The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย

จากตารางท่ี 1 ขอ้ มลู ปัจจยั ส่วนบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม พบวา่ ผู้ใช้บรกิ ารของบรษิ ทั วนั อนิ ฟินิตี้ บวิ ด้งิ
สแตนดาร์ด จากดั ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 51 - 60 ปี ระดับการศึกษา ปวส. /อนปุ ริญญา อาชพี ค้าขาย/
ธรุ กจิ สว่ นตวั มีรายไดเ้ ฉลย่ี ต่อเดอื น 30,001 – 40,000 บาท

ตารางท่ี 2 ข้อมลู เกยี่ วกบั พฤตกิ รรมการใชแ้ อปพลเิ คชนั จานวน ร้อยละ
พฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชัน (n = 20 คน)
10
ช่วงเวลาในการเขา้ ใช้งานแอปพลเิ คชัน 2 15
เวลา 00.01 – 05.00 น. 3 10
เวลา 05.01 – 08.00 น. 2 15
เวลา 08.01 – 11.00 น. 3 10
เวลา 11.01 – 14.00 น. 2 10
เวลา 14.01 – 17.00 น. 2 30
เวลา 17.01 – 20.00 น. 6
เวลา 20.01 – 00.00 น. 35
7 40
ระยะเวลาการเขา้ ใช้งานแอปพลเิ คชันในแต่ละครัง้ 8 25
1 -2 ช่ัวโมง/ครั้ง 5
2 -4 ชัว่ โมง/คร้ัง 10
4 -6 ชว่ั โมง/ครง้ั 2 15
3 10
ความสม่าเสมอในการเขา้ ใชง้ านแอปพลเิ คชัน 2 65
1 - 2 คร้งั /สัปดาห์ 13
3 - 4 ครัง้ /สัปดาห์ 35
5 - 6 ครง้ั /สปั ดาห์ 7 50
ทุกวัน 10 15
3
วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานแอปพลเิ คชนั 30
คน้ คว้าหาข้อมลู เพิ่มเติม 6 5
ความบนั เทงิ เช่น ดหู นัง ฟงั เพลง 1 20
การทางาน 4 45
9
อุปกรณ์ท่ีเลือกใชใ้ นการเขา้ ใช้งานแอปพลิเคชนั
คอมพิวเตอร์
โน๊ตบคุ๊
แทบ็ เล็ต
โทรศพั ท์มอื ถอื

294

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ประเภทส่อื 9 45
Facebook 5 25
Line 3 15
Instagram 3 15
Youtube 20 100

รวม

จากตารางที่ 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกับพฤติกรรมการใช้แอปพลเิ คชนั พบวา่ ชว่ งเวลาในการเขา้ ใชง้ านแอปพลเิ คชนั
เวลา 20.01 – 00.00 น. ระยะเวลาในการเข้าใช้งานแอปพลิเคชันในแต่ละคร้ัง 2 – 4 ช่ัวโมง/คร้ัง ความ
สม่าเสมอในการเข้าใช้งานแอปพลิเคชันทุกวัน วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานแอปพลิเคชันเพื่อความบันเทิง
เช่น ดูหนัง ฟังเพลง การเข้าใช้งานแอปพลิเคชันในแต่ละครั้งมักเข้าใช้งานจากโทรศัพท์มือถือ โดยแอปพลิเค
ชัน Facebook มผี ้เู ขา้ ใช้บริการมากที่สดุ

ตารางท่ี 3 แสดงระดบั ความพึงพอใจของผ้ตู อบแบบสอบถามที่มตี อ่ กิจกรรมการใชแ้ อปพลิเคชันเพื่อสรา้ งการยอมรับจาก

ผู้บริโภคของ บรษิ ัท วนั อนิ ฟินิต้ี บิวด้ิง สแตนดารด์ จากดั

ระดบั ความพึงพอใจ

มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ความ

รายการ ทีส่ ุด กลาง ทส่ี ดุ S.D. หมาย

5 4 3 21

1. แอปพลิเคชนั มคี วามนา่ สนใจในการ 11 8 1 0 0 4.50 0.61 มาก

เข้าใชง้ าน (55%) (40%) (5%)

2. การเสนอข้อมูลท่ีให้ความรเู้ ก่ียวกับ 10 10 0 0 0 4.50 0.51 มาก

ผลิตภณั ฑ์ (50%) (50%)

3. เป็นช่องทางการติดตอ่ ส่อื สาร ท่ี 13 5 2 0 4.55 0.69 มากท่สี ุด
(65%) (25%) (10%) 0
สะดวก รวดเร็ว

4. ให้รายละเอียดขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง 13 7 0 0 0 4.65 0.49 มากทีส่ ุด
(65%) (35%)

5. การตอบคาถาม ด้วยความถูกต้อง 11 6 3 0 4.40 0.75 มาก
(55%) (30%) (15%) 0
และรวดเรว็

6. การใช้ภาษาท่ีสุภาพ ถูกต้อง 12 6 2
(60%) (30%) (10%) 0 0 4.50 0.69 มาก
และเข้าใจง่าย

7. ความเอาใจใสข่ องการตอบคาถาม 12 6 2
(60%) (30%) (10%) 0 0 4.50 0.69 มาก

295

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

8. เป็นชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สื่อสาร ที่ 13 5 2 0 0 4.55 0.69 มากท่สี ุด
0 0 4.65 0.49 มากทส่ี ุด
สะดวก (65%) (25%) (10%) 0 0 4.55 0.69 มากทส่ี ดุ
0 0 4.60 0.60 มากทส่ี ดุ
9. มีการนาเสนอขอ้ มูลทเ่ี ป็นประโยชน์ 13 7 0
(65%) (35%)

10. มีการประชาสัมพันธ์ในช่วงเวลาท่ี 13 5 2

เหมาะสม (65%) (25%) (10%)

11. ข้อมูล รูปภาพ ชัดเจน นา่ สนใจ 13 6 1

(65%) (30%) (5%)

ตารางท่ี 3 แสดงระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อกิจกรรมการใช้แอปพลิเคชันเพื่อสร้างการยอมรับจาก

ผบู้ ริโภคของ บรษิ ัท วัน อินฟินติ ี้ บวิ ดงิ้ สแตนดารด์ จากัด (ตอ่ )

ระดับความพึงพอใจ

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ความ

รายการ ทีส่ ุด กลาง ทส่ี ุด S.D. หมาย

5 4 3 21

12.การให้ข้อมูลมีผลต่อการตัดสินใจ 12 5 3 0 4.45 0.76 มาก
(60%) (25%) (15%) 0
เลือกใชบ้ รกิ าร

รวม 4.53 0.59 มากท่ีสดุ

จากตารางที่ 3 ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อกิจกรรมการใช้แอปพลิเคชันเพ่ือ
สร้างการยอมรับจากผู้บริโภคของบริษัท วัน อินฟินิต้ี บิวดิ้ง สแตนดาร์ด จากัด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มี
ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการใช้แอปพลิเคชันเพ่ือสร้างการยอมรับจากผู้บริโภคของบริษัท วัน อินฟินิตี้ บิวดิ้ง
สแตนดาร์ด จากัด คา่ เฉลีย่ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด 4.53

เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ ค่าเฉล่ยี จากมากไปหาน้อย ไดแ้ ก่ ใหร้ ายละเอยี ดข้อมูลทถี่ ูกต้อง/การนาเสนอ
ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.65 รองลงมาคือ เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสารท่ีสะดวกรวดเร็ว/ลง
ประชาสัมพันธ์ในชว่ งเวลาที่เหมาะสม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55 แอปพลิเคชันมคี วามน่าสนใจเข้าใช้งาน/การเสนอ
ข้อมูลท่ีให้ความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์การใช้ภาษท่ีสุภาพ ถูกต้อง และเข้าใจง่าย/ความเอาใจใส่ของการตอบ
คาถาม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 การให้ข้อมูลมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45 และการ
ตอบคาถาม ดว้ ยความถกู ต้องและรวดเร็ว ค่าเฉลย่ี เทา่ กับ 4.40 ตามลาดบั

296

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

7. สรุปผลการวจิ ัย
จากการศึกษาค้นคว้าวิจัยเรื่อง การใช้แอปพลิเคชันเพ่ือสร้างการยอมรับจากผู้บริโภคของบริษัท วัน

อินฟนิ ติ ี้ บวิ ด้งิ สแตนดาร์ด จากดั ค่าเฉลย่ี ของแตล่ ะด้านอยูใ่ นเกณฑ์ มากที่สดุ เมือ่ พิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการให้
รายละเอยี ดขอ้ มลู ท่ีถูกต้อง การนาเสนอข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ รองลงมาคือ เป็นช่องทางการตดิ ต่อส่อื สารท่ี
สะดวกรวดเร็ว การลงประชาสัมพันธ์ในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม แอปพลิเคชันมีความน่าสนใจ เข้าใช้งาน การ
เสนอข้อมูลที่ให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ การใช้ภาษาที่สุภาพ ถูกต้องและเข้าใจง่าย ความเอาใจใส่ของการ
ตอบคาถาม การใหข้ ้อมูลมีผลต่อการตัดสนิ ใจเลือกใชบ้ ริการ และการตอบคาถามดว้ ยความถูกต้องและรวดเร็ว
ตามลาดับ ดังสอดคล้องกับงานวิจัยของฉัฐมณฑน์ ต้ังกิจถาวร (2557) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม
การเปิดรับข้อมูลกับการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจต่อข้อมูลที่ถูกแชร์ผ่านทางเฟซบุ๊ก โดยผลการวิจัย
พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้งานเฟซบุ๊กเพื่อติดตามข้อมูลความเคลื่อนไหวของเพ่ือนและเปิดรับข้อมูล
ข่าวสารประเภทความรู้และเคล็ดลับต่างๆ จากหน้าแฟนเพจโดยเลือกอ่านเฉพาะเร่ืองท่ีตนเองสนใจ ส่วน
ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารท่ีได้นั้น ทาให้ทันต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนได้รับความบันเทิง สนุกสนานและนาไปใช้
สนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ส่วนด้านความพึงพอใจ ผู้ใช้เฟซบุ๊กมีความพึงพอใจที่รับข้อมูลรวดเร็ว
ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์และมีภาพประกอบทาให้เข้าใจง่ายข้ึน นอกจากน้ีพบว่าพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูล
ข่าวสารที่ถูกแชร์น้นั มีความสมั พันธก์ บั การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจในการเปิดรับข้อมูลข่าวสารที่ถูกแชร์
ผา่ นเฟซบุก๊ ของผใู้ ช้เฟซบุก๊ อยู่ในระดบั ต่า

ดังน้ัน เมื่อมีการเผยแพร่แอปพลิเคชันของบริษัท วัน อินฟินิต้ี บิวด้ิง สแตนดาร์ด จากัด ผ่านช่องทาง
Facebook ทาให้ผู้บริโภคร้จู ักบริษัท วัน อนิ ฟนิ ติ ้ี บิวด้งิ สแตนดาร์ด จากดั ท้งั ยงั เพมิ่ การยอมรับจากผบู้ ริโภค
รวมทั้งยอดขายของบรษิ ัทฯ กเ็ พิม่ มากขึ้น

ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้
1. จากการศกึ ษาพบวา่ ผู้ท่ีตอบแบบสอบถามนน้ั ใหค้ วามสาคญั เก่ียวกับการให้รายละเอยี ดข้อมูล

ทีถ่ ูกต้องและการนาเสนอข้อมลู ท่เี ป็นประโยชน์
2. ปฏิบัติหน้าที่ในการให้บริการกับผู้ใช้บริการบริษัท วัน อินฟินิตี้ บิวด้ิง สแตนดาร์ด จากัดอย่างเต็มท่ี

และให้ข้อมลู ทถี่ ูกต้องกบั ทางผู้ใช้บริการเพื่อสร้างภาพลักษณใ์ ห้กบั บริษทั วัน อินฟินติ ้ี บวิ ด้งิ สแตนดาร์ด จากดั
3. อัปเดตนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ตลอดเวลา เพื่อให้ผู้ใช้บริการทราบและเพ่ือการตัดสินเขา้ รับ

บรกิ ารและการเพม่ิ ยอดขายของบริษัทต่อไป

297

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยคร้งั ต่อไป
1. ในการวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาเก่ียวกับความน่าเชื่อถือ หรือพฤติกรรมการเข้ารับบริการ ของ

ผ้ใู ช้บริการบริษทั วัน อินฟนิ ติ ี้ บิวดง้ิ สแตนดารด์ จากัด
2. ในการวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาเก่ียวกับแนวทางการรักษามาตรฐานธุรกิจให้มีความมั่นคง และมี

ความสมา่ เสมอ

เอกสารอา้ งองิ
เกวรนิ ทร์ ละเอยี ดดนี ันท์ และนิตนา ฐานติ ธนกร. (2559). การยอมรับเทคโนโลยแี ละพฤติกรรม

ผู้บริโภคทางออนไลนท์ ่ีมีผลตอ่ การตดั สนิ ใจซื้อหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ของผ้บู รโิ ภคในเขต
กรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมวชิ าการนาเสนอผลงาน วิจยั ระดับบัณฑิตศึกษา ครัง้ ท่ี 12.
กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร.
จนั ทรจ์ ริ า ขุนวงศ.์ (2556). การใชป้ ระโยชนแ์ ละความพึงพอใจเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษา
ระดับอดุ มศกึ ษาในจังหวัดเชยี งใหม่. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก :
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jhscph/article/view/224659 . [วันที่สืบค้น 1 มีนาคม
2564].
ฉัฐมณฑน์ ต้ังกิจถาวร. (2557). การใช้ประโยชน์และความพงึ พอใจในการเปดิ รับข้อมลู ทีถ่ ูกแชร์(Shared) ผ่าน
เฟสบุ๊ค. กรุงเทพฯ:
สาขาวชิ าการส่อื สารเชงิ กลยทุ ธ์ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ.
ธงชัย สนั ตวิ งษ์. (2541) . พฤติกรรมผ้บู รโิ ภคทางการตลาด. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ .
เอมิกา เหมมินทร์. พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเก่ียวกับผลที่ได้จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ
ประชาชนในเขต
กรุงเทพมหานคร. (วทิ ยานพิ นธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาสถติ ิประยกุ ต)์ . [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/519. [วนั ทส่ี บื คน้ 1 มนี าคม 2564].

298

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรเพ่อื เพมิ่ ประสิทธิผลในการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรรา้ นเคเอฟซี
(K.F.C.) สาขาบ๊ิกซีบางปะกอก

Personnel capacity development to increase work effectiveness of KFC
personnel (K.F.C.) Big C Bangpakok Branch

นางสาวณฎั ฐธดิ า มณีโชติ
Nattatida Maneechot

นักศึกษา สาขาการตลาด สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร E–mail [email protected]

บทคดั ยอ่

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)
สาขาบิ๊กซีบางปะกอก ผู้ศึกษามีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ดังต่อไปน้ี 1) เพ่ือเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบ๊ิกซี บางปะกอก 2) เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการ
ทางานบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบ๊ิกซีบางปะกอก ให้มีการพัฒนาไปในด้านท่ีดี 3) เพื่อรักษาความ
สมั พนั ธภาพอนั ดขี องบคุ ลากรรา้ นเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบิ๊กซีบางปะกอก 4) เพอ่ื ลดความขัดแย้งของบุคลากร
ร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบ๊ิกซีบางปะกอก ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ไดแ้ ก่ บุคลากรรา้ นเคเอฟซี สาขาบ๊ิกซี
บางปะกอก จานวน 19 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)

ผลการจัดทาโครงการพบว่า
1. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)
สาขาบ๊ิกซีบางปะกอก โดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.00 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้าน
การพัฒนาอยู่ในระดับมากเป็นลาดับที่ 1 ( X ) = 4.20 รองลงมาด้านสวัสดิการและความเท่าเทียม ( X ) =
3.83 และดา้ นท่ีมคี ่าเฉลีย่ ต่าท่สี ุด ดา้ นความเสยี สละและการรบั ฟงั อยู่ในระดบั มากค่าเฉลี่ย ( X ) = 3.61
2. ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากร
ร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบ๊ิกซีบางปะกอก จาแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล จาแนกตามเพศ อายุ
ตาแหน่ง และระดับการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 63.16 อยู่ในช่วง
อายุ 16 – 20 ปี จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 ตาแหน่ง กุ๊ก จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 ซัพ
พลาย จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 และระดบั การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 7 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 36.84

คาสาคญั : การพัฒนา,ศกั ยภาพ,ประสทิ ธิผล

299

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

Personnel potential development to increase the efficiency of personnel performance at KFC
(K.F.C.), Big C Bangpakok branch, has the objectives of the study as follows: 1) To increase the
operational effectiveness of KFC personnel (KFC), Big C Bangpakok branch 2) To develop and improve
work efficiency of KFC personnel (KFC), Big C Bang branch Patch To have a good development 3) To
maintain good relationship with staff at KFC (K.F.C.), Big C Bangpakok branch 4) to reduce the conflict
of personnel at KFC (K.F.C.) Big C Bangpakok branch. The population used in the study was KFC
personnel. Big C Bangpakok branch, 19 people used a questionnaire as a tool for data collection. The
statistics used for data analysis are frequency, percentage, mean, and standard deviation.

The results of the project prepara tion found that The results of the project preparation found that
1. Human resource development to increase efficiency in the performance of personnel at
KFC (K.F.C.), Big C Bangpakok branch. Overall, it was at the high level. Mean () = 4.00, when considered
on an individual side, it was found that development was at the high level, first () = 4.20, followed by
welfare and equality () = 3.83. Lowest average Sacrifice and listening Very high level mean () = 3.61
2. The results of the comparison of personnel potential development to increase the efficiency in
performance of personnel at KFC (K.F.C.), Big C Bangpakok Classified by personal fundamentals by gender,
age, position and education level, it was found that most of them were female, 12, 63.16 percent, in the age
range of 16 - 20 years, 10 people, 52.63 percent. People accounted for 21.05 percent. Supply of 4 people,
accounting for 21.05 percent and education level. 7 high school students, accounting for 36.84 percent

Keywords : Development, Potential, Effectiveness

1. บทนา

เคเอฟซีก่อตั้งโดยฮาร์แลนด์ แซนเดอส์ นักลงทุนท่ีเริ่มขายไก่ทอดจากร้านอาหารขา้ งถนนใน คอร์บินรัฐเคนทักกี ในชว่ ง

ภาวะเศรษฐกิจตกต่าคร้ังใหญ่ แซนเดอส์เร่ิมเห็นความเป็นไปไดเ้ กีย่ วกับการเปิดแฟรนไชส์ร้านอาหารและแฟรนไชส์ "เคนทกั กีฟรายด์

ชิกเคน"(KentuckyFriedChicken -ไก่ทอดเคนทักกี)ร้านแรกเปิดท่ีรัฐยูทาห์ในปี พ.ศ.2495เคเอฟซีทาอาหารประเภทไกใ่ หเ้ ป็นท่ี

นยิ มในอตุ สาหกรรมอาหารจานดว่ นและกระจายตลาดโดยทา้ ทายผ้นู าดา้ นรา้ นอาหารประเภทแฮมเบอรเ์ กอร์ หลงั จากตงั้ ช่อื ตราสนิ คา้

ของตนเป็น "เคอเนลแซนเดอส์" (ColonelSanders)ฮาร์แลนด์กลายเป็นบุคคลโดดเด่นในประวัติศาสตร์วัฒนธรรม อเมริกัน และ

รูปภาพของเขาเป็นทรี่ ู้จักกว้างขวางในภาพโฆษณาเคเอฟซี การขยายตัวอย่างรวดเร็วของบริษัททาให้แซนเดอส์รู้สึกว่ายากทจ่ี ะรับมอื

และในปี พ.ศ.2507เขาขายบริษัทให้กบั กลุ่มนักลงทุนกลมุ่ หนึ่งที่นาโดยจอห์นวาย.บราวน์ จูเนียร์ และแจ็กซี. แมสซีย์ (วิกิพีเดีย

สารานกุ รมเสรมี ,2563) 300

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

จะเห็นได้ว่า การที่ธุรกิจจะประสบผลสาเร็จนน้ั ไมไ่ ด้ขน้ึ อยู่กับผบู้ ริหารเพียงอย่างเดียว พนักงานเป็นส่วนสาคญั ท่ี
ผลักดันใหธ้ ุรกจิ ไปสู่จุดหมาย การทางานร่วมกนั นั้นความสามัคคีและความสัมพนั ธ์ของบคุ ลากรเปน็ ส่ิงทีส่ าคัญเป็นอย่างย่ิง
การทางานมีความจาเป็นทจี่ ะต้องประสาน งานกนั ทางานร่วมกัน หากภายในร้านเคเอฟซี สาขาบิก๊ ซบี างปะกอกขาดถงึ ความ
สามัคคแี ละความสัมพนั ธ์ของบุคลากรภายในองค์กรไม่ดี การทางานจะขาดประสิทธภิ าพในการทางาน ทาให้เกิดความขัดแย้ง
สร้างความรา้ วฉาน และเกดิ ความรู้สึกอึดอัด ท้อใจ หมัน่ ไสต้ ่อกนั อาจร้ายแรงถงึ ขนั้ ทะเลาะวิวาท ซง่ึ จะทาให้องคก์ รเกดิ ช่อง
โหว่ เส่ียงต่อการเผยแพรข่ อ้ มูลขององค์กรให้คู่แขง่ ผู้วิจัยเลง็ เห็นว่าการสร้างความสามัคคี สร้างบรรยากาศที่ดใี นการทางาน
น้ัน จะทาให้องค์กรเกดิ ความกา้ วหน้าและม่นั คง เพื่อสร้างบรรยากาศในที่ทางานและความสัมพนั ธ์ของบคุ ลากรดีจะส่งผลให้
บุคลากรภายในองค์กรมีความสุข เต็มใจที่จะปฏิบัติงาน ส่งเสริมให้องค์กรเข้มแข็งขึ้น จึงได้จัดทางานวิจัย เรื่อง การพัฒนา
ศักยภาพบคุ ลากรเพือ่ เพิ่มประสทิ ธิผลในการปฏิบัติงานของบคุ ลากรรา้ นเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบก๊ิ ซบี างปะกอก

