The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย

Abstract
There is currently an epidemic of COVID-19. New cases and deaths have been detected. Thailand has
to take measures to prevent the spread of the COVID-19 virus. There must be a distance between people and
thespacelimitfortheincorporationofthepopulation.Theresearchteamhasdevelopedasystemforchecking
access to placesand classroomswithinThonburiCommercialCollege.With the objectiveof 1) to developa
system for checking access to places and classrooms of Thonburi Commercial College 2) to find the
effectivenessofthe developmentofthesysteminandoutof Thonburi CommercialCollege3) to studythe
satisfaction of users. Access to places and classrooms in Thonburi Commercial College The target group of 20
undergraduate students was used. The tools used in this research consisted of a system.Checking access to
Project results The research team has developed a system for checking access to places and classrooms
within Thonburi Commercial College. The results of the system performance evaluation were performed
accordingto theset22 criteriaandthe overallsystemsatisfactionassessmentwas at thehighestlevel.Which
has a mean of 4.22 with a standard deviation of 0.30 due to the security of the user
Keywords : Inspection system, QR code, Access to the location

1. บทนา
ปจั จบุ ันประเทศไทยมีการแพร่ระบาดโรคเชอื้ ไวรัสโควดิ -19 เปน็ ชือ่ ของไวรสั สายพันธ์ุใหม่ 2019 [1] และจาก

สถานการณ์การแพร่ระบาดในปัจจุบันยังคงมีการตรวจพบผตู้ ิดเชอื้ รายใหม่และมีจานวนผู้เสยี ชีวิตเพม่ิ ขนึ้ ทุกวัน
และมีการกระจายไปท่ัวโลกทั้งหมด 215 ประเทศและได้มีผู้ติดเชื้อ 29,159,839 คน ผู้เสียชีวิต 926,307 คน
(ข้อมูล ณ วันท่ี 15 กันยายน 2563) ประเทศไทยทาให้ต้องมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-
19 ซ่งึ จะต้องเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลและ การจากดั พน้ื ทใี่ นการรวมตัวของประชากร และประเทศไทยได้มีการ
นาเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเข้ามาใช้งาน เพื่อใช้งานบริการสถานที่ต่างๆ และยังสามารถประมวลผลความเส่ียงของ
สถานท่ีน้ันได้ จงึ เปน็ เร่ืองท่ีนา่ สนใจ ท่ีจะนาเอาเทคโนโลยีคิวอารโ์ คด้ มาประยุกตใ์ ช้การจดั การข้อมลู ตา่ งๆ [2]

คณะผู้วิจัยมีแนวคิดในการพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการ
ธนบุรีโดยจะนาเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดมาประยุกต์ใช้ในองค์กรเพราะเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเป็นอีกสิ่งหนึ่งท่ีช่วย
อานวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้งาน [3] ซ่ึงในหลายหน่วยงานมีการนามาประยุกต์ ใช้ทาให้เป็นท่ีนิยมเป็นอย่างมาก
นอกจากน้ีโทรศัพท์มือถือได้เข้ามามีบทบาท กับชีวิตมากยิ่งข้ึนโดยเมื่อนาคิวอาร์โค้ดมาทางานร่วมกับ
โทรศพั ท์มือถอื ท่มี ีกลอ้ ง จงึ เป็นเรื่องทนี่ า่ สนใจ เพอ่ื ช่วยเปน็ เครอื่ งมอื บันทึกข้อมูลการเดนิ ทางและข้อมลู สุขภาพ
[4] ของนักศกึ ษาภายในวิทยาลัยพณชิ ยการธนบุรี ได้อยา่ งแมน่ ยา โดยผา่ นความยินยอมของนกั ศึกษาเพือ่ เปิดเผย

244

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ข้อมูลเข้าสู่ระบบ ซ่ึงทาให้เกิดการป้อนข้อมูลของผู้ใช้งานเข้าสู่ระบบเพื่อช่วยเฝ้าระวังและแจ้งระดับความเสี่ยง
รวมทัง้ ชว่ ยยนื ยันความปลอดภยั ของนกั ศึกษาก่อนไปเขา้ ไปในสถานท่ีต่างๆ

คณะผู้วิจัยสามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการประมวลผลข้อมูลเพ่ือวิเคราะห์ความเส่ียงจากประวัติการ
เดินทางของนกั ศึกษารวมถงึ เป็นข้อมูลรายงานท่ีสามารถให้คณะผวู้ ิจัย สามารถติดตามกลุ่มเสี่ยงได้อย่างรวดเรว็
เพื่อการป้องกันตนเองมิใหส้ ัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิด
สาหรบั นกั ศึกษาวิทยาลัยพณิชยการธนบรุ ี ป้องกนั การระบาดของโรคเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื พัฒนาระบบตรวจสอบการเขา้ ใช้งานสถานที่และห้องเรียนวทิ ยาลัยพณิชยการธนบุรี
2.2 เพ่ือหาประสิทธิภาพของการพัฒนาระบบเขา้ และออกวทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี
2.3 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนภายใน
วทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี
3. วธิ ดี าเนินการวิจัย
คณะผู้วจิ ัยได้พฒั นาระบบตรวจสอบการเขา้ ใช้งานสถานท่ีและห้องเรยี นวทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี ดงั น้ี
3.1 กรอบแนวความคดิ ในการพฒั นา
คณะผู้วิจัยจัดทากรอบแนวความคิดการพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและ
ห้องเรยี นภายในวิทยาลยั พณิชยการธนบุรี จดั ขนึ้ เพอ่ื ดาเนนิ การพฒั นาระบบให้มีประสิทธภิ าพ

ภาพท่ี 1 กรอบแนวความคดิ

กรอบแนวความคิดการพัฒนาระบบ ข้ันตอนการทางานของระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและ
ห้องเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้วยบัตรนักศึกษา วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี 1. ผู้ใช้สแกน Qr code เพ่ือ
เข้าใชง้ านระบบ 2. ผ้ใู ช้เลือกว่าจะเชค็ อินหรือเช็คเอ้าท์ 3.ผใู้ ช้กรอกเบอรม์ ือถือเพอ่ื ใช้งานและขอ้ มลู จะถกู ส่งไปให้
ผ้ดู ูแลระบบ 4.ผ้ดู ูแลระบบจะตรวจสอบขอ้ มลู ผู้ใชท้ งั้ หมดท่ถี กู บนั ทกึ ลงขอ้ มลู

245

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.2 กล่มุ เป้าหมาย
คณะผู้วิจัยทาได้ใช้กลุ่มเป้าหมายเป็นประชากรท่ีใช้ในการศึกษา นักศึกษาปริญญาตรี สาขา
คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ วทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี จานวน 20 คน
3.3 เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั
คณะผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการวิจัยในการพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่และ
ห้องเรียนภายในวิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี ดงั นี้

3.3.1 ระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนภายในวิทยาลัยพณิชยการ
ธนบรุ ี พัฒนาด้วย ภาษา PHP ผา่ นโปรแกรม Visual Studio Code โดยใช้ฐานขอ้ มูลผ่าน MySQL

3.3.2 แบบประเมินประสิทธิภาพระบบเข้าและออกวิทยาลยั พณชิ ยการธนบุรี คณะผู้วจิ ัย
ไดแ้ บง่ การประเมินเป็น 4 ดา้ นได้แก่ 1. ดา้ นการออกแบบและความสวยงามต่อผ้ใู ช้งานระบบ 2. ดา้ น
ความสามารถของระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบ 3. ด้านความถูกต้องของระบบตรวจสอบผู้ใช้งาน
ระบบ และ 4. ดา้ นความปลอดภัยของระบบตรวจสอบผู้ใชง้ าน

3.3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียน
ภายในวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี คณะผู้วิจัยได้แบ่งการประเมินความพึงพอใจเป็น 3 ตอน ได้แก่ 1.
ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 2. ความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม และ 3. ขอ้ เสนอแนะ

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
คณะผู้วิจยั ไดเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลการหาประสิทธิภาพระบบตรวจสอบการเข้าใชง้ านสถานท่ีและ
ห้องเรียนภายในวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี มีการทดสอบประสิทธิภาพระบบทาได้หรอื ไม่ได้ท้ังหมด 3
คร้ัง ตามเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพของคณะผู้วจิ ัยสร้างข้ึนจานวน 4 ด้านจานวน 22 ข้อ ได้แก่
1. ด้านการออกแบบและความสวยงามต่อผู้ใช้งานระบบ จานวน 4 ข้อ 2. ด้านความสามารถของ
ระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบ จานวน 6 ข้อ 3. ด้านความถูกต้องของระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบ
จานวน 6 ขอ้ และ 4. ดา้ นความปลอดภัยของระบบตรวจสอบผใู้ ช้งาน จานวน 2 ข้อ
คณะผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลการหาความพึงพอใจระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่
และห้องเรียนภายในวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี จานวน 20 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา
คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี โดยใชแ้ บบสอบถามความพงึ พอใจรูปแบบออนไลน์

4.ผลการวจิ ัย 246
คณะผู้วิจัยได้พัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการ

ธนบุรี มีผลการวจิ ัยดงั นี้
4.1 ผลการพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่และห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการ

ธนบรุ ี ดงั นี้

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

4.1.1 .ผ้ใู ช้สแกน QR code สแกนเข้าวทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี ดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 QR code สแกนเขา้ วิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี

4.1.2 หน้าจอการเขา้ เชค็ อนิ และเช็คเอา้ ท์วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี ดังภาพที่ 3

ภาพที่ 3 หนา้ จอการเข้าเชค็ อนิ และเช็คเอา้ ทว์ ิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี

4.1.3 หนา้ จอระบหุ มายเลขโทรศัพท์เพื่อเช็คอนิ และเช็คเอ้าท์วิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี ดงั ภาพท่ี 4

ภาพที่ 4 หน้าจอระบุหมายเลขโทรศพั ท์เพอ่ื เช็คอินและเช็คเอา้ ทว์ ิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี

247

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4.1.4 หนา้ จอรายงานตรวจสอบจานวนผเู้ ขา้ วิทยาลัยพณชิ ยการธนบุรปี ระจาวนั ดังภาพที่ 5

ภาพท่ี 5 หน้าจอรายงานตรวจสอบจานวนผู้เข้าวทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรีประจาวนั

4.2 ผลการประเมินประสิทธภิ าพของระบบตรวจสอบจานวนผูเ้ ข้าใชง้ านสถานทแี่ ละห้องเรียน

ภายในวทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี มีการทดสอบประสิทธิภาพระบบทาได้หรือไม่ได้ทงั้ หมด 3 ครัง้ ตาม

เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพของคณะผู้วิจัยสร้างขึ้นจานวน 4 ด้านจานวน 22 ข้อ ได้แก่ 1. ด้าน

การออกแบบและความสวยงามต่อผู้ใช้งานระบบ จานวน 4 ข้อ 2. ด้านความสามารถของระบบ

ตรวจสอบผูใ้ ชง้ านระบบ จานวน 6 ข้อ 3. ด้านความถูกตอ้ งของระบบตรวจสอบผใู้ ช้งานระบบ จานวน

6 ข้อ และ 4. ดา้ นความปลอดภยั ของระบบตรวจสอบผู้ใช้งาน จานวน 2 ขอ้ สามารถทาได้ทั้ง 22 ขอ้

4.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่และห้องเรียน

ภายในวิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี จานวน 20 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์

ธุรกิจ วิทยาลัยพณชิ ยการธนบุรี โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจรปู แบบออนไลน์ ดงั น้ี

4.3.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย

จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 85 00.และเพศหญิง จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 และมีอายุ

21-30 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 100

4.3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ

ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ ความพึงพอใจโดยรวมในแต่ละดา้ น

รายการประเมนิ ̅ . . ระดับคณุ ภาพ
1. ดา้ นการออกแบบและความสวยงามต่อผูใ้ ชง้ านระบบ
4.16 0.35 มาก

2. ดา้ นความสามารถของระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบ 4.21 0.44 มากทส่ี ดุ

3. ดา้ นความถกู ต้องของระบบตรวจสอบผใู้ ช้งานระบบ 4.23 0.36 มากทีส่ ุด

4. ดา้ นความปลอดภยั ของระบบตรวจสอบผ้ใู ชง้ าน 4.35 0.67 มากทส่ี ดุ

รวม 4.22 0.30 มากท่สี ดุ

จากตารางท่ี 1 ผลการประเมินความพึงพอใจโดยภาพรวมในแต่ละด้านของผู้ใช้งาน พบว่า

โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.30 เมื่อ

248

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

พิจารณารายข้อ พบว่า ด้านความปลอดภัยของระบบตรวจสอบผู้ใช้งาน ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 มี
ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67 รองลงมาคือ ด้านความถูกต้องของระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบ
ซึ่งมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.23 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.36 รองลงมาคือ ด้านความสามารถของ
ระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบ ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.44 และ
ด้านการออกแบบและความสวยงามต่อผู้ใช้งานระบบ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 มีค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.35 ตามลาดบั

5. สรปุ ผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจยั
คณะผู้วิจัยได้พัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่และห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการ

ธนบุรี เพ่ือพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี
ประเมินประสิทธิภาพการทางานระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานที่และห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการ
ธนบุรี และประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียน
วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ในงานวิจัยน้ีใช้กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี จานวน 20 คน โดยใช้เครื่องมือเป็นแบบประเมินประสิทธิภาพและ
แบบสอบถามเป็นการเกบ็ ข้อมลู เพ่ือวดั ความพงึ พอใจ

คณะผู้วิจัยได้จัดทาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการ
ธนบุรี โดยใหผ้ ูใ้ ช้งานสแกน QR code เพอื่ เขา้ ไปเลอื กเช็คอนิ -เช็คเอ้าทว์ ิทยาลยั พณิชยการธนบุรีและ
ระบบจะลิ้งไปหน้าให้ผู้ใช้กรอกเบอร์มือถือเพ่ือยืนยันการเข้าใช้งานและระบบจะแสดงเวลาท่ีเข้าใช้
งานและระบบจะสง่ ขอ้ มลู ไปใหผ้ ้ดู ูแลระบบ โดยระบบจะส่งเบอรโ์ ทร วนั และเวลา และสถานะการเข้า
ใช้งานให้ผู้ดูตรวจสอบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์การประเมินระบบตรวจสอบการเข้าใช้งาน
สถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี 22 ข้อ และผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้
งานระบบตรวจสอบการเขา้ ใชง้ านสถานทีแ่ ละห้องเรียนวิทยาลัยพณชิ ยการธนบุรี โดยรวมอยใู่ นระดับ
มากที่สุด ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.30 มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.22 เน่ืองจากด้านความปลอดภัย
ของระบบตรวจสอบผ้ใู ช้งาน จึงทาใหร้ ะบบสามารถนาไปใชง้ านไดจ้ ริงและมปี ระสทิ ธภิ าพ

จากการพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี
เพื่อบันทึกข้อมูลของนักศึกษาวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี เพ่ือช่วยเป็นเครื่องมือบันทึกข้อมูลการเดิน
เข้าใช้งานและข้อมูลสุขภาพ ของนักศึกษาภายในวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ได้อย่างแม่ง สะดวกต่อ
การตรวจสอบบุคคนเข้าใช้งาน สาหรับการตรวจเช็คผู้เข้าใช้งานติดเชื้อเช้ือไวรัสโควิด-19 ได้มีกลุ่ม
เสย่ี งเป็นบลุ คลใดทใี่ ชส้ ถานที่ ณ เวลานนั้ ได้

249

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

5.2 ขอ้ เสนอแนะ
คณะผู้วิจัยพัฒนาระบบตรวจสอบการเข้าใช้งานสถานท่ีและห้องเรียนวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี
โดยมีข้อเสนอแนะดงั นี้
5.2.1 ระบบควรมกี ารแสดงสถานะการใช้งานให้ผู้ใช้รบั ทราบเพื่อป้องกนั การลมื การเช็คเอา้ ท์
5..2. 2. ระบบเพมิ่ ระบบหา้ มใส่เบอรม์ อื ถือเคร่อื งอน่ื เพ่อื ป้องกนั การให้ข้อมลู เทจ็
5.2 3.ระบบควรความสวยงามมากกว่านี้เพ่ือใหเ้ ป็นท่ีน่าสนใจของผใู้ ชง้ านมากยิง่ ข้ึน

เอกสารอา้ งอิง
[1] กรมควบคุมโรค “โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)] ”ออนไลน์ : แหล่งท่ีมา [
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php [7 สิงหาคม 2563]
[2] มงคล รอดจนั ทร์ อวยไชย และ ธานิล ม่วงพูล การพัฒนาแอปพลิเคชนั บนแอนดรอยด์รว่ มกับคิว“
วารสารวิชาการการจัดการ ”อาร์โค้ด สาหรับการบันทึกการเข้าเรียนของนักศึกษาวิชาทหาร
เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรม.1 (มกราคม มถิ ุนายน -2561) : 88-96.
[3] ประทีป พืชทองหลาง, ญาตาวีมินทร์ พืชทองหลาง และอาภากร ปัญโญการสร้างระบบ“
ตรวจสอบการเข้าัช้นเรียนด้วยQR Code ในรายวิชาศึกษาท่ัวไป” วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา .1
(มกราคม ธนั วาคม -2556) : 11-26.
[4] นางสาววนัชพร ไกยราช การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเพื่อส่งเสริมก“จิ กรรมการเรียนัร้
สาหรบั สวนพฤกษศาสตร์วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพจิตรวารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยี ”
ธันวาคม - มกราคม) สารสนเทศ2556) : 11-76.

