The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย



มI ่งุ มนั่ ยกระดับคณุ คา่ การอาชวี ศึกษา I

V V

EE

BB

I I
V V
E E
B B

I
V
E
B



คำนำ

งานวจิ ยั นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ขา้ มามีบทบาทและเป็นส่วนสาคญั ในการขบั เคล่ือน
การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศใหเ้ จริญเติบโต กา้ วหนา้ มนั่ คง มง่ั คงั่ และยงั่ ยนื โดยสถาบนั
การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครซ่ึงมีหน้าที่ผลิตและพฒั นากาลงั คนให้สอดคล้องกับความตอ้ งการ
ของประเทศ ไดต้ ระหนกั และเล็งเห็นถึงความสาคญั ในการสร้างเสริม สนบั สนุนให้เกิดนักประดิษฐ์
และนักวิจยั รุ่นใหม่ พร้อมท้งั การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆอนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศ
ในอนาคต จึงไดจ้ ดั โครงการประชุมทางวิชาการและนวตั กรรมเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังที่ 5 ปี การศึกษา
2563 เพ่ือจุดประกายความคิดและสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษาในระดบั ปริญญาตรี
ของสถาบนั การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ไดม้ ีโอกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้ แสดงความคิดสร้างสรรค์
และมีเวทีในการนาเสนอผลงานวจิ ยั นวตั กรรมและส่ิงประดิษฐ์ สู่สาธารณชนผา่ นการจดั งานคร้ังน้ี

ในโอกาสน้ีสถาบนั การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครโดยกลุ่มบริหารยุทธศาสตร์การอาชีวศึกษา
ได้รวบรวมบทความวิชาการของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ ที่ได้
นาเสนอในงานประชุมทางวิชาการและนวตั กรรมเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ปี การศึกษา 2563 เพื่อเป็ น
ขอ้ มูลในการศึกษา คน้ ควา้ วิจยั ให้กบั นักเรียน นกั ศึกษา ผูท้ ่ีสนใจหรือสาธารณชนทวั่ ไป ไดน้ าไป
ศึกษา ค้นควา้ เป็ นข้อมูลหรือแนวทางในการคิดค้นงานวิจยั อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา
นวตั กรรมและเทคโนโลยใี นดา้ นตา่ งๆ

สถาบันการอาชี วศึกษากรุ งเทพมหานคร ขอขอบคุณ ฝ่ ายวิชาการ ส ถาบัน
การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร สถานศึกษาในสังกดั สถาบนั การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ท้งั 13 แห่ง
และผูม้ ีส่วนร่วมทุกท่านที่ทาให้การจดั โครงการประชุมทางวิชาการและนวตั กรรมเทคโนโลยีบณั ฑิต
คร้ังที่ 5 ปี การศึกษา 2563 สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี และหวงั เป็ นอยา่ งยิง่ วา่ หนงั สือรวบรวมบทความวิจยั น้ี
จะเป็ นประโยชน์และเป็ นส่วนสาคญั ในการเพิ่มองค์ความรู้ สร้างแรงบนั ดาลใจในการคิดคน้ ผลงาน
นวตั กรรมใหมๆ่ เพ่ือนาไปสู่การพฒั นาเศรษฐกิจ สังคมและประเทศตอ่ ไปในอนาคต

สถาบนั การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

II 
VV
EE  I I I I
BB V VI V V
E EV E E
I B BE B B
V
E I B I
B V V
E E
B B

I I I
V V V
E E
B IVEB E B

I BI I
V
E
B

I
V
E



สารบัญ

คานา เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ ก
สารบญั เครือ่ งเตอื นภัยน้ำป่ำแจ้งเตือนผำ่ นวิทยสุ ื่อสำร ข
สาขาวิชา ระบบแจ้งเตอื นสถำนภำพหอ้ งควบคมุ ระบบสื่อสำรแบบครบวงจร
ระบบประตอู ตั โนมัติควำมปลอดภยั สูง 1
เคร่ืองเตอื นภัยไฟปำ่ ระบบ LoRa WAN ดว้ ยอำดโู น่ 11
ระบบแจ้งเตอื นอัตรำกำรเตน้ ของหัวใจส้ำหรับผูส้ ูงอำยุ 19
ระบบตรวจสอบสถำนะกำรจอดรถผ่ำนแอปพลเิ คชัน Blynk 31
ระบบรกั ษำควำมปลอดภัยอัจฉริยะ 39
อปุ กรณค์ วบคุมส่ังกำรเครอ่ื งพน่ ยุงผำ่ นระบบสือ่ สำรไรส้ ำย IoT 47
59
สาขาวชิ า เทคโนโลยยี านยนต์ 67
กำรออกแบบและสรำ้ งเครื่องเติมอำกำศลงในนำ้ แบบใช้แผงโซล่ำ
เซลลค์ วบคมุ ดว้ ยคำ่ ควำมเป็นกรดและด่ำงของนำ้ 73
กำรออกแบบและสรำ้ งเรือพ่นนำ้ แปลงผักพลังงำนแสงอำทติ ย์
ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล 79
กำรออกแบบและสร้ำงเคร่ืองไลค่ วำมชนื ขำ้ วเปลอื กด้วยควำมร้อน
85
สาขาวชิ า เทคโนโลยไี ฟฟ้า
เครือ่ งบนั ทึกข้อมูลดว้ ยกำรรจู้ ำ้ ใบหน้ำและวัดอณุ หภูมดิ ว้ ยบอรด์ 89
รำสเบอรพี่ ำย
ตเู้ ลียงกุ้งเครย์ฟชิ ระบบอัจฉริยะ 97
103
เครอื่ งย่อยสลำยแผน่ เซลล์แสงอำทิตย์
115
สาขาวชิ า เทคโนโลยีการก่อสร้าง 123
กำรผลิตกำวยำงจำกโฟมผสมน้ำยำงพำรำ
133
กำรพฒั นำโปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ้ำหรับตรวจสอบควำมสูง
ของสง่ิ ปลูกสร้ำงรอบสนำมบนิ ดอนเมือง 139
คมู่ ือกำรซ่อมเสำเข็มเจำะที่มีคณุ ภำพไม่ดีที่หวั เสำเขม็

สาขาวชิ า เทคโนโลยีแมพ่ ิมพ์
กำรสรำ้ งแม่พมิ พ์ปมั๊ โลหะแบบผสมส้ำหรบั ผลติ ชนิ งำนข้อตอ่ รำงเดนิ สำยไฟ



 สารบัญ (ตอ่ )

 การโรงแรม
 กำรผลิตและหำประสทิ ธิภำพสบ่เู หลวลำ้ งมอื กลนิ่ มะกรดู
 กำรศกึ ษำส่วนผสมกำรตลำดบรกิ ำรในกำรจัดจ้ำหนำ่ ยอำหำรสตรีทฟ้ดู
 (Street Foods) โรงแรมอโนมำแกรนด์ ตำมมำตรกำรเวน้ ระยะห่ำงทำงสังคม
(Social Distancing) ทีม่ ีผลตอ่ กำรตัดสนิ ใจซือของผบู้ ริโภค
สาขาวิชา ในเขตปทุมวนั กรุงเทพมหำนคร
กำรพฒั นำและหำประสทิ ธิภำพของน้ำยำซักผ้ำจำกน้ำด่ำงขีเถำ้
กำรพัฒนำและหำประสิทธิภำพของน้ำมนั หอมระเหยปรบั อำกำศ 153
จำกเปลือกสม้ 163

สาขาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ 173
สมำทโฟนแอพพลิเคช่ันตรวจสอบกำรรับจ่ำยอุปกรณ์ไอที 187
ของบรษิ ัท เอส.บี. เฟอรน์ เิ จอร์เฮำ้ ส์ จำ้ กัด
ระบบแจ้งซ่อมคอมพวิ เตอรโ์ รงพยำบำลสมเดจ็ พระป่นิ เกลำ้ 203
209
สาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
กำรพัฒนำโมบำยแอปพลเิ คชนั ผู้ชว่ ยอัจฉริยะด้ำนกำรป้องกนั 215
กำรแพรร่ ะบำดของไวรสั COVID-19 223
กำรพฒั นำอนิเมชันกระบวนกำรลดควำมเส่ยี งของงำนกำรเงิน
กรณศี กึ ษำ : กำรช้ำระค่ำลงทะเบยี นเรยี นเปน็ เงนิ สด 233
วทิ ยำลยั พณิชยกำรธนบุรี 243
ระบบช่วยสนบั สนุนกำรท้ำงำนด้ำนกำรเปดิ บลิ เอกสำรผ่ำน 251
ระบบปฏิบัตกิ ำร Android 261
กำรพัฒนำระบบตรวจสอบกำรเข้ำใช้งำนสถำนท่ีและห้องเรียน 281
ภำยในวิทยำลัยพณชิ ยกำรธนบรุ ี
ระบบควบคุมไฟฟำ้ ภำยในสำ้ นกั งำนผำ่ น Smartphone

ระบบตน้ แบบกำรตรวจตรำและแจง้ เตือนกำรลนื่ ลม้ สำ้ หรบั คนไข้
ในโรงพยำบำลโดยใชว้ ธิ กี ำรไอโอทีเพยี โซ
สื่อประชำสมั พนั ธ์ส้ำหรบั บริษทั ไอ.ท.ี โซลูชนั่ คอมพวิ เตอร์ ไทยแลนด์ จำ้ กัด
โดยใชเ้ ทคโนโลยภี ำพเสมอื น 3 มิติ





 สารบญั (ต่อ)

 การตลาด
กำรใช้แอปพลเิ คชันเพื่อสร้ำงกำรยอมรับจำกผบู้ รโิ ภค-
สาขาวิชา ของบรษิ ทั วนั อินฟินติ ี บิวดงิ สแตนดำรด์ จำ้ กัด
กำรพัฒนำศักยภำพบุคลำกรเพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธผิ ลในกำรปฏบิ ตั ิงำน
ของบุคลำกรรำ้ นเคเอฟซี (K.F.C.) สำขำบ๊กิ ซีบำงปะกอก 289
กำรศึกษำสว่ นผสมทำงกำรตลำดท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ กำรตัดสินใจซือนำ้ ดื่ม 299
ตรำบัวทพิ ย์ จำกบริษัท สุชนิ นำ้ ดม่ื ของลูกค้ำในอ้ำเภอบำงกรวย 309
จงั หวดั นนทบุรี
กำรศึกษำสว่ นผสมทำงกำรตลำดท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กำรตัดสินใจซือประกนั ภยั 319
รถยนตท์ ีน่ ่ังสว่ นบคุ คล จำกบริษทั กรุงเทพประกันภัย จ้ำกดั (มหำชน)
ส้ำนกั งำนใหญข่ องผูเ้ อำประกนั ภยั ในเขตสำทร กรงุ เทพมหำนคร 329
ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ กำรตัดสนิ ใจซือสนิ ค้ำผ่ำนกำรไลฟ์สดทำงเฟสบคุ๊ 337
ของประชำกรในเขตคลองสำมวำ กรุงเทพมหำนคร
กำรเปรียบเทยี บควำมพงึ พอใจของลกู ค้ำในกำรชำ้ ระสินคำ้ 345
ผ่ำนระบบTrue money wallet หรอื เงินสด ร้ำนเซเวน่ อีเลฟเว่น 355
ในเขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหำนคร
กำรศกึ ษำผลกระทบจำกมำตรกำรกำรขึนภำษที ีม่ ีตอ่ พฤตกิ รรม 365
กำรซือบุหร่ีซิกำแรตของผู้บรโิ ภคในเขตดุสิต กรุงเทพมหำนคร
กำรศกึ ษำสว่ นผสมทำงกำรตลำดทม่ี ผี ลตอ่ กำรตดั สินใจซือเคร่ืองดืม่ 375
ผำ่ นแอพพลเิ คชัน่ รำ้ นกำแฟมวลชนสถำนขี นส่งสำยใต้ใหม่ แบบบริกำรสง่ 385
ถึงบำ้ น (Delivery) ของลูกคำ้ ในแขวงบำงระมำด เขตตล่ิงชันชนั 391
กรงุ เทพมหำนคร
ศึกษำกลยทุ ธท์ ำงกำรตลำดทมี่ ผี ลต่อกำรตัดสนิ ใจซือน้ำแขง็ หลอด
ปลอดสำร ตรำไนแองกำร่ำสำขำสุขสวสั ด์ิ

สาขาวชิ า การบญั ชี
กำรพฒั นำคู่มือกำรตรวจสอบเอกสำรประกอบกำรลงบญั ชี
เพอ่ื จัดท้ำงบกำรเงินใหม้ ีคุณภำพของสำ้ นักงำนพิภทั รำกำรบญั ชี
กำรพฒั นำคมู่ ืองำนระบบบญั ชีซอื สนิ ค้ำและเจ้ำหนี โดยโปรแกรม
CD Organizer
กำรพฒั นำระบบกำรจดั กำรสนิ คำ้ คงคลังให้มคี ุณภำพด้วยโปรแกรม
Excel Barcode

เคร่ืองเตือนภยั นำ้ ป่ำแจ้งเตอื นผ่ำนวทิ ยสุ อ่ื สำร
(Forest water alarm through radio communication)

ภมรมนตรี ศรีประยรู 1 สทิ ธิชยั เดชไทย2
1,2 นกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์ สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

การจัดทาโครงการในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเคร่ืองเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุ
สื่อสารและเพ่ือสารวจความพึงพอใจของผู้เช่ียวชาญ ครู บุคลากร ทางการศึกษาและผู้สนใจโดย
ทาการศึกษาทดลองเชิงปฎิบัติและสารวจความพึงพอใจกับประเมินประสิทธิภาพ กลุ่มตัวอย่าง
บุคลากรครูและนักศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี จานวน 10 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดาเนินการ
แบบสอบถามความพึงพอใจ และแบบประเมินประสิทธิภาพ สถิติที่ใช้ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ยผลการ
จัดทาโครงการพบว่าการประเมินความพึงพอใจอยู่ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก(X=3.50, S.D.=0.50)
และผลการประเมินด้านความเหมาะสมของการใช้งานเคร่ือง( X=3.60, S.D.=0.51) ความรวดเร็วใน
การตอบสนองของเครื่อง (X=3.60, S.D.=0.51) ความปลอดภัยในการใช้งาน (X=3.60, S.D.=0.51)
ความง่ายของการใช้งาน X=3.50, S.D.=0.52) ความสะดวกในการบารงุ รักษา )X=3.30, S.D.=0.48)
ค้ำสำ้ คญั : การเตอื นภัยพิบัติก่อนเกดิ ภยั พิบตั ิ, อทุ กภยั , ภาวะน้าท่วมฉบั พลัน

