The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย

7.ผลการวจิ ัย
7.1 ผลลพั ธท์ ่ีได้จากการผลิตน้ามนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกสม้

ผลติ ภัณฑ์ทีผ่ ลิตส้าเร็จ
ทมี่ า : ศริ ิลกั ษณ์ จันทร์โนนแซง

194

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

7.2 การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพน้ามันหอมระเหยปรบั อากาศจากเปลอื กสม้ โดยผู้จดั ท้าโครงการ

ท่ี น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม การทดสอบประสิทธิภาพ ผลการเปรียบเทียบการทดสอบ
ประสิทธิภาพ

1 ภาพการท้าน้ามันหอมระเหย ครังที่ 1 น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก ผลของชินงานครังท่ี 1 น้ามนั หอม

เปลือกส้ม มีกลิ่นที่เจือจางเกินไป ระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม

ไม่ได้กล่ินส้มและดับกล่ินได้ไม่ได้ดี ผลของการทดลองใช้ สีและกล่ิน

เท่าที่ควรมีการตกตะกอนของ ของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศ

เปลือกสม้ จากเปลือกส้มมีประสิทธิภาพที่

ยังไม่ดีเท่าที่ควร เม่ือน้าน้ามัน

หอมระเหยปรับอากาศมาทดลอง

ใชใ้ นหอ้ งอาหาร

สตู รน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ครังท่ี 1

เปลือกส้ม 300 กรมั น้ามันมะพร้าวสกัดเย็น 50 มิลลิลิตร น้ากล่ันบริสุทธ์ิ

350 มิลลิลิตร

2 ต่อยอดจากครังที่ 1 เมื่อน้าผลการทดลองใช้ในครังที่1 ผ ล ข อ ง ชิ น ง า น ค รั ง ที่ 2

ปรับปรุงแก้ไขท้าให้มีสีของเปลือก เปรียบเทียบกับผลงานชินที่ 1

ส้มที่ชัดขึนไม่ค่อยมีกล่ินของเปลือก น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก

ส้มและมีตกตะตอนของเปลือกส้ม เปลือกส้มมีสีที่ชัดขึนมีการตกตะ

นอ้ ยลง ตอนน้อยลงมากกว่าการทดลอง

ใชค้ รงั ที่1แต่ยังไม่ค่อยมีกล่ินหอม

ของเปลือกส้มเท่าท่ีควรเม่ือน้ามา

ปรบั อากาศในห้องอาหารไม่ได้

สตู รน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ต่อยอดครังท่ี 1

เปลือกส้ม 350 กรมั น้ามันมะพร้าวสกัดเย็น 50 มิลลิลิตร นา้ กล่ันบรสิ ุทธิ์ 300 มลิ ลลิ ิตร

3 ตอ่ ยอดจากครังท่ี 2 เมื่อน้าผลการทดลองใช้ในครังที่ 2 ผ ล ข อ ง ชิ น ง า น ค รั ง ที่ 2
ปรับปรุงแก้ไขต่อยอดจากครังท่ี2 เปรียบเทียบกับผลของชินงานครัง
ท้าให้น้ามันหอมระเหยเปลือกส้ม ท่ี 2 นา้ มันหอมระเหยเปลือกส้มมี
ประสิ ทธิ ภาพมากขึ นกว่ าครั งท่ี 1 ประสิทธิภาพมากกว่าครังที่ 1
และ 2 น้ามันหอมระเหยปรับ และ 2 น้ามันหอมระเหยมีกลิ่น
อากาศจากเปลือกส้มมีกล่ินหอม หอมของเปลือกส้ม ไม่มีการ
จากเปลือกส้มและไม่ตกตะกอนมี ตกตะกอนและเม่ือน้ามาปรับ
ความสวยงามกว่าครังท่ี 1 และ 2 อากาศห้องอาหารได้จริงมากกว่า
ครงั ท่ี 1 และ 2

สตู รน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ครังที 3 (สตู รน้ามันหอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกสม้ สูตรสมบรูณ์)

195 เปลือกส้ม 500 กรัม นา้ มันมะพร้าวสกัดเย็น 100 มลิ ลิลิตร น้ากลั่นบรสิ ุทธ์ิ 600 มิลลิลติ ร

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

7.3 ตารางการทดสอบประสิทธภิ าพน้ามนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม

ความคิดเหน็ โดยรวมครังท่ี 1 ความคดิ เห็นโดยรวมครงั ท่ี 2

พนัก ด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ รวมครัง รวมครงั ท่ี ผล
งานคนท่ี ด้านคุณภาพของผลิตภัณ ์ฑ ท่ี 1 2 ต่าง ผล
้ดานการลดต้น ุทน ต่าง2
ด้านความคาดหวังในการใ ้ชงาน
ด้านความปลอด ัภยของผู้ใ ้ช
ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้านองค์ประกอบของผลิตภัณ ์ฑ
ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ด้านการลดต้น ุทน
้ดานความคาดหวังในการใ ้ชงาน
ด้านความปลอด ัภยของผู้ใ ้ช
้ดานผลกระทบสิ่งแวดล้อม

1 2 3 3 2 3 2 15 4 4 5 4 5 4 26 11 121
2 2 2 2 2 2 2 12 4 4 4 4 4 4 24 12 144
3 2 2 2 3 2 2 13 4 4 4 4 4 4 24 11 121
4 2 2 3 2 3 2 14 5 5 4 5 4 5 28 14 196
5 2 2 3 2 2 3 14 4 4 4 5 4 4 25 11 121
6 3 2 2 3 3 3 13 4 4 4 4 4 4 24 11 121
7 3 3 2 3 2 3 16 5 5 4 5 4 5 28 12 144
8 2 2 3 2 3 2 14 5 4 4 5 4 5 27 13 169
9 2 2 3 3 2 2 14 4 4 4 5 5 4 26 12 144
10 2 2 2 3 2 2 13 4 4 5 4 4 5 26 13 169
11 3 2 2 2 3 2 14 4 5 4 4 5 4 26 12 144
12 2 2 2 2 2 2 12 5 4 4 4 5 4 26 14 196
13. 2 2 2 2 2 3 13 4 4 4 5 4 5 26 13 169
14 2 3 3 3 3 3 17 4 4 5 4 4 4 25 8 64
15 2 2 2 3 3 2 14 5 5 4 4 5 4 27 13 169
16 2 2 2 2 2 2 12 5 4 5 5 4 4 27 15 225
17 2 3 3 2 2 2 14 4 4 5 4 4 4 25 11 121
18 2 2 3 2 3 2 14 4 5 4 4 5 4 26 12 144
19 2 2 2 2 3 3 14 5 5 4 4 5 4 27 13 169
20 3 2 3 2 3 3 16 5 4 4 5 4 5 27 11 121
21 3 3 2 3 2 2 15 4 4 5 4 4 4 25 10 100
22 3 3 3 2 3 3 17 4 4 5 4 5 4 24 7 49
23 2 2 3 3 2 2 14 4 5 4 5 4 5 27 13 169
24 2 3 2 3 3 2 15 5 4 5 4 5 5 28 13 169

196

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้งั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ความคดิ เห็นโดยรวมครังท่ี 1 ความคดิ เห็นโดยรวมครังที่ 2

พนกั ด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ รวมครงั รวมครังที่ ผล
งานคนที่ ด้านคุณภาพของผลิตภัณ ์ฑ ท่ี 1 2 ต่าง ผล
้ดานการลดต้น ุทน ตา่ ง2
ด้านความคาดหวังในการใ ้ชงาน
ด้านความปลอด ัภยของผู้ใ ้ช
ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้านองค์ประกอบของผลิตภัณ ์ฑ
ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ด้านการลดต้น ุทน
้ดานความคาดหวังในการใ ้ชงาน
ด้านความปลอด ัภยของผู้ใ ้ช
้ดานผลกระทบสิ่งแวดล้อม

25 2 2 2 3 3 2 14 4 4 3 5 4 5 25 11 121
26 2 2 3 3 3 2 15 5 5 4 5 4 5 28 13 169
27 2 3 2 3 3 3 16 4 5 4 5 4 5 27 11 121
28 3 3 2 2 2 2 14 5 5 4 5 5 5 29 15 225
29 3 3 3 3 3 3 18 4 4 5 4 4 4 25 7 49
30 2 3 3 2 3 2 15 4 4 4 4 4 4 24 9 81
31. 2 2 3 3 2 3 15 4 5 5 5 5 4 28 13 169

32. 3 2 3 2 3 2 15 4 5 5 4 5 5 28 13 169

33. 3 2 3 3 2 2 15 5 4 5 4 4 4 26 11 121

34. 3 2 3 3 2 2 15 5 4 4 5 4 5 27 12 144

35. 2 3 3 3 3 3 17 5 5 5 4 5 4 28 11 121

36. 2 2 3 3 2 3 15 5 4 4 4 4 4 25 10 100

37. 3 3 3 3 3 3 18 4 5 4 5 5 5 28 10 100

38. 2 2 3 2 3 3 15 4 5 4 5 4 4 26 11 121

39. 2 2 3 2 3 2 14 5 5 5 5 4 5 29 15 225

40. 2 2 2 2 2 2 12 5 5 5 4 4 5 28 16 256

รวม 596 รวม 1160 473 5751
ความคดิ เห็นรวมเฉลี่ยครงั ที่ 1 14.9 ความคิดเห็นรวมเฉลย่ี ครงั ที่ 2 29

คดิ เปน็ ร้อยละ(14.9*100/40) 49.66 คดิ เปน็ ร้อยละ(29*100/40) 96.66 39.41

ผู้จดั ท้าโครงการใชส้ ูตรทางสถติ ิ t – test dependent groups คา้ นวณหาประสทิ ธิภาพของการ
ทดลองใช้น้ามันหอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกสม้ โดยทา้ การทดสอบ 2 ครงั เพอ่ื น้าขอ้ มลู มาทา้ การ
เปรียบเทียบผลการทดลองใชค้ รงั ที่ 1 และครังที่ 2 ดงั นี

197

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย ครังที่ 1 และ ครังที่ 2
พบวา่ คา่ t ที่ df (n-1) = 39 ท่คี า้ นวณได้ มีคา่ เทา่ กับ 37.1855 ซ่ึงมคี ่ามากกว่า ค่า t ที่ df (n-1) = 39
ระดบั นัยส้าคัญทางสตทิ ี่ 0.05 ท่มี คี า่ จากตารางที่ (เอกสารแนบท้ายในภาคผนวก) df มคี า่ = 2.0227

ดังนันจึงสรุปได้ว่า ความคิดเห็นพนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย ครังท่ี 1 และ ครังท่ี 2 พบว่า
ครงั ท่ี 2 มีความคดิ เห็นต่อประสิทธิภาพโดยรวม มากกวา่ ครงั ท่ี 1

เม่ือเปรียบเทียบเป็นร้อยละ ความคิดเห็นของพนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย ครังท่ี 1 คิดเป็น
ร้อย 49.66 ครังท่ี 2 คิดเป็นร้อยละ 96.66 ความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพโดยรวม ครังที่ 2 มากกว่าครังท่ี
1 รอ้ ยละ 39.41

7.4 ค่าเฉล่ีย (μ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) ของ ความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย ท่ีมีต่อ
ประสทิ ธิภาพของนา้ มนั หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกส้มโดยรวม ครงั ที่ 1 และครงั ที่ 2

ครังท่ี 1 ครังท่ี 2 แปลผล
( ) ( ) ( ) ( )
โดยรวม แปลผล

1.ดา้ นองค์ประกอบของผลติ ภณั ฑ์ 2.35 0.26 นอ้ ย 4.44 0.41 มาก

2.ด้านคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ 2.37 0.29 นอ้ ย 4.42 0.39 มาก

3.ดา้ นลดตน้ ทุนของผลติ ภณั ฑ์ 2.51 0.27 ปานกลาง 4.38 0.36 มาก

4.ดา้ นความคาดหวงั ในการใชง้ าน 2.46 0.25 น้อย 4.46 0.37 มาก

5.ดา้ นความปลอดภัยของผูใ้ ช้ผลิตภณั ฑ์ 2.52 0.26 ปานกลาง 4.32 0.35 มาก

6. ดา้ นผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 2.48 0.29 นอ้ ย 4.45 0.37 มาก
รวม 2.45 0.17 นอ้ ย 4.41 0.21 มาก

พบว่า ความคิดเหน็ พนักงานร้านอาหารบา้ นสุรยิ าศยั ทไ่ี ด้ทดลองใชน้ ้ามนั หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลอื กสม้ โดยรวม
ครังที่ 1 ความคิดเห็นพนักงานท่ีมีต่อประสิทธิภาพอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉล่ีย ( ) = 2.45 ค่าส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ) = 0.17 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความปลอดภัย อยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉล่ีย ( ) = 2.52 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) = 0.26 รองลงมา ด้านลดต้นทุนของผลิตภัณฑ์ อยู่ใน
ระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย ( )= 2.51 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ) = 0.27 และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่้าที่สุด
ได้แก่ ด้านองค์กอบผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉล่ีย ( ) = 2.35 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) = 0.26
ตามล้าดบั

198

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ครังที่ 2 ความคิดเห็นพนักงานท่ีมีต่อประสิทธิภาพโดยรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( ) = 4.41
ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ) = 0.21 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความคาดหวังของผู้ใชง้ าน อยู่
ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( ) = 4.46 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ) = 0.37 รองลงมา ด้านผลกระทบของ
ส่ิงแวดล้อม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( ) = 4.45 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( )= 0.37 และด้านท่ีมี
ค่าเฉล่ยี ตา้่ ท่ีสดุ ไดแ้ ก่ ดา้ นความปลอดภัยของผู้ใช้งาน อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย ( ) = 4.32 คา่ ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน ( ) = 0.35 ตามล้าดบั

8. สรุปผล
การจัดท้าโครงการ เรื่อง การผลิตและหาประสิทธิภาพน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก

เปลือกส้มในครังนีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อผลิตน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม
2) เพื่อหาประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม 3 ) เพื่อศึกษาความ
คิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ พนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย ที่ได้ทดลองใช้น้ามันหอม
ระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม จ้านวน 40 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การค้านวณหาค่า t – dependent ค่าร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) ผู้จัดท้าโครงการสามารถ
สรุปผลการด้าเนินงานได้ดังนี

การด้าเนินโครงการพิเศษ เร่ือง การสร้างและหาประสิทธภิ าพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศ
จากเปลอื กสม้ ผจู้ ดั ท้าโครงการไดส้ รุปผลโครงการดังนี

8.1.การผลิตนา้ มนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กส้ม
ผู้จัดท้าโครงการสามารถใช้ส่วนผสมตามท่ีก้าหนดไว้ ประกอบด้วย เปลือกส้ม น้ากลั่น น้ามันมะพร้าว

สกดั เย็น ดา้ เนนิ การผลติ น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกสม้ ทมี่ ีประสิทธภิ าพตามทกี่ ้าหนดไว้ในโครงการดังนี
1) มกี ลนิ่ หอมสดชน่ื
2) ทา้ ให้ลูกคา้ ท่ีมาทานอาหาร รู้สกึ ถงึ ความผ่อนคลาย
3) ลดกลิน่ อนั ไม่พง่ึ ประสงคใ์ นห้องอาหารไดด้ ี
4) วิธกี ารใชง้ าน งา่ ย ไม่ยุ่งยาก

ผจู้ ัดท้าโครงการสามารถน้านา้ มันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มไปด้าเนินการหาประสิทธิภาพ
จากกลมุ่ เปา้ หมายท่ีก้าหนดไว้ จ้านวน 2 ครัง สา้ เร็จภายในระยะเวลาของการจัดท้าโครงการท่ีได้กา้ หนดไว้

8.2 การหาประสทิ ธภิ าพของนา้ มนั หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลอื กสม้
ผลการหาประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ของผู้จัดท้า

โครงการ ครงั ที่ 1 และ ครงั ท่ี 2 พบว่าค่า t ที่ df (n -1) = 39 ท่ีค้านวณได้ มคี ่าเท่ากับ 37.1855 ซ่งึ มีค่า
มากกว่า ค่า t ท่ี df (n-1) = 39 ระดับนัยส้าคัญทางสติที่ 0.05 จากตาราง (เอกสารแนบท้ายใน
ภาคผนวก) df มคี ่า = 2.0227)

199

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

สรุปได้ว่า ประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ครังที่ 1 และ ครังท่ี 2
พบวา่ ครงั ที่ 2 ประสทิ ธภิ าพของน้ามันหอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกส้ม โดยรวม มากกว่าครังที่ 1
และเมอ่ื เปรยี บเทียบเป็นร้อยละ ประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ครังท่ี 1
คิดเป็นร้อย 49.66 ครังท่ี 2 คิดเป็นร้อยละ 96.66 ประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก
เปลอื กส้ม ครังท่ี 2 มากกวา่ ครังที่ 1 คิดเป็นรอ้ ยละ 39.41

8.3 การศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายท่ีทดสอบประสิทธภิ าพของน้ามันหอมระเหย
ปรับอากาศจากเปลอื กส้มสามารถสรุปผลไดด้ งั นี

8.3.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยพืนฐานส่วนบุคคลของพนักงานร้านอาหารบ้าน
สุริยาศัยที่ได้ทดลองใช้น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ
หญงิ จา้ นวน 24 คน คดิ เป็นร้อยละ 60.00 เพศชาย จ้านวน 16 คน คดิ เป็นร้อยละ 40.00 ส่วนใหญ่มีอายุ
26 - 30 จา้ นวน 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 42.50 อายุ 31 – 35 ปี จา้ นวน 12 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 30.00 อายุ
21-25 ปี จา้ นวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 22.50 อายตุ า้่ กว่า 21 ปี จา้ นวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.50 และ
อายุ 36 ปีขึนไป จ้านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.50 มีระดับการศึกษาปริญญาตรี จ้านวน 21 คน คิดเป็น
ร้อยละ 52.50 ต่้ากวา่ ปริญญาตรี จ้านวน 19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 47.50 ต้าแหนง่ งานเป็นพนักงาน จา้ นวน
25 คน คิดเป็นร้อยละ 62.50 หัวหน้าพนักงาน จ้านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 50 พนักงานท้า
ความสะอาด 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 และตา้ แหนง่ ผู้จัดการร้าน จ้านวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.50 มี
อายุการท้างาน 2 – 4 ปี จ้านวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 85.00 น้อยกว่า ถึง 1 ปี จ้านวน 4 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 10.00 มี และอายุการทา้ งาน 5 – 7 ปี จา้ นวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.00

