The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย

4.2.7 ทดสอบการส่งภาพถ่ายไปยัง Application line บนมือถือ เมื่อค่าของอุณหภูมิที่วัดได้

เกนิ 37.5 องศา ได้ผลดงั น้ี

ตารางท่ี 4-7 ทดสอบการส่งภาพถา่ ยไปยงั Application line บนมือถอื

ค่าอุณหภูมิ ครั้งท่ี 1 ครัง้ ที่ 2 คร้ังท่ี 3 คร้งั ท่ี 4 ครงั้ ที่ 5 หมายเหตุ

ตา่ กวา่ 37.5 องศา      ไมส่ ่งข้อมลู

37.5 องศา      ไม่ส่งข้อมลู

37.6 องศา      สง่ ข้อมลู

38.0 องศา      ส่งข้อมูล

40.0 องศา      ส่งขอ้ มลู

มากกว่า 40.0 องศา      ส่งขอ้ มูล

4.3 จากวตั ถุประสงคข์ อ้ ท่ี 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้เคร่ืองบันทึกข้อมลู ด้วยการรู้จา
ใบหน้าและวดั อุณหภมู ิดว้ ยบอร์ดราสเบอรี่พาย จากผ้ทู ดสอบจานวน 15 คน
ตารางที่ 4-7 แสดงผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ

ขอ้ รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลความ

1 วสั ดุอปุ กรณ์มีความแขง็ แรงทนทาน และสวยงาน 4.20 0.56 มาก
2 ชุดอปุ กรณม์ คี วามสามารถในการใชง้ านที่คุ้มค่า 4.00 0.65 มาก
3 การใช้งานไม่ยุ่งยาก 3.93 0.46 มาก
4 ลดข้นั ตอนในการทางาน 3.40 0.51 ปานกลาง
5 ฟังกช์ ้ันการใช้งานครบตามท่อี อกแบบ 3.67 0.49 มาก
6 ใชเ้ ทคโนโลยใี หเ้ กดิ ประโยชน์ 4.27 0.46 มากท่ีสุด
7 ความปลอดภัยในการใช้งาน 4.47 0.52 มากทส่ี ดุ
3.99 0.07 มาก
คา่ เฉลีย่ รวม

จากตารางท่ี 4-7 สามารถวิเคราะห์ความพึงพอใจ ลักษณะทางกายภาพของเคร่ืองบันทึก
ข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย ตามรายละเอียดทางด้านความพึง
พอใจดังน้ี

94

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

การออกแบบและการสรา้ งชน้ิ ส่วนของเครื่องบนั ทึกข้อมูลด้วยการร้จู าใบหนา้ และวดั อุณหภมู ิดว้ ยบอร์ด
ราสเบอร่ีพาย วัสดุอุปกรณ์มีความแข็งแรงทนทาน และสวยงาน อยู่ในเกณฑ์ที่มีความพึงพอใจมาก คือ x̅=4.20การ
ออกแบบเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย โดยชุดอุปกรณ์มี
ความสามารถในการใช้งานที่คุ้มค่า อยู่ในเกณฑ์ท่ีมีความพึงพอใจมาก คือ x̅=4.00การออกแบบขนาดของเคร่ือง
บันทกึ ข้อมลู ดว้ ยการรูจ้ าใบหนา้ และวัดอุณหภูมดิ ้วยบอร์ดราสเบอรพ่ี าย มกี ารใช้งานไมย่ ุง่ ยากอยู่ในเกณฑ์ทีม่ คี วาม
พึงพอใจมากคือ x̅=3.93การใช้งานเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรพ่ี าย
เปน็ การลดขนั้ ตอนในการทางานอยใู่ นเกณฑ์ท่มี ีความพงึ พอใจปานกลาง คือx̅=3.40เครือ่ งบนั ทึกขอ้ มูลดว้ ยการรจู้ า
ใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอร่ีพายมีฟังก์ชั้นการใช้งานครบตามที่ออกแบบ อยู่ในเกณฑ์ท่ีมีความพึง
พอใจมาก คือ x̅=3.67เคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย เป็นการใช้
เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ อยู่ในเกณฑ์ที่มีความพึงพอใจมากมากที่สุดคือ x̅=4.27และเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการ
รู้จาใบหน้าและวัดอุณหภมู ิด้วยบอร์ดราสเบอรพ่ี ายมีความปลอดภัยในการใชง้ านอยู่ในเกณฑ์ที่มีความพึงพอใจมาก
ท่สี ุด คือx̅=4.47เม่อื ทราบค่าเฉลยี่ ในแต่ละหัวข้อ แลว้ นาคา่ เฉลยี่ เหล่าน้นั ไปคานวณหาค่าเฉลย่ี รวมจึงสามารถสรุป
ได้ว่าความพึงพอใจอยูใ่ นเกณฑ์ท่ีมีความพึงพอใจมากคือค่าเฉลี่ย x̅=3.99

5. ผลสรปุ การวิจยั และข้อเสนอแนะ
5.1 ผลสรุปการวิจยั
5.1.1 สรุปผลการออกแบบและสร้างเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัด

อุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย สามารถออกแบบและสร้างเครื่องบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้า
และวัดอุณหภูมดิ ้วยบอร์ดราสเบอรีพ่ าย ได้สาเร็จและใชง้ านได้จริง

5.1.2 สรปุ ผลการหาประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองบนั ทึกข้อมลู ด้วยการรจู้ าใบหนา้ และวัด
อุณหภูมิด้วยบอร์ดราสเบอรี่พาย สามารถรู้จาใบหน้าผ่านกล้อง Webcam ได้ วัดอุณหภูมิผ่านโมดูล
วัดอุณหภูมิแบบไม่ต้องสัมผัส GY-906 ได้ สามารถบันทึกค่าไปยัง Google Sheet ได้ แจ้งเตือน
อุณหภูมิเกิน 37.5 องศา ไปยัง Application line บนมือถือได้ และการจัดเก็บภาพใบหน้าได้มาก
น้อยข้ึนอยูก่ ับขนาดของ MICROSD CARD

5.1.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานเครื่องบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัด
อุณหภูมิดว้ ยบอร์ดราสเบอร่ีพาย มีความพงึ พอใจมากท่สี ุดคือโครงการนี้ มีประโยชน์สามารถนาไปต่อ
ยอดได้ และมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุดคือ บอร์ดยังไม่เสถียรพอมีความหน่วงในการตรวจจับใบหน้า
และยังเป็นช้นิ งานท่ตี ้องพฒนาเพ่ิมเติมอีก

95

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

5.2 ขอ้ เสนอแนะ
5.2.1 การใช้งานเคร่ืองบันทึกข้อมูลด้วยการรู้จาใบหน้าและวัดอุณหภูมิ ยังมี

ความหน่วงของภาพ ตอ้ งเปลี่ยนกลอ้ ง ให้เปน็ รุ่นทีส่ ูงกว่านี้
5.2.2 การประมวลผลของเคร่ือง ยังมีความคลาดเคลื่อนในการแยกแยะความ

แตกตา่ งของใบหน้า ตอ้ งเปล่ียนบอร์ด raspberry pi เป็นรุ่นทสี่ ูงกว่านี้
5.2.3 ในการเขียนโปรแกรมยังไม่ครอบคลุมในการใช้งาน ต้องศึกษาเรื่องการเขียน

โคด้ การใช้คาสัง่ โคด้ ต่างๆ เพิ่มเติมอกี

6. เอกสารอา้ งองิ
[1] กัลยาณี บรรจงจิตร, (2551) ได้ทาการวิจัยเรื่อง ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ (Smart
Student Attendant Finger Scan System)
[2] นฤพนธ์ พนาวงศ,์ (2551) ได้ทาการวจิ ยั เรอื่ ง ระบบสารสนเทศตรวจสอบการเขา้ ร่วมกิจกรรมของ
นกั ศึกษาคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
[3] รศ.ดร.อาทิตย์ ศรีแก้ว, (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่อง เทคนิคการตรวจจับใบหน้าคนด้วยโครงข่าย
ART
[4] วรปภา อารีราษฎร์ อภิชาติ เหล็กดี และ ธเนศ ยืนสุข, (2558) ได้ศึกษา ผลการพัฒนาทักษะการ
เขยี นโปรแกรมควบคมุ ดว้ ยภาษาซี โดยใชเ้ รสพ์เบอรรี่ไพ

96

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ตูเ้ ล้ยี งกงุ้ เครย์ฟิชระบบอจั ฉรยิ ะ
Intelligent system crayfish shrimp

ปพณพัชร์ ปกั กังกลุ พิพัฒน์1 วสนั ต์ รน่ื วงษ์2
อาจารย์แสงอาทติ ย์ เจง้ วัฒนพงศ์3 อาจารย์เอกพจน์ เขยี วคล้าย4
Mr. Paponphat Pakkangkulpipat 1 Mr. Wason Ruenwong2
Mr. Sangartid Chengwattanapong3 Mr. Ekkapot Keawklai4

บทคัดย่อ
โครงการเร่ือง ตู้เลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชระบบอัจฉริยะ (Intelligent system crayfish shrimp) มี
วตั ถุประสงค์ 1) เพ่อื ศึกษาออกแบบและสรา้ งตู้เล้ียงกงุ้ ระบบอัจฉรยิ ะ 2) เพอ่ื ศึกษาประสทิ ธภิ าพตู้เลี้ยงกุ้งให้มี
ประสทิ ธภิ าพ 3) เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของกลมุ่ ตวั อยา่ งและผู้ทดลองใช้
กลุ่มผู้วิจัยได้ดาเนินการออกแบบโดยการใช้อุปกรณ์ต่างๆอันประกอบด้วย แผ่นเพลเทียร์ ,
บล็อกน้าระบายความร้อน , ฮีทซ่ิงระบายความร้อน , ชุดแปลงไฟพาวเวอร์ซัพพลาย 12v 30a , พัดลม 12v
ส่วนชุดคอนโทรล ใช้ บอรด์ ARDUINO UNO ทาหน้าท่ีประมวลผลกลาง ในการตรวจจบั เซนเซอรว์ ัดอุณหภูมิ
และค่า PH ในน้า เพ่ือนาไปประมวลผลและป้อนคาสั่งให้ชุดควบคุมแมกเนติกคอนโทรลเลอร์ส่ังงานเพ่ือ
ควบคมุ เครอ่ื งทาความเยน็ และชดุ ควบคมุ คา่ PH ในนา้
คำสำคัญ : ตเู้ ลีย้ งกุ้งเครย์ฟิชระบบอจั ฉรยิ ะ