1

บทความผลงานวจิ ยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

Abstract

This project is prepared to create forest water alarm alert via radio
communication.And to survey the satisfaction of experts, teachers, educational
personnel and interested people By conducting experimental studies and satisfaction
surveys and evaluating efficacy The sample group of teachers and students in technical
colleges Minburi number 10 people Tools used in

the process Satisfaction questionnaire And performance assessment form
The statistics using percentage and mean results of project preparation found that the
overall satisfaction assessment was at a high level (X = 3.50, SD = 0.50) and the results
of the evaluation of the suitability of the machine use. (X = 3.60, SD = 0.51) Machine
Response Speed (X = 3.60, SD =0.51) Operating Safety (X = 3.60, SD = 0.51) Ease of
Use (X = 3.50, SD = 0.52) ease of maintenance (X = 3.30, SD = 0.48)

Keywords : Disaster warning before disaster Flood Flash floods

2

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

1. บทน้ำ

ท่ีผ่านมานี้เหตุการณ์น้าป่าในประเทศไทย มีความถี่และรุนแรงมากขึ้นเร่ือยๆ ก่อให้เกิดการ
สญู เสียตอ่ ชวี ิตและทรัพย์สนิ โดยไมส่ ามารถประเมินค่าได้ สาเหตุหลักเกิดจากปรมิ าณน้าฝนที่ตกมาก
เกินกว่าท่ีศักยภาพของดินจะรองรับได้ ทาให้เกิดน้าป่าไหลบ่านาเอาหน้าดินและต้นไม้ ไหลเข้าทา
ความเสียหาย ในขณะที่ศักยภาพของดินในการรองรับน้าหรืออุ้มน้านั้นมีแนวโน้มลดลง เนื่องมาจาก
การเปลี่ยนแปลงพ้ืนที่โดยเฉพาะในพื้นท่ีลาดชัน พ้ืนท่ีราบเชิงเขาและพ้ืนที่ใกล้ทางน้าไหล ทาให้เกิด
น้าท่วมอย่างฉับพลัน ถ้าหากประชาชนไม่สามารถอพยพเคล่ือนย้ายได้ทันก่อนเกิดภาวะน้าท่วม
ฉับพลัน จะก่อให้เกิดความสูญเสียที่ตามมาอีกมากมาย เน่ืองจากด้วยภาวะดังกล่าวที่ว่านี้จะเกิดข้ึน
ภายในระยะเวลาสั้นๆ และรวดเร็ว ซ่ึงที่ผ่านมาน้ันโดยท่ัวไปแล้วประชาชนหรือบุคคลท่ัวไป จะได้รับ
ข้อมูลและข่าวสารมาจากฟังการรายงานทางกรมอุตุนิยมวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ซ่ึงจะมีการแจ้ง
เดือนภัยต่างๆเหล่าน้ีอยู่เป็นประจาในชว่ งฤดูฝน หรือในช่วงที่มีฝนตกหนักตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน แต่
การแจ้งเตือนภัยดังกล่าวอาจไม่ครอบคลุม จึงทาให้ไม่สามารถเตรียมพร้อมรับมือกับภัยน้าท่วมได้
อยา่ งทนั ถว่ งที และอาจทาให้เกิดความเสยี หายต่อพื้นท่หี ลายแหง่ ดังปรากฏโดยท่วั ไป

จากปัญหาดังกลา่ ว ทาให้กลุ่มผู้จดั ทาโครงการมีแนวคิดในการสร้างเครอื่ งเตือนภยั นา้ ป่าแจง้
เตือนผ่านวิทยุสื่อสาร สาหรับชุมชน ขึ้นมาเพ่ือเป็นการเตือนภัยให้บุคคลที่อาศัยอยู่ในบริเวณท่ีเส่ียง
ภัย ได้เตรียมพร้อมเพื่อหาแนวทางในการป้องกันปัญหาอุทกภัยหรือน้าท่วมน้ัน ดังท่ีทราบกันมาแล้ว
ว่าหากเกิดปัญหาอุทกภัยแล้วอาจจะส่งผลกระทบถึงภาวะ การขาดแคลนข้าวของเครื่องใช้ทั้งด้าน
อุปโภคและบริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยหลักท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต ภาวะเหล่านี้เกิดจากปัญหาที่ยากต่อ
การแกป้ ัญหาทย่ี ากต่อการแก้ไข

ดังน้นั ทางกล่มุ ผ้จู ดั ทาโครงการเลง็ เห็นความสาคัญว่า ”หากผ้ปู ระสบอุทกภยั ทราบเหตุการณ์
การเกิดอุทกภัยก่อนล่วงหน้าแล้ว อาจได้รับผลกระทบน้อยลงจากภาวะเหตุการณ์ดังกล่าวน้ี” ซึ่งทาง
กลมุ่ ผูจ้ ัดทาโครงการจงึ คิดจดั ทาโครงการ ในหัวขอ้ เร่ืองเครือ่ งเตือนภยั น้าป่าแจ้งเตือนผา่ นวทิ ยุส่ือสาร
เพ่ือเป็นการชว่ ยบรรเทาผลกระทบทตี่ ามมาหลังการเกิดอุทกภัย ถือเป็นการตดั ไฟตั้งแตต่ ้นลม

2. วัตถุประสงคก์ ำรวิจัย
1.เพอ่ื สรา้ งเครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผา่ นวิทยุสื่อสาร
2.เพ่ือหาประสิทธิภาพของเครือ่ งเตือนภยั น้าป่าแจ้งเตอื นผ่านวทิ ยุสื่อสาร
3.เพื่อหาความพึงพอใจของผใู้ ช้งานเคร่ืองเตอื นภัยนา้ ปา่ แจ้งเตอื นผา่ นวิทยุส่ือสาร

3

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

3. วิธีกำรดำ้ เนนิ กำรวิจยั
3.1 การจดั สรา้ งเคร่อื งเตือนภยั นา้ ป่าแจ้งเตอื นผ่านวิทยุส่ือสาร ไดม้ กี ารวางแผน และกาหนด

ข้ันตอนการปฏิบัติงานรวมถึงวิธีการดาเนินงาน ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้ตามขั้นตอนดังภาพที่ 1

ภำพที่ 1 แผนผงั ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 4

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

3.2 ประชำกรและกลุม่ ตัวอย่ำง
ประชากร คือ ผู้เช่ียวชาญด้านสาธารณภัยครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจกลุ่ม

ตัวอย่างผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเจาะจงดังนี้ ผู้เชี่ยวชาญจานวน 10 คน ครู บุคลากรทางการ
ศึกษาและผ้สู นใจ จานวน 20 คน

3.3 เครื่องมอื ที่ใช้
1. แบบสอบถามหาประสทิ ธิภาพ
2. แบบสอบถามหาความพงึ พอใจ

3.4 กำรสร้ำงแบบสอบถำมกำรหำประสทิ ธิภำพ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมจาก แบบสอบถามการหา

ประสิทธิภาพของเคร่ืองเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุการสร้างแบบประเมินประสิทธิภาพที่มีต่อ
เคร่ืองเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุสื่อสาร ซ่ึงประเมินโดยผู้เช่ียวชาญจานวน 5 ท่าน และหา
ประสิทธิภาพท่มี ตี ่อเคร่ืองเตอื นภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยสุ ื่อสาร จานวน 7 ข้อ เป็นมาตราประมาณ
ค่า 5 ระดบั ไดแ้ ก่ มาก ทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยที่สดุ

3.5 กำรสร้ำงแบบสอบถำมควำมพงึ พอใจ
เครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุส่ือสาร ในกา รสร้างเคร่ืองมือวิจัย

ประกอบด้วยคาถามข้อมูลท่ัวไปเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 10 ข้อ เป็นคาถามแบบ
ตรวจสอบรายการและความพึงพอใจท่ีมตี ่อเครือ่ งเตือนภัยนา้ ป่า

1. กาหนดวตั ถุประสงค์ของการสร้างแบบสอบถามเพื่อสอบถามความพึงพอใจของผู้
ศึกษาเกี่ยวกับเนอื้ หาและการทางานของเคร่อื งเตือนภัยน้าปา่ แจ้งเตอื นผ่านวทิ ยสุ ื่อสาร

2. กาหนดแผนผังการสร้างแบบสอบถามตามประเด็นท่ีต้องการสอบถามความพึง
พอใจ ไดป้ ระเด็นคาถามรวม 7 ขอ้ และกาหนดรูปแบบการถามเปน็ แบบประมาณค่า 5 ระดบั

3. ร่างแบบสอบถามตามประเดน็ ทกี่ าหนดไว้ในแผนผังการสรา้ งแบบสอบถาม
4. จดั พมิ พแ์ บบสอบถามความพงึ พอใจฉบับรา่ ง
5. ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามโดยผู้ใช้งาน 10 คน พิจารณาความเหมาะสม
ของข้อคาถามกับแผนผังการสร้างแบบสอบถามแล้วนาผลการพิจารณามาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง
)IOC( พบว่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามมีค่าระหว่าง 0.67-1.00 แสดงว่าข้อคาถามมีความตรง
เชิง

5

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

6. จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์และจัดทาสาเนาเพ่ือนาไปใช้เก็บรวบรวม
ข้อมูลแจ้งเตือนผ่านวิทยุสื่อสารจานวน7ข้อเป็นมาตรประมาณ ค่า 5ระดับได้แก่ มากท่ีสุด มาก ปาน
กลาง น้อย และ นอ้ ยที่สดุ

3.6 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. ผู้วิจัยนาเครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุส่ือสาร พร้อมแบบประเมิน

คณุ ภาพ เครือ่ งเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุส่ือสาร ดว้ ยตนเอง พร้อมอธิบายเก่ยี วกับเครื่องเตือน
ภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุส่ือสาร ให้ผู้ใช้พิจารณาประสิทธิภาพของเคร่ืองเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือน
ผา่ นวทิ ยสุ ่อื สาร จานวน 10 ทา่ น และรับคืนด้วย

2. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามความพึงพอใจและเคร่ืองเตือนน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุ
ส่ือสารด้วยตนเองเก่ียวกับการใช้ระบบให้กับครู บุคลากร ทางการศึกษาและผู้สนใจและได้รับ
แบบสอบถามกลับคนื มา 20 ฉบับ นามาวิเคราะห์

3.7 กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู
การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาประสิทธิภาพของเครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุ

ส่อื สาร โดยการนาข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินประสิทธิภาพและความพึงพอใจท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนมา
วิเคราะหโ์ ดยใชว้ ธิ ีการประมวลผลคา่ ทางสถติ สิ ถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวิจัย1.การหาค่าเฉลย่ี (

Arithmetic Mean.ใชส้ าหรบั การหาค่าเฉล่ีย )รวีวรรณ ชินะตระกลู )

2542 :164)

X  X

n

เมือ่ X แทน คา่ คะแนนเฉลี่ยของผตู้ อบแบบสอบถามทัง้ หมด

 X แทน ผลรวมทัง้ หมดของผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด

n แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด

6

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

. 2 การหาคา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน)Standard Deviation( ใชส้ าหรบั วิเคราะห์การกระจายของ
)ชิน รววี รร( ข้อมูละตระกูล : 2542 .179)

 S.D.   X   2
n 1

เม่อื S.D .แทน คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
X แทน คา่ คะแนนแตล่ ะตัว
X แทน คา่ เฉล่ียของกลมุ่ ตวั อย่าง
n แทน จานวนขอ้ มลู ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง

3. การแปลความหมายคะแนนที่ได้จากคาตอบแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ
ใชเ้ กณฑด์ ังน้ี

ค่าเฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากท่สี ุด
คา่ เฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
ค่าเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง
ค่าเฉลีย่ 1.50 – 2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจน้อย
ค่าเฉล่ีย 1.00 – 1.45 หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ยทีส่ ุด

ตวั รับ(วทิ ยสุ าร)

Arduino Uno R3

LED แสดงสถานะ

ตวั ส่งสญั ญภาณำพที่ 2 การออกแบบเครื่องเตือนภยั นา้ ปา่ แจ้งเตอื นผ่าตนวั วรทิ ับยสสุ ญัื่อสญาารณ

7

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

ตำรำงที่ 1 แสดงการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพ

ข้อ การทดลอง รอบท่ี รอบที่ รอบที่ ระดบั คณุ ภาพโดย
1 ทดลองวัดทีร่ ะดบั นา้ 30 cm 12 3 เฉลีย่ ร้อยละ

ทาได้ 1 ครั้ง ทาได้ 3ครง้ั ทาได้ 3 คร้ัง 77

2 ทดลองวดั ทรี่ ะดบั นา้ 60 cm ทาได้ 3 ครัง้ ทาได้ 4คร้ัง ทาได้ 5ครัง้ 80
100
3 ทดลองวัดที่ระดบั นา้ 90 cm แจง้ เตอื น แจง้ เตอื น แจง้ เตือน

รวม 85

จากตารางที่ 1 พบว่าการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพโดยรวม อยู่ในระดับท่ีดีมาก คิดเป็นร้อย
ละ 85 เม่ือพิจารณาพบว่า การทางานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือการแจ้งเตือนระดับน้าท่ี 90cm
อยู่ในระบบท่ดี ีมาก คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาคือการวดั ระดบั น้าท่ี 60cm อยู่ในระดบั ที่ดี คิดเป็น
รอ้ ยละ 80 และการทางานท่ีมีประสิทธภิ าพตา่ สดุ ระดบั น้าท่ี 30cm อยู่ในระดบั ดี คิดเปน็ ร้อยละ 77