250

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้งั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ระบบควบคมุ ไฟฟา้ ภายในสานักงานผ่าน Smartphone
Developing of electricity control system in Smartphone

นายอลงกรณ์ มีสวน1 นายจริ านวุ ัฒน์ มัน่ ทน2 Alongkorn Meesuan1 Jiranuwat Manthon2
สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ สถาบนั อาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร วทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี
E-mail : [email protected], [email protected]

ภทั ทชฎา คาพวง3 Phatthachada Kumpoung3 สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ สถาบันการอาชีวศกึ ษากรุงเทพมหานคร
วิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ

การจัดทาโครงการในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน
Smartphone ศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรของบริษัท เจ.ที.เอส ซิสเท็มอินทรีเกรท จากัด และเผยแพร่
ระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone สาหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ที่ทดลองใช้
ระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บผลคือ พนักงาน
บรษิ ัท เจ.ท.ี เอส ซสิ เท็มอินทรีเกรท จากั ด จานวน 22 คน เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมินผล คอื ระบบควบคุม
ไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone และแบบสอบถามความพึงพอใจและความพ่ึงพอใจประสิทธิภาพ
สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู คอื รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตราฐาน

ผลท่ีได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจพบวา่ เป็นเพศชาย จานวน 19 ร้อยละ 70 เพสหญิงจานวน 3
คน รอ้ ยละ 30 ความพงึ พอใจตอ่ ระบบควบคุมไฟฟา้ ภายในสานักงานผา่ น Smartphone อยู่ในระดบั มากที่สุด
(x=4.50,SD=1.0) แบ่งเป็นทั้งหมด 3 ด้านดังนี้ ความพึงพอใจด้านความปลอดภัย อยู่ในระดับมากที่สุด (x=
4.50,SD=1.0) ด้านความพึงพอใจด้านการใช้งานอยู่ในระดับมาก (x=4.40,SD=0.90) และด้านความพึงพอใจ
ดา้ นประสิทธภิ าพอยู่ในระดับมาก (x=4.50,SD=0.80)ตามลาดับ

คาสาคญั ระบบควบคมุ ไฟฟา้ ภายในสานกั งานผ่าน Smartphone

251

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

Abstract

The preparation of this project is to create an internal electric control system via
Smartphone, study the satisfaction of the personnel of JTS System Integrate Company Limited
and publicize an internal electric control system via Smartphone for evaluation the satisfaction
of users. The sample used for testing was 22 employees who work in JTS System Integrate
Company Limited. The research instr ument is an internal electric control system via
Smartphone and satisfactory assessment forms. The statistics used in the analysis of the data
were the percentage, the rent and the shortness of the base set.

The results were found that 19 male employees (70%) and 3 female employees (30%)
were satisfied with the internal electric control system via Smartphone at the highest level
(X=4.50, SD=1.0). The satisfaction of safety was at the highest level (X=4.40, SD=0.90) and the
satisfaction of efficiency was at the high level (X=4.50, SD=0.80) respectively
Key word: Developing of electricity control system in Smartphone

1.บทนา
การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพนั้น มีหลักอยู่ว่า เม่ือมีความจาเป็นต้องใช้ไฟฟ้าแล้วทาอย่างไรการใช้

ไฟฟ้านั้นจึงจะเป็นการใช้ไฟฟ้าท่ีคุ้มค่า ประหยัดค่าไฟฟ้า และเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งจะต้องเริ่มต้นต้ังแต่รู้จัก
วิธีการเลือกใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีมีประสิทธิภาพให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจใน
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างถ่องแท้จึงจะใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีได้ การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากจะเป็น
การช่วยประหยัดพลังงานแล้ว ยังมีผลดีต่อส่วนรวมของ ประเทศในแง่ของการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
ด้านการลดภาวะโลกร้อนได้ [1] การใชไ้ ฟฟ้าอย่างมีประสิทธภิ าพและปลอดภัยประหยัดพลังงานคือการรจู้ ักใช้อย่าง
รู้คณุ คา่ จึงเปน็ สิ่งท่ีทุกหนว่ ยในสังคม มคี วามจาเป็นต้องชว่ ยกันอย่างเตม็ ท่ี เพื่อให้พลังงานทั้งหลาย มเี พยี งพอที่จะ
ใช้ต่อไปในอนาคต จนกว่าจะหาพลังงานรูปแบบ มาทดแทนพลังงานที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันน้ี ไฟฟ้าน้ันมีประโยชน์
มากมายก็จริงแต่ในเวลาเดียวกันก็มีอันตรายอยู่ในตัวของมันเอง ถ้าใช้ผิดวิธีก็อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ เพราะ
ความประมาทหรือเพิกเฉยต่อสิ่งที่เกิดข้ึนเพียงเล็กน้อย อาจนามาซ่ึงความหายนะและความสูญเสีย แม้กระท่ังชีวิต
ของผู้ใช้ไฟฟ้าเอง [2] ผู้ใช้ไฟฟ้าจึงมีความ จาเป็นต้องเรียนรู้วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยควบคู่ไปด้วยกัน ใน
ปัจจุบันประเทศไทยต้องอาศัยก๊าซธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟ้า แต่ในขณะที่ปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้า
เพิม่ ขึ้น ปริมาณกา๊ ซธรรมชาตลิ ดลงไป ทาใหป้ ญั หากระแสไฟฟ้าไม่เพียงพอเป็นปัญหาระดับชาติระยะยาว เนอื่ งจาก
เหตผุ ลข้างต้นทาให้คนไทยต้องเพมิ่ ปริมาณการซื้อก๊าซธรรมชาติ [3]

252

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ปัจจุบนั การใช้งานไฟฟ้าภายในสานักงาน มคี วามจาเปน็ ต่อองค์กรมากขึน้ สานักงานสว่ นใหญ่ สนใจท่ี
จะให้เลิกใช้ไฟฟ้าแบบธรรมดาท่ีเป็นสวิทซ์ เปิด ปิด โดยมีความต้องการให้พนักงานใช้งานไฟฟ้าด้วยความ
สะดวกสบาย และยังช่วยป้องกันปัญหาที่จะตามมาภายหลังกับการใช้งานไฟฟ้าภายในสานักงาน เช่น เกิด
เพลิงไหม้ ไฟฟ้ารัดวงจร ไฟฟ้าช็อต ทาให้เกิดความเสีย หายต่อสานักงานอย่างสูง ในขณะท่ีพนักงานกาลังยุ่ง
วุ่นวายกับงานที่ต้องทา หลังจากสานักงานปิดอาจจะมีการเปิดใช้งานไฟฟ้าท้ิงไว้ โดยไม่ทันรู้ตัว จะทาให้เกิด
อัตราการส้ินเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยใช่เหตุ ซึ่งระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงาน Smartphoneจะทาให้
พนักงานและบุคลากรขององค์กรท่ีใช้ระบบบตัวน้ี ได้ใช้งานได้สะดวกในการควบคุมจากภายในอาคารและ
ภายนอกอาคาร ผ่าน Smartphone ก่อนทจ่ี ะเกดิ ปญั หาทตี่ ามมาจนไม่สามารถควบคมุ ไดท้ ัน [4]

คณะผู้จัดทาโครงการระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone เห็นถึงปัญหาการใช้
พลังงานอย่างส้ินเปลืองภายในสานักงาน โดยจะทาการแก้ปัญหาด้วยการจัดทาระบบขึ้นมาเพ่ือลดอัตรา
สนิ้ เปลืองพลังงานภายในสานกั งานผ่าน Smartphone และส่งค่าผ่านบอรด์ Arduino รว่ มกับเทคโนโลยีระบบ
ควบคุมไฟฟ้า ที่มีความเก่ียวข้องทางระบบไฟฟ้า โดยเป้าหมายหลักของระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงาน
คือ การเปิดปิดไฟฟ้าแสงสว่าง แอร์ คอมพิวเตอร์ [5] ระบบไฟภายในตัวอาคารในขณะที่อยู่นอกสานักงาน
จากน้ันคณะผู้จัดทาโครงการระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone ด้วย Arduino IDE โดย
ใชภ้ าษา C++ ผา่ นบอรด์ Arduino และแสดงผลออกมาเป็นการควบคุมผา่ น Smartphone ในการพฒั นาคร้ัง
นคี้ า่ ทแ่ี สดงผลออกมาเป็นการควบคุมจะสามารถสั่งงานจากระยะที่อยู่ห่างจากตวั สานกั งานได้ โดยที่เราไม่ต้อง
เขา้ มาท่สี านกั งานอีกคร้งั [6]

ดังน้ันคณะผู้จัดทาโครงการระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone จึงเล็งเห็น
ความสาคัญในการแก้ปัญหาการใช้งานไฟฟ้าภายในสานักงานด้วยการจัดทาระบบ เพ่ือให้บุคลากรและ
พนักงานมีความสะดวกและมีความพึงพอใจในการใช้ อีกทั้งยังสามารถป้องกันการควบคุมเพลิงไหม้ และลด
อัตราการเสียพลังงานโดยส้ินเปลอื ง จากการศึกษาแนวทางการแก้ปัญหา บริษัท เจ.ที.เอส ซิสเท็มอินทรีเกรท
จากัด จาเป็นต้องใช้ไฟฟ้าทางานอยู่ตลอดเวลา ทางสานักงานจึงเห็นว่า ควรมีระบบควบคุมไฟฟ้าภายใน
สานกั งานเพ่อื ลดปัญหาทจ่ี ะเกิดขนึ้ ภายหลงั
2.วัตถุประสงค์

1. เพอื่ สร้างระบบควบคุมไฟฟา้ ภายในสานักงานผ่าน Smartphone
2. เพ่ือวัดประสทิ ธภิ าพในระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผา่ น Smartphone
3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ชร้ ะบบควบคมุ ไฟฟา้ ภายในสานกั งาน Smartphone

253

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

3.กรอบแนวความคดิ
เมื่อมกี ารเปิดใช้งานไฟฟ้าภายในสานักงานท้ิงไว้ในขณะที่บุคลากรและพนักงานทุกคนกลับบ้าน ระบบควบคุมไฟฟ้าภายใน

สานกั งานผา่ น Smartphone จะสามารถควบคุมจากระยะใกลห้ รือไกลไดโ้ ดยท่ีเราไมจ่ าเป็นต้องเขา้ ไปใช้นิ้วมือควบคุมแบบสมัยเก่า
การทางานของระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone จะรับคาสั่งจากบอร์ด Arduino IDE ให้แสดงผล

เป็นคา่ คาสั่ง ON คอื เปดิ OFF คอื ปิด ทง้ั หมดนี้จะติดตั้งอยู่บนโมเดลจาลอง Office เสมอื จริง วา่ สามารถทางานไดอ้ ย่างไร ดังภาพท่ี

1 254

1. ประสทิ ธภิ าพของระบบควบคุมแสงสวา่ งภายในสานักงานผา่ น Smartphone
2. ความพงึ พอใจทม่ี ตี อ่ ระบบควบคมุ แสงสวา่ งภายในสานักงานผ่าน Smartphone

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ภาพท่ี 1 กรอบแนวความคิดการพฒั นาระบบ

4. วธิ ดี าเนินการวจิ ยั
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ผู้จัดทำโครงกำรศึกษำระบบควบคุมไฟฟ้ำภำย ในสำนักงำนผ่ำน Smartphone โดยมีกลุ่มเป้ำหมำย

โดยผูใ้ ช้เป็นบุคลำกรและพนกั งำนของบริษัท J.T.S SYSTEM ท่ีอยู่ภำยในอำคำร จำนวน 22 คน
เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในงานวจิ ยั
ผู้จัดทาพัฒนาเคร่ืองมือในการวิจัยระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Samrtphone ได้แก่ 1)

ระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Samrtphone 2) แบบวัดประสิทธิภาพระบบควบคุมไฟฟ้าภายใน
สานักงานผ่าน Samrtphone 3) แบบประเมินความพึงพอใจระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน
Samrtphone

การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผจู้ ัดทาได้ทาการเกบ็ ข้อมลู แบบวัดประสิทธิภาพ และแบบประเมินความพึงพอใจเป็นแบบสอบถามกระดาษ
การวิเคราะหข์ อ้ มลู
การวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone โดยใช้
ค่าเฉล่ีย ( ̅) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)
6. ผลการวิจยั
จากการดาเนินโครงการระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน SmartPhone มีวตั ถปุ ระสงค์ดังนี้
1. เพื่อสร้างระบบควบคมุ ไฟฟา้ ภายในสานักงานผา่ น Smartphone ดงั ภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 แผงวงจรระบบควบคมุ ไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone

255

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

2. เพอื่ วัดประสิทธภิ าพในระบบควบคมุ ไฟฟ้าภายในสานกั งานผ่าน Smartphone ดงั ตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 การทดลองระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผา่ น Smartphone

ลาดบั การทดสอบ ได้ ไม่ได้

1 ระบบสามารถควบคมุ ระบบไฟฟ้าภายในสานกั งาน 

2 ระบบสามารถควบคุมไฟฟา้ ภายในสานักงานโดยการสั่งงานดว้ ยเสียง 

ผา่ น Application บน Smartphone

3 ระบบสามารถควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานโดยผ่าน Application 

บน Smartphone

4 ระบบสามารถควบคมุ ไฟฟ้าภายในสานกั งานระยะไกล 

จากการทดลองระบบตารางท่ี 1 ในการใช้ระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงาน ผลจากการทดลองพบว่า ระบบ
สามารถควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานได้ สามารถควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานโดยผ่าน Application บน
Smartphone ได้ สามารถควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานโดยการส่ังงานด้วยเสียงผ่าน Application บน
Smartphone ได้ สามารถควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานระยะไกลได้ แสดงวา่ ระบบควบคุมไฟฟ้าผาน Smart
Phone ส่งั านด้วยเสียง จากระยะไกลได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
3. เพอื่ ประเมินความพงึ พอใจของผูใ้ ชร้ ะบบควบคุมไฟฟา้ ภายในสานักงาน Smartphone ดงั ตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ตารางแสดงผลจานวนรอ้ ยละของความพงึ พอใจด้านความปลอดภยั ในการใช้งานระบบควบคุม
ไฟฟ้าภายในสานกั งานผ่าน Smartphone

รายการประเมนิ . ระดับคณุ ภาพ
.1การใชค้ าส่งั ในส่วนตา่ งๆของเมนมู คี วามปลอดภัย 4.10 1.00 มาก

