The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย

ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะหป์ ระสิทธิภาพของการใชง้ านระบบแจ้งเตอื นอัตราการเต้นของหวั ใจสาหรับ
ผู้สูงอายุ

ขอ้ ท่ี การทดลอง รอบท่ี รอบท่ี 2 รอบท่ี 3 ระดับคุณภาพโดยเฉลี่ย

1 รอ้ ยละ

1 ทดลองการเช่อื ต่อกบั ทาได้ 1 ทาได้ 3 ทาได้ 3 77

โทรศัพท์ 3 คร้ัง คร้ัง ครง้ั คร้งั

2 ทาลองการวดั ระดบั การเตน้ ทาได้ 3 ทาได้ 4 ทาได้ 5 80

ของหัวใจ 5 ครงั้ ครั้ง คร้ัง ครง้ั

3 ทอดลองการแจง้ เตือนเมื่อ แจง้ เตือน แจ้ง แจง้ 100

หัวใจเต้นเร็วเกนิ ปกตหิ รอื เตอื น เตือน

ตา่ กวา่ ปกติ

สรปุ โดยรวม 85

จากตารางท่ี 4.1 พบว่าการวิเคราะห์หาประสิทธภิ าพโดยรวมอยู่ในระดับที่ดีมากคิดเป็นร้อยละ 85
เมื่อพิจารณาพบว่า การทางานที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดคือการแจ้งเตือนเมื่อหัวใจเต้นเร็วเกินปกติหรือต่า
กว่าปกติ อยุ่ในระบบที่ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาคือการวัดระดับการเต้นของหัวใจ อยู่ในระดับท่ี
ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 และการทางานท่มี ปี ระสทิ ธิภาพตา่ สุดทดลองการเช่ือต่อกบั โทรศัพท์ อย่ใู นระดับ ดี คดิ
เปน็ รอ้ ยละ 77

ตารางที่ 2 ผลการวเิ คราะหห์ าความพงึ พอใจของระบบแจง้ เตือนอัตราการเต้นของหวั ใจ สาหรับผู้สูงอายุ

รายการประเมนิ X SD ลาดับ แปลผล

1 .ความสะดวกในการดูผลท่ีแสดงทจี่ อ 3.70 1.58 2 ปานกลาง

.2ความสะดวกในการบารุงรักษา 3.30 1.30 7 ปานกลาง

.3ความสะดวกในการใช้งาน 3.70 1.52 4 ปานกลาง

.4ความสะดวกในการตั้งค่า 3.70 1.58 5 ปานกลาง

.5ความสะดวกในการเคล่ือนยา้ ย 3.30 1.34 6 ปานกลาง

.6ความสะดวกในการวัดการเต้นขงหวั ใจ 3.80 1.64 1 ปานกลาง

.7ความปลอดภยั ในการใช้งาน 3.50 1.52 3 ปานกลาง

ผลการประเมินคณุ ภาพด้านการใชง้ าน 3.49 1.45 ปานกลาง

44

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

จากตารางท่ี 4.2 พบว่า การประเมินความพึงพอใจ การใช้ระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ
สาหรับผู้สูงอายุ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด และเมื่อพิจารณารายข้อพบว่า รายการที่มีค่าคะแนนเฉลี่ย
จากมากท่ีสุด คือ 1.( ความสะดวกในการวัดการเต้นขงหัวใจ (x̅ = 3.80, S.D. = 1.64) 2.( ความสะดวกใน
การดูผลท่ีแสดงท่ีจอ (x̅ = 3.70, S.D. = 1.58) 3.( ความปลอดภัยในการใช้งาน (x̅ = 3.50,S.D. = 1.52)
4.( ความสะดวกในการใช้งาน (x̅ = 3.50, S.D. = 1.52) 5.) ความสะดวกในการต้ังค่า (x̅ = 3.70, S.D. =
1.42) 6.( ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย (x̅ = 3.30, S.D. = 1.34) 7.) ค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ความสะดวก
ในการบารุงรักษา (x̅ = 3.20, S.D. = 1.32)
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจยั ผลการสร้างระบบแจ้งเตือนอัตราการเต้นของหัวใจ สาหรบั ผูส้ งู อายุ พบวา่
ผู้สร้างได้รับระบบการแจ้งเตือนการเต้นของหัวใจตามวตั ถุประสงค์

5.2 อภิปรายผล การสร้างระบบแจง้ เตอื นอัตราการเตน้ ของหวั ใจสาหรบั ผู้อายุ มปี ระสิทธิภาพ
มากกว่าระบบเดิม และการประเมนิ ความพึงพอใจของของผู้ท่ีทดลองใช้ระบบแจง้ เตือนอัตราการเต้นของ
หวั ใจสาหรับ ผู้อายุในระดบั ท่ีมาก ระบบแจง้ เตือนอัตราการเตน้ ของหวั ใจสาหรบั ผ้อู ายุสามารถนาไปใชเ้ ปน็
ระบบแจง้ เตือนเหตุฉุกเฉนิ เพ่ือขอความชว่ ยเหลอ่ื เพอื่ ลดอัตราการเสียชีวิตลงไดน้ บั ว่ามีประโยชน์ต่อผู้สงู อายุ
และผ้ดู แู ลเปน็ อย่างมาก

5.3 ข้อเสนอแนะ
1 โครงสรา้ งของตัววัดการเต้นของหวั ใจเป็นกล่องแบบไม่กันน้า ผ้ตู อ้ งการน้าไปใช้ต้องเปลี่ยนวัสดุ
เป็นกลอ่ งที่กันน้าได้
2 ควรมกี ารเพ่ิมจอแสดงผล เพ่อื แสดงสถานะท่กี ล่องตวั รบั สัญญาน
เพ่ิมระบบตัวระบบต้าแหนง่ 3GPS เม่อื เกดิ เหตจุ ะไดร้ ตู้ ้าแหนง่ ทแ่ี นน่ อน
4 ควรมีการทดสอบกลุ่มตัวอย่างทมี่ ีจา้ นวนมากขึน เพอื่ ให้ได้ข้อมลู การทดสอบประสทิ ธิภาพทีม่ ี
ความละเอียดมากย่งิ ขึน
5 ควรเพมิ่ ความจขุ องแบตเตอรร์ ีใ่ หม้ คี วามจมุ ากกวา่ เดิม

45

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอ้างองิ

ภูสิต กลุ เกษม และคณะ. (2557). โครงการ การตรวจจบั การหกล้มของผู้สงู อายุในหอ้ งพักในบ้านพกั คนชรา
สืบคน้ จาก: http://dspace.lib.buu.ac.th/handle/1234567890/1676 [13 มนี าคม 2564]

วิสุทธิ์ ศรีเมือง)2547( .. ระบบแจง้ เตือนและสงั่ การระยะไกลผ่านระบบบรกิ ารข่าวสารสน้ั จฬุ าลงกรณ์ .
.กรงุ เทพฯ/มหาวทิ ยาลยั

สืบคน้ จาก: https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/152257 [13 มนี าคม 2564]
จนั ทนิภา กาญจนนพวงศ์ และคณะ. ( .)2562นวตั กรรมการดแู ลผสู้ งู อายผุ า่ นระบบบริการทางไกล

สบื คน้ จาก: https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/152257 [13 มนี าคม 2564]
ส(ำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คม. )2561ระบบแจง้ เหตุฉุกเฉินกดเพ่อื ขอความ :
ชว่ ยเหลอื

สืบคน้ จาก: https://web.b.ebscohost.com/ [13 มีนาคม 2564]

46

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลเิ คชนั Blynk
Parking status monitoring system via Blynk application

.ปริญญา ทรพั ย์ถนอม1 เอกพล นอ้ ยมา2 พลวัฒน์ โชตปิ ระดิษฐ์3 สฤษดิ์ เกิดสนั เทยี ะ4
Parinya Subtanom1 Ekapon Noima2 Pholawat Chotipradit3 Sarit Kerdsanthia4

1,2นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลัยเทคนิคดอนเมืองสถาบันอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
E-mail : [email protected] [email protected]

3,4อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลัยเทคนคิ ดอนเมอื งสถาบนั อาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
E-mail : [email protected] [email protected]

บทคัดยอ่

การศึกษาโครงการเรื่องระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk มี
วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการเพ่ือออกแบบระบบและสร้างตรวจสอบสถานะการจอดรถผา่ นแอปพลิเคชัน
Blynk และเพอ่ื ทดสอบระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลเิ คชนั Blynk

ข้ันตอนและวิธีการจัดทาระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk ได้แบ่ง
ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนที่หน่ึงเป็นการออกแบบ โดยมีข้ันตอนในการออกแบบดังนี้คือ ศึกษา
ปัญหาและรวบรวมข้อมูลของการออกแบบคานึงถึงการนาไปใช้งานได้จริง ลดต้นทุนในการผลิต
ประหยัดเวลา เพ่ิมผลผลิต สะดวกในการทางานรวมทั้งในการติดต้ัง แล้วดาเนินการจัดสร้าง ส่วนท่ี
สองเป็นการทดสอบระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk แสดงสถานการณ์
จอดรถผ่านทางแอปพลิเคชัน Blynk

ผลการทดสอบระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk ผลที่ได้สามารถ
ตรวจระยะห่างของเซนเซอร์กับรถยนต์ได้ไกลสุด 7.5 เซนติเมตร และใกล้สุด 5 เซนติเมตร และผลการ
ทดสอบระยะเวลารถยนต์เข้าตาแหน่งจอด เวลาเข้าจอดแล้วแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชันเร็วสุด 4.61
วนิ าที ชา้ สุด 8.38 วนิ าที และแจง้ เตอื นเวลาออกผ่านแอปพลเิ คชนั เรว็ สุด 2.85 วนิ าที และชา้ สดุ 8.82
วนิ าที

คาสาคญั : แอปพลิเคชัน Blynk

47

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

A project study of the Blynk Emission Monitoring System app has a project void
to design the system and build a car trip check through the Blynk app and to test the
driving monitoring system. Through the Blynk application

The steps and methods for creating a parking monitoring system through the
Blynk app are divided into two parts: the first part is the design. With the following
design steps: Study problems and gather design information in mind for practical
applications. Reduce production costs Save time, increase productivity, ease in work
as well as in installation. Then bring the results of the design for an expert review or
make a design suggestion. The second part is to assess the quality of the parking
monitoring system via the Blynk app, showing the parking situation via the Blynk app.

The results of the testing system to monitor the parking status through the
Blynk app, the results can detect the distance of the sensor with the car up to 7.5
centimeters and as close as 5 centimeters, and the test results for the duration of the
car to park. Time to park and alert via the app, the fastest 4.61 seconds, the slowest
8.38 seconds, and the time to leave via the app, the fastest 2.85 seconds and the
slowest 8.82 seconds.

48

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

1. บทนา
ปจั จุบนั คนท่ัว ๆ ไปจะคุน้ เคยกับอินเทอร์เนต็ (Internet) จะเปน็ ในรูปแบบของการเช่อื มตอ่ ผ่านคนกบั

อินเทอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์ ซึ่งในปัจจุบันสมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน
เป็นอย่างมาก จึงมีการคิดพัฒนาแอปพลิเคชนั ข้นึ มาเพื่อตอบสนองต่อการใช้งานในชีวิตประจาวันรวมถงึ ระบบ
อินเทอรเ์ นต็ ทม่ี ีส่วนรว่ มในการใช้แอปพลิเคชนั ต่างๆเพื่อความสะดวกสบายในการใช้งานมากขึน้

Internet of Things หรือ IoT คือสิ่งสาคัญที่เข้ามามีบทบาทท้ังในด้านการใช้งานใน
ชวี ติ ประจาวันหรอื ในการทางานก็ตามซึ่ง IoT น้นั เป็นเทคโนโลยที ่ีสาคญั และนา่ สนใจมากๆ เพราะเป็น
การเชื่อมทุกสิ่งเข้าหากันผ่านอินเทอร์เน็ต ท้ังในส่วนของโทรทัศน์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ นาฬิกา
หลอดไฟ รถยนต์ ไปจนถึงการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตและส่งข้อมูลไปยังระบบคลาวด์ หรือ
แม้กระท่ังการควบคุมระบบหรือแอปพลิเคชนั ผา่ นทางสมารต์ โฟนหรอื คอมพิวเตอร์ เป็นต้น Internet
of Things ทาให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงและรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่าง
ง่ายดายและสามารถส่ังการเพื่อควบคุมอุปกรณ์ตา่ งๆ ได้ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะ
เป็น Smart Device, Smart Home, Smart Network เป็นต้น ซ่ึงการเชื่อมโยงนั้น จะสามารถเก็บ
และรวบรวมข้อมลู ได้อยา่ งเป็นระบบ นอกจากนีแ้ ลว้ ยงั มีระบบคลาวด์ทีจ่ ัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
ผ่านออนไลน์ โดยที่เราสามารถควบคุมหรือกาหนดความเป็นส่วนตัวและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้
ตลอดเวลาประโยชนใ์ นการใช้งาน IoT คอื การทีส่ ามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่
ว่าจะเปน็ การรบั สง่ ข้อมลู ในรปู แบบดิจทิ ลั ตลอดเวลา และสามารถทางานได้ทนั ที อกี ทั้งยงั ช่วยในการ
ลดภาระงานของบุคลากร รวมไปถึงการเข้าไปตรวจสอบในจุดที่อาจตกหล่น ท้ังน้ี เพื่อช่วยลดความ
เสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกด้วย สิ่งสาคัญในการทางานร่วมกับ Internet of Things จัดการข้อมูลและ
วิเคราะห์ส่ิงต่างๆ ได้อย่างทันท่วงทีและในรูปแบบเรียลไทม์ไมว่ ่าจะเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
หรือจัดการข้อมูลระดับย่อย การเชื่อมต่อระบบอุปกรณ์ต่างๆ ด้วย AI การทางานในยุคปัจจุบันนี้
Internet of Things ช่วยเข้ามาทาให้การทางานน้ันง่ายขึ้น โดยเฉพาะการเข้ามาทางานในด้านธุรกิจ
เพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาและการนาข้อมูลท่ีรวบรวมไว้เป็น Big Data ท่ีสามารถนาไปใช้ในการ
วเิ คราะห์เพื่อทาความเขา้ ใจผบู้ รโิ ภคอย่างแทจ้ รงิ และเพอื่ พฒั นาระบบธรุ กิจให้สามารถทางานได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขน้ึ สาหรับองค์กรธรุ กิจสิง่ สาคัญคือการปรบั ตัวให้พร้อมกับการโลกแห่งอนาคตที่
จะเข้ามามีบทบาทมากยิง่ ขึ้นในการทางาน โดยเฉพาะการใชง้ านระบบคลาวด์