97

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

The intelligent system crayfish shrimp aquarium project had ideas 1) to study, design
and construct an automatic shrimp aquaculture 2) to study the efficiency of shrimp
aquaculture 3) to study the satisfaction pleased of creamer and trial users.

The researcher performed the design using various devices, including the tier set, the
cooling, the cooling heat, the 12v 30a power scene set, the 12v fan, and the ARDUINO UNO
service package. Clean medium to detect, measure drills and pH in water to deliver results
and command silent finches to control refrigeration and water PH instruments.
Keywords: Intelligent system crayfish shrimp

บทนำ

ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ประกอบกิจการเพาะเล้ียงกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชกระจายอยู่เกือบทุก
จังหวัดทั่วประเทศ มีการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาช่วยในการแบ่งเบาภาระ ทาให้เกิดความสะดวกสบาย
มากย่งิ ขนึ้ เนื่องด้วยการเล้ียงก้งุ เครย์ฟชิ นั้น จาเปน็ ตอ้ งใช้การควบคมุ อุณภูมใิ นการเพาะเลี้ยง เพ่อื ทจี่ ะช่วยลด
อัตราการตายของกุ้ง ตู้เลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชระบบอัจฉริยะจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งท่ีสามารถกาหนดค่า PH ความ
เป็นกรด-ดา่ งของน้า ทั้งยังสามารถสงั่ การผา่ นระบบสมารท์ โฟนไดอ้ กี ดว้ ย

กลุ่มผู้วิจัยตระหนักเห็นถึงความสาคัญและปัญหาของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิช มีแนวคิดท่ีจะ
นาระบบเทคโนโลยมี าใช้ เพ่อื ท่ีจะช่วยเหลอื เกษตรกรผู้ท่ีประสบปัญหาด้านการเพาะเลย้ี งกุง้ เครย์ฟิช เนอ่ื งจาก
เกษตรกรบางคนนั้นไม่ค่อยได้ใส่ใจปัญหาของอุณภูมิในการเล้ียงรวมไปถึงปัญหาน้าเน่าเสียอันเนื่องมาจากผู้
เพาะเล้ียงเองนั้นไม่มีเวลาในการเปล่ียนถ่ายน้าในตู้เล้ียงกุ้งเครย์ฟิช ซึ่งปัญหาเหล่าน้ีมักจะทาให้กุ้งของ
เกษตรกรนนั้ ไมแ่ ขง็ แรงและมอี ัตราการรอดท่นี ้อยลง

1. วตั ถุประสงค์
1.1 เพอื่ ออกแบบและสรา้ งตูเ้ ลี้ยงกุ้งระบบอจั ฉริยะ
1.2 เพ่ือศึกษาประสิทธภิ าพตเู้ ลยี้ งก้งุ ระบบอจั ฉรยิ ะ
1.3 เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของกล่มุ ตัวอย่างและผู้ทดลองใช้

2. ขอบเขตโครงกำร
2.1 ออกแบบและสร้างตเู้ ล้ียงกุ้งเครฟชิ ระบบอจั ฉริยะ ภายในต้ขู นาด 30*30*12 มวลนา้ 32 ลติ ร จานวนกงุ้ 5 ตัว

98

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

3

2.2 ใชอ้ ุปกรณใ์ นการควบคุมคอื แผน่ เพลเทียร์ จานวน 4 แผ่น ขนาด 6 แอมป์
2.3 ใช้ PH Sensor Arduino Analog pH Meter เซ็นเซอรว์ ดั คา่ PH ของน้าในการตรวจจับค่าความ
เปน็ กรดของนา้ และทาการรีดน้าทง้ิ อตั โนมตั เิ มือ่ มีค่า PH ตา่ หรอื สงู เกนิ กวา่ ทไ่ี ดต้ งั้ ค่าเอาไวใ้ นโปรแกรม
2.4 สามารถให้อาหารกุ้งอัตโนมตั ไิ ด้ 3 วนั ตอ่ การให้อาหาร 2 ครง้ั ตอ่ วนั
2.5 ควบคมุ อณุ หภมู ินา้ ภายในต้ไู ดต้ ้ังแต่ 25 ˚c ไปจนถึง 15 ˚c
2.6 จัดทาคมู่ อื การใช้งาน
2.7 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.7.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเล้ียงกุ้งเครฟิชใน
พืน้ ท่ีเขตสะพานใหม่ จานวน 5 คน

