การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือในประเทศไทย
การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือในประเทศไทย ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ.2556
การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือในประเทศไทย สมัย ร.6 มีโรงเรียนฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ หลักสูตร 2 เดือน ต้องไปซ้อมรบอีก 1 เดือนได้รับประกาศนียบัตรพิเศษ พ.ศ. 2470 ส่งหลวงกวี จรรยาวิโรจน์และ หลวงปราโมทย์ จรรยาวิภาช ไปอบรมที่ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2500 ส่ง นายเชาว์ ชวานิช นายสมรรถไชย ศรีกฤษณ์ นายเพทาย อมาตยกุล นายกมล พันธุ์มีเชาวน์ และ นายสว่าง วิจักขณะ ไปอบรมที่ประเทศอังกฤษ
https://archive.org/details/u nset00002443_e0n5/page/n 3/mode/2up
การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือในไทย แบบกิลเวลล์ปาร์ค พ.ศ. 2503 เปิดอบรมวิชาผู้กับลูกเสือส ารอง ขั้นวูดแบดจ์ ครั้งแรกที่อ่างศิลา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2504 เปิดอบรมวิชาผู้กับลูกเสือสามัญ ขั้นวูดแบดจ์ ครั้งแรกที่ค่ายวชิราวุธ จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2521 เปลี่ยนแบบการฝึกอบรมจากแบบ กิลเวลล์ปาร์ค มาเป็นแบบส านักงานลูกเสือโลก
พ.ศ.๒๔๙๖
พ.ศ.๒๕๐๔
ที่เรียนใต้ต้นมะม่วง ค่ายลูกเสือวชิราวุธ
คุณวุฒิทางลูกเสือ สมัยก่อน พ.ศ. 2520 C.W.B. Cub Wood Badge ประเภทส ารอง S.W.B. Scout Wood Badge ประเภทสามัญ SS.W.B. Senior Scout Wood Badge ประเภทสามัญรุ่นใหญ่ R.W.B. Rover Wood Badge ประเภทวิสามัญ ปัจจุบัน ไม่ระบุประเภทลูกเสือ ใช้ W.B. เหมือนกันหมด
คุณวุฒิทางลูกเสือ สมัยก่อน พ.ศ. 2520 A.AK.L. Assistant Akela Leader 3 ท่อน ส ารอง A.D.C.C Assistant Deputy Camp Chief 3 ท่อน สามัญ AK.L. Akela Leader 4 ท่อน ส ารอง D.C.C Deputy Camp Chief 4 ท่อน สามัญ ปัจจุบัน A.L.T. Assistant Leader Trainers 3 ท่อน L.T. Leader Trainers 4 ท่อน
การฝึกอบรมคณะผู้ให้การฝึกอบรม มีขั้นเดียว คือ Training the Team Course : T.T.C ได้ 3 ท่อน เมื่อมีผลงานมากขึ้นได้ 4 ท่อน จาก พ.ศ. 2512 N.T.C. National Trainers Course อบรม 3 ท่อน I.T.T.C. International Training the Team Course อบรม 4 ท่อน จาก พ.ศ. 2526 A.L.T.C. Assistance Leader Trainers Course อบรม 3 ท่อน L.T.C. Leader Trainers Course อบรม 4 ท่อน
หลักทั่วไปในการฝึกอบรม 1. เนื้อหาวิชา วิธีการฝึกอบรม ให้เป็นไปตาม ความต้องการของแต่ละประเทศ 2. ให้เกิดความเข้าใจในภาระหน้าที่ที่จะต้องท า รวมถึง เข้าใจหลักส าคัญของการลูกเสือและหน้าที่ของ ผู้ก ากับลูกเสือ 3. ให้เข้าใจถึงความต้องการของเด็กและคนหนุ่ม และ เข้าใจถึงทักษะที่จะสนองความต้องการของเขา
หลักทั่วไปในการฝึกอบรม 4. สาธิตให้เห็นถึงความจ าเป็นที่จะต้องมีผู้ใหญ่เป็นผู้น า ต่อเด็ก และให้เห็นวิธีที่จะพัฒนาตนเอง เพื่อหาความรู้ เพิ่ม 5. ให้มีทักษะ 5 ประการ คือ Understanding, Relationship Skills, Scouting Skills, Planning Skills และImplementing Skills