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพอื่ เพ่ิมประสิทธผิ ลในการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรรา้ นเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบิก๊ ซี บางปะกอก
2.2 เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบ๊ิกซี

บางปะกอก ใหม้ กี ารพฒั นาไปในดา้ นทีด่ ี
2.3 เพอ่ื รักษาความสมั พนั ธภาพอนั ดขี องบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบิก๊ ซีบางปะกอก
2.4 เพอ่ื ลดความขัดแยง้ ของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบิก๊ ซีบางปะกอก

3. สมมติฐานการวิจัย
3.1 ทัศนคติต่อการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลมีแตกต่าง ทาให้การทางานร่วมกันมักเกิดปัญหา การ

ทราบถงึ ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดข้ึนและแก้ไขจะช่วยลดปญั หาความขัดแย้งทจี่ ะเกดิ ขึ้นทาให้การทางานราบรื่น
3.2 บรรยากาศในการทางานท่ีดจี ะทาให้เกดิ การทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

4. วิธกี ารวิจยั
4.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
ประชากรทใี่ ช้ในการศกึ ษาครั้งน้ไี ด้แก่ บคุ ลากรรา้ นเคเอฟซี จานวน 19 คน ขอ้ มูลจากบคุ ลากรรา้ นเคเอฟซี

ณ วันท่ี 12 มนี าคม 2564 ถงึ วันท่ี 14 มนี าคม 2564
4.2 เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั
เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้ี คือ แบบสอบถามเกย่ี วกบั การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธผิ ล

ในการปฏิบตั งิ านของบุคลากรรา้ นเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบิ๊กซบี างปะกอก แบง่ ออกเป็น 4 ตอน มีรายละเอยี ดดังนี้
ตอนท่ี1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ

อายุ ตาแหน่ง และระดบั การศกึ ษา เปน็ คาถามให้ผตู้ อบเลอื กตอบเพยี งข้อเดียว ประกอบด้วยคาถาม 4 ข้อ
ตอนท่ี2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับทัศนคติในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้าน เคเอฟซี (K.F.C.) สาขา

301 บกิ๊ ซบี างปะกอกประกอบด้วยคาถาม 3 ขอ้

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ตอนที่ 3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี

(K.F.C.) สาขาบิ๊กซีบางปะกอก ซึ่งเป็นมาตราวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยใช้วิธีวัดของลิเคริ ท์

(Likert) 5 ระดับ ประกอบดว้ ย คาถาม 22 ขอ้ มรี ายละเอยี ดดงั นี้

1. ดา้ นการพฒั นา จานวน 13 ขอ้

2. ด้านสิง่ แวดล้อม จานวน 3 ขอ้

3. ด้านสวสั ดิการและความเทา่ เทียม จานวน 4 ข้อ

4. ด้านความเสยี สละและการรับฟัง จานวน 2 ข้อ

ในแตล่ ะขอ้ คาถามมีคาตอบใหเ้ ลอื กตอบ 5 ระดบั ซึ่งมเี กณฑ์การใหค้ ะแนน ดังน้ี

5 หมายความวา่ มีผลต่อการตดั สินใจใชบ้ ริการ มากที่สุด

4 หมายความว่า มผี ลตอ่ การตดั สินใจใชบ้ ริการ มาก

3 หมายความว่า มีผลตอ่ การตัดสนิ ใจใชบ้ รกิ าร ปานกลาง

2 หมายความว่า มีผลต่อการตัดสนิ ใจใชบ้ ริการ นอ้ ย

1 หมายความว่า มีผลต่อการตดั สนิ ใจใช้บรกิ าร น้อยที่สุด

ตอนที่ 4 ปัญหาและข้อเสนอแนะเกยี่ วกับการพฒั นาตนเองในการทางาน

5. สรปุ ผลการวจิ ัย

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)

สาขาบก๊ิ ซีบางปะกอก ดา้ นการพัฒนา

ข้อ ดา้ นการพัฒนา ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน แปลผล ลาดับ
มาตรฐาน

1. ทา่ นตอ้ งการใหม้ ีการรกั ษามาตรฐานการทางานทถี่ กู ตอ้ ง 4.42 0.77 มาก 4

2. การทางานพบว่ามีประสิทธภิ าพ มรี ะบบ ระเบยี บ ที่ดี 3.89 1.05 มาก 11

3. การบริหารจดั การระบบงานของหัวหน้างานที่ดี 3.79 0.92 มาก 13

4. ท่านนาประสบการณ์และความผิดพลาดทเ่ี คยเจอมาเป็นขอ้ 4.26 0.65 มาก 7

เตือนใจในการทางาน คร้ังตอ่ ไป

5. ทา่ นสามารถใหค้ าแนะนาในงานทที่ ่านทากบั เพอ่ื นรว่ มงานไดด้ ี 4.37 0.83 มาก 5

6. ทา่ นตัง้ ใจทางานอย่างเตม็ ความสามารถและประสบ 4.53 0.70 มากท่สี ุด 2
ความสาเรจ็ ทกุ ครัง้

7. ทา่ นรับฟังคาแนะนาและคาช้แี นะในเร่ืองการทางานจากเพื่อน 4.42 0.84 มาก 3
ร่วมงานเพ่อื นามาพัฒนาตนเอง

8. ทา่ นเชอื่ ม่ันวา่ ถ้ามคี วามเพียรพยายามในการทางาน แลว้ ทา 4.32 0.89 มาก 6
อย่างเตม็ ท่ยี ่อมประสบความสาเรจ็ ได้

302

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ข้อ ด้านการพฒั นา คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบน แปลผล ลาดบั
มาตรฐาน

9. ถ้าท่านถกู ตาหนใิ นการทางานท่านจะต้องแกไ้ ขให้ดขี ้ึนเสมอ 4.58 0.61 มากทีส่ ุด 1

10. ท่านตอ้ งการให้มีการพัฒนาภาษาอังกฤษแก่บคุ ลากร 3.89 0.99 มาก 12

11. ท่านได้รบั ความเปน็ ธรรมจากผบู้ ังคบั บญั ชา 3.95 0.85 มาก 10

12. ท่านมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรีในการทางาน 4.05 0.78 มาก 9

13. ท่านพรอ้ มจะรบั ฟังเหตุผลและความคิดเห็นผู้อ่ืน 4.11 1.15 มาก 8

รวม 4.20 0.60 มาก

จากตาราง พบวา่ โดยรวมอย่ใู นระดับมาก มคี า่ เฉล่ยี 4.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.60 เม่อื แยกเป็น

ข้อ พบว่า ท่านต้องการให้มีการรักษามาตรฐานการทางานที่ถูกต้อง มีค่าเฉล่ีย 4.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

0.77 การทางานพบว่ามปี ระสทิ ธิภาพ มรี ะบบ ระเบียบ ทีด่ ี มีคา่ เฉล่ีย 3.89 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.05 การ

บริหารจัดการระบบงานของหัวหน้างานที่ดี มีค่าเฉล่ีย 3.79 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.92 ท่านนา

ประสบการณ์และความผิดพลาดที่เคยเจอมาเป็นข้อเตือนใจในการทางาน คร้ังต่อไป มีค่าเฉลี่ย 4.26 ส่วน

เบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.65 ทา่ นสามารถให้คาแนะนาในงานที่ท่านทากบั เพ่ือนร่วมงานได้ดี มีค่าเฉล่ีย 4.37 ส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.83 ท่านตั้งใจทางานอย่างเต็มความสามารถและประสบความสาเร็จทุกคร้ัง มีค่าเฉลี่ย

4.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.70 ท่านรับฟังคาแนะนาและคาชี้แนะในเรื่องการทางานจากเพื่อนร่วมงาน

เพ่ือนามาพัฒนาตนเอง มีค่าเฉลี่ย 4.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.89 ท่านเช่ือมั่นว่าถ้ามีความเพียรพยายาม

ในการทางาน แล้วทาอย่างเต็มที่ย่อมประสบความสาเรจ็ ได้ มีค่าเฉล่ีย 4.32 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.89 ถ้า

ท่านถูกตาหนิในการทางานท่านจะต้องแก้ไขให้ดีขึ้นเสมอ มีค่าเฉล่ีย 4.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.61 ท่าน

ต้องการให้มีการพัฒนาภาษาอังกฤษแก่บุคลากร มีค่าเฉล่ีย 3.89 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.99 ท่านได้รับ

ความเปน็ ธรรมจากผบู้ ังคับบญั ชา มีคา่ เฉลยี่ 3.95 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.85 ท่านมีสว่ นร่วมในการแสดง

ความคิดเห็นอย่างเสรีในการทางาน มีค่าเฉลี่ย 4.05 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.78 และท่านพร้อมจะรับฟัง

เหตุผลและความคิดเหน็ ผู้อ่นื มคี ่าเฉลีย่ 4.11 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.15

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)

สาขาบ๊ิกซบี างปะกอก ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

ข้อ ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ค่าเฉลย่ี ส่วนเบย่ี งเบน แปลผล ลาดบั
มาตรฐาน

14. ในการทางานร่วมกนั ทา่ นมสี ัมพนั ธภาพทด่ี กี บั เพื่อน 3.95 1.03 มาก 1
รว่ มงาน

15. เมอ่ื มีเรื่องเขา้ ใจผดิ เกิดข้นึ ทา่ นและเพอื่ นรว่ มงาน 3.42 1.57 ปานกลาง 3
จะพยายามปรับความเข้าใจกนั ทันที

16. ความพงึ พอใจของการทางานรว่ มกนั การทางาน 3.53 1.17 มาก 2
เป็นทมี 3.63 1.18 มาก
303
รวม

บทความผลงานวจิ ยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี

จากตาราง พบว่า โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก มคี า่ เฉลี่ย 3.63 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.18 เม่อื แยกเป็น

รายข้อพบว่า ในการทางานร่วมกันท่านมีสัมพันธภาพท่ีดีกับเพ่ือนร่วมงาน มีค่าเฉล่ีย 3.95 ส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน 1.03 เมื่อมีเรื่องเข้าใจผิดเกิดขึ้น ท่านและเพื่อนร่วมงานจะพยายามปรับความเข้าใจกันทันที มี

ค่าเฉลี่ย 3.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.57 และความพึงพอใจของการทางานร่วมกัน การทางานเป็นทีม มี

ค่าเฉลีย่ 3.53 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.17

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)

สาขาบ๊กิ ซบี างปะกอก ดา้ นสวัสดกิ ารและความเท่าเทียม

ข้อ ดา้ นสวัสดกิ ารและความเท่าเทยี ม ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน แปลผล ลาดับ
มาตรฐาน

17. ทา่ นพอใจกบั เงินเดือนท่ไี ด้รับเมื่อเปรยี บเทียบกับ 4.05 0.62 มาก 1
ปรมิ าณงาน

18. เงนิ เดอื นที่ทา่ นได้รบั เพียงพอต่อค่าครองชีพในปจั จบุ นั 4.00 0.75 มาก 2

19. การปฏบิ ตั ขิ องหัวหนา้ งานต่อพนกั งานเทา่ เทยี มกนั 3.79 0.98 มาก 3

20. บรรยากาศที่ดีในการปฏบิ ตั ิงาน 3.47 0.96 ปานกลาง 4

รวม 3.83 1.71 มาก

จากตาราง พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีคา่ เฉล่ีย 3.83 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.71 เม่อื แยกเป็น

รายข้อพบว่า ท่านพอใจกับเงินเดือนท่ีได้รับเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณงาน มีค่าเฉลี่ย 4.05 ส่วนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน 0.62 เงินเดือนที่ท่านได้รับเพียงพอต่อค่าครองชีพในปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ย 4.00 ส่วนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน 0.75 การปฏิบัติของหัวหน้างานต่อพนักงานเท่าเทียมกัน มีค่าเฉล่ีย 3.79 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

0.98 และบรรยากาศที่ดีในการปฏิบัติงาน มคี า่ เฉลย่ี 3.47 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.96

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพ่ือเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)

สาขาบก๊ิ ซบี างปะกอก ดา้ นความเสยี สละและการรับฟัง

ข้อ ความเสียสละและการรบั ฟัง คา่ เฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน แปลผล ลาดับ

21. ทา่ นสละเวลาส่วนตัวเพอ่ื ทางานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 3.05 1.43 ปานกลาง 2
ใหส้ าเรจ็ ลลุ ว่ ง

22. หวั หนา้ งานยินดรี ับฟังปญั หาต่าง ๆ ขอ้ เสนอแนะ 4.16 0.76 มาก 1
วธิ ีการแกไ้ ขจากพนักงาน

รวม 3.61 0.95 มาก

จากตาราง พบวา่ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก มีคา่ เฉลีย่ 3.61 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.95 เมอ่ื แยกเป็น

รายข้อพบว่า ท่านสละเวลาส่วนตัวเพ่ือทางานที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จลลุ ่วง มีค่าเฉล่ีย 3.05 ส่วนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน 1.43 และหัวหน้างานยินดีรับฟังปัญหาต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ วิธีการแก้ไขจากพนักงาน มีค่าเฉล่ีย 304

4.16 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.76

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.)

สาขาบกิ๊ ซีบางปะกอก โดยรวม

ขอ้ รายการประเมิน คา่ เฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลผล

1. ด้านการพัฒนา 4.20 0.60 มาก

2. ด้านส่งิ แวดล้อม 3.63 1.18 มาก

3. ด้านสวัสดิการและความเท่าเทียม 3.83 0.71 มาก

4. ด้านความเสียสละและการรบั ฟัง 3.61 0.95 มาก

รวม 4.00 0.65 มาก

จากตารางท่ี 4.12 พบว่า รวมทั้ง 4 ด้าน มีผลอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.00 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
0.65 และแยกเป็นรายด้าน พบว่า ดา้ นการพฒั นา มคี า่ เฉลี่ย 4.20 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.06 ด้านสง่ิ แวดล้อม มี
ค่าเฉล่ีย 3.63 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.18 ด้านสวัสดิการและความเท่าเทียม มีค่าเฉล่ีย 3.83 ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน 0.71 และด้านความเสียสละและการรับฟงั มคี า่ เฉลีย่ 3.63 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.18

สรปุ กราฟ

การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธผิ ลในการปฏบิ ตั ิงานของบคุ ลากรร้านเค
เอฟซี (K.F.C.) สาขาบิก๊ ซีบางปะกอก โดยรวม

4.30 4.20
4.20

4.10

4.00

3.90 3.83

3.80

3.70 3.63 3.61
3.60

3.50

3.40

3.30

305

บทความผลงานวิจัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

6. อภิปรายผล
จากการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

บคุ ลากรร้านเคเอฟซี (K.F.C.) สาขาบก๊ิ ซีบางปะกอก สามารถอภิปรายไดด้ งั นี้
ผลการศกึ ษาพบว่า ดา้ นการพฒั นา มีความสอดคล้องกับ พีระชาติ อปู แก้ว (2558) ศึกษาเร่ือง ปัจจัย

ที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยา การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาตนเองโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่
บุคลากรสายบริการของมหาวิทยาลัยพะเยา ปีการศึกษา 2557 จานวน 284 คน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่
ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา
เปน็ รายดา้ น พบวา่ ด้านการพัฒนาทกั ษะการปฏบิ ัตงิ าน เปน็ ปจั จยั สงู สุดท่สี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาตนเอง ดา้ นอายุ
การทางานทแี่ ตกต่างกัน มคี วามคดิ เห็นดา้ นสวัสดกิ ารแตกต่างกนั

ด้านสิ่งแวดล้อม มีความสอดคล้องกับ ศิวพร โปรยานนท์ (2554, น. 35-36) ได้ให้ความหมายของ
สภาพแวดล้อมในการทางาน ว่าหมายถึง สิ่งต่างๆ ภายในองค์กรที่อยู่รอบตัวพนักงานที่สามารถส่งผล
พฤติกรรมและความรู้สึกของบุคคลน้ัน ๆ โดยที่สภาพแวดล้อมอาจเอ้ือต่อการทางาน หรืออาจเป็นอุปสรรค
ต่อการทางาน ได้ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี (1) สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical
environment) หมายถึง สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในสถานท่ีทางานที่เอ้ือต่อการทางาน และสามารถทางาน
อย่างมีความสุข สถานที่มีแสงสว่างท่ีเพียงพอ มีการจัดการอย่างเป็นระเบียบ สะอาด ปราศจากกลิ่นรบกวน
ไม่มีเสียง ที่ก่อให้เกิดความราคาญ อากาศถ่ายเทสะดวก มีระดับอุณหภูมิท่ีเหมาะสม อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง กับการทางานมีความเหมาะสม มีคุณภาพ และเพียงพอต่อความต้องการ (2) สภาพแวดล้อมทาง
สังคม (Social environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อมในเชิงสัมพันธภาพหรือการสนับสนุนจากภายในองค์กรท่ี
มีผลกระทบต่อการทางาน เอื้อต่อ การทางาน เช่น ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างพนักงานภายในองค์กร ใน
หน่วยงานย่อย ระหว่างแผนก และมีความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างพนักงานและหัวหน้างาน พนักงานมีการ
แสดงออกท่ีดีต่อบุคคลอ่ืน ทั้ง ทางกาย วาจา ใจ มีการติดต่อส่ือสารที่ดีต่อกัน มีการให้ข้อมูลย้อนกลับซ่ึงกัน
และกัน พนักงานรู้สึกถึง ความปลอดภัย ได้รับการยอมรับ มีความสุขท่ีได้ทางาน นอกจากน้ี การได้รับการ
สนับสนุนจากองค์กร ท้ังในด้านการทางาน กิจกรรมทางสังคม การส่งเสริมบรรยากาศในการทางานร่วมกัน
ถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่องาน ให้การช่วยเหลือเม่ือพนักงานมีปัญหาในการทางาน ทาใ ห้
พนกั งาน ทางานมีความสุขและมปี ระสทิ ธภิ าพในการทางาน (3) สภาพแวดล้อมทางด้านจติ ใจ (Psychological
environment( หมายถงึ สภาพแวดล้อมในการท างานท่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ ความคิด เช่น ความมีอิสระในการทางาน
และการ ตัดสินใจในส่ิงที่เกี่ยวข้องกับการทางาน การได้รับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับงาน ทาให้พนักงาน
สามารถ นาข้อมูลทไี่ ด้มาพัฒนาปรับปรงุ ในงานใหด้ ีขน้ึ พนักงานมคี วามพึงพอใจในงาน พนักงานมคี วามเคารพ
ซึ่งกันและกันและเชื่อใจกัน การมีบรรยากาศประชาธิปไตย ใช้หลักเหตุผลในการดาเนินการ การส่งเสริม
บรรยากาศใหเ้ กิดการทางานทม่ี ีประสิทธภิ าพมากยิ่งข้นึ

306

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ด้านสวัสดิการและความเท่าเทียม มีความสอดคล้องกับ พีรธร บุณยรัตพันธ์ุ และคณะ (2555, น.
160-208) ได้ทาการวิจัยเร่ือง “การพัฒนา นโยบายและกลไกการส่งเสริมความเสมอภาคและความเป็นธรรม
ทางสงั คม” เพอ่ื ศึกษาสถานการณ์ และความตอ้ งการของกลุ่มคนที่มีความแตกต่างทางสงั คม และตอ้ งการการ
ช่วยเหลือ เช่น กลุ่มคนเปราะบาง คนพิการ ผู้ประสบปัญหาทางสังคม โดยมุ่งเน้นเรื่องการเข้าถึงความเสมอ
ภาค ทั้งน้ี ท่านได้กล่าววา่ ความเสมอภาคเป็นหนทางนาไปส่กู ารเข้าถงึ สิทธิ สวัสดิการ และเสรีภาพ อย่างเท่า
เทียม หากทุกคนเข้าถึงความเสมอภาค ก็จะอยู่ร่วมกันได้อย่างเสรี และเกิดการเคารพซ่ึง สิทธิ และเสรีภาพ
สทิ ธมิ นุษยชนของแต่ละตัวบคุ คลเชน่ กนั