.2ระบบมีการป้องกนั ข้อผดิ พลาดที่อาจจะเกดิ ขน้ึ 4.50 0.50 มาก

รวม 4.30 0.28 มาก

จากตารางที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน
Smartphone ด้านความปลอดภัย พบวา่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซง่ึ ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.30 มคี ่าเฉลยี่ เบีย่ งเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.28 เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีคะแนนสูงสุดอันดับ 1 คือ ระบบมีความป้องกัน
ขอ้ ผิดพลาดท่อี าจจะเกิดขึน้ อนั ดับ 2 คือ การใช้คาสงั ในสว่ นต่างๆของเมนมู คี วามปลอดภัย ตามลาดบั

256

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจานวนร้อยละของความพึงพอใจด้านการใช้งานในการใช้งานระบบควบคุมไฟฟ้า
ภายในสานกั งานผา่ น Smartphone ดังตารางท่ี 3

รายการประเมิน . ระดับคุณภาพ
.1ความครบถ้วนสมบรู ณ์ของขอ้ มูลในระบบ 4.20 0.90 มาก
.2ความสะดวกในการใชร้ ะบบ 3.90 0.70 มาก
.3ความหลากหลายของฟังกช์ ั่นในแอพพลเิ คช่นั 4.30 0.80 มาก
.4ความนา่ สนใจของแอพพลิเคชน่ั 4.00 0.90 มาก
4.10 0.17 มาก
รวม

จากตารางที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน
Smartphone ด้านการใช้งาน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 มีค่าเฉล่ียเบ่ียงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.17 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีคะแนนสูงสุดอันดับ 1 คือ ความหลากหลาย
ของฟังก์ช่ันในแอพพลิเคช่ัน อันดับ 2 คือ ความสะดวกในการใช้ระบบอันดับ 3 คือ ความน่าสนใจของ
แอพพลิเคชั่น อันดบั 4 คือ ความสะดวกในการใช้ระบบ ตามลาดับ

ตารางที่ 4 ตารางแสดงผลจานวนรอ้ ยละของความพงึ พอใจด้านประสทิ ธิภาพในการใช้งานระบบควบคุมไฟฟ้า
ภายในสานกั งานผา่ น Smartphone ดังตารางที่ 4

รายการประเมนิ . ระดบั คุณภาพ
.1ระบบใช้งานงา่ ยและไมซ่ ับซ้อน 4.20 0.80 มาก
.2สามารถค้นหาหรือเขา้ โปรแกรมทีต่ ้องการไดร้ วดเร็ว 4.10 1.00 มาก
.3ความรวดเรว็ ในการตอบสนองของระบบ 4.00 0.10 มาก
.4สามารถเปดิ ปดิ ไฟฟา้ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4.50 0.50 มาก
4.20 0.22 มาก
รวม

จากตารางที่ 4 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน
Smartphone ด้านประสิทธิภาพ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.20 มีค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.22 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีคะแนนสูงสุดอันดับ 1 คือ สามารถเปิดปิดไฟฟ้าได้
อย่างถูกต้อง อันดับ 2 คือ ระบบใช้งานง่ายและไม่ซับซ้อน อันดับ 3 คือ สามารถค้นหาหรือเข้าโปรแกรมที่
ตอ้ งการไดร้ วดเรว็ อนั ดบั 4 คือ ความรวดเร็วในการตอบสนองของระบบ ตามลาดับ

257

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ตารางที่ 5 ตารางแสดงผลการประเมินความพึงพอโดยภาพรวมในแต่ละด้านของระบบควบคุมไฟฟ้าภายใน

สานักงานผา่ น Smartphone ดังตารางที่ 5

รายการประเมิน . ระดบั คุณภาพ

.1ดา้ นความปลอดภัย 4.30 0.28 มาก

.2ด้านการใช้งาน 4.10 0.17 มาก

.3ด้านประสทิ ธภิ าพ 4.20 0.22 มาก

รวม 4.09 0.80 มาก

สรุปจากตารางท่ี 4-9 สรุปได้ว่าผลการประเมินความพึงพอใจโดยภาพรวมในแต่ละด้านของระบบ
ควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smartphone โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.09 มีค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.80 เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ด้านที่มีคะแนนสูงสุดคือ ด้านความปลอดภัย ซ่ึงมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.28 รองลงมา คือ ด้านประสิทธิภาพ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 4.20
มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.22 และด้านการใช้งานมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.10 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.22
ความเหมาะสมในการจัดตาแหนง่ หน้าตา่ งระบบ ตามลาดับ

7. สรปุ ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
ระบบควบคุมไฟฟ้าภายในสานักงานผ่าน Smart Phone ระบบสามารถทาตามคาส่ังการควบคุมไฟฟ้า

ในอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถควบคุมระยะไกลได้ และยังใช้คาส่ังงานด้วยเสียงได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจมาก เน่ืองจากระบบมีความสามารถในการควบคุมไฟฟ้าได้อย่าง
เปน็ ระบบซึง่ มีความสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของดร.อภิสทิ ธ์ิ แยม้ คา คอื ระบบควบคุมการเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติด้วย
เสียงภาษาไทย Automatic Light Control System by using Thai Voice Command

ขอ้ เสนอแนะ
1. การจดั ทาระบบควบคมุ ไฟฟ้าภายในสานักงานผา่ น Smart Phone สามารถนาไปใชก้ ับการทางานของ
บริษัท หรือ ร้านค้าต่าง ๆ ซ่ึงทาให้การทางานและดูแลทรัพยากรส้ินเปลืองภายในสานักงานหรือเกิดอุบัติเหตุ
ทางไฟฟา้ ได้ การใช้งานมคี วามสะดวกรวดเรว็ และสามารถนาไปพฒั นาต่อไดใ้ นภายหน้า
2. การพฒั นาระบบควบคุมไฟฟา้ ภายในสานักงานผา่ น Smart Phone ควรมกี ารพัฒนาระบบให้สามารถ
ตดิ ตงั้ ในรปู แบบ Install เพ่อื ให้ระบบสามารถนาไปใช้ได้หลากหลายยิง่ ข้นึ

258

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

เอกสารอ้างอิง
[1] ดร. ชัยยทุ ธ พงคล์ ่า 2563, การใชไ้ ฟฟา้ . [ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้จาก http://www.robotsiam.com/ สบื ค้น
เมอ่ื วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2563
[2] ดร. พรชัย ดาษดืน่ 2563, Arduino IDE. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก https://poundxi.com/วิธใี ชเ้ บือ้ งต้น/
สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 30 กรกฎาคม 2563
[3] ด ร . ปั ท ม า เ จ ริ ญ พ ร 2 5 5 8 , ร ะ บ บ System. [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
https://www.slideshare/nettumetr/system-43976485 สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[4] ดร. ชลธิดา ตราวิจิตร 2554 ควบคุมแสงสว่าง. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.
Bovigastore.com/collections/interact-pro-philips สืบคน้ เมอ่ื วันที่ 4 กรกฏาคม 2563
[5] ด ร . วิ ชั ย ยุ ท ธ พ ง ค์ ก ล า 2 5 6 3 , Smart Phone. [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
https://www.officemate.co.th/blog/smart-office/สืบคน้ เมื่อ วันท่ี 4 กรกฎาคม 2563
[6] แสงวิลัย พรสุข 2551, ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.tmcc
.co.thAD/.com สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[7] กิ ต ติ ไ ช ย วิ รุ ติ 2553, ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
http://clubengineering.blogspot.com/2013/07/blog-post_8.html วันท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[8] วัลยา จนั ทรฉ์ าย. 2552, กระแสไฟตรง [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก https:// legatool.com/wp 12063/
สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[9] ดร.พรเพ็ญ จารัสเลิส 2553, กระแสไฟสลับ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http ://www.neutron
.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id=915 สืบค้นเม่ือวันที่ 4
กรกฏาคม 2563
[10] ดร.ชัชวาล วนั อยู่เจริญ 2554, ระบบไฟฟา้ 1 เฟส [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.cablegland-
center.com/electric-system/ สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[11] ด ร .อ นุ ชิ ต ส า ย รั ก ษ์ 2558, ค ว บ คุ ม ไ ฟ ฟ้ า ผ่ า น Smartphone [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
https://www.ab.in.th/article/11/nodemcu-esp8266-/.com สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[12] ดร.มาลีวรรณ จันทรป์ ระดิษญ์ 2559 ,ระบบควบคุมไฟฟา้ ผา่ นเสียง google assistant [ออนไลน์] เข้าถงึ
ไดจ้ าก https://www.coe.phuket.psu.ac.th/projects/62087.html สืบคน้ เมือ่ วันที่ 4 กรกฏาคม 2563
[13] ธงชัย ชูทาน 2551, ระบบควบคุมไฟฟ้าผ่านเสียง siri [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://blog
.nextzy.me/ios-siri-% homekit-dac34a37571b สบื ค้นเมื่อ วันที่ 4 กรกฏาคม 2563
[14] นายเอกสิทธ์ิ สิทธ์ิคุณ 2554, แผงว งจร Arduino [ออนไลน์ ] เข้าถึงได้จาก https://blog.
thaieasyelec.com/what-is-arduino-ch1/ สบื ค้นเม่อื วันที่ 4 กรกฏาคม 2563

259

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

[15] ด ร .สุ เ ม ธ สุ วั ฒ น์ 2557,แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น Arduino ide [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก https://
microtroniclifestyle. blogspot.com/2017/04/arduino.html สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[16] ดร. มาโนชญ์ แสงศิ 2554, แอพลิเคช่ัน Blynk [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.scimat
h.org/article-technology/item/9820-blynk-iot-platform สบื ค้นเมอ่ื วนั ที่ 4 กรกฏาคม 2563
[17] ดร.ปาวรรณรัตน์ แสงอรุณ 2556, การอนรุ ักษ์พลังงานไฟฟา้ ในบริษัทอเิ ลก็ ทรอนิกส์ [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้
จาก https: //sites.google.com/site/krupattaraporn/bth-thi-1-fifa/1-4-kar-chi-laea-kar-xnuraks-
phlangngan-fifa สืบค้นเมือ่ วันท่ี 4 กรกฏาคม 2563
[18] ดร.ปริญญา สาเพชร 2554, การใช้บอร์ด Arduino ร่วมกับ LabVIEW สาหรับชุดทดลองทางกลศาสตร์
[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก htt ps:// ph01.tcithaij o.org/index.php /ThaiJPhys /article/view/240869
สบื ค้นเม่อื วันที่ 4 กรกฏาคม 2563
[19] ดร.อภิสิทธ์ิ แย้มค้า 2563, ระบบควบคุมการเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติด้วยเสียงภาษาไทย. [ออนไลน์]
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/a/rsu.ac.th สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 4 กรกฎาคม 2563

260

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจง้ เตอื นการลื่นลม้ สาหรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใช้
วิธีการไอโอทเี พียโซ

SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in
hospital using IOT-Piezo methodology

นายอนุลกั ษณ์ กระทุ่มทอง , นายสุวจิ กั ขณ์ จีนเกดิ
Mr. Anulak Katoomtong , Mr. Suwijuk jeangert

นกั ศกึ ษาปริญญาตรี เทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ สถาบัน วิทยาลยั พณชิ ยการบางนา

E-mail: [email protected] , E-mail: [email protected]

ดร.สรญา เปรยี้ วประสิทธ์ิ อาจารย์สุจิตรา ไวยรัตนา อาจารย์ทุนมา ชินวงศ์
อาจารย์ประจาํ หลักสตู ร ปริญญาตรี เทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ สถาบนั

วิทยาลัยพณชิ ยการบางนา
E-mail: [email protected] [email protected] [email protected]

บทคัดยอ่

การวิจัยเร่ือง ระบบต้นแบบตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาล
โดยใชว้ ิธีการไอโอทเี พยี โซ่ มวี ตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อออกแบบและพฒั นาระบบตน้ แบบตรวจตราและแจ้ง
เตือนการล่ืนล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ่ 2. เพ่ือหาคุณภาพของระบบ
ระบบตน้ แบบตรวจตราและแจง้ เตอื นการลนื่ ล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วธิ กี ารไอโอทเี พียโซ่
3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบระบบต้นแบ บตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้มสําหรับ
คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วธิ ีการไอโอทเี พียโซ่ กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นงานวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
คือกล่มุ ท่ี 1 ผู้เชย่ี วชาญดา้ นระบบต้นแบบสําหรับการควบคมุ และตรวจตราความปลอดภยั ของอาคาร
จํานวน 3 คน เพื่อตรวจความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และกลุ่มที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง
คือ นกั ศึกษาระดับชน้ั ปวส.ปท่ี 1-2 และนกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี ปีที่ 1 วิทยาลยั พณชิ ยการบางนา
จํานวน 30 คน จากการเลือกแบบสุ่มตัวอย่างแบบตาม ความสะดวก (Convenience Sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือ ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่นล้ม สําหรับคนไข้
ในโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธกี ารไอโอทีเพยี โซ แบบประเมินประสิทธภิ าพระบบ และแบบประเมนิ ความพึง
พอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การวิจัยระบบต้นแบบการ
ตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่นล้ม สําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ
สามารถสรุปผลการวิจยั ไดด้ งั น้ี

261

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

1. ผลการออกแบบและพัฒนาการวิจัยระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่นล้ม
สําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ โดยออกแบบและพัณนาระบบด้วยวิธี 5 ข้ันตอน 1
เขา้ ใจปญั หา EMPATHIZE , 2 ระบคุ วามต้องการ DEFINE , 4 พฒั นาต้นแบบ PROTOTYPE , 5 ทดสอบ TEST
ผลที่ได้เป็นระบบตน้ แบบการตรวจตราและแจง้ เตอื นการล่นื ลม้ สําหรบั คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใชว้ ธิ ีการไอโอ
ทเี พยี โซ

2. ผลการหาคุณภาพของระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้ม สําหรับคนไข้ใน
โรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ โดยใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ผู้เชี่ยวชาญจํานวน 3 ท่าน
ค่าเฉลีย่ 3.97 และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.65 อยู่ในระดบั มาก

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปที่ 1-2 และนักศึกษา ระดับปริญญาตรี
ปีที่ 1 วทิ ยาลัยพณชิ ยการบางนา โดยใชว้ ธิ ีการสมุ่ ตวั อย่างง่ายจาํ นวน 30 คน ผลคา่ เฉลี่ย 3.94 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.76 อยใู่ นระดบั พอใจมาก

4. ผลออกแบบโมเดลธรุ กิจไดโ้ มเดลรูปแบบ 9 ขนั้ ตอนสามารถนําไปต่อยอดทางธรุ กิจได้
Value Proposition = แจ้งเตือนเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เช่น การลื่นล้ม , Customer Segments = โรงพยาบาล,
บ้านพักผู้สูงอายุ,ลูกหลาน , Channels = โฆษณาตามสื่อต่าง ๆ นําเสนอโครงการCustomer Relationships
= ตั้งใจบริการอย่างซื่อสัตย์ ใส่ใจในรายละเอียด , Revenue Stream = ค่าโปรแกรม , Key Resources =
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม IDE , Key Activities = ออกแบบโปรแกรมที่สามารถใช้งานได้จริงตาม
วัตถุประสงค์ , Key Partners = โรงพยาบาล บ้านพักพิง , Cost Structures = ค่าท่ีปรึกษาทําโปรแกรมเมอร์
ค่าลิขสทิ ธใ์ นโปรแกรม ค่าลขิ สทิ ธ์รปู ภาพประกอบคา่ เซฟิ เวอร์