8.3.2 ด้านองคป์ ระกอบของผลิตภณั ฑ์
ส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ไม่มีกล่ินฉุนเป็นไม่อันตรายต่อการสูดดม มีป้ายฉลากผลิตภัณฑ์

บอกส่วนผสมและวิธีการใช้งานอย่างละเอียด ส่วนผสมของผลิตภัณฑ์มีคุณภาพผ่านการรับรองจาก
หน่วยงานที่มีมาตรฐาน เชื่อถือได้ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ ของ วี
ราวรรณ มารังกูร (2559) ได้กล่าวไว้ว่า องค์ประกอบผลิตภัณฑ์หลายๆอย่างที่รวมกันแล้วสามารถ
ตอบสนองความต้องการของผู้ซือให้เกิดความพ่ึงพอใจต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีผู้ซือคาดหวังว่าจะได้จาก
ผลิตภณั ฑ์นัน ซึง่ คา้ นึงถึง มาตรฐาน คุณภาพ บรรจุภัณฑ์ ตราผลติ ภณั ฑ์ นัน

8.3.3 ด้านคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์
คุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มเป็นผลิตภัณฑ์ไม่

ท้าลายบรรยากาศและพืนทที่ ี่ใช้งาน ใชง้ านจริง ผลที่ไดจ้ ากการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นไปตามรายละเอียดบน
ปา้ ยฉลากมีอายกุ ารใชง้ านได้ยาวนานไมเ่ สือ่ มคุณภาพง่าย สอดคล้องกบั แนวคดิ และทฤษฎี ของ วชั รธน
ขอพรกลาง (2560) ไดก้ ลา่ วไว้วา่ โครงสรา้ งของผลติ ภัณฑ์ที่มีคุณภาพครบถว้ นจะต้องมีความเหมาะสม

200

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ตอ่ การใช้งาน การทา้ งานได้อยา่ งคาดหมาย เปน็ ตามมาตรฐาน หนา้ ที่ ความคงทน ความมน่ั คง การอยู่
ในสภาพทด่ี ีท้างานได้ รูปร่างลักษณะ ความสวยงาม สี ความเรยี บรอ้ ยกลมกลนื ของเส้นแนว

8.3.4 ดา้ นต้นทุนของผลติ ภณั ฑ์
นา้ มนั หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกส้มมีต้นทุนบรรจุภัณฑ์ราคาถูกไมส่ ่งผลกระทบ

ต่อต้นทุนการผลิต การผลิตจ้านวนมากจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีราคาถูกลง ใช้วัตถุดิบหาง่ายราคาถูกมี
จ้าหน่ายในท้องถ่ิน สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของ มนวิกา ผดุงสิทธิ์ (2555) ได้ให้ความหมายว่า
ต้นทุน หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรเพ่ือใช้ประโยชน์ไปเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามท่ีได้ก้าหนดไว้
เช่น ต้นทุนของวัตถุดิบและแรงงานที่เกิดขึนเพื่อผลิตสินค้าหรือบริการ เป็นต้น ซึ่งต้นทุนมักจะถูกวัด
มูลคา่ เปน็ จ้านวนเงนิ ท่จี ะต้องจา่ ยไปเพื่อให้ไดม้ าซง่ึ สินค้าหรอื บริการ โดยอาจจะเป็นตน้ ทุนทีเ่ กดิ ขึนจริง
หรอื เรยี กกนั วา่ ต้นทุนในอดีต หรือต้นทนุ ประมาณการ ซง่ึ เป็นต้นทุนท่คี าดหวังว่าจะเกดิ ในอนาคต

8.3.5 ดา้ นความคาดหวงั ของผู้ใชง้ าน
น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มปราศจากสารเคมีที่อาจจะก่อให้เกิดการ

ระคายเคอื งจากการสดู ดม ไม่เกดิ ละอองตกค้าง หรือเป็นคราบเกาะติดพนื ท่ที ี่น้าไปใชง้ าน สามารถปรับ
สภาพอากาศให้มีกลิ่นหอมของเปลือกส้ม สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของศิวพร ชิมะโชติ (2556) ได้
กล่าวไว้ว่า ความคาดหวัง เป็นการตังขึนเพ่ือการตอบสนอง ต่อความต้องการนัน ความต้องการและ
ความคาดหวังจึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกันแทบแยกไม่ออกเพราะถ้ามนุษย์เกิดความต้องการแล้วความ
คาดหวังก็จะตามมา อย่างไรก็ตามความต้องการ น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มเป็น
วัตถุดิบธรรมชาติไม่เกิดอันตรายต่อการสูดดม มีการระบุรายละเอียดตามจริงเพื่อให้ผู้ใช้งานเกิดความ
เช่อื ถอื และมีความรสู้ ึกที่ดีตอ่ ผลิตภณั ฑ์

8.3.6 ดา้ นความปลอดภัยของผ้ใู ชผ้ ลิตภณั ฑ์
น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีผลกระทบต่อการสูดดม

และระบบการหายใจ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมาจากเปลือกผลไม้ที่สามารถรับประทานได้ไม่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อการน้ามาใช้งาน ผลิตภัณฑ์ที่หกราดมือ อวัยวะส่วนอื่น ๆ สามารถล้างท้าความสะอาดด้วย
น้าสะอาดได้ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของ วินัย วีระวัฒนานนท์ (2561) ได้กล่าวไว้ว่าความ
ปลอดภัยของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ หมายถึง การที่ปราศจากพิษภัย สารพิษ ท่ีเป็นอันตราย รวมถึงการ
ปราศจากอันตรายท่มี โี อกาสจะเกิดขึนได้

8.3.7 ดา้ นผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม
น้ า มั น ห อ ม ร ะ เ ห ย ป รั บ อ า ก า ศ จ า ก เ ป ลื อ ก ส้ ม ก ล่ิ น ไ ม่ ก ร ะ ท บ ต่ อ บ ร ร ย า ก า ศ ภ า ย ใ น

ร้านอาหาร สามารถย่อยสลายในธรรมชาติได้ง่าย ปนเปื้อนอาหารและเคร่ืองด่ืม โดยสอดคล้องกับ
แนวคิดทฤษฎีของพัชรพิมพ์ เสถบุตร (2558) ได้กล่าวไว้ว่า ผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมเป็นการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะในทางที่เป็นปฏิปักษ์ หรือท่ีเป็นประโยชน์ก็ตามทังนี
หรือเป็นสว่ นหนึ่งหรือทังหมดทเี่ กิดจากการดา้ เนินการของผลิตภณั ฑ์และจากการใหบ้ รกิ ารทางองค์กร

201

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

9. ขอ้ เสนอแนะ
9.1 ส้าหรับผู้ท่ีสนใจสามารถน้าไปเป็นข้อมูลไปศึกษาเพ่ือพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ

สมบรู ณ์ยง่ิ ขนึ
9.2 การน้าทรัพยากรธรรมชาติมาเพ่ิมมูลค่า สามารถสร้างรายได้ ไม่ท้าลายสิ่งแวดล้อม เป็นการใช้

ประโยชนจ์ ากธรรมชาตทิ ี่คมุ้ คา่

10. เอกสารอ้างอิง

1] พัชรพมิ พ์ เสถบตุ ร.(2558). พมิ พค์ รังที่ 1. สารานุกรมส่ิงแวดล้อมฉบับสมบรู ณ์. กรุงเทพมหานคร.
: สถาพร บุค๊ ส.์

[2] มนวกิ า ผดุงสทิ ธิ์.(2555). พิมพค์ รงั ท่ี 2. การบัญชีต้นทนุ . กรงุ เทพมหานคร : ซีเอ็ดยเู คชัน่ .
[3] วชั รธน ขอพรกลาง.(2560). การควบคมุ คณุ ภาพ. กรงุ เทพมหานคร : ซเี อ็ดยเู คช่นั .
[4] วนิ ยั วรี ะวฒั นานนท์.(2562). พมิ พ์ครงั ท่ี 1. สง่ิ แวดลอ้ ม. พิษณุโลก : การพมิ พด์ อทคอม.
[5] วีราวรรณ มารังกูร.(2561). พิมพ์ครังที่ 4. หลักการตลาด. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี
วชิ ัย.
[6] ศวิ พร ชิมะโชต.ิ (2556). ความเตม็ ใจจา่ ยและความคาดหวังของลูกคา้ . (ออนไลน์). สบื คน้ เม่อื วันท่ี

15 ธันวาคม 2563 แหล่งที่มา : ithesis-ir.su.ac.th › dspace › bitstream › ธนั ยาพร.

202

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

สมาทโฟนแอพพลเิ คชนั่ ตรวจสอบการรับจ่ายอปุ กรณ์ไอทขี อง
บริษัท เอส.บี. เฟอรน์ ิเจอรเ์ ฮ้าส์ จากัด

Smart phone application check IT equipment payment of
S.B. Furniture House Co., Ltd.

นายพรเทพ ประสพชัยถาวร Mr.Phonthep Prasopchaithawon
สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบัน อาชวี ศกึ ษาธนบุรี Email: [email protected]

ดร.เสาวลกั ษณ์ ลลี าวงศาโรจน์ Dr.Saowalak Leelawongsaroj
สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบนั อาชวี ศึกษาธนบุรี Email: [email protected]

บทคัดย่อ
โครงการเรอื่ งสมาทโฟนแอพพลิเคชน่ั ตรวจสอบการรับจา่ ยอปุ กรณ์ไอทีของบริษทั เอส.บี เฟอร์นเิ จอร์
เฮ้าส์ จากัด มีวัตถุประสงค์ดังน้ี 1) เพ่ือศึกษาและพัฒนาสมาทโฟนแอพพลิเคชน่ั ตรวจสอบการรบั จ่ายอุปกรณ์
ไอทีของบรษิ ัท เอส.บี เฟอรน์ ิเจอร์เฮ้าส์ จากดั 2) เพ่อื ศกึ ษาความพึงพอใจของผใู้ ช้งานสมาทโฟนแอพพลิเคชั่น
ตรวจสอบการรบั จ่ายอปุ กรณ์ไอทีของบริษัท เอส.บี. เฟอรน์ ิเจอรเ์ ฮ้าส์ จากดั ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับมีดังน้ี
1) สามารถเกบ็ ข้อมลู ลงในระบบไดอ้ ย่างถูกต้อง 2) สามารถตรวจสอบข้อมลู การรบั จ่ายสนิ ทรพั ยไ์ ดส้ ะดวกและ
รวดเร็วมากยิ่งขึ้น 3) พนักงานแผนกคลังมีระบบการรับจ่ายสินทรัพย์ของตัวเอง โดยขอบเขตของการศึกษา
ค้นคว้ากลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ทดลองโปรแกรมเพื่อศึกษาความพึงพอใจ คือ พนักงานแผนกคลังสินทรัพย์ 3 ท่าน
และพนักงานแผนกซัพพอร์ต 4 ท่าน ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการวิจัยน้ันประกอบไปด้วย ระบบปฏิบัติการ iOS,
ระบบปฏิบัติการ Android, Software Open Source ได้แก่ AppSheet, ระบบจัดการฐานข้อมูล, Google
Sheet
จากผลการจัดทาโครงการครั้งน้ีแสดงให้เห็นว่าสมาทโฟนแอพพลิเคชั่นตรวจสอบการรับจ่ายอุปกรณ์
ไอทีของบริษัท เอส.บี เฟอร์นิเจอร์เฮ้าส์ จากัด สามารถที่จะนาไปใช้งานได้จริง ผลการวิจัยมีดังต่อไปน้ี การ
ปภราะพเรมวนิ มผขลองความพงึ พอใจต่อสมาทโฟนแอพพลเิ คชั่นตรวจสอบการรบั จ่ายอุปกรณไ์ อทีของบริษัท เอส.บี
เฟอร์นเิ จอรเ์ ฮ้าส์ จากดั ในด้านต่าง ๆ มคี า่ เฉลีย่ อยู่ในเกณฑ์ระดบั มาก ( ̅ = 4.41 , S.D. = 0.15)

คาสาคญั : สมาทโฟน , แอพพลิเคชน่ั , การตรวจสอบ , อปุ กรณไ์ อที , บรษิ ทั เอสบี เฟอรน์ เิ จอร์เฮ้าส์ จากดั

203

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract

This thesis : Smart phone application check IT equipment payment of S.B. Furniture House Co.,
Ltd. The objectives of the research were 1) To study and develop of Smart phone application check IT
equipment payment of S.B. Furniture House Co., Ltd. 2) To study the satisfaction of the users of Smart phone
application check IT equipment payment of S.B. Furniture House Co., Ltd. The benefits that can be expected
are as follows: 1) To store data into the system. 2) To be able to check the information on the receipt of
assets more conveniently and quickly. 3) To provide the warehouse team to have its own asset receiving
system. The sample was 7 people, namely the Warehouse Team 3 people and the Support Team 4 people.
The research software includes Operating system iOS, Operating system Android, Software Open Source,
Appsheet, Database management system, Other technologies such as Google Sheet.

Fromthe8payment tests,The finding ofthestudyreveals thatable tobe usedforpractical purposes
and effective. The results of the study were as follows: The overall evaluation of the satisfaction of the
applications in various fields. Smart phone application check IT equipment payment of S.B. Furniture House
Co., Ltd. Have a very good mean ( ̅ = 4.41 , S.D. = 0.15)

Keywords: Smartphone , Application , Check , Co. S.B. Furniture House Ltd. , IT equipment

1.บทนา

ในยคุ ปจั จุบนั โทรศัพท์ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทต่อการใช้ชีวิตประจาวันเป็นอย่างมากอาทเิ ช่นระบบการทาธรุ กรรมทางการเงนิ
การโอนเงนิ ผา่ นApplicationการสั่งสินค้าออนไลน์ การสั่งอาหารออนไลน์ เป็นต้นซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านีช้ ่วยใหม้ นษุ ย์ใหป้ ระหยดั เวลา
มเี วลาทากจิ กรรมต่างๆได้มากข้นึ โดยไมต่ อ้ งไปยืนรอตอ่ แถวในการทาธุรกรรมทางการเงินหรือซือ้ อาหารใหเ้ สยี เวลาอีกต่อไป

สถานประกอบการคือสถานที่ ท่ีใช้ในการดาเนินโครงการและผู้จัดทาโครงการได้ดาเนินงานอยู่ใน
แผนกคลังสนิ ทรัพย์ไอที และไดพ้ อปญั หาหลายอย่าง เชน่ การ Update สินทรัพยน์ นั้ ในระบบไมต่ รงกับความ
เป็นจริง , เอกสารที่จะใช้เปน็ หลกั ฐานในการ Update หายระหวา่ งทาง เป็นต้น

จากปัญหาดังกล่าวผู้จัดทาโครงการได้ทาสมาทโฟนแอพพลิเคช่ันตรวจสอบการรับจ่ายอุปกรณ์ไอทีของบริษัท เอส.บี.
เฟอรน์ ิเจอร์เฮา้ ส์ จากดั รวมถึงการตรวจสอบข้อมูลผู้จ่าย ผรู้ บั ลายเซน็ รปู ถา่ ยการรบั สินทรพั ย์ เพอ่ื สะดวกในการรายงานข้อมูล
แก่หัวหน้าแผนกในเวลาท่ีมีคาถามเกี่ยวกับสินทรัพย์ท่ีหายไป และเปลี่ยนการเซ็นลงในเอกสาร มาเป็นการเซ็นรับของเข้าระบบ
แทนจึงสามารถเก็บรกั ษาขอ้ มลู ได้ดกี ว่าและถกู ต้องกว่าในแบบกระดาษ

204

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

2.วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย
1.เพื่อศกึ ษาและพัฒนาสมาทโฟนแอพพลเิ คชั่นตรวจสอบการรับจ่ายอุปกรณไ์ อทีของบริษทั เอส.บี.เฟอรน์ เิ จอร์เฮา้ ส์ จากดั
2.เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานสมาทโฟนแอพพลิเคชั่นตรวจสอบการรับจ่ายอุปกรณ์ไอทีของ
บรษิ ัท เอส.บี. เฟอร์นิเจอร์เฮ้าส์ จากัด

3.สมมติฐานของการวจิ ยั
ความพึงพอใจของผู้ใช้งานสมาทโฟนแอพพลิเคช่ันตรวจสอบการรับจ่ายอุปกรณ์ไอทขี องบริษัท เอส.บี

เฟอรน์ ิเจอร์เฮ้าส์ จากดั อย่ใู นระดับมาก

4.วิธีการดาเนนิ การวิจัย
4.1 การสรา้ งและพฒั นา
4.1.1 บนั ทกึ เกย่ี วกับปญั หาท่จี ะแกไ้ ขและศกึ ษาขอ้ มูลของโปรแกรมท่จี ะใชใ้ นการแกป้ ญั หา
4.1.2 ออกแบบฐานขอ้ มูลโดยการทาDataDictionaryสร้างEntityRelationshipDiagramและทาFlowChartLV0-1
4.1.3 เรมิ่ ทาการศึกษาและสร้างแอพพลิเคชั่น
4.2 กลมุ่ เป้าหมาย
ทัง้ หมดจานวน 7 ท่าน ได้ทมี คลงั สินทรพั ย์ จานวน 3 ทา่ น และ ทมี ซัพพอรต์ จานวน 4 ท่าน
4.3 เครอื่ งมือวจิ ยั ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ในการวิจัย
4.3.1 AppSheet Platform
4.3.2 Google Sheet
4.3.3 Dai
4.4 ข้นั ตอนการสรา้ งแอพพลิเคชนั่
4.4.1 สรา้ งบญั ชี Gmail
4.4.2 สรา้ งฐานข้อมลู เช่น MySQL, Google Sheet, AWS เป็นตน้
4.4.3 เชื่อมต่อ AppSheet กับ ฐานขอ้ มูล
4.4.4 Design Application

5.ผลการวิจยั
ผลวิเคราะห์ข้อมูลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้งานสมาทโฟนแอพพลิเคช่ันตรวจสอบการรับจ่าย