1. ความเข้าใจในเรื่องลูกเสือ (Understanding) ❖ หลักการส าคัญของลูกเสือรวมทั้งค าปฏิญาณและกฎ ❖ ลักษณะนิสัย และการพัฒนาของเด็กและคนหนุ่ม ❖ โครงสร้างของลูกเสือ รวมทั้งการขยายงานด้วย ❖ บทบาทของผู้ก ากับลูกเสือ รวมทั้งความรับผิดชอบ ในการเป็นผู้น า ❖ กิจการลูกเสือและชุมชนรวมทั้งความสัมพันธ์กับหน่วยเยาวชน อื่น การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ 5 ประการ
2. ทักษะเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ (Relationship Skills) ◼ ความสามารถในการเป็นผู้น า เช่น การท างานร่วมกับ กลุ่มเล็ก ๆ ◼ การใช้วิธีการที่เหมาะสมเกี่ยวกับประเภทลูกเสือ เช่น ระบบหมู่ ◼ การติดต่อกับคนวัยรุ่นและคนหนุ่ม ◼ การให้ค าแนะน า การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ 5 ประการ
3. ทักษะเกี่ยวกับเทคนิคของการลูกเสือ (Scouting Skills) ◼ การก าหนดการฝึกอบรม รวมทั้งระบบ ก าหนดการฝึกอบรมของลูกเสือแต่ละประเภท ◼ การฝึกอบรมทักษะต่าง ๆ ของลูกเสือ การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ 5 ประการ
4. ทักษะเกี่ยวกับการวางแผน (Planning Skill) ➢ ความสามารถที่จะเกิดขึ้นและปรับปรุง ➢ การวางแผนก าหนดการฝึกอบรมทั้งระยะยาว และระยะ สั้น ➢ การวางแผนความเจริญก้าวหน้ารายบุคคลของคนหนุ่ม ➢ การวางแผนความเจริญก้าวหน้าของกองลูกเสือ การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ 5 ประการ
5. ทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน(Implementing Skills) ◼ กิจกรรมต่าง ๆ ◼ วิธีการฝึกอบรมและวิธีการสอน ◼ การแสวงหา และการใช้อุปกรณ์และวิทยากร ◼ การก าหนดและรักษามาตรฐานของกองลูกเสือ ◼ การบริหารกองลูกเสือ ◼ การประเมินผล ◼ การรับผิดชอบงานในหน้าที่ การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ 5 ประการ
1. การฝึกอบรมให้เป็นไปตามความต้องการของผู้เข้า อบรม 2. มีจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3. ฝึกตามเนื้อหาวิชาของหลักสูตร 4. การฝึกต้องแบ่งออกเป็นชั่วโมง 5. ต้องรู้วัตถุประสงค์ของแต่ละบทเรียน 6. ให้ใช้เทคนิคการฝึกอบรมและสื่อประกอบการฝึกอบรม (DEVELOPMENT OF COURSE STRUCTURE) ารพัฒนาโครงสร้างของหลักสูตร ก
เปรียบเทียบวิธีการฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ แบบเก่า การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ แบบปัจจุบัน ในการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา ลูกเสือ ขั้นวูดแบดจ์ของลูกเสือแต่ละ ประเภท มีการสาธิตการประชุมกอง ลูกเสือ ๕-๖ วิธี ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จะต้องจดจ าวิธีที่ได้เรียนมานี้ ไปใช้ กับกองลูกเสือในโรงเรียนของตน โดย มิได้ปรับปรุงอะไรมากนัก การสอนซ้ า ๆ ซาก ๆ ด้วยวิธีการประชุมกอง ดังกล่าว ท าให้ลูกเสือเกิดความเบื่อ หน่าย ผู้ก ากับกองลูกเสือเองก็ไม่รู้ว่า จะเอาอะไรมาสอนต่อไป ในการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา ลูกเสือสมัยใหม่ มีการสาธิตการ ประชุมกองลูกเสือ ๒-๓ ครั้ง เพื่อให้ผู้ เข้ารับการฝึกอบรมได้เห็นว่า การ ประชุมกองลูกเสือแต่ละครั้ง นั้นมี ขั้นตอนอย่างไร ส่วนเนื้อหาวิชาที่ผู้ ก ากับกองลูกเสือจะน ามาสอนนั้น ผู้ ก ากับกองลูกเสือต้องไปคิดมาเอง
เปรียบเทียบวิธีการฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