โครงการน้ีจึงพฒั นา ระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถ ภายในอาคารจอดรถเพ่ือช่วยให้ผู้ทีจ่ ะเข้า
มาภายในอาคารจอดรถใช้ทราบถึงตาแหน่งที่จอดรถหรือสถานะว่างอยู่ว่าช้ันใด เพ่ือผู้ที่กาลังจะหาที่
จอดรถภายในอาคารจะได้รู้ล่วงหน้าโดยใช้เซนเซอร์เป็นตัวตรวจจับสถานะของรถภายในอาคารและ
แสดงผ่านแอปพลิเคชัน ซ่ึงช่วยประหยัดท้ังเวลาและพลังงานและอานวยความสะดวกต่อผู้ท่ีจะเข้ามา
จอดรถภายในอาคาร ผา่ นระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยด์

49

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

2. วัตถุประสงค์
2.1 ออกแบบและสร้างระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผา่ นแอปพลิเคชนั Blynk
2.2 ทดสอบระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผา่ นแอปพลเิ คชัน Blynk

3. วิธดี าเนนิ การวิจัย
3.1 ศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู จาก ทฤษฎี และเอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง
ปัจจุบันคนทั่ว ๆ ไปจะคุ้นเคยกับอินเทอร์เน็ต (Internet) จะเป็นในรูปแบบของการ

เชื่อมตอ่ ผา่ นคนกบั อินเทอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์ ซง่ึ ในปจั จบุ นั สมาร์ทโฟนเข้ามา
มีบทบาทในชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก จึงมีการคิดพัฒนาแอปพลิเคชันข้ึนมาเพ่ือตอบสนองต่อการ
ใช้งานในชีวิตประจาวันรวมถึงระบบอินเทอร์เน็ตท่ีมีส่วนร่วมในการใช้แอปพลิเคชันต่างๆเพื่อความ
สะดวกสบายในการใชง้ านมากขน้ึ

3.2 ออกแบบระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผา่ นแอปพลเิ คชนั Blynk

Smart Phone

WIFI Blynk

รปู ที่ 3.1 แสดงการออกแบบระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผ่านแอปพลเิ คชนั Blynk 50

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

3.3 จัดเตรยี มอปุ กรณ์
1. Arduino Uno R3 เป็นบอร์ดสมองกล เหมาะสาหรับผู้เร่ิมต้น มีอุปกรณ์เสริม sensor ต่างๆ

รองรับมากมาย มี ช่องเสียบ usb สามารถต่อกับ คอมพิวเตอร์ อัพโหลดข้อมูลได้โดยตรง สามารถ
นามาเขยี นโค๊ดต่างๆลงบอร์ด เพื่อสง่ั งานอา่ นคา่ sensor และ ควบคมุ sensor

2. NodeMCU (โหนด เอ็มซียู) คือ บอร์ดคล้าย Arduino ท่ีสามารถเชื่อมต่อกับ Wi-Fi ได้,
สามารถเขยี นโปรแกรมดว้ ย Arduino IDE ได้เช่นเดียวกับ Arduino

3. IR Infrared Obstacle Detection Sensor เซ็นเซอร์ใช้ตรวจจับวัตถโุ ดยใชห้ ลักการสะท้อนของ
แสงเมื่อไปชนวัตถุ (Reflective) สามารถปรับความไวในการตรวจจับได้ ใช้แสงอินฟาเรดในการตรวจจบั

4. HLK-5M05 เป็นโมดูลสาหรับแปลงแรงดันกระแสลลับ 110 หรือ 220 โวลต์ เป็นแรงดัน
กระแสตรง 5 โวลต์ กระแสตอ่ เนอ่ื งสูงสุด 1000 มลิ ลแิ อมป์ (5 วตั ต)์
3.4 เขยี นโปรแกรมเพอ่ื ควบคมระบบตรวจสอบสถานะการจอดรถผา่ นแอปพลิเคชัน Blynk

1. เขียนโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ ผ่านทางโปรแกรม Arduino IDE ซ่ึงสามารถ
ดาวน์โหลดได้จากเวบ็ ไซด์ Arduino.cc/en/main/software
2. หลังจากทเ่ี ขียนโค้ดโปรแกรมเรยี บร้อยแล้ว ใหผ้ ูใ้ ช้งานเลือกรนุ่ บอรด์ Arduino ท่ี
ใชแ้ ละหมายเลข Com port

รูปที่ 3.2 เลอื กรนุ่ บอร์ด Arduino ทีต่ ้องการ upload

รปู ที่ 3.3 เลอื กหมายเลข Comport ของบอรด์
51

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3. กดปุ่ม Verify เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องและ Compile โค้ดโปรแกรม
จากนั้นกดปุ่มUpload โค้ด โปรแกรมไปยังบอร์ด Arduino ผ่านทางสาย USB เม่ือ
อับโหลดเรียบร้อยแล้ว จะแสดงข้อความแถบข้างล่าง “Done uploading” และ
บอร์ดจะเริม่ ทางานตามทีเ่ ขียนโปรแกรมไว้ได้ทันที

รูปที่ 3.4 กดปุ่ม Verify เพอื่ ตรวจสอบความถกู ต้องและ Compile โค้ดโปรแกรม

รปู ท่ี 3.5 กดปุม่ Upload โค้ด โปรแกรม 52

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

3.5 ทดสอบประสิทธภิ าพการทางานของระบบ

รูปที่ 3.6 การทดสอบระบบผา่ นแอปพลิเคชนั Blynk

รปู ท่ี 3.7 การทดสอบระบบผา่ นแอปพลเิ คชนั Blynk
53

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.7 สรปุ ผลการวิเคราะห์ และข้อเสนอแนะ
ตารางท่ี 3.1 ผลการทดสอบระยะหา่ งระหว่างเซนเซอร์กบั รถยนต์

ระยะหา่ ง ผลการทดสอบ (ซม.)
คันที่ 1 7.5
คันที่ 2 7
คนั ท่ี 3 5.5
คันท่ี 4 7.5
คนั ที่ 5 5.5
คนั ที่ 6 5

ผลการทดสอบระยะหา่ งระหว่างเซนเซอรก์ ับรถยนต์ มรี ะยะไกลสุด 7.5 เซนตเิ มตร ระยะใกล้สดุ
5 เซนตเิ มตร

ตารางท่ี 3.2 ผลการทดสอบระยะเวลารถยนต์เข้าตาแหนง่ จอด

ช่องจอดรถยนต์ เวลาเข้าแลว้ แจง้ เตอื นแอปฯ (วินาท)ี เวลาออกแลว้ แจง้ เตือนแอปฯ (วนิ าท)ี
3.22
1 8.38 2.85
4.69
2 5.66 4.79
2.96
3 6.76 8.82

4 5.23

5 7.30

6 4.61

ผลการทดสอบระยะเวลารถยนต์เข้าตาแหน่งจอด เวลาเข้าจอดแล้วแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชัน
เร็วสุด 4.61 วินาที ช้าสุด 8.38 วินาที และแจ้งเตือนเวลาออกผ่านแอปพลิเคชันเร็วสุด 2.85 วินาที
และช้าสดุ 8.82 วินาที

4. ผลการวจิ ยั
ผลการทดลองเรื่องระบบตรวจสอบสถานการณ์จอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk ได้แบ่งลาด

จอดรถเป็น 2 ชดุ ด้วยการใช้อุปกรณ์ท่ใี ช้ตรวจจบั วตั ถแุ ล้วทาการทดลองระบบโดยการดูข้อมูลผ่าน
แอปพลเิ คชนั Blynk

54

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

วธิ กี ารทดสอบ
การทดสอบเริม่ จากการเปดิ อแปพลเิ คชนั Blynk แล้วกด

รปู ที่ 4.1 การเปิดใชง้ านแอปพลเิ คชนั Blynk

การทดสอบระบบผา่ นแอปพลิเคชนั Blynk

รูปที่ 4.2 การทดสอบระบบผา่ นแอปพลเิ คชัน Blynk
55

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

รูปท่ี 4.3 การทดสอบระบบผ่านแอปพลิเคชัน Blynk

ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบระยะห่างระหว่างเซนเซอร์กับรถยนต์

ระยะห่าง ผลการทดสอบ (ซม.)
คันท่ี 1 7.5
คันท่ี 2 7
คันท่ี 3 5.5
คันที่ 4 7.5
คันที่ 5 5.5
คนั ท่ี 6 5

ผลการทดสอบระยะหา่ งระหวา่ งเซนเซอรก์ ับรถยนต์ มรี ะยะไกลสดุ 7.5 เซนตเิ มตร ระยะใกล้สุด 5 เซนตเิ มตร

ตารางท่ี 4.2 ผลการทดสอบระยะเวลารถยนตเ์ ข้าตาแหน่งจอด

ช่องจอดรถยนต์ เวลาเข้าแลว้ แจง้ เตือนแอปฯ (วนิ าที) เวลาออกแล้วแจ้งเตือนแอปฯ (วินาท)ี

1 8.38 3.22

2 5.66 2.85

3 6.76 4.69

4 5.23 4.79

5 7.30 2.96

6 4.61 8.82

56

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ผลการทดสอบระยะเวลารถยนต์เข้าตาแหน่งจอด เวลาเข้าจอดแล้วแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชัน
เร็วสุด 4.61 วินาที ช้าสุด 8.38 วินาที และแจ้งเตือนเวลาออกผ่านแอปพลิเคชันเร็วสุด 2.85 วินาที
และช้าสดุ 8.82 วนิ าที
5. สรุปผลงานวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะ
5.1 ผลการดาเนินโครงการ

โครงการระบบตรวจสอบสถานะจอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk สามารถตรวจจับรถยนต์
ได้จริง โดยผลที่ได้สามารถตรวจสอบระยะห่างของเซนเซอรก์ ับรถยนต์ได้ไกลสุด 7.5 เซนติเมตร และ
ใกล้สุด 5 เซนติเมตร และผลการทดสอบระยะเวลารถยนต์เข้าตาแหน่งจอด เวลาเข้าจอดแล้วแจ้ง
เตือนผ่านแอปพลิเคชันเร็วสุด 4.61 วินาที ช้าสุด 8.38 วินาที และแจ้งเตือนเวลาออกผ่านแอปพลิเค
ชนั เรว็ สดุ 2.85 วินาที และช้าสดุ 8.82 วนิ าที
5.2 อปุ สรรคในการทาโครงการ

อุปสรรคในการทาโครงการระบบตรวจสอบสถานการณ์จอดรถผ่านแอปพลิเคชัน Blynk
ก่อนอื่นต้องกล่าววา่ หัวใจหลักของโครงการนี้คือส่วนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่สร้างขัน้ น้ันเปน็ เร่ืองที่
คอ่ นข้างยาก ดังนน้ั ตอ้ งใชเ้ วลาทาการศกึ ษาหาข้อมูลและเรียนรู้ค่อนข้างมาก
5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ควรพัฒนาให้สามารถนาไปติดต้งั เพ่ือเพิ่มความสะดวกในการจดจาตาแหนง่ จอดรถ ควรมี
การส่งค่าระบุตาแหน่งจอดรถหรือรูปภาพตาแหน่ง ณ ที่จอดรถแล้วส่งแจ้งเตือนไปทางโทรศัพท์ และ
ตอ่ ยอดพัฒนาเพ่อื นาไปใช้งานจรงิ

5.3.2 หากเกิดไฟฟ้าลดั วงจรหรอื ไฟฟา้ ดบั จะไม่มกี ระแสไฟฟา้ เลีย้ งภายในวงจรจะทาให้เซนเซอร์
และอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ทางาน ควรจะมีการติดต้ังไฟฟ้าสารองและอุปกรณ์กันไฟฟ้าลัดวงจรไว้เพื่อกัน
ไฟฟา้ ดบั

57

เอกสารอา้ งองิ

จากแหลง่ ข้อมลู อิเล็กทรอนกิ ส์

[1] บอร์ด Arduino

แหลง่ ทม่ี า : https://sites.google.com/site/karanwinatktech/unit1

(สบื คน้ ขอ้ มูลวันท่ี: 9 สิงหาคม 2563)

[2] เซน็ เซอรโ์ ดย Modbus RTU แลว้ ส่งขอ้ มลู ข้ึน Cloud ดว้ ย MQTT

โดย นาย วสิ ิทธ์ิ เคียงนาค

แหลง่ ท่มี า : https://medium.com/@visitwnk

(สบื คน้ ขอ้ มลู วนั ท่:ี 9 สิงหาคม 2563)

[3] Arduino คอื อะไร

แหลง่ ทีม่ า : https://blog.thaieasyelec.com/what-is-arduino-ch1/

(สืบค้นข้อมูลวนั ที่: 9 สิงหาคม 2563)

[6] Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module

แหลง่ ทม่ี า : https://www.arduino4.com/product/93/infrared-obstacle-avoidance-sensor-

(สืบคน้ ข้อมลู วันที่: 14 สงิ หาคม 2563)

[7] การใชง้ าน IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module

แหล่งท่ีมา : https://robotsiam.blogspot.com/2016/10/ir-infrared-obstacle- avoidance-sensor.html

(สืบคน้ ขอ้ มลู วนั ท่ี: 14 สงิ หาคม 2563)

[8] Hi-Link

แหล่งทีม่ า : https://sharvielectronics.com/product/hi-link-hlk-5m05-5v-5w-switch-power- supply-

module/

(สืบคน้ ข้อมูลวันท่ี: 14 สิงหาคม 2563)

[9] Hi-Link

แหลง่ ท่มี า : http://www.ett.co.th/proSupply/HILINK/HILINK.html

(สบื ค้นข้อมูลวนั ท่ี: 14 สิงหาคม 2563)

[10] Blynk NodeMCU esp8266

แหลง่ ที่มา : https://www.ab.in.th/article/68/app-blynk

(สบื คน้ ข้อมูลวนั ท:ี่ 15 สงิ หาคม 2563)

[11] YU-I Pass Face Terminal with Temp and Mask

แหลง่ ทมี่ า : https://www.yu-ipass.com

(สืบค้นขอ้ มูลวันท่:ี 15 สงิ หาคม 2563) 58

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ระบบรกั ษาความปลอดภัยอัจฉรยิ ะ
Security smart lock

ณัฐพร พลอยศร1ี วรพล ภาคสทุ ธิผล2 พลวัฒน์ โชติประดิษฐ3์
Nataporn Ploysri1 Worapon Plaksutiphol2 Pholawat Chotipradit3

1,2นักศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนิคดอนเมอื ง สถาบนั อาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
E-Mail : [email protected] [email protected]

3อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลยั เทคนคิ ดอนเมอื ง สถาบนั อาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
E-Mail : [email protected]

บทคดั ย่อ

จากการศึกษาโครงการเรื่องระบบรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะที่สามารถถ่ายภาพและส่ง
ขอ้ มูลทางแอปพลเิ คชน่ั Line มวี ัตถุประสงค์เพือ่ ออกแบบระบบรักษาความปลอดภยั และเพ่อื ประเมิน
คณุ ภาพการออกแบบระบบรักษาความปลอดภยั