อปุ กรณไ์ อทีของ บริษัท เอส.บี. เฟอรน์ เิ จอรเ์ ฮา้ ส์ จากดั ตามตารางท่ี 1 ดังต่อไปน้ี

205

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

ตารางท่ี 1 แสดงผลวิเคราะห์ขอ้ มูลการหาความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานสมาทโฟนแอพพลิเคช่นั ตรวจสอบการรบั
จา่ ยอปุ กรณ์ไอทขี อง บรษิ ัท เอส.บี. เฟอร์นเิ จอร์เฮา้ ส์ จากัด

ขอ้ ความพึงพอใจ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน แปลผล
( ̅ ) (S.D.)
มาก
1 ด้านตรงตามความต้องการของผู้ใชง้ านแอพพลเิ คชนั่ มาก
มาก
1.1 ความสามารถของแอพพลเิ คชน่ั ในดา้ นการจัดการข้อมลู 4.14 0.69
มากที่สดุ
1.2 ความสามารถของแอพพลิเคช่ันในด้านการจดั การสิทธผิ์ ้ใู ช้ 4.17 0.76 มากที่สุด
มากทสี่ ดุ
ค่าเฉลยี่ รวม 4.16 0.05 มากทส่ี ุด
ปานกลาง
2 ด้านการทางานได้ตามฟงั ก์ชนั งานของแอพพลเิ คชน่ั มากทส่ี ุด

2.1 ความถูกตอ้ งในการจดั เก็บข้อมูลนาเขา้ 5 0.00 มาก
มาก
2.2 ความถูกตอ้ งในการปรบั ปรุงแก้ไขข้อมลู 5 0.00 มาก

2.3 ความถกู ต้องในการลบข้อมูล 5 0.00 มากทสี่ ดุ
มาก
2.4 ความถูกต้องของผลลัพธท์ ไ่ี ดจ้ ากการประมวลผลขอ้ มูล 5 0.00
มากทส่ี ุด
2.5 ความรวดเร็วในการประมวลผลขอ้ มูล 2.57 0.53
มาก
2.6 ความนา่ เชื่อถอื ของขอ้ มลู 4.71 0.49 มากท่ีสดุ

2.7 ความครอบคลมุ ของแอพพลเิ คชั่นท่ีพัฒนากบั ระบบงานจริง 4.43 0.53 มาก
มาก
2.8 การป้องกนั ขอ้ ผดิ พลาดทอี่ าจเกดิ ขนึ้ 3.86 0.90

ค่าเฉลย่ี รวม 4.45 0.35

3 ด้านการออกแบบ และใชง้ านแอพพลิเคชน่ั

3.1 ความงา่ ยต่อการใชง้ านของแอพพลเิ คช่นั 4.57 0.53

3.2 ความเหมาะสมในการเลอื กใชช้ นิดขนาดและสีตวั อกั ษรบนจอภาพ 4.14 0.38

3.3ความเหมาะสมในการใช้ข้อความสัญลักษณ์ หรือรปู ภาพเพือ่ อธบิ ายสอ่ื 4.71 0.49

ความหมาย

3.4 ความเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ในการออกแบบหน้าจอภาพ 4.43 0.79

3.5 ความเหมาะสมในการปฏสิ มั พนั ธโ์ ตต้ อบกบั ผู้ใช้งานแอพพลเิ คช่ัน 4.57 0.53

3.6 ความเหมาะสมในการวางตาแหนง่ ของสว่ นประกอบบนจอภาพ 4.29 0.76

ค่าเฉล่ียรวม 4.45 0.16

206

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ตารางท่ี 1 แสดงผลวเิ คราะห์ขอ้ มลู การหาความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ านสมาทโฟนแอพพลเิ คช่ันตรวจสอบการรบั

จ่ายอุปกรณไ์ อทีของ บรษิ ัท เอส.บ.ี เฟอร์นเิ จอรเ์ ฮ้าส์ จากัด (ตอ่ )

4 ดา้ นการรักษาความปลอดภัยของขอ้ มลู ในแอพพลเิ คชั่น

4.1 การกาหนดชอื่ ผใู้ ช้ และรหสั ผา่ น 4.57 0.53 มากทส่ี ดุ

4.2 การตรวจสอบสทิ ธกิ์ อ่ นการใช้งาน 4.71 0.49 มากทสี่ ดุ

4.3 การควบคมุ ให้ใช้งานตามสทิ ธผ์ิ ใู้ ชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 4.29 0.49 มาก

4.4 การป้องกนั การลม้ เหลวของข้อมลู ภายในแอพพลิเคช่ัน 4.86 0.38 มากท่สี ุด

คา่ เฉลย่ี รวม 4.61 0.06 มากทีส่ ดุ

ค่าเฉลยี่ รวมทัง้ สิ้น 4.42 0.15 มาก

จากตารางท่ี 1ผลวิเคราะห์ขอ้ มูลการหาความพึงพอใจของผใู้ ช้งานสมาทโฟนแอพพลิเคชั่นตรวจสอบการรบั จา่ ยอปุ กรณ์
ไอทีของบริษัทเอส.บี.เฟอร์นิเจอร์เฮ้าส์ จากัดโดยรวมมีความพึงพอใจของผู้ใชง้ านสมาทโฟนแอพพลิเคชั่นตรวจสอบการรับจ่าย
อุปกรณ์ไอทีของบริษัท เอส.บี.เฟอร์นิเจอร์เฮ้าส์ จากัดอยู่ในความพึงพอใจท่ีมาก( ̅ =4.42,S.D.=0.15)ความพึงพอใจในด้าน
ตา่ งๆระดับมากท่สี ดุ คอื ด้านการรักษาความปลอดภยั ของข้อมลู ในแอพพลิเคชั่น( ̅ =4.61,S.D.=0.06)ระดบั มากคอื ดา้ นการ
ออกแบบและใชง้ านแอพพลิเคชนั่ ( ̅ =4.45,S.D.=0.16)ระดับมากคอื ดา้ นการทางานได้ตามฟังกช์ นั่ งานของแอพพลเิ คช่นั ( ̅ =
4.45,S.D.=0.35)ระดับมากคือดา้ นตรงตามความต้องการของผูใ้ ชง้ านแอพพลิเคชัน่ ( ̅ =4.16,S.D.=0.05)

6.สรปุ ผลการวิจัยและขอ้ เสนอแนะ
6.1 ผลการพัฒนาแอพพลเิ คชน่ั พบวา่ สามารถนาไปใชใ้ นการทางานด้านการจ่ายของ-รับของ ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ที่

กาหนดโดยแอพพลเิ คช่ันและประเมนิ ผลการทางานของโปรแกรมมีส่วนประกอบต่างๆที่แบ่งตามสทิ ธใ์ิ นการใชง้ านเว็บไซต์ดังนี้
6.1.1 สิทธข์ิ องผดู้ ูแลระบบ และผูจ้ ดั การคลัง (สทิ ธข์ิ อง Adminกับ StoreManagerจะมีเท่าเทียมกันทุกอย่าง

ยกเว้นแค่ StoreManagerไม่มีสิทธ์ิในการปรับแต่งApplication,การเพ่ิมจานวนUserในแต่ละสิทธิ์)สามารถใชง้ านเมนูต่างๆ
ได้ ดงั น้ี ใบแจง้ ปญั หา, ใบJob, จ่ายสินทรัพย์, รับคืนสนิ ทรพั ย์, ฐานขอ้ มลู , พนักงานฯลฯเปน็ ตน้

6.1.2 สทิ ธิข์ องซัพพอร์ต สามารถใชง้ านเมนูตา่ ง ๆ ได้ ดงั นี้ รายการจ่ายสินทรัพย์ และรายการคืนสนิ ทรัพย์
6.2 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจแอพพลิเคช่ัน โดยกลมุ่ เป้าหมายทงั้ หมด 7 ทา่ น พบวา่ มคี า่ เฉลยี่ อยู่
ในเกณฑม์ คี วามพงึ พอใจมาก ( ̅ = 4.41, S.D. = 0.15)

ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการศกึ ษาไปใช้
 ทมี คลังสนิ ทรพั ย์ และทมี ซัพพอรต์ สามารถนาแอพพลิเคชนั่ คลังสินทรพั ยต์ รวจสอบการรบั -จา่ ยไปใชง้ านจริงได้
 ทมี คลงั สนิ ทรพั ย์สามารถสรปุ รายงานในการจ่าย-รับ สนิ ทรพั ย์เข้าที่ประชมุ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
 แอพพลเิ คชั่นชว่ ยให้การติดตามสถานะการส่งและรับคืนสินทรพั ย์มีความถูกต้องมากขน้ึ

207

บทความผลงานวจิ ัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

2. ขอ้ เสนอแนะในการทาโครงการครั้งตอ่ ไป
 ควรใช้ภาษาอ่ืนในการพฒั นา เชน่ JavaScript เป็นต้น
 ควรเปลย่ี นฐานข้อมลู ไปใช้อันอน่ื เชน่ Oracle , SQL Server เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง

จากแหล่งขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
suhainee chedeng. (3 ธันวาคม 2559). ความรู้ทว่ั ไปเกีย่ วกับแอพพลิเคชนั่ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/
Wiki. (23 มกราคม 2564). แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ). เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki/แอน

ดรอยด์_(ระบบปฏิบตั ิการ)
ภาควชิ าเทคนิคเภสชั กรรม. การสรา้ งApplication. เข้าถงึ ได้จาก https://www.pharmscphub.com/
Goh Nanthawad Promsorn. (9 มถิ ุนายน 2561). วธิ ใี ชง้ านเบอ้ื งต้น : Appsheet. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://medium.com/@gohnanthawadpromsorn/
Goh Nanthawad Promsorn. (16 มิถุนายน 2561). GUI : AppSheet. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://medium.com/@gohnanthawadpromsorn/gui-appsheet-ab571abc929
Nattaworn Tan. (14 มถิ นุ ายน 2562). ประเภทตา่ งๆของ Database ในปี 2019 จาก Clip ของPurpose-Built Database

Strategy: The Right Tool for The Right Job ของ AWS. เข้าถึงไดจ้ าก https://medium.com/@zardokar
บริษัท เทคสตาร์ (ประเทศไทย) จากัด. (2016-2017). 10 แนวทางเพื่อการออกแบบ Database ให้ดีท่ีสุด. เข้าถึงได้จาก

https://www.techstarthailand.com/blog/
Vrt Zean. (17 กันยายน 2561). ER Diagram. เขา้ ถงึ ได้จาก https://medium.com/@vrtzean
Vrt Zean. (19 มนี าคม 2562). การออกแบบข้อมลู เชงิ สมั พันธ์. เขา้ ถึงได้จาก https://medium.com/@vrtzean
sonia Dumitru. (10 มนี าคม 2563). What is an Entity Diagram (ERD)?. เขา้ ถงึ ได้จาก

https://medium.com/@soni.dumitru
wasuthep-srik. (26 สิงหาคม 2561). UML เพือ่ อะไร ทาอย่างไร... ตอนท่ี 2 “ER Diagrams”. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://medium.com/@wasuthep-srik
สุธรรม จินดาอุดม, จตุพร ชู่ช่วย, อภิรักษ์ จันทร์สร้าง, ชยัพร ใจแกว้ และ อนันต์ผลเพิ่ม. (10 กันยายน 2553). ระบบเชค็ ช่อื

และรายงานผลแบบเวลาจริงผ่านเครือข่ายไรส้ าย โดยใช้อาร์เอฟไอดี (RFID : Radio Frequency Identification).
เข้าถงึ ได้จาก https://ecourse.cpe.ku.ac.th/projar_media
ชิบาตะ. (9 ธันวาคม 2548). ศึกษาและพัฒนาระบบบันทึกการเข้าช้ันเรียน โดยใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ี. เข้าถึงได้จาก
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sjss/article/download/23434/19966/
ดารงฤทธ์ิ จันทรา. (1 มกราคม 2563). การประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรม AppSheet พัฒนาแอพพลเิ คชั่น เพ่อื ใช้ในการสอนพลศึกษา
เรื่องสัญลักษณข์ องผู้ตัดสินกีฬาวอลเลย์บอล ของนักศกึ ษาชัน้ ปที ี่ 4 มหาวทิ ยลยั ภฏั ศรีสะเกษ. เข้าถึงไดจ้ าก
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sskrujournal/article/download/241947/164564/
ธิญาดา ใจใหมคร้าม. (2558). การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า กรณีศึกษาคลงสินค้า 2 ราษฎร์บูรณะ
กรุงเทพมหานคร องคก์ ารคลังสนิ คา้ การศกึ ษา. เข้าถึงได้จาก
http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/2353/1/tiyada.jaim.pdf

208

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ระบบแจ้งซอ่ มคอมพวิ เตอร์โรงพยาบาลสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้
Computer Repair Notification System Somdet Phra PinKlao Hospital

นายไพศาล ณ สงขลา Mr.Paisan Na songkhla
สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบัน อาชีวศึกษาธนบรุ ี Email: [email protected]

ดร.เสาวลักษณ์ ลลี าวงศาโรจน์ Dr.Saowalak Leelawongsaroj
สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบนั อาชีวศึกษาธนบรุ ี Email: [email protected]

บทคัดยอ่

โครงการเร่ืองระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์ดั งนี้ 1) เพื่อศึกษาความต้องการใช้งานระบบแจ้งซ่อม
คอมพิวเตอร์ ของโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ ของ
โรงพยาบาลสมเด็จพระป่ินเกล้าประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั มีดงั นี้ 1)สามารถเก็บข้อมูลลงในระบบแทนการบนั ทึกด้วยกระดาษ
2) สามารถแจ้งซ่อมผ่านระบบจากเดิมแจ้งผ่านทางโทรศัพท์ 3) ผู้ใช้งานแจ้งซ่อมสามารถติดตามงานซ่อมได้ ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ใน
การช่วยพัฒนาระบบประกอบไปด้วย 1) AdobeDreamweverCS6 สาหรับออกแบบโครงสร้างและระบบเว็บไซต์ 2) Appserv
สาหรบั จาลองเวบ็ เซิร์ฟเวอรแ์ ละระบบฐานข้อมลู 3) Sublime Text3สาหรบั ใช้ในการเขียนและแกไ้ ขโปรแกรม

จากผลการวิจัยคร้ังนี้แสดงให้เห็นว่าสามารถที่จะนาไปใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพ ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ การ
ประเมนิ ผลภาพรวมของความพึงพอใจต่อระบบแจง้ ซอ่ มคอมพวิ เตอร์ ในดา้ นตา่ งๆ มคี ่าเฉล่ียอยูใ่ นเกณฑ์ดี ( ̅ =3.86,S.D.=0.08)

คาสาคญั : ระบบแจ้งซอ่ มคอมพวิ เตอร์, ตดิ ตามงานซ่อมคอมพวิ เตอร์, โรงพยาบาลสมเด็จพระป่ินเกลา้

Abstract

The computer repair notification system has the following objectives: 1) For study and develop
computer repair notification system of Somdej Phra Pinklao Hospital. 2) For study the satisfaction of users
computer repair system of Somdej Phra Pinklao Hospital. The benefits that can be expected are as follows: 1)
The data can be stored in the system instead of paper recordings. 2) Able to report repair through the system
from the old, notify via phone. 3) Users can report repair work, can follow up repair work. System development
software includes 1) Adobe Dreamwever CS6 for designing website structures and systems, 2) Appserv for
simulating web servers and database systems.3) Sublime Tex t 3 for writing and editing programs.

The results of this research show that it can be used for real applications. And effective The results of the research
are as follows.1) The overallevaluationof the satisfactionof thecomputerrepairnotificationsystem in variousfieldsis of
goodaverage.( ̅ =3.86,S.D.=0.08)
Keywords: Computer Repair Notification System, Somdej Phra Pinklao Hospital

209

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

1.บทนา
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีความเรว็ ในการประมวลผลที่สูงแม่นยาและประสิทธิภาพสูงขึ้น ราคาฮาร์ดแวร์

คอมพิวเตอร์ท่ีถูกลงสามารถเข้าถึงได้ง่าย อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ถูกนามาใช้งานในองค์กร สานักงาน ตาม
บ้านเรอื น ทาใหก้ ารสืบคน้ ข้อมลู ทร่ี วดเรว็ ช่วยอานวยความสะดวกในการทางานตดิ ตอ่ ส่อื สารกบั ลกู ค้าได้อย่าง
รวดเร็ว การจัดเก็บขอ้ มลู ไฟลเ์ อกสารบนคลาวดเ์ ซิรฟ์ เวอร์มีปลอดภัยและนา่ เชอ่ื ถอื

ระบบจัดการฐานข้อมลู ของคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายมบี ทบาทในชวี ติ ประจาวันมากข้นึ
การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้สะดวกรวดเรว็ มาก ตอบสนองสาหรบั องค์กรขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ได้ดี การจด
บันทึกงานเอกสารลงบนกระดาษ สิ้นเปลือ งงบประมาณวัสดุและชั้นจัดเอกสารเอกสารเม่ือเอกสารมีปริมาณ
มากขึ้น การสืบคน้ หาเอกสารทมี่ ีจานวนมากทาใหเ้ กิดความลา่ ช้าในการติดตามงาน
และการจัดเก็บเอกสารท่ีใช้พ้ืนที่ในการจัดเก็บเยอะขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มสาหรับตู้จัดเก็บเอกสาร
การดูแลรักษาเอกสารที่ดูแลได้ยากเนื่องจากเอกสารท่ีเก็บไว้นานมีโอกาสทาให้กระดาษเส่ือมสภาพ และน้า
หมึกของตวั หนงั สอื เลือนลางได้

ปัจจุบันแผนกศูนย์ส่ือสารและสารสนเทศ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า เป็นแผนกท่ีดูแลจัดหา
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งดูแลห้องเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูลของโรงพยาบาลสมเด็จพระ
ป่ินเกล้า ในการแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์น้ันผู้ใช้งานจะแจ้งผ่านโทรศัพท์ เจ้าหน้าที่ธุรการจะทาการจดบันทึก
ปัญหา ชื่อแผนก เบอร์โทรติดต่อกลับ ใส่กระดาษซ่ึงมีโอกาสสูญหายตกหล่นได้หรือลืมประสานงานต่อช่าง
เทคนคิ