หัวเรื่อง การฝึกอบรม แบบเก่า การฝึกอบรม แบบปัจจุบัน จ านวนผู้เข้า อบรม วิทยากร รุ่นละ ๑๐๐ – ๒๐๐ คน นั่งหลับกันบ้าง มีเพียงผู้อ านวยการ ฝึกอบรมและวิทยากร รุ่นละ ๔๐ คน เพื่อค านึงถึง คุณภาพ มีวิทยากร ๔ ประเภท คือ - ผู้อ านวยการฝึกอบรม - วิทยากรบรรยาย - วิทยากรประจ ากลุ่ม - วิทยากรฝ่ายสนับสนุน
หัวเรื่อง การฝึกอบรม แบบเก่า การฝึกอบรม แบบปัจจุบัน การแต่งกาย การพูด อุปกรณ์ สวมเสื้อยืด ใส่ เครื่องหมายวูดแบดจ์ ค าพูดที่ใช้สอน สุภาพ เรียบร้อย ไม่ใช้ค าหยาบ - ใช้ชอล์กและกระดาน - ให้ดูเป็นตัวอย่าง แต่งเครื่องแบบเรียบร้อยถูกต้อง เป็นการสร้างความระเบียบ เรียบร้อย ค าพูดที่ใช้สอน สุภาพเรียบร้อย ไม่ใช้ค าหยาบ - ใช้แผนภูมิ สไลด์ ภาพยนตร์ วีดีทัศน์ - แจกให้ทั่วทุกคน เพื่อให้ปฏิบัติจริง
หัวเรื่อง การฝึกอบรม แบบเก่า การฝึกอบรม แบบปัจจุบัน เอกสาร วิธีการ ฝึกอบรม -ไม่มี- มอบหมายงานให้มาก เท่าไหร่ ยิ่งดีการแต่งค่าย ท ากันตลอดคืน ไม่ได้หลับ ไม่ได้นอน แจกเอกสาร มีคู่มือทุกประเภท ประกอบ ไม่ค านึงถึงด้านนั้น ต้องการให้ผู้ เข้ารับการฝึก อบรม ใช้ความคิด ได้ค้นคว้า ทบทวน ได้แลก เปลี่ยนประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน
ครั้งที่ 1 9 -11 พ.ค. 2546 ค่ายลูกเสือวชิราวุธ ครั้งที่ 2 16-18 พ.ค. 2546 ค่ายลูกเสือวชิราวุธ ครั้งที่ 3 4 พ.ค. 2547 โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ ครั้งที่ 4 6-10 ก.ย. 2547 โรงแรมเดอะเลกาซี่ริเวอร์แคว จ. กาญจนบุรี ครั้งที่ 5 10-14 มี.ค. 2548 โรงแรมอมรพันธ์วิลล่า จ.ระยอง ครั้งที่ 6 2 ก.พ. 2548 ศาลาวชิราวุธ ครั้งที่ 7 6-10 ก.ย. 2553 สวนนงนุช จ.ชลบุรี ครั้งที่ 8 8-12 ก.ค. 2562 โรงแรมอัมพวาน่านอน ฯลฯ.............................................. ผ ้ ู บ ั งคบ ั บ ั ญชำล ู กเส ื อของไทยในย ุ คปฏ ิ ร ู ป การแก้ไขและปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรม
1. มีการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน - ส ารวจสภาพปัญหา ความต้องการ และความจ าเป็น ในการสร้างหลักสูตร 2. การพัฒนาหลักสูตร - ก าหนดจุดมุ่งหมาย - ก าหนดเนื้อหาสาระ - ก าหนดกิจกรรม
3. การทดลองใช้หลักสูตร 4. การประเมินและติดตามผลหลักสูตร - เพื่อตรวจสอบว่าหลักสูตรที่ได้พัฒนาขึ้นมีความ เหมาะสมเพียงใด - ควรจะปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ได้หลักสูตร ที่สมบูรณ์ขึ้น
1. ลดจ านวนวัน ลการปร ั บปร ุ งแกไ้ ขหลก ั ส ู ตรการฝึ กอบรม ผ C.B.T.C. S.B.T.C. SS.B.T.C. R.B.T.C. 3วัน C.A.T.C. S.A.T.C. SS.A.T.C. R.A.T.C. 7วัน 2. ปรับปรุงเนื้อหาให้เป็นปัจจุบัน
กิจกรรมของลูกเสือ…. Is it fun for the boys ? If it is not, it is not Scouting . Is it educational ? Does it lead boys to one or more of Scouting’s aims ? It may be fun , but if it lacks this sense of purpose, it is not Scouting. “ เด็กเรียนลูกเสือสนุกไหม ถ้าไม่สนุกไม่ใช่กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมนั้นน าเด็กไปสู่วัตถุประสงค์ของการลูกเสือข้อหนึ่ง ข้อใดหรือหลายข้อหรือไม่? .....กิจกรรมนั้นอาจสนุก แต่ถ้าไม่น าไปสู่วัตถุประสงค์ของ การลูกเสือ กิจกรรมนั้นก็ไม่ใช่การลูกเสือ ”