ด้านความเสียสละและการรับฟัง มีความสอดคล้องกับ แพมาลา วัฒนเสถียรสินธ์ุ(2559) ได้ศึกษา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาการส่ือสารในองค์กร กรณีศึกษา บริษัท ยูไนเต็ด แสตนดาร์ด เทอร์มินัล จากัด
(มหาชน) พบว่า ปัญหาการส่ือสารในองค์กรส่วนมากพบเรื่องของความไม่เข้าใจกัน การไม่สื่อสารระหว่างกัน
ช่องทางการส่ือสารที่ ไม่เพียงพอและการบิดเบือนของข้อมูลข่าวสารท่ี เกิดขึ้นในการส่ือสารภายในองค์กร
นอกจากนีย้ งั พบว่า ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อปัญหาการสอื่ สารภายใน องค์กรนั้น เกิดจากปจั จัยทเ่ี กดิ ขน้ึ มาเปน็ ระยะ
เวลานาน เป็นปัญหาเรื้อรัง สะสมท่ีเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยด้านความเหล่ือมลา้ ระหว่างกัน การแบ่งพรรค
แบ่งพวกระบบอุปถัมภ์ท่ีเกิดขึ้นภายในองค์กร และยังพบว่าทัศนคติของบุคลากรใน องค์กรและการถูกปิดก้ัน
การสื่อสารของบุคลากรเป็นปัจจัยสาคัญ ที่ก่อให้เกิดปัญหาการส่ือสาร ภายในองค์กรอีกด้วย จากผลการ
ทดสอบจากสมมุติฐาน โดยวิธีทดสอบทางสถิติพบว่า พนักงานท่ีมีอายุ แตกต่างกัน มีความคิดเห็นเก่ียวกับ
บรรยากาศการส่ือสารภายในองค์กร ด้านการสนับสนุนซ่ึงกันและกัน แตกต่างกัน และพนักงานที่มีระดับ
การศึกษาแตกต่างกันมีความคิดคิดเห็นเก่ียวกับ บรรยากาศการสื่อสารภายในองค์กรด้านความไวว้างใจและ
การมสี ว่ นรว่ มทแ่ี ตกตา่ งกัน และ พนกั งานท่มี ีระยะเวลาในการปฏิบัติงานทีแ่ ตกต่างกนั มีความคดิ เห็นเกี่ยวกับ
บรรยากาศการสื่อสาร ภายในองค์กรดา้ นความไวว้างใจและด้านการสนับสนนุ ซึง่ กนั และกนั แตกต่างกัน
7. ขอ้ เสนอแนะ

จากการศึกษาการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรเพ่ือเพมิ่ ประสิทธิผลในการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรรา้ นเคเอฟ
ซี (K.F.C.) สาขาบกิ๊ ซบี างปะกอก ผู้จัดทาโครงการมขี ้อเสนอแนะทไี่ ด้รับจากการศึกษาในครั้งนี้ ดังนี้

7.1 ขอ้ เสนอแนะการนาผลการจัดทาโครงการไปใช้ประโยชน์
7.1.1 การใส่อารมณ์ พาลใส่คนอืน่ ไม่รูจ้ กั ถามจักฟงั ให้ดีก่อน ไมร่ จู้ ักความรับผิดชอบในสว่ นของ

ตนเอง แลง้ นา้ ใจ การสง่ ต่องานทไ่ี มเ่ รยี บรอ้ ย เชน่ ไม่เตรยี มความพรอ้ ม หรือความสะอาดให้เพ่อื นร่วมงานที่จะมาอยู่
แทนเรา หรือทางานตอ่ จากเรา

7.1.2. การเท่าเทยี มและการรับฟังปญั หาพร้อมช่วยกัน แก้ปัญหาและหาทางออกของปัญหาท่ีเกดิ ข้นึ ว่า
เพราะอะไร แล้วจะมวี ิธีการแก้ไขยงั ไง เพื่อใหเ้ กดิ การทางานท่ีอยู่ร่วมกันของคนสว่ นมาก อย่างมีความสุขและประสความ
สาเรจ็

7.1.3. การติหรือการให้คาแนะนาจากเพ่อื นรว่ มงานน้นั ไม่ได้ติเพอ่ื ทาลาย เพือ่ ขม่ เพอ่ื ทาใหร้ สู้ กึ
ไม่ดี หรอื ทาเพราะอจิ ฉา แตต่ ิเพื่อให้มกี ารทางานที่ถูกต้องและเหมาะสม

307

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

7.1.4. ในเวลาทีล่ กู คา้ เยอะ ๆ ไม่อยากให้อารมณร์ อ้ นใสก่ ัน เพราะต่างฝา่ ยตา่ งกเ็ หนอื่ ยเหมือนกัน
ควรทางานด้วยความเขา้ ใจ เหน็ ใจกันและกนั

เอกสารอ้างองิ
พรี ธร บณุ ยรัตพันธุ์ และคณะ. (2555). การศึกษาเพื่อพัฒนานโยบายและกลไก การส่งเสริม ความเสมอภาค

และความเป็นธรรมในสังคม. รายงานการวจิ ัย. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, สถาบันเพอื่ สร้างความเข้มเข็งให้
ชมุ ชน.
พรี ะชาติ อปู แก้ว. (2558). ปัจจัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาตนเองของบุคลากรสายบรกิ าร มหาวิทยาลยั
พะเยา. วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลัยพะเยา.
แพมาลา วฒั นเสถียรสนิ ธุ์. (2559). ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อปัญหาการส่อื สารในองค์กร กรณีศกึ ษา บริษทั ยูไนเตด็
แสตนดาร์ดเทอร์มนิ ัล จากัด (มหาชน). (การค้นคว้าอสิ ระมหาบณั ฑติ ). สาขาบริหารธรุ กิจ. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
ศวิ พร โปรยานนท์. (2554). พฤตกิ รรมของผ้นู าและสภาพแวดลอ้ มการทางานท่ีส่งผลต่อความ
สรา้ งสรรค์ในงานบุคลากร กรณศี ึกษา องค์การธุรกิจไทยที่มนี วัตกรรมยอดเยย่ี มปี 2552.
วทิ ยานพิ นธว์ ิทยาศาสตรม์ หาบัณฑิต, การพัฒนาทรัพยากรมนุษยแ์ ละองคก์ าร, คณะพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษย,์ สถาบันบณั ฑติ พฒั นาบรหิ ารศาสตร.์

308

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

การศึกษาส่วนผสมทางการตลาดทีม่ อี ทิ ธิพลตอ่ การตัดสนิ ใจซื้อน้าดมื่ ตราบัวทิพย์
จากบริษัท สุชนิ น้าดื่ม ของลกู ค้าในอา้ เภอบางกรวย จงั หวัดนนทบุรี

A Study on Marketing Ingredients Influencing Buying Decision of Buathip Drinking
Water from Suchin Drinking Water Company of customers in Bang Kruai District.

Nonthaburi Province

นางสาวโชษิตา บัวเหม1,นางสมหมาย เสถยี รธรรมวทิ ย2์ , นายอนุชติ ปรมศี นาภรณ3์

Miss Chosita Buahem 1,Mrs.Sommai Satheantheammawit2 Mr.Anuchit Porameesanapon3

1สาขาวชิ าการตลาด วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี สถาบนั การอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ 10600
E-mail: [email protected], เบอรโ์ ทร0617725718
2นางสมหมาย เสถยี รธรรมวิทย์ วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 092-919-9149

บทคัดย่อ

การศึกษาครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือ 1) เพอ่ื ศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าด่ืม
ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุชิน น้าด่ืม ของลูกค้าในอ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 2) เพ่ือเปรียบเทียบส่วนผสม
ทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าดืม่ ตราบวั ทพิ ย์ จากบรษิ ทั สุชนิ น้าด่มื ของลูกค้าในอ้าเภอบางกรวย
จังหวัดนนทบุรี จ้าแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ลูกค้าในอ้าเภอบางกรวย จังหวัด
นนทบุรี จ้านวน 399 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่
ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) ) ทดสอบค่าสถิติ t – test ค่าสถติ ทิ ดสอบ F-test วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนทางเดยี ว (One – Way –
ANOVA) กรณีพบความแปรปรวนมีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ท้าการทดสอบรายคู่โดยวิธีการของ
เชฟเฟ่ (Scheffe) ผลการศกึ ษาพบว่า

ส่วนผสมทางการตลาดทม่ี อี ิทธพิ ลต่อการตัดสินใจซื้อน้าด่ืม ตราบัวทิพย์ จากบริษทั สชุ ิน น้าดม่ื โดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านเรยี งตามลา้ ดับจากมากไปหาน้อยดังน้ี
ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัด
จ้าหน่าย ด้านโครงสร้างทาง และด้านท่ีมีค่าเฉล่ียต่้าท่ีสุด คือ ด้านการส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับมาก
ตามลา้ ดบั สว่ นการทดสอบสมมตฐิ าน พบว่า

จ้าแนกตามเพศ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้าน
ผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการ
ให้บรกิ าร และดา้ นโครงสรา้ งทางกายภาพ แตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสา้ คัญทางสถิติ ท่รี ะดับ 0.05

309

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

จ้าแนกตามอายุ โดยรวม และรายดา้ น ได้แก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ ดา้ นการกา้ หนดราคา ด้านชอ่ งทางการจัด
จ้าหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านโครงสร้างทาง
กายภาพ ไม่แตกตา่ งกัน

จ้าแนกตามระดับการศึกษา ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริม
การตลาด ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ไม่แตกต่างกันส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการให้บริการ
ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพ แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สา้ คญั ทางสถิติ ทร่ี ะดับ 0.05

จ้าแนกตามสถานภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านโครงสร้าง
ทางกายภาพ ไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริม
การตลาด และดา้ นกระบวนการให้บริการ แตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสา้ คัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ 0.05

จ้าแนกตามสมาชิกในครอบครัว ดา้ นผลติ ภัณฑ์ ด้านบคุ ลากรผูใ้ หบ้ รกิ าร ดา้ นกระบวนการให้บริการ ไม่
แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ด้านการ
สง่ เสรมิ การตลาด และด้านโครงสร้างทางกายภาพ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส้าคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดบั 0.05

จ้าแนกตามอาชีพ โดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการ
จัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการ
ก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการให้บริการ และด้าน
โครงสรา้ งทางกายภาพ แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยส้าคญั ทางสถิติ ทีร่ ะดับ 0.05

จา้ แนกตามรายได้เฉลย่ี โดยรวม และรายดา้ น ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทาง
การจัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านโครงสร้างทางกายภาพ ไม่แตกต่าง
กนั ส่วนดา้ นบุคลากรผใู้ หบ้ ริการ แตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสา้ คัญทางสถติ ิ ท่รี ะดบั 0.05

จ้าแนกตามความถี่ในการซื้อด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจ้าหน่าย ด้านการ
ส่งเสริมการตลาด ไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านกระบวนการ
ให้บรกิ าร และด้านโครงสรา้ งทางกายภาพ แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสา้ คัญทางสถิติ ทร่ี ะดับ 0.05

ค้าสา้ คัญ : ส่วนผสมการตลาด ,ปัจจัยทางการตลาด, การตัดสนิ ใจซ้ือ 310

นางสาวโชษติ า บวั เหม วิทยาลยั พณชิ ยการธนบุรี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอรโ์ ทร061-772-5718
นางสมหมาย เสถยี รธรรมวทิ ย์ วิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
เบอร์โทร 092-919-9149 E-mail: [email protected]
นางพศิ มัย บณุ ยโสภณ วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 081-421-3483 E-mail: [email protected]

2

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

Abstract

The studying marketing ingredients that influence the decision to buy Buathip
drinking water from the company Suchin Drinking Water of Customers in Bang Kruai District,
Nonthaburi Province This time, the objective is

1) to study the marketing ingredients that influence the decision to buy Buathip
drinking water from Suchin Drinking Water of customers in Bang Kruai District, Nonthaburi
Province

2) to compare marketing ingredients that influence the decision to buy Buathip
drinking water from Suchin Drinking Water of customers in Bang Kruai District, Nonthaburi
Province.

The sample size of the sample was based on the formulation of Taro Yamane, a
probability-based sampling method using a simple random sampling method. Statistics used
to analyze data include frequency, percentage, mean, Standard Deviation: Comparison of
marketing ingredients influencing the decision to purchase drinking water (Buathip brand)
classified by personal fundamentals Analyzed using t-test and F-test statistics, One way
ANOVA Multiple comparison tests later by Scheffe method The results of the project that

1. Customers in Bang Kruai District, Nonthaburi Province 399 people, mostly female,
accounted for 53.40% of them under 15 to 25 years old, with 13.50% of them employed by
private companies, representing 48.8%. 60% bachelor's degree, 55.10% with average
monthly income below – 10,000 baht, equivalent to 10.80% frequency of purchases 1-2
times/week, equivalent to 16.30%

2. The Marketing ingredients that influence the decision to buy Buathip drinking
water from the company. Suchin drinking water of customers in Bang Kruai district,
Nonthaburi province, overall, and considered in descending order. It has been found that
the product side is high

Key words: Marketing Mix, Marketing Factors

311

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

1. บทนา้
บริษัทสุชิน น้าดื่ม เป็นหน่วยธุรกิจหน่ึงประกอบกิจการเกี่ยวกับการออกจ้าหน่ายน้าด่ืม ในรูปแบบ

ของการขายปลีกและขายส่ง ใช้ชื่อตราสินค้าว่า น้าดื่ม บัวทิพย์ ก่อตั้งกิจการเม่ือปี พ.ศ.2541 ในเขตอ้าเภอ
บางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี สนิ คา้ ที่ผลิตจา้ หนา่ ยมี 2 ขนาด ไดแ้ ก่ 1 นา้ ดมื่ ขนาด (600 ซซี ี 2 นา้ ดื่มขนาด (20
ลติ ร ชอ่ งทางการจัดจ้าหนา่ ยผ่านหนา้ รา้ นและวางจา้ หน่ายในร้านสะดวกซื้อ ปัจจบุ ันสว่ นแบ่งทางการตลาด
ของน้าดืม่ มีอตั ราการเตบิ โตอยา่ งตอ่ เน่ืองและมกี ารแขง่ ขนั สงู ประกอบดว้ ยตราสินคา้ ท่ีมีความแขง็ แกรง่ ใน
ตลาด ไดแ้ ก่ น้าด่ืมสงิ ห์ น้าดื่มครสิ ตลั น้าดม่ื เนสท์เล่ กลมุ่ น้าดมื่ เฮา้ ส์แบรนด์ กลุ่มตราสินคา้ ในท้องถนิ่ บรษิ ัท
จงึ ใช้กลยทุ ธ์ในการแข่งขนั เพื่อแบง่ สว่ นแบ่งทางการตลาดดว้ ยการเพมิ่ ปริมาณการผลิตมากขน้ึ ขยายพื้นจ้าหน่าย
เพิ่มมากข้ึนทั่วพื้นท่ีในจังหวัดนนทบุรี วางจ้าหน่ายในร้านสะดวกซื้อมากกว่า 20 ร้าน เพ่ือตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า และเพม่ิ ศักยภาพในการถอื ครองสว่ นแบ่งทางการตลาดน้าดมื่ โดยเน้นใหค้ วามสา้ คัญ และ
ใส่ใจในด้านคณุ ภาพ ราคาทีจ่ ัดจ้าหน่าย และการบริการใหแ้ ก่ลูกคา้ ดว้ ยความเตม็ ใจ

ด้วยเหตุผลดังกล่าวผจู้ ัดท้าโครงการจึงท้าการศึกษาสว่ นผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ
ซื้อน้าด่ืม ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุชิน น้าด่ืม ของลูกค้าในอ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ข้อมูลที่ได้จาก
การศึกษาจะใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาแผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายให้ลูกค้ามีความพึงพอใจ
และจงรักภกั ดีตอ่ ตราสินค้าตอ่ ไป
2. วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย

2.1 เพื่อศึกษาส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าด่ืม ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุ
ชนิ น้าดมื่ ของลูกค้าในอา้ เภอบางกรวย จังหวดั นนทบรุ ี

2.2 เพื่อเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าดื่ม ตราบัวทิพย์ จาก
บริษัท สุชิน น้าด่มื ของลกู คา้ ในอ้าเภอบางกรวย จังหวดั นนทบุรี จา้ แนกตามปัจจัยพื้นฐานสว่ นบุคคล

3. สมมติฐานการวจิ ัย
3.1 ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าดื่ม ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุชิน

นา้ ด่มื ของลกู คา้ ในอา้ เภอบางกรวย จงั หวัดนนทบุรี อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ
3.2 ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าด่ืม ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุชิน

น้าดื่ม ของลูกคา้ ในอ้าเภอบางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี ไดแ้ ก่ปัจจัยดา้ นการกา้ หนดราคา
3.3 ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าดื่ม ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุชิน

น้าด่ืม ของลูกค้าในอา้ เภอบางกรวย จังหวัดนนทบรุ ี แตกต่างกัน

312

4

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

4. วธิ ีการด้าเนนิ การวจิ ัย
4.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ลูกค้าในอ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ผู้วิจัยใช้สูตร

ค้านวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 399 คน
การสุ่มตัวอย่างใช้หลักความน่าจะเป็น โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) ตามวัน
เวลา และจ้านวนท่ีก้าหนดไว้ในแผนงานการเก็บข้อมูล โดยให้ทุกหน่วยมีโอกาสถูกเลือกข้ึนมาตอบ
แบบสอบถามเทา่ เทยี มกันให้ได้กลมุ่ ตวั อย่างครบตามจ้านวนทก่ี า้ หนดไว้

4.2 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของลูกค้า
ประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดบั การศึกษา สถานภาพ จา้ นวนสมาชิกในครอบครวั อาชพี รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน
ความถี่ในการซ้ือ ตัวแปรตาม ได้แก่ ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าด่ืม
ตราบัวทิพย์ ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย
ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ และด้านโครงสร้างทาง
กายภาพของบรษิ ัทสชุ ิน นา้ ดม่ื

4.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการวจิ ัยเรม่ิ ต้งั แตวันที่ ถึงวันที 2563 กรกฏาคม 11่ กุมภาพันธ์ 262564
4.4 ผู้วิจัยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะของ
เครื่องมือแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ส่วนท่ี 2
แบบสอบถามเก่ียวกับส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าด่ืมตราบัวทิพย์ เป็น
แบบสอบถามแบบใช้มาตรวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ การแปลความหมาย
ตามเกณฑ์ ของ ธานนิ ทร์ ศลิ ป์จารุ [1] ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
4.5 การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้วิจยั ใชส้ ถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดงั นี้

4.5.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของลูกค้า ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา สถานภาพ จ้านวนสมาชิกในครอบครัว อาชีพ รายได้เฉล่ียต่อเดือน ความถี่ในการซ้ือ ใช้การ
วเิ คราะหด์ ว้ ยคา่ ความถ่ี )Frequency (และคา่ รอ้ ยละ )Percentage(

4.5.2 แบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าด่ืมตราบัว
ทพิ ย์ ใช้การวเิ คราะห์ด้วยคา่ เฉลยี่ )Mean) และคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation(

4.5.3 การเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าดื่มตราบัวทิพย์
จ้าแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ใช้การวิเคราะห์โดยสถิติทดสอบ t-test และใช้สถิติทดสอบ F-test
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีพบว่าความแปรปรวนมีความแตกต่างอย่างมี
นัยส้าคัญทางสถิติท้าการทดสอบค่าเฉล่ียรายคู่ (Multiple Comparison) โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่
)Scheffe' (กา้ หนดระดบั นัยสา้ คญั ทางสถิติไว้ทร่ี ะดับ 0.05

313

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5. ผลการวิจัย

5.1 ลูกค้าในอ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ท่ีกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 399 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง

คิดเป็น ร้อยละ 53.40มีอายุต่้ากว่า ปี 35 – 25 อายุ 13.50 คน คิดเป็นร้อยละ 54 ปี จ้านวน 25 – 15

คน 187 จ้านวนคดิ เป็นร้อยละ 46.90มีการศกึ ษาระดับ ปริญญาตรี คดิ เป็นร้อยละ สถานภาพ สมรส 55.10

46.90 คิดเป็น ร้อยละจ้านวนสมาชิกในครอบครัว 56.60 คน คิดเป็น ร้อยละ 226 คน จ้านวน 3 – 2

อาชีพ พนักงานเอกชน จ้านวน 48.60 คน คิดเป็น ร้อยละ 194มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน10 , – 001

20, 33.80 บาท คิดเป็น ร้อยละ 000ความถ่ีในการซื้อ 3 – 4 ครงั้ ตอ่ สัปดาห์ คดิ เปน็ ร้อยละ 59.40

5.2 ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าด่ืม ตราบัวทิพย์ จากบริษัท สุชิน

น้าด่มื ของลกู ค้าในอา้ เภอบางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี ปรากฏผลดงั ตารางที่ 1

ส่วนผสมทางการตลาดที่มอี ิทธพิ ลต่อการตดั สินใจซือ้ น้าดื่ม ) ̅( (S.D.) แปลผล ลา้ ดับท่ี