2.7.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าแบบเฉพาะเจาะจงคือ ฟาร์ม
เพาะเลี้ยงกุ้ง ปพณพัชร์ เครย์ฟิช

3. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในกำรวจิ ยั
3.1 การออกแบบตวั เครอื่ งของตู้เลีย้ งกุ้งอัจฉรยิ ะ
3.1.1 ตัวเครื่องใช้กลอ่ งคอนโทรลขนาด 30*30*30 cm
3.1.2 ชดุ ควบคุมอุณหภูมจิ านวน 1 ชดุ แบบถอดประกอบกับตัวเครือ่ ง
3.2 การออกแบบอุปกรณ์ฮารด์ แวร์
3.2.1 ตดิ ตงั้ อุปกรณ์บอรด์ Arduino
3.2.2 ตดิ ตงั้ อปุ กรณ์บอร์ดเซนเซอร์วัดอณุ หภูมใิ นน้า
3.2.3 ตดิ ตัง้ อุปกรณ์บอรด์ เซนเซอรว์ ดั คา่ พีเอชของนา้
3.2.4 ติดต้งั อปุ กรณบ์ อรด์ ใหอ้ าหารปลาอตั โนมัติ
3.2.5 ติดตงั้ อุปกรณ์ทาความเยน็ (แผน่ เพลเทยี ร)์
3.2.6 ตดิ ต้ังแผงระบายความร้อนฮีทซิ้ง
3.2.7 ติดตั้งแหล่งจา่ ยไฟ Switching Power Supply
3.2.8 ตดิ ตงั้ บล็อกน้าระบายความร้อน
3.2.9 ติดต้งั ปัม๊ น้าวน
3.3 การออกแบบซอฟตแ์ วร์
3.3.1 เขยี นโปรแกรมควบคุมการทางานบอร์ด Arduino
3.3.2 เขยี นโปรแกรมส่ังการทางานของบอร์ด NodeMCU
3.3.3 ออกแบบแอพพลเิ คชน่ั Blynk

99

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4. วิธีดำเนินงำนวจิ ยั

เริม่ ตน้
ศึกษาขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วข้อง
วางแผนการทาโครงการ
ออกแบบโครงสร้างและวงจร
จ้ดเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์และประกอบ

ทดสอบการทางาน ไม่ผา่ น ปรับปรงุ /แก้ไข

ผา่ น
สรุปผลโครงการ

ส่งโครงการ

ภำพท่ี 4-1 แสดงผลกำรทำงำน

5. สรุปผลกำรวิจัย
5.1 การออกแบบและสร้างตู้เล้ียงกุ้งอัจฉริยะ สามารถออกแบบและสร้างตู้เล้ียงกุ้งอัจฉริยะได้สาเรจ็

และใช้งานไดจ้ ริง
5.2 การหาประสิทธิภาพของตู้เล้ียงกุ้งอัจฉรยิ ะ สามารถให้อาหารกุ้งอัตโนมัติ ควบคุมอุณภูมิภายในตู้

ได้อัตโนมัติ และ สามารถควบคุมค่า PH ตามท่ีต้ังค่าได้อัตโนมัติ รวมไปถึงการเปล่ียนถ่ายนาเองเมื่อมีค่า PH
สงู หรอื ตากวา่ ท่ไี ด้ตั้งค่าเอาไว้

100

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

5

5.3 การสารวจความพึงพอใจตู้เล้ียงกุ้งอัจฉริยะ มีความพึงพอใจมากเพราะโครงการน้ีมีประโยชน์กับ
เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกงุ้ เครย์ฟชิ และ มคี วามพึงพอใจน้อยสุดเพราะระบบควบคุมค่า PH ทาการสั่งระบบให้เปล่ียน
นาใหม่ นาที่เปล่ียนเข้ามาใหม่ยังไม่สามารถควบคุมอุณภูมินาท่ีทาการเปลี่ยนเข้ามาในตู้ใหม่ได้เน่ืองจากอุป
กรณทใี่ ชท้ าความเยน็ มีขนาดเลก็

6. ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะไดร้ บั จำกกำรวจิ ยั
6.1 ตู้เล้ียงกุ้งเครย์ฟิชระบบอัจฉริยะ ท่ีมีคุณภาพสามารถใช้ในการเพาะเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ
6.2 ทาใหก้ งุ้ เครย์ฟชิ ของเกษตรกรมีอัตราการรอดสูง
6.3 ทาใหเ้ กษตรกรผเู้ พาะเลี้ยงกงุ้ เครย์ฟิชไม่ตอ้ งเสียเวลาเปลีย่ นถ่ายน้าเอง
6.4 เมื่อตัวผู้ใช้งานไม่อยู่บ้านสามารถสั่งการผ่านสมาร์ทโฟนเพื่อทาการเปิด-ปิดตู้เลี้ยงกุ้งเครย์ฟิ

ชระบบอัจฉริยะได้ทันที ทาให้สะดวกสบายต่อการใชง้ าน

7. ข้อเสนอแนะ
7.1 การใช้งานตู้เลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชอัจฉริยะ ระยะเวลาในการทาความเย็นของนาในตู้มีระยะเวลานาน

