที่ 7 สาระสำ คัญ คั ของการลูก ลู เสือ สื
บทเรียนที่ 7 สาระส าคัญของการลูกเสือ 1. ขบวนการลูกเสือ ( The Scout Movement) ขบวนการลูกเสือ เป็น ขบวนการอาสาสมัคร ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง เป็นการให้การศึกษานอกระบบ แก่เยาวชนทุกคน โดยไม่ค านึงถึงความแตกต่างในเรื่อง เพศ ถิ่นก าเนิด เผ่าพันธุ์และ ความเชื่อ โดยสอดคล้อง กับ หลักการ วัตถุประสงค์และวิธีการที่ผู้ให้ก าเนิดลูกเสือได้ก าหนดไว้ ขบวนการลูกเสือ เป็นกิจการระดับโลก ภายใต้การบริหารงานขององค์กรลูกเสือโลก (World organization of The Scout Movement) ปัจจุบันประเทศต่างๆเข้าร่วมเป็นสมาชิกกว่า 172 ประเทศ 2. องค์ประกอบส าคัญของการลูกเสือ 2.1 ลูกเสือ 2.2 ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ 2.3 มีจุดหมายหรืออุดมการณ์ 2.4 กิจกรรม (โดยเฉพาะกิจกรรมกลางแจ้ง) 2.5 การบริหารงาน 3. จุดมุ่งหมายหรืออุดมการณ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ อุดมการณ์ของลูกเสือ คือ การปฏิบัติตามค าปฏิญาณและกฎของลูกเสือ 4. วัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ คณะลูกเสือแห่งชาติ ได้ก าหนดวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ ดังปรากฏในมาตรา ๘ แห่ง พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551 ดังนี้ เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจและศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบและ ช่วยสร้างสรรค์สังคม ให้เกิดความสามัคคีมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของ ประเทศชาติ ตามแนวทางต่อไปนี้ 1. ให้มีนิสัยสังเกต จดจ า เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง 2. ให้ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัยและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 3. ให้รู้จักบ าเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์ 4. ให้รู้จักท าการฝีมือ และฝึกฝนให้ท ากกิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 5. ให้รู้จักรักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศชาติ 5. หลักการส าคัญของลูกเสือ ขบวนการลูกเสือมีหลักการที่ส าคัญ ตามธรรมนูญลูกเสือโลกดังนี้ 1.หน้าที่ต่อพระเจ้า (Duty to God) ยึดมั่นในหลักศีลธรรม และเลื่อมใสในศาสนา 2.หน้าที่ต่อผู้อื่น (Duty to Others) จงรักภักดีต่อชาติของตน และส่งเสริมสันติภาพ ความเข้าอกเข้าใจกัน การร่วมมือกัน ทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และนานาชาติการมีส่วนร่วมในการพัฒนา สังคม ด้วยการยอมรับ การเคารพ ในเกียรติภูมิของความเป็นมนุษย์ และเพื่อควา มมั่งคังสมบูรณ์ ของธรรมชาติโลก 3.หน้าที่ต่อตนเอง(Duty to Self) รับผิดชอบต่อการพัฒนาตนเอง
-2- 6. วิธีการ (Scout Methods) วิธีการลูกเสือ เป็นระบบที่มีความส าคัญสู่ความส าเร็จในแนวทางการจัดการฝึกอบรมลูกเสือ วิธีการลูกเสือเป็นระบบการศึกษาที่ให้ก้าวหน้าด้วยตนเอง (A system of Progressive-seft education) โดยที่เป็นวิธีการที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ที่มีความส าคัญอย่างเท่าๆกันของทุกองค์องค์ประกอบ ซึ่งด าเนินไปพร้อม ๆ กันในลักษณะของระบบที่ยึดโยงกัน(Cohesive system) และการน าองค์ประกอบเหล่านี้ ไปใช้ภายใต้การเชื่อมโยงและความสมดุลขององค์ประกอบเหล่านี้อันเป็นวิธีการเฉพาะของการลูกเสือ วิธีการลูกเสือ (Scout Methods) ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๘ องค์ประกอบคือ 1. ค าปฏิญาณและกฎของลูกเสือ 2. เรียนรู้จากการกระท า 3. ความก้าวหน้าส่วนบุคคล 4. การท างานเป็นทีม(ระบบหมู่) 5. การสนับสนุนจากผู้ใหญ่ 6. สัญลักษณ์ลูกเสือ 7. ธรรมชาติ 8. การมีส่วนร่วมกับชุมชน
-3- 7. แนวการพัฒนาลูกเสือ 8 ประการ 7.1 พัฒนาทางกาย 7.2 พัฒนาทางสติปัญญา 7.3 พัฒนาทางจิตใจและศีลธรรม 7.4 พัฒนาในเรื่องการสร้างค่านิยมและเจตคติ 7.5 พัฒนาทางสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 7.6 พัฒนาทางสัมพันธภาพทางสังคม 7.7 พัฒนาทางสัมพันธภาพต่อชุมชน 7.8 พัฒนาทางด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม 8. พลเมืองดีในทัศนะของการลูกเสือ 8.1 มีความจงรักภักดีต่อชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ 8.2 มีเกียรติเชื่อถือได้ 8.3 มีระเบียบวินัย สามารถบังคับใจตนเองได้ 8.4 สามารถพึ่งตนเองได้ 8.5 เต็มใจและสามารถช่วยเหลือชุมชน และบ าเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นได้ทุกเมื่อ 9.ประโยชน์ของการลูกเสือ 9.1 เป็นการศึกษานอกแบบ (NON FORMAL EDUCATION) 9.2 ช่วยเสริมการศึกษาในโรงเรียนในด้าน - ความประพฤตินิสัยใจคอ สติปัญญา - ความมีระเบียบวินัย - สุขภาพและพลัง - หน้าที่พลเมืองและการบ าเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น 10. ท่านได้อะไรจากกองลูกเสือ 10.1 การผจญภัย (ADVENTURE) 10.2 มิตรภาพ (FRIENDSHIP) 10.3 มีชีวิตกลางแจ้ง (OUT DOOR LIFE) 10.4 การสนุก (ENJOYMENT) 10.5 ความสัมฤทธิผล (ACHIEVEMENT) 11. กิจการลูกเสือต้องการอะไร 11.1 ต้องการเยาวชนมาสมัครเป็นลูกเสือมากขึ้น (พลเมืองดีมีคุณภาพจะมีมากขึ้น) 11.2 ต้องการผู้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพในการฝึกอบรม 11.3 ต้องการเงินเพียงพอ เพื่อน ามาใช้ในการฝึกอบรมและบริหารกิจการลูกเสือ
บทเรียรี นที่8 การแปลความหมาย ของสาระสำ คัญ คั ของการลูก ลู เสือ สื