จากปัญหาดงั กลา่ วทาให้ผใู้ ชง้ านไมไ่ ดร้ ับการแก้ไขตามทโี่ ทรแจ้งปญั หาไว้ ผู้จัดทาโครงการจงึ ไดพ้ ัฒนา
ระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ เพ่ือลดปัญหาท่ีกล่าวข้างต้น เพื่ออานวยความสะดวกในการแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์
และติดตามงานซ่อม สามารถตรวจดขู อ้ มูลย้อนหลังได้ ทารายงานการแจ้งซ่อมได้
2.วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย

1. เพื่อศกึ ษาและพัฒนาระบบแจง้ ซ่อมคอมพิวเตอร์ ของโรงพยาบาลสมเด็จพระปน่ิ เกล้า
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ ของโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่น
เกลา้
3.สมมตฐิ านของการวิจยั
ความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และติดตามงานซ่อม ของโรงพยาบาลสมเด็จ
พระปิ่นเกล้า อยใู่ นระดับมาก

210

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

4.วธิ ีการดาเนินการวิจัย
4.1 การสร้างและพฒั นา
4.1.1 ศึกษาปัญหาท่ีพบเจอและศึกษาข้อมูลโปรแกรมท่ีใช้ในการพัฒนาระบบเพ่ือแก้ไข

ปญั หา
4.1.2 วิเคราะห์ออกแบบฐานขอ้ มูลด้วยแผนผงั Entity Relationship Diagram และ Data Dictionary
4.1.3 วเิ คราะห์ออกแบบระบบดว้ ยแผนผัง Flow Chart LV0-1
4.1.4 เร่ิมทาการศึกษาและสร้างระบบ

4.2 กลมุ่ เป้าหมาย
เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ัติงานโรงพยาบาลสมเดจ็ พระป่นิ เกล้า จานวน 15 ท่าน

4.3 เครือ่ งมือวิจัยตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
4.3.1 ฮาร์ดแวร์ท่ีใช้ (Hardware)
เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ประกอบ มีรายละเอียดสเปคเครื่องดังน้ี
1 หนว่ ยประมวลผลกลาง Intel Core i5 7600k (3.8Ghz)
2. หนว่ ยความจาหลักชนิด DDR4 16GB
3. พนื้ ทีห่ นว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู ฮาร์ดดิสก(์ Solid State Drive) 512GB
4. หน่วยประมวลผลกราฟฟิคการ์ด Nvidia GTX1660SUPER 6GB
4.3.2 ซอฟต์แวรท์ ี่ใชง้ าน (Software)
1. ระบบปฏิบตั กิ าร Microsoft Windows 10 ใชเ้ ปน็ ระบบปฏิบัติการ
2. โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS6 ใชส้ าหรับออกแบบเว็บไซต์
3. โปรแกรม Appserv 8.6.0 สาหรับจาลองเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ป็น WebServer
4. โปรแกรม Sublime Text 3 สาหรบั เขยี นโค๊ดและแกโ้ ค๊ด
4.3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์
1. ภาษา PHP, HTML, CSS และ BOOSTRAP4 เปน็ ใชภ้ าษาท่ีใชใ้ นการพัฒนาระบบ
2. ภาษา SQL เปน็ ภาษาที่ใชใ้ นการจดั การฐานข้อมลู

4.4 ขนั้ ตอนการสร้างระบบ
4.4.1 สร้างฐานข้อมลู MySQL ดว้ ยโปรแกรม Appserv
4.4.2 สร้างระบบด้วยภาษา PHP, HTML โดยใช้โปรแกรม Adobe Dreamwever CS6 ใน

การออกแบบโครงสรา้ งและเขยี น Codeing ดว้ ย Sublime Text 3
4.4.3 นาระบบฐานขอ้ มูล SQL มาเช่ือมต่อกับ โครงสรา้ งของระบบภาษา PHP และ HTML

211

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5.ผลการวจิ ยั

ผลวิเคราะห์ข้อมูลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ ของ โรงพยาบาลสมเด็จพระป่ินเกล้า

ตามตารางที่ 1 ดังต่อไปนี้

ตารางที่ 1 แสดงผลวเิ คราะห์ขอ้ มูลการหาความพงึ พอใจของผู้ใช้งานระบบแจง้ ซ่อมคอมพิวเตอร์ ของ โรงพยาบาลสมเด็จพระป่นิ เกล้า

ขอ้ ความพงึ พอใจ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน แปลผล
(̅ ) (S.D.)

1 ด้านตรงตามความตอ้ งการของผู้ใชง้ านระบบ

1.1 ความสามารถของระบบในดา้ นการจดั การขอ้ มูล 4.07 0.46 มาก

1.2 ความสามารถของระบบในด้านการจดั การสิทธผิ์ ูใ้ ช้ 4.53 0.52 มากทสี่ ุด

คา่ เฉลี่ยรวม 4.30 0.04 มาก

2 ดา้ นการทางานได้ตามฟงั ก์ชันงานของระบบ

2.1 ความถูกต้องในการจดั เก็บข้อมลู นาเข้า 4.33 0.49 มาก

2.2 ความถูกต้องในการปรับปรุงแกไ้ ขข้อมลู 4.20 0.41 มาก

2.3 ความถกู ตอ้ งในการลบข้อมูล 4.27 0.46 มาก

2.4 ความถกู ต้องของผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ากการประมวลผลข้อมลู 3.93 0.46 มาก

2.5 ความรวดเรว็ ในการประมวลผลขอ้ มลู 3.20 0.77 ปานกลาง

2.6 ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มูล 4.07 0.59 มาก

2.7 ความครอบคลุมของระบบทพ่ี ัฒนากับระบบงานจรงิ 4.00 0.65 มาก

2.8 การปอ้ งกนั ขอ้ ผิดพลาดท่อี าจเกดิ ขึ้น 3.80 0.68 มาก

ค่าเฉลย่ี รวม 3.98 0.13 มาก

3 ดา้ นการออกแบบ และใช้งานระบบ

3.1 ความง่ายตอ่ การใช้งานของระบบ 4.07 0.46 มาก

3.2 ความเหมาะสมในการเลือกใชช้ นดิ ขนาด และสีตัว 3.80 0.56 มาก

อักษรบนจอภาพ

3.3 ความเหมาะสมในการใชข้ อ้ ความ สญั ลกั ษณ์ หรือ 3.87 0.64 มาก

รูปภาพเพื่ออธิบายส่อื ความหมาย

3.4 ความเป็นมาตรฐานเดยี วกนั ในการออกแบบหนา้ จอภาพ 3.20 0.77 ปานกลาง

3.5 ความเหมาะสมในการปฏิสมั พนั ธโ์ ตต้ อบกบั ผู้ใช้งานระบบ 4.20 0.68 มาก

3.6 ความเหมาะสมในการวางตาแหนง่ ของสว่ นประกอบบนจอภาพ 3.83 0.12 มาก

ค่าเฉลี่ยรวม 3.83 0.23 มาก

212

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ตารางท่ี 1 แสดงผลวิเคราะห์ข้อมลู การหาความพงึ พอใจของผู้ใชง้ านระบบแจง้ ซ่อมคอมพิวเตอร์ ของโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า

(ตอ่ )

4 ดา้ นการรักษาความปลอดภัยของขอ้ มลู ในระบบ

4.1 การกาหนดชื่อผใู้ ช้ และรหสั ผา่ น 3.27 0.88 ปานกลาง

4.2 การตรวจสอบสทิ ธก์ิ ่อนการใชง้ าน 3.53 1.06 มาก

4.3 การควบคมุ ใหใ้ ช้งานตามสิทธผิ์ ้ใู ชไ้ ด้อย่างถูกตอ้ ง 3.33 0.98 ปานกลาง

4.4 การป้องกันการล้มเหลวของขอ้ มลู ภายในแอพพลเิ คชัน่ 3.20 1.01 ปานกลาง

คา่ เฉล่ยี รวม 3.33 0.075 ปานกลาง

ค่าเฉลีย่ รวมท้งั สิ้น 3.86 0.08 มาก

จากตารางท่ี 1 ผลวิเคราะห์ข้อมูลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ ของ

โรงพยาบาลสมเด็จพระป่ินเกล้า โดยรวมมีความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ ของ

โรงพยาบาลสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ อยใู่ นความพงึ พอใจทมี่ าก ( ̅ = 3.86, S.D. = 0.08)

6.สรปุ ผลการวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะ
6.1 ผลการพัฒนาระบบ พบว่าสามารถนาไปใช้ในการทางานด้านการแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ี

กาหนด โดยระบบแจ้งซอ่ มคอมพวิ เตอร์และประเมินผลการทางานของระบบมสี ่วนประกอบตา่ ง ๆ ทแี่ บง่ ตามสิทธิ์ในการใช้งานดงั น้ี
6.1.1 สิทธ์ิของผู้ดูแลระบบ สามารถเข้าถึงเมนู เพิ่มรายการซ่อมคอมพิวเตอร์, แก้ไข-ลบ

ขอ้ มูลแจ้งซ่อม, ดรู ายงานผู้ใชง้ าน, ดูรายงานการแจ้งซอ่ มได้
6.1.2 สิทธิ์ของผู้ใช้งาน สามารถเข้าถึงเมนู แก้ไขข้อมูลส่วนตัว, สามารถเพิ่มรายการซ่อมคอมพิวเตอร์, ดู

สถานะการซอ่ มได้

6.2 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ โดยเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานของ

โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า 15 ท่าน พบวา่ มีคา่ เฉล่ียอยู่ในเกณฑ์มีความพึงพอใจมาก ( ̅ = 3.86 , S.D.
= 0.08)

ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการศกึ ษาไปใช้
- ระบบสามารถเก็บฐานขอ้ มูลสามารถดยู ้อนหลงั ได้
- ระบบแจ้งซ่อมคอมพวิ เตอร์ สามารถตดิ ตามงานซอ่ มได้
- ระบบแจ้งซอ่ มคอมพิวเตอร์ สามารถทารายงานการซ่อมได้
2. ข้อเสนอแนะในการทาโครงการคร้ังต่อไป
- ควรเลือกโทนสที ี่ดูสบายตา และปรับแต่งหนา้ ตาแบบ Form ใหใ้ ช้งานงา่ ย
- ความสวยงามของระบบควรพัฒนาดว้ ย CSS และ BOOSTRAP4

213

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอา้ งอิง

จากแหล่งขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์
webmaster (3 พฤศจิกายน 2559). เวบ็ ไซต์. [ออนไลน]์ สืบค้นจาก

http://www.webmaster.or.th/website [เขา้ ถึงข้อมูล 22 ธนั วาคม 2563]
kerati-nuallaong (17 มนี าคม 2555). วงจรการพฒั นาระบบ. [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://kerati-

nuallaong.blogspot.com/2012/03/system-development-life-cycle-sdlc.html [เข้าถงึ
ข้อมูล 22 ธันวาคม 2563]
mindphp (2560). โปรแกรม php. [ออนไลน]์ สืบคน้ จาก http://www.mindphp.com/คู่มอื /73-คืออะไร/
2127-php-คอื อะไร.html [เข้าถึงข้อมลู 22 ธนั วาคม 2563]
appserv (2559). โปรแกรม appserv. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://www.appserv.org/th/เกย่ี วกบั
[เขา้ ถึงขอ้ มลู 22 ธันวาคม 2563]
mindphp (2560). โปรแกรม phpMyadmin. [ออนไลน]์ สืบคน้ จาก https://www.mindphp.com/คมู่ ือ/
73-คืออะไร/2285-phpmyadmin-คืออะไร.html [เข้าถึงขอ้ มูล 22 ธันวาคม 2563]
gotoknow (2559). โปรแกรม Adobe Photoshop CS6. [ออนไลน์] สบื คน้ จาก
https://www.gotoknow.org/posts/599641 [เข้าถึงข้อมลู 22 ธนั วาคม 2563]
glurgeek (2560). โปรแกรม Sublime Text 3. [ออนไลน]์ สบื คน้ จาก
https://www.glurgeek.com/education/software-engineering/sublime-text-3 [เข้าถงึ ข้อมลู
22 ธันวาคม 2563]
พรเทพ พัฒธนานุรักษ์ และคณะ. (2561). ความพึงพอใจ. [ออนไลน]์ สืบค้นจาก
https://www.pakkretcity.go.th/book/upload/b081/27 [เข้าถึงข้อมลู 22 ธันวาคม 2563]
ไพรัฐ เพชรฤทธ.ิ์ (2561). การพัฒนาระบบจดั การงานซ่อมบารงุ ระบบคอมพวิ เตอร์. [ออนไลน์] สืบค้นจาก
http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Pairath.Phe.pdf [เขา้ ถึงข้อมลู 22 ธนั วาคม 2563]
ภาสกร ปาละกลู . (2552). โปรแกรมระบบบริหารจดั การงานซ่อมบารงุ อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์. [ออนไลน]์
สบื คน้ จาก http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/RC_RR/2552_Sci_Phasakorn.pdf
[เข้าถึงขอ้ มลู 22 ธันวาคม 2563]

214

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

การพัฒนาโมบายแอปพลเิ คชันผชู้ ว่ ยอัจฉริยะ
ดา้ นการป้องกนั การแพร่ระบาดของไวรสั COVID-19
Development of Assistant Mobile Application to Prevent Virus Covid 19

สุรวิจ ชพู ินจิ 1 สกุ ญั ญา คงคารตั น2์ ศริ ิพร ไชยรุ่งเรือง3
Surawit Chupinij1 Sukanya Khongkharat2 Siriporn Chairungruang3

1นกั ศกึ ษา สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ สถาบนั การอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร E-mail : [email protected]
2นกั ศกึ ษา สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร E-mail : [email protected]
3อาจารย์ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ สถาบนั การอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 มี
วัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส
COVID-19 2) เพ่ือประเมินประสิทธิภาพในการทางานของโมบายแอปพลิเคชันผู้ชว่ ยอัจฉริยะด้านการป้องกนั
การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 และ 3) เพ่ือประเมินความพึงพอใจในการใช้งานโมบายแอปพลิเคชัน
ผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือบุคลากร
โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ภาควิชาศัลยศาสตร์ จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาได้แก่ App
Inventor, Adobe Illustrator แบบทดสอบประสิทธิภาพ และแบบสอบถามความพึงพอใจการพัฒนาโมบาย
แอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 สถิติท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่
รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของโมบายแอปพลิเคชันจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ในด้านการออกแบบ
ส่วนติดต่อผู้ใช้ และด้านฟังก์ชันการทางาน มีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.50 (S.D=0.58)
และผลการประเมินความพึงพอใจการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่
ระบาดของไวรัส COVID-19 จากกลุ่มเป้าหมายพบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ซึ่งมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.45
(S.D=0.61) ดังนั้นสรุปได้ว่า การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของ
ไวรสั COVID-19 สามารถแสดงผลข้อมูลเช้ือไวรัส อาการของเชื้อไวรสั COVID-19 วิธีปฏบิ ัติตนในสถานการณ์
ต่างๆ แสดงผลสถิติผู้ติดเชื้อไวรัส ค้นหาโรงพยาบาลที่ใกล้เคียง สามารถโต้ตอบผ่าน Chat bot และการ
สนทนาเสยี ง และแจง้ เตอื นได้
คาสาคญั : โมบายแอปพลเิ คชัน ผชู้ ว่ ยอัจฉรยิ ะ การป้องกันการแพรร่ ะบาดไวรัส COVID-19

215

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract

Development of Assistant Mobile Application to Prevent Virus Covid 19 aims to 1) To develop mobile
applications2) Tomeasuretheperformanceofmobileapplicationnotifications3) Toassessthesatisfactionofusing
the mobile application. By adopting technologyIntelligentassistantcomes in With a mobile applicationuser group,
intelligent assistant in the prevention of the spread of COVID-19, Vajira Hospital Department of Surgery, 30 people, the
development tools include App Inventor,Adobe Illustratorand Wix website. Performancetest And the satisfaction
questionnaire,mobile applicationdevelopment,intelligentassistantfor COVID-19epidemic prevention,the statistics
usedinthe researchwere percentage, meanandstandarddeviation.