1.บทนา 262

เนื่องด้วยเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทต่อผู้ใช้งานอย่างแพร่หลาย ยกตัวอย่าง เช่น Internet Of
Things (IoT) อนิ เทอร์เนต็ ในทุกส่ิง" หมายถงึ การที่อุปกรณ์ต่าง ๆ สง่ิ ตา่ ง ๆ ได้ถกู เชอ่ื มโยงทุกสง่ิ ทกุ อย่างสู่
โลกอินเทอร์เน็ต ทําให้ผู้คนท่ีใช้งานสามารถส่ังการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า (การส่ังการเปิดไฟฟ้าภายในบ้านด้วยการเชื่อมต่อ
อุปกรณ์ควบคุม เช่น มือถือ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต) รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ เคร่ืองมือสื่อสาร เครื่องมือทาง
การเกษตร อาคาร บา้ นเรือน เครื่องใช้ในชวี ิตประจําวนั ตา่ ง ๆ ผ่านเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นต้น แบง่ กลุ่ม
Internet of Things ปจั จบุ ันมีการแบง่ กลมุ่ Internet of Things ออกตามตลาดการใชง้ านเปน็ 2 กลมุ่ ได้แก่
Industrial IoT คือ แบ่งจาก local network ที่มีหลายเทคโนโลยีท่ีแตกต่างกันในโครงข่าย Sensor nodes
โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มนี้จะเช่ือมต่อแบบ IP network เพ่ือเข้าสู่อินเทอร์เน็ต Commercial IoT
คอื แบ่งจาก local communication ทเี่ ปน็ Bluetooth หรอื Ethernet (wired or wireless) โดยตัวอุปกรณ์

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

IoT Device ในกลุ่มน้ีจะส่ือสารภายในกลุ่ม Sensor nodes เดียวกันเท่าน้ันหรือเป็นแบบ local devices
เพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้เช่ือมสู่อินเทอร์เน็ต ยุคสมัยปัจจุบันได้เปล่ียนไปแล้วทุก ๆ อย่างก็เปล่ียนสังคมใน
ปัจจุบนั ได้เรมิ่ เขา้ สู่ยุค 5.0 สว่ นที่ญี่ป่นุ เขามาเปน็ 5.0 นน้ั ทาง Keidanren สมาคมธุรกิจขนาดใหญข่ องญ่ีปุ่น
ได้อธิบายในรายงานเม่ือปีกลาย โดยแบ่งพัฒนาการทางสงั คมของพวกเขาเปน็ 5 ระดับคือ 1.0 ยุคล่าสัตว์หา
ของป่า (ดึกดําบรรพ์มาเลย) , 2.0 ยุคเกษตร, 3.0 ยุคอุตสาหกรรม, 4.0 ยุคข้อมูลข่าวสาร และยุคสังคม 5.0
อนั หมายถึง สังคมฉลาดสดุ ๆ (Super Smart Society) กลับมาที่ สงั คม 5.0 ของญี่ปุ่น ทางKeidanren ยอมรับ
ว่า ขณะนี้การปฏิรูปทางด้านวิทยาการและสังคมได้เดิ นหน้ากันไปหลายประเทศแล้ว ส่วนญ่ีปุ่นเพิ่งจะเริ่ม
เอากับเขาเมื่อไม่นานมาน้ีนี่เอง ตัวอย่างเช่นท่ีเยอรมนี ท่ีประกาศเร่ือง “Indrustrie 4.0” ต้ังแต่ปี 2010 (ซ่ึง
อุตสาหกรรม 4.0 หรือแนวคิดเรื่องระบบการผลิตแบบอัจฉริยะของเยอรมนีก็มีหลายคนเอาไปใช้เป็นบรรทดั
ฐาน และแรงบันดาลใจกันเยอะ) หรือ GE ในสหรัฐฯ ก็เสนอเร่ือง “Industrial Internet” ตั้งแต่ปี 2012 แล้ว
ทีน้ีมาดูท่ีเรื่องของพื้นฐานทางเทคโนโลยีท่ีจําเป็นสําหรับการปฏิรูปสู่สังคม 5.0 ตามคําอธิบายของ
Keidanren บอกว่าต้องอาศัยการผนวกโลกไซเบอร์ (cyber space) กับโลกทางกายภาพ (physical space)
เข้าด้วยกันโดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นพ้ืนฐาน พร้อมมี AI และหุ่นยนต์ เป็นปัจจัยในตัวเร่งกระบวนการ
ด้วย ส่วนเป้าหมายในการปฏิรูปของพวกเขาก็มีอยู่ 3 ด้านหลัก คือ 1. การปฏิรูปคน ด้วยการเพ่ิมโอกาสและ
ศักยภาพของคน ซึ่งมีการย้ําถึงคนแก่และผู้หญิง โดยตั้งเป้าว่าทุกคนจะต้องมีชวี ิตท่ีมั่นคงปลอดภยั สามารถ
ใช้ชีวิตได้ตามปรารถนา 2. การปฏิรูปผู้ประกอบการ ด้วยการพัฒนาผลิตภาพผ่านการปฏริ ูปโครงสร้างธรุ กจิ
และเปล่ียนสู่ระบบดิจิตอล พร้อมส่งเสรมิ นวัตกรรมและโลกาภิวตั น์ 3. แก้ปัญหาทางสังคม ท่ีถูกเน้นก็มีเรอื่ ง
ของประชากรท่ีกาํ ลังลดลงและเข้าสู่วยั ชราเปน็ จํานวนมาก รวมทั้งปญั หาภัยธรรมชาติ ซงึ่ พวกเขาเชอื่ วา่ การ
ขยายธุรกิจใหม่ๆ ไปต่างแดนจะมีส่วนแก้ปัญหาได้ในระดับโลกด้วย นอกจากน้ีทาง Keidanren ก็ได้กล่าวถึง
การตระหนักรู้ถึงปัญหาด้านต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาอย่าง “ชาญฉลาด” แบบ smart society ที่พวกเขา
พยายามโปรโมต โดยอาศัยทรัพยากรและศักยภาพเดิมของประเทศ เหมือนอย่างการที่ประเทศกําลังเจอ
ปัญหาประชากรลดลง และกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ ก็เลยต้องหันมาส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้หญิง และ
ผ้สู งู อายใุ นกจิ กรรมต่าง ๆ มากขึ้น เปน็ ตน้

ทผ่ี ่านมา บรษิ ัท ซีแอนดเ์ อ็ม เปอร์สเปคชน่ั ได้ทาํ การพฒั นาโปรแกรมและระบบอยา่ งแพรห่ ลาย ใน
ด้านทางการวิจัยหรือในตามความต้องการของหน่วยงาน โดยดําเนินการพัฒนาและวิจัย (R & D) ร่วมกับ
บุคลากรของบริษัท เพ่ือส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์ใหม่ตามความต้องการของสังคม โดย
ดําเนินการในแขนงอินฟอร์เมติคส์ (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีส่ือสารไร้สาย) และแขนงแมคคา
ทรอนิกส์ (ระบบควบคุมอัตโนมัติและหุ่นยนต์) โดยมีผลงานร่วมกันจนสามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทาง
การคา้ ดว้ ยปณิธาน อันแนว่ แน่ นบั ต้ังแต่ให้บรกิ ารลกู คา้ รายแรกจวบจนปัจจบุ นั เรายังยนื หยดั คาํ พดู ดังกล่าว
เสมอมาโดยหวงั เพยี งสร้างความพงึ พอใจให้ ลกู คา้ ท้งั บริการหลังการขาย หรือระบบทต่ี อบสนองการใชง้ านให้
ดที ส่ี ุด ไม่หยุดนิง่ ในการพฒั นาระบบให้สอดคลอ้ งกับการใช้งานจรงิ และตามเทคโนโลยี สมยั ใหมอ่ ยเู่ สมอ

263

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

พรอ้ มสรา้ งฐานลูกคา้ ใหม่ท่ีได้ใหโ้ อกาส และเลง็ เหน็ ถึงศกั ยภาพการทํางานและความจริงใจของเรา เราจึงหวงั 264
เป็นอย่างย่ิงวา่ ท่านจะให้โอกาสเราในการดูแลรับใช้ และให้โอกาสเราได้เติบโต ตามรอยท่าน ในอนาคตต่อไป
ตอ่ มาผลประกอบการมีความเจรญิ กา้ วหน้าเป็นลําดับ

เน่ืองจากในโรงพยาบาลหรือในสถานท่ีพักพิงมีการเกิดอุบัติเหตุการณ์ลื่นล้มของคนไข้อยู่บ่อยคร้ัง
ไม่ว่าจะเป็นพ้ืนท่ีในห้องน้ําหรือว่าพ้ืนในห้องพักฟ้ืนอุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดในห้องนํ้า ในการลื่นล้มน้ันใน
บางครั้งอาจจะมีเจา้ หน้าท่ีทราบเหตุการณห์ รือไม่ทราบเหตุการณ์ทําให้การเข้าช่วยเหลืออาจล่าชา้ ไม่ทันถ่วง
ทีทําให้ล่าช้าในการช่วยเหลือผู้ป่วยและไม่ใช่แค่ว่าในโรงพยาบาล อาจจะรวมไปถึงในบ้านที่คนสูงวัย ที่
ลูกหลานที่ออกไปทํางานเป็นหว่ งและอาจจะไม่ค่อยได้ดูแลตลอดเวลา ทําให้เกิดอุบัติเหตุข้างต้นได้ ผู้พัฒนา
จึงนําข้อแนะนําท่ีได้รับมา พร้อมปัญหาดังกล่าวมาศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ จึงได้พัฒนาระบบ
ตรวจตราและแจ้งเตือนการลนื่ ล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธกี ารไอโอทีเพียโซ่ ในการแจ้งเตือนข้ึน
แอปพลิเคชันบนมือถือ เม่ือมีการสั่นสะเทือนหรือมีแรงกระแทกรุนแรงหรือมากกว่าในค่าท่ีได้กําหนดไว้ว่า
สถานะปกติควรจะเป็นค่าเท่าไหร่ให้ทํางานแจ้งเตือนเข้าไปในส่วนแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือหรือ
สมาร์ตโฟน ทําการออกแบบแพลตฟอร์มให้ใช้งานง่ายสําหรับผู้ใช้งานแอปพลิเคชัน บนหน้าจอGUI
(Graphical User Interface) ในปัจจุบัน สําหรับการตรวจตราตัวอุปกรณ์ที่จะทําการแจ้งเตือนเม่ือมีเหตุ โดย
ในการจัดทาํ ระบบครงั้ นี้ เพอื่ สรา้ งและพัฒนาระบบท่มี ีประสิทธภิ าพ เพอ่ื นําระบบมาพฒั นาตอ่ ยอดในอนาคต

ดังนั้น ผู้จัดทําจึงได้ศึกษาหาข้อมูลและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือนําองค์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้จากการ
ค้นคว้า มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เร่อื ง ระบบตน้ แบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลน่ื ลม้ สําหรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธีการไอโอทเี พีย
โซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology)
ให้เสรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดแี ละตรงต่อความตอ้ งการของลกู คา้ และเพ่อื ให้สาํ เร็จตามวัตถุประสงคท์ ่ีได้ตัง้ ไว้
2.วตั ถุประสงคข์ องโครงการ

2.1 เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้ม สําหรับ
คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and Monitoring
System For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology

2.2 เพื่อหาคุณภาพของระบบต้นแบบการตรวจตราและแจง้ เตือนการลื่นล้ม สําหรับคนไข้ใน
โรงพยาบาลโดยใช้วธิ ีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System
For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology)

2.3 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่นล้ม
สําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and
Monitoring System For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

2.4 เพ่อื พัฒนาโมเดลทางธรุ กจิ สาํ หรับนวัตกรรมธรุ กจิ ดิจิทลั เรื่อง ระบบตน้ แบบการตรวจตราและ
แจง้ เตอื นการลื่นลม้ สําหรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธกี ารไอโอทเี พยี โซ (SLIPPING Alerting
and Monitoring System For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology)

3. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั
3.1 ไดร้ ะบบต้นแบบการตรวจตราและแจง้ เตือนการลน่ื ลม้ สําหรบั คนไข้ในโรงพยาบาลโดย
ใช้วธิ กี ารไอโอทีเพยี โซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in
hospital using IOT-Piezo methodology)
3.2 ได้ประสทิ ธิภาพของระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลนื่ ลม้ สําหรับคนไขใ้ น
โรงพยาบาลโดยใชว้ ธิ ีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System
For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology)
3.3 ไดค้ วามพึงพอใจของผูใ้ ชร้ ะบบตน้ แบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการล่นื ล้ม สําหรับ
คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วธิ ีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and Monitoring
System For Patient in hospita l using IOT-Piezo methodology
3.4 ไดโ้ มเดลทางธรุ กจิ สาํ หรับนวตั กรรมธุรกิจดิจทิ ัล เร่ือง ระบบตน้ แบบการตรวจตราและแจง้
เตอื นการลนื่ ลม้ สาํ หรบั คนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใช้วธิ ีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting
and Monitoring System For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology)

4.ขอบเขตของโครงการ
4.1 ดา้ นประชากรและกลุมตวั อยา่ ง
4.1.1 ประชากร คือ นักศึกษาระดับช้ัน ปวส.ปที่ 1-2 และนักศึกษาระดับปริญญา
ตรี ปที่ 1 วทิ ยาลยั พณชิ ยการบางนา
4.1.2 กลุมตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปที่ 1-2 และนักศึกษา ระดับ ปริญญา
ตรี ปที่ 1 วิทยาลัยพณิชยการบางนา ที่ใชงานระบบต้นแบบการตรวจตราและ
แจ้งเตือนการลื่นล้ม สําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ
(SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in hospital
using IOT-Piezo methodology) อย่างน้อย 30 คน โดยการกําหนดขนาด
กลุมตัวอย่างจากตารางสําเร็จรูปของ Krejcie & Morgan และใชวิธีการสุมตัว
อยา่ งแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) และหาคา่ คุณภาพ
4.2 ดา้ นเนอ้ื หา
4.2.1 สามารถสง่ คา่ แจ้งเตอื นจากอุปกรณเ์ พียโซ่ทเ่ี กินคา่ ท่ีกําหนด
4.2.2 สามารถดูการแจง้ เตอื นทสี่ ง่ มาจากอุปกรณ์เพียโซบ่ น Lineแอปพลเิ คชัน

265

บทความผลงานวจิ ยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

5.กรอบแนวคิดโครงการ

ทฤษฏที ่เี ก่ยี วขอ้ ง
1. ความรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกับแอพพลเิ คชัน่
2. Application คืออะไร
3. โปรแกรมที่ใช้พัฒนา Arduino
4. ไมโครคอนโทรลเลอร์ คืออะไร
5. ภาษาท่ใี ช้ในการเขียนแอพพลิเคช่ัน
6. ประเภท MOBILE APPLICATION
7. piezoelectric คอื อะไร
8. ระบบจดั การฐานข้อมลู (DBMS)
9. งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง

อุปกรณแ์ ละโปรแกรมท่ีใชใ้ นการพัฒนา แอปพลิเคชน่ั Line
-arduino ide -แสดงการแจ้งเตอื น
-piezoelectric -รายละเอียด
-esp8266
- arduino board
-โปรแกรมที่ใชพ้ ัฒนาแอปพลเิ คชนั Line

ระบบตน้ แบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้ม สาหรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธกี ารไอ 266
โอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in hospital using

IOT-Piezo methodology)

ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้ม สาหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใชว้ ธิ ีการไอโอ
ทเี พยี โซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in hospital using IOT-

Piezo methodology) ประสิทธภิ าพและความพงึ พอใจ,โมเดลธุรกจิ นวัตกรรมธุรกิจดจิ ทิ ัล