โครงการเร่ืองระบบรักษาความปลอดภัยคณะผู้จัดทาได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนท่ี
หน่ึงคือเป็นการออกแบบโดยมีขั้นตอนการออกแบบดังนี้ ศึกษาปัญหาและรวบรวมข้อมูลการ
ออกแบบและคานึงถึงการทาไปใช้ได้จริง ลดต้นทุนในการผลิต ประหยัดเวลา เพ่ิมผลผลิต สะดวกใน
การทางาน โดยใช้ บอร์ดESP32-CAM ในการถ่ายภาพและส่งภาพไปท่ี Line และใช้บอร์ด Arduino
Uno R3 ในการเข้ารหัส โดยทั้ง2 บอร์ดจะควบคุมและส่ังการผ่านแอปพลิเคช่ัน Bylnk และมีบอร์ด
Maxxtronic mxa018 ใชเ้ ปน็ ระบบไฟสารองในกรณีไฟฟ้าดับและชารจ์ ไฟในสภาวะปกติ

ผลการทดสอบเม่ือทาการเข้ารหัสผ่าน บอร์ด Arduino จะทาการเปิดประตูไฟฟ้าและ
บอร์ด ESP32-CAM จะทาการถ่ายภาพภาพส่งไปยังแอปพลิเคชั่น Line ในส่วนของบอร์ด
Maxxtronic mxa018 เปน็ ระบบพลังงานสารองจะทางานอตั โนมตั เิ มื่อเกิดเหตไุ ฟฟ้าดับ

บทความผลงานวิจัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

Abstract
From the study of the project on intelligent security systems that can be
photographed and transmitted via applications, Line aims to design a security system
and to assess the quality of the security design.
The project on the security system can be divided into 2 parts, the first part
is the design with the following design steps. Study problems and collect design
information and consider how to make it practical. Reduce production costs, save
time, increase productivity, convenient to work using the ESP32-CAM board. To take
pictures and send images to Line and use the Arduino Uno R3 board in Encoding
with both boards is controlled and operated via Bylnk application and the
Maxxtronic mxa018 board is used as a backup power supply in case of power failure
and charging under normal conditions.
The test results when encoding through the Arduino board will open the
electric door and the ESP32-CAM board will take a picture and send it to the
application Line on the board Maxxtronic mxa018 as a backup power system will
automatically work when the incident Power outage

1. บทนา
เนื่องด้วยในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันมากขึ้น ซ่ึงด้านที่เด่นชัดที่สุดคือใน

ด้านของการส่ือสาร จึงทาให้ติดต่อส่อื สารกันได้ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนใดในโลกใบน้ี นอกจากน้ีผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตมีแนวโน้ม
การใชง้ านที่มากขึ้น สามารถควบคุมได้ในระยะไกล ซ่ึงเป็นการใช้ประโยชน์จากการติดต่ออินเทอรเ์ น็ตโดยการควบคม
อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครอื ขา่ ย จากข้อดีดงั กล่าวคณะผจู้ ัดทาจึงได้นามาประยุกต์ใช้กับระบบรกั ษาความ
ปลอดภัยภายใน สานักงาน ธนาคาร หรือบ้านเรือน ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในการป้องการสูญเสียในเร่ืองของทรัพย์สินและ
เอกสารสาคัญ ซ่ึงการประยุกต์ดังกล่าวเป็นการควบคุมด้วยกล้องถ่ายภาพผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ซ่ึงทาให้ผู้ใช้งาน
สามารถตรวจสอบส่ิงทเี่ กดิ ข้นึ ภายใน สานักงาน ธนาคาร หรอื บ้านเรอื น

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพอื่ ออกแบบและสร้างระบบรกั ษาความปลอดภยั อัจฉรยิ ะ
2.2 เพือ่ หาประสิทธิภาพของระบบรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะ โดยกล้องจะถา่ ยภาพและส่ง

ขอ้ มูลผ่านแอปพลเิ คช่ัน Line

3. วธิ ีดาเนนิ การวิจัย
3.1 ศกึ ษา ทฤษฎี และคน้ ควา้ ข้อมลู ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การสรา้ งระบบรกั ษาความปลอดภยั อัจฉรยิ ะ

ภาพที่ 3.1 แผนผงั การทางาน

3.2 ออกแบบฮารด์ แวร์ของเคร่ืองควบคุมการทางานของกล้องถา่ ยภาพ

ภาพที่ 3.2 การออกแบบระบบรกั ษาความปลอดภัยอัจฉริยะ

3.3 จดั เตรียมอปุ กรณ์และวัสดุตา่ งๆ

ภาพท่ี 3.3 การประกอบชนิ้ งานและดาเนนิ งาน

3.4 การทา software ของไมโครคอนโทลเลอร์ เพ่อื ควบคุมระบบการทางานของกลอ้ ง

ภาพที่ 3.4 การเขียนโปรแกรมใหก้ บั บอร์ด ESP32-CAM

ภาพที่ 3.5 การเขยี นโปรแกรมใหก้ ับบอรด์ Arduino Uno R3

4. การทดสอบและผลการทดสอบ
4.1 ในการทดสอบระบบการทางานของระบบรักษาความปลอดภัยเม่ือกดเข้ารหัสผ่าน

บอร์ดESP32-CAM จะทาการถ่ายภาพและสง่ ภาพไปแอปพลิเคชน่ั Line โดยทาการทดสอบจานวน 5
ครงั้

ตารางท่ี 4.1 ตารางการทดสอบการส่งภาพถ่ายจากบอรด์ ESP32-CAM ไปยงั
แอปพลิเคชัน่ Line

กดเขา้ ระบบลาดบั ท่ี ระยะเวลาทภ่ี าพถา่ ยสง่ ไปยงั Line
1 2 วนิ าที
2 2 วินาที
3 2 วนิ าที
4 2 วนิ าที
5 2 วินาที

สรุปผลการทดสอบ เม่ือบอร์ด ESP32-CAM ทาการถ่ายภาพและส่งภาพไปท่ีแอปพลิเคช่ัน
Line ระยะเวลาทส่ี ง่ ภาพถา่ ยเพยี ง 2 วนิ าที

4.2 ในการทดสอบระบบคยี แ์ พด เมอ่ื เข้ารหัสผา่ นตวั ลอ็ กไฟฟ้าจะทาการเปดิ ประตู
ตารางที่ 4.2 ตารางการทดสอบระบบคยี ์แพดในการทดสอบระบบคีย์แพดเม่อื เขา้ รหัสตัว
ล็อกไฟฟา้ จะทาการเปดิ โดยทาการทดสอบเข้ารหสั จานวน 5 คร้งั

ลาดับท่ีใส่ Password ระยะเวลาท่ีเปดิ เปิดเปน็ เวลานาน
1 0.2 วนิ าที 3 วนิ าที
2 0.2 วินาที 3 วินาที
3 0.2 วนิ าที 3 วนิ าที
4 0.2 วินาที 3 วนิ าที
5 0.2 วนิ าที 3 วนิ าที

สรุปการทดสอบเม่ือใส่ Password ระยะเวลาท่ีสั่งเปิดประตูจะใช้เวลาเพียง 0.2 วินาที
และเปดิ เปน็ เวลานาน 3 วนิ าที ก่อนประตกู จ็ ะทาการล็อค

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุป

5.1.1 ระบบแอปพลิเคชั่น Blynk จะเป็นแอปพลิเคชั่นท่ีใช้ในการสั่งการ สามารถส่ังให้
ถ่ายภาพแบบ manual ใช้เปิด Flash และปิด Flash ในการถ่ายภาพ และใช้เทสกล้องว่าอยู่ใน
สถานะพร้อมใชง้ านหรือไม่

5.1.2 ระบบแอปพลิเคชั่น LINE จะเป็นแอปพลิเคชั่นท่ีใช้ในการรับข้อมูล โดยบอร์ด
ESP32-CAM จะการ เช่ือมต่อกับ WiFi เมื่อบอรด์ ESP32-CAM ถ่ายภาพผู้เข้ารหัส บอรด์ จะถ่ายภาพ
และส่งไปยงั แอปพลเิ คชัน่ Line โดยทันที
5.2 อุปสรรคในการดาเนนิ งาน

ในการเขียนโค้ดโปรแกรมค่อนข้างมีปัญหาเพราะใช้หลายระบบในการทางาน ระบบรักษา
ความปลอดภยั อจั ฉริยะ
5.3 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา

ในโครงการนี้เป็นโครงการท่ีจัดทาหลายส่วน หากมีการพัฒนาก็จะทาให้ระบบมี
ความสามารถมากยง่ิ ขน้ึ หรือจะนาสว่ นตา่ งๆไปพฒั นาในดา้ นอน่ื ก็ไดอ้ ีกเช่นกัน ดงั ขอ้ เสนอตอ่ ไปนี้

5.3.1 สามารถพฒั นาใชใ้ นระบบรกั ษาความปลอดภัยใน สานักงานหรือธนคาร
5.3.2 สามารถพฒั นาเพม่ิ ระบบสแกนใบหน้าผู้ได้รับอนญุ าตให้ผา่ นเขา้ ออก

อุปกรณ์ควบคมุ ส่ังการเครื่องพน่ ยงุ ผา่ นระบบส่ือสารไรส้ าย IoT
Control devices to control mosquito sprayers via wireless communication

system IoT

ภมุ รนิ ทร์ หนรู อด1 สมพงษ์ โพธิส์ ุวรรณ2 ณัฐพล ควรสงา่ 3
Pummarin Nurod1 Sompong Phosuwan2 Natthapon Kuansanger3

สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเล็กทรอนิส์ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร E-mail : [email protected], [email protected]
อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ ส์ สถาบนั การอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร E-mail : [email protected]

บทคดั ย่อ
ปัจจุบันเครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือเป็นเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง ที่สามารถเช่ือมต่อคนท้ัง
โลกเข้าด้วยกันได้ และในอนาคตไม่เพียงแต่ผู้คนเท่าน้ันที่จะถูกเช่ือมต่อเข้าด้วยกัน แต่อุปกรณ์
เทคโนโลยีต่างๆ ก็จะถูกเช่ือมต่อเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถติดต่อส่ือสารกันได้เชน่ กัน ซ่ึงแนวคิดน้ีถกู
เรยี กวา่ Internet of Thing (IoT) เป็นแนวคดิ ทม่ี กี ารรเิ ร่มิ ข้นึ มาเปน็ เวลานานแล้วแต่เพิ่งจะกลายเป็น
ท่ีจับตามองเมือ่ ไม่กป่ี ีมานี้ เน่อื งจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ถี ูกพฒั นาขน้ึ มา
การรองรบั แนวความคิดน้ีได้ จงึ นาสมาร์ทโฟน, แท็บเลต็ มาชว่ ยอานวยความสะดวก ในโครงการ
ได้ทาการออกแบบและสร้างอุปกรณ์ควบคุมสั่งการเครื่องพ่นยุงผ่านระบบส่ือสารไร้สาย IoT ผ่านแอป
พลิเคชัน Blynk โดยท่ีสมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ต จะเป็นตัวควบคุมสั่งการในส่วนของการทางานของ
อปุ กรณ์เครอื่ งพ่นยุงบนแอปพลเิ คชัน Blynk ได้อยา่ งรวดเร็วและสมบรู ณ์
คาสาคญั : อปุ กรณ์สง่ั การแบบ IoT แอปพลเิ คชน่ั Blynk

67

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract
Today the Internet is a network with high efficiency. That can connect people all
over the world together And in the future, not only people will be connected. But
various technology equipment Will be connected together To be able to communicate
with each other as well This concept, called Internet of Thing (IoT), has been pioneering
for a long time but only recently caught the eye in recent years. Due to the modern
technology being developed
To support this idea. Therefore bringing smartphones, tablets to help facilitate In
the project, we designed and built a device to control the mosquito repellent via a
wireless IoT system via the Blynk application, where a smartphone or tablet will act as
a controller in part of the work. Of the mosquito spray device on the Blynk app quickly
and completely

Keywords: IoT command, Blynk application

1. บทนา
เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีไอโอทีกาลังเป็นท่ีนิยมมากขึ้น สามารถทาให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ตา่ งๆ ถูกเชอ่ื มต่อเขา้ ดว้ ยกนั ผา่ นระบบอนิ เทอร์เนต็ ได้ ซ่งึ มกี ารนาเทคโนโลยีนีม้ าใช้งานในหลากหลาย
ด้าน ท้ังการตรวจวัดค่าต่างๆ หรือการควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ซ่ึงข้อมูลต่างๆ จะถูก
แลกเปล่ียนกันผ่านทางระบบ เครือข่าย แต่เน่ืองจากอุปกรณ์ไอโอทีในปัจจุบันมีหลากหลายประเภท
จึงทาให้เกิดข้อตกลงในการส่ือสารหรือโพรโทคอล (protocol) ท่ีหลากหลาย เป็นเหตุให้อุปกรณ์แต่
ละชนิดไมส่ ามารถส่ือสารกันได้และในกรณีที่มกี ารติดตั้งอุปกรณ์ไอโอทีในพ้ืนที่ท่ีสัญญานอินเทอร์เน็ต
เข้าถึงไดย้ าก อาจทาใหผ้ ใู้ ช้งานไมส่ ามารถเข้าถึงอุปกรณ์ไอโอทใี นพ้นื ทีด่ งั กล่าวไดอ้ ีกดว้ ย

จากปัญหาท่ีเกิดขึ้น จึงเกิดแนวคิดท่ีจะสร้างอุปกรณ์ควบคุมส่ังการเคร่ืองพ่นยุงผ่านระบบส่ือสาร
ไร้สาย IoT ช่วยในการแก้ปัญหาไข้เลือดออกในชุมชนแออัดและมีรายได้น้อยเหมาะสาหรับติดไว้ใน
บ้านโดยเฉพาะท่มี เี ดก็ เล็ก

2. วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย
2.1 เพื่อศึกษาการใชแ้ ละออกแบบ Internet of things ควบคมุ สังการเคร่ืองพน่ ยุง
2.2 เพ่อื สรา้ งและทดสอบอปุ กรณ์ควบคมุ สงั่ การเครื่องพน่ ยุงผา่ นระบบส่ือสารไรส้ าย IoT

68

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

3. สมมติฐานการวจิ ยั
- อปุ กรณค์ วบคุมส่ังการเคร่ืองพน่ ยงุ ผา่ นการใชร้ ะบบสื่อสารไรส้ ายสามารถใช้งานไดใ้ นระดบั ดี

4. วิธีการดาเนนิ การวจิ ยั
4.1 ศกึ ษาและออกแบบ Internet of things ควบคมุ ส่ังการเคร่ืองพน่ ยงุ

ภาพท่ี 1 ผังอปุ กรณ์ควบคุมสงั่ การเครอ่ื งพ่นยุงผา่ นระบบสอ่ื สารไรส้ าย IoT

4.1.1 จัดเตรยี มอุปกรณ์และสร้าง

ภาพท่ี 2 อปุ กรณค์ วบคมุ สง่ั การเคร่ืองพน่ ยงุ ผา่ นระบบสื่อสารไร้สาย IoT

69

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4.1.2 เขียนโปรแกรมโคด้ บอร์ด ESP 8266