The results of the research were as follows: Mobile Application Performance from 3 Experts in User Interface
DesignAndfunctionalityaspectsTheefficiencywasatthehighestlevelwithanaverageof4.50(SD= 0.58) andthe
resultsoftheevaluationof thedevelopmentofa mobileintelligentassistantapplicationdevelopmentofCOVID-19
virus. At the highest level Which has the mean of 4.45 (S.D = 0.61), so we can conclude that Mobile application
development of the intelligent assistant of COVID-19 virus epidemic prevention can be applied in daily life. In this
regard, the organizers canfocus oncollectinginformationfrompeople whoactuallyuse it.
Keywords : Application, COVID-19, Assistant

1. บทนา
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส COVID-19 น้ันทาให้เกิดการต่ืนตระหนกของประชากรทว่ั โลก และคน

ไทยเป็นอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและทาให้การใช้ชีวิตเป็นไปอย่างยากลาบาก ด้วยเหตุการณ์น้ีการเฝ้าระวังและ
รบั มือเชือ้ ไวรัส COVID-19 เบอื้ งต้น ถือวา่ เป็นสิง่ ที่สาคญั อย่างมาก ดว้ ยการดาเนนิ การรักษาร่างกายใหส้ มบูรณ์แข็งแรง การ
ออกกาลังกาย เพื่อมิให้เจ็บป่วยการเฝ้าระวังและรับมือกับ COVID-19 ทาได้โดย การล้างมือให้สะอาดและถูกต้อง ท้ังด้วย
เจลแอลกอฮอล์ การสวมหน้ากากอนามยั อย่างถกู วิธี การท่ไี มน่ าเอามือมาปา้ ย หรือจบั ใบหนา้ [1] เพ่ือลดการแพรร่ ะบาดของ
เชือ้ ไวรสั COVID-19 ความรู้และความเข้าใจในเช้อื ไวรสั COVID-19 เป็นสิ่งท่ีสาคญั เปน็ อย่างมาก เพือ่ ใหม้ ีสขุ ภาพที่สมบูรณ์
แข็งแรง จึงควรจะเฝ้าระวัง และรับมือกับเช้ือไวรัส COVID-19 เพ่ือไม่ให้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 ได้ตลอดเวลา เทคโนโลยี
สมัยใหม่ที่ถูกสร้างข้ึนมาในรูปแบบของโมบายแอปพลิเคชัน เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานโดยเฉพาะ ไม่ว่าจะเป็น
ดา้ นการใช้งานโทรศัพท์ หรอื ดา้ นบริการข้อมูล เปรียบเสมือนมเี ลขาส่วนตวั อยู่ข้าง ๆ ตลอดเวลา นอกจากนี้โมบายแอปพลิเค
ชันยังสามารถแจ้งเตือน เพอ่ื ไม่ใหล้ มื สิง่ ที่ต้องการจะทาในขณะน้ัน และรองรบั การส่ังงานดว้ ยเสียงภาษาไทยอกี ด้วย [2]

การนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส
COVID-19ผ่านทางโมบายแอปพลิเคชัน โดยจะมีการแจ้งเตือนการล้างมือ การล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ การสวมใส่หน้ากาก
อนามัย[3]โมบายแอปพลิเคชันจะบอกวิธีการปฏบิ ตั ติ นในช่วงทม่ี กี ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19รวมไปถึงขอ้ มลู ของ
เชื้อไวรสั COVID-19เพื่อเป็นการเฝ้าระวงั และรับมอื กับเชอ้ื ไวรสั COVID-19เพอื่ ลดการตดิ เช้อื ไวรสั COVID-19[4]โมบายแอป

216

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

พลิเคชันจะมีฟังก์ชันสามารถตั้งค่าการแจ้งเตือน ผู้ที่ใช้งานโมบายแอปพลิเคชันว่าจะให้แจ้งเตือนเร่ืองใด เสมือนเป็นนาฬิกา
ปลุกทางคณะผู้จัดทาจึงได้นาเทคโนโลยโี มบายแอปพลิเคชันท่ีจะเป็นผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส
COVID-19 ที่สาคัญจะคอยเฝ้าระวังและรับมือการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 และวิธีการดูแลตัวเอง เพื่อไม่ให้ติดเชื้อ
ไวรัส COVID-19ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ[5]

จากเหตุผลดังกล่าวคณะผู้จัดทาได้มองเห็นเหตุและนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูล เพ่ือ
จัดทาโมบายแอปพลิเคชันท่ีสามารถเป็นผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ข้ึน
โดยจะมีฟังก์ชันต่าง ๆ เช่น การแจ้งเตือนการสวมใส่หน้ากากอนามัย การแจ้งเตือนการล้างมือด้วยเจล
แอลกอฮอล์ วิธีการปฏบิ ัตติ นในชว่ งทีม่ กี ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั COVID-19 การแจ้งเตือนผู้ทใ่ี ช้งานโมบาย
แอปพลิเคชันท่ีอยู่ในพ้ืนที่สมุ่ เสี่ยง ให้สวมใส่หน้ากากอนามัย และล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ และโมบายแอป
พลิเคชันยังสามารถต้ังค่าการแจ้งเตือน ผู้ที่ใช้งานโมบายแอปพลิเคชันว่าจะให้แจ้งเตือนเร่ืองใด เสมือนเป็น
นาฬิกาปลุก เพราะฉะน้ัน โมบายแอปพลิเคชันน้ีจึงเป็นส่ิงท่ีสาคัญในการดาเนินชีวติ เป็นอย่างมาก เพ่ือลดการ
แพร่ระบาดของเช้ือไวรสั COVID-19 รวมถึงใหผ้ ู้ทใ่ี ช้งานโมบายแอปพลเิ คชนั ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด เพ่ือไม่ให้
เกดิ การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัส COVID-19 ข้ึนอกี คร้ัง

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพอื่ พฒั นาโมบายแอปพลิเคชนั ผชู้ ่วยอัจฉรยิ ะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19
2.2 เพ่ือประเมินประสิทธิภาพในการใช้งานแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่

ระบาดของไวรัส COVID-19
2.3 เพื่อประเมินความพึงพอใจในการใช้งานโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการ

แพร่ระบาดของ ไวรัส COVID-19
3. วธิ ีการดาเนนิ โครงการ

ในการจัดทาโครงการการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส
COVID-19 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-
19 เพื่อวัดประสิทธิภาพในการแจ้งเตือนโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส
COVID-19 เพ่ือประเมินความพึงพอใจในการใช้งานโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของ
ไวรสั COVID-19 ผจู้ ัดทาจงึ จดั ทาเพื่อให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ดาเนนิ การตามข้ันตอนดังน้ี

3.1 กลมุ่ เปา้ หมาย
กลุ่มตัวอย่าง ผู้ใช้งานโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของ ไวรัส

COVID-19 โรงพยาบาลวชริ พยาบาล ภาควิชาศัลยศาสตร์ จานวน 30 คน โดยการสมุ่ ตวั อย่างแบบง่าย
3.2 เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการพฒั นา
ผู้จัดทาโครงการการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของ

ไวรสั COVID-19 มกี ารใช้โปรแกรม ดังน้ี

217

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

3.2.1 App Inventor
3.2.2 โปรแกรม Adobe Illustrator
3.2.3 เวบ็ ไซต์ Wix
3.3 ขัน้ ตอนการออกแบบและพฒั นาระบบ
ขัน้ ตอนที่ 1 กาหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้

ผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับการป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19
รวมถงึ ศึกษาเครือ่ งมือในการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชนั

ขนั้ ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์และออกแบบระบบ
1) วิเคราะห์การทางานของโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่

ระบาดของไวรัส COVID-19 มลี ักษณะการทางานตามกรอบแนวความคดิ ดงั ภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 กรอบแนวความคดิ

2) ออกแบบสว่ นติดตอ่ กับผใู้ ช้ของโมบายแอปพลเิ คชนั ดงั ภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 การออกแบบสว่ นติดต่อกับผู้ใช้

ข้นั ตอนที่ 3 การพฒั นาระบบ

ผู้จัดทาได้พัฒนาแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส

COVID-19 โดยใช้โปรแกรม App Inventor ในการพฒั นา 218

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

1) การออกแบบหน้าจอหลักของโมบายแอปพลิเคชัน ผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกัน
การแพรร่ ะบาดของไวรัส COVID-19 ดังภาพที่ 3

ภาพที่ 3 การออกแบบหนา้ จอหลกั ของโมบายแอปพลเิ คชนั ผู้ช่วยอจั ฉริยะ
ด้านการป้องกันการแพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19

2) ตัวอย่างหน้าการเขียน Code ในรูปแบบของบล็อกคาสั่งหน้าจอหลักใน ด้วยโปรแกม
App Inventor ดา้ นการป้องกนั การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ดังภาพท่ี 4

ภาพที่ 4 ตัวอย่างการเขยี น Code ในรปู แบบของบล็อกคาสัง่ หน้าจอหลกั ของโมบายแอปพลเิ คชนั
ผชู้ ่วยอัจฉริยะ ดา้ นการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19

ขั้นตอนที่ 4 ทดสอบการทางานของระบบตามท่ีขอบเขตกาหนดไว้
ข้ันตอนที่ 5 นาไปใช้ นาโมบายแอปพลิเคชันผชู้ ่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรสั
COVID-19 ไปให้กลุม่ เป้าหมายทดลองใช้ และทาแบบประเมินความพงึ พอใจ
ขั้นตอนท่ี 6 ประเมินผลโดยการจัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน
ผู้ช่วยอัจฉรยิ ะ ดา้ นการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของไวรสั COVID-19

219

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4. ผลการวิจัย
ผลการพัฒนาโมบายแอปพลเิ คชันผชู้ ่วยอัจฉรยิ ะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

มีหนา้ จอหลัก ฟงั กช์ นั คมู่ ือการใช้งาน ฟังกช์ นั Chat bot ฟงั ก์ชันต้ังคา่ การแจง้ เตือน ฟังกช์ นั ขอ้ มูล COVID-19
ฟงั ก์ชนั สถานะ COVID-19 ฟงั ก์ชนั พื้นทีเ่ สี่ยง และฟงั ก์ชนั ค้นหาโรงพยาบาล ดังตอ่ ไปนี้

ภาพที่ 6 หนา้ จอหลกั ของโมบายแอปพลเิ คชัน

ตารางที่ 1 ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพทไ่ี ด้จากการประเมินผู้เช่ยี วชาญของโมบายแอปพลเิ คชนั

ที่ รายการประเมนิ X S.D. ระดับคณุ ภาพ

1. ดา้ นส่วนติดต่อกบั ผใู้ ช้

1.1 การออกแบบหน้าจอมีความสวยงาม 4.33 0.58 มากที่สดุ

1.2 การแสดงผลของขอ้ ความมคี วามเหมาะสม 4.67 0.58 มากท่สี ุด

1.3 แอปพลิเคชันสามารถแสดงข้อมูล COVID-19 4.67 0.58 มากทีส่ ดุ

1.4 การจัดวางหนา้ จอมคี วามเหมาะสม 4.67 0.58 มากทสี่ ุด

รวม 4.58 0.58 มากทส่ี ดุ

2. ด้านฟงั กช์ นั การทางาน

2.1 แอปพลิเคชนั สามารถแจง้ เตือน 4.33 0.58 มากทสี่ ุด

2.2 แอปพลเิ คชนั สามารถตรวจสอบพ้ืนที่เสี่ยง 4.33 0.58 มากท่ีสดุ

2.3 แอปพลิเคชันสามารถแสดงข้อมูล COVID-19 4.67 0.58 มากท่สี ดุ

2.4 การโต้ตอบของระบบ Chat bot 4.33 0.58 มากทีส่ ดุ

2.5 การโตต้ อบด้วยเสยี งอตั โนมัติ 4.67 0.58 มากทสี่ ุด

รวม 4.42 0.58 มากท่สี ดุ

รวมท้งั 2 ดา้ น 4.50 0.58 มากทส่ี ดุ

220

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

จากตารางที่ 1 ผลการประเมินประสิทธภิ าพในโมบายแอปพลิเคชนั ผูช้ ว่ ยอัจฉรยิ ะ ด้านการปอ้ งกันการแพร่
ระบาดของไวรัส COVID-19 ของผู้เช่ียวชาญ 3 ทา่ น พบวา่ โดยรวมอยูใ่ นระดบั มากที่สุด ซง่ึ มีคา่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.50
(S.D=0.58) เม่ือพิจารณารายดา้ น พบวา่ อยูใ่ นระดับมากทสี่ ุดทุกด้าน

ตารางที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจผ้ใู ชง้ านของโมบายแอปพลิเคชัน

ท่ี รายการประเมนิ X S.D. ระดับคุณภาพ

1. ดา้ นส่วนตดิ ตอ่ กบั ผใู้ ช้ มากที่สดุ
มากทสี่ ุด
1.1 การออกแบบหน้าจอมีความสวยงาม 4.53 0.57 มากที่สุด
มากที่สดุ
1.2 การแสดงผลของขอ้ ความมีความเหมาะสม 4.50 0.57 มากท่ีสุด

1.3 แอปพลิเคชันสามารถแสดงข้อมลู COVID-19 4.53 0.57 มากทีส่ ดุ
มาก
1.4 การจดั วางหนา้ จอมคี วามเหมาะสม 4.40 0.72 มากท่สี ุด
มากท่ีสดุ
รวม 4.48 0.59 มากทีส่ ุด
มาก
2. ดา้ นการทางานของระบบ มากท่ีสุด
มากทส่ี ุด
2.1 แอปพลเิ คชันสามารถแจง้ เตือนได้ 4.30 0.65

2.2 แอปพลเิ คชนั สามารถใชง้ าน Chat bot ได้ 4.20 0.71

2.3 การโตต้ อบด้วยเสียงอตั โนมตั ิ 4.43 0.57

2.4 แอปพลิเคชันสามารถตรวจสอบพนื้ ทีเ่ สี่ยง 4.47 0.57

2.5 แอปพลเิ คชันสามารถตรวจสอบโรงพยาบาลใกลเ้ คยี งได้ 4.40 0.67

2.6 แอปพลิเคชนั สามารถตรวจสอบสถิติของผ้ตู ดิ เชอ้ื COVID-19 4.10 0.80

รวม 4.41 0.63

รวมท้ัง 2 ดา้ น 4.45 0.61

จากตารางที่ 2 เปน็ ผลการประเมิความพึงพอใจจากกลุ่มเป้าหมายจานวน 30 คน เป็นเพศชายร้อยละ 60
เพศหญิงร้อยละ 40 เม่ือพิจารณาผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานแอปพลิเคชัน พบว่า โดยรวมอยู่ใน
ระดบั มากทสี่ ุด ซึ่งมคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.45 (S.D = 0.61) เมื่อพจิ ารณารายด้าน พบว่า อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ทกุ ด้าน

5. สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรปุ ผล
การพัฒนาโมบายแอพลิเคชนั ผชู้ ว่ ยอัจฉรยิ ะ ด้านการป้องกันการแพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19

ด้วยโปรแกรม App Inventor โปรแกรม Adobe Illustrator และ Wix สามารถแสดงผลข้อมลู เชื้อไวรสั
อาการของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 วธิ ีปฏิบตั ิตนในสถานการณต์ ่างๆ แสดงผลสถิติผู้ติดเช้ือไวรัส ค้นหา
โรงพยาบาลทใี่ กล้เคียง สามารถโต้ตอบผา่ น Chat bot และการสนทนาเสยี ง และแจง้ เตือนได้

221

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ประสิทธิภาพของโมบายแอปพลิเคชันจากผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ในด้านการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ และ
ด้านฟงั ก์ชนั การทางาน พบว่า แอปพลิเคชนั มีประสิทธภิ าพ อย่ใู นระดับมากที่สดุ มีคา่ เฉลยี่ 4.50 (S.D=0.58)

กลุ่มผู้ใช้งานประเมินความพึงพอใจการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผชู้ ่วยอัจฉริยะด้านการปอ้ งกันการ
แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 จากกลุ่มเป้าหมายพบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซ่ึงมีค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.45 (S.D=0.61) ดงั นนั้ สรปุ ได้วา่ การพัฒนาโมบายแอปพลเิ คชนั ผู้ช่วยอัจฉรยิ ะดา้ นการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาด
ของไวรัส COVID-19 สามารถนามาใช้งานในชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ข้อเสนอแนะ
คณะผู้จัดทาโครงการการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันผู้ช่วยอัจฉริยะ ด้านการป้องกันการแพร่ระบาด

ของไวรสั COVID-19 จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผใู้ ชง้ าน มีผทู้ ม่ี ขี อ้ เสนอแนะดังนี้
 โมบายแอปพลเิ คชนั ควรจะมกี ารแจง้ เตือนเม่ือเราอยูใ่ นพน้ื ที่เสยี งโดยอัตโนมัติ
 โมบายแอปพลเิ คชันควรจะมีการจดทะเบยี นใน Play Store เพือ่ ใหบ้ ุคคลสาธารณะเข้าถงึ การใช้
งานโมบายแอปพลเิ คชันได้
 Chat bot ควรจะมีการแบ่งฝ่ังให้ชัดเจนว่า เป็นข้อความของ bot หรือ ข้อความท่ีเราพิมพ์ให้
ชัดเจนมากกว่านี้

เอกสารอา้ งองิ
[1] กองสาธารณะสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลบุดี. (2563). [ออนไลน์]. โครงการแก้ไขปัญหา
ของการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา2019 COVID-19. [สบื ค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2563]. จาก
http://localfund.happynetwork.org
[2] Fahsai Studio. (2560). [ออนไลน์]. ผ้ชู ่วยเลขาสว่ นตัวฟ้าใส. [สืบค้นเม่ือ 1 สิงหาคม 2563]. จาก
http://www.it24hrs.com
[3] LinkedIn. (2560). [ออนไลน์]. ความหมายการแจ้งเตือน. [สบื คน้ เม่ือ 1 สงิ หาคม 2563]. จาก
https://www.linkedin.com
[4] ศ. พญ. กุลกัญญา โชคไพบูลยก์ ิจ. (2563). [ออนไลน์]. หนา้ กากอนามยั กับการป้องกนั COVID-19.
[สืบค้นเม่ือ 7 สิงหาคม 2563]. จาก https://www.si.mahidol.ac.th
[5] โรงพยาบาลศิครินทร์กรุงเทพฯ. (2563). [ออนไลน์]. วิธกี ารปอ้ งกัน รบั มือ COVID-19. [สืบคน้ เมื่อ 7
สิงหาคม 2563]. จาก https://www.sikarin.com

222

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

โครงการการพัฒนาอนเิ มชันกระบวนการลดความเสย่ี งของงานการเงนิ
กรณศี ึกษา : การชาระค่าลงทะเบียนเรยี นเป็นเงินสด วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี

The Development of Animation to Reduce Obesity of
The Case Study Work : Payment for Attending
Thonburi Commercial College

ธมลวรรณ ไพเมอื ง1 สุมติ รา นกยอด2 ฉนั ท์ทิพย์ ลลี ิตธรรม3
Thamonwun Paimuang1 Sumitra Nokyod2 Chanthip LeeLitthum3

1 นักศกึ ษา สาขาวชิ า คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร Email: [email protected]
2 นักศกึ ษา สาขาวิชา คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ สถาบันการอาชีวศกึ ษากรุงเทพมหานคร Email: [email protected]
3 อาจารย์ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกจิ สถาบันการอาชีวศกึ ษากรุงเทพมหานคร Email: [email protected]

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเสี่ยงของงานการเงิน วิทยาลัยพณิชยการ
ธนบรุ ี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพือ่ พัฒนาคมู่ อื กระบวนการลดความเสยี่ งของงานการเงิน 2) เพือ่ พัฒนาอนิเมชัน
กระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าท่ีการเงินมีต่อคู่มือและ
อนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรม Adobe
Illustrator Adobe Animate 2020 Wondershare Filmora และมีเครื่องมือทาแบบสอบถามความพึงพอใจ
ในการศึกษาคู่มือและรับชมสื่ออนิเมชัน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร จานวน 13 แห่ง
โดยมเี จา้ หน้าที่งานการเงิน จานวน 28 คน

ผลที่ได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่าเป็นเพศชาย จานวน 2 คน ร้อยละ 7.14
เพศหญิงจานวน 26 คน ร้อยละ 92.86 ความพึงพอใจต่อคู่มือและอนิเมชนั กระบวนการลดความเส่ียงของงาน
การเงิน อยู่ในระดับมาก (x=4.19,SD=0.13) แบ่งเป็นทั้งหมด 2 ด้านดังนี้ ความพึงพอใจด้านอนิเมชันอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด (x=4.24,SD=0.43) และด้านความพึงพอใจด้านคู่มืออยู่ในระดับมาก(x=4.13,SD=0.13)
ตามลาดบั
คาสาคญั : อนิเมชนั , การบรหิ ารความเสี่ยง