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

6.เครอื่ งมือท่ีใชศ้ กึ ษา
1. เวบ็ ไซต์ Nagas Digital
2. แบบประเมนิ เชิงคุณภาพ
3. แบบสอบถามความพึงพอใจ
4. Business model
5. ขน้ั ตอนของวงจรการพฒั นาโปรแกรม
1. การวิเคราะหป์ ญั หา
2. การออกแบบเว็บไซต์
3. การสรา้ งเวบ็ ไซต์
4. การทดสอบและแก้ไขเว็บไซต์
5. การจดั ทาํ เอกสารและคูม่ ือการใช้งาน
6. การใช้งานจรงิ ของเวบ็ ไซต์
7. การปรบั ปรุงและพัฒนาโปรแกรม
6. การออกแบบโมเดลธุรกจิ (Business Model Canvas)
1. กลุ่มลกู คา้ CS Customer Segments
2. คณุ ค้าสนิ คา้ /บริการ VP Value Propositions
3. ความสัมพันธ์กับลกู คา้ CR Customer Relationships
4.ชอ่ งทางการเข้าถึงลูกค้า DC Channels
5.รายได้หลกั RS Revenue Streams
6. พันธมติ ร KP Key Partners
7.กจิ กรรมหลกั KA Key Activities
8.หลกั ทรัพยากร KR Key Resource
9.โครงสร้างตน้ ทนุ CS Cost Structure

7.ขั้นตอนในการสรา้ งเคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจัย
7.1.ระบบต้นแบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลสาํ หรบั ช่วยเหลอื ผู้ปว่ ยในโรงพยาบาล
7.1.1 วงจรพฒั นาระบบ(System Development Life Cycle : SDLC) วงจรการพฒั นา

ระบบ ทีเ่ ป็นลําดบั ขน้ั ตอนในการพฒั นาระบบ ซ่งึ SDLC ประกอบด้วยกจิ กรรม 7 ระยะด้วยกนั ดังน้ี
(1).การกําหนดปญั หา
1.1) การรับรู้เหตุการณ์ในการเกดิ อบุ ตั ิเหตุล่าชา้ และรว่ มไปถึงการเข้าชว่ ยเหลือดว้ ย

267

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

(2.) การวิเคราะห์ YES
2.1)แผนผงั flowchat

Start
Input Sensor

Process Sensor
NO T<=i

Process Sensor case

Sent to
Data Base

Sent to

Line monitor

End

รปู ภาพท่ี 3.1 แผนผัง Flowchart นวตั กรรมธรุ กจิ ดิจิทลั ดา้ นระบบตรวจตราและแจ้งเตือนการล่ืนล้ม
สาํ หรบั คนไข้ใน โรงพยาบาลโดยใช้วธิ กี ารไอโอทีเพียโซ่

268

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

2.2 Context diagram

รูปภาพท่ี 3.2 Context Diagram นวัตกรรมธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั ดา้ นระบบตรวจตราและแจง้ เตือนการ
ล่นื ลม้ สําหรบั คนไข้ใน โรงพยาบาลโดยใชว้ ธิ ีการไอโอทีเพยี โซ่

(3). การออกแบบ
ขั้นตอนการลงโปรแกรม Arduino IDE ดังนี้
3.1 ดาวน์โหลด Arduino IDE จากhttps://www.arduino.cc/en/Main/Software#ที่นี่

3.2 เลือก Windows Installer

269

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.3 กดป่มุ JUST DOWNLOAD

3.4เมอ่ื ดาวน์โหลดเสรจ็ แลว้ กก็ ดเปดิ ไฟล์ Arduino-xxx.exeเพอื่ ติดตง้ั โปรแกรมกดNextไปเรอื่ ยๆตามปกติ

270

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

271

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

(4.) การพฒั นา 272
ทางคณะผู้วิจัยเลือกใช้โปรแกรม Arduino ในการออกแบบและพัฒนา Arduino เป็นโปรแกรม

ข้ามแพลตฟอรม์ ท่ีเขียนขนึ้ ในฟงั กช์ ันจาก C และ C ++ จะใชใ้ นการเขยี นและอปั โหลดโปรแกรมไปยงั บอร์ดท่ี
เขา้ กันได้กบั Arduino นาํ โปรแกรมไปปรกึ ษากบั ทปี่ รึกษาเพ่ือหาข้อผดิ พลาดและแนวทางการพัฒนา

(5). การทดสอบ
ทางผพู้ ฒั นาได้ทําการทดสอบว่าระบบทพ่ี ัฒนาตรงตามความต้องการของผู้ใชห้ รือไม่

(6). การนาํ ระบบไปใช้
ศึกษาสภาพแวดล้อมของพนื้ ทก่ี ่อนท่ีจะนําระบบไปติดตั้ง จดั ทาํ คูม่ ือการใชง้ านและ

ประเมนิ ผลการใช้งานของระบบ
(7) การบํารุงรกั ษา
หลังจากระบบงานได้ถูกนําไปใช้งาน ผู้พัฒนาได้วางแผนการบํารุงรักษาและพัฒนาโปรแกรม

หลงั จากสง่ มอบโปรแกรมให้กบั ผใู้ ชง้ านไปแล้วเหมอื นบริการหลงั การขาย

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

7.2. แบบสอบถามเชิงคุณภาพ ผูพัฒนาไดสรางขนึ้ โดยมลี าํ ดับขนั้ ตอน ดงั น้ี
7.2.1 สรา้ งแบบสอบถามเกี่ยวกบั ประสทิ ธิภาพการใช้ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตอื นการล่ืนลม้

สาํ หรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใช้วธิ กี ารไอโอทเี พยี โซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in
hospital using IOT-Piezo methodology) ทําการตรวจสอบเนอื้ หาของแบบสอบถามวา่ ครอบคลมุ วตั ถปุ ระสงค์
หรอื ไม่ จากนน้ั นําไปใหอ้ าจารยท์ ี่ปรกึ ษาตรวจสอบแลว้ นาํ มาปรับปรงุ ตามคําแนะนาํ ของอาจารยท์ ปี่ รึกษา

7.2.2. สร้างแบบสอบถามเก่ียวกับคุณภาพของ ระบบช่วยสนับสนุนการทํางานด้านการเปิดบิล
เอกสารผา่ นระบบปฏิบัติการ Android โดยทําการตรวจสอบเนือ้ หาของแบบสอบถามวา่ ครอบคลมุ วัตถุประสงค์
หรอื ไม่ จากนน้ั นําไปใหอ้ าจารยท์ ีป่ รึกษาตรวจสอบแลว้ นาํ มาปรบั ปรุงตามคําแนะนาํ ของอาจารย์ทีป่ รึกษา

7.2.3 นาํ แบบสอบถามพร้อมระบบชว่ ยสนับสนุนการทาํ งานด้านการเปิดบลิ เอกสารผ่าน
ระบบปฏบิ ตั ิการ Android เสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจความตรงเชงิ โครงสร้าง (Construct validity))
และการใช้ภาษา โดยใหผ้ ้เู ชย่ี วชาญจาํ นวน 3 ท่าน ประกอบดว้ ย

(1) อาจารย์นพพล อินศร หัวหนา้ งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
(2) อาจารยส์ จุ ิตรา ไวยรตั นา ครปู ระจํา แผนกวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ
(3) นายศุภกร เสยี่ งเจริญผล ครูฝึกงานในสถานประกอบการ
7.2.4 จากนั้นรวบรวมขอ้ มลู ความคิดเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ มาวเิ คราะห์ดชั นีความสอดคลอ้ ง
ระหวา่ งรายการข้อคําถามกับวัตถปุ ระสงค์การวิจยั ด้วยค่า IOC (Index of Item Objective
Congruence) ตามวธิ ีการของ Rovinelli และ Hambleton, (1978 : 34 -37 อ้างถึงในผอ่ งศรี
วาณิชยศ์ ภุ วงศ์, 2546 : 140) โดยกําหนดคะแนนไว้ดงั นี้
+ 1 เมอื่ เหน็ ว่าตรงกบั ขอบข่ายเนอ้ื หาตามท่ีระบุไว้
0 เมอื่ ไมแ่ น่ใจวา่ ตรงกบั ขอบข่ายเนื้อหาตามท่รี ะบุไว้
- 1 เมอื่ แนใ่ จว่าไมต่ รงกบั ขอบข่ายเนือ้ หาตามที่ระบไุ ว้
7.2.5 จากน้นั รวบรวมข้อมูล ความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ มาวิเคราะห์ดัชนีความสอดคลอ้ ง
ระหวา่ งรายการข้อคําถามกบั วัตถุประสงค์การวจิ ยั ด้วยคา่ IOC (Index of Item Objective Congruence)
โดยใชส้ ตู รของ IOC ดังนี้ (ลดั ดาวลั ย์ เพชรโรจน์ และ อัจรา ชานิประศาสน์, 2547: น.145-146)
เม่อื IOC แทนดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (Index of Item Objective Congruence)
Σ แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผเู้ ชย่ี วชาญ
R แทน คะแนนความคดิ เห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญต่อคําถามแตล่ ะขอ้
N แทน จํานวนผู้เชี่ยวชาญ
เกณฑ์การแปลความหมาย มีดงั นี้
คา่ IOC ≥ .50 หมายความวา่ คาถามน้ันตรงวัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
ค่า IOC < .50 หมายความว่า คาถามนัน้ ไม่ตรงวตั ถุประสงค์ของการวิจยั

273

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

7.2.7 นําแบบประเมินคณุ ภาพ ไปสอบถาม ผู้เช่ยี วชาญ 3 คน เพื่อวดั ผลของคุณภาพของระบบ ตาม
แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั โดยเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษา 2.เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ แบ่งออกเป็น 5 ระดบั

ค่าเฉลยี่ ระดบั คุณภาพ 0.00 – 1.50 ปรับปรงุ
ค่าเฉล่ยี ระดบั คุณภาพ 1.51 – 2.50 พอใช้
ค่าเฉลี่ยระดบั คุณภาพ 2.51 – 3.50 ดี
คา่ เฉล่ียระดบั คุณภาพ 3.51 – 4.50 ดมี าก
ค่าเฉลย่ี ระดับคณุ ภาพ 4.51 – 5.00 ดีเยย่ี ม
7.2.8 นาํ ผลการประเมนิ แบบสอบถามคุณภาพจากผู้เช่ียวชาญ 3 คน มาวิเคราะห์หาค
าเฉลีย่ (x-bar ) และคา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( S.D. )
7.3. การสรางแบบประเมินความพึงพอใจ โดยแบบสอบถามสว่ นท่ี 2 ใชล้ กั ษณะของแบบสอบถาม
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งออก เปน็ 5 ระดบั ผู้วจิ ัยไดก้ ําหนดคา่ ระดบั
ของความพึงพอใจ ดังน้ี
ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลประชากรของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปที่ 1-2 และนักศึกษา
ระดบั ปริญญา ตรี ปที่ 1 วิทยาลยั พณชิ ยการบางนา จํานวน 2 ข้อ ได้แก่ 1) เพศ 2) อายุ
โดยคาํ ถามเป็นแบบใหเ้ ลอื กตอบเพียงข้อเดียว
ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเพื่อวัดระดับเพ่ือศึกษาความพึงพอใจในระบบต้นแบบเทคโนโลยีดิจิทัล
สําหรับช่วยเหลือผู้ป่วยในโรงพยาบาล ได้แก่ปัจจัยท่ีมีผลต่อการปฏิบัติงานในด้าน ความสําเร็จ งานท่ีรับ
มอบหมาย ความกา้ วหน้าในงาน โดยเป็นข้อคาํ ถามแบบมาตรส่วนประเมินคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั

มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด ให้คา่ ระดับคะแนน 5
มคี วามพึงพอใจมาก ใหค้ า่ ระดับคะแนน 4
มคี วามพึงพอใจปานกลาง ให้คา่ ระดบั คะแนน 3
มคี วามพึงพอใจน้อย ให้ค่าระดบั คะแนน 2
มีความพึงพอใจน้อยท่ีสุด ให้ค่าระดบั คะแนน 1
โดยพจิ ารณาเป็นรายขอ้ รายด้าน และภาพรวม ใชเ้ กณฑ์ของ เบสท์ (John W.Best 1981 :
182) ในการแปลความหมายดังน้ี
คา่ เฉลีย่ 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มีความพงึ พอใจมากที่สุด
คา่ เฉลยี่ 3.50 – 4.49 หมายความวา่ มคี วามพงึ พอใจมาก
ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายความวา่ มีความพงึ พอใจปานกลาง
ค่าเฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจนอ้ ย
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายความว่า มคี วามพึงพอใจน้อยทส่ี ดุ
3.1 นําแบบสอบถามเสนอผู้เช่ียวชาญ เพื่อตรวจความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
และการใช้ภาษา ผู้เชีย่ วชาญจาํ นวน 3 ท่าน ประกอบดว้ ย
1 อาจารย์ทศพร พลู เจรญิ ผู้เชี่ยวชาญดา้ นสถิติ

274
3

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

2 นายภคั วตั ร ศรพี รหม ผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นการพัฒนาแอปพลเิ คชันและเวบ็ ไซต์
3 นายนชุ า เจริญเพชร ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นออกแบบและเขียนโปรแกรม
จากนนั้ รวบรวมข้อมลู ความคิดเหน็ ของผูเ้ ช่ียวชาญ มาวเิ คราะหด์ ชั นคี วามสอดคล้องระหว่าง
รายการข้อคําถามกับวัตถุประสงค์การวิจัยด้วยค่า IOC (Index of Item Objective Congruence)
ตามวิธีการของ Rovinelli และ Hambleton, (1978 : 34 -37 อ้างถึงในผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์,
2546 : 140) โดยกําหนดคะแนนไว้ดังนี้
+ 1 เมอ่ื เห็นว่าตรงกับขอบข่ายเนอื้ หาตามที่ระบุไว้
0 เม่ือไม่แน่ใจว่าตรงกบั ขอบข่ายเนือ้ หาตามที่ระบไุ ว้
- 1 เมอื่ แน่ใจว่าไม่ตรงกับขอบข่ายเนื้อหาตามทีร่ ะบุไว้
ผลการวิเคราะห์หาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา ปรากฏว่าข้อคําถามทุกข้อผ่านเกณฑ์
มีคา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง ต้งั แต่ .60 ขนึ้ ไป
3.3 นําแบบสอบถามเก่ยี วกบั ความพึงพอใจในการใช้งานระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้ง
เตือนการล่ืนล้ม สําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and
Monitoring System For Patient in hospital using IOT-Piezo methodology) กับกลุ่มตัวอย่าง
ในการวิจัยครั้งนี้จํานวน 30 คน แล้วนํามาหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ได้ผลการหาค่าความ
เช่ือมน่ั (Reliability) 0.77
3.4 นําแบบสอบถามความพึงพอใจให นักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปที่ 1-2 และนักศึกษา ระดับ
ปริญญา ตรี ปที่ 1 วิทยาลยั พณชิ ยการบางนา จํานวน 30 คน
3.5 นาํ ผลการประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจจากนกั ศึกษาระดบั ชั้น ปวส.ปที่ 1-2 และ
นักศกึ ษา ระดบั ปริญญา ตรี ปท่ี 1 วิทยาลัยพณิชยการบางนา จํานวน 30 คน มาวิเคราะห์หาคาเฉล่ยี
( ̅ ) และค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( S.D. )
4. การออกแบบโมเดลธุรกิจ (Business Model Canvas)
4.1 ขัน้ ตอนการออกแบบโมเดลธรุ กจิ (Business Model Canvas)

รูปภาพที่ 4.2 ขั้นตอนการออกแบบโมเดลธุรกจิ (Business Model Canvas)

275

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

4.2.1 Value Proposition = แจง้ เตือนเม่ือเกดิ อบุ ัติเหตุ เชน่ การลืน่ ล้ม 276
4.2.2 Customer Segments = โรงพยาบาล,บา้ นพักผูส้ ูงอายุ,ลกู หลาน
4.2.3 Channels = โฆษณาตามสอื่ ตา่ ง ๆ นาํ เสนอโครงการ
4.2.4 Customer Relationships = ตั้งใจบรกิ ารอยา่ งซ่อื สัตย์ ใสใ่ จในรายละเอียด
4.2.5 Revenue Stream = ค่าโปรแกรม
4.2.6 Key Resources = อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ โปรแกรม IDE
4.2.7 Key Activities = ออกแบบโปรแกรมทสี่ ามารถใช้งานไดจ้ ริงตาม

วตั ถุประสงค์
4.2.8 Key Partners = โรงพยาบาล บา้ นพักพิง
4.2.9 Cost Structures = ค่าท่ีปรกึ ษาทําโปรแกรมเมอร์ คา่ ลิขสทิ ธใ์ นโปรแกรม