ภาพที่ 3 โปรแกรมเขยี นโคด้ บอรด์ ESP 8266

4.1.3 ออกแบบและสร้างอุปกรณค์ วบคุมส่ังการเคร่ืองพ่นยุง บนแอพพลเิ คช่ัน Blynk

ภาพที่ 4 แอพพลิเคชั่น Blynk

4.2 เครอ่ื งมือต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัย 70
4.2.1 ESP8266 NodeMCU เป็นบอร์ดไมโครคอนโทลเลอร์ที่มีจานวนขาพอร์ตอินพุตและ

เอาต์พุตมากพอสาหรับการนาไปใช้งานจริง สามารถต่อกับเซ็นเซอร์ได้ทั้งแบบดิจิตอลและแอนะล็อก
และยังต่อเพื่อขับอุปกรณ์เอาต์พุตให้ทางาน โดยที่เราจะต้องเขียนโปรแกรมเพื่อส่ังงานให้บอร์ดและ
เน่ืองจากมีโมดูล WIFI ในตัว จึงสามารถเชื่อมต่อเพื่อส่งข้อมูลหรือสั่งงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้โดย
ไม่ตอ้ งหาซ้อื อปุ กรณ์มาตอ่ เพ่มิ

4.2.2 Switching Power Supply (สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย) ทาหน้าท่ี แปลงแรงดันไฟฟ้า
กระแสสลบั ใหเ้ ปน็ แรงดันไฟฟา้ กระแสตรง

4.2.3 บอรด์ รีเลย์ใช้ไฟเล้ียง 5 โวลต์ แบบแยกอิสระ Isolation Control 8 ช่อง

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

4.3 หาคุณภาพทดสอบอุปกรณ์ควบคุมสง่ั การเครื่องพน่ ยุงผ่านระบบส่ือสารไรส้ าย IoT
4.3.1 นาบอร์ด ESP8266 NodeMCU และอุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องมาประกอบในกล่อง และต้อง

ตรงตามขอบเขตคอื ต้องสามารถควบคมุ การทางานอุปกรณ์เคร่ืองพ่นยุง ผ่านแอปพลิเคชัน Blynk ได้
4.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
4.4.1 ตารางทดสอบอปุ กรณ์ควบคมุ ส่ังการเครือ่ งพน่ ยุงผา่ นระบบสอื่ สารไร้สาย IoT (ภายในห้อง)

ชว่ งเวลาการพน่ นายา ตารางเมตร ) หอ้ ง ( ประสทิ ธิภาพการกาจัดยุง

ระยะเวลาการพ่น 5-10 นาที ห้องขนาด 20 ตร.ม 90 –97 เปอรเ์ ซน็ ต์
ระยะเวลาการพ่น 5-10 นาที ห้องขนาด 25 ตร.ม 85 - 90 เปอร์เซน็ ต์
ระยะเวลาการพน่ 5-10 นาที ห้องขนาด 27 ตร.ม 80 - 85 เปอร์เซน็ ต์
ระยะเวลาการพน่ 5-10 นาที ห้องขนาด 30 ตร.ม 75 – 80 เปอรเ์ ซน็ ต์

4.5.1 ตารางทดสอบอุปกรณ์ควบคุมสง่ั การเครื่องพ่นยุงผา่ นระบบสอ่ื สารไรส้ าย IoT (ภายในห้อง)

ช่วงเวลาการพ่นนายา ตารางเมตร ) พนื ทโี่ ลง่ ( ประสทิ ธภิ าพการกาจดั ยงุ

ระยะเวลาการพน่ 10 - 15 นาที 500 ตารางเมตร 75 - 80 เปอรเ์ ซ็นต์

ระยะเวลาการพน่ 10 - 15 นาที 750 ตารางเมตร 70 - 75 เปอรเ์ ซ็นต์

ระยะเวลาการพน่ 10 - 15 นาที 900 ตารางเมตร 63 – 70 เปอรเ์ ซน็ ต์

ระยะเวลาการพน่ 10 - 15 นาที 1,000 ตารางเมตร 50 – 55 เปอร์เซน็ ต์

5. ผลการวิจยั
จากการทาโครงการอุปกรณ์ควบคมุ ส่ังการเคร่ืองพ่นยุงผา่ นระบบสื่อสารไร้สาย IoT น้ัน สามารถ

ควบคุมส่ังการการพ่นน้ายา โดยผ่านแอปพลิเคชัน Blynk ได้ตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ แอปพลิเค
ชัน Blynk มีการแสดงสถานะการส่ังการทางานไปยังอุปกรณ์เคร่ืองพ่นยุง จึงสรุปได้ว่าโครงการ
อุปกรณ์ควบคุมสั่งการเครื่องพ่นยุงผ่านระบบสื่อสารไร้สาย IoT สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้จริงใน
หน่วยงาน และพื้นท่ีแหล่งชุมชน เพื่อช่วยลดภาระของบุคลากรเนื่องจากเส่ียงต่อการได้รับมลพิษ
สารเคมีจากหมอกควนั กาจัดยุงได้เปน็ อยา่ งดี

71

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

6. เอกสารอา้ งองิ
[1] http://its.sut.ac.th/index.php/document-manual/the-internet-of-things

(สบื คน้ ข้อมลู เมื่อวันท่ี 10 ธ.ค.63)
[2] https://www.arduinospro.com/article/23/blynk-app-basic-ep0-blynk

(สืบคน้ ข้อมลู เม่ือวนั ท่ี 23 ธ.ค.63)
[3] https://www.ioxhop.com/article/13/esp8266

(สืบคน้ ข้อมูลเม่ือวนั ที่ 7 มค..64)
[4] http://www.bangkokgis.com/bangkokgis_2008//system_file/-t1550456794.pdf

(สืบคน้ ข้อมลู เมื่อวันที่ 9 กพ..64)
[5] http://www.mltelectronic.com

(สบื คน้ ข้อมูลเมื่อวนั ท่ี 19 มีค..64)

72

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

การออกแบบและสร้างเครือ่ งเตมิ อากาศลงในนา้ แบบใช้แผงโซล่าเซลล์
ควบคมุ ด้วยคา่ ความเปน็ กรดและดา่ งของนา้

Design and Construction of Solar Panel Water Controlled with Water Ph Meter

ทกั ษด์ นัย ชูชยั , นายณัฐนันท์ พานทอง
Takdanai Chuchai , Natthnan Phanthong

บทคัดย่อ

ในการศึกษาโครงการเร่ืองการออกแบบและสร้างเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่า
ความเป็นกรดและด่างของน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อสร้างเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่า
ความเปน็ กรดและด่างของน้า ประสทิ ธิภาพของเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใชแ้ ผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรด
และด่างของน้า ศึกษาวิธีการใช้งานเคร่ืองเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรดและ
ด่างของน้า และความพึงพอใจของผู้ได้รับผลกระทบจากน้าเสีย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครังนีเป็นกลุ่มตัวอย่าง
จ้านวน 3 กลุ่มชุมชนได้แก่ ชุมชนล้าต้อยต่ิง ชุมชนล้าผักชี และชุมชนโคกแฝด จ้านวน 15 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจงโดย
ด้าเนินการศึกษาในลักษณะการวิจัยเชงิ ส้ารวจ เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู เป็นแบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณ
คา่ 5 ระดับ วิเคราะห์โดยใชส้ ถิตคิ า่ เฉลี่ย ( ̅ ) และค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D)
ผลการศกึ ษา

ด้านสมรรถนะของเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรดและ
ด่างของน้า มีค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจอยทู่ ี่ 4.26 มีคา่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดับ ดี

ด้านความสวยงาม มคี า่ เฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ท่ี 4.30 คา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดับ ดี
ด้านความปลอดภัย มีค่าเฉล่ยี ความพึงพอใจอยู่ระหวา่ ง 4.48 มีคา่ เฉลย่ี อย่ใู นระดบั ดี
ดา้ นประโยชน์และความคมุ้ คา่ มคี ่าเฉลย่ี ความพึงพอใจอยทู่ ี่ 4.35 มีค่าเฉล่ยี อยู่ในระดบั ดี
สรุปทัง 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านสมรรถนะของเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความ
เปน็ กรดและด่างของน้า ด้านความสวยงาม ด้านความปลอดภัย ดา้ นประโยชน์และความคุ้มคา่ มคี ่าเฉลี่ยรวม 4.35 อยใู่ นระดับ ดี
ประสิทธภิ าพของเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซลา่ เซลล์ควบคุมดว้ ยค่าความเป็นกรดและดา่ งของน้า

1. ค่าความเป็นกรดในบ่อทดลองขนาด 200x200 cm. ลึก 50 cm. ปริมาณน้า 2000 L จะ
ใช้เวลาในการปรับสภาพน้าค่า Ph เปน็ 7 จะใช้เวลา 28 นาที โดยสินเปลอื งพลังงานของแบตเตอรี่ไป 0.30 A

2. ค่าความเป็นด่างในบ่อทดลองขนาด 200x200 cm. ลกึ 50 cm. ปริมาณน้า 2000 L จะ
ใช้เวลาในการปรับสภาพนา้ ค่า Ph เป็น 7 จะใชเ้ วลา 20 นาที โดยสินเปลืองพลงั งานของแบตเตอรี่ไป 0.31 A

73

บทความผลงานวิจยั นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

In a project study on the design and construction of a water aerator using a solar cell
controlled by the pH of the water. It is intended to create a solar cell water aerator controlled
with the pH of the water. Efficiency of water aerator using solar cells controlled by the pH of
the water. Learn how to use the water aerator using a solar cell controlled with the pH of the
water. And satisfaction of those affected by the wastewater The sample group used in this
study consisted of 3 community groups, namely Lam Toi Ting community, Lam Phakchi
community, and 15 Khok twins community were randomized using a randomized method by
conducting a survey research. The instrument for data collection was a five-level estimation
scale questionnaire, analyzed by means of mean ( ̅ ) and standard deviation (SD) statistics.

Transcript
Performance of the water aerator using solar cells controlled by the pH of the water.

The average of satisfaction was 4.26 with a good mean.
Beauty The average of satisfaction was 4.30. The average was good.
Safety aspect The mean of satisfaction was between 4.48 and the mean was good.
Benefits and value The average satisfaction was 4.35 with a good mean.
All four aspects consist of performance aspects of water aerator using a solar cell

controlled by the pH of water. Beauty Safety aspect Benefits and value The overall average
of 4.35 was at a good level.

Efficiency of water aerator using solar cells controlled by the pH of the water.

1.The pH value in the test pond, size 200x200 cm., Depth 50 cm., Water volume 2000
L, it takes time to adjust the water, the Ph value is 7, it takes 28 minutes, consuming the
battery power 0.30 A.

2. The alkalinity value in the test pond size 200x200 cm., Depth 50 cm., Water
volume 2000 L, it takes time to adjust the water, the Ph value is 7, it takes 20 minutes,
consuming the battery power 0.31 A.

74

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

บทน้า
น้าเสียเกดิ จากน้าในแหล่งน้าทไ่ี ม่มกี ารหมนุ เวยี นหรือการไหลของนา้ ท้าใหอ้ อกซิเจนในน้านอ้ ยกวา่ ค่าก้าหนดอย่ทู ี่ 7Ph

จึงท้าให้เกิดการเนา่ เสยี ของนา้ เสยี จะส่งผลกระทบกับชุมชนเร่ิมจากการมีกลิ่นเหม็นเป็นโรคผิวหนังเป็นตัวแพร่เชือโรคและพยาธิ
ต่างๆ สตั ว์น้าและพืชนา้ ตายเพม่ิ ระดบั ปญั หามากขนึ มกั เกิดจากการปลอ่ ยน้าเสียการทิงขยะจากครวั เรือนชุมชนสถานท่ีสาธารณะ
เช่นบ่อบ้าบัดในชมุ ชนแหล่งน้าขนาดเล็กบ่อเลียงสัตว์ ท่ีไม่ได้รับการบ้าบดั หรือมีการจัดการก้าจัดที่ถูกต้องถูกปลอ่ ยหรอื ถูกชะ
ล้างสู่แหล่งน้าสารเคมีจากการท้าการเกษตรได้แก่ ปุ๋ยเคมีและป๋ยุ อินทรีย์ สารเคมีก้าจัดศัตรูพืชอาจท้าให้เกดิ ปัญหาโดยตรงถ้ามี
ปรมิ าณมากหรอื ทางออ้ มท่ีไม่ผ่านกระบวนการบ้าบัดนา้ เสยี ปล่อยสู่แหล่งน้าปญั หาทเี่ กดิ ขนึ จะเกิดขนึ โดยตรงและเกดิ ผลรวดเร็ว ถา้
มกี ารทิงน้าเสียทไี่ มไ่ ด้ผา่ นการบ้าบดั น้าเสยี ท่ีสมบูรณ์ หรือทิงของเสียขยะมลู ฝอยสารเคมี สารพิษลงสูแ่ หล่งนา้ โดยตรงและจะเกิด
อันตรายต่อมนุษยห์ ากค่าPhในนา้ มคี ่ามากกว่า12.5Phและนอ้ ยกวา่ -0.5Phสว่ นค่าน้าที่ดจี ะมีค่าPhของนา้ อยู่ท่ี 7Ph

บริเวณชุมชนของเขตหนองจอก มีชุมชนจ้านวนมากท่ีได้รับผลกระทบกับน้าเน่าเสีย เช่น ชุมชนแขวงล้า
ต้อยตง่ิ ชุมชนแขวงล้าผักชี และชมุ ชนแขวงโคกแฝด ผวู้ ิจัยจึงไดท้ า้ การศึกษา เพื่อหาแนวทางในการแกป้ ญั หาและ
ต้องไม่กระทบกับรายได้ของประชาชนในชุมชนนัน การแก้ปัญหาน้าเน่าเสียวิธีหน่ึงท่ีนิยมใช้คือ การเติมอากาศ
โดยใช้กงั หนั น้าเป็นตน้ แบบเคร่ืองกลเติมอากาศทผี่ ิวน้าหมนุ ช้าๆ แบบทนุ่ ลอย หรอื กังหนั นา้ ชัยพัฒนา

ผู้ศึกษาจงึ ได้ศึกษาคิดค้นออกแบบและสร้างเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่า
ความเปน็ กรดและด่างของน้า (ความเป็นกรด-ด่างของน้า) เพือ่ บ้าบัดน้าเสียในชมุ ชนและเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย
หรือรายได้ของประชาชนในเขตชุมชนดังกล่าว ผู้ศึกษาท้าการออกแบบและสร้างเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้
แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรดและด่างของน้า (ความเป็นกรด-ด่างของน้า) และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า
“Design and Construction of Solar Panel Water Controlled with Water Ph Meter”

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย

ในการศึกษาครงั นี ผ้ศู ึกษาจึงตงั วัตถุประสงคข์ องการศึกษาการออกแบบและสรา้ งเคร่ืองเติมอากาศลงในน้า
แบบใชแ้ ผงโซลา่ เซลลค์ วบคมุ ดว้ ยคา่ ความเป็นกรดและดา่ งของนา้ มีดังต่อไปนี