223

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract
Animation development project, the process of reducing the risk of financial work.
Is intended to1) To develop a financial risk mitigation process manual 2) To develop an
animation process for financial risk mitigation 3) To study the satisfaction of financial officers
with the manual and process animation. Research tools include Adobe Illustrator, Adobe
Animate 2020, Wondershare Filmora, and a satisfaction survey tool for studying manuals and
watching animation. 13 Bangkok Vocational Institutions, with 28 financial staff.
The results from the satisfaction questionnaire were found to be male, 7.14%,
female, 26%, 92.86%. Very level (x = 4.19, SD = 0.13) divided into 2 aspects as follows:
Animation satisfactionAt the highest level (x = 4.24, SD = 0.43) and manual satisfaction at high
level.(x = 4.13, SD = 0.13), respectively.
Keyword : animation , risk management

1. บทนา
ปัจจุบันการดาเนินงานในองค์กรโดยทั่วไป มีระบบงานซับซ้อน ทาให้ทุกองค์กรต้องเผชิญกับความ

ไม่แน่นอนเพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นรูปแบบ เป็นระบบ และสามารถตรวจสอบได้ การบริหารงานด้านความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินอันเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงปัจจัยต่างๆ ส่วนในด้านงานการเงินอาจ
มีความเส่ียงหรือมีความผิดพลาดเกิดข้ึนได้ ทั้งในแง่ของความผิดพลาดที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงานโดยไม่ตั้งใจ
และขาดความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต

จากท่ีกล่าวมาข้างต้น จัดทาโครงการการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน
วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี เพ่ือลดปัญหาความเสี่ยงงานการเงินในรูปแบบเล่มคู่มือกระบวนการลดความเสี่ยง
ของงานการเงิน และในรูปแบบอนิเมชันเรื่องกระบวนการลดความเสี่ยงงานการเงิน ซึ่งเป็นการนาเทคโนโลยี
มาใช้ในการนาเสนอผลงานเพือ่ ให้เกดิ ความน่าสนใจ ทาใหเ้ จ้าหนา้ ทกี่ ารเงินเขา้ ใจในกระบวนการลดความเสี่ยง
งานการเงนิ เรือ่ งกระบวนการลดความเส่ยี งงานการเงิน

การจัดทาคู่มือและการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเสี่ยงของงานการเงิน วิทยาลัยพณิชยการ
ธนบุรี เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับกระบวนการบริหารความเสี่ยงของงานการเงิน

224

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ทาให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจในปัจจัยความเสี่ยงด้านงานการเงินและสามารถเข้าใจในหลักการทางานขั้นตอนการ
บรหิ ารความเสย่ี ง โดยทีผ่ ปู้ ฏิบตั ิงานสามารถช่วยให้องค์กรสามารถหลกี เลยี่ งความเสี่ยงไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. วตั ถุประสงค์การวิจัย
2.1 เพื่อพัฒนาคมู่ อื กระบวนการลดความเสย่ี งของงานการเงิน
2.2 เพ่อื พัฒนาอนิเมชนั กระบวนการลดความเสยี่ งของงานการเงิน
2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่การเงินมีต่อคู่มือและอนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของ

งานการเงนิ

3. วิธีการดาเนนิ การวิจยั
จากการศึกษาทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้นาองค์ความรู้ที่ได้มาจากโครงการงานวิจัยต่าง ๆ

มาปรับใช้ให้เข้ากับ การพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน กรณีศึกษา : การชาระ
ค่าลงทะเบยี นเรยี นเปน็ เงินสด วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี ดงั นี้

3.1 กล่มุ เปา้ หมาย
คณะผจู้ ดั ทาโครงการโครงการการพฒั นาอนเิ มชันกระบวนการลดความเสย่ี งของงานการเงนิ กรณีศกึ ษา :

การชาระค่าลงทะเบียนเรียนเป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ได้มีการนากลุ่มเป้าหมาย
โดยเลือกกลุ่มเป้าหมาย คือ เจ้าหน้าท่ีงานการเงินสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพ จานวน 13 แห่ง
จานวน 28 คน

3.2 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการพฒั นา
3.2.1 อุปกรณฮ์ ารดแวร์
Cpu : Amd ryzen 5 2400g
Gpu : Radeon RX 560 Series
Ram : kingston hyperx 16 GB
3.2.2 อปุ กรณ์ซอฟตแวร์
3.2.2.1 ระบบปฏบิ ตั ิการ Windows 10
3.2.2.2 โปรแกรมสาหรบั การพฒั นาอนิเมชัน
1) โปรแกรม Adobe Illustrator
2) โปรแกรม Adobe Animate 2020
3) โปรแกรม Wondershare Filmora

225

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.3 ข้ันตอนการออกแบบและพฒั นาระบบ

คณะผู้จัดทาโ ครงการการพัฒนาอนิเมชันกระบว นการลดความเส่ียงของงานการเงิน
กรณีศึกษา : การชาระค่าลงทะเบียนเรียนเป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ได้มีการนาเนื้อหาจาก
หนังสือคู่มือกระบวนการลดความส่วนของงานการเงิน ในส่วนของงานการเงินมาใช้ในการจัดทาอนิเมชัน
โดยมขี น้ั ตอนการออกแบบดงั น้ี

3.3.1 ค่มู อื กระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงนิ แบ่งออกเป็น 3 บท ดังนี้
3.3.1.1 บทที่ 1 ความหมายของความเสย่ี งและความหมายของการบริหารความเสยี่ ง
3.3.1.2 บทที่ 2 ปัจจยั เส่ยี งของงานการเงินและปัญหาการเก็บเงินสด
3.3.1.3 บทที่ 3 ข้ันตอนของการบริหารความเสีย่ งและประโยชนข์ องการบรหิ ารความเส่ียง

3.3.2 อนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน การออกแบบสตอรี่บอร์ดเป็นการสร้างตาราง
ข้ึนมาเพ่ือร่างภาพลงไปตามลาดับขั้นตอนของเร่ืองตั้งแต่ต้นจนจบโดยคณะผู้จัดทาโครงการได้ทาการ
ออกแบบอนิเมชันโดยมขี ้ันตอน ดังตอ่ ไปน้ี

ภาพที่ 1 สตอรบ่ี อร์ดของฉากปัจจัยเส่ียงของงานการเงิน

3.3.2.2 การสร้างตัวละครในสื่ออนิเมชันด้วยโปรแกรม Adobe Animate ด้วยวิธีการเข้าสู่ 226
โปรแกรม Adobe Animate และคลิกที่File > New เพื่อท่ีจะสร้างหน้ากระดาษใหม่ตัง้ ค่าหน้ากระดาษตามท่ี
ต้องการ จากน้ันกดปุ่ม OK เมื่อสร้างหน้า stage ขึ้นมาแล้วให้คลิกที่ layer สร้างตัวละคร เมื่อสร้างตัวละคร
แล้ว หลังจากนั้นทาให้ตัวละครเคล่ือนไหว โดยการคลิกท่ีส่วนท่ีต้องการให้ขยับ จากน้ันคลิกที่เลือกเฟรมท่ี
ตอ้ งการให้ขยับคลิก Insert Keyframe เพื่อทจ่ี ะกาหนดระยะเวลาการเคลื่อนไหว จากนน้ั คลิกขวาท่ีเฟรมและ
เลอื กคาสงั่ Create Classic Tween เพื่อท่ีจะทาใหส้ ว่ นท่ตี ้องการของตัวละครเคล่ือนไหว

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ภาพที่ 2 การสรา้ งตัวละครในส่อื อนิเมชนั ดว้ ยโปรแกรม Adobe Animate

3.4 สถติ ทิ ่ีใช้

คณะผู้จัดทาโ ครงการการพัฒนาอนิเมชันกระบว นการลดคว ามเสี่ยงของงานการเงิน

กรณศี กึ ษา : การชาระค่าลงทะเบยี นเรียนเปน็ เงนิ สด วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรี โดยมีเกณฑ์การใหคะแนนตาม

หลักการของ ลิเคริ ์ท (Likert) (บุรนิ ทร์ รจุ จนพนั ธ์ุ.2553.) ดังน้ี

พงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ ให้ 1 คะแนน

พงึ พอใจนอ้ ย ให้ 2 คะแนน

พึงพอใจปานกลาง ให้ 3 คะแนน

พงึ พอใจมาก ให้ 4 คะแนน

พึงพอใจมากท่ีสดุ ให 5 คะแนน

คณะผู้จัดทาโ ครงการการ พัฒนา อนิเ มชันกร ะบว น การลด คว ามเสี่ย งข อง งาน กา ร เ งิ น

กรณีศึกษา : การชาระค่าลงทะเบียนเรียนเป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ได้มีการกาหนดเกณฑ์

การแปลความหมายของคา่ เฉล่ียนา้ หนกั ความคิดแบ่งออกเปน 5 ระดับ ดังน้ี

ค่าเฉลี่ยต้ังแต่ 4.21 – 5.00 หมายถงึ มีความคดิ เห็นอยูในระดับมากที่สดุ

ค่าเฉล่ียตง้ั แต่ 3.41 – 4.20 หมายถึง มีความคดิ เห็นอยูในระดบั มาก

ค่าเฉลี่ยตัง้ แต่ 2.61 – 3.40 หมายถึง มคี วามคิดเหน็ อยูในระดับปานกลาง

ค่าเฉลย่ี ตงั้ แต่ 1.81 – 2.60 หมายถงึ มคี วามคดิ เห็นอยูในระดับนอ้ ย

ค่าเฉล่ยี ตงั้ แต่ 1.00 – 1.80 หมายถึง มคี วามคิดเห็นอยูในระดับนอ้ ยท่สี ดุ

คณะผู้จัดทาการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน กรณีศึกษา :

การชาระคา่ ลงทะเบียนเรยี นเป็นเงินสด วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี มีดงั น้ี

227

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

3.4.1 ค่าร้อยละ (Percentage) สามารถหาไดโ้ ดย
= 100



เมือ่ คือ รอ้ ยละ
คอื ความถี่ท่ีต้องการแปลคา่ ให้เปน็ ร้อยละ
คือ จานวนความถ่ีท้งั หมด

3.4.2 คา่ เฉล่ยี เลขคณติ ̅ สามารถหาไดโ้ ดย
เมอื่ ̅ = ∑



เมอ่ื ̅ คือ ค่าเฉล่ีย
.∑ คอื ผลรวมท้ังหมดของความถี่ คูณ คะแนน
คอื ผลรวมทง้ั หมดของความถซ่ี ง่ึ มีค่าเทา่ กับจานวนข้อมูลท้ังหมด

3.4.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation : S.D. หรือ S) สามารถหาได้ 2 วิธี หาไดด้ ังนี้

. . = √( − ̅)2 หรอื

−1

. . = √n ∑ 2−(∑ )2)

( −1)

เมือ่ . . คอื ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
คอื จานวนขอ้ มลู ท้งั หมด
คือ ขอ้ มูล
̅ คอื คา่ เฉลี่ยเลขคณติ

4. ผลการวิจัย
4.1 รูปเล่มคู่มือกระบวนการลดความเสี่ยงของงานการเงิน กรณีศึกษา : การชาระเงินค่าลงทะเบียนเรียน

เป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี โดยรูปเล่มคู่มือมีเนื้อหาของความหมายของความเส่ียงและความหมาย
ของการบริหารความเสี่ยง ปัจจัยเส่ียงด้านงานการเงิน ข้ันตอนการบริหารความเส่ียงและประโยชน์ของการ
บริหารความเส่ียง

228

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ภาพที่ 3 รปู เล่มคมู่ ือกระบวนการลดความเส่ยี งของงานการเงิน
4.2 อนเิ มชนั กระบวนการลดความเสี่ยงของงานการเงนิ กรณีศึกษา : การชาระเงนิ ค่าลงทะเบียนเรียนเป็น
เงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบรุ ี โดยอนิเมชนั มีเน้ือหาของความหมายของความเส่ยี งและความหมายของการ
บริหารความเส่ียง ปัจจัยเส่ียงด้านงานการเงิน ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงและประโยชน์ของการบริหาร
ความเสย่ี ง

ภาพที่ 4 อนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน

229

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการประเมินความพงึ พอใจด้านคู่มือ ̅ . . แปลผล
มาก
ที่ รายการประเมินดา้ นคมู่ ือ 4.18 0.72 มาก
1. เน้อื หามคี วามถูกต้อง 4.00 0.81 มาก
2. ความเหมาะสมของเน้ือหา 3.93 0.83 มากทส่ี ุด
3. การจดั ลาดบั ของเน้ือหา 4.36 0.68 มาก
4. มคี วามทันสมยั 4.07 0.60 มากท่สี ดุ
5. เนือ้ หาเข้าใจงา่ ย 4.25 0.49 มาก
6. ความสวยงามของการออกแบบรปู เล่มคู่มือ 4.13 0.48

รวม

จากตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ท่ีได้ศึกษาเล่มคู่มือพบว่า โดยรวม
อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.13 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 เมื่อพิจารณา
รายข้อ พบว่า ข้อที่มีคะแนนสูงสุดคือ มีความทันสมัยมีค่าเฉลี่ย 4.36 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.68
ความสวยงามของการออกแบบรูปเล่มคู่มือ อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.25 มีค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.49 เนื้อหามีความถูกต้อง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.18 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.72 เน้ือหาเข้าใจง่าย อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60
ความเหมาะสมของเนื้อหา อยูใ่ นระดบั มาก มีคา่ เฉลยี่ เท่ากับ 4.00 ค่เบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.81 และการ
จัดลาดับของเนอ้ื หา อย่ใู นระดับมาก มคี า่ เฉลีย่ เท่ากบั 3.93 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.83 ตามลาดับ

ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอใจดา้ นอนเิ มชัน

ท่ี รายการประเมนิ ดา้ นอนเิ มชนั ̅ . . แปลผล
1. การวางองค์ประกอบของตวั บคุ คล มากทส่ี ดุ
4.25 0.80 มากทส่ี ุด
0.72
2. การจดั ลาดบั ของเนอ้ื หาในอนิเมชนั 4.32 0.82 มาก
0.74 มาก
3. ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการนาเสนอ 4.18 0.82 มากท่สี ุด
0.93 มากที่สดุ
4. ความสวยงามในการจดั องคป์ ระกอบของฉาก 4.11 0.43 มากทสี่ ุด

5. คุณภาพและความคมชดั ของสอื่ อนเิ มชัน 4.32

6. เสียงบรรยายและเสียงดนตรีมคี วามเหมาะสม 4.25

รวม 4.24

230

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

จากตารางที่ 4-5 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับชมอนิเมชัน พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
ซงึ่ มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 4.24 มีคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.43 เมอ่ื พจิ ารณารายข้อ พบวา่ ขอ้ ทม่ี ีคะแนนสูงสุด
คือ คุณภาพและความคมชัดของส่ืออนิเมชัน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82
การจัดลาดับของเน้ือหาในอนิเมชัน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.32 มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.72 เสียงบรรยายและเสียงดนตรีมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 มีค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.93 ระยะเวลาที่ใช้ในการนาเสนอ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 มีค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.80 ระยะเวลาท่ีใช้ในการนาเสนอ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 ค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82 และความสวยงามในการจัดองค์ประกอบของฉาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.11 มีค่า
เบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.74 ตามลาดบั

5. สรปุ ผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะ
5.1 คณะผู้จัดทาโครงการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงินกรณีศึกษา : การ

ชาระค่าลงทะเบียนเรียนเป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี จัดทาคู่มือเพ่ือทาให้เจ้าหน้าที่การเงินได้รู้ถึง
กระบวนการลดความเสี่ยง โดยเนื้อหามีความหมายของความเส่ียง ความหมายของการบรหิ ารความเสี่ยง การ
บ่งช้ีเหตุการณ์ การประเมินความเส่ียง และประโยชน์ของการบรหิ ารความเสี่ยง สามารถศึกษาแล้วนาไปใชไ้ ด้
จรงิ และมปี ระสิทธภิ าพ

5.2 คณะผู้จัดทาโครงการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน กรณีศึกษา : การ
ชาระค่าลงทะเบียนเรียนเป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ทาให้สื่ออนิเมชันมีความน่าสนใจมากข้ึน
สามารถนาไปใช้งานได้จรงิ มปี ระสิทธภิ าพ และมีความเหมาะสมกับการนาไปใช้ในการศกึ ษา เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงิน
มีความสนใจและช่นื ชอบสอื่ อนเิ มชัน

5.3 คณะผู้จัดทาโครงการได้ศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่งานการเงินท่ีมีต่อคู่มือและอนิเมชัน
กระบวนการลดความเส่ียงของงานการเงิน จากการที่ได้ศึกษาความพึงพอใจ ที่มีต่อคู่มือและอนิเมชัน พบว่า
จากการดาเนินโครงการโครงการพัฒนาอนิเมชันกระบวนการลดความเสี่ยงของงานการเงินกรณีศึกษา : การ
ชาระค่าลงทะเบียนเรียนเป็นเงินสด วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี พบว่ามีค่าเฉล่ีย โดยรวมเท่ากับ 4.19 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.13 อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อท่ีมีคะแนนสูงสุด
คือด้านอนิเมชัน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.24 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.43 อยู่ในระดับมากที่สุด
และดา้ นคู่มือ มีค่าเฉลย่ี โดยรวมเท่ากบั 4.13 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.13 อย่ใู นระดับมาก

231

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

6. ขอ้ เสนอแนะ
คณะผจู้ ัดทาโครงการน้มี ีข้อเสนอแนะสาหรับการทาโครงการครง้ั ต่อไป
6.1 เพิ่มข้อความในส่อื อนิเมชนั แต่ละฉากเพื่อทาให้องค์ประกอบของภาพสมดลุ กับขอ้ ความ
6.2 การจัดทาเลม่ คมู่ ือควรเพ่มิ รูปภาพประกอบในเล่มคู่มอื เพือ่ ทาให้ดูน่าอ่านมากขน้ึ

เอกสารอ้างอิง
[1] รัชตา ยศอาลัย 2561, หลักการและเหตุผลการบริหารความเส่ียง [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก
https://shorturl.asia/2HFR4l สืบค้นเมอื่ วนั ท่ี 7 สิงหาคม 2563
[2] ปิยะรัตน์ ภิรมย์แก้วและคณะ 2560, หลักการและเหตุผลอนิเมชัน [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก
https://shorturl.asia/E58K4 สบื ค้นเมื่อ วนั ที่ 7 สิงหาคม 2563
[3] อัครพล แผ่นทอง 2562, หลักการและเหตุผลการบริหารความเส่ียง [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก
https://shorturl.asia/HVwbd สบื ค้นเมือ่ วันท่ี 7 สิงหาคม 2563

232

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ระบบชว่ ยสนบั สนุนการทางานดา้ นการเปิดบิลเอกสารผา่ นระบบปฏบิ ตั กิ าร Android
the system supports opening of Bill documents via Android OS.