ตำรำงที่ 2 แสดงการวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ความพงึ พอใจ

ที่ รายการ ̅ S.D. แปลผล ลาดับท่ี
ดา้ นการใช้งาน
1 ความเหมาะสมในการใช้งานเคร่อื ง 3.60 0.51 มาก 1
2 ความถูกตอ้ งของการแสดงผล 3.40 0.51 ปานกลาง 3
3 ความรวดเร็วในการตอบสนองของเคร่อื ง 3.60 0.51 มาก 1
4 ความง่ายของการใช้งาน 3.50 0.52 มาก 2
5 ความสะดวกในการบารุงรกั ษา 3.30 0.48 ปานกลาง 4

6 ความปลอดภยั ในการใชง้ าน 3.60 0.51 มาก 1
รวม 3.50 0.50 มาก

ด้านการออกแบบ 3.60 0.51 มาก 2
1 ความสวยงาม ความทนั สมยั ความน่าสนใจ 4.00 0.66 มากทสี่ ดุ 1
2 การจัดวางรูปแบบอุปกรณ์ เขา้ ใจได้ง่าย 3.50 0.52 มาก 3
3 ความเรว็ ในการแสดงสถานะ เขา้ ใจได้งา่ ย 3.70 0.59 มาก

รวม

8

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

จากตารางที่ 2 พบว่า การหาความพึงพอใจในด้านการใช้งานเครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่าน
วทิ ยุสอ่ื สาร ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก )X=3.50, S.D.=0.50) และเมอ่ื พจิ ารณารายข้อพบว่า ดา้ นการใชง้ าน
รายการท่ีมีค่าคะแนนเฉล่ียจากมากที่สุดมีจานวน 3 ข้อ คือข้อ 1 ด้านความเหมาะสมของการใช้งานเครื่อง
)X=3.60, S.D.=0.51) ข้อ 3 ความรวดเร็วในการตอบสนองของเคร่ือง (X=3.60, S.D.=0.51) และข้อ 6
ความปลอดภัยในการใช้งาน )X=3.60, S.D.=0.51) รองลงมา คือข้อ 4 ความง่ายของการใช้งาน )X=3.50,
S.D.=0.52) และค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุดคือ ข้อ 5 ความสะดวกในการบารุงรักษา )X=3.30, S.D.=0.48) และการหา
ความพึงพอใจในดา้ นการออกแบบ มคี าคะแนนเฉลี่ยมากทส่ี ุด คือ ข้อ 2 การจดั วางรปู แบบอุปกรณ์ เข้าใจได้
ง่าย )X=4.00, S.D.=0.66) รองลงมา คือข้อ 1 ความสวยงาม ความทันสมัย ความน่าสนใจ )X=3.60,
S.D.=0.51) และค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด คือข้อ 3 ความเร็วในการแสดงสถานะ เข้าใจได้ง่าย )X=3.50, S.D.=0.52)
และเมื่อผู้ใช้มีความพึงพอใจในการใช้เครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุส่ือสารในภาพรวมทั้งด้าน
การใช้งานและด้านการออกแบบพบว่า ความพึงพอใจของผู้ทดลองอยู่ในระดับมาก )X=3.50, S.D.= )0.54
และเมื่อพิจารณารายด้านของแต่ละข้อพบว่า ด้านการใช้งานในภาพรวม อยู่ในระดับมาก )X=3.60,
S.D.= )0.50และด้านการออกแบบในภาพรวม อยใู่ นระดับมาก )X=3.70, S.D.=)0.59

5. สรปุ ผลกำรวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะ
5.1 จากการทดสอบการใช้งานของเครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุส่ือสารนั้น

สามารถใชง้ านได้จรงิ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีผ้วู จิ ัยไดว้ างไว้ คือระบบสามารถส่งสญั ญาณแจง้ เตอื น
ผ่านวิทยสุ อ่ื สารมายงั ตวั รับ และสามารถแสดงผลเปน็ เซนติเมตร (cm) ชว่ ยลดการสญู เสยี สาหรบั ผู้คน
ทอี่ าศัยอยู่บรเิ วณพื้นท่เี สยี่ งไดเ้ ป็นอยา่ งมาก ซง่ึ ผ้วู จิ ัยไดต้ ง้ั ค่าเซนเซอร์ไวท้ ั้งหมด 3 ระดับ ดังน้ี
1. มากกวา่ หรอื เท่ากับ 30 cm เครื่องรบั สัญญาณจะแสดงสถานะไฟ LED สีเขียว หมายถึง ใหป้ ระชาชนเฝ้าระวงั
2. มากกวา่ หรือเทา่ กับ 60 cm เครอ่ื งรบั สญั ญาณจะแสดงสถานะไฟ LED สเี หลืองหมายถงึ ใหป้ ระชาชนเตรยี มพรอ้ ม
3. มากกว่าหรือเท่ากับ 90 cm เคร่ืองรับสัญญาณจะแสดงสถานะไฟ LED สีแดงหมายถึง ให้
ประชาชนอพยพหรือย้ายไปอยใู่ นทีท่ ปี่ ลอดภยั

5.2 จากการทดลองเซนเซอร์วัดระดับน้าของเครื่องเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุ
สือ่ สาร เม่อื มีการเริ่มการทางานของเซนเซอร์ และหากเป็นไปตามเงื่อนไขทผี่ วู้ ิจยั กาหนดไวโ้ ปรแกรม
จะทางานทันที โดยมีเซนเซอรว์ ดั ความชื้นในดนิ เปน็ ตวั กาหนดการทางานอยา่ งแม่นยา

5.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานเคร่ืองเตือนภัยน้าป่าแจ้งเตือนผ่านวิทยุสื่อสาร ผู้ใช้มีความ
พึงพอใจของเคร่ืองในด้านการใช้งานภาพรวมอยู่ในระดับมาก และดา้ นการออกแบบภาพรวมอยู่ใน
ระดับมากเชน่ เดียวกัน

9

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

6.เอกสำรอ้ำงองิ

กฤษดา ใจเยน็ ไฮพรินต้งิ : กรุงเทพฯ .เรยี นรูแ้ ละปฏิบตั กิ ารเชอ่ื มต่อคอมพวิ เตอร์กบั อุปกรณภ์ ายนอก .2554 .
Anonymous. ความรู้เก่ียวกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์, [Online). เข้าถงึ ไดจ้ าก :
http://www.lpc.mutl.ac.th /elcen/elearning/motorcontrol/module/8motor.html.

จริ ะศักดิ์ ชาญวุฒิธรรม สถาบนั เทคโนโลยี : เอกสารประกอบการสอนวิชาเคร่ืองวัดและการวัดทางไฟฟา้ กรุงเทพฯ .2554 .
พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื

ชลทิศ กิตติคุณ2551 ., แนวทางการเตือนภัยน้าท่วม พื้นท่ีลุ่มน้าคลองตะกั่วป่า จังหวัดพังงาณรงค์ กันทาดง2548 ., การ
เตอื นภัยนา้ ท่วมของลานา้ ยมแพร่ .

ฟิสกิ สร์ าชมงคล[ไฟฟา้ กระแสสลบั ไฟฟ้ากระแสตรง .Online). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :http://www.
neutron.rmutphysics.com/news/index.php?option-comcontenttask=view&id 915 &Itemid-2553 .3

รจี สิ เตอร์เกย่ี วกับไมโครตอนโทรลเลอร์[ .Online), เข้าถงึ ไดจ้ าก :http://rayongwit.ac.th/scibox/microconhtm
ศนู ยว์ จิ ัยป่าไม้ , .2554การพัฒนาระบบเตือนภัยลว่ งหนา้ น้าทว่ ม ดนิ ถล่มพ้ืนทเี่ ส่ียงภัยและการ

พัฒนาระบบเตือนภัยสาหรับชุมชน สุเทพ จันทร์เขียว ธาดา สุขะปุณพันธุ์ ).วช( สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : .
และนิพนธ์ ตั้งธรรม, แบบจาลองและระบบเตอื นภยั น้าทว่ มฉับพลนั ดินถล่มสานักงานการประปาเทศบาล 2552

จังหวดั นครศรีธรรมราช ตาบลทา่ ดี อาเภอลานสกา จงั หวัดนครศรีธรรมราชขอ้ มลู ปริมาณนา้ และกราฟแสดระดับ
ชูเกียรติ ทรัพย์ไพศาล และไตรรัตน์ ศรีวัฒนา )2527(, การไหลในทางน้าเปิด, ภาควิชาทรัพยากรน้า, คณะ

วศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
ธีรพันธุ์ เด็ดขาด )2545(, การศึกษาสภาพน้าท่วมในกลุ่มน้าลาพังชูโดยการประยุกต์ใช้สมการ MIKE 11,

วิทยานพิ นธ์ วศิ วกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมทรัพยากรนา้ ,คงคณะ วิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

10

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคมุ ระบบสอื่ สารแบบครบวงจร
System Alarm Integrated Server Room

กติ ภิ ูมิ ศรคี ูณ1ศริ ิโรจน์ ยลถนอม2พลวัฒน์ โชตปิ ระดษิ ฐ3์ สฤษด์ิ เกดิ สันเทียะ4
Kitipum Srikoon1Siriroj Yolthanom2Pholawat Chotipradit3Sarit Kerdsanthia4

1,2นกั ศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected],[email protected]

3,4อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันการอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
E-mail: [email protected],[email protected]

บทคดั ยอ่

โครงการน้ีระบบแจง้ เตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบสอื่ สารแบบครบวงจร มวี ตั ถุประสงค์
เพื่อสร้างระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบสื่อสารแบบครบวงจร ให้สามารถแสดงผลได้ท่ี
บนจอมอนิเตอร์ห้องเวรควบคุม โดยใช้แอปพลิเคชัน Blynk ผ่านระบบ Line และหาประสิทธิภาพ
ของระบบแจ้งเตอื นสถานภาพห้องควบคมุ ระบบสอ่ื สารแบบครบวงจร

ผลการศึกษาได้เครอื่ งแจ้งเตือนความปลอดภัยภายในห้องเซิร์ฟเวอร์ โดยที่สมาร์ทโฟน หรอื
แท็บเล็ต จะเป็นตัวแสดงผลของสถานะการทางานของเซ็นเซอร์ ในส่วนของการทางานของระบบ
แสดงสถานะบนแอปพลิเคชัน Blynk ที่สามารถตรวจจับ อุณหภูมิ ควัน ความช้ืน กาลังไฟฟ้าและ
กระแสไฟฟ้าได้ จากการออกแบบโครงการในส่วนของการเขียนการทางานของโปรแกรมมีค่าความ
ผดิ พลาดไม่เกิน 10% และสามารถแสดงบนแอพพลิเคช่นั Blynk ได้อย่างสมบรู ณ์

คาสาคัญ : ระบบแจง้ เตือน หอ้ งควบคุมระบบสื่อสาร แอปพลเิ คชันBlynk แอปพลิเคชันLine

11

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract
This project, the status notification system, control room, integrated
communication system Have a purpose to create an alarm system for the status of
the control room, a unified communication system, that can be displayed on the
control room monitor. Using the Blynk application via Line system and finding the
efficiency of the status alert system, control room, unified communications system.
The study results were alerted to the safety of the server room. Where the
smartphone or tablet will be an indicator of the operating status of the sensor. As for
the operation of the Blynk app-based indicator system, temperature, smoke, humidity,
power and current can be detected. As a result of the project design, in the writing
part of the program has an error value of not more than 10% and can be fully displayed
on the Blynk application.

Keywords: alert system Communication system control room Blynk application
Line application

12
ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

1. บทนา
เน่ืองจากองค์กรต่าง ๆ อาทิเช่น รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และส่วนงานราชการต่าง ๆ มักจะมี

หอ้ งเซริ ฟ์ เวอร์เปน็ ที่จัดเก็บเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ ซ่ึงมขี ้อมลู สาคญั อยภู่ ายในเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ ดงั น้ัน
การรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิงเพราะหากเกิดข้อผิดพลาด
ผู้ดูแลห้องเซิร์ฟเวอร์ควรจะทราบทันทีเม่ือมีการทางานผิดพลาดเกิดข้ึนกับเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ จะได้ทา
การแก้ไขปญั หาอย่างรวดเรว็ เพอ่ื ลดความเสียหายให้กับอปุ กรณ์และระบบ

โดยปกติแล้ว เมื่อมีการทางานผิดพลาดใด ๆ หรือมีเหตุการณ์ไม่ปกติก็ตามเกิดขึ้น
ในหอ้ งเคร่ืองมือส่ือสาร ผ้ดู ูแลหรอื ผูเ้ ขา้ เวรเข้ามาพบจะต้องเดินมาจากห้องเวร ซ่งึ บางคร้ัง ผูด้ ูแลไม่ได้
น่ังอยู่ในห้องเคร่ืองมือสื่อสารตลอดเวลา ซ่ึงในปัจจุบันได้มีการเปิด API (Application Programming
Interface) ต่าง ๆ ซึ่งจะทาให้สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อเช่ือมต่อกับแอปพลิเคชันได้ เพื่อให้ผู้ใช้งาน
สามารถรบั การแจ้งเตือนตา่ ง ๆ ผ่านแอปพลิเคชันไดท้ นั ที

ดังน้ันผู้จัดทาโครงการจึงมีแนวคิดในการพัฒนาระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคุม
ระบบสอ่ื สารและความปลอดภัยต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในห้องเซิร์ฟเวอร์ผ่านจอมอนิเตอร์ และแอปพลิเคชัน
Blynk เพ่ืออานวยความสะดวกในการแจ้งเตือนสิ่งผิดปกติต่าง ๆ อาทิเช่น เม่ือมีเหตุการณ์ความช้ืนสูง
ภายในห้องเซิร์ฟเวอร์ หรืออุณหภูมิภายในห้องเซิร์ฟเวอร์มีความผิดปกติจากค่าท่ีได้กาหนดไว้เครื่องจะ
ทาการแจง้ เตอื นใหก้ บั ผู้ดูแลผ่านจอมอนิเตอร์และแอปพลเิ คชัน ใหท้ ราบในทนั ที Blynk

2. วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย
2..1 เพื่อสรา้ งระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบส่ือสารแบบครบวงจรมาแสดงผลห้องเวรควบคมุ
และบนจอมอนเิ ตอร์และแอปพลเิ คชนั Blynk
2..2 เพ่ือพัฒนาระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบส่ือสารแบบครบวงจรดว้ ย Internet of Things
(IoT)
2.3 เพอ่ื หาประสทิ ธภิ าพระบบแจ้งเตอื นสถานภาพห้องควบคุมระบบสื่อสารแบบครบวงจร

3. สมมติฐานของการวิจัย
ระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบสื่อสารแบบครบวงจรสามารถสามารถแจ้งเตือน

อุณหภูมิ,ความชนื้ ,ควัน,กาลงั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าผ่าน แอปพลิเคชนั Blynk แลว้ เตือนมายังผู้ใช้งาน
ระบบผ่านแอปพลิเคชนั Lineได้

13

บทความผลงานวิจยั นวตั กรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี

4. วธิ ีการดาเนนิ การวจิ ยั
4.1 การสร้างและพฒั นานวัตกรรม
4..1.1 ออกแบบและสร้างระบบแจง้ เตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบสื่อสารแบบครบวงจร
ใหเ้ หมาะสมกับห้องควบคุมระบบสอ่ื สาร

ภาพท่ี 1 Flow Chart แสดงการดาเนนิ ข้นั ตอนและวธิ ดี าเนินโครงงาน

4..2 ออกแบบและเขียนโปรแกรม Arduino code

ภาพที่ 2 ภาพแสดงการออกแบบและเขียนโปรแกรม Arduino code 14

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

4.3 เครื่องมอื วจิ ยั ตา่ ง ๆ ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
4.3.1 บอร์ด ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 เป็นชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มาพร้อม WiFi

มาตรฐาน 802.11 b/g/n และบลูทูธเวอร์ชัน่ 4.2 เป็นรุ่นต่อยอดความสาเร็จของ ESP8266 โดย

จานวน 2 คอร์ สัญญาณนาฬิกา 240MHz สามารถแยกการทางานระหว่างโปรแกรมจัดการ WiFi
แใลนะรแนุ่ อนพไ้ี พดลอ้ เิอคกชมัน่ าอแอกก้ไขจขาก้อกเสนั ียไขดอ้ ทงาEใSหPม้ 8ีส2เถ6ยี6รทภั้งาหพมเพด่ิมโขด้นึ ยมCาPกU ใช้สถาปตั ยกรรม Tensilica LX6

4.3.2 โมดลู วดั อณุ หภมู ิและความชื้น DHT22 / AM2302 Temperature & Relative Humidity Sensor
หรืออุปกรณ์เซนเซอร์สาหรับวัดอุณหภูมิและความช้ืนสัมพัทธ์ (Temperature & Relative Humidity
Sensor) เป็นอุปกรณ์ท่ีสามารถนามาประยุกต์ใช้งานทางด้านระบบสมองกลฝังตัวได้หลากหลายเช่น การวัด
และควบคุมอณุ หภูมิและความชื้น ระบบบนั ทึกข้อมลู เก่ียวกบั อุณหภูมิและความชื้นในหอ้ ง เป็นต้น

4.3.3 โมดูลวัดการใช้พลังงานไฟฟ้า PZEM-004T AC Digital Power Energy Meter
Module ใช้วัดแรงดันไฟฟ้าของไฟบ้าน วัดค่ากระแสไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีใช้ วัดค่า
กาลงั ไฟฟา้ และวดั ค่ากาลงั ไฟฟา้ ต่อช่ัวโมง (Wh) ซงึ่ สามารถนาคา่ เหลา่ น้ีไปใช้คานวณคา่ ไฟฟ้าได้
หรอื วัดการใชพ้ ลังงานของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ แตล่ ะเคร่ืองได้

4.3.4 บอร์ด ESP32 Shield V2 แบบยาว เปน็ บอรด์ ท่ีไวช้ ว่ ยในการเชอื่ มต่ออุปกรณ์ภายนอก
ได้งา่ ยข้ึน เช่น Sensor บอร์ดขับ Relay

4.3.5 แอปพลิเคชัน Blynk คือ แอปพลิเคชันฟรีสาหรับใช้งาน Internet of things (IOT) มีความ
น่าสนใจคือการเขียนโปรแกรมที่ง่าย ไม่ต้องเขียนแอปพลิเคชันเอง สามารถใช้งานได้อย่าง Real time
สามารถเช่ือมต่อ Device ต่าง ๆ เข้ากับ Internet ได้อย่างง่ายดายไม่ว่าจะเป็น Arduino, Esp8266,
Esp32, NodeMCU Rasberry pi และแอปพลิเคชัน Blynk ยังรองรบั ในระบบ IOS และ Android อกี ดว้ ย

4.3.6 หลักการออกแบบห้องเซิร์ฟเวอร์ ในปัจจุบันจะต้องคานึงถึงประสิทธิภาพให้เหมาะสมกับการ
ใช้งาน โดยปฏิบัติตามข้อกาหนดของมาตรฐานศูนย์ข้อมูลทั้งการออกแบบระบบ โดยรวมอุปกรณ์ท่ี
เลือกใช้การติดตั้งที่ถูกต้องและการบารุงรักษาท่ีถูกวิธี ผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบการออกแบบ หรือปรับปรุง
ศูนย์ข้อมูลจาเป็นต้องศึกษา ติดตามระบบที่ทันสมัยมาปรับใช้กับศูนย์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ให้เป็นไป
ตามมาตรฐานสากล สามารถตอบสนองความต้องการขององค์กรหรือลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งดี
4.4 ขั้นตอนการสร้างและหาคุณภาพของเครือ่ งมือวิจัย

4.4.1 นาบอรด์ ESP32 เซนเซอร์ต่างๆ และอุปกรณ์ท่ีเกย่ี วขอ้ งมาประกอบในกล่อง และตอ้ ง
ตรงตามขอบเขตคือ ตอ้ งสามารถตรวจจับอุณหภมู ิ ตรวจจับควนั ตรวจความช้นื ตรวจวดั
แรงดันไฟฟา้ แจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชนั Blynk และ Line Notifyได้

15

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

4.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล
4.5.1 การทดสอบเร่ิมจากการเปดิ แอปพลเิ คชัน่ Blynk

ภาพที่ 3การเปิดใช้งานบนแอปพลเิ คชัน Blynk

4.5.2 ตารางการทดสอบการวดั อณุ หภมู ิโดยใชเ้ ทอรโ์ มมเิ ตอรเ์ ทียบกับแอปพลเิ คชนั ฺBlynk

อุณหภูมิ ค่าที่วดั ได้จาก ค่าวดั ไดจ้ ากแอปพลเิ คชั่น เปอร์เซน็

ณ หอ้ งเซิรฟ์ เวอร์ เทอร์โมมเิ ตอร์ ความผดิ พลาด

21 องศา 21.5 องศา 21.3 องศา 0.9 %

22 องศา 22.5 องศา 23.7 องศา 5.4 %

23 องศา 23 องศา 22.2 องศา 3.4 %

24 องศา 24.5 องศา 24.6 องศา 0.4 %

4.5.3 ตารางการทดลองการทดสอบตรวจจับควัน

เซนเซอร์ ระยะหา่ งของวัตถุจากเซนเซอร์ MQ-7

ครั้งที่ 5 cm 10 cm 15 cm 20 cm 30 cm 40 cm

1√√√×√ √

2 √√√√× ×

3 √√√√× √

4.5.4 ตารางการการวัดคา่ กาลังไฟฟา้ วดั คา่ กระแสไฟฟา้ ผา่ นโมดูล PZEM-004T

กาลงั ไฟฟา้ คา่ จากคณุ สมบตั ิของตวั คา่ จากการวดั ไดจ้ ากแอปพลิเค เปอรเ์ ซน็

เครือ่ งใช้ไฟฟา้ เคร่อื งใช้ ไฟฟา้ ชนั Blynk ความผดิ พลาด

พัดลม 18 น้วิ 78 W 76 W 2.6 %

หม้อหุงขา้ ว 650 W 678 W 4.2 %

กระติกน้ารอ้ น 662.38 W 691 W 3.9 % 16

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

4.5.5 ตารางการการวดั ค่ากระแสไฟฟา้ วัดคา่ กระแสไฟฟ้าผ่านโมดลู PZEM-004T

กาลงั ไฟฟา้ คา่ จากคณุ สมบตั ิของตัว คา่ จากการวัดไดจ้ าก เปอรเ์ ซน็

เคร่อื งใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า แอปพลเิ คชัน Blynk ความผดิ พลาด

พดั ลม 18 น้วิ 0.35 A 0.33 A 5.8 %

หม้อหุงข้าว 2.95 A 3.03 A 2.6 %

กระติกน้ารอ้ น 3.01 A 3.13 A 3.9 %

4.5.5 ตารางการการวดั ค่าแรงดันไฟฟา้ วัดค่ากระแสไฟฟ้าผ่านโมดลู PZEM-004T

แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า ค่าจากการวัดไดจ้ าก เปอร์เซน็
มาตรฐาน วดั จากดิจติ อล แอปพลเิ คชัน Blynk ความผิดพลาด
มัลตมิ ิเตอรว์ ัดไฟ
)ครั้ง(

220 V )ครง้ั ท่ี1( 228.0 V 228.8 V 0.4 %

220 V )ครั้งท่ี2( 229.3 V 229.8 V 0.2 %

220 V )คร้งั ท่ี3( 229.6 V 230.1V 0.2 %

5. ผลการวิจยั

จากการทาโครงการระบบแจ้งเตือนสถานภาพห้องควบคุมระบบสื่อสารแบบครบวงจร น้ัน
สามารถตรวจวัดอุณหภูมิ ตรวจจับการร่ัวของควัน ตรวจวัดกาลังไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า ผลท่ีได้
สามารถทางานไดต้ รงกับขอบเขตท่วี างไว้คือ สามารถแจง้ เตอื น เมอื่ อุณหภมู ิมคี ่าสูงกวา่ ค่าที่กาหนดไว้
เม่ือเกิดควันภายในห้องเซิร์ฟเวอร์ ตรวจวัดกาลังไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าภายในระบบเครือข่ายผ่าน
แอปพลเิ คชนั Blynk ไดจ้ ริงตามทอี่ อกแบบและเขยี นโปรแกรมไว้

6. ข้อเสนอแนะ
6.1 ในอนาคตสามารถต่อยอดโดยการเพิ่มอุปกรณ์และโมดลู เซน็ เซอรไ์ ด้
6.2 สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการดแู ลรกั ษาความปลอดภัยในบา้ นได้อีกดว้ ย
6.3 หากเกิดไฟฟ้าลัดวงจร จะไมม่ กี ระแสไฟ ทาให้อุปกรณเ์ ซนเซอรต์ รวจจับไม่ทางานควรมีอุปกรณ์
ไฟฟา้ (UPS) สารองไว้สาหรบั การจ่ายไฟใหก้ ับอปุ กรณ์ตรวจจบั หรือควรมีอุปกรณ์ตรวจจับไฟฟ้าลัดวงจร

17
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

7. เอกสารอา้ งอิง
[1] ระบบควบคมุ ปจั จยั ต่างๆในฟารม์ เหด็ โดยใช้ Arduino
แหล่งท่ีมา: https://www.princess-it-foundation.org/project/wp-content/uploads/tsr59/c61.pdf
สบื ค้นข้อมลู วันท่ี(: 25 สิงหาคม 2563).
[2] ระบบควบคมุ โหลดไฟฟา้ และแสดงค่าการใช้พลังงานผ่านSmart Phone (2560)
โดย นาย ณัฐพงศ์ ประสาททอง
แหล่งท่มี า : http://digital_collect.lib.buu.ac.th/project/b.00254372pdf
สืบค้นขอ้ มลู วนั ที่(: 25 สงิ หาคม 2563).
[3] ระบบควบคุมไฟฟ้าไร้สายผ่านเว็บบราวเซอร์ โดย ประธาน เนียมน้อย,จิตติ คงแกว้ และ จตุรงค์ มะ
โนปล้ีม แหลง่ ท่ีมา : http://www.research.rmutt.ac.th/?p=10099
สืบค้นข้อมลู วนั ท่ี(: 25 สงิ หาคม 2563).
[4] บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ESP32
แหลง่ ทีม่ า: https://www.arduinoone.com/index.php?module=knowledge&id=38
สบื คน้ ข้อมลู วนั ที่(: 26 สงิ หาคม 2563).

[5] โมดูลวัดอุณหภมู แิ ละความช้ืนDHT22
แหลง่ ทีม่ า: https://www.indiamart.com/proddetail/dht22
สบื ค้นข้อมลู วนั ท่ี(: 26 สงิ หาคม 2563).

[6] จอCharacter LCD แหล่งท่ีมา: https://www.ioxhop.com/article/30
สบื ค้นข้อมลู วนั ท่ี(: 26 สิงหาคม 2563).

[7] บอร์ดESP32 Shield V2 แบบยาว แหลง่ ที่มา :http://www.princebot.net/product/19

สืบค้นข้อมลู วันท่ี(: 26 สิงหาคม 2563).

[8] PZEM-004T แหล่งท่ีมา: https://www.ioxhop.com/product//594pzem-004t-ac-

digital-power-energy-meter-module. สืบค้นข้อมูลวนั ที่(: 27 สิงหาคม 2563).

[9] Power adapter 5v 4a อะแดปเตอร์ 5v กระแส 4a

แหลง่ ทีม่ า: https://www.myarduino.net/product/3425

สืบค้นข้อมลู วันท่ี(: 27 สิงหาคม 2563).

[10] Blynk แหล่งที่มา: https://www.arduinospro.com/article/23/blynk-app-basic-ep0-

blynk. สืบคน้ ข้อมลู วันที่( : 27 สิงหาคม 2563).