1. ด้านผลติ ภณั ฑ์ 4.19 0.51 มาก 1

2. ดา้ นการกา้ หนดราคา 4.08 0.70 มาก 4

3. ด้านช่องทางการจัดจา้ หนา่ ย 3.90 0.77 มาก 5

4. ด้านการสง่ เสรมิ การตลาด 3.81 0.92 มาก 7

5. ด้านบุคลากรผใู้ ห้บรกิ าร 4.12 0.58 มาก 2

6. ดา้ นกระบวนการให้บรกิ าร 4.09 0.70 มาก 3

7. ด้านโครงสร้างทางกายภาพ 3.89 0.81 มาก 6

โดยรวม 4.01 0.46 มาก

จากตารางที่ 1 พบว่า ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าดื่ม โดยรวม โดยรวมอยู่

ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ) ̅ (= 4.01 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียง

ตามล้าดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ ค่าเฉล่ีย ) ̅ (= 4.19 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ค่าเฉล่ีย

) ̅ (= 4.12 ด้านกระบวนการให้บริการ ค่าเฉล่ีย ) ̅ (= 4.09 ด้านการก้าหนดราคา ค่าเฉลี่ย ) ̅ (= 4.08

ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ค่าเฉลี่ย ) ̅ (= 3.90 ด้านโครงสร้างทางกายภาพ ค่าเฉลี่ย ) ̅ (= 3.89 และ

ดา้ นทม่ี คี า่ เฉลี่ยตา้่ ท่สี ุด ด้านการสง่ เสรมิ การตลาด คา่ เฉลยี่ ) ̅ (= 3.81 ตามลา้ ดับ

5.3 ผลเปรยี บเทยี บสว่ นผสมทางการตลาดท่มี ีอิทธพิ ลต่อการตดั สนิ ใจซ้ือน้าดม่ื ตราบัวทิพย์ จากบรษิ ัท

สุชนิ นา้ ดม่ื ของลูกคา้ ในอา้ เภอบางกรวย จังหวดั นนทบรุ ี จ้าแนกตามปัจจยั พน้ื ฐานส่วนบคุ คล ปรากฏผลดัง

314

6

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ตารางที่ 2

สว่ นผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตดั สินใจซอ้ื น้าด่ืม ตราบวั ทิพย์

ปจั จัยพ้นื ฐานส่วนบุคคล ด้านผลิต ัภณ ์ฑ
้ดานการ ้กาหนดราคา
้ดานช่องทางการ ัจด
จ้าหน่าย
้ดานการส่งเสริม
การตลาด
ด้านบุคลากรผู้
ใ ้หบริการ
้ดานกระบวนการ
ใ ้หบริการ
ด้านโครงสร้างทาง
กายภาพของร้าน
โดยรวม

1. เพศ 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.95 0.00* 0.00* 0.00*

2. อายุ 0.11 0.78 0.94 0.35 0.18 0.06 0.16 0.19
3. ระดับการศึกษา 0.00* 0.12 0.11 0.17 0.46 0.05* 0.01* 0.01*
4. สถานภาพ 0.10 0.17 0.05* 0.03* 0.08 0.03* 0.31 0.01*
5. จ้านวนสมาชกิ ในครอบครวั 0.26 0.00* 0.01* 0.02* 0.12 0.16 0.02 0.00*
6. อาชีพ 0.73 0.25 0.60 0.84 0.08 0.00* 0.03* 0.07
7. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 0.30 0.59 0.13 0.79 0.00* 0.19 0.39 0.37
8. ความถ่ีในการซื้อ 0.30 0.46 0.31 0.17 0.02* 0.00* 0.03* 0.00*
* มนี ัยส้าคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.05

จากตารางท่ี 2ส่วนผสมทางการตลาดทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการตัดสนิ ใจซ้ือน้าดมื่ ตราบวั ทพิ ย์ จากบรษิ ัทสชุ นิ น้าด่ืมของลูกค้า

ในอา้ เภอบางกรวยจงั หวดั นนทบุรี จา้ แนกตามปจั จัยพ้นื ฐานส่วนบคุ คลพบวา่

5.3.1ลูกค้าที่มีเพศแตกต่างกัน ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าดื่มตราบัวทิพย์ ด้านบุคลากรผู้

ให้บริการไม่แตกต่างกันส่วนโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคาด้านช่องทางการจัดจ้าหน่ายด้าน

การส่งเสรมิ การตลาดดา้ นกระบวนการให้บริการและด้านโครงสร้างทางกายภาพแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สา้ คัญทางสถิติ ทีร่ ะดบั 0.05

5.3.2ลูกค้าท่ีมีอายุแตกต่างกันส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าด่ืมตราบัวทิพย์ จ้าแนกตามอายุ

โดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้าน

บคุ ลากรผ้ใู หบ้ รกิ ารดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการดา้ นโครงสรา้ งทางกายภาพไม่แตกตา่ งกัน

5.3.3ลูกค้าที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าดื่มตราบัวทิพย์ ด้าน

การก้าหนดราคาด้านช่องทางการจัดจา้ หน่ายด้านการส่งเสริมการตลาดด้านบุคลากรผู้ใหบ้ ริการไม่แตกต่างกันส่วนโดยรวม

และรายดา้ นได้แก่ ดา้ นกระบวนการให้บริการด้านโครงสรา้ งทางกายภาพแตกต่างกนั อย่างมนี ยั ส้าคญั ทางสถิติ ท่ีระดบั 0.05

5.3.4 ลูกค้าท่ีมีสถานภาพแตกต่างกันส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าดื่ม ตราบัวทิพย์ ด้านผลิตภัณฑ์

ด้านการก้าหนดราคาด้านบุคลากรผู้ให้บริการด้านโครงสร้างทางกายภาพไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้าน

ช่องทางการจดั จา้ หน่ายด้านการส่งเสรมิ การตลาดและด้านกระบวนการให้บรกิ ารแตกตา่ งกนั อย่างมีนยั ส้าคัญทางสถติ ิ ทร่ี ะดบั 0.05

5.3.5ลูกคา้ ท่ีมีจ้านวนสมาชกิ ในครอบครวั ส่วนผสมทางการตลาดทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ การตดั สินใจซือ้ น้าดืม่ ตราบวั ทพิ ย์ ดา้ นผลิตภัณฑ์

ดา้ นบคุ ลากรผู้ให้บริการดา้ นกระบวนการให้บริการไม่แตกตา่ งกันสว่ นโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านการก้าหนดราคาด้านช่องทางการ

จัดจ้าหนา่ ยดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาดและด้านโครงสร้างทางกายภาพแตกตา่ งกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ทีร่ ะดบั 0.05

5.3.6ลกู คา้ ทม่ี อี าชพี ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าด่มื ตราบวั ทพิ ย์ โดยรวมและรายด้านได้แก่

315 ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ ดา้ นการก้าหนดราคาด้านช่องทางการจัดจ้าหนา่ ยด้านการส่งเสรมิ การตลาดดา้ นบคุ ลากรผู้ให้บรกิ ารไม่

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

แตกตา่ งกันส่วนด้านผลติ ภัณฑ์ ดา้ นการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจดั จา้ หน่าย ด้านการส่งเสรมิ การตลาด ดา้ นกระบวนการ
ใหบ้ ริการและด้านโครงสร้างทางกายภาพแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยส้าคญั ทางสถติ ิ ท่รี ะดบั 0.05

5.3.7ลูกค้าท่ีมีรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันสว่ นผสมทางการตลาดทมี่ อี ิทธิพลต่อการตดั สินใจซ้ือน้าด่ืมตราบัวทพิ ย์ โดยรวม
และรายด้านได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการก้าหนดราคาด้านช่องทางการจัดจ้าหน่ายด้านการส่งเสริมการตลาดด้านกระบวนการ
ใหบ้ รกิ ารดา้ นโครงสรา้ งทางกายภาพไม่แตกตา่ งกนั ส่วนด้านบุคลากรผูใ้ หบ้ ริการแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส้าคัญทางสถิติ ทรี่ ะดบั 0.05

5.3.8ลูกค้าท่ีมีความถี่ในการซ้ือส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธพิ ลต่อการตัดสินใจซื้อน้าด่ืมตราบัวทิพย์ ด้านผลติ ภัณฑ์
ด้านการก้าหนดราคาด้านช่องทางการจา้ หน่ายด้านการสง่ เสรมิ การตลาดไมแ่ ตกต่างกันส่วน
โดยรวมและรายดา้ นได้แก่ ดา้ นบคุ ลากรผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นกระบวนการให้บรกิ ารและด้านโครงสรา้ งทางกายภาพแตกต่างกัน
อย่างมนี ยั สา้ คญั ทางสถติ ิ ท่รี ะดบั 0.05
6. สรปุ ผล

ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อน้าด่ืมตราบัวทิพย์ จากบริษัทสุชิน น้าดื่มของลูกค้าในอ้าเภอบาง
กรวยจังหวัดนนทบุรี โดยรวมอยู่ในระดบั มากและเมอ่ื พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านเรียงล้าดับจากมากไป
หาน้อย ดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการด้านการก้าหนดราคา ด้านช่องทางการจัด
จ้าหน่ายด้านโครงสร้างทางกายภาพและด้านการส่งเสริมการตลาดสอดคล้องกับผลงานวิจัยของพัชรินทร์ สมพุฒิ [2]ได้ศึกษา
พฤติกรรมการบริโภคน้าดื่มบรรจขุ วดของประชาชนในต้าบลตลาดใหญ่ อ้าเภอดอยสะเก็ดจังหวัดเชียงใหม่ โดยพบว่าผบู้ รโิ ภคสว่ น
ใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่างคน ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างมีรายได้ของครอบครวั ตอ่ 5-3ปี จ้านวนสมาชกิ ในครอบครัว55-41
5เดือน,10-001,บาทผู้บริโภคตดั สินใจบริโภคนา้ ด่ืมบรรจขุ วดด้วยตัวเองและมีความคิดว่าน้าดื่มบรรจขุ วดมีความจา้ เป็นตอ่ 000
การด้ารงชีวิตในระดับมาก ราคาท่ีขายในปัจจุบันมีความเหมาะสมแล้วแต่ถ้าหากมีการปรับขึ้นราคาในอนาคตก็จะหันมาบริโภค
น้าประปาแทนผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ ความส้าคัญในด้านความสะอาดมากที่สุดรองลงมาคือด้านราคาการให้บริการครอบคลุมทกุ
พื้นท่ี การมีกิจกรรมช่วยเหลือสังคมส่วนพฤติกรรมการบริโภคน้าด่ืมผู้บริโภคนิยมบริโภคยี่ห้อศรีแก้ว รูปแบบภาชนะบรรจคุ อื
ขวดขาวขุ่นแบบคืนขวดขนาดถังโดยผ้ผู ลิตมบี ริการจัดส่งถงึ บ้าน1ถงั และ2ซีซี สว่ นจ้านวนทผี่ บู้ รโิ ภคซือ้ ในแตล่ ะคร้งั คอื 950

6.1ดา้ นผลิตภณั ฑ์ โดยรวมอยใู่ นระดบั มากเมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบวา่ นา้ ดื่มใสสะอาดปราศจากกลน่ิ อยใู่ นระดบั มาก
บรรจุภัณฑ์สามารถเคลื่นอย้ายจับ ถือ บรรจุภัณฑ์สะอาดไม่คราบความสกปรกฝาปิดล๊อคสนิทอยู่ในระดับมาก ฉลากบรรจุ
ภัณฑ์มีความสวยงามและความดึงดูดใจให้ซอื้ และพกพาได้สะดวกอยู่ในระดับบรรจุภัณฑ์มีความคงทนตอ่ แรงกระแทกอยใู่ น
ระดับมาก ตามล้าดับสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ [3]และ ปาณิศา มีจินดา [4]ได้ให้ความหมายของ
ผลิตภัณฑ์ หมายถึงสินค้าหรือบริการที่น้าเสนอต่อตลาดเพื่อเรียกร้องความสนใจให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการสามารถสนอง
ความต้องการของผบู้ ริโภคบ่งบอกถึงคุณค่าได้ และเป็นประโยชนต์ ่อผบู้ รโิ ภคคุณสมบัติที่ส้าคัญของผลติ ภัณฑ์ ประกอบดว้ ย
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ลักษณะทางกายภาพราคา ช่ือเสียงหรือตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ การออกแบบการรับประกันสี การ
ใหบ้ รกิ ารและความปลอดภยั ในการใชง้ าน

6.2ด้านการก้าหนดราคาโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่าราคาเหมาะสมกบั ขนาดและปริมาณอยู่
ในระดบั มากราคาเหมาะสมกับคณุ ภาพของน้าด่ืมอย่ใู นระดบั มากราคาเหมาะสมกับคุณประโยชน์ทไ่ี ด้รับอยูใ่ นระดับมากราคา

316

8

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ę
Ă÷ใĎ นระดบั เดียวกนั เม่อื เทียบกับน้าดื่มตราสนิ ค้าอ่นื และมหี ลายราคาใหเ้ ลอื กตามขนาดบรรจภุ ัณฑ์ อยู่ในระดบั มากสอดคลอ้ งกบั
แนวคิดทฤษฎีของ พรนภา ค้ามณี [5]ได้ให้ความหมาย การก้าหนดราคา หมายถึง จ้านวนเงินที่บุคคลต้องจ่ายเพ่ือให้ได้มาซ่ึง
กรรมสิทธ์ในตัวสินค้าและบริการโดยแสดงมูลค่าท่ีให้ผูบ้ ริโภคจ่ายเพื่อแลกเปลี่ยนกบั ความสะดวกและความพอใจท่ีได้รับจาก
การใชส้ ินคา้ หรือบริการ

6.3 ด้านช่องทางการจัดจ้าหน่าย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ท้าเลที่ต้ังของบริษัทสามารถ
เดนิ ทางมาใช้บริการไดส้ ะดวก อยู่ในระดบั มาก มีรถประจา้ ทางผ่านหลายสาย อย่ใู นระดบั มากการจัดวางสินคา้ โดดเดน่ สะดุดตา
อยู่ในระดับมากสินค้าจ้าหน่ายในร้านค้าโชห่วยทั่วไป อยู่ในระดับมากสินค้าวางจ้าหน่ายในร้านสินค้าสะดวกซ้ืออยู่ในระดบั
มากสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของวิภาวรรณร่วมชาติ [6]ได้ให้ความหมายของช่องทางผา่ นในการเคล่อื นย้ายของผลติ ภณั ฑ์
กรรมสิทธ์ในผลิตภัณฑ์ การส่ือสารการเงินและการช้าระเงินค่าซ้ือผลิตภัณฑ์ และความเส่ียงต่างๆ ไปสู่ผู้บริโภครายสุดท้าย
รวมถึงช่วยอ้านวยความสะดวกต่างๆเกิดขึ้นเพ่ือน้าผลติ ภณั ฑ์ที่ถูกต้องไปสู่สถานที่ท่ีถูกต้องและในเวลาที่ถกู ตอ้ งหน้าทขี่ อง
ช่องทางการจดั จ้าหนา่ ยชอ่ งทางการจดั จ้าหน่ายท้าหนา้ ทเ่ี คล่ือนย้ายผลิตภณั ฑจ์ ากผู้ผลิตไปยงั ผบู้ ริโภคเพอ่ื แกป้ ญั หาดา้ นเวลา
สถานที่ และช่องว่างระหว่างผูเ้ ป็นเจา้ ของผลิตภณั ฑก์ ับความตอ้ งการของผู้บริโภค

6.4 ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดบั มาก เมื่อพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ จดั ท้าแผ่นโฆษณาประชาสมั พนั ธ์น้า
ด่ืมในพ้ืนท่ีขายท่ัวไปอยู่ในระดับมากมีการโฆษณาผ่าน Socialnetworkเช่น WebPageFacebookเป็นต้น อยู่ในระดับมาก
บริการส่งฟรีถึงบ้านอยู่ในระดับมากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเช่นการลดแลกแจก แถมตามฤดูกาลอยู่ในระดับมาก
สมาชิกไดร้ บั ส่วนลดตามยอดสะสมซื้ออย่ใู นระดบั มากสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ทฤษฎี ของธธีรธ์ รธีรขวญั โรจน์ [7]ไดใ้ หค้ วามหมาย
การสง่ เสรมิ การตลาดหมายถึงการสง่ เสรมิ การตลาดของธรุ กจิ การบรกิ ารจะมคี วามคลา้ ยกบั ธรุ ขายสนิ คา้ ไม่วา่ จะเป็นการโฆษณา
การประชาสัมพันธ์ การให้ข่าวการลดแลกแจกแถมการตลาดทางตรงผ่านสื่อต่างๆซ่ึงการบริการที่ต้องการเจาะลูกค้าระดับสงู
ต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ช่วยสร้างภาพลักษณ์ ส่วนการบริการที่ต้องการเจาะลูกค้าระดับกลางและระดับล่างเน้นราคา
ค่อนข้างต่า้ ตอ้ งอาศัยการลดแลกแจกแถม

6.5ด้านบุคลากรผู้ให้บริการโดยรวมอยู่ในระดับมากพนักงานมีบุคลิกภาพดี อยู่ในระดับมากพนักงานแต่งกายสะอาด
เรียบร้อยอยู่ในระดับมากพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีด้วยใบหน้าย้ิมแย้มแจ่มใสอยู่ในระดับมากพนักงานมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มี
จา้ นวนเพียงพอตอ่ การใหบ้ รกิ ารอยูใ่ นระดับมากพนักงานสือ่ สารด้วยคา้ พดู ทสี่ ภุ าพ มีความกระตือรอื รน้ ในการให้บริการอยู่ใน
ระดับมากสอดคล้องกบั แนวคดิ ทฤษฎีของศิรวิ รรณเสรีรตั น์ [7]ได้ให้ความหมายของบุคลากรผู้ให้บรกิ ารหมายถึงพนักงานขาย
จะประกอบด้วยบุคคลทั้งหมดในองค์กรที่ให้บริการนั้น ซึ่งจะรวมต้ังแต่เจ้าของร้าน ผู้บริหาร พนักงานในทุกระดับ ซ่ึงบุคคล
ดงั กลา่ วทงั้ หมดมผี ลต่อคณุ ภาพของการใหบ้ ริการ

6.6ด้านกระบวนการให้บริการโดยรวมอยู่ในระดับมากขั้นตอนการส่ังซ้ือง่ายสะดวกไม่ซับซ้อน อยู่ในระดับมากการ
ให้บริการรวดเร็วไม่ต้องรอคอยนาน อยู่ในระดับมาก การให้บริการถูกต้องตามจ้านวนท่ีลูกค้าส่ังซ้ือ อยู่ในระดับมาก การ
ให้บริการลูกค้าตรงตามเวลาท่ีนัดหมาย อยู่ในระดับมากพนักงานน้าส่งน้าดื่มให้ลูกค้าถึงบ้านได้อย่างถูกต้อง อยู่ในระดับมาก
สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ วสันต์ นัยเนตร [8] ได้ให้ความหมายของ กระบวนการให้บริการ หมายถึง ปัจจัยที่เก่ียวกับ
ข้ันตอนในการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้กับผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือสร้างความพงึ พอใจสูงสดุ ให้กบั ลูกค้าเช่นการ
ส่งมอบสนิ ค้าอย่างรวดเรว็ ขน้ั ตอนในการด้าเนนิ งานส้นั กระชบั ปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลมากท่ีสุดคือจ้านวนเจ้าหนา้ ทีเ่ พยี งพอในการ

317 ให้บริการขัน้ ตอนในการขายไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ นขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหารวดเร็ว

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

6.7ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพโดยรวมอยใู่ นระดับมากการตกแต่งบรษิ ัทมเี อกลกั ษณ์ โดดเดน่ อย่ใู นระดับมากรูปแบบการ
จดั พนื้ ท่เี หมาะสมสะอาดปราศจากกลนิ่ อยูใ่ นระดบั มาก อปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื เครือ่ งใชใ้ นการผลติ นา้ ดมื่ สะอาดถูกสุขลักษณะ อยู่
ในระดับมาก การจัดแสดงสินค้าในบริษัทครบถ้วนทุกขนาด อยู่ในระดับมาก มีป้ายบอกรายละเอียด ปริมาตรบรรจุของน้าด่ืม
แสดงไว้อย่างชัดเจนอยู่ในระดับมากสอดคลอ้ งกบั แนวคิดทฤษฎีเกยี่ วกบั โครงสร้างทางกายภาพชัยสมพลชาวประเสรฐิ [9]ได้ให้
ความหมายของโครงสร้างทางกายภาพหมายถึง ปัจจัยที่เก่ียวกับภาพลักษณ์ สิ่งท่ีจับต้องได้และสภาพแวดล้อมณ พ้ืนที่ที่
ให้บริการ ซึ่งจะสร้างความประทับให้กับลูกค้า โดยสามารถสร้างได้จาก ตกแต่งสถานท่ีให้ดูเป็นทันสมัย น่าเชื่อถือ การจัดวาง
ส่ิงของเคร่ืองใช้ การประดับตกแต่งมีบริการเสรมิ ต่างๆระหว่างรอคิวหรือมีป้ายกา้ กับแสดงจดุ บริการต่างๆอย่างชัดเจนเพ่ือให้
ลูกค้าเข้าใจง่าย และสามารถเดินไปท้าธุรกรรมต่างๆได้อย่างสะดวกสบายก พบว่าปัจจัยด้านกายภาพมีอิทธิพลมากต่อการ
ตดั สนิ ใจซื้อกรมธรรม์ โดยมีปัจจัยย่อยทมี่ อี ิทธิพลมากคือเป็นบริษัทขนาดใหญ่ ใชเ้ ทคโนโลยที นั สมยั บรษิ ัทได้รับรางวลั หรือมี
สถาบันจากต่างประเทศรบั รองบริษทั ด้าเนนิ ธรุ กจิ ขนาดใหญ่ มีความมัน่ คงนา่ เช่อื ถือและผู้บริหารของบรษิ ทั มชี ่ือเสียง
7. ข้อเสนอแนะ

ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาสามารถน้าผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการก้าหนดแผนงานทางการตลาดที่มี
ประสิทธิภาพ และสรา้ งความได้เปรยี บในการแขง่ ขันกับคแู่ ขง่ ขนั ในตลาดน้าดม่ื ซึ่งผวู้ จิ ยั ขอสรุปข้อเสนอแนะ ดงั น้ี

7.1ดา้ นผลติ ภัณฑ์ บรรจุภัณฑค์ วรหนาแนน่ และทนทานกว่าเดิม ควรมขี นาดของบรรจภุ ัณฑ์ให้ผู้บรโิ ภคไดต้ ัดสินใจ
ซ้ืออย่างหลากหลาย

7.2ดา้ นการก้าหนดราคาการต้งั ราคาให้มคี วามแตกต่างจากคู่แขง่ ขันเพ่ือดงึ ดดู ความสนใจในการตัดสนิ ใจซอื้ ของลกู คา้
7.3เพ่ิมช่องทางการจัดจ้าหน่ายให้หลากหลายชอ่ งทางควรจัดท้ากิจกรรมการส่ือสารการตลาดท่ีมีความสมัยใช้สอื่
ออนไลน์ให้เป็นประโยชน์ในการตดิ ตอ่ สื่อสารกับลูกคา้ ปรบั ปรุงขัน้ ตอนการสัง่ ซอื้ สะดวกง่ายไมต่ ้องรอนาน

เอกสารอา้ งองิ 318
[1] ธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ. การวจิ ยั และวิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถติ .ิ พมิ พค์ รัง้ ที่ 11. นนทบุรี : บรษิ ทั เอส. อาร์.