วันเฉลิม กุลพานชิ 1* อคั รพงษ์ เหลา่ พลิ ยั 2
Wanchalerm Kulpanich1* Akaraphong Laopilai2

นกั ศึกษาปริญญาตรี เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ (ตอ่ เนื่อง)
สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรุงเทพมหานคร วทิ ยาลยั พณิชยการบางนา

E-mail: [email protected] * , [email protected]

อาจารยส์ รญา เปรี้ยวประสิทธิ์ อาจารยส์ ุจติ รา ไวยรตั นา อาจารย์ทนุ มา ชนิ วงศ์

อาจารย์ประจาหลกั สูตร ปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ (ต่อเนื่อง)
สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร วทิ ยาลยั พณชิ ยการบางนา

E-mail: [email protected] [email protected] [email protected]

บทคัดย่อ
การจัดทาโครงการ เรื่อง ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ
Android ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือออกแบบและพัฒนา ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิล
เอกสารผ่านระบบปฏบิ ัตกิ าร Android 2. เพ่ือพัฒนาโมเดลทางธุรกิจสาหรับนวัตกรรมธุรกิจดิจทิ ัล ระบบช่วย
สนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ Android 3. เพื่อหาคุณภาพของระบบช่วย
สนบั สนนุ การทางานด้านการเปิดบลิ เอกสารผ่านระบบปฏบิ ตั ิการ Android 4. เพอ่ื สอบถามความพงึ พอใจของ
ผู้ใช้งาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของระบบ จานวน 3 คน
พนักงานบริษทั ออลอินวนั ซอฟแวร์ จากัด จานวน 25 คน เพื่อสอบถามความพึงพอใจทม่ี ีตอ่ ระบบ เครื่องมือ
ที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความพึงพอใจ และ แบบประเมินคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
คือสถิตเิ ชงิ พรรณนา ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการดาเนนิ การพบว่า
ดา้ นการออกแบบและพัฒนาระบบ ผ้พู ฒั นาไดใ้ ชแ้ นวคดิ การวิเคราะห์และออกแบบระบบแบบ PDLC
ซ่ึงประกอบด้วย 7 ข้ันตอน โดยภาษาที่ใชใ้ นการพัฒนา คือ ภาษา Dart และโปรแกรมสาหรับในการเขียน คือ
Visual Studio Code ส่วนบริหารจัดการระบบจัดการฐานข้อมูล ใช้โปรแกรม MySQL และโปรแกรม
Apache เป็นเวบ็ เซิร์ฟเวอร์ เพ่ือแสดงผลผ่านเครือข่าย อินเทอรเ์ น็ต แบบแผนงานโมเดลธุรกิจ ทางผพู้ ฒั นาได้
วิเคราะห์หา จุดเด่นของแอพพลิเคช่ัน หรือบริการของเราว่าคืออะไร แตกต่างจากคู่แข่งอย่างไร อะไรคือส่ิงที่
ทาให้ลูกค้าต้องเลือกแอพพลิเคชนั่ โดยใช้หลกั 9 ข้ันตอน Model business canvas คุณภาพของ ระบบช่วย
สนบั สนุนการทางานดา้ นการเปดิ บลิ เอกสารผ่านระบบปฏบิ ตั ิการ Android จากผเู้ ชีย่ วชาญ 3 คน พบว่าอยู่ใน
ระดับคุณภาพดเี ยี่ยม ความพึงพอใจต่อการใช้งาน พบวา่ ด้านตามความต้องการของผู้ใช้งาน อยใู่ นระดับความ
พึงพอใจมากที่สุด ด้านรูปแบบของแอพพลิเคช่ัน อยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด และ ด้านคุณภาพของ
ระบบ อยใู่ นระดับความพึงพอใจมากที่สุด
คาสาคัญ: ระบบชว่ ยสนับสนนุ การทางาน , การเปดิ บลิ เอกสาร , ระบบปฏบิ ตั ิการ Android

233

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract

Preparing a project about the system to support the opening of the document via the
Android operating system, this is the objective 1. To design and develop. The system supports
the function of opening the document bill via the Android 2. To develop a business model
for digital business innovation. The system helps to support the function of opening the
document bill via the Android operating system 3. To find the quality of the system to help
support the function of opening the document through the Android operating system 4. To
inquire about the satisfaction of users. The samples used in the research consisted of 3 experts
assessed the quality of the system and 25 employees of All-In-One Software Company Limited
to inquire about their satisfaction with the system. The tools used in the study were
Satisfaction questionnaire and quality assessment form. The statistics used for data analysis
were descriptive statistics ie percentage, mean, standard deviation. The results of the
operation showed that

System design and development The developers have used the PDLC concept of
system analysis and design, which consists of 7 steps, the development language is Dart, and
the programming for writing is Visual Studio Code, the database management system, uses
MySQL and Apache. As a web server To show results through the internet network, business
model plan The developers have analyzed the features of the application. Or what is our
service How are they different from competitors? What is it that makes customers choose
applications by using 9 - step model business canvas? The quality of the system supports the
function of opening documents through the Android operating system from 3 experts found
to be of good quality. visit Satisfaction to use, found that according to the needs of users. In
the most satisfactory level The format of the application Are at the highest level of satisfaction
and quality of the system

Keywords: Supporting System, Document Bill Opening, Android Operating System

234

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

1.บทนา
โมบายแอพพลิเคช่ัน (Mobile Application) เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สาหรับอุปกรณ์

เคล่ือนที่ เช่น สมาร์ทโฟน (Smart Phone) และแท็บเล็ต (Tablet) โดยโปรแกรมจะช่วยตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้งาน อีกท่ีงยังสนับสนุนให้ผู้บริโภคใช้งานง่ายย่ิงขึ้น ในปัจจุบัน มีหลายระบบปฏิบัติการท่ี
พัฒนาออกมาให้ใช้งาน ส่วนใหญ่ที่มีผู้ใช้งานและเป็นท่ีนิยมมากท่ีสุด คือ IOS และ Android โดยเป็น
ระบบปฏิบัติการ จึงทาให้เกิดการเขียนหรือพัฒนาแอพพลิเคชั่นหลากหลายประเภท ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งาน
แอพพลิเคชั่นได้หลากหลายรูปแบบมากย่ิงข้ึน เช่น ส่งอีเมล์ ค้นหาสถานที่ผ่าน GPS เล่นเกม รับ/ส่งข่าวสาร
และพูดคุยในเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Facebook, Twitter, LINE และ Instagram) เป็นต้น ส่งผลให้หลาย
องคก์ รให้ความสาคัญในการพฒั นา Mobile Application เพ่ือเพม่ิ ช่องทางในการโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ การ
ส่งข้อมูลผ่านเคร่ืองมือตา่ ง ๆ รวมไปถึงการติดต่อกลุ่มลูกค้า ซึ่งประโยชน์หลกั ที่องค์กรไดร้ ับจากการใชโ้ มบาย
แอพพลิเคช่ัน คือ การสร้างรายได้ใหแ้ ก่องคก์ ร ประหยัดเวลาในการทาธรุ กรรมทางการเงนิ และการสนับสนนุ
ภาพลักษณ์ขององค์กร แต่การที่องค์กรจะพัฒนาแอพพลิเคชั่นนั้น จะต้องคานึงถึงประสิทธิภาพการทางาน
ความสะดวกสบายในการใช้งาน และตรงความต้องการของผู้ใช้ (Usability) เป็นหลัก เนื่องจากการพัฒนา
แอพพลิเคชั่นแล้วใช้งานยากหรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ก็อาจจะทาให้สูญเสียทั้งเงินทุนและเสีย
โอกาสในการเขา้ ถึงลกู คา้ มากข้นึ

โดยตลอดระยะเวลากว่า 7 ปี แห่งความสาเร็จท่ีผ่านมา บริษัท ออลอินวันซอฟท์แวร์ จากัด ได้เดิน
อยบู่ นเส้นทางการพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรปู อย่างมั่งคงด้วยความมงุ่ มน่ั ทั้งในดา้ นคุณภาพและบริการท่ีเป็นเลิศ
เพื่อจุดมุ่งหมายในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก จนกระทั่งทางลูกค้า และ ฝ่ายการขายของ
บริษัท ได้มีการแนะนาโปรแกรมการเปิดใบรับจอง , ดูสต็อกสินค้า และรายงาน ผ่านโทรศัพท์มือถือ บน
ระบบปฏิบัติการ Android หรือ IOS โดยเชื่อมกับฐานข้อมูลเดียวกับโปรแกรมสาเร็จรูปทางบัญชี All in one
CS เพอ่ื ลดปญั หาในบางครัง้ ทท่ี าการเปิดบิลเอกสารเพ่ือทาใบเสนอราคา ใบรบั จอง ทต่ี ้องกลับมาเปดิ ท่ี บริษทั
หรือ ทาการติดต่อให้ฝ่ายที่เก่ียวข้องเปิดบิลเอกสารให้และทาการแฟกซ์ เพื่อส่งเอกสารให้ลูกค้า ทาให้
ระบบงานนนั้ ติดขดั และลา่ ชา้ ตอ่ การทางานกบั ลูกค้าหลายบริษทั ได้

ผู้พัฒนาจึงนาข้อแนะนาที่ได้รับมา พร้อมปัญหาดังกล่าวมาศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ จึงได้
พัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูปทางบัญชี ALL-IN-ONE CS ในส่วนของใบรับจอง ที่ทางานอยู่บนระบบปฏิบัติการ
Windows มาพัฒนาในรูปแบบของแอพพลิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการ Android และทาการออกแบบ
แพลตฟอร์มให้ใช้งานง่าย ท่ีครอบคลุมและมีขนาดตัวอักษรที่ชัดเจนเหมาะสม บนหน้าจอ GUI (Graphical
User Interface) จุดเด่นของซอฟท์แวร์ คือ สามารถดูสถานะของกาหรเปิดเอกสารหรือดูรายงานการเปิดบิล
ต่าง ๆ ของแต่ละเดือนหรือปี ได้ทันทีแบบ Real–Time ผ่านสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต โดยทาการผนวกกับ
ฐานข้อมูล (Database) ของบริษัท ออลอินวัน ซอฟท์แวร์ จากัด ท่ีอยู่บน MySQL ทาให้แอพพลิเคช่ันมีความ
เสถียรและสามารถใช้งานภายนอกบริษัทหรอื ต่างประเทศได้ เพียงแคม่ อี ินเทอร์เน็ต ก็สามารถดูข้อมลู หรอื สง่

235

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ข้อมูลเก็บไว้บนฐานข้อมูล MySQL ทันที โดยในการจัดทาระบบคร้ังน้ี เพ่ือสร้างและพัฒนาระบบท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพ เพอื่ นาระบบมาพัฒนาต่อยอดในอนาคต

ผู้จัดทาจึงได้ศึกษาหาข้อมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพ่ือนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้จากการค้นคว้า
มาประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นาแอพพลิเคชนั่ บนสมาร์ทโฟนหรือแทบ็ เลต็ เร่อื ง ระบบชว่ ยสนบั สนนุ การทางานด้าน
การเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ Android ให้เสร็จลุล่วงไปด้วยดีและตรงต่อความต้องการของลูกค้า
ฝ่ายขายของบรษิ ัท ออลอินวนั ซอฟแวร์ จากดั และเพอ่ื ใหส้ าเร็จตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ไี ด้ตง้ั ไว้
2.วตั ถุประสงค์การวจิ ัย

2.1 เพื่อออกแบบและพัฒนา ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่าน
ระบบปฏิบัตกิ าร Android

2.2 เพ่ือพัฒนาโมเดลทางธุรกิจสาหรับนวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล ระบบช่วยสนับสนนุ การทางานด้านการ
เปิดบิลเอกสารผา่ นระบบปฏบิ ตั ิการ Android

2.3 เพ่ือหาคุณภาพใน ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ
Android

2.4 เพื่อสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสาร
ผ่านระบบปฏบิ ัตกิ าร Android
3.วธิ กี ารดาเนนิ การวจิ ัย

3.1 ด้านประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
3.1.1 ประชากร ได้แก่
- พนักงานบริษัทออลอินวัน ซอฟแวร์ จากัด
3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง ไดแ้ ก่
- พนกั งานบรษิ ทั ออลอินวนั ซอฟแวร์ จากดั จานวน 25 คน
- ผู้เช่ียวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วุฒิการศึกษาสูงกว่าปริญญาโทหรือ
เทยี บเท่า จานวน 3 ทา่ น

3.2 ด้านเนอื้ หา
3.2.1 สามารถทาการเปดิ บลิ เอกสาร OE , ดูสตอ็ กสินคา้
3.2.2 สามารถดูรายงานการเปิดบลิ เอกสารตามเลขทเี่ อกสาร และ รหัสลกู ค้า
3.2.3 สามารถสง่ ออกไฟล์ได้

3.3 ขอบเขตด้านตวั แปร
3.3.1 ตัวแปรต้นคือระบบช่วยสนบั สนนุ การทางานดา้ นการเปิดบลิ เอกสารผ่านระบบปฏบิ ตั กิ ารAndroid
3.3.2 ตัวแปรตาม คอื คณุ ภาพ, ความพึงพอใจ, โมเดลทางธรุ กจิ สาหรบั นวตั กรรมธรุ กิจดจิ ิทัล

236

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

3.4 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
3.4.1 ประชากร พนกั งานบริษัทออลอนิ วัน ซอฟแวร์ จากัด
3.4.2 กลมุ่ ตัวอยา่ ง
3.4.2.1 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญท่ีทดลองใช้งานเพ่ือหาค่าคุณภาพของ ระบบช่วยสนับสนนุ
การทางานด้านการเปดิ บลิ เอกสารผ่านระบบปฏบิ ัติการ Android จานวน 3 ทา่ น
3.4.2.2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานบริษัทออลอินวัน
ซอฟแวร์ จากดั จานวน 25 คน

3.5 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการทาโครงการและเกบ็ ข้อมลู
3.5.1 ข้นั ตอนของวงจรการพัฒนาโปรแกรม
3.5.1.1 การวเิ คราะหป์ ัญหา (Problem Analysis)
3.5.1.2 การออกแบบโปรแกรม (Program Design)
3.5.1.3 การเขยี นโปรแกรม (Program Coding)
3.5.1.4 การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม ( Program Testing & Verification)
3.5.1.5 การจัดทาเอกสารและคู่มอื การใช้งาน (Program Documentation)
3.5.1.6 การใช้งานจรงิ (Program Implement)
3.5.1.7 การปรบั ปรุงและพัฒนาโปรแกรม (Program Maintenance)
3.5.2 แบบสอบถามเชิงคุณภาพ
3.5.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ
3.5.4 ออกแบบโมเดลธรุ กจิ (Business Model Canvas)

3.6 การเก็บรวบรวมขอมลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจัยได้ทาการวางแผนรวบรวมข้อมมลู โดยมีขัน้ ตอน ดังนี้
3.6.1 สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพของ ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสาร

ผ่านระบบปฏิบัติการ Android ทาการตรวจสอบเนื้อหาของแบบสอบถามว่าครอบคลุม วัตถุประสงค์หรือไม่
จากน้นั นาไปใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษาตรวจสอบแลว้ นามาปรับปรุงตามคาแนะนาของ อาจารย์ที่ปรึกษา

3.6.2 นาแบบสอบถามเกย่ี วกับคุณภาพ และ ระบบชว่ ยสนบั สนุนการทางานดา้ นการเปิดบิล
เอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ Android ไปทดลองใช้กับผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน โดยให้ท่านทดสอบตัว
ระบบกอ่ นสอนใชง้ านและหลงั สอนการใชง้ าน เพอ่ื หาคุณภาพของระบบ

3.6.3 นาแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชองระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิล
เอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ Android ไปใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญได้ทาการตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะ แลว้
นาคา่ ที่ได้ มาทาการวเิ คราะหต์ รวจหาความตรงเชิงเน้ือหา

3.6.4 สร้างแบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจในการใช้งานระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิด
บลิ เอกสารผ่านระบบปฏิบตั ิการAndroidทาการตรวจสอบเนื้อหาของแบบสอบถามว่าครอบคลมุ วัตถปุ ระสงคห์ รือไม่
จากน้ันนาไปให้อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาตรวจสอบแลว้ นามาปรบั ปรงุ ตามคาแนะนาของอาจารย์ทป่ี รึกษา

237

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

3.6.5 นาแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึ่งพอใจในการใช้ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้าน
การเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ Android ไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างในที่นี้ ได้แก่ พนักงาน
บริษัทออลอินวัน ซอฟแวร์ จากัด จานวน 25 คน เพื่อนาผลท่ีได้มาคิดค่าเฉล่ีย และ ใช้เกณฑ์ของ
เบสท์ (John W.Best 1981 : 182) โดยเลอื กโปรแกรมสาเร็จรูปคอมพวิ เตอร์ใช้ในการคานวณค่าสถติ ิ
3.7 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล

3.7.1 สถิตทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะหห์ าคุณภาพของเครอ่ื งมือได้แก่
3.7.1.1 หาคา่ ความสอดคล้อง (IOC) ของข้อคาถามหรือรายการของแบบสอบถาม

(ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. 2543:248-249)
3.7.2 สถติ ิพืน้ ฐานท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูลไดแ้ ก่

3.7.2.1 คา่ ความถี่ (Frequency)
3.7.2.2 ค่ารอ้ ยละ (Percentage)
3.7.2.3 ค่าเฉลย่ี (Mean) หรือมัชฌิมเลขคณิต