เกินไป ซ่งึ ระยะเวลาข้นึ อย่กู ับอณุ ภมู ภิ ายนอกและภายในตู้ดว้ ย ณ ขณะน้นั
7.2 เคร่ืองเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิชอัจฉริยะ ภายในตู้นั้นจะมีโอกาสท่ีอุณภูมิแกว่งชั่วขณะ เม่ือเซ็นเซอร์

ตรวจจับคา่ PH ไดท้ าการสง่ั ให้เครื่องทาการเปลี่ยนถา่ ยนาเม่ือมคี ่า PH สงู หรอื ตากว่าท่ไี ด้กาหนดเอาไว้
7.3 อาจใช้อุปกรณ์ตัวอ่ืนมาประยุกต์ใช้กับระบบทาความเย็นแทนระบบท่ีใช้อยู่ซึ่งอาจสามารถทา

ความเยน็ ได้ไวและมีความสเถยี รภาพมากกวา่ เดิม
7.4 ควรมรี ะบบตดั ไฟอัตโนมัตเิ ม่ือมกี ารเกิดไฟฟ้าลดั วงจรภายในระบบตู้เลย้ี งก้งุ อจั ฉรยิ ะ

อำ้ งอิง
[1] นิยม กจิ โพธ์ิ. “ระบบทำควำมเย็นและเคร่อื งเยน็ ” บริษทั ซี-เอด็ , กรงุ เทพฯ
[2] สายณั ต์ ชื่นอารมณ์, สมพศิ ปลอ้ งสวย. “วงจรอเิ ล็กทรอนิกส(์ งำนพน้ื ฐำนวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์)”,

บรษิ ทั พฒั นาวชิ าการ (2535) จากัด, กรุงเทพฯ, พมิ พ์คร้ังท่ี 2,2552.
[3] ศรทั ธา อาภรณร์ ัตน์, “ทฤษฎรี ะบบทาความเย็น” บรษิ ทั ซ-ี เอ็ด, กรงุ เทพฯ แผ่นเพลเทยี ร์.

101

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

ผลงำนส่งิ ประดษิ ฐ์ ตูเ้ ครย์ฟชิ ระบบอัจฉริยะ

102

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

เครอื่ งย่อยสลายแผ่นเซลลแ์ สงอาทิตย์
Solar cell Shredder

พิเชษฐ์ พัวอุดมเจรญิ 1 , ภิเษก วงษเ์ ทวี2 , แสงอาทติ ย์ เจง้ วฒั นพงศ3์ , ชลธิศ คลา้ ยสงั ข์4
Pichet Phua-udomcharoen 1 , Pisek Wongtewee 2 , Saengarthit Chengwatthanaphong3

Cholatis Klaysung4

1,2 นกั ศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า (ตอ่ เนอื่ ง) สถาบนั การอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร E-mail : [email protected]
3 อาจารย์สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา้ (ตอ่ เนอื่ ง) สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรุงเทพมหานคร E-mail : [email protected]

บทคดั ยอ่
โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและสร้างเคร่ืองย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ 2) เพ่ือศึกษา
ประสิทธภิ าพการทางานเครื่องย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทติ ย์ 3) เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจตอ่ เครอื่ งย่อยสลาย
แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ ผลการทดสอบประสิทธิภาพของเคร่ืองย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ ได้ทดสอบกับ
แผน่ เซลลแ์ สงอาทิตย์ ขนาด 50 x 200 x 4 เซนติเมตร จะมคี วามละเอยี ดของการบดอยู่ทข่ี นาดไมเ่ กนิ 1
เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 87.5 ต่อเวลาการบด 7.20 นาที เคร่ืองมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ (SPSS) สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าร้อยละ โดย
ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ทาการทดสอบสมมุติฐาน และใช้เกณฑ์มาตรวัด
แบบ Rating Scale 5 ระดับตามมาตรวดั แบบ ลิเคิรท์ (Likert’s Scale)
ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อผู้ทดลองใช้เครอ่ื งย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ จานวน 14 คน พบว่า
ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย ( ̅X ) = 4.68 มีผลการประเมินในระดับ มากท่ีสุด เม่ือจาแนกตามรายการ พบว่า
ด้านการออกแบบ ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ ) = 4.64 ผลการประเมินในระดับ มากท่ีสุด รายการท่ี 1 วัสดุ
อุปกรณ์ท่ใี ชม้ ีความแขง็ แรงทนทาน มคี ะแนนเฉลี่ย ( ̅X ) = 4.64 รายการท่ผี ลการประเมนิ รองลงมา คือ
รายการที่ 2 ขนาดของสิ่งประดษิ ฐ์มคี วามเหมาะสมต่อการใช้งาน มีคะแนนเฉล่ีย ( ̅X ) = 4.79 และรายการที่มี
ผลการประเมินน้อยที่สุด คือรายการที่ 3 การออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์มีความเหมาะสม มีคะแนนเฉล่ีย
( ̅X ) = 4.29 ตามลาดับ ด้านการใช้งานภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ ) = 4.55 ผลการประเมินในระดับ
มากที่สุด รายการท่ี 6 ความปลอดภัยในการใช้งานส่ิงประดิษฐ์ มีคะแนนเฉล่ีย ( X̅ ) = 4.79 หัวข้อที่ผลการ
ประเมินรองลงมา คือรายการท่ี 8 สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก มีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ ) = 4.64 และรายการท่ีมี
ผลการประเมนิ น้อยที่สุด คือรายการท่ี 7 การทางานไม่ยุ่งยากซับซ้อน สะดวกต่อผู้ใชง้ าน มีคะแนนเฉล่ีย ( X̅ )
= 4.36 ตามลาดับ ด้านประโยชน์ ภาพรวมมีคะแนนเฉล่ีย ( ̅X ) = 5.00 ผลการประเมินในระดับ มากที่สุด
หัวข้อที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับ มากท่ีสุด คือรายการท่ี 9 ประโยชน์ของเครื่องย่อยสลายแผ่นเซลล์
แสงอาทติ ย์ และรายการท่ี 10 ประสิทธิภาพของเครอ่ื งยอ่ ยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ มีคา่ เฉล่ีย ( X̅ ) = 5.00
คาสาคัญ : เครือ่ งยอ่ ย,เซลล์แสงอาทติ ย์
103