1. เพ่อื ออกแบบและสร้างเครือ่ งเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลลค์ วบคมุ ดว้ ยค่าความเปน็ กรดและด่างของน้า
2. เพอื่ ศึกษาประสิทธภิ าพของเครื่องเตมิ อากาศลงในนา้ แบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคมุ ด้วยคา่ ความเปน็ กรดและด่างของนา้
3.เพอ่ื ศกึ ษาหลักการทา้ งานเครอ่ื งเตมิ อากาศลงในนา้ แบบใชแ้ ผงโซลา่ เซลลค์ วบคุมดว้ ยคา่ ความเป็นกรดและดา่ งของนา้
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากน้าเสยี

ขอบเขตการวจิ ัย
ในการศกึ ษาครงั นีเป็นการศึกษาแบบนวัตกรรมโดยกา้ หนดขอบเขตการศกึ ษาเฉพาะกลุม่ ชุมชนในท้องถิน่ เขตหนองจอก

จงั หวัดกรงุ เทพมหานครตัวเครือ่ งมีขนาดความกวา้ ง80cm.ความยาว160cm.สูง55cm.โดยใช้ทอ่ PVCเป็นทนุ่ ลอยน้าทรงกลม
ขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลาง15cm.ระบบสง่ กา้ ลงั ได้ใชม้ อเตอร์ขนาด100W/12Vมาใชเ้ ปน็ ตน้ ก้าลงั ในการขับเคลอื่ นโดยเชอื่ มตอ่ กบั
แบตเตอรี่ขนาด12V40Ahรับพลังงานจากแผงโซล่ า่ เซลลข์ นาด70x100 cm.โดยมกี ารตัดตอ่ กระแสไฟโดยกลอ่ งคมุ คา่ Ph(ความ

75 เปน็ กรด-ด่างของนา้ )และกา้ หนดบอ่ ท่ใี ชท้ ดลองแบบปิดขนาด200x200cm.และลึก50cm.เป็นสถานท่ีในการทดสอบ

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

กลุ่มเป้าหมาย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครังนีอยู่ในพืนที่ เขตหนองจอก โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3
ชมุ ชนได้แก่ ชมุ ชนล้าต้อยตง่ิ ชุมชนล้าผกั ชี และชุมชนโคกแฝด จา้ นวน 15 คน

ขอบเขตตัวแปรทศี่ กึ ษา
ตวั แปรที่ศกึ ษาสามารถแบง่ ออกเป็น 2 ส่วน
1. ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่
- เคร่อื งเตมิ อากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลลค์ วบคมุ ด้วยคา่ ความเปน็ กรดและด่างของน้า

(ความเปน็ กรด-ดา่ งของนา้ )
2. ตวั แปรตาม ได้แก่
- สมรรถนะของเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซลา่ เซลล์ควบคมุ ดว้ ยค่าความเปน็ กรดและ

ด่างของนา้ (ความเป็นกรด-ด่างของนา้ )
- ความพงึ พอใจของผูไ้ ดร้ ับผลกระทบจากน้าเสีย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
1. ไดเ้ คร่อื งเตมิ อากาศลงในนา้ แบบใชแ้ ผงโซล่าเซลล์ควบคุมดว้ ยค่าความเปน็ กรดและด่างของน้า
2.ได้ทราบประสทิ ธิภาพของเครือ่ งเติมอากาศลงในนา้ แบบใชแ้ ผงโซลา่ เซลล์ควบคมุ ด้วยค่าความเป็นกรดและดา่ งของนา้
3. ไดท้ ราบหลักการท้างานเครื่องเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใชแ้ ผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความ

เป็นกรดและด่างของนา้
4. ไดท้ ราบผลความพึงพอใจของผู้ได้รบั ผลกระทบจากนา้ เสยี

กรอบแนวคดิ ทใี่ ช้ในการวิจัย
ในการศึกษาครังนีได้แนวคิดมาจากการใช้กังหันน้าในพืนท่ีทางการเกษตรในการป่ันเติมออกซิเจนใน

แหล่งน้า เพื่อไม่ให้นา้ ไม่เน่าเสยี พรอ้ มกับสตั ว์น้าไห้ดา้ รงชีวติ อยู่ได้ แต่ตอ้ งแลกมากับการเสยี พลังงานไฟฟ้าตาม
บ้านเรือนท่ีเสียค่าใช้จ่ายพอสมควร ทางผู้ศึกษาจึงได้คิดค้นการออกแบบและสร้างเครื่องเติมอากาศลงในน้า
แบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรดและด่างของน้า ขึนเพื่อเป็นการน้าพลังงานแสงอาทิตย์มา
เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยประจุในแบตเตอรีแ่ ละต่อกับชุดควบคุมค่าความเป็นกรดและด่างของนา้ เพื่อตัดต่อการ
จ่ายกระแสไฟฟ้าไปยังมอเตอร์เป็นการยืดอายุการท้างานของมอเตอร์ไม่ให้ต้องท้างานตลอดเวลาและยัง
สามารถรับรู้ค่าความเปน็ กรดและด่างของนา้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง

วธิ ีการดา้ เนนิ การวิจยั
การศึกษาครังนีมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาคือ การออกแบบและสร้างเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้

แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรดและด่างของน้า ในเขตเขตหนองจอก ชุมชนแขวงล้าต้อยต่ิง แขวง
ล้าผกั ชี และแขวงโคกแฝด ซงึ่ ผูศ้ กึ ษามขี ันตอนการด้าเนนิ การศึกษา ดังนี

ขันที่ 1 การวางแผนและเตรยี มการศึกษาข้อมูล
ขันที่ 2 การออกแบบและสรา้ งเครือ่ งเติมอากาศฯ
ขันท่ี 3 การสร้างเครอ่ื งเตมิ อากาศ
ขันที่ 4 น้าไปทดลองใช้

76

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ขันท่ี 5 ปรับปรุงแกไ้ ข
ขนั ที่ 6 น้าไปใชง้ านจรงิ
ขนั ที่ 7 สรุปผลการวิจยั

เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
1.แบบสอบถามใบประเมินจากผู้ใช้งานจริงของเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์

ควบคุมดว้ ยคา่ ความเป็นกรดและดา่ งของนา้
2.แบบทดสอบประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใชแ้ ผงโซลา่ เซลลค์ วบคุมด้วยคา่ ความ

เปน็ กรดและด่างของนา้

การวเิ คราะห์
การศึกษาวจิ ัยเรือ่ ง ออกแบบและสรา้ งเคร่ืองเติมอากาศลงในน้าแบบใชแ้ ผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่า

ความเปน็ กรดและด่างของนา้ คณะผู้จดั ท้าไดว้ เิ คราะห์ข้อมูลและน้าเสนอผลการวเิ คราะหต์ ามล้าดบั ดังนี
1. การเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวจิ ัย
ในการวิจัยครงั นีมีจุดประสงค์เพ่ือสรา้ งเครื่องเตมิ อากาศลงในน้าแบบใชแ้ ผงโซลา่ เซลลค์ วบคุมด้วยค่า

ความเป็นกรดและด่างของน้า เพื่อหาประสิทธิภาพและศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้เคร่ืองเติมอากาศลงในน้า
แบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรดและด่างของน้า โดยเก็บรวบรวมแบบสา้ รวจความพึงพอใจ
ของประชากรในเขตหนองจอกคือ จ้านวนกลุ่มตัวอย่าง 3 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนล้าต้อยต่ิง ชุมชนล้าผักชี และ
ชมุ ชนโคกแฝด จ้านวน 15 คน สรปุ ไดด้ งั นี

ผลความพงึ พอใจ
ด้านสมรรถนะของเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรด
และด่างของน้า มีคา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจอยู่ท่ี 4.26 มคี า่ เฉลีย่ อยู่ในระดับ ดี
ดา้ นความสวยงาม มคี ่าเฉล่ยี ความพึงพอใจอย่ทู ่ี 4.30 คา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดบั ดี
ดา้ นความปลอดภยั มคี ่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจอยู่ระหวา่ ง 4.48 มคี า่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดบั ดี
ด้านประโยชน์และความคุม้ ค่า มคี า่ เฉลย่ี ความพึงพอใจอยู่ที่ 4.35 มคี ่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ ดี
สรปุ ทัง 4 ดา้ น ประกอบดว้ ยดา้ นสมรรถนะของเครอ่ื งเตมิ อากาศลงในนา้ แบบใช้แผงโซลา่ เซลล์ควบคมุ ดว้ ยค่าความ
เป็นกรดและดา่ งของนา้ ด้านความสวยงามด้านความปลอดภยั ดา้ นประโยชน์และความคมุ้ คา่ มคี า่ เฉลย่ี รวม4.35อยูใ่ นระดับดี
ผลประสทิ ธิภาพ
ประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองเตมิ อากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซลา่ เซลลค์ วบคุมด้วยคา่ ความเปน็ กรดและด่างของน้า

77

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

1. ค่าความเป็นกรดในบ่อทดลองขนาด 200x200 cm. ลึก 50 cm. ปริมาณน้า 2000 L จะ
ใช้เวลาในการปรับสภาพน้าค่า Ph เปน็ 7 จะใชเ้ วลา 28 นาที โดยสินเปลืองพลงั งานของแบตเตอร่ไี ป 0.30 A

2. ค่าความเป็นด่างในบ่อทดลองขนาด 200x200 cm. ลึก 50 cm. ปริมาณน้า 2000 L จะ
ใชเ้ วลาในการปรับสภาพนา้ ค่า Ph เป็น 7 จะใชเ้ วลา 20 นาที โดยสนิ เปลืองพลงั งานของแบตเตอรไี่ ป 0.31 A

อภิปรายผล
กลุ่มตัวอยา่ งในเขตหนองจอก จา้ นวน 3 ชมุ ชนไดแ้ ก่ ชมุ ชนล้าต้อยต่งิ ชมุ ชนลา้ ผักชี และชมุ ชนโคกแฝด จา้ นวน

15 คน มีความพึงพอใจในประสิทธิภาพของเครื่องเติมอากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลล์ควบคุมด้วยค่าความเป็นกรด
และดา่ ง ของน้าอยู่ในระดบั ดี ในหวั ข้อต่อไปนี การออกแบบโครงสร้าง สามารถใช้ในการท้างานได้จริง ความคงทน วัสดุท่ี
ใช้สร้างการท้างานของอุปกรณ์ เหมาะสมกับการใช้งาน รูปลักษณ์ทันสมัย มีความสวยงามของรูปลักษณะอุปกรณ์มี
ความสะอาดเรียบร้อย มีขนาด สัดส่วน ท่ีพอดี อุปกรณ์ใช้งานง่าย อุปกรณ์คงทนและปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อ
ผู้ใช้งาน อุปกรณ์จุดยึด จุดเชื่อมต่อม่ันคง ลดอันตรายจากการปฏิบัติงานอุปกรณ์คงทนคุ้มค่าต่อการใช้งาน สามารถ
น้าไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง ช่วยเพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิงาน ช่วยประหยดั ตน้ ทนุ และช่วยลดเวลาในการปฏบิ ัติงาน

. ขอ้ เสนอแนะ 78

ขอ้ เสนอแนะทั่วไป
1. ควรมีการพฒั นาให้มนี า้ หนกั ของเคร่ืองเตมิ อากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลลค์ วบคุมดว้ ยคา่
ความเป็นกรดและด่าง ใหน้ ้อยลง
2. ควรมกี ารพัฒนาเร่ืองตน้ ทุนของเคร่ืองเตมิ อากาศลงในน้าแบบใช้แผงโซล่าเซลลค์ วบคุมดว้ ยคา่
ความเป็นกรดและดา่ ง ให้น้อยลง

ข้อเสนอแนะเพอ่ื การวิจัยต่อไป

1. ควรมีการพฒั นาความคงทนของกล่องควบคุม Ph ของเคร่ืองเติมอากาศลงในนา้ แบบใชแ้ ผงโซลา่
เซลลค์ วบคุมดว้ ยค่าความเป็นกรดและด่าง

2. ควรมีการพัฒนาใหม้ คี วามเหมาะสมในเชงิ ธุรกิจมากยิ่งขึน

เอกสารอา้ งอิง

www.th.wikipedia.org/wiki กังหันน้าชัยพฒั นา สืบค้นวันที่ 4 ตลุ าคม 2563
www.th.wikipedia.org/wiki การเตมิ อากาศ สืบคน้ วนั ที่ 4 ตลุ าคม 2563
www.sites.google.com/site/mxtexr123 โซล่าเซลล์ สบื คน้ วันที่ 5 ตลุ าคม 2563
www.th.wikipedia.org พเี อช เคมี สืบคน้ วันที่ 5 ตลุ าคม 2563
www.th.wikipedia.org มอเตอร์ สบื ค้นวันที่ 6 ตุลาคม 2563
www.daiichi2007.com ประเภทท่นุ ลอยน้า สืบคน้ วนั ที่ 6 ตุลาคม 2563
www.th.wikipedia.org/wiki แบตเตอรี่ สืบคน้ วันที่ 8 ตุลาคม 2563
www.1stpioneer.com โซล่าชาร์จเจอร์ สืบคน้ วนั ที่ 10 ตลุ าคม 2563
www.hcjm.net/ph-meter ชดุ ควบคุม Ph สบื คน้ วันที่ 15 ตลุ าคม 2563

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การออกแบบและสรา้ งเรือพน่ น้าแปลงผักพลงั งานแสงอาทติ ย์ควบคุมดว้ ย
รีโมทคอนโทรล

Design and construction of a solar powered vegetable spray boat controlled
by a remote control

นายกิตตพิ งศ์ กางกัน , นายอลงกรณ์ อินแย้ม
Kittipong Kangkan , Alongkorn Inyeam

บทคัดยอ่

ในการศึกษาโครงการเรื่องการออกแบบและสร้างเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย
รีโมทคอนโทรล มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล
ประสิทธิภาพของเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล ศึกษาวิธีการใช้งานเรือ
พ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล และความพึงพอใจของเกษตรกรที่ต้องการ
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรดนา้ สวนแบบร่อง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครังนีเป็นกลุ่มตัวอย่างจา้ นวน 2
กลุ่มชุมชนได้แก่ ชุมชนล้าต้อยติ่ง และชุมชนล้าผักชี จ้านวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจงโดยด้าเนิน
การศึกษาในลักษณะการวิจัยเชิงส้ารวจ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ระดบั วิเคราะห์โดยใช้สถิติคา่ เฉล่ยี ( ̅ ) และค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D)

ผลการศกึ ษา
ด้านสมรรถนะ มีค่าเฉลย่ี ความพึงพอใจอยูร่ ะหวา่ ง 4.10 – 4.65 มีค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดับดีมาก
ด้านความสวยงาม มคี ่าเฉลยี่ ความพึงพอใจอยรู่ ะหว่าง 3.75 - 4.45 มคี า่ เฉล่ียอยู่ในระดับดี
ด้านความปลอดภัย มีค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจอย่รู ะหว่าง 3.85 – 4.30 ท่มี ีคา่ เฉลย่ี อยู่ในระดับดี
ด้านประโยชนแ์ ละความคุ้มคา่ มคี า่ เฉล่ยี ความพงึ พอใจอยรู่ ะหวา่ ง 3.75 – 4.15 มีคา่ เฉลยี่ อยู่ในระดับดี
สรุปทัง 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านสมรรถนะของเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมท

คอนโทรล ด้านความสวยงาม ดา้ นความปลอดภัย ดา้ นประโยชนแ์ ละความค้มุ คา่ มีค่าเฉลี่ยรวม 4.13 อยู่ในระดับดี

ผลประสิทธิภาพ
การทดสอบในระยะเวลา 20 นาที มอเตอร์ขบั ปั๊มใช้พลังงานแบตเตอรี่ไป 0.62 A ในระยะเวลา 40

นาที สินเปลอื งพลงั งานไป 0.62 A ในเวลา 60 นาที สนิ เปลอื งพลังงานไป 0.61 A
การทดสอบในระยะเวลา 10 นาที เรือสามารถแล่นได้ระยะทาง 15.67 เมตร ในระยะเวลา 20 นาที

เรอื สามารถแล่นได้ระยะทาง 28.33 เมตร ในระยะเวลา 30 นาที เรอื สามารถแลน่ ได้ระยะทาง 39.33 เมตร

79

บทความผลงานวิจัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

Abstract

In the study of the project on the design and construction of a remote control water-
powered vegetable spray boat The objective is to build a remote control solar vegetable spray
boat. The efficiency of the water spraying boat, solar powered vegetable conversion,
controlled by remote control Learn how to operate a water spray boat, a solar powered
vegetable garden, controlled by a remote control. And satisfaction of farmers who want to
save money on watering the garden with a groove. The sample group used in this study
consisted of 2 community groups: Lam Toi Ting Community The community of Lam Phakchi,
totaling 20 people, used a randomized randomization method. The instrument for data
collection was a five-level estimation scale questionnaire, analyzed by means of mean ( ̅ )
and standard deviation (SD) statistics.
Transcript

In terms of performance, the mean of satisfaction was between 4.10 - 4.65 and the
mean was very good.