[11] หลักการออกแบบห้องเซิร์ฟเวอร์ แหลง่ ที่มา: http://sitem.co.th/language/th

สบื ค้นข้อมูลวันที่(: 27 สงิ หาคม 2563). 18

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ระบบประตูอตั โนมตั คิ วามปลอดภยั สงู
AUTOMATIC DOOR SYSTEM HIGH SECURITY

นฐั พล จงนริ ักษ1์ ,ศริ ิวิชญ์ ทรงศริ ิ2,พลวัฒน์ โชตปิ ระดิษฐ3์
Nuttapon Jongniruk1,Sirivit Songsiri2,Pholawat Chotipradit3

1,2 นกั ศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
E-mail: [email protected],[email protected]

3 อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected]

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือออกแบบและสร้างระบบประตูอัตโนมัติความปลอดภัยสูง
และเพ่ือหาประสิทธภิ าพของระบบประตูอัตโนมัติความปลอดภัยสูง เนื่องจากความเจรญิ ก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีต่างๆมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ระบบรักษาความปลอดภัยเป็นสงิ่ ที่มีความสาคัญมากใน
ปัจจุบัน ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาและจัดทาโครงการน้ีข้ึนมา โดยผู้ใช้สามารถปลดล็อคประตูโดยใช้คีย์การ์ด
และรหัสผา่ น และสามารถสง่ ขอ้ มลู เข้า ออกของผู้ใช้งานผา่ น -ESPสง่ ไปยงั แอปพลเิ คชัน 8266Blynk
และ Line เม่ือผู้ใช้กดรหัสผิดพลาดจะมีการส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังApp Blynk และ Line เป็นสิ่ง
ท่ีผู้จัดทานามาใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบรักษาความปลอดภัยและเพิ่มความสะดวกแก่
ผูใ้ ชง้ าน

ข้ันตอนและวิธิการดาเนินโครงการ ได้ศึกษาข้อมูล เอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยงข้องกับระบบ
ประตูอัตโนมัติ จากนั้นได้รวบรวมข้อมูลนามาออกแบบระบบ จัดหาอุปกรณ์ จัดสร้าง และเขียน
โปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ การเชื่อมโยงระบบแจ้งเตือนอุปกรณ์กับแอปพลิเคช่ัน Blynk และ Line
จากน้ันได้ทาการตั้งค่าอุปกรณ์และทดสอบการทางานของระบบ ใน 2 ด้าน โดยผลการทดสอบมี
คา่ เฉลยี่ ดังน้ี

1.ด้านการนับเวลาปลดล็อคจากการสแกนคีย์การ์ดเทียบกับระยะเวลาการปลดล็อคด้วย
App blynk อยทู่ ี่ 5.33/5.41 วนิ าที จากการทดลอง 30 ครงั้

2.ด้านการส่งข้อมูลจาก App Blynk เทียบกับการกดรหัสการสแกนคีย์การ์ดมีค่าเฉล่ีย
0.46/0.53 วนิ าที จากการทดลอง 30 ครงั้

สรุปผลการดาเนินโครงการ พบว่าระบบเปิดประตูด้วยการใช้คีย์การ์ด ร่วมกับการกดรหัส
ผ่าน สามารถปลดล็อคได้ และสามารถส่งข้อมูลการเปิด-ปิดประตูไปยัง App Blynk และ Line เมื่อ
กดปมุ่ เปิดใน App Blynk จะสามารถปลดล็อคประตูจากภายในบา้ นได้ ทาใหเ้ กดิ ความปลอดภัยสงู
คาสาคญั : ระบบประตอู ตั โนมัติ,คียก์ าร์ด,ESP8266,Blynk

19

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

Abstract
This project has an objective To design and build a high security automatic door
system And to find the efficiency of high security automatic door system Due to the
advancement in technology, various developments have been developed rapidly.
Security is very important nowadays. The researcher has studied And created this
project The user can unlock the door with a key card and password. And can send
data to - out of users via ESP8266 sent to the Blynk and Line applications. When the
user presses an error code, a notification message will be sent to the App Blynk and
Line. It is used to increase the efficiency of the security system and increase user
convenience. Project steps and methods Has studied the research document related
to the automatic door system. From then, data was collected for system design,
equipment procurement, construction and device control programming Linking the
device alert system with the Blynk and Line applications, then set up the device and
tested it in two aspects. The test results are averages as follows:

1. The counting time of unlocking from keycard scanning compared to the
time of unlocking with App blynk is 5.33 / 5.41 seconds from 30 trials.

2. Data transmission from App Blynk compared to pressing the keycard scan
code averaged 0.46 / 0.53 seconds from 30 trials.
Project performance summary Found that the system opens the door by using a key
card. Together with pressing the password Can be unlocked And can send
information about opening-closing doors to App Blynk and Line when pressing the
open button in App Blynk can unlock the door from inside the house Resulting in
high security

Keyword : Automatic Door System High Security , ESP8266 , App Blynk

2 20

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

1. บทนา
เน่ืองจากในปัจจุบันผู้คนให้ความสาคัญของการรักษาความปลอดภัยมากขึ้น โดยเฉพาะ

ความปลอดภัยในคอนโดมิเนียม/อาคาร/ออฟฟิศ/ตู้เซฟ/ตู้นิรภัย แต่การรักษาความปลอดภัยโดย
เจ้าหน้าท่ีอาจมีไม่เพียงพอท่ีจะยับย้ังการโจรกรรมได้ จึงมีแนวคิดที่จะค้นคว้าประดิษฐป์ ระตูอัตโนมัติ
ความปลอดภัยสูงขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของตัวผู้ใช้ และบุคคลอื่นๆ
ภายในบ้าน หรือในอาคารต่างๆ ที่พบเห็นอยู่ในปัจจุบันง่ายๆ เช่น บัตรผ่านเข้าออกอาคารของ
พนักงานออฟฟศิ บัตรเขา้ ออกอาคาร รวมไปถงึ บัตรผา่ นทางดว่ น บัตรผ่านเขา้ ออกประตูของรถไฟฟ้า
เป็นต้น นิยมใช้เทคโนโลยีความปลอดภัยมาปรับใช้กับชีวิตประจาวัน และยังอานวยความสะดวกใน
การตรวจสอบบุคคล หรือการยืนยันตัวตน ของเจ้าของบัตรน้ันได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังน้ันถ้าเกิดมีการ
โจรกรรม กจ็ ะสามารถตรวจสอบได้ จากเจา้ ของบัตรนัน้ ๆ ปจั จุบันเทคโนโลยที ีเ่ ขา้ มามีอิทธิพลต่อการ
ดาเนินชีวิตก็คือ เทคโนโลยีที่เราเรียกติดปากกันว่า “คีย์การ์ด” แต่ช่ือของมันจริงๆนั้นก็คือ Radio
Frequency Identification หรือถ้าย่อง่ายๆ ก็คือ RFID น้ันเอง เป็นการระบุตัวตนของสิ่งของ หรือ
เจ้าของบัตรน้ันๆ ซ่ึงมีความปลอดภัยมากกว่า บัตรแบบแถบแม่เหลก็ ในยุคก่อน ในโครงงานฉบับนจี้ ึง
ไดน้ าเทคโนโลยี RFID และเทคโนโลยกี ารสง่ สัญญาณไปยงั ระบบสว่ นกลาง มาใชร้ กั ษาความปลอดภัย
เพอื่ ตรวจสอบการเขา้ -ออกภายในบ้าน โดยการสรา้ งเครื่องควบคุมระบบกลอนไฟฟา้ ในการเปิดประตู
ดว้ ยบอรด์ ออ-ดโู น่ ( Arduino ) และจะทางานร่วมกบั โปรแกรมควบคมุ โดยโปรแกรมควบคมุ จะแสดง
ข้อมูลของบุคคลท่ีเข้ามาภายในบ้าน โดยข้อมูลของบุคคลเหล่าน้ันจะถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลของ
เว็บไซต์และ แอพพลิเคชั่น โดยสามารถส่งสัญญาณเตือนภัย เม่ือมีผู้บุกรุกไปท่ี โทรศัพท์มือถือของ
ผู้ใช้งานได้ และสามารถแจ้งเตือนสมาชิกภายในบ้าน และสามารถตรวจสอบเรียกดูข้อมูลผู้ที่เข้ามา
ภายในบ้าน

2. วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย

2.1 เพ่อื ออกแบบและสรา้ งระบบประตอู ตั โนมัตคิ วามปลอดภัยสูง
2.2 เพอ่ื หาประสทิ ธิภาพของระบบประตูอตั โนมัติความปลอดภัยสงู โดยการตรวจสอบขอ้ มูลการเข้าออกของ

ผู้ใช้งานผา่ นแอปพลเิ คชัน Blynk และ แอปพลิเคชัน่ Line

21

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

3. วธิ ีการดาเนนิ การวิจัย

3.1 กาหนดวางแผนการดาเนินโครงการ ตามผงั โฟล์วชาร์ตการปฎิบตั ิงาน

เริ่มต้น

ศึกษาขอ้ มลู โครงการ

ออกแบบโครงสร้างชน้ิ งาน

ออกแบบโปรแกรม

ประกอบชน้ิ งาน

ตรวจสอบชิน้ งาน ปรบั ปรุงแกไ้ ข

ไม่ผ่าน

ทดสอบ

ผา่ น

สรปุ ผลการทดลอง

ส้ินสุดการทาโครงการ

รปู ท่ี 3.1 Flow Chart แสดงการดาเนินข้ันตอนและวิธดี าเนินโครงงาน

22

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

3.2 ออกแบบระบบประตูอตั โนมัติความปลอดภัยสูง

รูปท่ี 3.2 แสดงการออกแบบโครงงาน

23 รูปท่ี 3.7 แสดงการต่ออปุ กรณ์ต่างๆ
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

3.3 ออกแบบโปรแกรม สาหรับการส่งขอ้ มูลผ่านแอพพลเิ คชนั ไปยงั เว็บไซด์และโทรศัพท์

รปู ท่ี 3.4 แสดงการเขียนคาสง่ั ผ่านโปรแกรม Arduino IDE

4. การทดสอบและผลการทดสอบ
การปลดลอ็ คโดยการกดรหสั และสแกนคยี ก์ าร์ด แลว้ ส่งขอ้ มูลไปยงั Line และ ส่งขอ้ มลู ไปยงั APP Blynk

ข้นั ตอนทดสอบ
การกดรหัสผ่าน

ภาพท่ี 4.1 ภาพหนา้ จอ LCD หลงั จากกดรหสั ผ่าน

จากภาพท่ี เมื่อกดรหัสผ่านถูกต้องหน้าจอ 1-4LCD จะข้ึนคาว่า “Unlocked” แต่เมื่อกด
รหสั ผดิ พลาดจะข้ึนคาวา่ “wrong”

24

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

การสแกนคีย์การ์ด

ภาพท่ี 4.2 ภาพหน้าจอ LCD หลังจากสแกนคยี ์การด์

จากภาพท่ี เมื่อสแกนคีย์การ์ดผา่ น จะขึ้นคาว่า 2-4“Unlocked” ท่ีบรรทัด
สง่ ข้อมลู ไปยงั Application Blynk โดยการใช้คา่ ที่ไดจ้ ากการสแกนการ์ด

บนApplication Blynk สามารถแสดงวันที่ และ เวลาที่ทาการปลดล็อคแตล่ ะครั้ง เป็นสถติ ิ

ภาพท่ี 4.3 การส่งขอ้ มลู มายัง Application Blynk

25
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

จากภาพที่ 4. จดุ ทีม่ ีคา่ 3= คือค่าที่แสดงถงึ สแกนการด์ ทถี่ ูกต้อง 1ส่วนจุดท่ีมคี า่ = 0
แสดงถึงการสแกนการ์ดผิด โดยจะสงั เกตว่าจุดไหนมคี ่าเป็นเท่าไหรท่ าไดโ้ ดยการนานิว้ ไปแตะท่ีกราฟ
หรือ 1 และสงั เกตทางดา้ นบนซ้ายจะมีคา่ 0 อยู่ และเสน้ สีดาแสดงถึงวนั ท่ีและเวลาขณะสแกนการ์ด

ผลการทดสอบปลดล็อคจาก APP Blynk
บนหนา้ App Blynk

แสดงสถานะที่1 แสดงสถานะวันและ
เนอ่ื งจากประตเู ปดิ เวลาท่ีเปดิ ประตู

แสดงสถานะท่ี 0
เน่ืองจากประตูปดิ

จากภาพที่ 4.4 จุดท่ีมีค่า = 1 คือจุดที่แสดงว่าประตูเปิด ส่วนจุดท่ีมีค่า = คือจุดที่แสดงว่า 0
ประตูปิดโดยจะสังเกตวา่ จุดไหนมคี ่าเปน็ เท่าไหร่ทาไดโ้ ดยการนาน้วิ ไปแตะที่กราฟและสงั เกตทางด้านบน
หรือ 1 ซ้ายจะมีค่า0 อยู่ และเสน้ สีดาแสดงถึงวันท่ีและเวลาขณะใช้งาน Application Blynk

26

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ผลการทดสอบการเตือนเมื่อมีคนพยายามกดรหสั แลว้ ส่งข้อมูลไปยัง App Line

เมื่อทดสอบการส่งข้อความไปยัง Application Line โดยการกดรหัสผ่านผิด คร้ังปรากฏว่ามีข้อความ 3
“มีคนพยายามกดรหัส” เขา้ มายังโทรศัพทม์ ือถือ อีกทัง้ ยังทาให้การกดรหสั ผา่ นใช้ไม่ได้อีกดว้ ย
27
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

ผลการทดลองการนับเวลาการปลอดลอ็ คโดยใช้โทรศัพท์มือถือ

ผลการทดลองระยะเวลาการปลดลอ็ ค การทดลอง ระยะเวลาการ ระยะเวลาการ
ครง้ั ท่ี ปลดลอ็ คจาก ปลดลอ็ คจาก
การทดลอง ระยะเวลาการปลด ระยะเวลาการ การกดรหสั การ+ App Blynk
ครัง้ ท่ี ล็อคจากการกดรหสั + ปลดล็อคจาก 16 สแกนคยี ก์ ารด์
การสแกนคยี ก์ ารด์ App Blynk 17 )วนิ าที(
1 18 )วินาที(
2 )วินาที( )วินาที( 19 5.26 5.16
3 20 5.36 5.00
4 5.45 5.40 21 5.48 5.05
5 5.48 5.62 22 5.30 5.65
6 5.36 5.06 23 5.28 5.79
7 5.31 5.07 24 5.20 5.28
8 5.33 5.65 25 5.26 5.54
9 5.25 5.66 26 5.43 5.41
10 5.45 5.81 27 5.23 5.09
11 5.33 5.11 28 5.32 5.21
12 5.33 5.48 29 5.25 5.22
13 5.26 5.07 30 5.33 5.74
14 5.32 5.01 ค่าเฉลี่ย 5.18 5.85
15 5.31 5.85 5.52 5.35
5.48 5.75 5.25 5.21
5.18 5.97 5.33 5.41
5.26 5.36