พร้ินตงิ้ แมสโปรดัสก์ จ้ากดั (2553)
[2] พชั รนิ ทร์ สมพฒุ ิ.25) 52(. การศกึ ษาพฤติกรรมการบริโภคนา้ บรรจุขวดของประชาชนในต้าบลตลาด

ใหญ่.อ้าเภอดอยสะเก็ต. จังหวัดเชียงใหม.่
[3] ศิริวรรณ เสรรี ตั น์).2552). การบริหารการตลาดยคใหม่. ธรรมสาร.
[4] ปณิศา มจี ินดา) .2554). กลยทุ ธก์ ารตลาด และการวางแผน. บรษิ ทั ธรรมสาร จา้ กดั .
[5] พรนภา คา้ มณี) .2558). นโยบายผลติ ภณั ฑแ์ ละราคา. สา้ นกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ จา้ กดั .
[6] วิภาวรรณร่วมชาต.ิ (2557).การจัดการชอ่ งทางการจดั จา้ หน่ายและห่วงโซอ่ ปุ ทาน.สา้ นักพมิ พ์ศนู ยส์ ่งเสริมวิชาการ.
[7] ธธรี ธ์ ร ธรี ขัญโรจน.์ (2556). การตลาดบรกิ าร. สา้ นักพิมพบ์ รษิ ทั ซเี อ็ดยเู คชั่น จา้ กัดมหาชน.
[8] วสันต์ นยั เนตร) .2554). ปัจจยั สว่ นประสมการตลาดบริการที่มีผลตอ่ การตัดสินใจของลกู คา้ ในการ

ซ้ือประกันชวี ติ ผ่านธนาคารกรุงเทพ จา้ กัด งานวจิ ัย .ในอา้ เภอเมอื งเชยี งใหม่ )มหาชน(
บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ (บรหิ ารธรุ กิจ). มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. คณะบรหิ ารธุรกจิ .
[9] ชยั สมพล ชาวประเสริฐ) .2555). การบรหิ ารตลาด.เพียรส์ ัน เอ็ดดูเคช่ัน .กรุงเทพมหานคร . อินดไชน่า.

10

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การศกึ ษาสว่ นผสมทางการตลาดที่มอี ิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจซ้ือประกนั ภยั รถยนต์ทนี่ ง่ั ส่วนบุคคล
จากบริษทั กรงุ เทพประกนั ภยั จากดั สานักงานใหญ่ )มหาชน( ของผเู้ อาประกันภยั
ในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร

The Study of the Marketing Mix Influencing the Purchase of Car Insurance
for Personal seats Of Bangkok Insurance

นางสาวทศั นีพร แรท่ องขาว1,นางสมหมาย เสถยี รธรรมวทิ ย2์ , นายอนชุ ติ ปรมศี นาภรณ3์
Miss Siriporn Manmoh1,sommai Satheantheammawit2 Mr. Anuchit Poramesanaporn3

1สาขาวิชาการตลาด วิทยาลยั พณชิ ยการธนบุรี สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร รหสั ไปรษณยี ์ 10600

E-mail: [email protected], เบอร์โทร 061-994-3885

2นางสมหมาย เสถยี รธรรมวทิ ย์ วิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 092-919-9149

บทคดั ย่อ

การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อ1)ศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจซื้อประกนั ภัยรถยนตท์ นี่ ่ัง
ส่วนบุคคลจากบริษัทกรุงเทพประกันภัย จากัดสานักงานใหญ่ )มหาชน)ของผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร
2) เปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีนั่งส่วนบุคคล จากบริษัท กรุงเทพ
ประกนั ภยั จากัด สานักงานใหญ่ )มหาชน) ของผูเ้ อาประกนั ภัยในเขตสาทรกรุงเทพมหานครจาแนกตามปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้เอาประกันภยั ในเขตสาทรจานวน400คน เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ )Frequency)ค่าร้อยละ )Percentage)ค่าเฉล่ีย )Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน )Standard
Deviation)ทดสอบค่าสถิติ t– testค่าสถิติทดสอบF-testวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว)One– Way– ANOVA) กรณีพบ
ความแปรปรวนมีความแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติ ทาการทดสอบรายคูโ่ ดยวธิ กี ารของเชฟเฟ่ )Scheffe)ผลการศกึ ษาพบวา่

ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ใน
ระดั บมากทุ กด้ านเรี ยงตามล าดั บจากมากไปหาน้ อยดั งนี้ ด้ านผลิ ตภั ณฑ์ ด้ านการก าหนดราคา
ด้านโครงสร้างทางกายภาพ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านท่ีมี
ค่าเฉล่ียตา่ ท่สี ุดด้านกระบวนการให้บรกิ าร ตามลาดบั

ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า จาแนกตามเพศด้านการกาหนดราคาด้านช่องทางการจัดจาหน่ายด้านโครงสรา้ ง
ทางกายภาพ โดยรวม ไม่ แตกต่ างกั น ส่ วนด้ านผลิ ตภั ณฑ์ ด้ านส่ งเสริ มการตลาด ด้ านบุ คลากร
ผู้ใหบ้ รกิ ารด้านกระบวนการให้บรกิ ารแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั จาแนกตามอายุ 0.05 จาแนกตามอาชพี
จาแนกตามรายได้ โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05 จาแนกตามระดับการศึกษา
โดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านบุคลากรผใู้ ห้บริการไม่แตกต่างกันส่วนด้านช่องทางการจดั จาหน่ายด้านการ
ส่งเสริมการตลาดด้านกระบวนการให้บริการด้านโครงสร้างทางกายภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05
จาแนกตามสถานภาพโดยรวมและรายด้านไมแ่ ตกต่างกนั
คาสาคัญ : สว่ นผสมการตลาด ,ปจั จัยทางการตลาด

319

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

The Study of the Marketing Mix Influencing the Purchase of Car Insurance for Personal
seats Of Bangkok Insurance there is a purpose. 1) To study the marketing mix that influences
the purchase of personal seat car insurance from Bangkok Insurance Public Company
Limited, the insured's headquarters in Sathorn area. Bangkok. 2) To compare the marketing
ingredients that influence the decision to buy car insurance, personal seats from Bangkok
Insurance Public Company Limited, the insured's headquarters in Sathorn area. Bangkok.
Classified by personal fundamentals The sample used in the study was 400 people. Use
questionnaires as a tool for data collection. Statistics used in data analysis Such as
Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation. Comparison Studying the Marketing
Ingredients That Influence Buying Decisions Classified by personal fundamentals Statistical
analysis, t-test and statistical F-test were analyzed for one-way variance (One Way ANOVA).
Performed a double mean test (Multiple Comparison). Later by the method of Scheffe By
setting the statistical significance at level 0.05 The results of the project preparation found
that

1. Insured in Sathorn Area Bangkok, 400 people, mostly female, 218 people, 70.20
percent, aged 26 - 35 years, 253 people, 63.20 percent, with a bachelor's degree education,
285 people, 71.20 percent, marital status of 211, or a hundred. 52.80 per occupation, 196
company employees, or 49.00 percent, with an average monthly income of 15,000 - 20,000
baht, 150 people or 37.50 percent.

2. The study of marketing ingredients that influenced overall purchasing decision
(Physical Evidence) was at a high level. And when considering each side in descending order,
we found that the product side Is at the highest level

Key words: Marketing Mix, Marketing Factors

320

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

3

1. บทนา
บริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด )มหาชน) ดาเนินธุรกิจประกันภัย ต้ังอยู่ที่ถนนอนุวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์

เข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ในชื่อ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด )มหาชน)ดาเนินกิจการมาด้วยความ
ม่ันคง สามารถรับประกันภัยได้ครบทุกประเภท ภายใต้การแนวการบริหารงานท่ีเน้นประสิทธิภาพ มุ่งสู่ความ
เป็นสากล และสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า โดยมีสาขาและสานักงานให้บริการครอบคลุมทั่วทุกภาคของ
ประเทศ การดาเนินธุรกิจประกันภัยในปัจจุบัน สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ
ธรุ กิจประกันภัย ).คปภ)ไดม้ ีการส่งเสรมิ ใหธ้ ุรกิจประกนั ภัยควบรวมซื้อกิจการโดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
ให้บริษัทประกันภัยมีพันธมิตรที่ดี และการรวมกิจการเป็นทางเลือกหนึ่งท่ีจะทาให้บริษัทเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขัน มีฐานะทางการเงินที่มีความม่ันคงแข็งแกร่ง และมีเสถียรภาพมากขึ้นแต่ไม่ได้
ออกกฎหมายบงั คับเพียงแต่สง่ เสรมิ ให้เป็นไปตามกลไกของตลาดประกนั ภยั

จากสภาพการณ์ดังกลา่ วผูว้ จิ ัยมีความสนใจท่ีจะทาการศึกษาสว่ นผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีน่ังส่วนบุคคลจากบริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด สานักงานใหญ่ )มหาชน)
ของผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร ข้อมูลท่ีได้จะนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนงาน
การตลาด การส่งเสริมการขายประกันภัยรถยนต์ที่น่ังส่วนบุคคลให้มีคุณภาพสามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันใน
ตลาดประกันภัยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลต่อไป
2. วตั ถุประสงคก์ ารวิจัย

2.1 เพ่ือศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีนั่งส่วนบุคคล
จากบริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด สานักงานใหญ่ )มหาชน)ของผู้เอาประกันภัยใน เขตสาทร
กรุงเทพมหานคร

2.2 เพอ่ื เปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภยั รถยนตท์ น่ี ง่ั ส่วน
บุคคล จากบรษิ ัท กรงุ เทพประกันภยั จากดั สานักงานใหญ่ )มหาชน)ของผเู้ อาประกันภัยในเขตสาทร
กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล
3. สมมตฐิ านการวจิ ยั

3.1 ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์ที่นั่งส่วนบุคคล จากบริษัท
กรุงเทพประกันภัย จากัด )มหาชน) สานักงานใหญ่ ของผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร อยู่ใน
ระดบั มากทีส่ ดุ

3.2 ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีน่ังส่วนบุคคล จากบริษัท
กรุงเทพประกันภัย จากัด สานักงานใหญ่ )มหาชน)ของผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร ได้แก่
ส่วนประสมการตลาดด้านกาหนดราคา

3.3 ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์ที่นั่งส่วนบุคคล จากบริษัท
กรงุ เทพประกันภัย จากดั สานักงานใหญ่ )มหาชน)ของผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร จาแนก

321 ตามปัจจยั พ้นื ฐานส่วนบุคคลแตกต่างกัน

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4. วธิ ีการดาเนนิ การวิจัย
4.1 กลุ่มตวั อยา่ งทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาไดแ้ ก่ ลกู คา้ ได้แก่ ผเู้ อาประกันภยั ในเขตสาทร ผู้วิจัยใชส้ ูตรคานวณหา

ขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ )Taro Yamane) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน การสุ่ม
ตัวอย่างใช้หลักความน่าจะเป็น โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย )Simple Random Sampling) จากตารางวัน
เวลา และจานวน ที่กาหนดไว้โดยให้ทุกหน่วยมีโอกาสถูกเลือกขึ้นมาตอบแบบสอบถามเท่าเทียมกันให้ได้
กลุม่ ตัวอย่างครบตามจานวนทีก่ าหนดไว้

4.2 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของลูกค้า
ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้เฉล่ียต่อเดือน ตัวแปรตาม ได้แก่
ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีนั่งส่วนบุคคล ประกอบด้วย
ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร
ผู้ให้บรกิ าร ด้านกระบวนการใหบ้ ริการ และดา้ นโครงสรา้ งทางกายภาพ

4.3 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการวจิ ยั เริ่มตัง้ แตวนั ท่ี 11 กรกฏาคม 2563 ถงึ วันท่ี 28 กมุ ภาพันธ์ 2564
4.4 ผ้วู จิ ัยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มลี ักษณะดงั น้ี ส่วนที่ 1 แบบสอบถาม
เกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ที่น่ังส่วนบุคคล เป็นแบบสอบถามแบบใช้มาตรวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า
)Rating Scale) 5 ระดบั การแปลความหมายตามเกณฑ์ของธานินทร์ ศลิ ป์จารุ [1] ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
4.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผวู้ จิ ัยใช้สถิตใิ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดงั นี้

4.5.1 แบบสอบถามเกีย่ วกบั ปัจจัยพ้ืนฐานสว่ นบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา
สถานภาพ อาชีพ และรายไดเ้ ฉล่ียตอ่ เดือน ใชก้ ารวิเคราะห์ดว้ ยค่าความถ่ี) F และค่ารอ้ ยละ )Percentage)

4.5.2 แบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ที่
นัง่ สว่ นบุคคล ใชก้ ารวเิ คราะหด์ ้วยคา่ เฉลย่ี (Mean) และคา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน )Standard Deviation)

4.5.3 การเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์ที่น่ัง
สว่ นบุคคล จาแนกตามปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล ใช้การวิเคราะห์โดยสถิติทดสอบ t-test และใช้สถิติทดสอบ
F-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีพบว่าความแปรปรวนมคี วามแตกตา่ ง
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทาการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ (Multiple Comparison) โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่
(Scheffe') กาหนดระดบั นยั สาคญั ทางสถิติไวท้ ร่ี ะดับ 0.05

322

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

5

5. ผลการวจิ ัย

การศึกษาส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีนั่งส่วนบุคคล จาก

บรษิ ทั กรงุ เทพประกันภัย จากดั )มหาชน) สานักงานใหญ่ พบว่า

5.1 ผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานครที่ถูกเป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน ส่วนใหญ่เป็น

เพศหญิง คดิ เป็นร้อยละ 70.20 มอี ายุ ปี 35 - 26 คิดเป็นรอ้ ยละ 63.30 ระดับการศกึ ษาปริญญาตรี คดิ เป็น

ร้อยละ 71.20 สถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 52.80 สถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 52.80 อาชีพ

พนกั งานบริษัทคิดเป็น รอ้ ยละ 49.00 มีรายได้ 25,001-30,000 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.50

5.2 ส่วนผสมทางการตลาดที่มอี ิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจซือ้ ประกันภยั รถยนต์ที่นงั่ สว่ นบคุ คล จากบรษิ ัท

กรุงเทพประกันภยั จากดั สานกั งานใหญ )มหาชน) ปรากฏผลดงั ตารางที่ 1

ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการ ̅ (S.D.) แปลผล ลาดับที่

ตัดสนิ ใจซอ้ื ประกนั ภยั รถยนตท์ ่นี ั่งสว่ นบุคคล

1. ดา้ นผลิตภัณฑ์ 4.48 0.23 มาก 1

2. ด้านการกาหนดราคา 4.41 0.36 มาก 2

3. ดา้ นชอ่ งทางการจัดจาหน่าย 4.39 0.41 มาก 5

4. ด้านการส่งเสริมการตลาด 3.37 0.42 มาก 7

5. ด้านบุคลากรผ้ใู หบ้ ริการ 4.41 0.29 มาก 4

6. ดา้ นกระบวนการให้บริการ 4.25 0.66 มาก 6

7. ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพ 4.42 0.38 มาก 3

รวม 4.40 0.32 มาก

จากตารางที่ 1 พบว่า ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์ที่น่ังส่วน
บุคคล โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉล่ยี ( ̅) = 4.40 และเม่ือพิจารณาเปน็ รายดา้ นพบวา่ อยู่ในระดับทุกด้าน
เรยี งตามลาดบั จากมากไปหาน้อยได้ดงั นี้ ด้านผลติ ภณั ฑ์ ค่าเฉล่ีย ( ̅) = 4.48 ด้านการกาหนดราคา ค่าเฉลย่ี
( ̅) = 4.41 ด้านโครงสร้างทางกายภาพของร้าน ค่าเฉลี่ย ( ̅) = 4.42 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการค่าเฉล่ีย
( ̅) = 4.41 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ค่าเฉลี่ย ( ̅) = 4.39 ด้านกระบวนการให้บริการ ค่าเฉลี่ย
( ̅) = 4.25 และด้านที่มีค่าเฉลีย่ ต่าท่สี ุด ดา้ นการส่งเสริมการตลาด คา่ เฉลีย่ ( ̅)= 3.37 ตามลาดับ

323

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

5.3 ผลเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ีนั่งส่วน
บุคคล จากบริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด สานักงานใหญ )มหาชน) ของผู้เอาประกันภัยในเขตสาทร
กรงุ เทพมหานคร จาแนกตามปจั จยั พ้นื ฐานสว่ นบุคคล ปรากฏผลดังตารางที่ 2

ส่วนผสมทางการตลาดทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การตัดสนิ ใจซอื้ ประกนั ภยั
รถยนต์ท่ีนัง่ สว่ นบุคคล

ปจั จยั พืน้ ฐานส่วนบคุ คล
ด้านผลิต ัภณ ์ฑ
ด้านการกาหนดราคา
้ดานช่องทางการ ัจด
จาหน่าย
ด้านการส่งเสริม
การตลาด
ด้านบุคลากรผู้
ใ ้หบริการ
ด้านกระบวนการ
ใ ้หบริการ
้ดานโครงสร้างทาง
กายภาพของร้าน
โดยรวม

1. เพศ 0.00* 0.16 0.09 0.00* 0.00* 0.03* 0.25 0.33

2. อายุ 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*

3. ระดบั การศกึ ษา 0.12 0.00* 0.00* 0.00* 0.12 0.00* 0.00* 0.00*

4. สถานภาพ 0.06 0.26 0.57 0.75 0.04* 0.40 0.09 0.78

5. อาชพี 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*

6. รายได้เฉลย่ี ต่อเดือน 0.04* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*

* มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั 0.05

จากตารางที่ 2 สว่ นผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซอ้ื ประกนั ภัยรถยนต์ทีน่ ัง่ สว่ นบุคคล

จาแนกตามปจั จัยพื้นฐานส่วนบุคคล พบว่า

5.3.1 ลูกค้าท่ีมีเพศแตกต่างกัน ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตดั สินใจซ้อื ประกันภัยรถยนต์

ท่ีนั่งส่วนบุคคล โดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย และด้าน

โครงสร้างทางกายภาพไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ

ด้านกระบวนการให้บรกิ าร แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิ ท่ีระดับ 0.05

5.3.2 ลกู ค้าทีม่ ีอายุแตกต่างกนั สว่ นผสมทางการตลาดท่มี อี ิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจซ้ือประกนั ภยั รถยนต์

ทีน่ ั่งส่วนบุคคล โดยรวมและรายดา้ น แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ ท่รี ะดบั 0.05

5.3.3 ลูกค้าท่ีมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือผล

ประกนั ภัยรถยนต์ทน่ี ั่งสว่ นบุคคล จาแนกตามตามระดบั การศึกษา โดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านผลติ ภณั ฑ์

และด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด

ดา้ นกระบวนการให้บรกิ าร ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพ แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ 0.05