Beauty The mean of satisfaction was between 3.75 - 4.45 with a good mean.
Safety aspect The mean of satisfaction was between 3.85 - 4.30 with a good mean.
Benefits and value The mean of satisfaction was between 3.75 - 4.15 with a good mean.
In summary, all 4 aspects consist of performance aspects of a water spray boat, a solar
powered vegetable field, controlled by a remote control. Beauty Safety aspect Benefits and
value The average of 4.13 is at a good level

Performance results
20-minute test, pump motor powered 0.62 A battery power for 40 minutes, 0.62 A

power consumption in 60 minutes, 0.61 A power consumption.
In 10 minutes of testing, the boat can sail a distance of 15.67 meters in 20 minutes,

the boat can sail a distance of 28.33 meters in 30 minutes, the boat can sail a distance of
39.33 meters.

80

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

บทนา้
1.1 ความเปน็ มาและความสา้ คัญของปัญหา

การเกษตรกรรมในประเทศไทยนนั เป็นอาชีพที่อยคู่ ู่คนไทยมานาน เกษตรกรชาวไทย
ได้มีการปรับและประยุกต์ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆในการท้าเกษตรเพื่อความสะดวกสบาย เนื่องจาก
ภาวะเศรษฐกิจท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ท้าให้ความต้องการใช้พลังงานเชือเพลิงมากขึน จึงท้าให้มีการ
น้าเข้าของปริมาณน้ามันเชือเพลิงเพิ่มขึนทุกปี นอกจากการน้าเข้าน้ามันเชือเพลิงจากต่างประเทศที่ท้าให้ต้อง
เสียค่าใช้จ่ายมากแล้ว ปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานเชือเพลิงท้าให้เกิดมลภาวะท่ีเกิดขึนจากการใช้และการ
ผลิตน้ามันมากขึน ดังนันจึงต้องหาแหล่งพลังงานทดแทนโดยค้านึงถึงหลักการของพลังงานทดแทน คือควรใช้
พลังงานท่ีสะอาดไม่ท้าลายสิ่งแวดล้อม ทังในกระบวนการผลิตและในกระบวนการใช้ หรือมีผลกระทบต่อ
ส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ยมาก อีกประการหน่งึ คือเปน็ แหลง่ พลงั งานทใ่ี ชไ้ ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื หรือสามารถน้ากลบั มาใช้ใหม่ได้

พลงั งานแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานอีกอย่างหนึ่งท่ีมนุษย์ให้ความสนใจและเลือกมาใช้เป็น
แหล่งพลังงานทดแทน เน่ืองจากพลังงานดังกล่าว เป็นพลังงานท่ีได้เปล่ามีจ้านวนไม่จ้ากัด และปราศจาก
มลภาวะ การน้าพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์ ท้าได้หลายวิธี ขึนอยู่กับผู้ใช้ว่ามีเทคโนโลยีและ
ส่วนประกอบที่เหมาะสมกันกับระบบไฟฟ้า (Photovoltaic Power System) คือระบบไฟฟ้าที่ผลิต
กระแสไฟฟา้ โดยตรงจากแสงอาทิตย์โดยใช้แผงโซล่าเซลล์ เป็นทีท่ ราบกนั ดีโดยท่ัวไป

ปจั จุบนั เราสามารถแปรสภาพพลงั งานแสงอาทติ ย์ให้เปน็ พลงั งานไฟฟา้ โดยใชแ้ ผงโซ
ล่าเซลล์ เป็นตวั กลางในการผลิตไดโ้ ดยตรง ผ้ทู ้าการศึกษามคี วามสนใจในเรื่องนี จงึ ได้ท้า “การออกแบบและ
สร้างเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “Design and construction of a
solar powered vegetable spray boat controlled by a remote control”

วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา
ในการศกึ ษาครงั นี ผูศ้ ึกษาจึงตงั วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาการออกแบบและสร้างเรอื

พน่ นา้ แปลงผักพลงั งานแสงอาทิตย์ มีดงั ต่อไปนี
1. เพื่อศกึ ษาการท้างานของเรือพ่นน้าแปลงผักพลงั งานแสงอาทิตย์ควบคมุ ดว้ ยรีโมทคอนโทรล
2. เพอื่ ออกแบบและสรา้ งเรอื พ่นน้าแปลงผกั พลงั งานแสงอาทิตย์ควบคมุ ด้วยรโี มทคอนโทรล
3. เพ่อื ศึกษาประสิทธภิ าพของเรอื พน่ นา้ แปลงผักพลงั งานแสงอาทติ ย์ควบคุมด้วยรโี มทคอนโทรล
4. เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของเกษตรกร

กรอบแนวคิดทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย
ผ้วู ิจยั มแี นวคิดมาจากการใชเ้ รือพ่นน้าที่ใช้เครื่องยนต์ในพืนที่ทางการเกษตร ใหก้ ารรดน้าให้กับ

ผลผลิต แต่ต้องแลกมากับการสินเปลืองเชือเพลิงซึ่งสินเปลืองค่าใช้จ่ายพอสมควร ทางผู้วิจัยจึงได้คิดค้นโดยการ
ออกแบบเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล เพ่ือเป็นการน้าพลังงานแสงอาทิตย์
มาเป็นพลงั งานทดแทนทงั ยังเปน็ การลดมลภาวะให้กับโลกและเป็นการประหยดั ค่าใช้จา่ ยใหก้ ับเกษตรกรผู้ใชง้ าน

81

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ขอบเขตการวจิ ยั 82
ในการศึกษาครงั นเี ป็นการศึกษาแบบนวตั กรรม โดยก้าหนดขอบเขตการศกึ ษาเฉพาะกลมุ่ ชมุ ชนใน

ท้องถ่ิน เขตหนองจอก จงั หวัดกรุงเทพมหานคร ตัวเรือมีขนาดความกว้าง 80 CM. ความยาว 195 CM. ความสูง 100
CM. โดยใชเ้ รอื PVCหรือเรือพลาสติกเปน็ โครงสรา้ งหลกั ระบบส่งก้าลังใช้มอร์เตอรข์ นาด 250W/24V มาใช้เป็นตัวขบั
ใบพัดเรือและใชม้ อเตอรข์ นาดเดียวกันมาเปน็ ตวั ขบั ป๊มั น้า และใช้มอรเ์ ตอรป์ ดั นา้ ฝนขนาด 12V มาทา้ การขับหางเสือ
เรือและใช้รซี ฟิ เวอร์มารบั สัญญาณจากรีโมทคอนโทรลสัง่ การไปท่ลี มิ ิตสวิตซ์เพือ่ สั่งการมอเตอร์ แหลง่ งานหลกั ของ
เรอื คือพลงั งานแสงอาทตย์ทไ่ี ด้จากแผลงโซล่าเซลลจ์ า้ นวนสองแผงแตล่ ะแผงขนาด 70x100 CM. โดยเกบ็ กระแสไฟไว้
ในแบตเตอร่ขี นาด 12V 75Ah จ้านวนสองลูก และกา้ หนดร่องน้าในสวนที่ใชท้ ดลอง ขนาดความกวา้ งไมต่ ่้ากวา่ 1.50
เมตร และลกึ 0.70 เมตร ระทางทีบ่ งั คบั ได้ไมเ่ กิน 300-400 เมตร สา้ หรบั การทดสอบ
กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรที่ใช้ในการศึกษาครงั นีอยู่ในเขตหนองจอก โดยเลือกกล่มุ ตัวอย่างมา 2 ชมุ ชน ไดแ้ ก่
ชมุ ชนล้าต้อยต่ิงและ ชมุ ชนล้าผกั ชี ชุมชนละ 10 คน รวมเปน็ 20 คน

ขอบเขตตัวแปรตัวแปรทศ่ี กึ ษา
ตวั แปรตน้ ได้แก่
- เรอื พ่นนา้ แปลงผักพลังงานแสงอาทติ ย์ควบคมุ ด้วยรโี มทคอนโทรล
ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่
- ประสิทธิภาพของเรือพน่ น้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมดว้ ยรโี มทคอนโทรล

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ
1. ได้หลักการท้างานของเรือพน่ น้าแปลงผกั พลังงานแสงอาทติ ยค์ วบคมุ ดว้ ยรโี มทคอนโทรล
2. ไดเ้ รือพน่ นา้ แปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมดว้ ยรโี มทคอนโทรล
3. ได้ประสิทธิภาพของเรือพ่นน้าแปลงผักพลงั งานแสงอาทิตยค์ วบคมุ ดว้ ยรโี มทคอนโทรล
4. ไดผ้ ลความพึงพอใจของเกษตรกรต่อเรือพน่ น้าแปลงผกั พลังงานแสงอาทิตย์ควบคมุ ด้วยรีโมทคอนโทรล

วธิ ีด้าเนนิ การวจิ ยั
การศึกษาครงั นมี ีจุดม่งุ หมายเพ่ือศกึ ษาคอื การออกแบบและสร้างเรอื พ่นน้าแปลงผกั พลงั งานแสงอาทิตย์

ความคุมดว้ ยรีโมทคอนโทรล กล่มุ ชมุ ชนในท้องถ่นิ เขตหนองจอก ซึง่ ผศู้ ึกษามีขันตอนการดา้ เนินการศกึ ษา ดังนี
ขันที่ 1 การวางแผนและเตรยี มการศึกษาข้อมลู
ขันท่ี 2 การออกแบบและสรา้ งเรอื พน่ น้าฯ
ขนั ที่ 3 สร้างเรือพน่ น้าแปลงผกั ฯ
ขนั ท่ี 4 นา้ ไปทดลองใชง้ าน
ขันท่ี 5 ปรบั ปรุงแกไ้ ข
ขันที่ 6 นา้ ไปใช้งานจรงิ
ขนั ท่ี 7 สรปุ ผลการวิจัย

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการศึกษา
1.แบบประเมินความพึงพอใจของเรือพน่ น้าแปลงผกั พลังงานแสงอาทติ ย์ควบคมุ ดว้ ยรโี มทคอนโทรล
2.แบบทดสอบประเมนิ ประสิทธิภาพของเรอื พ่นนา้ แปลงผักพลงั งานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรโี มทคอนโทรล

สรุปผลการวิจัย
ในการวิจัยครังนีมีจุดประสงค์เพ่ือสร้างเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมท

คอนโทรล เพื่อหาประสิทธิภาพและศึกษาความพึงพอใจของเกษตรกรผู้ใช้เรือพ่นน้าแปลงผักพลังงาน
แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล เพ่ือโดยเก็บรวบรวมแบบส้ารวจความพึงพอใจ ของประชากรในเขต
หนองจอกคอื จา้ นวนกลมุ่ ตัวอย่าง 2 ชมุ ชน ได้แก่ ชุมชนลา้ ตอ้ ยตง่ิ และชุมชนล้าผกั ชี จา้ นวน 20 คน

ผลประสทิ ธิภาพ
ประสทิ ธภิ าพของเรอื พ่นนา้ แปลงผกั พลังงานแสงอาทติ ย์ควบคมุ ดว้ ยรโี มทคอนโทรล
การทดสอบระยะทางของเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล

สรุปได้ดังนี พบว่าในระยะเวลา 10 นาที เรือสามารถแล่นได้ระยะทาง 15.67 เมตร ในระยะเวลา 20 นาที
เรือสามารถแลน่ ได้ระยะทาง 28.33 เมตร ในระยะเวลา 30 นาที เรอื สามารถแลน่ ไดร้ ะยะทาง 39.33 เมตร

ผลความพึงพอใจ
ดา้ นสมรรถนะ มีค่าเฉล่ียความพึงพอใจ 4.37 อย่ใู นระดับดี
ด้านความสวยงาม มีคา่ เฉล่ียความพงึ พอใจ 4.12 อยู่ในระดบั ดี
ดา้ นความปลอดภัย มีค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจ 4.04 อยใู่ นระดับดี
ดา้ นประโยชนแ์ ละความคมุ้ คา่ มคี ่าเฉลยี่ ความพึงพอใจ 3.98 อยใู่ นระดับดี
สรุปทงั 4 ดา้ น ประกอบด้วย ดา้ นสมรรถนะของเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยรีโมท

คอนโทรล ด้านความสวยงาม ดา้ นความปลอดภัย ดา้ นประโยชน์และความค้มุ ค่า มคี า่ เฉล่ียรวม 4.13 อยูใ่ นระดับดี

อภิปรายผล
กลุ่มตัวอย่างในเขตหนองจอก จ้านวน 2 ชุมชนได้แก่ ชุมชนล้าต้อยติ่ง และชุมชนล้าผักชี จ้านวน 20 คน มีความพึงพอใจใน