บทเรียรี นที่ 11 การกำ หนดวัต วั ถุป ถุ ระสงค์ ของบทเรียรี น
บทเรียนที่ 11 การก าหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียน การเตรียมบทเรียนในการฝึกอบรมแต่ละบทเรียน หรือการวางแผนเพื่อการฝึกอบรม แต่ละครั้งเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาไม่น้อย ในฐานะที่เป็นผู้ให้การฝึกอบรมเราควรพยายามอย่างยิ่งที่จะใช้เวลานี้ ให้ได้ประโยชน์ให้มากที่สุดทั้งนี้ทั้งฝ่ายผู้ให้การฝึกอบรมและผู้รับการฝึกอบรมด้วย ก่อนจะเขียนหรือก าหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียนในการฝึกอบรมแต่ละบทเรียน หรือเขียน วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมแต่ละครั้ง ( Course Objectives ) ขึ้น ผู้ให้การฝึกอบรมต้องรู้ใจของตนเอง อย่างแจ่มชัดเสียก่อนต้องการผลอะไรจากบทเรียนนั้น หรือจากการฝึกอบรมครั้งนั้น แนวความคิดที่จะเกิดขึ้นในใจเป็นอันดับแรก จะเป็นความต้องการอย่างกว้างขวาง เรียกว่า จุดหมาย (Aims) ตัวอย่าง เช่น การฝึกอบรม เอ.แอล.ที.ซี. ครั้งนี้ จุดหมาย (Aims) ของคณะผู้ให้การอบรม มีว่า “เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความรู้ความสามารถ ท าหน้าที่เป็นผู้อ านวยการฝึกอบรม ขั้น บี.ที.ซีได้” ฉะนั้น จึงกล่าวว่า จุดหมาย ( Aims) คือ ข้อความต่าง ๆ แสดงถึงเป้าหมายว่าผู้ให้การ ฝึกอบรมประสงค์อะไรจากบทเรียนนั้น เมื่อได้ก าหนดจุดหมายขึ้นแล้ว ต้องพิจารณาว่าเพื่อให้บรรลุถึงจุดหมายดังที่เขียนไว้แล้วนั้น จะต้องท าอะไรบ้างรายละเอียดและขั้นตอนอย่างไร ให้เขียนลงไว้ รายละเอียดที่เขียนขึ้นนี้เรียกว่า วัตถุประสงค์(objectives) ของบทเรียน ฉะนั้น จึงกล่าวได้ว่า วัตถุประสงค์(Objectives) ของบทเรียน คือข้อความหรือขั้นตอน ต่างๆ ที่ก าหนดหรือเขียนขึ้นอย่างแน่นอน กะทัดรัด ชัดแจ้งเพื่อจะให้ได้รับผลสมดังที่ตั้งใจไว้ในจุดหมาย วัตถุประสงค์อาจเป็น ข้อความหลายประโยคหรือหลายข้อจัดเรียงตามล าดับก่อนหลัง หรือถ้าจะกล่าวอีกที หนึ่งก็จะกล่าวได้ว่าเมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้สอนต้องการจะให้ผู้เรียนมีความรู้อะไรบ้างเป็นวัตถุประสงค์ ทางพฤติกรรม ตัวอย่าง การฝึกอบรมขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือ (ALTC ) ครั้งนี้ จุดหมาย ( Aims) มีว่า “ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความสามารถ ท าหน้าที่เป็นผู้อ านวยการฝึกอบรมได้ วัตถุประสงค์(Purpose) เมื่อจบการฝึกอบรมแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. อธิบายหลักการส าคัญของกิจการลูกเสือ และวิธีการที่น ามาใช้ในการฝึกอบรมลูกเสือได้ 2. ชี้แจงนโยบายคณะลูกเสือแห่งชาติได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการ ฝึกอบรมลูกเสือ 3. เขียน วัตถุป ระสงค์ของก ารฝึกอบ รมเป็น รายวิช าได้รวมถึงก ารฝึกอบ รมวิช าพิเศษ (Specialist and Technical Course ) และวิชาเทคนิคต่าง ๆ ซึ่งรวมอยู่ในกระบวนการฝึกอบรมของผู้ก ากับ ลูกเสือ