คา่ ลิขสทิ ธ์รปู ภาพประกอบค่าเซฟิ เวอร์

การเก็บรวบรวมขอมลู

การรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยวางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยอาศัยความร่วมมือจาก
การสุม จากนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปท่ี 1-2 และนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ปท่ี 1 วิทยาลัยพณิชย
การบางนา โดยช วงเวลาที่เก็บรวบรวมข อมูลในช วงเดือน มีนาคม - เมษายน พ.ศ.2563
จาํ นวน 30 คน

ขัน้ ตอนท่ี 1 ดาํ เนนิ การสง่ แบบสอบถามให้กับนักศึกษาระดับชน้ั ปวส.ปที่ 1-2 และนกั ศึกษา
ระดับปริญญาตรี ปท่ี 1 วิทยาลัยพณิชยการบางนา โดยผู้วิจัยจัดส่งและรับกลับคืนด้วยตนเอง พร้อม
ทัง้ ช้แี จงวิธีการตอบแบบสอบถามใหก้ ับผู้ตอบแบบสอบถามไดเ้ กิดความเขา้ ใจ

ข้ันตอนท่ี 2 นําแบบสอบถามท่ีได้รับมาตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ของ
แบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา จากน้ันนําข้อมูลที่ได้มาบันทึกในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ประมวลผลด้วย
โปรแกรมทางสถติ ิ

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

ผลการวิเคราะห์ท่ีได้จากวตั ถุประสงค์เร่ือง ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่น

ล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ่ ผู้จัดได้ดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและ

นําเสนอตามลาํ ดับ ดังน้ี

1 ผลการออกแบบและพัฒนาระบบต้นแบบเทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับช่วยเหลือผู้ป่วยใน

โรงพยาบาล

ขณะผู้จัดทําการออกแบบตัวระบบเพ่ือให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานในด้าน การ

ตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่นล้มสําหรบั คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธกี ารไอโอทเี พียโซ่ ดงั นี้

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

1.หน้าต่างบราวเซอร์ไว้สําหรับดูสถานะของตัวอุปกรณ์ ที่ส่งมาแสดงผลว่ามีค่าว่าตรวจพบ
หรือไม่ตรวจพบผูล้ ้มและสามารดขู ้อมลู ย้อนหลงั 24 ช่วั โมง และส่งข้อมูลแบบ Realtime ณ เวลาจรงิ

2. หน้าต่างส่วนนีค้ อื การเลือก board ท่ีจะใชง้ านและหนา้ code คือสว่ นหัวการเรียกใช้งาน
การเลือกใช้งาน ไลเบอร่ี ส่วนหัวคือเรียกใชง้ าน include ของตวั ฟงั ชนั นน้ั ๆที่จําเป็นในการทํางาน

3. กําหนดชื่อไวไฟทเ่ี ช่ือมตอ่ และรหัสผา่ น
4. ใส่ไลน์ token เพอื่ เช่อื มตอ่ กับ line notify
5. กําหนดตัวแปรท่ใี ช้
6. กําหนดขาดิจิตอลและ อนาล็อกของเซนเซอร์ทีใ่ ช้

277

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

8. ผลของการประเมินคณุ ภาพ
ผลการวิเคราะห์ของการประเมินคุณภาพ ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่น

ล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ่ โดยนําเสนอในรูปรูปแบบของค่าเฉล่ียและ
คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานรายละเอียดแสดงในตาราง ดังน้ี
ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ของการประเมินคุณภาพ ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือน

การลื่นลม้ สําหรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใชว้ ธิ ีการไอโอทเี พียโซ่ ดงั นี้

รายการ ค่าเฉลย่ี คา่ เบง่ี เบน ระดบั คณุ ภาพ
( ̅ ) มาตราฐาน

1. วัสดุท่ีใชใ้ นการทาํ อุปกรณ์ 3.50 0.51 ดีมาก

2. ความทนทานของตวั อุปกรณ์ 3.83 0.65 ดีมาก

3. พ้ืนทีใ่ นการใชง้ านของตัวอุปกรณ์ 3.23 0.82 ดมี าก

4. ขนาดของตวั อุปกรณ์ 4.00 0.79 ดมี าก

5. หลักการทํางานของอปุ กรณ์ 4.27 0.69 ดมี าก

6. ความปลอดภัยของอุปกรณ์ 3.63 0.61 ดีมาก

7. ความเหมาะสมจุดทต่ี ดิ ตั้งอุปกรณ์ 3.77 0.86 ดมี าก

8. อปุ กรณ์มีความแม่นยําในการใชง้ าน 4.63 0.49 ดเี ยี่ยม

9. อปุ กรณ์สามารถเก็บบนั ทึกข้อมูลที่ถกู ส่ง 4.50 0.63 ดเี ย่ียม

10.อปุ กรณม์ คี วามสามารถที่ทําให้เกิดประโยชนใ์ นการใช้งาน 4.50 0.57 ดีเยี่ยม

11.ค่าท่ีถูกสง่ จากอุปกรณ์หาผใู้ ชถ้ ูกตอ้ งไหม 3.77 0.57 ดีมาก
รวม 3.97 0.65 ดมี าก

278

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

8.1 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจ

ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการ
ลื่นล้มสําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทีเพียโซ่ โดยนําเสนอในรูปรูปแบบของค่าเฉลี่ย
และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานรายละเอียดแสดงในตาราง ดังนี้
ตารางท่ี 1 แสดงผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ ระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้ง
เตอื นการลนื่ ลม้ สาํ หรบั คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทเี พียโซ่ ดังน้ี

รายการ คา่ เฉลยี่ ค่าเบ่ีงเบน ระดบั ความพึง

( ̅ ) มาตราฐาน พอใจ

1. อุปกรณ์สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย 3.50 0.90 พอใจมาก

2. อุปกรณส์ ามารถเชื่อมต่อกับโทรศัพท์ 4.10 0.71 พอใจมาก

3. อุปกรณม์ ีความซับซ้อนต่อการใชง้ าน 3.93 0.74 พอใจมาก

4. อุปกรณม์ ีหน้า Browser ตรวจสอบคา่ สถานะ 3.63 0.89 พอใจมาก

5. อุปกรณ์จะแจ้งค่าเขา้ line เม่ือเกดิ เหตุ 4.03 0.76 พอใจมาก

6. ความเสถียรตัวสัญญาณ wifi 3.53 0.94 พอใจมาก

7. อุปกรณม์ ีความแม่นยาํ ในการใชง้ าน 4.50 0.51 พอใจมากท่สี ุด

8. อปุ กรณส์ ามารถเก็บบันทกึ ขอ้ มลู ท่ีสง่ 4.37 0.49 พอใจมาก

9. อุปกรณ์มีความสามารถทีท่ ําให้เกดิ ประโยชนใ์ นการใชง้ าน 4.57 0.50 พอใจมากที่สุด

10.ค่าทีถ่ ูกส่งจากอุปกรณ์หาผู้ใช้ถูกต้องไหม 3.70 0.84 พอใจมาก

รวม 3.94 0.76 พอใจมาก

9.ขอ้ เสนอแนะ
1 ปรบั ปรุงการคาํ นวณของ Sensor ไดถ้ า้ นาํ ไปใชจ้ รงิ สําหรบั ต้มแบบเหมาะตอ่ การทดสอบการทาํ งาน
2 Sensor ทีใ่ ชม้ ีความแม่นยําตํ่ามากนอกจาก Piezo Sensor แลว้ ควรนํา Sensor ตัวอื่นมาประยุกคใ์ ชด้ ้วย

10.อภปิ รายผล

ในการวจิ ยั ครั้งนี้สามารถอภปิ รายผลไดด้ ังนี้
1 ในการพัฒนาระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการล่นื ล้มสําหรับคนไขใ้ นโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการไอโอทเี พีย
โซ (SLIPPINGAlertingandMonitoringSystemForPatientinhospitalusingIOT-Piezomethodology) โดยใช้โปรแกรม
ArduinoIDEและอุปกรณ์สาํ หรับใชต้ รวจจับแรงสั่นสะเทอื น ซ่งึ สอดคลอ้ งกับงานวิจัย ณฐั พัชญ์ ศรรี าจันทร์ และ ภีมวรรณ
ทวี การพัฒนาระบบแจ้งเตือนการโจรกรรมด้วยเซนเซอร์การตรวจจับการสั่นสะเทือนบนเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง
The Development Theft Notification System with Vibration Sensor on Internet of Things Technology โดยใช้โปรแกรม
ArduinoIDEในการพฒั นาระบบและใชเ้ ซนเซอร์การตรวจจับแรงสนั่ สะเทอื น
2 แบบแผนการออกแบบโมเดลธรุ กิจทไ่ี ดอ้ อกแบบมาสอดคล้องกบั บรษิ ทั กรงุ เทพดสุ ิตเวชการจาํ กัด(มหาขน)

279

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี

3 คุณภาพของระบบตน้ แบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลืน่ ล้มสําหรบั คนไข้ในโรงพยาบาลโดยใชว้ ิธกี ารไอโอ
ทีเพียโซ (SLIPPINGAlertingandMonitoringSystemForPatientinhospitalusingIOT-Piezomethodology) อยู่
ในระดับดีมาก โดย 3 อันดับแรกท่ีผู้เช่ียวชาญให้คะแนนมากที่สุดคือ 1.อุปกรณ์มีความแม่นยําในการใช้งาน 2.
อปุ กรณส์ ามารถเกบ็ บันทึกข้อมูลที่ถกู ส่ง3.อปุ กรณ์มีความสามารถท่ที ําให้เกิดประโยชน์ ในการใชง้ าน สอดคลอ้ งกับ
ผลวิจัยนิธิดาวิวัฒน์พานชิ และภัทรภรอินทนาศักด์ิ แอปพลิเคช่ันแจ้งเตือนวันตรวจสภาพรถยนตร์ Application
forcarcheckingnotificationซึง่ พบวา่ คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี

4 ความพึงพอใจของระบบต้นแบบการตรวจตราและแจ้งเตือนการลื่นล้ม สําหรับคนไข้ในโรงพยาบาลโดยใช้
วิธีการไอโอทีเพียโซ (SLIPPING Alerting and Monitoring System For Patient in hospital using IOT-Piezo
methodology)อยู่ในระดับพอใจมาก โดย 3 อันดับแรกที่ผู้ใช้งานระบบให้คะแนนมากท่ีสุดคือ 1.อุปกรณ์มีความ
แม่นยําในการใช้งาน2.อุปกรณ์มีความสามารถท่ีทําให้เกิดประโยชน์ในการใช้งาน 3.ความเสถียรตัวสัญญาณ wifi
สอดคล้องกับผลวิจัย กาญจนาเพิมพูล มานสิ าระชะตะและหทัยรตั น์ เกตมุ ณีชยั รตั น์ ซง่ึ พบว่าอย๋ใู นระดบั ดมี าก

บรรณานุกรม 280

(1) จากpiezoelectricคอื อะไรเขา้ ถงึ ไดท้ ี่ https://navapadol.files.wordpress.com/2016/01/chapter-02-02.pdf
(2) ภาษาทใ่ี ชใ้ นการเขยี นแอพพลเิ คชัน่ จาก บริษทั ไอโอเทค เอน็ เตอร์ไพรส์ จํากดั (สาํ นักงานใหญ่)

เข้าถงึ ไดท้ ี่ https://iotech.co.th/51-ภาษา-programming-ที่ดที ส่ี ุดในการ/
(3) ขอ้ มูลพรอ้ มประวตั ิ ซีแอนดเ์ อม็ เปอร์สเปคช่นั (C&M Perspection)

เขา้ ถึงไดท้ ี่ http://www.perspections.org/contact.php
(4) เพยี โซอิเล็กทรคิ (Piezoelectric)

เขา้ ถงึ ไดท้ ่ี https://navapadol.files.wordpress.com/2016/01/chapter-02-02.pdf
(5) โปรแกรม Arduino จาก POSTED ON 11 MARCH 2017 BY SUPPORT THAIEASYELEC

เขา้ ถงึ ไดท้ ่ี https://blog.thaieasyelec.com/what-is-arduino-ch1/
(6) ระบบฐานข้อมูล (Database System) จาก Subscribe AJ. NEST THE SERIES

เข้าถึงไดท้ ่ี https://www.glurgeek.com/education/ระบบฐานข้อมลู -database-system-
คือ-ระบบ/จาก October 24, 2015 mellow yellow
เขา้ ถึงไดท้ ่ี https://www.marketingoops.com/news/biz-news/business-model- canvas/
(7) จาก บทความทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ “ไมโครคอนโทรลเลอร”์
เข้าถงึ ไดท้ ่ี https://agencyelectronics.com/th/articles/9699-PICไมโครคอนโทรลเลอร์
“สบื ค้นวนั ที่ 19 January 2017”
(8) จาก Aroonroj Yolsuriyan “Black box testing and white box testing”
เข้าถงึ ได้ท่ี https://medium.com/@noharapleng/black-box-testing-and-white-box-
testing-179608779a46 “Dec 26, 2018”
(9) จาก WYNNSOFT SOLUTION CO,LTD. “MOBILE APPLICATION แบ่งได้กีป่ ระเภท”
https://www.wynnsoft-solution.com/บทความ/What-are-the-different-types-of-
applications “15 กนั ยายน 2561”

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ส่ือประชาสมั พนั ธส์ าหรับ บริษทั ไอ.ท.ี โซลชู ่นั คอมพิวเตอร์ ไทยแลนด์ จากดั โดยใช้เทคโนโลยี
ภาพเสมือน 3 มิติ

(Promotion Media Development and Design For I.T. Solution Computer
(Thailand) co.,ltd. Using Augmented Reality AR)
ณฐั ภรณ์ เศรษฐเ์ บญจพล, ภูธร สุวรรณศลิ ป์
Nattaporn Sedbenchapon, Phutorn Suwannasin

นกั ศึกษาปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ตอ่ เน่ือง)
สถาบนั อาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร วทิ ยาลยั พณชิ ยการบางนา

E-mail: [email protected], E-mail: [email protected]
อาจารย์สรยา เปรยี้ วประสิทธิ์, อาจารย์สุจิตรา ไวยรตั นา, อาจารยท์ นุ มา ชนิ วงศ์
E-mail: [email protected] [email protected] [email protected]

บทคดั ยอ่

การวจิ ยั ครงั้ นี้มวี ัตถปุ ระสงค์ 1.เพือ่ ออกแบบและพัฒนาส่ือประชาสัมพันธ์สาหรับ บรษิ ัท ไอ.
ท.ี โซลูชัน่ คอมพวิ เตอร์ ไทยแลนด์ จากดั โด ยใช้เทคโนโลยีภาพเสมือน 3 มติ ิ 2.เพอ่ื หาคณุ ภาพของ
สื่อประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูช่ัน คอมพิวเตอร์ ไทยแลนด์ จากัด โดยใช้เทคโนโลยี
ภาพเสมือน 3 มิติ 3.เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของสื่อประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูช่ัน
คอมพิวเตอร์ ไทยแลนด์ จากัด โดยใช้เทคโนโลยีภาพเสมือน 3 มิติ 4. เพ่ือออกแบบโมเดลธรกุ ิจ กลุ่ม
ตัวอย่างที่ใช้ศึกษาประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน เพ่ือประเมินคุณภาพของส่ือ นักศึกษา
วิทยาลยั พณชิ ยการบางนา จานวน 30 คนเพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจท่ีมตี ่อสื่อประชาสัมพันธ์ เคร่ืองมือ
ท่ีใช้ในการทาโครงการและเก็บข้อมูล แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมินคุณภาพสื่อ และสื่อ
ประชาสัมพันธ์ฯ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจยั พบวา่