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract
Objective of this project is 1) to design and construct a solar cell digester 2) to study the

efficiency of solar cell digester 3) to study the satisfaction of the solar cell digester. Solar cell

The results of the efficiency test of the solar cell plate digester were tested with the solar cell

plate size 50 x 200 x 4 cm, the resolution of grinding is not more than 1. Centimeter accounted

for 87.5% per 7.20 min of grinding time. The tool used for data collection was a questionnaire.

Data analysis using a package Statistical Analysis of Data (SPSS) Statistics used in data analysis

are: The mean, standard deviation (standard deviation), percentage value by using statistics

for data analysis, consistency index (IOC), hypothesis testing. And using 5-level Rating Scale

criteria according to the Likert's Scale.

The results of the satisfaction study of 14 subjects using solar cell shredder found that
the overall score was mean (X̅) = 4.68, with the highest level of assessment results when
classified by topic. Design Overall, the average score (X̅) = 4.64 was the highest score. Item 1
Material, equipment, strength and durability. The average score (X̅) = 4.64. The item where the
results of the evaluation followed were item 2. The size of the artifacts was suitable for use.
The average score (̅X) = 4.79 and the item with the lowest score was item 3. The design and
installation of the equipment were appropriate. The mean score (X̅) = 4.29, respectively. The
overall use of the mean score (̅X) = 4.55 was the highest score. Item 6 Safety in the use of the
invention. The mean score (X̅) = 4.79, the item that the second most evaluated result is item
8 can be easily moved. The average score (̅X) = 4.64 and the item with the lowest score was
item 7. The work was not complicated. User convenience The mean score (̅X) = 4.36,
respectively. Benefits of the sub-machine, the overall score was the mean score (̅X) = 5.00 on
the highest level. The topic with the highest score was item 9. Breakdown of solar cells and
item 10, the efficiency of solar cell degradation was mean (X̅) = 5.00
Keywords : shredder, solar cell

104

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

1. บทนา
นับแตป่ ี 2545 ไทยเร่ิมมีการลงทนุ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแผงโซลาร์ และมแี นวโน้มเพิ่มสูงขน้ึ ต่อเน่ืองทุกปี จากการ

สนับสนุนของภาครัฐและรวมไปถึงภาคเอกชนที่ให้ความสนใจ แม้ว่าพลังงานดังกล่าวจะนับได้ว่าเป็นพลังงานสะอาดและ
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม แต่ก็คงมีประเด็นปัญหาเรื่องการกาจัดซากขยะแผงโซลาร์หลังหมดอายุการใช้งาน ซ่ึงมีอายุเฉล่ีย
ราว 20 ปี โดยไทยกาลงั ตอ้ งเผชญิ กับประเดน็ ปัญหาดังกล่าวในอีกระยะ 3 ปีข้างหน้า ซงึ่ คาดว่าจะมขี ยะแผงโซลาร์ปริมาณ
ราว 488 ตัน และมีปริมาณสูงขึ้นอย่างต่อเน่ืองถึง 122,408 ตันในปี 2581 ซึ่งหากไม่มีมาตรการการกาจัดที่เหมาะสม
ขยะดงั กลา่ วจะสะสมเปน็ ปริมาณมหาศาลเกือบ 5 แสนตนั ในอนาคตและสง่ ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้าง