ประสิทธิภาพของเรอื พน่ น้าแปลงผักพลงั งานแสงอาทติ ย์ควบคุมดว้ ยรโี มทคอนโทรลในหัวข้อต่อไปนี การออกแบบโครงสร้างสามารถใช้
ในการท้างานได้จรงิ ความคงทนวัสดุที่ใช้สร้างการทา้ งานของอปุ กรณ์ เหมาะสมกับการใชง้ าน รูปลักษณ์ทนั สมัย มีความสวยงามของ
รูปลักษณะอุปกรณ์มีความสะอาดเรียบร้อย มีขนาด สัดส่วน ท่ีพอดี อุปกรณ์ใช้งานง่าย อุปกรณ์คงทนและปลอดภัย ไม่เป็นอันตราย
ต่อผู้ใช้งาน อุปกรณ์จุดยึด จุดเช่ือมต่อม่ันคง ลดอันตรายจากการปฏิบัติงานอุปกรณ์คงทนคุ้มค่าต่อการใช้งาน สามารถน้าไปใช้
ประโยชน์ไดจ้ รงิ ช่วยเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน ชว่ ยประหยดั ตน้ ทุน และชว่ ยลดเวลาในการปฏิบตั ิงาน

83

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ขอ้ เสนอแนะ
1.ขอ้ เสนอแนะท่ัวไป
1.1 ควรมีการพัฒนาให้มีนา้ หนักของเรือพ่นนา้ แปลงผักพลงั งานแสงอาทิตยค์ วบคุมด้วยรีโมท

คอนโทรลใหน้ ้อยลง
1.2 ควรมีการพัฒนาเร่ืองตน้ ทุนของเรือพ่นน้าแปลงผักพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมดว้ ยรีโมท

คอนโทรลใหน้ ้อยลง
2. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การวิจัยต่อไป
2.1 ควรมกี ารพัฒนาเรอื พน่ น้าแปลงผักพลังงานแสงอาทติ ย์ควบคุมดว้ ยรีโมท

คอนโทรลให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ
2.2 ควรมกี ารพัฒนาใหม้ คี วามเหมาะสมในเชิงธุรกิจมากยง่ิ ขึน

บรรณานุกรม

https://th.wikipedia.org/wiki/เรือ เรือ สบื ค้นวนั ที่ 10 ตลุ าคม 2563
ccsolar-thai.com โซล่าเซลล์ สืบคน้ วันท่ี 11 ตลุ าคม 2563
https://industrypro.co.th/motor/ มอเตอร์ สืบค้นวนั ท่ี 12 ตลุ าคม 2563
https://sites.google.com/site/plastic9911/pvc/pvc-pipe ทอ่ PVC สบื คน้ วนั ท่ี 13 ตุลาคม 2563
https://th.wikipedia.org/wiki แบตเตอร่ี สบื คน้ วนั ท่ี 13 ตลุ าคม 2563
https://th.wikipedia.org/wiki ชดุ รีโมท สบื คน้ วันท่ี 13 ตุลาคม 2563
http://thaiseafarer.com/technologies/ship-propeller.php ใบพัด สืบคน้ วันท่ี 14 ตลุ าคม 2563
taguthailand/posts/224995824946949 หางเสือ สืบค้นวันท่ี 14 ตุลาคม 2563
http://www.1stpioneer.com/ โซล่าชาร์จเจอร์ สืบค้นวนั ที่ 14 ตุลาคม 2563
https://www.eurooriental.co.th ปม๊ั น้า สืบคน้ วันที่ 15ตุลาคม 2563
https://th.misumec.com/th/ ชดุ ควบคุมการทา้ งาน สืบคน้ วันท่ี 18 ตลุ าคม 2563

84

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

การออกแบบและสร้างเครอื่ งไล่ความช้นื ขา้ วเปลือกด้วยความรอ้ น
Design and Create of Dehumidify Machine for Rice Paddy by heat

นายขจรศักดิ์ ภมู ี Mr. Kajohnsak Pumee
นายนัทธพงศ์ ศรสี ลวย Mr. Nattapong Srisaluay

บทคดั ย่อ

งานวิจัยเรื่องการออกแบบและสร้างเคร่ืองไล่ความชื้นข้าวเปลือกด้วยความร้อน มี
วัตถุประสงค์เพื่อการออกแบบและสร้างเครื่องไล่ความช้ืนข้าวเปลือกด้วยความร้อนและเพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพให้แก่ข้าวเปลือกและศึกษาความช้ืนในข้าวเปลือกและความพึงพอใจของผู้ได้รับ
ผลกระทบจากความชื้นในข้าวเปลือก กลุ่มตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นครึ้งนี้เปน็ กลุ่มตัวอย่าง 1 กลุม่ ชุมชนได้แก่
ชมุ ชนเชือ่ มสมั พันธ์จานวน 20 คน ใชว้ ิธีการสมุ่ แบบเจาะจงโดยดาเนินการศึกษาในลักษณะการวิจัย
เชงิ สารวจ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
วิเคราะหโ์ ดยใช้สถิติคา่ เฉลี่ยและคา่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D)
ผลการศึกษา

จากการทดสอบ ระยะเวลาท่สี ามารถไล่ความชื้นไดม้ ีประสิทธภิ าพไดด้ ี ในอณุ ภมู ิ 35 องศา
เซลเซยี ส อยูท่ ่เี วลา 19 นาที

จากการทดสอบ ระยะเวลาที่สามารถไล่ความชืน้ ได้มีประสิทธภิ าพได้ดี ในอณุ ภูมิ 40 องศา
เซลเซยี ส อยูท่ ่เี วลา 15 นาที

จากการทดสอบ ระยะเวลาทส่ี ามารถไล่ความช้ืนได้มปี ระสิทธิภาพได้ดี ในอุณภมู ิ 45 องศา
เซลเซียส อย่ทู ี่เวลา 13 นาที

85

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract

Research on Design and Construction of Paddy Dehumidifier by Heat The objective
was to design and construct a thermal paddy dehydrator and to increase the efficiency of
paddy and to study the paddy moisture content and the satisfaction of those affected by the
paddy moisture content. The sample group used in this year is a samplegroup of 1 community
group, namely. The community of 20 people used a specific randomization method by
conducting a survey research method. The tool used for data collection was a five-level
estimation scale questionnaire, analyzed using mean and standard deviation (SD) statistics.

Study results
From the test, the period of time that can remove moisture effectively in a

temperature of 35 degrees Celsius is 19 minutes.
From the test, the period of time that can be effectively dehumidified in a

temperature of 40 degrees Celsius is 15 minutes.
From the test, the period of time that can remove moisture effectively in the

temperature of 45 degrees Celsius is 13 minutes.

บทนา
เกษตรกรรมในประเทศไทยนัน้ เป็นอาชีพทอ่ี ยู่ค่คู นไทยมานาน ข้าวเปน็ สนิ คา้ เกษตรทีส่ าคัญของชาว

ไทยและชาวนาเป็นเกษตรกรส่วนใหญ่ของประเทศ แต่ชาวนากย็ ังเปน็ อาชีพที่มีรายได้น้อยเนื่องจากปัญหาใน
การเพาะปลูกถึงแม้ในบางปีจะได้ผลผลิตดี ราคาข้าวสารสูง แต่ชาวนาก็ยังขายข้าวเปลือกให้กับโรงสีข้าวใน
ราคาทีต่ า่ เน่อื งจากขา้ วทเ่ี กบ็ เก่ยี วมามคี วามชื้นสงู มผี ลทาใหข้ า้ วเสอื่ มคุณภาพ เช่น เกิดข้าวเนา่ ข้าวบดู ขา้ ว
เหลือง ขา้ วมคี ุณภาพการสีตา่ และไม่สามารถทาการขดั สไี ด้จึงตอ้ งทาการลดความช้นื ของเมล็ดขา้ ว

โดยการลดความช้ืนนั้น สามารถทาได้หลายวิธี ได้แก่ การใช้แสงอาทิตย์ และการใช้เครื่องอบ
โดยทั่วไปโรงสีข้าวขนาดใหญ่ จึงมักลดความชื้นข้าวเปลือกโดยการใช้แสงอาทิตย์เป็นแหล่งความร้อนเป็น
วิธีการท่ีประหยัด ไม่ยุ่งยาก แต่มีข้อเสีย คือ ต้องใช้แรงงานและพื้นที่ในการตาก และไม่สามารถควบคุม
คณุ ภาพขา้ วได้ การลดความชน้ื ขา้ วเปลือกโดยการใชเ้ คร่อื งอบจงึ มีความจาเป็นเพราะวธิ นี ้ีมขี อ้ ดี คือ สามารถ
ปฏิบัติได้ในทุกสภาวะอากาศแม้ฝนจะตกหรือมีแสงแดดน้อย สามารถควบคุมความช้ืนให้อยู่ในระดับตาม
ตอ้ งการ สามารถควบคุมป้องกันความเสียหายต่อคุณภาพข้าวได้ ทาใหเ้ พมิ่ คณุ ภาพของข้าวเปลอื กได้

86

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

เน่ืองจากปัญหาของความเป็นมาและความสาคัญ ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จศึกษาในเรื่อง
ดงั กลา่ ว โดยตงั้ ปัญหาของการศึกษาในครงั้ นวี้ ่า “การออกแบบและสร้างเครื่องไลค่ วามช้ืนข้าวเปลือก
ด้วยความร้อน” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “Design and Create of Dehumidify Machine
for Rice Paddy by heat ” เพ่ือศึกษาการไล่ความชื้นสาหรับข้าวเปลือกและสร้างเครื่องไล่
ความชืน้ ขา้ วเปลอื กด้วยความร้อนให้ข้าวเปลอื กมีคุณภาพและความสะดวกสบายแก่เกษตรกรชาวนา

วตั ถุประสงค์ของการศึกษา
ในการศึกษาครง้ั นีผ้ ้ศู ึกษาจึงต้ังวัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาการออกแบบและสร้างเคร่ือง ไล่

ความชน้ื ขา้ วเปลือกดว้ ยความร้อน มดี งั ต่อไปน้ี
1.2.1 เพ่อื ออกแบบและสรา้ งเคร่ืองไล่ความช้ืนขา้ วเปลือกด้วยความร้อน
1.2.2 เพื่อเพิม่ คุณภาพและมูลค่าของข้าวเปลือก
1.2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผใู้ ช้เครื่องไล่ความช้นื ข้าวเปลือกด้วยความร้อน
1.2.4 เพอ่ื หาประสทิ ธภิ าพเครือ่ งไล่ความชืน้ ข้าวเปลือกด้วยความร้อน

สมมตุ ิฐานงานวิจัย
เครอ่ื งไลค่ วามชื้นขา้ วเปลือกด้วยความร้อนจะมปี ระสิทธภิ าพ 80/80 และจะเพิ่มมูลคา่

ใหก้ ับข้าวเปลอื ก

วธิ ีการดาเนนิ การวิจยั
ในการวิจยั ครง้ั น้ี มจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือศกึ ษาวธิ กี ารออกแบบสร้างเคร่ืองไล่ความชนื้ ข้าวเปลือก

ด้วยความร้อน เพื่อใช้ในกลุ่มเกษตรกรชุมชนเช่อื มสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก จังหวัด
กรุงเทพมหานคร โดยผ้วู จิ ยั มีขัน้ ตอนการทางานดงั น้ี

1.วางแผนการศึกษาข้อมูล
2.ออกแบบโครงสร้าง
3.สรา้ งเคร่อื งไลค่ วามช้นื ขา้ วเปลือกด้วยความร้อน
4.นาไปทดลองใช้
5.ปรับปรุงแกไ้ ข
6.นาไปใชง้ านจรงิ
7.สรุปผลงานวจิ ัย

สรุปผลการวิจัย
ในการวจิ ัยคร้ังน้มี จี ุดประสงคเ์ พ่ือออกแบบและสร้างเคร่ืองไล่ความช้นื ขา้ วเปลอื กด้วยความร้อน

เพอ่ื หาประสทิ ธภิ าพและศึกษาความพึงพอใจของผู้ใชเ้ คร่อื งไล่ความชื้นขา้ วเปลือกดว้ ยความร้อน โดยเก็บ
รวบรวมแบบสารวจความพงึ พอใจ ของประชากรในเขตหนองจอกคอื ชมุ ชนเชอื่ มสมั พันธ์ จานวน 20 คน

87

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

1 ประสิทธภิ าพของเคร่อื งไล่ความช้นื ขา้ วเปลอื กด้วยความร้อน
1.1 การทดสอบประสิทธิภาพการไล่ความชื้นในข้าวเปลือกท่ีอุณภูมิ 35 องศาเซลเซียส

สรุปได้ดังนี้ จากการทดสอบ ระยะเวลาที่สามารถไล่ความชื้นได้มีประสิทธิภาพได้ดี ในอุณภูมิ 35
องศาเซลเซยี ส อยูท่ เ่ี วลา 19 นาที

1.2 การทดสอบประสิทธิภาพการไล่ความชื้นในขา้ วเปลอื กท่ีอณุ ภูมิ 40 องศาเซลเซียส สรปุ ได้ดังนี้ จาก
การทดสอบ ระยะเวลาทส่ี ามารถไลค่ วามชืน้ ไดม้ ีประสิทธิภาพได้ดี ในอุณภูมิ 40 องศาเซลเซียส อย่ทู ่ีเวลา 15 นาที

1.3 การทดสอบประสิทธิภาพการไล่ความชื้นในข้าวเปลือกทอ่ี ณุ ภูมิ 45 องศาเซลเซียส สรปุ ไดด้ งั น้ีจาก
การทดสอบ ระยะเวลาท่สี ามารถไลค่ วามชน้ื ไดม้ ีประสิทธิภาพไดด้ ี ในอณุ ภูมิ 45 องศาเซลเซียส อยูท่ เี่ วลา 13 นาที

2 ผลของแบบประเมินความพึงพอใจของเคร่ืองไล่ความช้ืนข้าวเปลือกด้วยความร้อน
ตามความคิดเห็นของผใู้ ชง้ าน

ดา้ นสมรรถนะ ของเคร่อื งไล่ความชื้นข้าวเปลือกด้วยความร้อน มคี ่าเฉลย่ี ความพงึ พอใจอยู่
ที่ 4.66 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก เรียงตามลาดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ การออกแบบ
โครงสรา้ ง สามารถใช้ในการทางานได้จรงิ ความคงทน การทางานของอุปกรณ์ วสั ดุทใ่ี ช้สรา้ ง

ด้านความสวยงาม ของเคร่อื งไล่ความชืน้ ขา้ วเปลือกด้วยลมร้อน มีค่าเฉล่ยี ความพึงพอใจอยู่
ที่ 4.52 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก เรียงตามลาดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ เหมาะสมกับการใช้
งาน รูปลักษณ์ทันสมัย อุปกรณ์มีความสะอาดเรียบร้อย มีความสวยงามของรูปลักษณะ มีขนาด
สัดสว่ นทีพ่ อดี

ด้านความปลอดภัย มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ท่ี 4.37 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก เรียง
ตามลาดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ลดอันตรายจากการปฏิบัติงาน อุปกรณ์ใช้งานง่าย อุปกรณ์
คงทนและปลอดภยั ไมเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ ผู้ใช้งาน อุปกรณจ์ ดุ ยึดจดุ เชอ่ื มต่อม่ันคง