จากตารางการทดลองที่ 4.1

จากตารางการทดลองที่ 4.ผู้ทาการทดลองได้ทาการทดลองโดยการจบั เวลาจากโทรศพั ท์มือถอื คา่ 1
จึงเบีย่ งเบนไป จากการหนว่ งเวลาท่ตี ้งั ไวใ้ นโปรแกรม

28

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ผลการทดลองระยะเวลาส่งข้อมลู จากอุปกรณไ์ ปยัง App Blynk โดยใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือ

ผลการทดลองระยะเวลาการส่งขอ้ มลู ไปยัง App Blynk

การทดลอง ระยะเวลาสง่ ข้อมลู ระยะเวลาสง่ ขอ้ มลู การทดลอง ระยะเวลาส่งข้อมลู ระยะเวลาส่งขอ้ มลู
ครัง้ ท่ี จาก App Blynk จาก การกดรหัส+ คร้ังที่ จาก App Blynk จาก การกดรหัส+
การสแกนคยี ก์ าร์ด การสแกนคีย์การด์
1 (วินาที) 16 (วนิ าที)
2 (วนิ าที) 17 (วินาที)
3 0.55 18 0.39
4 0.50 0.54 19 0.52 0.59
5 0.50 0.56 20 0.51 0.53
6 0.52 0.54 21 0.42 0.52
7 0.42 0.49 22 0.45 0.54
8 0.39 0.58 23 0.42 0.55
9 0.45 0.56 24 0.50 0.56
10 0.46 0.52 25 0.42 0.56
11 0.36 0.56 26 0.38 0.57
12 0.38 0.53 27 0.40 0.58
13 0.58 0.51 28 0.60 0.58
14 0.53 0.58 29 0.34 0.52
15 0.43 0.57 30 0.46 0.53
0.34 0.55 ค่าเฉล่ีย 0.39 0.51
0.46 0.50 0.40 0.59
0.54 0.46 0.58
0.53

ตารางการทดลองท่ี 4.2

จากตารางการทดลองท่ี -42 ระยะเวลาการส่งข้อมูลไปยัง App Blynk จะมีระยะเวลาเฉลี่ย 0.45
วนิ าทเี พราะว่าระบบจะสง่ ข้อมลู ไปยงั App Blynk

5.สรปุ ผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ

5.1 ผลการดาเนนิ โครงการ
5.1.1 ทดลองการเปดิ ประตดู ้วยการใชค้ ีย์การด์ รว่ มกบั การกดรหสั ผา่ น สามารถปลดล็อคได้ และ

ส่งข้อมลู การเปิดปิดประตูไปยังกราฟ App Blynk และ Line ได้
5.1.2 ทดลองกดรหัสผิดเพื่อทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย พบว่าเมื่อกดรหัสผดิ 1 ครั้ง ระบบจะมี

สญั ญาณ Buzzer ดงั ข้ึนเพ่ือแสดงวา่ มคี นพยายามทจี่ ะเข้าประตูและจะส่งข้อมลู การกด รหัสผิดไปยัง App Line
29

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5.1.3 ทดลองกดปมุ่ เปดิ ใน Blynk พบว่าเม่ือกดปุ่ม จะสามารถปลดล็อคประตจู ากภายในบ้านได้ 30
และสง่ ข้อมลู การกดปุ่ม เปดิ ใน Blynk ไปยังกราฟเว็บไซต์ App Line และ App Blynk
5.2 ปัญหาทพี่ บในการทดลอง

Blynk มีความล่าชา้ ในการรับและส่งข้อมลู ต้องรอหนว่ งเวลา หรือบางทคี า้ งบ่อย
5.3 แนวทางการพฒั นาต่อ

5.3.1 นาไปประยุกต์ใชก้ บั อุปกรณ์อ่ืนๆ เช่น ตูน้ ริ ภัย
5.3.2 นาไปประยุกต์ใชก้ ับสถานที่ หรอื งานทม่ี ชี ัน้ ความลบั ทตี่ อ้ งการความปลอดภยั สงู
5.3.3 นาไปประยุกต์ใช้กับระบบการผลิต หรอื เอกสารในงานในอุตสาหกรรม

เอกสารอ้างองิ
จากโครงงาน
[1] นายธนดล ทวเี ปลง่ (2561) , เครอ่ื งนาทางผู้พิการทางสายตาแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชัน่ ,
เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์,วทิ ยาลัยเทคนคิ ดอนเมือง,สถาบนั การอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
[2] นายณฐั พงษ์ โผผิน,นายพิจิตร นว่ มเจิม (2561),ชดุ ควบคุมระบบบาบดั นา้ เสยี ผา่ นระบบเครอื ข่าย
อัตโนมัติ,เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส,์ วทิ ยาลัยเทคนคิ ดอนเมือง,สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
จากแหล่งขอ้ มลู อิเล็กทรอนิกส์
[1] วสุรตั น์ (2555) [ออนไลน์],การทางานของ RFID,สบื คน้ เม่ือ 15 ธ.ค. 63
จาก http://www.rfidsia.com /rfid-application-review/
[2] บา้ นออโตไ้ อดี (2559) [ออนไลน์],ประเภทและการใช้งาน RFID ,สบื คน้ เม่อื 17 ธ.ค. 63
จาก http://www.bnautoid.com/bn/rfid.php?RFID
[3] นางสาวหัสยา มีสุข (2559) [ออนไลน์],ระบบโซลนิ อยด์ ,สืบคน้ เม่ือ 17 ธ.ค. 63
จาก https://sites.google.com/site/projectphysics122/10
[4] ไอโอเอก็ ซ์ชอ็ ป (2561) [ออนไลน์], ประเภทและการต่อใชง้ าน ESP8266, สบื ค้นเม่ือ 17 ธ.ค. 63
จาก https://www.ioxhop.com/article/13/esp8266
[5] สารานกุ รมเสรี (2554) [ออนไลน์],WIFI, สบื คน้ เม่อื 19 ธ.ค. 63
จาก https://th.wikipedia.org/wiki
[6] ปริญากร (2560) [ออนไลน์],IOT internet of thing, สืบคน้ เม่ือ 19 ธ.ค. 63
จาก https://www.yournextu.com/th/blog/1/internet-of-things
[7] เอกราช มาเลิศพรสกลุ ,จิรัชญา ศรเี กตุ, (2550) [ออนไลน์], Wireless Sensor Networks,

สืบคน้ เมื่อ 21 ธ.ค. 63 จากhttp://rssi-dist.blogspot.com/2007/08/wireless-sensor-networks-wsn.html
[8] นามปากกาวีดว้วิ (2558) [ออนไลน์], Gateway Sensor Nodes, สบื ค้นเมอื่ 21 ธ.ค. 63
จาก http://www.veedvil.com/news/internet-of-things-iot/

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

เครือ่ งเตอื นภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วยอาดโู น่
Forest Fire Alarm Post for LoRa WAN System by Arduino

บุญฤทธิ์ แสงจนั ทร์1 ปัญญวชิ หตั ถี2
1,2 นักศกึ ษา สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ ส์ สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

การจัดทาโครงการในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย
Arduino และเพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้เช่ียวชาญ ครู บุคลากร ทางการศึกษาและผู้สนใจ โดย
ทาการศึกษาทดลองเชิงปฎิบัติและสารวจความพึงพอใจกับประเมินประสิทธิภาพ กลุ่มตัวอย่างบุคลากรครู
และนักศึกษาในวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี จานวน 30 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดาเนินการ แบบสอบถามความ
พงึ พอใจ และแบบประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ สถิติท่ีใชค้ ่าร้อยละและค่าเฉล่ยี

ผลการจัดทาโครงการ พบว่าการประเมินความพึงพอใจ อยู่ในระดับปานกลาง(ค่าเฉล่ีย 3.50)และ
ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพอยใู่ นระดับปานกลาง(ค่าเฉล่ีย 3.38)

ขอ้ สนอแนะในการพัฒนาตอ่ ยอดโดยสามารถรับสญั ญาณอนิ พตุ ได้หลากหลายมากขนึ้
คาสาคญั : เตอื นภยั , ไฟป่า, ลอร่า แวน

Abstract

The purpose of this project is to build a Forest Fire Alarm Post for LoRa WAN System
with Arduino and to survey the satisfaction of experts, teachers, educational personnel and
interested parties by conducting experimental studies and surveying satisfaction with
performance appraisals. The samples were 30 personnel, teachers and students in Minburi
Technical College. Satisfaction questionnaire and the performance evaluation form Statistics
using percentage and mean values.

Project results Found that the satisfaction assessment Moderate level ( mean 3. 50)
and the results of the evaluation were at a moderate level (mean 3.38)

Suggestions for further development by being able to receive a wider variety of
input signals such as heat capture
Keywords: Alarm, Forest Fire, LoRa WAN

31

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

1. บทนา
ไฟป่าถือว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งนับวันจะทวีความ รุนแรงมากย่ิงขน้ึ

ปีต่อปี สาเหตสุ าคัญของการเกิดไฟป่านัน้ มาจากกิจกรรมและพฤติกรรมของมนุษย์ เปน็ สาคญั ประกอบดว้ ย จุดไฟเผา
ป่าเพ่ือหาของป่าและล่าสัตว์ จุดไฟเผาไร่ จุดไฟเผาป่า เพ่ือเล้ียงสัตว์ จุดไฟเพื่อการพักแรมในป่า จุดไฟเพ่ือกล่ันแกล้ง
และจดุ ไฟในปา่ ดว้ ยความ ประมาทและรู้เทา่ ไมถ่ ึงการณ์ [1] ทาให้เกดิ ฝุ่นควนั และโรคทเี่ กิดขึน้ จากฝุ่นควัน

ฝุ่น PMถูกพิจารณาว่าเป็นมลพิษที่มีผลกระทบกับสุขภาพมากท่ีสุดในบรรดามลพิษทางอากาศ 5.2
เนื่อ โดยทวั่ ไปงดว้ ยขนาดทเ่ี ล็กมาก PMสามารถเข้าไปสู่ระบบทางเดินหายใจของมนษุ ย์ได้ และจากนั้น 5.2
ก็ไปทั่วร่างกาย เป็นสาเหตุของผลกระทบด้านสุขภาพทั้งระยะส้ันและระยะยาวมากมาย จากข้อมูลState
of Global Air ระบุว่า PM37 ก่อให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประเทศไทยประมาณ 5.2, 500
ราย นค่ี อื วกิ ฤตด้านสาธารณสุขโดยทีเ่ ด็ก คนสูงวยั และกลุ่มประชากรเส่ียงในสังคมไดร้ ับผลกระทบมากที่สุด
[2]

จากการศึกษาโดย Institute for Health and Evaluation, University of Washington สนบั สนนุ
โดย ธนาคารโลก พบว่า มลพิษทางอากาศเป็นปัจจัยร่วมที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆเนื่องจากมีส่วนประกอบ
ของสาร เคมีหลายชนิดท้ังที่เป็นสารระคายเคืองไปจนถึงสารก่อมะเร็งจึงเป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคได้แก่ โรค
ปอดอุดก้ันเรื้อรัง โรคหลอดเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคมะเร็งปอด และโรคติดเชื้อเฉียบพลัน
ระบบหายใจส่วนลา่ ง สาหรบั กา๊ ซโอโซนเปน็ สารระคายเคืองปอด ทาใหป้ อดติดเช้ือง่าย จงึ เปน็ ปจั จัยร่วมอัน
ก่อให้เกิดโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง[3] นอกจากน้ีไฟป่ายังเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ ทรัพย์สินและชีวิตของมนุษย์
แต่อยา่ งไรก็ตามไฟป่านอกจากใหโ้ ทษแลว้ ไฟปา่ กย็ งั มี คณุ ประโยชนเ์ หมือนกนั เชน่ ชว่ ยในการสืบพันธ์ตาม
ธรรมชาติของไม้ในป่า และการหมุนเวียนของ ธาตุอาหาร เป็นต้น ในระบบนิเวศน์ใดก็ตาม ความเสียหายที่
เกิดขึ้นจากไฟป่าจะมีมากน้อยเพียงใด ไฟป่าจะให้คุณประโยชน์และโทษมากเท่าใด ขึ้นอยู่กับชนิดของไฟป่า
และพฤติกรรมของไฟ คือปริมาณเชื้อเพลิงขนาดของไฟ ความรุนแรงของไฟ ความถี่ของการเกิดไฟ และฤดู
และความยาวนานของการเกิดไฟ ดังน้ันจะเห็นว่า การศึกษาไฟป่าและพฤติกรรมของไฟในแต่ละพ้ืนท่ี จึงมี
จาเป็นและสาคัญ อย่างย่ิง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและควบคุมไฟป่า ทั้งน้ีเพราะการเกิดไฟป่าจะมี
การผันแปรไป ตามสถานที่และเวลา [4]

ผู้จัดทาโครงการ จึงคิดสร้างเครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN กับระบบเตือนภัยไฟป่า ขึ้นมาเพ่ือ
ปอ้ งกนั ไม่ให้ไฟปา่ ลุกลามหรอื เกิดความเสยี หายมากกว่าปกติ หรอื อาจปอ้ งกนั กอ่ นจะเกดิ ไฟป่าได้ทันทว่ งที

2. วตั ถุประสงคก์ ารวิจัย
เพ่อื สรา้ งเคร่ืองเตือนภัยไฟปา่ ระบบ 2.1LoRa WAN ดว้ ย Arduino
2.2 เพอ่ื หาประสิทธิภาพของเคร่ืองเตือนภยั ไฟปา่ ระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino
2.3 เพือ่ หาความพงึ พอใจของเคร่อื งเตือนภยั ไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino

32

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5ประจาปกี ารศึกษา 2563

3. วธิ กี ารดาเนินการวิจัย
3.1 การจัดสรา้ งเคร่อื งเตือนภยั ไฟปา่ ระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino ไดม้ กี ารวางแผน และกาหนดขน้ั ตอนการ

ปฏบิ ตั ิงานรวมถงึ วิธีการดาเนนิ งาน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ตามขั้นตอนดงั ภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 แผนผงั ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน

33
บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี

3.2 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
ประชากร คอื ผเู้ ชี่ยวชาญด้านสาธารณภัย ครู บุคลากรทางการศึกษาและผูส้ นใจกลุ่มตัวอย่าง ผูว้ ิจัยเลอื ก
กลุ่มตัวอย่างโดยวธิ ีเจาะจงดังน้ี ผเู้ ช่ยี วชาญจานวน 10 คน ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผูส้ นใจ จานวน 20 คน
3.3 เครื่องมือที่ใช้

1. แบบสอบถามหาประสทิ ธิภาพ
2. แบบสอบถามความพึงพอใจ
3.4 การสรา้ งแบบสอบถามการหาประสิทธิภาพ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมจาก แบบสอบถามการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองเตือน
ภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino แบบสาหรับประยุกต์ใช้ในการแจ้งเตือนไฟป่าด้วยควัน ระดับอาชีวศึกษา
ซ่ึงประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 10 ท่านและหาประสิทธิภาพท่ีมีต่อเคร่ืองเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN
ด้วย Arduino จานวน 10 ข้อ เป็นมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั ไดแ้ ก่ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย และนอ้ ยท่สี ดุ
3.5 การสรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อเคร่ืองเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduinoในการ
สร้างเคร่ืองมือวิจัยประกอบด้วย คาถาม ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 10 ข้อ เป็น
คาถามแบบตรวจสอบรายการ และความพึงพอใจที่มีต่อเครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย
Arduino จานวน 7 ขอ้ เป็นมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั ได้แก่ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย และนอ้ ยท่สี ุด
3.6 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดาเนนิ การดงั นี้
1. ผู้วิจัยนาเครื่องเครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino พร้อมแบบประเมิน
คุณภาพเครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino ด้วยตนเองพร้อมอธิบายเก่ียวกับเครื่อง
เตอื นภยั ไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino ใหผ้ เู้ ช่ียวชาญพิจารณาประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองจานวน 10
ท่าน และรบั คืนดว้ ยตนเอง
2. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามความพึงพอใจและนาเคร่ืองเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย
Arduino ด้วยตนเอง เก่ียวกับการใช้เครื่อง ให้กับครู บุคลากร ทางการศึกษาและผู้สนใจ และได้รับ
แบบสอบถามกลบั คืนมา 20 ฉบบั นามาวิเคราะห์
3.7 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่ือหาประสทิ ธิภาพของเคร่ืองเตือนภยั ไฟปา่ ระบบ LoRa WAN ด้วย
Arduino โดยการนาขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากแบบประเมนิ ประสิทธิภาพ และความพึงพอใจทผ่ี ู้วจิ ัยสร้างขนึ้ มา
วเิ คราะห์ โดยใช้วิธกี ารประมวลผลค่าทางสถติ ิ [4]
1. การหาคา่ เฉลย่ี (Arithmetic Mean) ใช้สาหรับการหาคา่ เฉลีย่
2. การหาคา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชส้ าหรับวิเคราะห์การกระจายของขอ้ มลู

34

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

4. ผลการวิจยั
สามารถสรุปเป็นประเด็น ตา่ ง ๆ ไดด้ งั นี้
5.1.1 การประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญ ได้คือ 1) ความเหมาะสมของขนาดและรูปร่าง 2) ความ

เหมาะสมของวัสดุที่ใช้ทาโครงสร้าง3) ความเหมาะสมของอุปกรณ์ที่เลือกใช้ 4) ความเหมาะสมของการจัด
วางช้ืนส่วนหรืออุปกรณ์ 5) ความเหมาะสมของวงจรการขยายเพาเวอร์ 6) ความเหมาะสมของวงจร
ไมโครคอนโทรลเลอร์ 7) ความเหมาะสมของวงจรคอมพิวเตอร์ 8) ความเหมาะสมของการออกแบบโดย
ภาพรวม 9) ความเหมาะสมของวงจรจา่ ยไฟและค่าเฉล่ยี นอ้ ยท่ีสุดคือ เทคนิคการออกแบบโครงสร้าง

5.1.2 ความพงึ พอใจของครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผ้สู นใจ ได้คือ 1) ความสะดวกในการจัดเก็บ
2) มีความปลอดภัยในการใช้งาน 3) ความสะดวกในการเปล่ียนชุดควบคุม 4) ความสะดวกในการถอด
ประกอบ 5) ความสะดวกในการต่อวงจร 6) ความสะดวกในการขนย้ายและค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ความ
สะดวกในการบารุงรกั ษา

จึงสามารถสรุปได้ว่าเคร่ืองเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino ท่ีสร้างขึ้นสามารถ
นาไปใช้งานได้

เสา SLVE กลอ่ ง MASTER

ภาพที่ 2 การออกแบบเคร่ืองเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa Wan ดว้ ยอาดโู น่

35
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องเตือนภัยไฟปา่ ระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino

ข้อท่ี การทดลอง รอบท่ี 1 รอบที่ 2 รอบท่ี 3 ระดบั คณุ ภาพโดยเฉลี่ย

เปน็ ร้อยละ

1 ทดลองเช่อื มตอ่ กบั ทาได้ 1 คร้งั ทาได้ 3 ครง้ั ทาได้ 3 ครั้ง 77

คอมพิวเตอร์ 3ครั้ง

2 ทดลองวดั คา่ ควัน 5 ทาได้ 3 คร้งั ทาได้ 4 ครัง้ ทาได้ 5 ครง้ั 80

ครงั้

3 ทดลองการแจง้ เตือน แจง้ เตือน แจ้งเตอื น แจ้งเตอื น 100

ค่าควันเกนิ

สรุปโดยรวม 85

จากตารางท่ี 4.1 พบว่าการวิเคราะห์หาประสิทธภิ าพโดยรวมอยใู่ นระดับท่ีดมี ากคิดเป็นร้อยละ 85
เมื่อพิจารณาพบว่า การทางานที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดคือการแจ้งแจ้งเตือนเมื่อตรวจพบควันและอุณภูมิ
อยู่ในระดับท่ดี มี าก คดิ เป็นรอ้ ยล่ะ 100 รองลงมาคอื การวัดควัน อยู่ในระดบั ท่ี ดี คิดเป็นร้อยล่ะ 80 และการ
ทางานท่มี ีประสทิ ธภิ าพต่าสุดทดลองการเชื่อมต่อกบั ตวั master อยใู่ นระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 77

ตารางท่ี 2 แสดงผลการวเิ คราะหห์ าความพงึ พอใจของเคร่ืองเตอื นภยั ไฟปา่ ระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino

รายการประเมิน X̅ SD แปลผล
1. ความสะดวกในการเปล่ยี นชดุ ควบคุม 3.50 1.03 ปานกลาง
2. ความสะดวกในการถอดประกอบ 3.50 0.80 ปานกลาง
3. ความสะดวกในการตอ่ วงจร 3.50 1.41 ปานกลาง
4. ความสะดวกในการบารุงรกั ษา 3.30 1.41 ปานกลาง
5. ความสะดวกในการจัดเกบ็ 3.80 0.78 มาก
6. ความสะดวกในการขนยา้ ย 3.50 0.45 ปานกลาง
7. มีความปลอดภยั ในการใช้งาน 3.60 0.94 มาก
ปานกลาง
ผลการประเมนิ คณุ ภาพดา้ นความพงึ พอใจ 3.50 1.01

จากตารางที่ 4.2 พบว่าการประเมินความพึงพอใจ การใช้เครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN
ดว้ ย Arduino ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากทสี่ ดุ และเม่อื พิจารณารายข้อพบว่า รายการทม่ี คี า่ คะแนนเฉลี่ยจาก
มากที่สุด คือ 1) ความสะดวกในการจัดเก็บ 2) มีความปลอดภัยในการใชง้ าน 3) ความสะดวกในการเปลี่ยน
ชุดควบคุม 4) ความสะดวกในการถอดประกอบ 5) ความสะดวกในการต่อวงจร 6) ความสะดวกในการขน
ย้ายและค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสดุ คอื ความสะดวกในการบารงุ รกั ษา

36

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

สรปุ ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย จากการวิจัย สามารถสรุปเป็นประเด็น ต่าง ๆ ได้ดังนี้ ด้านการประเมิน

คณุ ภาพของผู้เชีย่ วชาญ โดยภาพรวมมรี ะดบั คุณภาพอยู่ในระดบั ปานกลาง (คา่ เฉลย่ี =3.38 และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน =1.45) และความพึงพอใจของครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจ โดยภาพรวมมีระดับพึง
พอใจปานกลาง (ค่าเฉลี่ย =3.50 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 1.01 จึงสามารถสรุปได้ว่าเคร่ืองเตือนภัยไฟ
ปา่ ระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino ท่ีสร้างขนึ้ สามารถนาไปใชง้ านได้

5.2 อภิปรายผล การสร้างเครื่องเตือนภัยไฟป่าระบบ LoRa WAN ด้วย Arduino เพื่อแจ้งเตือน
ก่อนท่ีจะเกิดไฟป่า กรณีศึกษา ไปใช้กับครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจ พบว่าครู บุคลากรทาง
การศึกษาและผู้สนใจ ให้ความสนใจกระบวนการและวิธีการเป็นอย่างดี สังเกตจากความสนใจในการศึกษา
การใชง้ านระบบ สนใจในการทดลองปฏิบัติและให้ความรว่ มมือใน การประเมนิ ความพึงพอใจ สอดคล้องกับ
รสลิน, เพตะกร [2] เก่ียวกับการหาประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความพึงพอใจของ
ระบบของ ผู้ใช้งานอยู่ในระดับพึงพอใจมากและยังสอดคล้องกับ พงศ์เทพ สุวรรณวารี, ฉัตร พยุงวิวัฒนกูล
[3] เก่ียวกับการหาความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความพึงพอใจของระบบของ ผู้ใช้งาน
อยู่ในระดบั พงึ พอใจ

5.3 ขอ้ เสนอแนะ
1.ควรนาเอารูปแบบของระบบท่ีได้ดาเนินการในพื้นท่ี ไปเผยแพร่ให้กับชุมชนอื่นที่สนใจ

เพือ่ ให้ เกิดการดาเนินงานทค่ี รอบคลุมพ้นื ที่ทีต่ ้องการ
2.ควรนาไปขยายผลเพิ่มเติมให้สามารถรับสัญญาณอินพุตได้หลากหลายมากขึ้น เช่น จับ

ความชืน้

37

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอา้ งองิ

รสลิน, เพตะกร, 2557, [ออนไลน์], โดรนบินอตั โนมัตติ รวจสอบการเกิดไฟป่า กรณีศกึ ษา เ ท ศ บ า ล
เมอื ง, สืบคน้ เม่อื วันที่] [2564 มกราคม 5, จาก http//:www.research.cmru.ac.th

พงศ์เทพ สุวรรณวารี,ฉัตร พยุงวิวัฒนกูล, 2558, [ออนไลน์], ผลกระทบของไฟป่าต่อความสมบูรณ์
ของป่าไมแ้ ละคณุ ภาพ อากาศในจังหวัดเชียงใหม่ [2564 มกราคม 5 สืบค้นเมื่อวันท่ี], จาก
http//:sutir.sut.ac.th

คัดคณฐั ช่ืนวงศ์อรุณ2560 ., [ออนไลน์], ระบบนิเวศ สบื คน้ ] [2564 มกราคม 6 เม่อื วนั ท่ี,
https://ngthai.com/science//25251ecosystem/

กรีนพซี ประเทศไทย2561 ., [ออนไลน์], ฝนุ่ PM 2.5 [2564 มกราคม 6 สบื คน้ เมอื่ วนั ที่],
https://www.greenpeace.org/thailand

Japan Agency for Marine-Earth Science and Technology 2562, [ออนไลน์], สภาวะเรอื น
สืบคน้ เม่ือ] กระจก วันที่ [2564 มกราคม 6, http://www.jamstec.go.jp

สนั ต์2530 ., [ออนไลน์], สานักคุมไฟป่า [2564 มกราคม 6 สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี],
https://www.forest.go.th/protect
นุชสุภา ตรีโอษฐ์2560 ., [ออนไลน์], ระบบสังเกตการณ์และควบคุมอปุ กรณ์ไอโอทีขา้ มเครือข่าย สบื คน้ เม่อื ]
4 วันที่ มกราคม [2564, https://v89infinity.com/internet-of-things
ปรชี า กอเจริญ2555 ., [ออนไลน์], Internet of Things )IoT( [2564 มกราคม 6 สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี],

https://www.rohde-schwarz.com/us/campaigns/rsa/wic/iot-learning-center
ถิรพิรฬุ ห์ ทองคาวิฑรู ย์2555 ., [ออนไลน์], Internet of Things )IoT( มกราคม 6 สืบคน้ เมอื่ วนั ที่]

[2564, https://www.watashi.co.th/blogs/iot/iot-everyday-by-watashi
ศลิ ป์ณรงค์ ฉวีพฒั น พรนรินทร์ สายกล่ิน2558 ., [ออนไลน์], การใช้งาน Narrow Band Internet of

Thing )NBIoT[2564 มกราคม 5 สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี] (, https://techsauce.co
ประโยชน์ ค่าสวัสดิ์2561 .,[ออนไลน์] , การออกแบบและการพัฒนาระบบรายงานสภาวะแวดลอ้ มในแปลง
เกษตรกรรม [2564 มกราคม 7 สบื ค้นเมอื่ วนั ท่ี], http://sutir.sut.ac.th
ดวงพร เจียมอัมพร2561 ., [ออนไลน์], )Internet of Tings หรือ (IoT 3มกราคม สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี]

[2564, https://techspace.co.th

38

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ระบบแจ้งเตอื นอตั ราการเตน้ ของหวั ใจสาหรบั ผ้สู งู อายุ
(Heart rate alert system For the elderly)

สหภาพ แซห่ ล1ี อฐั พล พวงเขม็ แดง2
1,2 นกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ ส์ สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร E-mail: [email protected]

บทคัดยอ่

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจสาหรับผู้สูงอายุ เพื่อ
หาประสิทธิภาพของของระบบ และเพ่ือหาความพึงพอใจของระบบเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ระบบแจ้ง
เตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุและแบบสอบถามความพึงพอใจสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ
ค่าเฉลี่ย (X( สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน )S.D.)