324

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

7

5.3.4 ลูกค้าที่มีสถานภาพแตกต่างกัน ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัย
รถยนต์ที่นั่งส่วนบุคคล โดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านผลิตภณั ฑ์ ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจดั
จาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านโครงสร้างทางกายภาพ ไม่แตกต่างกัน
ส่วนด้านบคุ ลากรผ้ใู ห้บรกิ าร แตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ ท่รี ะดบั 0.05

5.3.5 ลูกค้าที่มีอาชีพส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์ท่ีน่ังส่วน
บคุ คล โดยรวมและรายด้าน แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ 0.05

5.3.6 ลูกค้าท่ีมีรายได้เฉล่ียต่อเดือนแตกต่างกัน ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ
ประกันภยั รถยนตท์ น่ี ง่ั สว่ นบุคคล โดยรวมและรายด้าน แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ ทร่ี ะดับ 0.05
6. สรุปผล

ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ที่น่ังส่วนบุคคล จากบริษัท
กรงุ เทพประกันภยั จากัด สานกั งานใหญ่ )มหาชน)ของผเู้ อาประกนั ภัยในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร โดยรวม
อยู่ในระดับมาก โดยสอดคล้องกับผลงานวจิ ัยของ จรัสลักษณ์ อู่ทรัพย์ [2] ได้ศึกษาวิจัยเร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อ
การตัดสินใจซื้อประกันภัย รถยนต์ภาคสมัครใจโดยรวบรวมข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามในเขตกรุงเทพ
และปริมณฑล ท่ีเคยตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจแล้ว จานวน 404 คน ซ่ึงส่วนใหญ่มีอายุ
ระหว่าง 20-29 ปี และมีรายได้เฉล่ียต่อเดือน 20,001-30,000 บาท อีกท้ังพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วน
ใหญถ่ ือครอง กรมธรรมป์ ระกันภัยประเภท 1 มากทสี่ ุด โดยผมู้ ีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อมากท่สี ดุ คือบุคคล
ใน ครอบครัวและตนเอง มเี หตุผลทีส่ าคญั ทสี่ ุดสาหรบั การทาประกันภัยคือ การทราบถึงประโยชนข์ องความ
คุ้มครองและตอ้ งการการรับบริการเมื่อเกดิ อุบัติเหตุ

6.1 ด้านผลิตภัณฑ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กรมธรรม์ประกันภัย
รถยนต์ให้เลือกหลากหลายแบบ อยู่ในระดับมากที่สุด สามารถนาไปใช้ลดหย่อนภาษีได้ อยู่ในระดับมาก
ช่ือเสียงของบริษัทกรุงเทพประกันภัย จากัด มีความน่าเช่ือถือสูง อยู่ในระดับมากที่สุด ฐานะทางการเงินของ
บริษัทกรุงเทพประกันภัย จากัด มีความม่ันคงสูง อยู่ในระดับมากที่สุด อู่ซ่อมหรือศูนย์บริการที่อยู่ใน
เครือข่ายของบริษัทครอบคลุมท่ัวทุกจังหวัด อยู่ในระดับมากท่ีสุด ตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี
ของ เพ็ญศรี เลิศเกียรติวิทยา [3] ได้กล่าวว่า ผลิตภัณฑ์คือสิ่งท่ีผู้ผลิตนาเสนอแก่ผู้บริโภค และสามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการรวมทง้ั สรา้ งความพงึ พอใจให้เกิดขึ้นกับผู้ท่ีตดั สนิ ใจซื้อ

6.2 ด้านการกาหนดราคา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อัตราค่าเบี้ยประกันไม่สูง
มากเมื่อเทียบกับความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ท่ีจะได้รับ อยู่ในระดับมากท่ีสุด สามารถแบ่งชาระเบี้ยประกันภัย
รถยนต์ได้ตามเง่ือนไขของบริษัทได้ อยู่ในระดับมาก เม่ือเปรียบเทียบกับบริษัทอ่ืนค่าเบีย้ ประกันไม่แตกต่างกัน อยู่ใน
ระดับมากทสี่ ดุ มกี ารเสนอคา่ เบี้ยประกนั หลากหลายราคา อยใู่ นระดบั มาก ราคาเบ้ยี ประกนั มคี วามเหมาะสมกับความ
คุ้มครองที่ผู้ประกันภัยได้รับ อยู่ในระดับมาก ตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ นันทสารี สุขโต และคณะ
[4] ได้กล่าวไว้ว่า การกาหนดราคา หมายถึง จานวนเงินที่ถูกกาหนดขึ้นเป็นค่าสินค้าหรือบริการอาจหมายถึงจานวน

325 รวมของคุณคา่ ทั้งหมดท่ีลูกคา้ ยอมจ่ายเพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงประโยชนข์ องการไดร้ ับหรือการใช้สินคา้ หรือบริการ

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

6.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า 326
มีช่องทางการจัดจาหน่ายประกันภัยรถยนต์มีหลายช่องทาง เช่น บริษัท ตัวแทนจาหน่าย ธนาคาร อยู่ใน
ระดบั มากทสี่ ุด ทกุ ช่องทางการจัดจาหน่ายประกันภยั รถยนต์สามารถให้ข้อมลู เก่ยี วกบั การประกันภัยรถยนต์
ได้ อยู่ในระดับมาก มีสาขาและตัวแทนจาหน่ายครอบคลุมทุกจังหวัด อยู่ในระดับมาก ติดต่อตัวแทนของ
บริษัทได้ตลอดเวลา และสะดวก อยู่ในระดับมาก การติดต่อขอรับบริการจากสาขาของบริษัททาได้ง่าย
ไม่ยุ่งยาก อยู่ในระดับมาก ตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ ศุภชาต เอี่ยมรัตนกูล [5] ได้กล่าวไว้
ว่า การเข้าถึงช่องทางการจัดจาหน่าย ทาให้สินค้าเคลื่อนท่ีไปสู่ลูกค้าเป้าหมาย สินค้านั้นอาจผ่านคนกลาง
ประเภทต่างๆ จานวนมาก น้อยราย ขึ้นอยู่กับลักษณะ ชนิดของสินค้าซึ่งผู้ผลิตได้ศึกษาแล้วว่าคนกลาง
ประเภทใดจานวนมากน้อยเพียงใดที่จะทาให้การจัดจาหน่ายสินค้าของกิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สงู สดุ

6.4 ด้านส่งเสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือต่างๆ อย่างสม่าเสมอ อยู่ในระดับมากที่สุด การให้ส่วนลดค่าเบี้ยประกันภัยสาหรับผู้
เอาประกันท่ีมีประวัติการขับขี่ดีการให้ส่วนลดค่าเบ้ียประกันภัยสาหรับผู้เอาประกันที่มีประวัติการขับขี่ดี
อยู่ในระดับมาก มีของสมนาคุณตอบแทนสาหรับลูกค้าท่ีสนใจใช้บริการประกันภัย อยู่ในระดับมาก
มีจดหมายหรือพนักงานโทรแจ้งเตือนก่อน ประกันภัยรถยนต์จะหมดอายุ อยู่ในระดับมาก ตามลาดับ
สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ ธธีร์ธร ธีรขวัญโรจน์ [6] ได้กล่าวไว้ว่า การ ส่งเสริมการตลาดของธุรกิจการ
บริการจะมีความคล้ายกับธุรขายสินค้ากล่าวคือ การส่งเสริมการตลาด ของธุรกิจบริการทาใชได้ในทุก
รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา การประชาสัมพันธ์การให้ข่าว การลด แลก แจก แถม การตลาดทางตรง
ผ่านส่ือต่างๆ

6.5 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า พนักงานมี
บุคลิกภาพดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย อยู่ในระดับมาก พนักงานมีความรู้เกี่ยวกับประกันภัยรถยนต์ของ
บริษัททุกประเภท อยู่ในระดับมาก พนักงานให้รายละเอียดกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ได้อย่างชัดเจน
เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากที่สุด พนักงานมีความกระตือรือร้นในการให้บริการ มนุษย์สัมพันธ์ดี อยู่ในระดับ
มาก พนักงานส่ือสารด้วยคาพูดท่ีสุภาพ น่าฟัง อยู่ในระดับมากที่สุด มีจานวนพนักงานเพียงพอต่อการ
ให้บริการ อยู่ในระดับมาก ตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์ [7] ได้กล่าว
ไว้ว่า บริการ สิ่งที่ไม่มีตัวตน จับต้องไม่ได้ และเป็นส่ิงท่ีไม่ถาวร เป็นส่ิงที่เสื่อมสลายไปอย่างรวดเร็ว บริการ
เกิดขึ้นจากการปฏิบัติของผู้ให้บริการ โดยส่งมอบการบริการนั้นไปยังผู้รับบริการ หรือลูกค้า เพื่อใช้บริการ
นั้นๆโดยทันทีหรอื ภายใน ระยะเวลาเกือบจะทนั ทีที่มีการให้บรกิ าร

6.6 ด้านกระบวนการให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
มีศูนย์รับแจ้งเหตุท่ีให้บริการได้ ตลอด 24 ชั่วโมง อยู่ในระดับมากที่สุด การติดต่อแจ้งทาได้ง่าย สะดวก
อยใู่ นระดับมาก เจา้ หนา้ ท่ีรบั แจง้ เหตุ (Operator) มเี พียงพอตอ่ การให้บริการ อยใู่ นระดบั มาก มขี ัน้ ตอน

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

9

การพิจารณาและจ่ายค่าสนิ ไหมที่รวดเรว็ อยูใ่ นระดับมาก เจ้าหนา้ ที่มาสารวจอุบัตเิ หตุให้บริการเมื่อประสบ
อุบัติเหตุอย่างรวดเร็ว อยู่ในระดับมาก ตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ วสันต์ นัยเนตร [8]
ได้กล่าวไว้ว่า กระบวนการให้บริการเป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับข้ันตอนในการส่งมอบสินค้าหรือบริการให้กับ
ผู้บริโภคอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เพอื่ สร้างความพึงพอใจสงู สุดใหก้ ับลกู ค้า เช่น การสง่ มอบสนิ ค้าอย่างรวดเร็ว
ข้ันตอนในการดาเนินงานสั้นกระชับ ปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ จานวนเจ้าหน้าท่ีเพียงพอในการ
ให้บรกิ าร ขั้นตอนในการทาประกนั ภัยไมย่ ่งุ ยากซับซ้อนขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหารวดเร็ว

6.7 ด้านโครงสร้างทางกายภาพ โดยรวมอยใู่ นระดับมาก เม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า หนว่ ยงาน
สาขาของบรษิ ัทมีความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย น่าเชือ่ ถอื อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด ภายในสาขาของบริษัทมีความ
สะอาด บรรยากาศดี ปราศจากกลิ่น ตกแต่งสวยงามทันสมัย อยู่ในระดับมาก ภายในสาขาของบริษัทมีป้าย
แนะนาการให้บริการวางในจุดต่างๆ สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน อยู่ในระดับมากท่ีสุด
มีตัวแทนให้ข้อมูลพิเศษในกรณีที่ลูกค้าต้องการรับบริการอย่างเร่งด่วน อยู่ในระดับมาก มีสิ่งอานวยความ
สะดวกเพียงพอ ขณะรอรับบริการเช่น โต๊ะ เก้าอี้ หนังสือพิมพ์ และน้าดื่ม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ตามลาดับ
สอดคลอ้ งกับแนวคดิ ทฤษฎีของ เกตน์นิภา พรหมสิทธ์ิ [9] ได้กล่าวไว้ว่า โครงสร้างทางกายภาพ เปน็ ปัจจัยท่ี
เก่ียวกับภาพลักษณ์ ส่ิงท่ีจับต้องได้และสภาพแวดล้อม ณ พ้ืนที่ที่ให้บริการ ซึ่งจะสร้างความประทับให้กับ
ลูกค้า โดยสามารถสร้างได้จาก ตกแต่งสถานที่ให้ดูเป็นทันสมัย น่าเช่ือถือ การจัดวางสิ่งของเครื่องใช้ การประดับ
ตกแต่ง มีบริการเสริมตา่ งๆ
7. ข้อเสนอแนะ

ข้อมูลท่ีได้รับจากการศึกษาทาให้ทราบถึงส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ
ประกันภัยรถยนต์ที่น่ังส่วนบุคคล ซึ่งบริษัทนประกันภัยสามารถนาผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการ
กาหนดแผนงานทางการตลาดท่ีมีประสิทธิภาพ และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันกับคู่แข่งในธุรกิจ
ประกนั ภยั ซง่ึ ผวู้ ิจยั ขอสรุปข้อเสนอแนะ ดังน้ี

7.1 ด้านผลิตภัณฑ์ บริษัทประกันภัยควรให้ความสาคัญกับรูปแบบของกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ท่ี
ควรมีให้เลือกหลากหลายแบบ เน่ืองจากปัจจุบันความคุ้มครองของกรมธรรม์ไม่แตกต่างกันมากนัก ดังนั้น
บริษัทประกันภัยควรให้ความสาคัญในเร่ืองการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการให้บริการแก่ลูกค้าให้มากข้ึน
โดยเฉพาะในเร่ืองความถูกต้อง รวดเร็วในการจัดทากรมธรรม์ การขยายจานวนอู่ซ่อมหรือศูนย์บริการให้
ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อให้ลูกค้าได้รับความสะดวก สบายในการเข้ารับบริการซ่อมรถยนต์ภายหลังจาก
เกิดอุบัติเหตุ การติดต่อกับลูกค้าปัจจุบันอยู่เป็นประจาเพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิม การต่ออายุกรมธรรม์
ประกนั ภยั กับบรษิ ัท ควรใรจดหมายหรือพนักงานแจ้งเตือนก่อนประกันภัยจะหมดอายุ และมสี ่วนลดค่าเบี้ย
ประกันใหแ้ ก่ลูกค้าทม่ี ปี ระวตั กิ ารขบั ขีร่ ถยนต์ดี

7.2 ดา้ นการกาหนดราคา บรษิ ทั ประกนั ภยั ควรให้ความสาคัญกบั การออกแบบรปู แบบ เง่ือนไข ความ
คุ้มครอง วงเงินทุนประกัน และค่าเบี้ยประกันท่ีจะต้องจ่ายไว้ให้หลากหลายทางเลือกเพ่ือรองรับลูกค้าท่ีมี
ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน จะทาให้บริษัทประกันภัยสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้หลายระดับ

327 ส่งผลใหม้ ีส่วนแบง่ การตลาด และยอดขายทเ่ี พ่ิมมากขนึ้

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอา้ งอิง
[1] ธานนิ ทร์ ศิลปจ์ ารุ. การวิจัยและวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถิต.ิ พมิ พ์ครัง้ ท่ี 11. นนทบุรี : บรษิ ทั เอส. อาร.์

พรนิ้ ต้งิ แมสโปรดัสก์ จากัด )2553)
[2] จรัสลักษณ์ อ่ทู รพั ย์) 2558ปั )จจยั ทีม่ ผี ลตอ่ การตัดสนิ ใจซือ้ ประกนั ภัยรถยนตภ์ าคสมัครใจของผู้บริโภค

ในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล .การคน้ ควา้ อิสระ. บรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑิต .
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
[3] เพ็ญศรี เลิศเกยี รตวิ ทิ ยา และคณะ) .2558) หลักการขาย.สานกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ .
[4] นนั ทสารี สุขโต และคณะ) .2555). หลกั การตลาดเพียร์สนั เอ็ดดเู คช่ัน อิน โดสไชนา่ : กรุงเทพฯ .,บจก.
[5] ศุภชาต เอ่ียมรตั นกลู ) .2557). หลกั การตลาด.แสงดาว : กรงุ เทพฯ .

[6] ธธรี ธ์ ร ธรี ขญั โรจน์.สานกั พิมพบ์ รษิ ัท ซเี อ็ดยูเคชนั่ จากัดมหาชน .การตลาดบริการ .)2556) .
[7] วีระพงษ์ เฉลมิ จริ ะรตั น์) .2553). คุณภาพในงานบริการ พิมพค์ รัง้ ท)ี่ 5). กรุงเทพมหานคร.พมิ พด์ ี :

[8] วสันต์ นัยเนตร) .2554). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการทมี่ ีผลต่อการตัดสนิ ใจของลกู ค้าในการ ซ้อื

ประกันชีวติ ผ่านธนาคารกรุงเทพ จากดั งานวิจยั บริหารธุรกิจ .ในอาเภอเมอื งเชยี งใหม่ )มหาชน)

มหาบัณฑิต)บริหารธรุ กจิ ), มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, คณะบริหารธุรกจิ .

[9] เกตน์นภิ า พรหมสิทธิ์) .2555). ปัจจัยท่ีมีผลต่อการตดั สนิ ใจเลอื กซื้อประกนั ชวี ิตของ บ .อยธุ ยา
อลิอนั ซ์ ซีพี สาขาพิชัยสงคราม อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก งานวจิ ัยบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑิต .
)บริหารธรุ กจิ ), มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, คณะบริหารธรุ กิจ.

328

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจซอ้ื สินคา้ ผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุค๊
ของประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร

FACTORS INFLUENCING DECISION TO BUY PRODUCTS THROUGH LIVE
FACEBOOK OF THE POPULATION IN KLONG SAM WA, BANGKOK

นางสาวนรนิ ทร ณ ดารา
Miss. Narinthon Na Dara

นักศึกษา นางสาวนรนิ ทร ณ ดารา สาขาวชิ าการตลาด วทิ ยาลยั พาณิชยการเชตพุ น Email : [email protected]
อาจารย์ นายพรเทพ บรรลอื ทรพั ย์ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลยั พาณิชยการเชตุพน Email : [email protected]
อาจารย์ นางสาวกฤตยิ า วงั หอม สาขาวชิ าการตลาด วทิ ยาลัยพาณิชยการเชตุพน Email : [email protected]

บทคัดย่อ
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์ สดทาง
เฟสบุ๊ค ของประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร โดยใช้กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ
ประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ท่ีมีความต้องการซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ท้ังเพศ
ชายและเพศหญิง จานวน 400 คน โดยคานวณจากสูตรคานวณตัวอย่างจากประชากรของยามาเน (Yamane,
1967: 121) โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ (Mean) ค่าเฉล่ีย (Percentile) ค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard deviation) ทาการทดสอบสมมติฐานโดยสถิติ Independent t-test One Way
Anova และใช้เกณฑม์ าตรวัดแบบ Rating Scale 5 ระดบั ตามมาตรวัดแบบ ลิเคิรท์ (Likert’s Scale)
ผลการวิจัยพบวา่ ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉล่ียต่อ
เดือนท่ีแตกต่างกัน การตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ของประชากรในเขตคลองสามวา
กรงุ เทพมหานคร มีระดับความพงึ พอใจที่ไม่แตกตา่ งกนั
นอกจากนี้ยังพบว่า ระดับความพึงพอใจของการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ของ
ประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ในด้านการให้บริการ 7 ด้าน ด้านผลิตภัณฑ์ มีระดับความพึง
พอใจมากที่สุด ด้านการจดั จาหนา่ ย รองลงมา ด้านกระบวนการใหบ้ ริการ และด้านผลติ ภัณฑ์ มีระดบั ความพึง
พอใจนอ้ ยทีส่ ุด อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.05

329

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ABSTRACT
The purpose of this research is to study the factors affecting the decision of purchasing
products via live Facebook. Of the population in Klong Sam Wa area Bangkok the sample
group in this study was the population in Klong Sam Wa district. Bangkok Who has a need to
buy products through live streaming on Facebook Both male and female were calculated
from the formula for calculating a sample from the population of Yamane (Yamane, 1967:
121) using descriptive statistics such as Mean, Percentile, Standard Deviation. (Standard
deviation) The hypothesis test was conducted by Independent t-test One Way Anova and
using 5-level Rating Scale criteria based on Likert's Scale.
The results of the research were as follows: Personal factors consist of gender, age,
educational level, occupation, different average monthly income. Deciding to buy products
through live broadcast on Facebook of the population in Klong Sam Wa district, Bangkok There
was no different level of satisfaction.
It was also found that Satisfaction level of making purchase decisions via live Facebook
Of the population in Klong Sam Wa area Bangkok In the service area, 7 product areas Has the
highest level of satisfaction The distribution was followed by the service process. And product
side Have the least level of satisfaction Statistically significant at a level of 0.05
1. บทนา
ปัจจุบันการเปดิ ร้านบนเฟซบุ๊ค (Facebook)เปน็ เรือ่ งง่ายมาก แทบไมม่ ตี น้ ทุนเลย และสามารถ ทา
การขายออนไลนผ์ า่ นทางการ Live Video Streaming ซงึ่ เปน็ การขายสินค้าทผ่ี บู้ ริโภคสามารถเห็นสินค้า ของ
จริง สามารถสอบถามข้อ สงสัยไดท้ นั ทเี พ่ือประกอบการตัดสินใจซอื้ การบอกปากต่อปาก มีการให้รว่ มสนุก
โดยการกดไลค์กดแชรเ์ พอื่ เป็นตวั ชว่ ยในการทาการตลาดอีกทางหนึ่ง การขายสนิ ค้าโดยใช้ เฟซบ๊คุ ไลฟ์
(Facebook Live) จึงเป็นอีกหน่งึ ช่องทางของแม่คา้ พ่อคา้ ออนไลนน์ ามาเป็นอีกหนึ่ง ช่องทางหลักในการ
นาเสนอขายสินค้า จากเหตุผลดงั กล่าวผูว้ จิ ัยจงึ มคี วามสนใจทจ่ี ะศึกษาปจั จัยทมี่ ีผลต่อการตัดสินใจซื้อสนิ คา้
ผ่านการไลฟส์ ดทางเฟสบคุ๊ ของประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
ดังนั้นการเลอื กซื้อสนิ ค้าผา่ นการไลฟ์สดทางเฟสบุค๊ ต้องข้ึนอยูก่ ับการสรา้ งความเชื่อมั่นใหก้ บั
ผบู้ ริโภค หรือลูกคา้ ในซอ้ื สินคา้ ผา่ นการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยทีม่ ีผลต่อการตดั สินใจซอ้ื