4.ผลการวจิ ยั
ทางผู้จัดทาได้เก็บข้อมูลการออกแบบหน้าจอตามความต้องการของพนักงานขาย ว่าต้องการสี

รูปแบบตัวอักษร และแสดงรายการเอกสาร แบบไหน และนามาวิเคราะห์จนด้หน้าจอการใช้งานดังภาพ ดังนี้

ภาพท่ี 1 หนา้ จอตวั อย่างของแอพพลิเคชั่น 238
ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ทางผู้จัดทาหาข้อมูล และวิเคราะห์หา จุดเด่นของแอพพลิเคช่ัน หรือบริการของเราว่าคืออะไร
แตกต่างจากคูแ่ ขง่ อย่างไร แล้วนาเสนอคอนเทนตใ์ หต้ รงกับความต้องการของลูกคา้ ดังภาพดา้ นล่างนี้

ภาพท่ี 2 ข้นั ตอนการออกแบบโมเดลธรุ กิจ (Business Model Canvas)

ตารางท่ี 1 ผลการประเมินคุณภาพของระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่าน

ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android โดยผู้เช่ียวชาญ

หวั ขอ้ การประเมนิ การแปรความหมาย
( x ) S.D คณุ ภาพ
1. กระบวนการในการวเิ คราะหร์ ะบบถูกตอ้ งตรงตามหลกั ความเปน็ จรงิ 5.00 0.00 ดเี ยย่ี ม
2. รายงานมีความเหมาะสมถกู ต้องสอดคลอ้ งกับงาน 4.34 0.58 ดมี าก
3. ความเหมาะสมในการใชภ้ าษาในการพัฒนาแอพพลิเคชน่ั 4.67 0.58 ดเี ยี่ยม
4. แอพพลิเคชั่นตดิ ตงั้ งา่ ย 4.67 0.58 ดเี ยยี่ ม
5. แอพพลเิ คชั่นสามารถค้นหา ลูกค้า สินคา้ ได้ 4.00 0.00 ดมี าก
6. แอพพลิเคช่นั สามารถแสดงยอดคงเหลือสินคา้ ได้ 4.00 0.00 ดมี าก
7. แอพพลิเคชั่นแสดงผลรายการใบรับจองได้ 5.00 0/.0/08 ดีเยย่ี ม
8. รปู แบบหน้าจอของแอพพลิเคช่ันสวยงามตรงตามความตอ้ งการผ้ใู ช้ 4.67 0.58 ดีเยยี่ ม
9. การเชือ่ มโยงข้อมูลจากอปุ กรณ์เคลื่อนท่ีมีความถกู ตอ้ งเหมาะสม 4.67 0.58 ดีเยี่ยม
10. คู่มือในการใช้งาน เข้าใจงา่ ย มรี ปู ภาพประกอบชัดเจนและเนื้อหาเหมาะสม 5.00 0.00 ดีเยยี่ ม
4.60 0.30 ดเี ยี่ยม
รวม

จากตารางที่ 1 สรุปผคุณภาพของ ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่าน
ระบบปฏิบัตกิ าร Android จากผู้เช่ยี วชาญ 3 คน พบวา่ อยู่ในระดบั คณุ ภาพดเี ยี่ยม

239

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

ตารางท่ี 2 ผลการสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้งาน ระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบลิ

เอกสารผ่านระบบปฏบิ ตั กิ าร Android ดา้ นตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน

หัวขอ้ วัดความพงึ พอใจ การแปรความหมาย
( x ) S.D ความพงึ พอใจ

1. เปดิ ใบรบั จองไดง้ า่ ยสะดวก 4.96 0.20 มากทีส่ ดุ

2. แสดงยอดคงเหลือสนิ คา้ ได้อยา่ งถกู ต้อง 4.76 0.44 มากท่สี ดุ

3. แสดงรายช่ือลูกค้าตามพนกั งานขายได้อย่างถกู ต้องชดั เจน 4.68 0.48 มากทสี่ ดุ

4. หนา้ จอสามารถค้นหาตามลกู คา้ , สินคา้ , การขนสง่ 4.36 0.70 มาก

รวม 4.68 0.46 มากท่สี ดุ

จากตารางที่ 2สรปุ ผลความพึงพอใจเกี่ยวกับการใชง้ านด้านตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ านโดยอยใู่ นระดับความพึงพอใจมากท่สี ดุ
ตารางที่ 3 ผลการสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกบั การใช้งาน ระบบช่วยสนบั สนนุ การทางานดา้ นการเปดิ บิล
เอกสารผ่านระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ด้านรปู แบบของแอพพลเิ คช่ัน

หวั ขอ้ วัดความพึงพอใจ การแปรความหมาย
1. องคป์ ระกอบหรือภาพรวมของหน้าจอสามารถเขา้ ใจได้ง่าย ( x ) S.D ความพึงพอใจ
4.68 0.48 มากที่สดุ

2. ระบบมคี วามเรยี บงา่ ยไม่ซบั ซ้อน 4.56 0.51 มากท่ีสดุ

3. รปู แบบเเละขนาดตวั อกั ษร อ่านไดง้ า่ ยเเละสวยงาม 4.52 0.51 มากทสี่ ุด

4. สสี นั ในการออกแบบมคี วามเหมาะสม 4.48 0.51 มาก

รวม 4.56 0.50 มากท่สี ดุ

จากตารางที่ 3 สรุปผลความพึงพอใจเก่ยี วกับการใชง้ าน ด้านการเปิดบลิ เอกสารผา่ นระบบปฏิบตั ิการ

Android ดา้ นรปู แบบของแอพพลเิ คชัน่ โดยอยู่ในระดบั ความพึงพอใจมากทสี่ ดุ

ตารางที่ 4 ผลการสอบถามความความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้งาน ระบบ ระบบช่วยสนับสนุนการทางาน

ด้านการเปดิ บิลเอกสารผ่านระบบปฏิบตั ิการ Android ด้านคุณภาพของระบบ

หัวข้อวดั ความพึงพอใจ การแปรความหมาย
( x ) S.D ความพงึ พอใจ

1. แอพพลิเคชน่ั ชว่ ยลดขั้นตอนในการทางาน 4.80 0.41 มากทส่ี ุด

2. ขอ้ มูลทไี่ ดม้ ีความถูกต้อง 4.60 0.50 มากทีส่ ุด

3. ระบบท่ีสร้างมีความครอบคลมุ กบั การใชง้ านจรงิ 4.56 0.58 มากทส่ี ดุ

4. ความเรว็ ในการตอบสนองของระบบ 4.48 0.51 มาก

รวม 4.61 0.50 มากที่สุด

จากตารางที่ 4สรุปผลความพึงพอใจเกยี่ วกบั การใช้ ด้านคณุ ภาพของระบบโดยอยู่ในระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุด

240

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

เมื่อพิจารณาหลายข้อของแต่ละด้าน พบว่า ด้านตามความต้องการของผใู้ ช้งาน หัวข้อ หน้าจอสามารถค้นหา
ตามลูกค้า, สินค้า, การขนส่ง ต่อมา ด้านคุณภาพของระบบ หัวข้อ ความเร็วในการตอบสนองของระบบ ทั้งสองข้อ มี
ระดับความพึงพอใจอยใู่ ยระดบั มาก จากขอ้ สังเกต น่าจะเกิดจากระบบเครอื ขา่ ยของผู้ใช้งานมีความเรว็ ชา้ ท่ีแตกต่างกัน
และ ด้านรูปแบบของแอพพลิเคชนั่ หัวข้อสีสันในการออกแบบมีความเหมาะสม มีระดับความพึงพอใจอยู่ใยระดบั มาก
จากข้อสังเกต การใชส้ บี นแอพพลเิ คชั่น มคี วามเรยี บง่ายมากจนเกิดไป ทาใหไ้ ม่มจี ุดดงึ ดูดที่น่าสนใจมากนัก
5.สรุปผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ เอกสารอ้างองิ

5.1 ในการสร้างแอพพลิเคชนั่ ทางผู้พฒั นา วเิ คราะหต์ ามหลักการของวงจรการพฒั นาระบบ (System
Development Life Cycle: SDLC) โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางคอมคอมพิวเตอร์ Visual Studio Code
ซึ่งสอดคล้องคล้องกับงานวิจัยของ จักรกฤษณ์ หมั่นวิชา เร่ือง การพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับการสั่ง
อาหาร (Mu-Ne เมนูอิเล็กทรอนิกส์) โดยใช้โปรแกรม Visual Studio Code ในการสร้าง พัฒนาระบบ ส่วน
ภาษาท่ีทางผู้พัฒนาเลือกใช้ในการเขียนคือ Dart ซ่ึงสอดคล้องกับ Ghusoon Idan Arb, Kadhum Al-Majdi
เรอ่ื ง A Freights Status Management System Based on Dart and Flutter Programming Language

5.2.แบบแผนงานโมเดลธรุ กจิ ทีไ่ ด้ออกแบบมาสอดคลอ้ งกับวราภรณ์ แก้วคาหาญเร่อื งแผนธุรกิจDressingApplication
5.3 คุณภาพของระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการAndroid อยู่ในระดับดี
เยย่ี มโดย3อันดบั แรกท่ีทางผู้เช่ยี วชาญให้คะแนนมากท่สี ดุ คือ1.กระบวนการในการวเิ คราะหร์ ะบบถูกตอ้ งตรงตามหลักความเปน็
จริง2.แอพพลเิ คช่นั แสดงผลรายการใบรับจองได้ 3.คมู่ อื ในการใช้งานเขา้ ใจงา่ ยมีรูปภาพประกอบชัดเจนและเนื้อหาเหมาะสม ซึง่
ระดับคุณภาพสอดคลอ้ งกับผลวิจัย อรวรรณคาไซร้ ทิพวิมลชมภูคา,(2559น.5)ซ่ึงพบวา่ คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดมี ากท่สี ุด
5.4 ด้านตามความต้องการของผใู้ ชง้ าน มีความพึงพอใจในการใชง้ าน ระบบช่วยสนับสนุนการทางาน
ด้านการเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ Android โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผู้ตอบแบบสอบถามให้
ความสาคญั 3 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ เปดิ ใบรบั จองได้ง่ายสะดวก รองลงมา แสดงยอดคงเหลอื สนิ คา้ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
และ แสดงรายชอ่ื ลูกค้าตามพนกั งานขายได้อย่างถูกต้องชัดเจน ผลดงั กล่าวมีความสอดคล้องกับความต้องการ
ของบรษิ ัท ออลอนิ วัน ซอฟแวร์ จากดั
5.5 ด้านรูปแบบของแอพพลิเคช่ันระบบ มีความพึงพอใจในการใช้งานระบบช่วยการทางานด้านการ
เปิดใบรับจองผ่านอุปกรณ์เคล่ือนท่ีบนระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผู้ตอบ
แบบสอบถามให้ความสาคัญ 3 อันดับแรก องค์ประกอบหรือภาพรวมของหน้าจอสามารถเข้าใจได้ง่าย
รองลงมา ระบบมีความเรียบง่ายไม่ซับซ้อน และ รูปแบบเเละขนาดตัวอักษร อ่านได้ง่ายเเละสวยงาม ซึ่งผล
ดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของ พภัช เชิดชูศิลป์ เรื่อง “พฤติกรรมการใช้ไลน์ที่มีผลต่อความพึงพอใจและ
การใช้ประโยชน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม” โดยมีความพึงพอใจมากท่ีสุดคือ ด้านรูปแบบการใช้งาน
และมคี วามพึงพอใจในระดบั มาก ได้แก่ ดา้ นออกแบบแอพพลิเคชั่น และด้านการให้บรกิ าร ตามลาดับ
5.6 ด้านคุณภาพของระบบ มีความพึงพอใจในการใช้งานระบบช่วยการทางานด้านการเปิดใบรับจอง
ผ่านอุปกรณ์เคลือ่ นทบ่ี นระบบปฏิบตั กิ าร แอนดรอยด์ โดยรวมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ผู้ตอบแบบสอบถามให้

241

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ความสาคญั 3 อนั ดบั แรก แอพพลเิ คชั่นช่วยลดขั้นตอนในการทางาน ขอ้ มลู ทไ่ี ด้มีความถูกต้อง ระบบท่ีสร้างมี
ความครอบคลุมกับการใช้งานจริง ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวจิ ัย อรวรรณ คาไซร้ ทิพวิมล ชมภูคา, (2559 น.5)
ซ่ึงพบว่า ระบบสามารถทางานได้อย่างมีคุณภาพ มีผลการประเมินคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ
ผลการประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ านโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

5.7 สรุปปัญหา
5.7.1 การพัฒนาแอพพลิเคช่ันอาจยังไม่ครอบคลุมมากนะ ในส่วนของการตอบโต้ขอบผู้ใช้งาน

จึงอาจเกดิ ความผิดพลาดในบ่างครั้ง เน่ืองมาจากประสบการณ์ การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Dart ท่ี
ยังขาดประสบการใ์ นการออกแบบและเขยี นโปรแกรม
5.8 วิธกี ารแก้ปญั หา

5.8.2 มีการศึกษากระบวนการคิดวิเคราะห์ในการเขียนแอพพลิเคช่ัน เพื่อให้เข้าใจหลักพ้ืนฐาน
ของ ภาษา DART มากยิง่ ข้ึน
5.9 ข้อเสนอแนะ

จากการออกแบบและพัฒนาระบบช่วยสนับสนุนการทางานด้านการเปิดบิลเอกสารผ่านระบบปฏิบัติการ
Android ทางพนักงานของบริษัท ออล อิน วัน จากัด มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการทางานของระบบ โดย ควรมีการ
พฒั นาแอพพลเิ คช่นั เพมิ่ เติมดังน้ี

5.9.1 ควรมีการพฒั นาแอพพลเิ คชนั่ ใหส้ ามารถทาใบสัง่ ซ้ือ และ ใบเสนอซือ้
5.9.2 ควรจะมกี ารพฒั นาแอพพลิเคช่นั ให้สามารถใช้งานบนระบบปฏบิ ตั ิการ IOS ได้

เอกสารอ้างอิง
พภชั เชิดชศู ิลป์.(2557).พฤติกรรมการใช้ไลนท์ ม่ี ผี ลต่อความพงึ พอใจและการใช้ประโยชน์ ของนักศึกษามหาวิทยาลยั ศรี

ปทุม,วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ .หลกั สตู รนิเทศศาสตรม์ หาบัณฑติ .คณะมนุษยศาสตร์,มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
อรวรรณคาไซร้ ,ทิพวิมล ชมภูคา.(2559).การพัฒนาระบบควบคุมการเปิด-ปิดไฟฟ้าด้วยเซ็นเซอร์.[ระบบออนไลน์].

แหล่งท่ีมา https://bit.ly/2UbufF6
จักรกฤษณ์ หม่ันวิชา,กิตติศักด์ิ รักแก้ว,กันยาวีร์ ยีฮอ และสุเมธาใจเย็นการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับการส่ัง

อาหาร(Mu-Neเมนอู เิ ลก็ ทรอนกิ ส์)มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
วราภรณ์ แก้ วค าหาญ เร่ื อง แผนธุ รกิ จ Dressing Application [ระบบออนไลน์ ]. แหล่ งท่ี มา

http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/3291/1/waraporn_kawk.pdf
GhusoonIdanArb,KadhumAl-Majdi (2020). เร่ือง AFreightsStatusManagementSystemBasedonDartand

Flutter Programming Language

242

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

การพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใชง้ านสถานท่แี ละหอ้ งเรียนภายใน
วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี

Development of a System for Checking Access to Places and
Classrooms Inside Thonburi Commercial College

ภควตั แสนสุรวิ งค1์ ธนโชติ ศรีจนั ทรอ์ ิน2 พรชัย รอดเจรญิ 3
Pakawat Sansuriwong1 Thanachot Srichanin2 Pornchai rodchanroen3

1นกั ศึกษา สาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ สถาบัน วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี E-mail: [email protected]
2นักศกึ ษา สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ สถาบัน วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี E-mail: [email protected]
3อาจารย์ สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ สถาบนั วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่
ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดโรคเชื้อไวรัสโควิด-19 มีการตรวจพบผู้ติดเช้ือรายใหม่และผู้เสียชีวิต
ประเทศไทยจึงต้องมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ซึ่งจะต้องเว้นระยะห่าง
ระหว่างบุคลและการจากัดพ้ืนท่ีในการรวมตัวของประชากร คณะผู้วิจัยจึงได้พัฒนาระบบตรวจสอบ
การเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนภายในวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนา

ระบบตรวจสอบการเข้าใชง้ านสถานทแ่ี ละหอ้ งเรยี นวทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี 2) เพอื่ หาประสทิ ธภิ าพของการพัฒนา
ระบบเข้าและออกวทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี 3) เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของผใู้ ชง้ านตรวจสอบการเขา้ ใช้งานสถานที่
และห้องเรียนภายในวิทยาลัยพณิชยการธนบรุ ี โดยใช้กลมุ่ เป้าหมายนักศึกษาปริญญาตรีจานวน 20 คน เครื่องมือที่

ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีประกอบด้วย ระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่และห้องเรียนภายในวิทยาลัย
พณิชยการธนบุรี แบบประเมินประสิทธิภาพระบบ และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งาน
ระบบ สถติ ทิ ีใ่ ช้ไดแ้ กค่ ่าเฉล่ียและเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการดาเนินโครงการ คณะผู้วิจัยได้พัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและ
หอ้ งเรยี นภายในวิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี โดยมีผลการประเมินประสทิ ธิภาพระบบสามารถทางานได้
ตามเกณฑ์การประเมินท่ีต้ังไว้ จานวน 22 ข้อและผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบ
โดยรวมอยใู่ นระดับมากท่ีสุด ซง่ึ มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 0.30 มคี ่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.22 เนอื่ งจาก
ด้านความปลอดภัยของระบบตรวจสอบผู้ใชง้ าน จึงทาให้ระบบสามารถนาไปใช้งานไดจ้ รงิ และมปี ระสทิ ธภิ าพ

คาสาคัญ : ระบบตรวจสอบ ควิ อาโคด้ เขา้ ออกสถานที่

243

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี


Click to View FlipBook Version