ผลการออกแบบพัฒนาส่ือประชาสัมพันธ์ ด้วยแนวคิดการออกแบบส่ือประชาสัมพันธ์ฯ 5
ข้นั ตอน ผวู้ ิจัยไดใ้ ชโ้ ปรแกรม Vindinoti ผลจากการประเมินคุณภาพส่ือประชาสมั พนั ธส์ าหรับ บรษิ ัท
ไอ.ที. โซลูช่ันคอมพิวเตอร์ (ไทยแลนด์) จากัด โดยใช้เทคโนโลยีภาพเสมือน 3 มิติ พบว่า อยู่ในระดับ
มาก ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของผู้ใชส้ อ่ื ประชาสัมพันธ์ฯ มีระดบั ความพงึ พอใจอยู่ในระดับ มาก

281

บทความผลงานวจิ ยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

1.บทนา
เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 จัดเป็นแขนงหน่ึงของงานวิจัยด้านวิทยาการ

คอมพิวเตอร์ ว่าด้วยการเพ่ิมภาพเสมือนของโมเดลสามมิติที่สร้างจากคอมพิวเตอร์ลงไปในภาพที่ถ่าย
มาจากกล้องวิดีโอ กลอ้ งเว็บแคม หรือกล้องในโทรศัพท์มือถือ แบบเฟรมต่อเฟรมด้วยเทคนิคทางด้าน
คอมพิวเตอร์กราฟิก แต่ด้วยข้อจากัดทางเทคโนโลยี จึงมีการใช้ไม่แพร่หลายเท่าไหร่ แต่ปัจจุบัน
เทคโนโลยีมือถือ และการสื่อสารข้อมูลไร้สาย รวมท้ังการประมวลต่าง ๆ มีความรวดเร็วขึ้นและมี
ราคาถกู จึงทาให้อปุ กรณ์สมาร์ทโฟน และแทบเลต็ ทาให้เทคโนโลยีที่อยู่แต่ในห้องทดลอง กลบั กลาย
มาเป็นแอพทีส่ ามารถดาวน์โหลดมาใช้งานกันงา่ ย ๆ ไปแล้ว โดยในชว่ ง 2-3 ปมี าน้ี AR เป็นเร่ืองที่ถูก
กล่าวถึงอยู่เป็นระยะ แม้จะไม่นิยมเหมือนแอพตัวอ่ืน ๆ ก็ตาม แต่อนาคตยังไปได้อีกไกล ทั้ง VR
และ AR สามารถนามาประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวางหลากหลาย ทั้งด้าน อุตสาหกรรม การทหาร
การแพทย์ การตลาด การบันเทิง การส่อื สาร และ การศึกษา

เทคโนโลยีเสมือนจริงนี้ มีหลักการทางานโดยสามารถแบ่งประเภทตามส่วนวิเคราะห์ภาพ
(Image Analysis) เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การวเิ คราะห์ภาพโดยอาศยั Marker เป็นหลกั ในการทางาน
(Marker based AR) และการวิเคราะหภ์ าพโดยใชล้ กั ษณะตา่ ง ๆ ทีอ่ ยู่ในภาพมาวเิ คราะห์ (Marker-
less based AR) หลกั การของเทคโนโลยเี สมอื นจริง ประกอบด้วย

- Marker (หรอื ท่เี รียกวา่ Markup)
- กลอ้ งวดิ โี อ เว็บแคม กลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ หรือ ตัวจับ Sensor อน่ื ๆ
- ส่วนการแสดงผลภาพ เช่น จอภาพจากอปุ กรณ์แสดงผล
- ซอฟต์แวร์สว่ นประมวลผลเพือ่ วตั ถุแบบสามมิติ object 3D
บริษัท ไอ.ที.โซลูชั่น คอมพิวเตอร์ (ไทยแลนด์) จากัด จัดจาหน่าย ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์นาเข้า
ซอฟต์แวร์ต่างประเทศ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ติดต้ังระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและดูแลแก้ไขปัญหา
การใช้งานหลังการขายให้กับลูกค้า รวมถึงบริการเช่าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และศูนย์อบรมการใช้งาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยผู้เชี่ยวชาญท่ีผ่านการรับรองมาตรฐานจากเจ้าของผลิตภัณฑ์โดยจะต้องมี
การประเมินตาม หลักเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้อย่างเข้มข้นพร้อมทั้งยอดจาหน่ายอย่างสม่าเสมอซ่ึงบ่งบอก
ได้ถึงความมั่นใจของลูกค้าท่ีมีให้เรา ทั้งนี้บุคลากรจะต้องได้รับ การอบรมฝึกฝนท้ังฝ่ายเทคนิคและ
ฝ่ายขายเพ่ือให้ผ่านการรับรองจากเจ้าของผลิตภัณฑ์ ตามมาตรฐานรวมไปถึงการจัดกิจกรรมท่ีให้
ความรูแ้ ก่ ลูกคา้ ใหท้ นั ตามเทคโนโลยีใหมๆ่

282

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

ปัญหาของ บริษัท ไอ.ที.โซลูช่ัน คอมพิวเตอร์ (ไทยแลนด์) จากัด เน่ืองจากลูกค้าท่ีได้รับการ
ฝึกอบรมจากได้มีการทาหลักสูตรคู่มือในการใช้งานเพื่อเรียนรู้โปรแกรม แต่คู่มือการใช้งานเม่ือลูกค้า
อบรมเสร็จก็ไม่ได้งานต่อจึงทาให้ลูกค้าพลาดโอกาสต่าง ๆ มากมายเก่ียวกับ บริษัท ไอ.ที.โซลูชั่น
คอมพิวเตอร์ (ไทยแลนด)์ จากัด และไมร่ ู้ว่า บรษิ ัท ไอ.ที.โซลชู น่ั คอมพวิ เตอร์ (ไทยแลนด)์ จากัด เปิด
บริการเกีย่ วกับอะไร

ดังน้ันผู้จัดทาจึงเล็งเห็นคู่มือการใช้งานสามารถนามาต่อยอดเพ่ือเกิดประโยชน์ AR เพื่อมา
ปรบั ใช้เป็นสือ่ นาเสนอในรูปแบบของ AR ในสอ่ื ประชาสมั พันธข์ องสถานประกอบการ เพื่อสร้างความ
น่าสนใจให้กบั คู่มือการใช้งานโดยเป็นภาพเสมือนจรงิ 3 มติ ิ เพื่อเพม่ิ ความสนใจมากยงิ่ ขึ้น

2.วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพ่ือออกแบบและพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูช่ัน คอมพิวเตอร์
ไทยแลนด์ จากัด โดยใช้เทคโนโลยีภาพเสมอื น 3 มิติ
2. เพ่ือหาคุณภาพของสื่อประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูช่ัน คอมพิวเตอร์ ไทย
แลนด์ จากัด โดยใชเ้ ทคโนโลยีภาพเสมอื น 3 มติ ิ
3. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของสื่อประชาสัมพนั ธ์สาหรับ บรษิ ัท ไอ.ท.ี โซลชู ั่น คอมพิวเตอร์
ไทยแลนด์ จากดั โดยใช้เทคโนโลยภี าพเสมอื น 3 มติ ิ
4. เพ่ือออกแบบโมเดลทางธุรกิจ

3.วธิ ีการดาเนินการวจิ ัย
1.ขั้นตอนการออกแบบส่ือฯ ทางคณะผู้จัดทาได้เริ่มวิเคราะห์ออกแบบส่ือ ตามหลัก

แนวความคดิ ของ (มนตช์ ยั เทยี นทอง, 2554) และผนวกกบั เทคโนโลยีภาพเสมอื น 3 มติ ิ ดงั นี้
1.1 Analysis เปน็ ข้นั ตอนของการวเิ คราะห์
1. ลูกค้าส่วนมากท่ีได้รับการเทรนกับทางบริษัทเสร็จ จะลืมว่าหนังสือใน

หน้าสุดท้ายจะมีข้อมูลของบรษิ ัท เพ่ือให้หนังสือมีความน่าสนใจมากขึ้นและสามารถนากลบั มาใช้ใหม่
เป็นส่ือในการติดต่อได้

2.ช่องทางการติดตอ่ ทางบริษัทลูกคา้ เข้าถึงได้ยากแม้จะได้รบั การเทรนแลว้
ลูกคา้ ที่สนใจกจ็ ะติดต่อประชาสัมพนั ธ์ยากลาบาก เพื่อลดขนั้ ตอนการคน้ หาใหล้ ูกค้าสามารถติดต่อได้
สะดวกขนึ้

283

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

1.2 Design เปน็ ขั้นตอนของการออกแบบ
1.2.1 สร้างสตอรบ่ี อร์ดขัน้ ตอนการสรา้ งสอื่ เทคโนโลยภี าพเสมอื น 3 มติ ิ

1.3 Development เป็นขนั้ ตอนของการพฒั นา
เว็บ vidinoti เป็นเว็บในการสร้างและพัฒนาส่ือ AR โดยการสมัคร และใช้

งานโปรแกรมข้ันพื้นฐาน ให้อยู่ในรูปของคาส่ังที่ถูกต้อง ตรงตามรูปแบบของการใช้งานเครื่องมือ ให้
อยใู่ นระบบปฏบิ ัตกิ าร Android หรอื IOS โดยผพู้ ัฒนาได้เริ่มหาวธิ ีสมัครเวบ็ vidinoti และใชง้ านเว็บ
V-DIRECTOR ทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาเทคโนโลยภี าพเสมือน 3 มิติ

2.ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
2.1 ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาครัง้ นีไ้ ดค้ ือ นักศกึ ษา วิทยาลัยพณชิ ยการบางนา
2.2 กลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการศึกษาคร้ังนคี้ อื
2.3 ผ้เู ชย่ี วชาญประเมินคณุ ภาพ
2.4 ผ้เู ชี่ยวชาญแบบประเมนิ เครอ่ื งมือ

3. ขอบเขตอุปกรณ์
3.1 Smart Phone
3.2 AR Code

4. ขอบเขตโปรแกรม
4.1 Vidinoti
4.2 V-player

284

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

4.ผลการวิจัย
สว่ นที่ 1 ผลการออกแบบสื่อประชาสัมพนั ธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูชน่ั คอมพวิ เตอร์

ไทยแลนด์ จากัด โดยใช้เทคโนโลยภี าพเสมือน 3 มติ ิ

ภาพท่ี 1 หน้าฟีเจอร์สื่อประชมสัมพนั ธ์
สว่ นท่ี 2 ประเมินคุณภาพ
ประเมินคุณภาพของส่ือประชาสัมพันธส์ าหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูชัน่ คอมพวิ เตอร์ ไทยแลนด์
จากัด โดยใชเ้ ทคโนโลยภี าพเสมือน 3 มิติ

ด้านการออกแบบ ( ̅) S.D. เกณฑป์ ระเมนิ
มกี ารออกแบบสวยงาม
สสี นั ดึงดูดนา่ สนใจ 4.33 0.94 มากที่สุด
ดา้ นการเน้ือหา
ขนาดตวั อักษรเหมาะสม 4.33 0.47 มาก
รปู แบบตัวอักษรเหมาะสม
ข้อความส่ือเข้าใจงา่ ย 4.00 0.82 มาก

3.33 0.47 ปานกลาง

3.33 0.47 ปานกลาง

285

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ดา้ นการใชง้ าน

สญั ลักษณร์ ปู ภาพเหมาะสม 2.67 0.47 ปานกลาง

มกี ารเชื่อมโยงทถ่ี ูกตอ้ ง 3.33 0.47 ปานกลาง

สื่อมีความยดื หย่นุ สามารถนามาพัฒนาต่อได้ 3.33 0.47 ปานกลาง

มีความรวดเรว็ ในการใชง้ าน 4.33 0.94 มาก

รวม 0.61 3.78 มาก

จากตารางที่ 1 ผลการประเมินภาพคุณภาพ สื่อประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูช่นั
คอมพวิ เตอร์ ไทยแลนด์ จากดั โดยใชเ้ ทคโนโลยีภาพเสมือน 3 มติ ิ ภาพรวมอยู่ในระดับ เม่อื พจิ ารณา
เป็นรายข้อ มีการออกแบบสวยงาม อยู่ในระดับมากที่สุด สีสันดึงดูดน่าสนใจ อยู่ในระดับ ขนาด
ตัวอักษรเหมาะสม อยู่ในระดับมาก มีความรวดเร็วในการใช้งาน อยู่ในระดับมาก ตัวอักษรเหมาะสม
อย่ใู นระดับปานกลาง ขอ้ ความส่ือเข้าใจงา่ ย อยู่ในระดบั ปานกลาง สัญลกั ษณร์ ูปภาพเหมาะสม อยใู่ น
ระดับปานกลาง มีการเช่อื มโยงท่ีถูกตอ้ ง อยใู่ นระดับปานกลาง

สว่ นท่ี 3 แบบประเมินความพึงพอใจ

ดา้ นการออกแบบ ( ̅) S.D. เกณฑป์ ระเมนิ

ออกแบบสวยงาม 4.73 0.43 มากที่สดุ

รูปแบบนาเสนอดึงดดู นา่ สนใจ 4.57 0.49 มากทสี่ ุด

จัดวางรปู แบบภาพสินคา้ นาเสนอเหมาะสม 4.50 0.63 มาก

ด้านการเนอื้ หา

ขนาดตวั อักษรเหมาะสม 4.40 0.61 มาก

เนือ้ หาเข้าใจงา่ ย 4.57 0.62 มากทีส่ ดุ

เนอ้ื หาทีน่ าเสนอมคี วามทนั สมยั 4.63 0.55 มากทส่ี ุด

เน้อื หามคี วามสอดคลอ้ งกบั ภาพสนิ ค้า 4.63 0.48 มากทส่ี ุด

ดา้ นการใช้งาน

มีการใชง้ านท่ีงา่ ยไม่ซบั ซ้อน 4.50 0.56 มาก

มีความรวดเร็วในการใช้งาน 4.53 0.62 มากทีส่ ุด

รวม 4.56 0.57 มากท่สี ดุ 286

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

จากตารางท่ี 2 ผลประเมินความพึงพอใจของสอ่ื ประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลชู ่ัน
คอมพิวเตอร์ ไทยแลนด์ จากัด โดยใช้เทคโนโลยีภาพเสมือน 3 มติ ิ ภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มากท่สี ุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ออกแบบสวยงาม มีระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ รูปแบบนาเสนอ
ดงึ ดดู น่าสนใจ มีระดับความพึงพอใจมากทส่ี ุด เน้อื หาเขา้ ใจง่าย ระดบั ความพึงพอใจมากที่สุด เนอ้ื หา
ที่นาเสนอมีความทันสมัย มีระดับควา มพึงพอใจมากท่ีสุด เนื้อหามีความสอดคล้องกับภาพสินค้า มี
ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด มีความรวดเร็วในการใช้งาน มีระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด จัดวาง
รูปแบบภาพสินค้านาเสนอเหมาะสม มีระดับความพึงพอใจมาก ตัวอักษรเหมาะสมมีระดับความพึง
พอใจมาก มีการใช้งานทงี่ ่ายไม่ซับซ้อน มีระดบั ความพงึ พอใจมาก
6.สรุปผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ

สื่อประชาสัมพันธ์สาหรับ บริษัท ไอ.ที. โซลูชั่นคอมพิวเตอร์ (ไทยแลนด์) จากัด โดยใช้
เทคโนโลยภี าพเสมือน 3 มิติ แนะนาว่าควรเครือ่ งมอื ทส่ี ร้างและใชง้ านสื่อเทคโนโลยภี าพเสมอื น 3 มิติ
ท่ีเป็นของบริษัท ไอ.ที. โซลูช่ันคอมพิวเตอร์ (ไทยแลนด์) จากัด โดยเฉพาะ และจดลิขสิทธ์ิความเป็น
เจา้ ของเมอ่ื สมบูรณ์

ปญั หาและอุปสรรค
เนื่องจากเครื่องมือท่ีใช้สร้างเทคโนโลยีภาพเสมือน 3 มิติ เป็นแบบฟรี ทาให้ไม่สามารถใช้งานบาง
ฟังกช์ ่ันได้ และ การสแกน AR Code จะต้องใช้อนิ เทอร์ความเรว็ สูงเพอ่ื การใชง้ านทรี่ วดเรว็