330

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

2. วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั
2.1 เพอ่ื ศึกษาปจั จยั สว่ นบุคคล ดา้ นอายุ เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้เฉลย่ี ต่อเดือน
2.2 เพอ่ื ศกึ ษาปัจจยั ส่วนผสมทางการตลาดมีผลในการตัดสินใจซื้อสินคา้ ผ่านการไลฟส์ ดทางเฟสบุ๊ค

3. สมมุติฐานของการวจิ ยั
3.1. ปจั จยั สว่ นบุคคลท่ีแตกตา่ งกัน มผี ลในการตัดสนิ ใจซ้ือสินค้าผา่ นการไลฟส์ ดทางเฟสบุค๊ ของ

ประชากรในเขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร
3.2. ปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาดทแี่ ตกตา่ งกัน มผี ลในการตัดสินใจซื้อสนิ ค้าผ่านการไลฟส์ ดทาง

เฟสบุ๊ค ของประชากรในเขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร

4. กรอบแนวความคดิ ตวั แปรตาม
ตัวแปรอิสระ
ปจั จัยท่มี ีผลต่อการตัดสนิ ใจซ้ือสินคา้ ผา่ น
ปจั จัยส่วนบุคคล การไลฟส์ ดทางเฟสบคุ๊
1.เพศ
2.อายุ
3.ระดบั การศกึ ษา
4.อาชพี
5.รายไดเ้ ฉล่ยี ตอ่ เดือน

ส่วนประสมทางการตลาด7P
1. ผลิตภัณฑ์
2. ราคา
3. ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย
4. การสง่ เสรมิ การตลาด
5. บุคลากร
6. กระบวนการ
7. ลกั ษณะทางกายภาพ

331

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5. วิธีการดาเนินการวจิ ัย

วิจัยเร่ือง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ของประชากรในเขตคลองสามวา

กรุงเทพมหานคร ผู้วจิ ัยได้ดาเนินการตามข้นั ตอนดังนี้

5.1 การกาหนดประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

ประชากรท่ใี ช้ในการวจิ ยั ครั้งนี้ คือ ประชากรในเขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร ท่มี ีความ

ต้องการซื้อสินค้าผา่ นการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ท้งั เพศชายและเพศหญิง จานวน 204,900 คน (สานักงานเขต

คลองสามวา,สานกั บรหิ ารทะเบียน,กุมภาพนั ธ์ 2564)

กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ที่มีความต้องการซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สดทาง

เฟสบุค๊ ท้ังเพศชายและเพศหญงิ จานวน 400 คน โดยคานวณจากสูตรคานวณตัวอย่างจากประชากรของยามาเน (Yamane,

1967: 121)

5.2 การสร้างเครอื่ งมือท่ีใช้ในการวิจัย

5.2.1 ลักษณะของเครอ่ื งมอื

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม เร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการ

ไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ของประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร โดยผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวน แนวคิดทฤษฏี

วรรณกรรมและงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้องใหส้ อดคล้องกบั กรอบความคดิ และวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย แบง่ ออก เป็น 4 ตอนดังนี้

ตอนท่ี 1 เปน็ แบบสอบถามเกยี่ วกบั ปจั จัยสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา อาชีพ

รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดอื น มีลกั ษณะเป็นขอ้ คาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check list)

ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซ้ือสินค้าผ่านทางการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค

ได้แก่ ประเภทสินค้าท่ีท่านซื้อผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊คมากที่สุด ความถี่ในการซื้อสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค

จานวนเงนิ โดยเฉล่ยี ทที่ ่านใช้ซือ้ สินคา้ ในแต่ละครง้ั มีลกั ษณะเป็นข้อคาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check list)

ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเก่ยี วกบั ความคิดเหน็ ความพึงพอใจของผู้ซ้อื สินคา้ ผ่านการไลฟ์สด

ทางเฟสบุ๊ค ด้วยการสารวจ ข้อมูล 7 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด

ด้านบุคลากร และ ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ มลี ักษณะเป็นขอ้ คาถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)

ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ

5.2.2 การหาคุณภาพของเคร่อื งมอื

1) การหาความเท่ียงตรงตามเนื้อหา เพ่ือหาความสอดคล้องของแบบสอบถามว่าตรงตาม

จุดประสงค์ของการศึกษาหรือไม่ โดยตรวจสอบโดยผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ซึ่งผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถาม

พบว่า ขอ้ คาถามมคี ่ามากกว่า 0.5 ข้ึนไป

2) การหาความเช่ือมั่นของแบบสอบถาม ด้วยการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน

เพอ่ื หาค่าสมั ประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาด (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, หนา้ 200) ซ่ึงผลการหาความเชอ่ื มั่น

ของแบบสอบถามได้เทา่ กับ 0.97 332

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

5.3 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู
5.3.1 สถติ เิ ชงิ พรรณนา ได้แก่ คา่ ร้อยละ ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน เพื่อวิเคราะห์

ปจั จัยส่วนบคุ คล
5.3.2สถติ เิ ชงิ อนมุ าน
1) สถิติ t-test, One Way-ANOVA เพ่ือทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วน

บคุ คลกบั ปจั จยั ทางด้านเศรษฐกิจและสงั คมท่มี ผี ลกบั การตัดสินใจซื้อรถยนต์มือสอง
2) สถติ ิคา่ สมั ประสิทธิ์สหสัมพนั ธ์แบบเพียร์สัน เพอ่ื ทดสอบปัจจยั ทางด้านเศรษฐกิจ

และสงั คมทีม่ ีผลกับการตดั สินใจซอ้ื สนิ คา้ ผา่ นการไลฟ์สดทางเฟสบุค๊

6. สรุปผลการวิจัย
การศกึ ษาวจิ ยั คร้งั น้ี ผ้วู ิจัยได้เกบ็ รวมรวมข้อมลู โดยการใช้แบบสอบถามความสาคัญเร่อื งปจั จัยที่มีผล

ต่อการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ของประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
จานวน 400 ชุด ดังนี้

6.1 ปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง การศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงาน
บรษิ ัทเอกชน รายไดเ้ ฉล่ยี ต่อเดอื น 10,001-20,000 บาท

6.2 มีความคิดเห็นเก่ียวกับระดับความสาคัญเก่ียวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านการ
ไลฟส์ ดทางเฟสบคุ๊ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก

6.3 ความสัมพันธ์ของความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสาคัญเกี่ยวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือ
สินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริม
การตลาด ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร และ ด้านกระบวนการให้บริการ ระดับความสาคัญใน
ภาพรวม พบว่า ด้านท่ีมีความสัมพันธ์กันมากที่สุดคือ ความสัมพันธ์ระหว่างด้านการจัดจาหน่าย กับปัจจัย
ทางด้านเศรษฐกจิ และสงั คมที่มีผลกับการตัดสินใจซื้อสนิ ค้าผ่านการไลฟส์ ดทางเฟสบคุ๊

6.4 การทดสอบสมมตุ ิฐาน
1) ประชากรในเขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร ทม่ี ีเพศแตกตา่ งกนั สง่ ผลต่อความพึงพอใจ

7 ด้าน ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร และ ด้าน
กระบวนการให้บริการ ท่ีแตกต่างกัน ประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ท่ีมีอายุแตกต่างกันมี
ความสาคัญในการตดั สินซอ้ื สนิ คา้ ผ่านการไลฟส์ ดทางเฟสบุ๊ค ทแี่ ตกต่างกนั

2) ศึกษาความสัมพันธ์ของส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัด
จาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร และ ด้านกระบวนการให้บริการ มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ
สนิ ค้าผา่ นการไลฟ์สดทางเฟสบ๊คุ โดยภาพรวมของผู้รบั บริโภคส่วนใหญ่มีระดับความสาคัญด้านการจัดจาหน่าย
มากท่สี ุด

333

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

7. อภปิ รายผล
จากผลการวิจัยเร่ือง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ของประชากรใน

เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร มกี ลุม่ ตัวอย่างอภิปรายผลไว้ ดงั น้ี
7.1 ประชากรในเขตมีนบุรี กรงุ เทพมหานคร ท่มี ีเพศแตกต่างกันส่งผลต่อการให้บรกิ าร 4 ดา้ น ด้านผลิตภัณฑ์ ดา้ น

ราคา ด้านชอ่ งทางกันจัดจาหนา่ ย ดา้ นการส่งเสรมิ การตลาด ไมแ่ ตกตา่ งกัน สอดคลอ้ งกับทฤษฎแี นวคิดของ รชั นีกร ณ พัทลุง
(2548) ได้กล่าวไว้ว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสาคัญระหว่างการส่งเสริมการตลาดกับการตัดสินใจซื้อ โดยเลือกช่วงเวลาท่ี
เหมาะสมและตราย่หี อ้ ในองคป์ ระกอบการส่งเสรมิ การตลาดผู้บรโิ ภคให้ความสาคัญกับพนกั งานขายเป็นอันดับแรก

7.2 ประชากรในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศแตกต่างกนั 7 ด้าน ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการ
จัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร และ ด้านกระบวนการให้บริการ ท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับผล
การศึกษาของ วันดี รตั นกายแกว้ (2554) ได้ทาการศกึ ษาเรอ่ื งพฤตกิ รรมการซอื้ สินค้าในเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์เฟสบ๊คุ โดย
ปัจจัยสว่ นประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลตอ่ การตดั สินใจซอื้ มากท่สี ดุ คอื ดา้ นช่องทางการจัดจาหน่ายอยา่ งมนี ยั สาคัญ

1) ด้านผลิตภณั ฑ์ ผ้บู รโิ ภคให้ความสาคัญมากทส่ี ุด คือ สามารถเปลี่ยนสินคา้
ได้ถา้ สนิ ค้ามปี ัญหา และ มีการบอกรายละเอียดของสินค้าครบถ้วน ซงึ่ มคี วามสอดคลอ้ งกับผลการศึกษาของ วภิ าวรรณ
มโนปราโมทย์ (2556) ที่ทาการศึกษาเรื่องปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม)
ของประชากรในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ มีอิทธิพลต่อ
การตดั สนิ ใจซ้อื สินค้าผ่านทางสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของประชากรในกรุงเทพมหานคร

2) ด้านราคา ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากท่ีสุด คือ การชาระเงินมีให้เลือกหลายช่องทาง ซ่ึง
สอดคลอ้ งกับผลการศึกษาของ ชัยวฒั น์ พทิ กั ษ์รกั ธรรม (2556) ได้ทาการศกึ ษาเรือ่ งปจั จัยท่มี คี วามสมั พันธ์ต่อการ
ตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค โดยผู้บริโภคให้ความสาคัญกับอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือสินค้าออนไลน์
ซง่ึ ในท่นี ีจ้ ะหมายถึงระบบการชาระเงินและการจดั ส่งสินค้า

3) ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากท่ีสุด ชื่อร้านค้าจดจาได้ง่าย ซ่ึงสอดคล้อง
กับผลการศึกษาของ วันดี รัตนกายแก้ว (2554) ได้ทาการศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการซื้อสินค้าในเครือข่ายสังคมออนไลน์
เฟสบุ๊ค โดยปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาดที่มีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือมากทส่ี ุด คือ ดา้ นช่องทางการจัดจาหน่าย

4) ด้านการส่งเสริมการตลาด ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากท่ีสุด คือ มีการลดราคาสินค้าท่ีตกรุ่น ซึ่ง
สอดคล้องกบั ผลการศกึ ษาของ สทุ ามาศ จันทรถ์ าวร (2556) ทาการศกึ ษาเรื่อง ปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดที่
ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซ้ือสินค้าบน Facebook ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร โดยผู้บริโภคให้
ความสาคัญกับบริการออกค่าขนส่งฟรีผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้าน
สินค้า ราคา และการบริการ มผี ลต่อการตดั สินใจซ้ือสนิ ค้าบน Facebook ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร

5) ด้านบุคลากร ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุด คือ ผู้ขายมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งสอดคล้องกับผล
การศึกษาสุภาพร ชุ่มสกุล (2554) ได้ทาการศึกษาเร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อการซ้ือสินค้าและบริการผ่านระบบ
อินเทอรเ์ น็ต ของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั ศิลปากร โดยผู้บริโภคให้ความสาคญั กับความสะดวก

334

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

สามารถซอ้ื สินค้าจากท่ีไหนก็ได้ ปัญหาและอุปสรรคท่ีพบในการซื้อสินค้าออนไลน์ คือ ได้สินค้าท่ีมีคุณภาพไม่ตรง
กบั ทีร่ ะบไุ ว้ และพบวา่ ปจั จยั ดา้ นบคุ ลากรมีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจเลอื กซ้อื สนิ คา้ ออนไลน์

6) ด้านกระบวนการให้บริการ ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากท่ีสุด คือ มีขั้นตอนการเลือกซ้ือสินค้าที่ง่าย ไม่
ซับซ้อน ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาของ สุทามาศ จันทร์ถาวร (2556) ทาการศึกษาเร่ือง ปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดที่สง่ ผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าบน Facebook ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร โดยผ้บู ริโภคให้
ความสาคัญกับบริการออกค่าขนส่งฟรีผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้านสินค้า
ราคา และการบริการ มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าบน Facebook ของประชากรในเขตกรงุ เทพมหานคร

7) ด้านลักษณะทางกายภาพ ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุด คือ มีข้อมูลของผู้ขายอย่างครบถ้วน ซึ่งสอดคล้อง
กับผลการศึกษาของ สุอาพล นววงศ์เสถียร (2557) ได้ทาการศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคในร้านค้า
ออนไลน์ ในกรุงเทพมหานคร โดยผู้บริโภคให้ความสาคัญกับปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ ซึ่งในท่ีนี่จะหมายถึง การ
ออกแบบเวบ็ ไซต์หรือเว็บเพจเพอื่ ใหเ้ ขา้ ไปเลือกซอ้ื สินคา้ ได้งา่ ยขั้นตอนไม่ซบั ซอ้ น รองลงมาคือความมีช่อื เสียงของร้านคา้

8. ข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค ในเขตคลอง

สามวา กรุงเทพมหานคร มกี ลมุ่ ตัวอย่างให้ขอ้ เสนอแนะไว้ ดงั น้ี
8.1 ขอ้ เสนอแนะจากการศกึ ษา
1) ควรนาสนิ ค้ามคี วามแตกตา่ งจากร้านคา้ ท่วั ไป นามาขายผ่านทางไลฟส์ ด
2) ควรทาราคาสินคา้ ใหม้ รี าคาถกู กวา่ การซ้ือผ่านชอ่ งทางอื่น ๆ เพื่อให้ลกู ค้าหนั มาสนใจสนิ ค้ามากยงิ่ ขึ้น
3) ควรตรงต่อเวลาในการจัดส่งสนิ คา้ จัดออเดอร์ลูกคา้ วันตอ่ วนั วนั แล้วจัดส่งลกู ค้าอย่างรวดเร็ว

เพ่อื ลดปัญหาของสง่ ถงึ ทันเวลาที่ลกู ค้าตอ้ งการ
4) ควรมกี ารให้ส่วนลดสนิ คา้ หรือมโี ปรโมชนั่ ในระหว่างการไลฟ์สดมากยงิ่ ขึ้น
5) ควรตอบคาถามและแกป้ ัญหา หรอื ข้อสงสัยของลูกคา้ อย่างรวดเร็วเมื่อลกู ค้าตอ้ งการ
6) ควรใหข้ อ้ มูลต่อลกู ค้าตรงตามความต้องการ และมีรายละเอยี ดสินคา้ ที่จะเจน และตอบคาให้

ลกู คา้ ท่ีถกู ตอ้ ง และตรงความตอ้ งการ
7) ควรมขี ้อมูลสินคา้ ทม่ี คี วามทันสมยั และมีการอปั เดตขอ้ มลู สินคา้ ให้ทนั สมยั อยูเ่ สมอ

8.2 ข้อเสนอในการทาวิจยั คร้ังตอ่ ไป
การวิจัยครั้งน้ีเป็นการศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาคัญในการตัดสินใจซ้ือสินค้าผ่านการไลฟ์สด

ทางเฟสบุ๊คในด้านส่วนประสมการตลาด 7 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจาหน่าย และด้านการ
ส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ โดยศึกษาจากความสาคัญในการตัดสินใจซื้อสินค้า
ผ่านการไลฟ์สดทางเฟสบุ๊ค เขตคลองสามวากรุงเทพมหานคร ในภาพรวมเท่านั้น ดังนั้นจึงควรมีงานวิจัยที่ถาม
รายละเอียดอย่างลกึ ซ้ึงในแต่ละด้าน เพื่อไดข้ อ้ มลู บง่ ชถ้ี ึงปัญหาอย่างชัดเจน เพือ่ ใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาได้อย่างตรง
ประเด็นมากยิ่งขึน้

335

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอ้างอิง
[1] กรวินท์ กรประเสริฐวิทย์. (2557). ทัศนคติความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรม และ คุณลักษณะการ

ใช้ งานของเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อการ ตัดสินใจในการใช้เคร่ืองชาระค่าโทรศัพท์อัตโนมัติใน เขต
กรุงเทพมหานครปี 2558. การค้นคว้าอิสระปรญิ ญามหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ

[2] กัมปนาท ปานสุวรรณ. (2558). ทัศนคติและความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงาน
และการใหบ้ ริการของ เจา้ หนา้ ทตี่ ารวจ สถานีตารวจภูธรหาดใหญ่ อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา. สารนพิ นธ์
ปรญิ ญามหาบัณฑติ , มหาวิทยาลยั หาดใหญ่

[3] จุดารตั น์ ฟสี นั เทยี ะและสุรเสกข์ พงษห์ าญยทุ ธ. (2561).พฤตกิ รรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านทางไลฟ์
สด บนเวบ็ ไซตอ์ อนไลนเ์ ฟสบุ๊ค.หลักสูตรบริหารธุรกิจ.มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง จังหวัดนครศรี ธรรมราช.

[4] ดวงใจ ธรรมนิภานนท์. (2557).กลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์ความงามผ่านช่องทางการค้าแบบ
ดิจิทัล. บริหารธุรกจิ มหาบณั ฑติ .มหาวทิ ยาลัยเนชน่ั .

[5] นิศารัตน์ จิรรุ่งแสงสถิต. (2556). ทัศนคติ และส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจจองท่ีพักบนอินเทอร์เน็ตของนักท่องเท่ียวชาวไทยในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญา
มหาบัณฑติ , มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ.

[6] ปิยมาภรณ์ ช่วยชูหนู. (2559).ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางสังคมออนไลน์.
หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบัญช.ี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

[7] ภาวินีย์ ห่งิ ห้อย. (2559).การยอมรบั เทคโนโลยี Facebook Live และความน่าเชื่อถือของเจ้าของ
Pageท่ีมีผลตอ่ การตัดสินใจซอ้ื เส้อื ผา้ บน Facebook.หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ .มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ.

[8] วรรณา วนั หมัด. (2558). พฤติกรรมผูบ้ รโิ ภคในการตัดสนิ ใจซื้อสินค้าทางอินเทอร์เนต็ วทิ ยานิพนธ์
ปรญิ ญามหาบัณฑติ , มหาวิทยาลัยเกริก.

[9] วิทวสั จันทรลาภ. (2558). ปจั จยั ดา้ นการยอมรบั เทคโนโลยีและทัศนคติที่ส่งผลต่อการตัดสนิ ใจใน
เว็บไซต์สาเร็จรูปของ ผู้ประกอบการเคร่ืองสาอางในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญา
มหาบัณฑิต, มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ.