ดา้ นประโยชน์และความคุ้มคา่ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ท่ี 4.61 มคี ่าเฉล่ียอยู่ในระดับดี
มาก เรียงตามลาดับค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย ได้แก่ อุปกรณ์คงทนคุ้มค่าต่อการใช้งาน สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน ชว่ ยลดเวลาในการปฏิบตั ิงาน ช่วย
ประหยัดตน้ ทุน

สรุป ด้านสมรรถนะ ด้านความสวยงาม ด้านความปลอดภัย ด้านประโยชน์ละความคุ้มค่า
มคี ่าเฉลี่ยความพ่งึ พอใจอยู่ที่ 4.54 มคี ่าเฉลีย่ อยู่ในระดับดมี าก

เอกสารอา้ งองิ

www.research.kpru.ac.th (การพัฒนาเคร่ืองลดความชืน้ )
www.ricethailand.go.th (องค์ความรเู้ รอ่ื งขา้ ว)
www.mgronline.com (งานวจิ ัยเคร่ืองลดความชื้น)

88

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

เคร่อื งบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยการรู้จาใบหน้าและวัดอณุ หภมู ดิ ว้ ยบอรด์ ราสเบอร่ีพาย
Data Recorder with Face Recognition and Temperature Measurement

with Raspberry Pi Board

ชัยวฒั น์ สีเคนา1 มนัสไชย พลู ละวาน2
อาจารย์แสงอาทิตย์ เจง้ วฒั นพงศ์3 อาจารย์เอกพจน์ เขยี วคล้าย4

Mr.Chaiwat Seekhean1 Mr. Manadchai Phoonlawan2
Mr. Sangartid Chengwattanapong3 Mr. Ekkapot Keawklai4

1, 2 นักศกึ ษา สาขาเทคโนโลยไี ฟฟา้ สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร
3 อาจารย์ สาขาวิชาไฟฟา้ วิทยาลัยการอาชพี กาญจนาภเิ ษกหนองจอก
4 อาจารย์ สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลัยการอาชพี กาญจนาภิเษกหนองจอก

บทคัดย่อ

โครงงานน้นี าเสนอการออกแบบเครอ่ื งบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยการรูจ้ าใบหนา้ และวดั อณุ หภูมิด้วยบอร์ดรา
สเบอร่พี าย Data Recorder with Face Recognition and Temperature Measurement with Raspberry
Pi Board โดยการดารงชีวิตในปัจจุบันนค้ี วามก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยีเปน็ ปัจจัยหนึ่งที่ใหช้ ีวดั ความมีศักย์
ภาพของสังคมนั้น เช่น ในโรงงานอุตสาหกรรมมีการผลิตด้วยเครื่องจักรท่ีทันสมัย หรือระบบการบริหารงาน
ขององค์กร และระบบในสถานศึกษา เป็นต้น เคร่ืองรู้จาใบหน้าก็เป็นเทคโนโลยีอีกทางเลือกหนึ่งท่ีนามาใช้
งานภายในองค์กร เพราะประโยชน์จากใบหนา้ สามารถแสดงข้อมลู ของบุคคลนนั้ ได้ ด้วยเหตุนจ้ี งึ มีระบบท่ีนา
เทคโนโลยีเครือ่ งร้จู าใบหนา้ มาใชป้ ระโยชนใ์ นด้านต่างๆ เช่น การรักษาความปลอดภยั การเขา้ -ออกงาน

ผจู้ ดั ทาจึงคิดปรบั ปรงุ ระบบการรจู้ าใบหน้าเพ่ือใหไ้ ด้ประโยชน์สูงสุด โดยจากการศกึ ษาความเป็นไป
ได้ของระบบทาให้เกิดแนวคิดในการใช้อุปกรณ์ดังนี้ บอร์ด raspberry pi 3 b+, กล้อง Webcam, Display
ระบบนีเ้ ป็นการควบคมุ แบบอตั โนมตั ิโดยใช้บอรด์ raspberry pi 3 b+ เป็นตวั ควบคุมหลักของระบบ โดยการ
ใช้ประโยชนข์ องเครือ่ งรู้จาใบหนา้ น้ี ผูจ้ ัดทามุง่ หวงั เพ่ือนาไปใช้ในการรกั ษาความปลอดภยั ในองค์กร หรอื การ
เช็คเวลาบุคคลในการเข้าและออก

คาสาคญั : เครือ่ งบนั ทกึ ข้อมูลดว้ ยการรูจ้ าใบหนา้ และวัดอุณหภมู ิ

89

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract

This project presents the design of a Data Recorder with Face Recognition and Temperature
Measurement. By living today, advances in technology are one of the factors that determine the
potential of society. Industrial plants are produced with modern machinery. Or the management
system of the organization and the system in educational institutes. Face recognition is another
technology that is used within the organization. Because the benefits of a face can show that person's
information. For this reason, there are systems that utilize facial recognition technology in areas such as
security, In-out work.

The authors therefore think about improving the facial recognition system for maximum benefit.
By studying the feasibility of the system, the concept of using the device, raspberry pi 3 b+, Webcam,
Display. This system is an automatic control using raspberry pi 3 b+ board as the main controller.

Keywords : Data Recorder with Face Recognition and Temperature Measurement

1. บทนา
ปัจจุบันเทคโนโลยีบันทึกเวลาการทางานมีหลากหลายเทคโนโลยีมาก ไม่ว่าจะเป็น เคร่ืองสแกนลายนิ้วมือ

เคร่ืองสแกนฝ่ามือ เครื่องสแกนม่านตา และรวมถึงเทคโนโลยีที่เราจะพูดในบทความนี้นั้นก็คือ เคร่ืองสแกนใบหน้า
โดยแต่ละเทคโนโลยีก็มีข้อดีข้อเด่นท่ีแตกต่างกันออกไป แต่ท่ีได้รับความนิยมจริงๆ ก็จะมีเพียงแค่ เครื่องสแกน
ลายนวิ้ มือ และเทคโนโลยีใหม่มาแรงก็คือ เครอ่ื งสแกนใบหน้า เท่านั้น ซึง่ เคร่ืองสแกนใบหน้า นับว่าเป็นเทคโนโลยีท่ี
น่าจับตามองมากท่ีสุดเพราะ สามารถทางานได้รวดเร็ว ความแม่นยาสูงมาก และปลอดภัยไม่ต้องกังวลขณะใช้งาน
นอกจากนี้ เคร่ืองสแกนใบหน้า ยังมาพร้อมกับฟังก์ช่ันการใช้งานที่โดดเด่น เหนือกว่ามากกว่าเทคโนโลยีอ่ืนๆ อีก
ดว้ ย โดยโครงการนี้มีวตั ถุประสงค์เพ่ือสรา้ งเครื่องบันทึกข้อมูลด้วยการรูจ้ าใบหน้าและวัดอุณหภูมิ

2. วัตถุประสงค์ของการวิจยั
2.1 เพือ่ ออกแบบและสรา้ งเครื่องบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยการรูจ้ าใบหนา้ และวดั อุณหภูมิด้วยบอรด์ ราสเบอรพี่ าย
2.2 เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการทางานของเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัด

อุณหภมู ดิ ้วยบอร์ดราสเบอรพี่ าย
2.3 เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของผใู้ ช้งานเครื่องบันทึกขอ้ มูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวดั อุณหภูมิ

ดว้ ยบอร์ดราสเบอรี่พาย
3. วิธีดาเนินการวิจยั

3.1 ศึกษาและเกบ็ รวบข้อมูล
3.2 กาหนดแนวทางในการออกแบบ

90

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

3.3 ออกแบบชิ้นงาน
3.4 ประกอบชน้ิ งาน
3.5 ทดสอบชิน้ งานและทดสอบประสิทธภิ าพ
3.6 ประเมินความพงึ พอใจ
3.7 สรปุ ผลการดาเนินการ
4. ผลการวิจยั

จากการจัดทาเครื่องบันทึกข้อมลู ด้วยการรูจ้ าใบหนา้ และวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอร่ีพาย
ผูว้ จิ ัยไดก้ าหนดวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยไว้คือ เพ่ือออกแบบและสร้างเครื่องบันทึกข้อมลู ดว้ ยการรู้จา
ใบหน้าและวดั อุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรีพ่ าย เพอ่ื หาประสิทธภิ าพของการใช้งานเครอื่ งบนั ทึกข้อมูล
ด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของ
ผู้ใช้เครื่องบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย จากการ
ดาเนินงานในคร้งั น้ีผวู้ ิจัยสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลตามวตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้

4.1 จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อออกแบบและสร้างเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้า
และวัดอณุ หภูมิดว้ ยบอร์ดราสเบอรพี่ าย ไดต้ ามวัตถุประสงค์ทกี่ าหนดไว้

รปู ที่ 4-1 ออกแบบเครอ่ื งบันทกึ ข้อมลู ดว้ ยการร้จู าใบหนา้ และวดั อณุ หภูมดิ ว้ ยบอรด์ ราสเบอรี่พาย

91

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4.2 จากวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 เพื่อหาประสิทธิภาพของการใช้งานเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการ
รู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย ที่วิทยาลัยการอาชีพกาญจนาภิเษกหนองจอก
อาคารเรยี นไฟฟ้า ในวันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2564 เวลา 12:00 น.– 14:00 น. โดยมีการทดสอบดงั น้ี

4.2.1 ทดสอบการตรวจใบหน้าในระยะตา่ งๆ ได้ผลดังน้ี
ตารางท่ี 4-1 ทดสอบการตรวจใบหนา้ ในระยะต่างๆ

ระยะทดสอบ ครั้งที่ 1 ครง้ั ท่ี 2 ครัง้ ที่ 3 ครง้ั ท่ี 4 ครัง้ ที่ 5 หมายเหตุ

ที่ระยะ 2 เมตร      ระยะไกลเกินไป
ทร่ี ะยะ 1.5 เมตร      จับได้เปน็ บางครั้ง
ทรี่ ะยะ 1 เมตร      จับได้เปน็ บางครั้ง
ที่ระยะ 0.5 เมตร      เปน็ ระยะที่เหมาะสม
ที่ระยะ 0.3 เมตร      เป็นระยะท่เี หมาะสม
ที่ระยะ 0.2 เมตร      จบั ได้เป็นบางครง้ั

4.2.2 ทดการเปรียบเทียบใบหนา้ ได้ผลดังน้ี

ตารางท่ี 4-2 ทดการเปรยี บเทียบใบหน้า

จานวนการเทียบ ครง้ั ที่ 1 ครงั้ ที่ 2 คร้ังท่ี 3 ครั้งที่ 4 ครัง้ ที่ 5 หมายเหตุ

จานวน 2 คน      สามารถแยกใบหน้าได้

จานวน 4 คน      สามารถแยกใบหน้าได้

จานวน 6 คน      สามารถแยกใบหนา้ ได้

จานวน 8 คน      สามารถแยกใบหนา้ ได้

จานวน 10 คน      สามารถแยกใบหน้าได้

จานวน 15 คน      สามารถแยกใบหนา้ ได้

4.2.3 ทดสอบการหนว่ งเวลาหลังจากเปรยี บเทียบใบหน้าแลว้ ก่อนการวัดอุณหภูมิ ไดผ้ ลดงั นี้
ตารางที่ 4-3 ทดสอบการหน่วงเวลาหลงั จากเปรียบเทียบใบหน้าแล้ว ก่อนการวดั อุณหภมู ิ

เวลาทดสอบ ครง้ั ที่ 1 ครง้ั ที่ 2 ครั้งที่ 3 คร้งั ท่ี 4 ครัง้ ที่ 5 หมายเหตุ

ทีเ่ วลา 30 วินาที      นานเกนิ ไป
ท่เี วลา 20 วนิ าที      นานเกินไป
ที่เวลา 10 วนิ าที      นานเกินไป
ทเี่ วลา 6 วินาที      นานเกินไป
ทเ่ี วลา 4 วินาที      เป็นเวลาท่เี หมาะสม
ทีเ่ วลา 2 วินาที      เร็วเกินไป

92

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

4.2.4 ทดสอบโมดลู วดั อณุ หภูมิแบบไมต่ ้องสัมผัส GY-906 ในระยะตา่ งๆ ไดผ้ ลดงั น้ี
ตารางที่ 4-4 ทดสอบโมดลู วดั อณุ หภูมิแบบไม่ต้องสัมผสั GY-906 ในระยะต่างๆ

ระยะทดสอบ ครั้งท่ี 1 คร้ังท่ี 2 ครัง้ ที่ 3 คร้งั ที่ 4 ครง้ั ท่ี 5 หมายเหตุ

ที่ระยะ 30 CM      ห่างเกินไป
ท่ีระยะ 25 CM      ห่างเกนิ ไป
ที่ระยะ 20 CM      หา่ งเกินไป
ที่ระยะ 15 CM      สามารถอา่ จค่าได้
ทีร่ ะยะ 10 CM      สามารถอา่ จค่าได้
ท่ีระยะ 05 CM      เปน็ ระยะท่ีดีสดุ

4.2.5 ทดสอบสญั ญาณเสียงหลงั การวัดอุณหภมู ิ ไดผ้ ลดงั นี้ หมายเหตุ
ตารางท่ี 4-5 ทดสอบสญั ญาณเสยี งหลงั การวัดอุณหภมู ิ

เสียงทดสอบ ครัง้ ที่ 1 ครง้ั ท่ี 2 ครง้ั ที่ 3 ครง้ั ท่ี 4 ครัง้ ที่ 5

เสียงเลข 0      สญั ญาณเสียงชัดเจน

เสยี งเลข 1      เสยี งไม่ชดั เจน

เสียงเลข 2      สัญญาณเสียงชดั เจน

เสยี งเลข 3      สญั ญาณเสยี งชัดเจน

เสียงเลข 4      สัญญาณเสยี งชัดเจน

เสียงเลข 5      สญั ญาณเสียงชัดเจน

เสยี งเลข 6      สัญญาณเสยี งชัดเจน

เสียงเลข 7      สญั ญาณเสยี งชดั เจน

เสียงเลข 8      สญั ญาณเสียงชดั เจน

เสยี งเลข 9      สัญญาณเสียงชัดเจน

เสยี ง จดุ      เสยี งไม่ชดั เจน

เสยี งเปน็ ประโยค      สญั ญาณเสียงชดั เจน

4.2.6 ทดสอบการบนั ทกึ ขอ้ มูลไปยงั Google Sheet ได้ผลดงั นี้ หมายเหตุ
ตารางที่ 4-6 ทดสอบการบนั ทกึ ขอ้ มูลไปยัง Google Sheet

การบนั ทึก ครัง้ ท่ี 1 คร้งั ท่ี 2 ครง้ั ท่ี 3 คร้งั ท่ี 4 ครัง้ ท่ี 5

บนั ทึก ช่อื -สกลุ      บนั ทกึ ข้อมลู ได้

บนั ทกึ อุณหภมู ิ      บนั ทึกข้อมลู ได้

บันทกึ วัน/เดือน/ปี      บนั ทกึ ข้อมลู ได้

93

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี


Click to View FlipBook Version