287

บทความผลงานวิจยั นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอา้ งอิง

1.ธารทิพย์ รัตนวิจารณ์และ ชนิชา พงษ์สนิท (2559) โลกเสมือนจริง”ท่ีกลายเป็น”โลก
สมจริง”ในภาคอุตสาหกรรมการผลิต “Merged Reality”become”Reality” in Maunfacture
industy

2.Kangdon Lee (2012) วจิ ยั เร่ืองความเปน็ จรงิ ที่เพิม่ ขน้ึ ในดา้ นการศกึ ษาและการฝึกอบรม
การพัฒนาแบบจาลองสารสนเทศสามมิติเชิงแนะนาสาหรับผลิตภัณฑ์ ฟาร์มเกษตร ด้วยเทคโนโลยี
ความเป็นจริงเสมือน THE DEVELOPMENT OF 3D INTERACTIVE RECOMMENDATION MODEL
FOR AGRICULTURE PRODUCTS USING AUGMENTED REALITY TECHNOLOGY

3.Sheng Wu, Boxiang Xiao and Xinyu Gu (2013) วิจัยเร่ืองการประยุกต์ใช้งานและมี
โหมดการทางานโดยตรงและประสาทสมั ผัสสาหรบั การปฏิสมั พันธข์ องมนษุ ย์กับเคร่ืองจกั ร

4 . Javier Santana- Fernández Jaime Gómez- Gil and Laura del- Pozo- San- Cirilo
(2010) วิจัย เรอ่ื งระบบคาแนะนาสาหรับรถแทรกเตอร์ในปัจจุบนั นาเสนอข้อมลู ของผ้ขู ับข่ีเพ่อื ดาเนิน
การด้านการเกษตรอย่างดีที่สดุ

5.Grassi and T M Klein (2016) วิจัยเรอื่ ง พลงั งานลมเป็นหนึ่งในแหล่งพลังงาน
6.ธรี เดชและ คณะ (2558) การออกแบบและการพฒั นาโปรแกรมประยุกต์บน
7.ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์สาหรับการสร้างส่ือการเรียนการสอนเพ่ิมเติมจากเนื้อหาใน
หนังสอื
8.สิริกานต์ มีธัญญากรและ ชนาพร รันสันเทียะ (2558) วิจัยการออกแบบหนังสือภาพความ
เป็นจรงิ เสริม เร่ือง มา้ ในป่าหิมพานตโ์ ดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือสร้างแหลง่ ความรเู้ กย่ี วกับสตั ว์ประเภทม้า
ในป่าหมิ พานต์
9.สุขิตา บุญร่วมและ ดวงกมล โพธิ์นาค (2558) ศึกษาส่ือการเรียนรู้ในปัจจุบัน
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NRRU/article/view/92140

288

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การใช้แอปพลิเคชันเพอ่ื สร้างการยอมรับจากผู้บรโิ ภคของ
บริษัท วัน อนิ ฟนิ ิตี้ บวิ ดงิ้ สแตนดารด์ จากดั

Using the app to build consumer acceptance of One Infinity Building
Standard Company Limited

นางสาวรจนา พมุ่ เทยี น1 นางพัฒพมิ ล ยะปัญญา2 นางสาวศิริพร คงเสรดี ารง3 นางสาวศริ ิพร สงั ข์สุวรรณ4
Rotchana Phumthian1 Patpimon Yapaya2 Siriporn Kongsereedamrong3 Siriporn Sangsuwan4
1 นกั ศกึ ษา สาขาวิชาการตลาด วทิ ยาลยั พณิชยการเชตพุ น โทร. 0642269327 E-mail [email protected]
2 อาจารย์ สาขาวิชาการตลาด วทิ ยาลัยพณิชยการเชตพุ น โทร. 0831800836 E-mail [email protected]
3 อาจารย์ สาขาวชิ าการตลาด วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น โทร. 0863343124 E-mail [email protected]
4 อาจารย์ สาขาวิชาการตลาด วทิ ยาลัยพณิชยการเชตุพน โทร. 0926542629 E-mail [email protected]

บทคดั ยอ่
การวิจยั คร้งั นมี้ วี ตั ถุประสงค์เพื่อสร้างการยอมรับจากกลุ่มผูบ้ ริโภค และเพมิ่ ชอ่ งทางการติดต่อสื่อสาร
และการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ บริษัท วัน อิน ฟินิตี้ บิวด้ิง สแตนดาร์ด จากัด ให้บุคลภายนอกรู้จักบริษัทมากย่ิงขน้ึ
โดยผู้วิจยั เลอื กกลุ่มตวั อย่าง คอื ผใู้ ชบ้ ริการของบริษัท วนั อินฟินิต้ี บวิ ดิ้ง สแตนดาร์ด จากัด จานวน 20 คน โดย
ใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่าผู้ใช้บริการเป็นเพศชาย มีอายุ 51 - 60 ปี
ระดับการศึกษา ปวส. /อนุปริญญา อาชีพ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีรายได้เฉล่ียต่อเดือน 30,001 – 40,000 บาท
มชี ่วงเวลาในการเข้าใชง้ านแอปพลิเคชัน เวลา 20.01 – 00.00 น. ระยะเวลาในการเข้าใช้งานแอปพลเิ คชันใน
แตล่ ะคร้งั 2 – 4 ชัว่ โมง/คร้ัง ความสมา่ เสมอในการเขา้ ใช้งานแอปพลิเคชนั ทุกวนั มีวัตถุประสงคใ์ นการเข้าใช้
งานแอปพลเิ คชัน เพ่ือความบนั เทิง เชน่ ดหู นัง ฟงั เพลง การเข้าใช้งานแอปพลเิ คชันในแต่ละครั้ง มกั เขา้ ใชง้ าน
จากโทรศัพท์มอื ถอื โดยแอปพลิเคชัน Facebook มีผู้เขา้ ใชบ้ รกิ ารมากทส่ี ุด
ภาพรวมของกลุ่มลูกค้าท่ีได้กรอกแบบสอบถามความพึงพอใจเก่ียวกับการใช้แอปพลิเคชันเพ่ือสร้างการยอมรับ
จากผู้บรโิ ภคของบริษทั วนั อนิ ฟินิต้ี บวิ ดงิ้ สแตนดารด์ จากัด ค่าเฉลยี่ ( X ) 4.53 อยู่ในเกณฑ์มากทสี่ ดุ
คาสาคัญ : แอปพลิเคชัน การยอมรบั ผู้บรโิ ภค

289

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract
This research aims to build consumer acceptance. And increase communication
channels And public relations about One Infinity Building Standard Co., Ltd. to the outsiders to
know the company better. The researcher selected a sample of 20 users of One Infinity
Building Standard Company Limited. By using percentage, mean and standard deviation
statistics. It was found that the service users were male, aged 51-60 years old, high vocational
education / diploma, professional trade / personal business. Have an average monthly income
of 30,001 - 40,000 baht with a period of using the application from 20.01 - 00.00 The duration
of each access to the application is 2 - 4 hours / time. Consistency in the daily use of the
application Have a purpose To access the application For entertainment such as watching
movies, listening to music Each access to the application Often accessed from mobile phone
The Facebook application has the most traffic.
The overview of the customer groups who completed the customer satisfaction
questionnaire on the use of applications to generate consumer acceptance of One Infinity
Building Standard Co., Ltd. Average ( X ) 4.53 is very high. Most
Keywords: consumer , acceptance , application

1. บทนา

สังคมในปัจจุบนั เทคโนโลยีการติดต่อส่ือสารไดร้ บั การพฒั นาให้มีความทนั สมัย มคี ณุ สมบัตกิ ารทางาน

อย่างครบครัน เพื่อตอบสนองความต้องการให้มากที่สุด ทาให้สื่อสังคมออนไลน์ผ่านโทรศัพท์เคล่ือนที่

กลายเป็นช่องทางการติดต่อส่ือสารหลักท่ีผู้ใช้ให้ความสนใจและมีแนวโน้มการบริโภคสื่ออินเตอร์เน็ต

โดยเฉพาะเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) เน่ืองจากเครือข่ายออนไลน์เข้ามามีบทบาทใน

ชีวิตประจาวันอย่างมาก ผู้คนต่างใช้เครือข่ายส่ือสังคมออนไลน์ เพ่ือตอบสนองความต้องการในการใช้ชีวิตที่

เปลย่ี นแปลงไปอย่างเร่งรบี ไมว่ ่าจะเปน็ การทางาน การศกึ ษา การค้นหาขอ้ มูล การผ่อนคลาย ซง่ึ งา่ ยตอ่ การ

เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การศึกษาค้นคว้า ในชีวิตประจาวันไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารด้วยการพูดคุย

แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ผา่ นแอปพลเิ คชัน (Appication) 290

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

จากข้อมูลท่ีได้กล่าวมาข้างต้น จึงทาให้มีความสนใจและมีความต้องการท่ีจะใช้แอปพลิเคชัน เพ่ือ
นามาสร้างการยอมรับจากผู้บริโภค ที่มีความสนใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ภายในบริษัท วัน อินฟินิต้ี บิวดิ้ง
สแตนดาร์ด จากัด โดยที่จะทาการจัดสร้างเพจ (Fanpage) ทางเฟซบุ๊ก (Facebook) เพื่อเป็นการ
ประชาสัมพันธ์เกย่ี วกบั ผลงานตา่ งๆ ท่ที างบรษิ ัทได้ลงมือทา เกร็ดความร้ตู ่างๆ เชน่ เทคนิคการเลอื กผลติ ภัณฑ์
เพอื่ เป็นการประชาสัมพนั ธ์และทาให้บคุ คลภายนอกรจู้ ักบรษิ ัทมากยิง่ ขึ้นด้วยชอ่ งทางการติดต่อที่สะดวกสบาย
เพอื่ เป็นอีกหน่ึงทางเลือกที่ให้กลุ่มลูกค้าที่กาลังสนใจที่กาลังมองหาบริษัทรับสร้างบ้านได้พิจารณาผลงานจริงท่ี
เราได้ถา่ ยทอดลงไปในเพจ เพอ่ื ง่ายต่อการประกอบการพจิ ารณาตัดสนิ ใจเลือกผลติ ภัณฑ์มากย่งิ ข้ึน

2. วัตถุประสงค์การวิจัย
2.1 เพอื่ สรา้ งการยอมรับจากกลมุ่ ผ้บู ริโภค
2.2 เพ่อื เพ่มิ ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร และการประชาสัมพันธเ์ ก่ยี วกับ บริษัท วัน อนิ ฟินิต้ี บวิ ดิ้ง

สแตนดารด์ จากดั ใหบ้ ุคลภายนอกร้จู กั บริษทั มากยง่ิ ข้นึ

3. สมมติฐานของการวิจยั
3.1 การเผยแพร่แอปพลิเคชันของบริษัท วัน อินฟินิต้ี บิวดิ้ง สแตนดาร์ด จากัด ทาให้ผู้บริโภครู้จัก

บริษัทเพิ่มมากข้นึ
3.2 เมื่อคนรู้จักแอปพลิเคชันของบริษัท วัน อินฟินิต้ี บิวดิ้ง สแตนดาร์ด จากัด มากข้ึน การยอมรับ

จากผบู้ รโิ ภคและยอดขายเพิ่มขนึ้

4. วธิ กี ารดาเนนิ การวิจัย
4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ ลูกค้าและผู้ท่ีสนใจงานก่อสร้างที่มาใช้บริการบริษัท วัน อินฟินิต้ี บิวดิ้ง

สแตนดาร์ด จากัด
กลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ ลกู คา้ และผูท้ ่ีสนใจงานก่อสรา้ งที่มาใช้บริการบริษัท วัน อนิ ฟินติ ี้ บิวดิ้ง สแตนดาร์ด

จากดั จานวน 20 คน
4.2 เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัย
เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั คร้งั นี้ใชแ้ บบสอบถาม ดงั นี้ แบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ตอน ไดแ้ ก่

291

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้
ต่อเดือน

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชัน ประกอบด้วย ช่วงเวลาในการใช้งาน
แอปพลิเคชนั ระยะเวลาในการเข้าใชง้ านในแต่ละครั้ง ความสม่าเสมอในการใช้งานแอปพลิเคชนั วัตถุประสงค์
ในการเข้าใช้งานแอปพลิเคชัน ประเภทของอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าใช้งาน ประเภทของสื่อที่ใช้งาน ซ่ึงเป็น
แบบสอบถาม แบบตรวจรายการ (Chesk List)

ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ยี วกบั การยอมรบั การใช้แอปพลิเคชนั ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตรา
ส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ และได้สร้างขึ้นมาเพื่อให้คะแนนตามหลักของลิเคอร์ท สเกล
(Likert Scale) โดยแบ่งระดับความคิดเหน็ ออกเป็น 5 ระดบั ดังน้ี

เหน็ ด้วยมากท่ีสดุ ให้คะแนน 5 คะแนน

เหน็ ด้วยมาก ให้คะแนน 4 คะแนน

เหน็ ด้วยปานกลาง ให้คะแนน 3 คะแนน

เหน็ ดว้ ยนอ้ ย ใหค้ ะแนน 2 คะแนน

เห็นด้วยนอ้ ยท่ีสุด ใหค้ ะแนน 1 คะแนน

ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ / เพ่ิมเติม เก่ียวกับการใช้แอปพลิเคชันเพ่ือสร้างการยอมรับ ลักษณะเป็น

คาถามปลายเปิด (Open-ended questions)

5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพื่อนามาวเิ คราะห์ ผู้วิจยั ดาเนินการตามขัน้ ตอนดงั นี้
1. ขอความร่วมมือผู้มาใช้บริการและกลุ่มคนสนใจเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท วัน อินฟินิตี้ บิวดิ้ง

สแตนดารด์ จากดั ทงั้ หมด
2. จัดเก็บรวบรวมแบบสอบถามหลังจากที่ผู้มาใช้บริการและกลุ่มคนสนใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ

บรษิ ทั วัน อนิ ฟนิ ติ ้ี บวิ ดง้ิ สแตนดาร์ด จากดั กรอกแบบสอบถามเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ จานวน 20 ชุด ซงึ่ คดั แยก
แบบสอบถามทม่ี คี วามสมบูรณ์ และครบถว้ นตามท่ีกาหนดไว้เพ่ือนาไปวเิ คราะหข์ ้อมลู

3. ขอ้ มลู ทไี่ ด้จากแบบสอบถามปลายเปดิ ผวู้ จิ ัยสรุปความคิดเหน็ ในภาพรวมจากการวิเคราะหข์ ้อมลู

292

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

6. ผลการวิจยั

ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลปัจจัยสว่ นบคุ คลของผูต้ อบแบบสอบถาม

ปจั จัยส่วนบคุ คล จานวน ร้อยละ

(n = 20 คน) 55
45
เพศ
15
ชาย 11 20
25
หญิง 9 30
10
อายุ
10ร0้อยละ
21 – 30 ปี 3
5
31 – 40 ปี 4 25
10
41 – 50 ปี 5 30
25
51 – 60 ปี 6 5

61 ปี ข้นึ ไป 2 30
25
ปัจจัยส่วนบคุ คล รวม 20จานวน 45
(n = 20 คน)
ระดับการศกึ ษา 0
ต่ากวา่ ประถมศึกษา 1 5
ประถมศึกษา 5 10
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 2 45
ปวส. /อนุปริญญา 6 15
ปรญิ ญาตรี 5 25
สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 1
100
อาชีพ 6
พนกั งานบรษิ ทั /องค์กรเอกชน 5
ขา้ ราชการ/พนกั งานรัฐวิสาหกจิ 9
ค้าขาย/ธรุ กิจสว่ นตวั
0
รายได้เฉลยี่ ตอ่ เดือน 1
ตา่ กวา่ 10,000 บาท 2
10,000 – 20,000 บาท 9
20,000 – 30,000 บาท 3
30,000 – 40,000 บาท 5
40,000 – 50,000 บาท
50,000 บาทข้นึ ไป

293 รวม 20

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี


Click to View FlipBook Version