336

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

การเปรยี บเทยี บความพงึ พอใจของลูกค้าในการชาระสนิ คา้ ผ่านระบบ
True money wallet หรอื เงนิ สด ร้านเซเว่นอเี ลฟเวน่ ในเขตหนองจอก

จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
Customer satisfaction comparison in the payment of products through the

system true money wallet vs cash in the 7-Eleven in nong Chok District,
Bangkok

นางสาวแสงเดอื น โพนพุธ
Miss. Sangduen Phonphut
นกั ศกึ ษา นางสาวแสงเดอื น โพนพธุ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยพาณชิ ยการเชตุพน
Email [email protected]
อาจารย์ นายพรเทพ บรรลอื ทรัพย์ สาขาวชิ าการตลาด วิทยาลยั พาณิชยการเชตพุ น
Email : [email protected]
อาจารย์ นางสาวกฤตยิ า วังหอม สาขาวิชาการตลาด วทิ ยาลัยพาณชิ ยการเชตุพน
Email : [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสนิ ใจการชาระสินค้าผ่านระบบ True
money wallet หรือ เงินสด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้กลุ่ม
ตัวอย่างในการศึกษาครั้งน้ี คือ ประชากรในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ท่ีมีเข้ามาใช้บริการท่ีร้านเซเว่น
อีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ท้ังเพศชายและเพศหญิง จานวน 400 คน โดยคานวณจากสูตร
คานวณตัวอย่างจากประชากรของยามาเน (Yamane, 1967: 121) โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ
(Mean) ค่าเฉล่ีย (Percentile) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ทาการทดสอบสมมติฐาน
โดยสถิติ Independent t-test One Way Anova และใช้เกณฑ์มาตรวัดแบบ Rating Scale 5 ระดับ ตาม
มาตรวัดแบบ ลเิ คริ ท์ (Likert’s Scale)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนบคุ คล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉล่ียต่อ
เดือนท่ีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจตัดสินใจการชาระสินค้าผ่านระบบ True money wallet หรือ เงิน
สด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร มีระดับความพึงพอใจท่ีไม่แตกต่างกัน
นอกจากนี้ยังพบว่า ระดับความพึงพอใจของการตัดสินใจการชาระสินค้าผ่านระบบ True money wallet
หรือ เงินสด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร ในด้านปัจจัยในการตัดสินใจ 3
ดา้ น ด้านสง่ เสรมิ การขาย มีระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ดุ ด้านความสะดวก รองลงมา และดา้ นความปลอดภัย
มรี ะดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยทีส่ ดุ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั 0.05

337

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ABSTRACT

The purpose of this research is to study factors Payment via True money wallet system or
cash at 7-Eleven stores in Nong Chok District, Bangkok. The sample group in this study was the
Nong Chok population. Bangkok Who have entered the service at 7-Eleven stores in Nong
Chok district, Bangkok Both male and female were calculated from the formula for calculating
a sample from the population of Yamane (Yamane, 1967: 121) using descriptive statistics such
as Mean, Percentile, Standard Deviation. (Standard deviation) The hypothesis test was
conducted by Independent t-test One Way Anova and using 5-level Rating Scale criteria based
on Likert's Scale.

The results of the research were as follo ws: Personal factors consist of gender, age,
educational level, occupation, different average monthly income. Affect the decision to make
payment via True money wallet system or cash at Seven Eleven stores in Nong Chok District,
Bangkok Province. There was no different level of satisfaction. It was also found that
Satisfaction level of making payment decisions via True money wallet or cash at Seven Eleven
stores in Nong Chok District, Bangkok. In terms of decision-making factors, 3 areas of promotion
Have the highest level of satisfaction Minor aspects of convenience and safety Have the least
level of satisfaction Statistically significant at a level of 0.05.

1. บทนา

จากสถานการณ์ของ COVID-19 ผลการศึกษาจากคณะนักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
ประเทศอังกฤษพบว่า บนธนบัตร 1 ใบ มเี ชื้อแบคทีเรียสะสมเฉลี่ยถึง 26,000 ตวั ขอ้ มลู ดังกลา่ วสรา้ งความประหลาด
ใจและกระตุ้นการต่ืนรู้เรือ่ งสุขภาพเป็นอย่างมากย่ิงในสภาวการณ์ท่ีเกิดการแพร่ระบาดชองเชื้อไวรัส COVID-19 การ
จับจ่ายใช้สอยผ่านเหรียญหรือธนบัตรน้ันก่อให้เกิดความสุ่มเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้คน ไม่ว่าจะเป็น
พ่อค้า แม่ค้า ผู้ให้บริการ หรือบุคคลท่ัวไปและเรื่องท่ีทุกคนไม่ควรมองข้าม ยิ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ล่าสุดได้
ออกมาเตือนแล้วว่าเงินสดสามารถเป็นสื่อแพร่เช้ือไวรัส COVID-19 เพราะเช้ือโรคดังกล่าวสามารถเกาะอยู่บน
ผิวสัมผัสของธนบัตรได้นานหลายวัน โดยรัฐบาลจีนก็ได้มีมาตรการตัดขาดการทาธุรกรรมทางการเงินข้ามจังหวัดท่ีมี
การแพรร่ ะบาด และมีการนาธนบตั รเก่ามาทาความสะอาดเพอ่ื ลดความเส่ียงจากการแพรเ่ ชื้อ 7-Eleven จงึ มีโครงการ
“แทนเงนิ สด ลดสมั ผัส” ใช้ True money wallet ลดเสย่ี ง COVID-19 ปลอดภัย ซอื้ งา่ ย จา่ ยสะดวก ด้วยแอพพลิเคช่ัน
True money wallet ทร่ี ว่ มพาคนไทยผา่ นภยั COVID-19 ลดความเส่ียงจากการสัมผัสเงนิ สดและบัตรเครดิต

338

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ดงั นัน้ ผู้ศึกษาจึงได้หาความร้เู พมิ่ เติมและอ้างอิงจากงานวจิ ยั ต่าง ๆ เพ่อื ใหท้ ราบถึงความต้องการของ
กลุ่มผู้บริโภคว่ามีความพึงพอใจต่อการชาระสินค้าภายในร้านสะดวกซื้อเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก
กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบ True money wallet หรือ ระบบชาระเงินสด มากกว่ากัน เพ่ือนาข้อมูลไป
ประกอบการพฒั นาองคก์ รให้มปี ระสิทธภิ าพท่ีดยี ิ่งข้ึนข
องการวิจัย
2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั

2.1 เพ่ือให้ทราบถงึ ความต้องการของลกู ค้าในการชาระสนิ ค้าผา่ น True money wallet หรือ เงินสด
ในเขตหนองจอก กรงุ เทพมหานคร

2.2 เพอื่ ให้ทราบถึงปัญหาในการชาระสนิ ค้าผา่ นระบบ True money wallet หรอื เงินสด ในเขต
หนองจอก กรงุ เทพมหานคร

3. สมมตุ ฐิ านของการวิจัย
3.1 ผบู้ ริโภค เพศ อายุ ระดบั การศึกษา สถานะภาพ รายได้ตอ่ เดือน มคี วามพงึ พอใจในการชาระสนิ ค้า

ผา่ นระบบ True money wallet หรือ เงินสด แตกตา่ งกัน

4. กรอบแนวความคิด

-ขอ้ มเพูลปศระชากรศาสตร์
- อ-ายุ เพศ
รร---ะายดไบั สอรดกะถา้ าดยารับุนศะกกึ ภาษราาศพกึ ษา
- ตวั แปรตาม
-
- การเลือกชาระสินคา้ ผ่าน
- รายได้ True money wallet หรือ
เงินสด
ปจั จัยในการตดั สินใจ
- ดา้ นความปลอดภัย
- ดา้ นความสะดวก
- ดา้ นการสง่ เสรมิ

การตลาด

339

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5. วธิ ีการดาเนินการวจิ ยั
การศึกษาวิจัยคร้ังน้ี เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยศึกษาการเปรียบเทียบความพงึ

พอใจของลูกค้าในการชาระสินค้าผ่านระบบ True money wallet หรือ เงินสด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขต
หนองจอก จงั หวัดกรงุ เทพมหานคร

5.1 สงั เขปวตั ถุประสงค์ และวธิ กี ารดาเนนิ การวิจยั
5.1.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั
5.1.1.1 เพื่อให้ทราบถึงความต้องการของลูกค้าในการชาระสินค้าผ่าน True

money wallet หรอื เงนิ สด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
5.1.1.2 เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในการชาระสินค้าผ่านระบบ True money wallet

หรอื เงนิ สด ร้านเซเวน่ อีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร
5.1.2 การกาหนดประชากร
5.1.2.1 ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครัง้ น้ี ลูกค้าท่ีใช้บริการท่ีร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ใน

เขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร จานวน 151,292 คน (อ้างอิงข้อมูลจากสานักงานเขตหนองจอก ณ
เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2553)

5.1.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ ลูกค้าที่มาใช้บริการที่ร้านเซเว่น
อีเลฟเว่น จานวน 400 คน ในเขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยคานวณจากสูตรคานวณตัวอย่าง
จากประชากรของยามาเน (Yamane, 1967: 121)

5.1.3 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั
เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นแบบสอบถาม การเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าใน
การชาระสินค้าผ่านระบบ True money wallet หรือ เงินสด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น ในเขตหนองจอก จังหวัด
กรุงเทพมหานคร โดยผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวน แนวคิดทฤษฏี วรรณ กรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องให้
สอดคล้องกับกรอบความคิดและวัตถุประสงค์ของการวจิ ยั แบง่ ออก เป็น 3 ตอนดังน้ี
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา
สถานะภาพ รายไดต้ อ่ เดอื น มีลักษณะเป็นขอ้ คาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check list)
ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับ ระดับที่เกี่ยวกับปัจจัยการตัดสินใจในการชาระสินค้า
ด้วยระบบ True money wallet หรือ เงินสด แบ่งเป็น จานวน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านความ
สะดวก ด้านการส่งเสริมการขาย มีลักษณะเป็นข้อคาถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) ท่ีผู้
ตอบแสดงความคิดเหน็ 5 ระดบั

340

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ระดับคะแนนการให้ 5 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมากท่สี ดุ
ระดับคะแนนการให้ 4 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจมาก
ระดับคะแนนการให้ 3 คะแนน หมายถึง พึงพอใจปานกลาง
ระดบั คะแนนการให้ 2 คะแนน หมายถึง พึงพอใจน้อย
ระดบั คะแนนการให้ 1 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจนอ้ ยทีส่ ดุ
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
5.1.4 การวิเคราะหข์ ้อมูล
ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถูกต้องของข้อมูลและลงรหัสข้อมูล เพ่ือนามาวิเคราะห์
โดยใช้โปรแกรมประมวลผลขอ้ มูลสาเรจ็ รปู ดังนี้
ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถูกต้องของข้อมูล และลงรหัสข้อมูลเพื่อนามาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม
ประมวลผลข้อมูลสาเรจ็ รูป ดงั นี้
5.1.4.1 นาแบบสอบถามของข้อมูลปัจจัยการตัดสินใจ มาวิเคราะห์ด้วยการหาค่าร้อยละ ค่า
ค่า S.D.
5.1.4.2 ตรวจใหค้ ะแนนข้อคาถามปัจจยั ในการตดั สนิ ใจ โดยแสดงคา่ คา่ S.D.
5.1.4.3 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการชาระสินค้าด้วยระบบ True money wallet
ด้วยเพศ อายุ ระดับการศกึ ษา สถานะภาพ รายได้ตอ่ เดือน มีความพงึ พอใจในการชาระสนิ คา้ ผา่ นระบบ True
money wallet หรือ เงนิ สด
5.2.1 ปจั จัยสว่ นบคุ คล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ี จานวน 400 คน
พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายจานวน 232 คน คิดเป็นร้อยละ 58.00 เพศหญิง จานวน
168 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 42.00 อายตุ า่ กวา่ 20 ปีจานวน 65 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.30 อายุ 20-29 ปี จานวน
157 คน คิดเป็นร้อยละ 39.30 อายุ 30-39 ปี จานวน 103 คน คิดเปน็ ร้อยละ 25.80 อายุ 40-49 ปี จานวน 7
คน คดิ เป็นร้อยละ 18.80 การศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 51 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.80 มัธยมตน้ /มธั ยม
ปลาย/เทียบเท่า จานวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 47.30 ปริญญาตรี จานวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 25.80
สูงกว่าปริญญาตรี จานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 14.20 สถานะภาพโสด จานวน 240 คน คิดเป็นร้อยละ
60.00 สมรส จานวน 137 คิดเป็นร้อยละ 34.30 หม้าย/หย่าร้าง จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 5.80 รายได้
ต่อเดือนต่ากว่า 15,000 บาท จานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 รายได้ต่อเดือน15,0001-20,000 บาท
จานวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 36.50 รายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท จานวน 110 บาท คิดเป็นร้อย
ละ 27.50 รายไดต้ ่อเดอื นมากกวา่ 30,001 บาท จานวน 24 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.007.

341

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

อภิปรายผล
ระดบั ความสาคัญเก่ียวกับปจั จัยในการตัดสินใจชาระสนิ คา้ ดว้ ยระบบ True money wallet

หรือ เงินสด คือ ด้านการส่งเสริมการขาย โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย 4.30 เม่ือพิจารณารายขอ้
โดยเรียงค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ ซื้อโปรโมชั่นอินเทอร์เน็ตของเครือข่ายทรู ได้รับเงินคืน 50% มีค่าเฉลี่ย 4.62
รองลงมาได้แก่ สะสมแต้มการใช้งานด้วยชาระสินค้า ทุก 25 บาทได้แต้ม ทรูพอยท์ 1 แต้ม มีค่าเฉล่ีย 4.61
และนอ้ ยท่ีสดุ ไดแ้ ก่ โอนเงนิ ระหว่างระบบเดียวกันได้โดยไมเ่ สียค่าธรรมเนยี ม มคี ่าเฉลยี่ 3.87 ตามลาดับ

ข้อเสนอแนะ
ผลการศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นด้าน ความสาคัญเก่ียวกับปจั จยั ปัจจัยในการตัดสนิ ใจชาระสินค้า

ด้วยระบบ True money wallet หรือ เงินสดร้านเซเว่นอีเลฟเว่น จากผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อการ
ตัดสินใจชาระสินค้าด้วยระบบ True money wallet หรือ เงินสด ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น มีประเด็นที่ควรนามา
อภิปราย ดังน้ี

5.3.1 ประชากรในเขตหนองจอก กรงุ เทพมหานคร ที่มเี พศแตกต่างกันส่งผลตอ่ การ
การตัดสินใจ 3 ด้าน ด้านความปลอดภัย ด้านความสะดวก ด้านการส่งเสริมการขาย ไม่แตกต่างกัน
ประชากรในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ที่มีอายุแตกต่างกันมีความสาคัญในการตัดสินใจชาระสินค้าด้วย
ระบบ True money wallet หรือ เงินสด ด้านการตัดสินใจที่ไม่แตกต่างกัน และประชากรในเขตหนองจอก
กรุงเทพมหานคร ท่ีมีการศึกษาแตกต่างกันมีการตัดสินใจชาระสินค้า ด้านการให้บริการท่ีไม่แตกต่างกัน และ
ประชากรในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ที่มีสถานะภาพแตกต่างกันมีความสาคัญในการตัดสินใจในการ
ชาระสินค้า ด้านการให้บริการที่แตกตา่ งกัน และประชากรในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ท่ีมีรายได้เฉลยี่
ต่อเดือน แตกต่างกันมีความสาคัญในการตัดสินใจในการชาระสินค้า ด้านการให้บริการที่ไม่แตกต่างกัน
สอดคล้องกบั ทฤษฎี Kotler (2000, p. 176-178) กลา่ วว่า การตัดสินใจของผ้บู ริโภคเกิดจากปัจจัยภายใน คือ
แรงจูงใจ การรบั รู้การเรยี นรู้บคุ ลิกภาพและทศั นคติซึ่งจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความต้องการ และตระหนกั ว่ามสี ินค้า
ใหเ้ ลือกมากมาย กจิ กรรมทม่ี ีผบู้ รโิ ภคเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งสัมพนั ธ์กบั ข้อมลู ท่มี ีอยู่ หรอื ข้อมลู ที่ฝา่ ยผู้ผลติ ให้มาและ
สุดท้ายคือการประเมินค่าของทางเลือกเหลา่ นั้น กระบวนการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภค (Schiffman & Kanuk
1994, p. 659) คือ กระบวนการในการเลือกซ้ือสินค้าจากทางเลือกที่มีตั้งแต่สองทางเลือกขึ้นไป โดยผู้บริโภค
จะพิจารณาในส่วนที่เก่ียวข้องกับกระบวนการตัดสินใจ ท้ังด้านจิตใจ (ความรู้สึกนึกคิด) และพฤติกรรมทาง
กายภาพ การซ้ือเป็นกิจกรรมทั้งทางด้านจิตใจและกายภาพซึ่งเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาหน่ึง ท้ังสองกิจกรรมน้ี
ทาให้เกดิ การซื้อ และเกดิ พฤติกรรมการซอื้ ตามบคุ คลอืน่

342

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

5.3.2 ศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจในการชาระสินค้าของผู้บริโภค มีปัจจัย 3 ด้าน ด้านความ
ปลอดภัย ด้านความสะดวก ด้านการส่งเสริมการขาย โดยภาพรวมของด้านความสะดวกของผู้บริโภค
ผลการวิจัยสอดคล้องกับ Paul and Jerry (1990, p. 5) สมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้ความหมาย
ของพฤติกรรมผบู้ ริโภค หมายถงึ การกระทาซึ่งส่งผลต่อกนั และกนั ตลอดเวลาของความรู้ความเขา้ ใจพฤติกรรม
และเหตกุ ารณ์ภายใตส้ งิ่ แวดล้อมท่ีมนุษย์ได้กระทาขึ้นในเรื่องของการแลกเปลย่ี นสาหรับการดาเนินชีวิตมนุษย์
สรุปได้ว่า พฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค หมายถงึ พฤติกรรมของบุคคลที่เกี่ยวข้องกบั การซื้อและการใชส้ ินค้าหรือบริการ
โดยผ่านกระบวนการแลกเปล่ียนท่ีบุคคลต้องมีการตัดสินใจท้ังก่อนและหลังการกระทาต่าง ๆ ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับ
ความพอใจและความตอ้ งการของบคุ คล

5.3.2.1 ด้านการส่งเสริมการขาย ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากท่ีสุด คือ ซื้อโปรโมชัน่
อินเทอร์เน็ตของเครือข่ายทรู ได้รับเงินคืน 50% ซ่ึงมีความสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Kotler and
Armstrong (2002) รายงานว่า พฤติกรรมของมนุษย์เกิดข้ึนต้องมีส่ิงจูงใจ (motive) หรือแรงขับดัน (drive)
เป็นความต้องการที่กดดันจนมากพอท่ีจะจูงใจให้บุคคลเกิดพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง
ซึ่งความต้องการของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความต้องการบางอย่างเป็นความต้องการทางชีววิทยา
(biological) เกิดข้ึนจากสภาวะตึงเครียด เช่น ความหิวกระหายหรือความลาบากบางอย่าง เป็นความต้องการ
ทางจิตวิทยา (psychological) เกิดจากความต้องการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง (esteem) หรือ
การเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (belonging) ความต้องการส่วนใหญ่อาจไม่มากพอที่จะจูงใจให้บุคคลกระทาใน
ช่วงเวลาน้ัน ความต้องการกลายเป็นส่ิงจูงใจ เม่ือได้รับการกระตุ้นอย่างเพียงพอจนเกิดความตึงเครียด โดย
ทฤษฎที ไ่ี ดร้ บั ความนิยมมากท่ีสดุ มี 2 ทฤษฎี คอื ทฤษฎีของอบั ราฮัม มาสโลว์ และทฤษฎีของซกิ มันด์ ฟรอยด์
ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสาคัญ ในองค์ประกอบปัจจัยด้านส่งเสริมการขาย คือ ซื้อ
โปรโมชั่นอินเทอรเ์ น็ตของเครอื ข่ายทรู ไดร้ ับเงนิ คนื 50%

5.3.2.2 ด้านความสะดวก ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุด คือ ไม่เสียเสลาใน
ขั้นตอนการเติมเงินเข้าระบบ ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s
theory motivation) ค้นหาวิธีท่ีจะอธิบายว่าทาไมคนจึงถูกผลักดันโดยความต้องการบางอย่าง ณ เวลาหน่ึง
ทาไมคนหนงึ่ จงึ ทมุ่ เทเวลาและพลงั งานอย่างมากเพื่อให้ได้มาซ่ึงความปลอดภัยของตนเองแต่อกี คนหนงึ่ กลับทา
สิง่ เหล่านนั้ เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั การยกยอ่ งนับถอื จากผู้อนื่ คาตอบของมาสโลว์ คอื ความตอ้ งการของมนษุ ยจ์ ะถูกเรียง
ตามลาดบั จากสงิ่ ทก่ี ดดนั มากที่สดุ ไปถงึ น้อยทสี่ ดุ โดยผบู้ ริโภคให้ความสาคญั กับระยะเวลาในการชาระสินคา้

5.3.2.3 ด้านความปลอดภัย ผู้บริโภคให้ความสาคัญมากที่สุด คือ มีบุคคลอื่นจะไม่
สามารถเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของลูกค้าได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ จุลินทร์ พุดตาลเล็ก (2545,
บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซ้ือของผู้บริโภค โดยผู้บริโภคให้ความสาคัญกับด้านความ
ปลอดภยั

343

บทความผลงานวิจยั นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี


Click to View FlipBook Version