-2- 4. จัดด าเนินฝึกอบรมผู้ก ากับลูกเสือประเภทต่างๆในระดับการฝึกอบรมขั้นความรู้เบื้องต้นได้ 5. เป็นวิทยากรในคณะผู้ให้การฝึกอบรมในระดับความรู้ชั้นสูงได้ 6. ระบุสิ่งจ าเป็นในการฝึกอบรม (Training Needs) วิชาผู้ก ากับลูกเสือประเภทต่างๆได้ 7. จัดท าตารางการฝึกอบรม และสามารถปรับปรุงตารางให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในท้องถิ่นเพื่อ สนองความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ 8. อธิบายหลักการเรียนรู้โดยทั่วไปส าหรับผู้ใหญ่ได้ 9. จัดล าดับและเลือกใช้แบบวิธีการฝึกอบรมให้เหมาะสมได้ตลอดจนรู้จักจัดหาอุปกรณ์การสอน ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการพิจารณาการฝึกอบรมได้ 10. อธิบายและชี้ให้เห็นได้ว่าการฝึกอบรมนั้นเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกันและสามารถจัดให้เป็นที่ ดึงดูดใจและสนุกสนานได้ ข้างบนนี้เป็นตัวอย่างการก าหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม ส่วนการก าหนดวัตถุประสงค์ ของบทเรียนที่จะสอนแต่ละบทเรียน ก็ควรก าหนดไว้เช่นเดียวกัน ตัวอย่าง เรื่องการสอนเงื่อน จุดหมาย( Aims) “เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้เรื่องเงื่อน” วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนแล้ว ลูกเสือควรสามารถ 1. ผูกเงื่อนบ่วงสายธนูได้ 2. บอกประโยชน์และวิธีใช้เงื่อนบ่วงสายธนูได้ ประโยชน์การก าหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียนไว้อย่างชัดแจ้ง คือ 1. การท างานจะเป็นไปในวงจ ากัดตามที่ก าหนดไว้ในวัตถุประสงค์เท่านั้น 2. ช่วยให้ผู้ให้การฝึกอบรมเข้าใจว่า ควรจะสอนอะไรหลังทั้งจะได้เลือกวิธีสอนก าหนดเวลาและ เตรียมอุปกรณ์การสอนไว้ล่วงหน้าได้ถูกต้อง ขจัดข้อสงสัย ความยุ่งยาก และปัญหาต่าง ๆ ให้น้อยลง 3. อาจท าการวัดผลการฝึกสอนได้ว่าได้ผลตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่อย่างไร 4. อาจปรับปรุงให้เข้ากับกาลเทศะได้เมื่อมีความจ าเป็นเกิดขึ้น องค์ประกอบในการเขียนวัตถุประสงค์ 1. ระบุพฤติกรรมขั้นปลาย (Terminal Behavior) คือ ให้ระบุชนิดของพฤติกรรมของผู้เรียนต้อง กระท า เช่น อธิบาย บรรยาย สาธิต บอก
-3- 2. ระบุเงื่อนไขการปฏิบัติกิจกรรม (Operating Conditions ) คือการก าหนดเงื่อนไขของ ความส าเร็จ ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกก าหนดให้กระท าเช่นท าได้อย่างไร 3 . ร ะ บุ ม าต ร ก า รป ฏิ บั ติ กิจ ก ร ร ม (Specify criteria of acceptable performance) คื อ การก าหนดมาตรฐานของความส าเร็จจนเป็นที่ยอมรับ อาจจะใช้วิธีกระท าซ้ า เป็นเครื่องก าหนดหรือใช้ มาตรฐานของเวลาก็ได้ฯลฯ วิธีการฝึกอบรมที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ การเลือกวิธีการสอนเพื่อให้การฝึกอบรมบรรลุวัตถุประสงค์ของวิชานับว่ามีความส าคัญมาก จากตารางข้างล่างนี้แม้จะไม่ค่อยชัดเจน แต่ก็พอชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการฝึกอบรมกับ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ได้ ความรู้ ทักษะ เจตคติ การบรรยาย / / / การพูดคุย / / การสาธิต / / การอภิปราย / / การระดมสมอง / / การประชุมโต๊ะกลม / / การประชุมกลุ่มย่อย / การศึกษารายกรณี / / / ความรู้ ทักษะ เจตคติ กระบะทราย / / การท างานจากเอกสารในกระบะหนังสือ / / / การสวมบทบาท / / เกม / / / การสอนเป็นฐาน / แบบฝึกหัด / / การท างานตามโครงการ / / / การประชุมปฏิบัติการ /