ท้ังน้ี ปจั จบุ ันวธิ กี ารจัดการกับซากแผงโซลาร์ยังคงเป็นประเด็นที่หลายฝา่ ยให้ความสนใจไมว่ ่าในประเทศไทยหรือต่างประเทศก็
ตาม ซึ่งสาหรับประเทศไทยพบว่า ขยะจากแผงโซลาร์ถูกจัดอยู่ในกลุ่มขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีแนวทางการกาจัดได้หลายวิธี แต่วิธีการ
ฝังกลบและการเผาอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยมนุษย์และสัตว์เป็นอย่างมากจากสารโลหะหนักที่ประกอบใน
แผงโซลาร์ อย่างสารตะกั่ว สารหนู และปรอท ดังน้ัน จึงทาให้หลายฝ่ายให้ความสนใจวิธีการรีไซเคิลที่คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ท้ังยังเกิดผลดีในเชิงเศรษฐกิจ ด้วยเหตุผลว่าแผงโซลาร์ประกอบด้วยโลหะมีค่า เช่น เงิน ทองแดง ตะก่ัว
อลูมิเนยี ม ทีส่ ามารถสกัดแยกมาใชป้ ระโยชน์ในอตุ สาหกรรมยานยนต์ เคร่อื งประดับ และอตุ สาหกรรมต่อเนื่องอ่ืนๆได้

เมื่อประเมินถึงความคุ้มค่าจากการรีไซเคิล พบว่า จะข้ึนอยู่กับปริมาณส่วนประกอบโลหะเงินในแผง
โซลาร์เป็นสาคัญ ซึ่งโลหะดังกล่าวจะมีมูลค่าสูงกว่าโลหะชนิดอ่ืนกว่า150 เท่า ทาให้หลายฝ่ายเข้าใจว่าการรี
ไซเคลิ แผงโซลารน์ ่าจะสรา้ งความคุ้มค่าเชิงธุรกจิ เทคโนโลยี อยา่ งไรกด็ ี (รายไดจ้ ากการรีไซเคิลหลังหักตน้ ทุน)
แผงโซลาร์ก็ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพและราคา ทาให้ปริมาณโลหะเงินในแผง
โซลาร์มีแนวโนม้ ลดลงอย่างต่อเน่ืองราวร้อยละ 14 ต่อปี )CAGR ระหว่าง 2545-2561ซ่ึงจะส่งผลสืบเนื่องต่อ (
ความคุ้มค่าของธุรกิจรีไซเคิลแผงโซลาร์ ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า การรีไซเคิลขยะแผงโซลาร์จะ
ก่อให้เกิดความคุ้มค่าทางธุรกิจเฉลี่ยราว3,000 บาทต่อตัน ในช่วง 5 ปีแรกโรงงานขน) าด 7,000 ตันต่อปี (
และมีแนวโน้มลดลงในระยะข้างหนา้ ตามปรมิ าณโลหะเงินที่ประกอบอยูใ่ นแผง ซ่ึงหากสว่ นประกอบของโลหะ
เงินลดลงเกนิ ร้อยละ 20 เม่อื เทียบกบั ปี 2545 จะมีโอกาสเกดิ ความไม่คุ้มคา่ ทางธรุ กิจขน้ึ

กล่าวโดยสรุป เมื่อภาครัฐสนับสนนุ การใชพ้ ลงั งานทางเลือกเพอ่ื สร้างความมั่นคงทางพลังงานและอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมท้ังในระดับชุมชนและประเทศในอนาคตมากขึ้น จนอาจนาไปสู่ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในอีกมุม
หนึ่งจากซากแผงโซลาร์ ดังนั้น ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรตระหนักและพิจารณาแผนลว่ งหนา้ เพื่อให้เกิดการจดั การ
ควบคูก่ นั อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สาหรบั แนวทางรับมอื ความท้าทายด้านความคมุ้ คา่ เชงิ ธุรกจิ ท่มี ีแนวโน้มลดลงใน
ระยะข้างหน้า นอกเหนือจากแนวทางการสนบั สนุนด้านการเงินจากทางภาครัฐแลว้ เพอ่ื สร้างความยง่ั ยืนให้กับ
ธรุ กิจรีไซเคิลแผงโซลาร์ ผู้ประกอบการรไี ซเคิลอาจตอ้ งพจิ ารณาแผนการลงทนุ ขยายขนาดโรงงานให้สอดคล้อง
กับทั้งปริมาณขยะแผงโซลาร์ท่ีเพิ่มขึ้นและปริมาณโลหะเงินท่ีลดลง เพ่ือก่อให้เกิดการประหยัดจากขนาดและ
เกิดความคุ้มค่าเชิงธุรกิจ ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาหรือนาเทคโนโลยีการรีไซเคิลใหมๆ่
จากต่างประเทศมาใช้เพอื่ ลดตน้ ทนุ การรไี ซเคิลในระยะข้างหนา้

105

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

รูปท่ี 1 แสดงกราฟปริมาณขยะจากแผงโซลาร์

รปู ที่ 2 แสดงกราฟสว่ นประกอบโลหะมคี า่ ในแผงโซลาร์

โดยแผงโซลาร์เซลล์ มีทัง้ ส่วนทีไ่ มเ่ ปน็ อนั ตราย และส่วนทเ่ี ป็นโลหะหนกั ที่จะส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม

ซึ่ง อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ ได้ระบุว่า ขยะโซลาร์เซลล์มีปัญหา ”สมชัย รัตนธรรมพันธ์“