ผลการวิจัยพบว่า ผลการหาประสิทธิภาพของระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจสาหรับผ้สู ูงอายุ
พบว่าระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ ท่ีสร้างขึ้นมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับปานกลาง
แสดงว่าระบบแจง้ เตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ มีประสิทธิภาพดีและผลการประเมิน ความ
พึงพอใจของของผู้ท่ีทดลองใช้ระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ พบว่า ผู้ใช้มีความพึง
พอใจการใช้ระบบแจง้ เตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สงู อายุ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่ีสุด โดยมี
คา่ เฉล่ยี อยู่ที่ 3.80 และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน อยทู่ ่ี 1.64
คาสาคญั อัตราการเตน้ ของหัวใจ

Abstract

This research has the objective To develop a heart rate alert system For the elderly
To find the performance of the system And to find the satisfaction of the system The
research tool was a heart rate alert system. For the elderly and the satisfaction questionnaire
The statistics used for the analysis were mean (x), standard deviation (S.D.), and t-test.

The results of the research were as follows: The results of the effectiveness of the
heart rate alarm system For the elderly, it was found that the heart rate alert system For
the elderly The generated average (50.0) indicates that the heart rate alarm system. For the
elderly Have good performance And evaluation results The satisfaction of people who
tested the heart rate alarm system. For the elderly, users were satisfied with the use of the
heart rate alarm system. For the elderly Overall, it was the highest with a mean of 4.56 and
a standard deviation of 0.58

Keywords : Value License Plate Recognition

39

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

1. บทนา
ในปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก และสถานะภาพปัจจุบันของ

สังคมไทยคนส่วนใหญ่เป็นวยั ทางานซ่ึงต้องทางานนอกบ้านเพ่ือหาเล้ียงครอบครวั ทาให้ในครอบครัวซึ่งเปน็
ผู้สูงวัยจาเป็นต้องอยู่บ้านเพียงลาพังโดยไม่มีคนดูแล ดังน้ัน บุตรหลานจึงนิยมขอรับบริการการดูแลผู้สูงวัย
จากหน่วยงานที่รับดูแลผู้สูงอายุ และก็เป็นท่ีทราบดีว่าในขณะท่ีจานวนผู้สูงอายุที่เข้าใช้บริการบ้านพัก
คนชรามากขึน้ เร่ือย ๆ

ศศิกาญจน(์ ศรีโสภณ. )2558โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรสู้ ึกปลอดภยั จากอาชญากรรมและอบุ ัติเหตุ
ที่เกิดข้ึนภายในเคหสถาน เมื่อต้องอยู่ตามลาพัง งานวิจัยของ วิสุธ์ิ ศรีเมือง(. )2547ได้ศึกษาเร่ือง ระบบ
เตือนและส่ังการระยะไกลผ่านระบบบริการข่าวสารส่ัน ได้กล่าวไว้ว่าในปัจจุบันระบบการตรวจสอบความ
ผดิ พลาดของระบบการทางาน( Alarm( เละการสัง่ การควบคุมกลบั กงไกลมีอยู่หลายแบบทง้ั แบบไรส้ าย และ
แบบท่ีต้องอาศัยสายสัญญาณช่ือมต่อ ซึ่งทั้งสองแบบต่างก็มีข้อเสียโดยแบบไร้สายจะใช้การติดต่อผ่าน
สัญญาณวิทยุซ่ึงจาเป็นจะต้องสร้างตัวสงสัญญาณและรับสัญญาณ เพ่ือใช้ในการติดต่อสื่อสารสาหรับการ
เตือนและส่ังการกลับไปท่ีตัวระบบท่ีทาการวัดและควบคุมอยู่ และแบบอาศัยสายสัญญาณก็จาเป็นจะต้อง
ติดต้ังสายสัญญาณไปที่ตัวระบบที่ทาการวัดและควบคุมอยู่ หากตัวระบบมีระยะทางไกลจากสู้รับมากก็
จะตอ้ งใชง้ บประมาณในการติดตง้ั สายสัญญาณมาก และยงั มคี วามยงุ่ ยากในการติดตง้ั สายสัญญาณในการใช้
งานด้วย งานวิจัยของ วชิรวิทย์ หม่ืนเรือคา และคณะ(. )2017 ได้ศึกษาเร่ืองระบบแจ้งเตือนอุบัติเหตุ
อตั โนมตั ิโดยใชเ้ พอร์เซปตรอนหลานชัน้ ได้กล่าวไว้วา่ ในใช้เพือ่ ตอบรับกับปญั หาที่ เกิดขนึ้ บทความน้นี าเสนอ
ระบบต้นแบบสาหรับแจ้งเตือนอุบัติเหตุแบบอัตโนมัติซ่ึงครอบคลุมทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง โดยสร้าง
แบบจาลองสาหรับการจาแนกตามโครงข่ายประสาทเทียมแบบเพอร์เซปตรอนหลายช้ัน ซ่ึงจาแนกอุบัติเหตุ
ออกเป็น เหตุการณ์ได้แก่รถไม่เกิดอุบัติเหตุรถชนแลว้ หยุดอยู่กับท่ีรถชนแล้วไถลไปทางขวารถชนแล้วไถล 5
ไปทางซา้ ยและรถพลิกคว่า

งานวิจัยของ จันทนิภา กาญจนนพวงศ์ และคณะ(. )2562ปัญหาหนึ่งที่เก่ียวเนื่องโดยตรงกับเร่ือง
สุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุ โดยกลุ่มคนดังกล่าวมีความเสี่ยงท่ีจะเกิดอันตรายจากการสูญเสียหรือเป็นอัมพาต
หลังจากท่ีล้มแล้วได้สูงกว่าวัยอื่นๆ อุบัติเหตุเก่ียวกับการล้มมักเกิดในบริเวณท่ีผู้สูงอายุอยู่เพียงคนเดียว ซึ่ง
แม้ว่าจะมีผู้ท่ีคอยดูแลอย่างใกล้ชิดแต่ก็ไม่สามารถดูแลได้ตลอดเวลา และหากเกิดการล้มข้ึนแล้วปัญหาใหญ่
ท่ตี ามมาคอื การไมไ่ ด้รับการชว่ ยเหลอื ได้อย่างทนั ทว่ งที

ดังน้ันคณะผู้จัดทาโครงการ จึงได้สร้างระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ
ข้ึนมาเพือ่ วัดการเต้นของหัวและส่งสญั ญานขอความช่วยเหลอื ได้ทันท่วงที

40

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

2. วตั ถุประสงคก์ ารวิจัย
2.1 เพอื่ สรา้ งระบบแจ้งเตอื นอัตตราการเต้นของหัวใจ สาหรบั ผู้สงู อายุ
2.2เพอื่ หาประสิทธิภาพของการใช้งานระบบแจ้งเตือนอัตตราการเตน้ ของหวั ใจสาหรบั ผสู้ ูงอายุ
2.3เพ่อื หาความพึงพอใจของผใู้ ช้งานระบบแจ้งเตือนอตั ตราการเตน้ ของหวั ใจ สาหรับผสู้ ูงอายุ

3. วิธีการดาเนนิ การวิจัย
3.1 การจัดสร้างระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจสาหรับผู้สูงอายุได้มีการวางแผน และ

กาหนดขั้นตอนการปฏิบัตงิ านรวมถึงวธิ ีการดาเนนิ งาน ซ่ึงสามารถแบง่ ออกไดต้ ามขั้นตอนดงั ภาพท่ี 1

ภาพที่ 1 แผนผงั ขั้นตอนการดาเนนิ งาน

41
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.2 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 42
ประชากร คอื ผู้เช่ียวชาญดา้ นสาธารณภัย ครู บุคลากร ทางการศึกษาและผู้สนใจกลุ่มตัวอย่าง ผ้วู ิจยั เลือก

กลุ่มตัวอย่างโดยวธิ ีเจาะจงดังน้ี ผู้ใช้งานจานวน 10 คน ครู บุคลากร ทางการศกึ ษาและผูส้ นใจ จานวน 20 คน
3.3 เครอ่ื งมือที่ใช้
1. แบบสอบถามหาประสิทธิภาพ
2. แบบสอบถามความพงึ พอใจ
3.4 การสรา้ งแบบสอบถามการหาประสิทธิภาพ
การสร้างแบบประเมินประสิทธิภาพที่มีต่อเครื่องควบคุมการเข้าออกห้องเรียนผ่าน

อินฟราเรดยคุ สถานการณโ์ ควิด ซงึ่ ประเมินโดยผ้เู ช่ียวชาญจานวน 5 ท่าน และหาประสิทธิภาพทม่ี ีต่อเครื่อง
ควบคุมการเข้าออกห้องเรียนผ่านอินฟราเรดยุคสถานการณ์โควิด จานวน 7 ข้อ เป็นมาตราประมาณค่า 5
ระดบั ไดแ้ ก่ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยทสี่ ดุ

3.5 การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ
ระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ ในการสร้างเคร่ืองมือวิจัย

ประกอบด้วย คาถาม ข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 10 ข้อ เป็นคาถามแบบตรวจสอบ
รายการ และความพงึ พอใจที่มีต่อระบบแจ้งเตือนอัตราการเตน้ ของหวั ใจ สาหรบั ผ้สู งู อายุ จานวน 7 ข้อ เปน็
มาตรประมาณคา่ 5 ระดบั ไดแ้ ก่ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด

3.6 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลดาเนินการดังนี้

1. ผู้วิจัยนาระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ พร้อมแบบประเมินคุณภาพ
ระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ ด้วยตนเองพร้อมอธิบายเก่ียวกับเครื่องระบบแจ้ง
เตอื นอตั ราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สงู อายุ ใหผ้ ใู้ ชพ้ จิ ารณาประสทิ ธิภาพของระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้น
ของหัวใจ สาหรบั ผู้สูงอายุ จานวน 10 ท่าน และรับคนื ด้วยตนเอง

2. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามความพึงพอใจและระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ ด้วยตนเอง
เกย่ี วกบั การใช้ระบบ ให้กับครู บคุ ลากร ทางการศกึ ษาและผู้สนใจ และไดร้ บั แบบสอบถามกลับคืนมา 20 ฉบับ นามาวิเคราะห์

3.7 การวิเคราะหข์ อ้ มูล
การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาประสิทธิภาพของระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ โดยการนา
ข้อมลู ทไ่ี ด้จากแบบประเมินประสทิ ธิภาพ และความพงึ พอใจท่ผี ูว้ ิจยั สร้างข้นึ มาวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการประมวลผลค่าทางสถติ ิ
1. การหาคา่ เฉล่ีย )Arithmetic Mean( ใชส้ าหรับการหาค่าเฉลี่ย
2. การหาคา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviationใชส้ าหรับวิเคราะหก์ ารกระจายของข้อมูล )
3. การแปลความหมายคะแนนทไี่ ดจ้ ากคาตอบแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

4. ผลการวจิ ัย
ผลการสร้างระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สร้างได้รับระบบการ

แจง้ เตือนการเต้นของหัวใจตามวตั ถุประสงค์
4.1 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการใช้งานระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจสาหรับ

ผสู้ งู อายุ พบวา่ การ วเิ คราะห์หาประสิทธภิ าพโดยรวมอยู่ในระดับที่ดีมากคิดเป็นร้อยละ 85 เม่อื พิจารณาพบว่า
การทางานที่มีประสิทธิภาพมากทส่ี ุดคือการแจ้งเตือนเมื่อหวั ใจเต้นเร็วเกินปกติหรือต่ากว่าปกติ อยุใ่ นระบบท่ีดี
มาก คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาคือการวัดระดับการเต้นของหัวใจ อยู่ในระดับที่ ดี คิดเป็นร้อยละ 80 และ
การทางานทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพต่าสดุ ทดลองการเชื่อต่อกับโทรศัพท์ อยู่ในระดับ ดี คิดเปน็ ร้อยละ 77

4.2 ผลการวิเคราะห์หาความพึงพอใจของระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับผู้สูงอายุ
จากตารางที่ 4.2 พบว่า การประเมินความพึงพอใจ การใช้ระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรับ
ผู้สูงอายุ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด และเมื่อพิจารณารายข้อพบว่า รายการท่ีมีค่าคะแนนเฉล่ียจากมาก

ที่สุด คือ 1( ความสะดวกในการวัดการเต้นของหัวใจ (x̅ = 3.80, S.D. = 1.64) 2( ความสะดวกในการดูผล

ทแี่ สดงท่ีจอ (x̅ = 3.70, S.D. = 1.58) 3( ความปลอดภัยในการใชง้ าน (x̅ = 3.50, S.D. = 1.52) 4( ความ

สะดวกในการใช้งาน (x̅ = 3.50, S.D. = 1.52) ความสะดวกในการต้งั คา่ (x̅ = 3.70, S.D. = 1.42) 6( ความ

สะดวกในการเคลอื่ นย้าย (x̅ = 3.30, S.D. = 1.34) 7) คา่ เฉล่ยี นอ้ ยท่สี ุดคือ ความสะดวกในการบารุงรักษา

(x̅ = 3.20, S.D. = 1.32)

กล่องส่ง กล่องรบั

ภาพท่ี 2 ระบบแจ้งเตอื นอตั ราการเตน้ ของหวั ใจสาหรับผู้สงู อายุ

43


Click to View FlipBook Version