เช่นเดยี วกบั ขยะอเิ ล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ ท่ที าใหเ้ กดิ ปญั หาท้ังสงิ่ แวดลอ้ มและสุขภาพ หากกาจัดโดยการเผา ก็ต้อง

สูญเสียท้ังพลังงานและงบประมาณ และยังสร้างสารคาร์บอนไดออกไซด์และไดออกซิน หากนาไปฝังกลบก็จะ

เกดิ การแพร่กระจายของโลหะหนัก ทั้งตะกั่วและแคดเมียมตามพ้นื ดนิ และแหลง่ น้าธรรมชาติ จนอาจเกิดวิกฤติ

สูญเสยี แหลง่ อาหารและนา้ ในอนาคต

106

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ตัวเลขจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ปี2559 พบว่าการติดต้ังแผงโซลาร์เซลล์ของภาคเอกชนแบบลาน
กว้างเพื่อขายไฟฟ้าเข้าระบบมีประมาณ 2,000 เมกะวัตต์ และประชาชนมีความสนใจติดต้ังบนหลังคาบ้าน
เพิ่มขึ้น จากราคาแผงที่เร่ิมปรับลดลง นอกจากนี้ รัฐบาลยังมีนโยบายส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนราชการ ให้ติดตั้ง
แผงโซลาร์เซลล์เพื่อลดภาระค่าไฟฟ้า และยังมีนโยบายสง่ เสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โซลาร)์
จานวน (เซลล์6,000 เมกะวัตต์ ในปี 2579 ทาให้มีการประเมินว่า ปริมาณซากแผงโซลาร์เซลล์ สะสมตั้งแตป่ ี
2545-2559 อยู่ท่ี 388,347 ตัน หรือคิดเป็น 12.9 ล้านแผง และปริมาณซากสะสมถึงปี 2563 อยู่ท่ี 551,684
ตัน หรือ 18.38 ล้านแผง ที่ต้องกาจัด อย่างไรก็ตาม แผงโซลาร์เซลล์ มีแร่ต่างๆ ท่ีสามารถสกัดนามารีไซเคิล
สรา้ งมลู ค่าได้ ทง้ั ซลิ ิคอนและเงนิ แตก่ ารลงทุนรีไซเคิล หากปรมิ าณขยะไม่มากพอ ก็อาจจะไม่คมุ้ ทุน

จากกรณีศึกษาจากประเทศในยุโรปและญี่ปุ่น พบว่าให้ความสาคัญกับการกาจัดของเสียเหล่าน้ีและออก
กฎหมายควบคุมดูแลอย่างชดั เจน เพ่ือลดการปนเปอื้ นในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการเพ่ิมคุณภาพและการสกัด
โลหะหายากในของเสียเหล่านี้ และป้อนกลับสู่อุตสาหกรรมอีกครั้ง ทาให้วัตถุดิบมีราคาที่เสถียรภาพ และมี
ปริมาณทีเ่ พยี งพอ โดยถือวา่ เปน็ เรื่องท่มี ีความสาคัญต่อความม่ันคงของประเทศ )National Securityขณะน้ี (
เซลล์แสงอาทิตย์:ไดจ้ ัดทาแผนแม่บทการจัดการซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ (.กรอ) กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
เพื่อกาหนดแนวทางการจัดการซากแผงโซลาร์เซลล์ (โซลารเ์ ซลล์) ท่ีหมดอายุ ซ่งึ ปัจจบุ นั วิธีทาลาย ยังคง
ใช้วิธีฝังกลบดีท่ีสุด เพราะยังไม่มีทางเลือกอ่ืน แม้ว่าการนามารีไซเคิลจะเป็นวิธีท่ีดีกว่า แต่ยังไม่คุ้มค่ากับการ
ลงทุน จนกว่าจะเหน็ ว่ามีแผงโซลารเ์ ซลล์หมดอายทุ ่มี ากพอ

รูปท่ี 3 แสดงขยะจากแผงโซลาร์

107

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

ขั้นตอนในการบริหารจัดการแผงหมดอายุ มีขอบข่ายท่ีครอบคลุมกว้างขวาง โดยจะเร่ิมต้ังแต่การผลิต
แผง การขนส่งและติดต้ัง การใช้งาน การเก็บรวบรวม การรีไซเคิล และการกาจัด ดังน้ัน จึงมีความเกี่ยวข้อง
กับภาคสว่ นต่างๆ จานวนมาก เร่ิมต้นจากหนว่ ยงานภาครัฐท่มี หี น้าทีก่ ากับดแู ล ไดแ้ ก่ สานกั งานคณะกรรมการ
กากบั กจิ การพลงั งาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมควบคุมมลพิษ
จนถงึ ภาคเอกชน ไมว่ า่ จะเปน็ ผ้ผู ลิต ผู้ตดิ ต้ัง เจ้าของโรงงาน ผูร้ วบรวมหรอื คดั แยก ผรู้ ไี ซเคิล ทจี่ าเป็นจะตอ้ ง
มีข้อหารือร่วมกัน อาทิ ปริมาณของเสียในปัจจุบันและการจัดการของเจ้าของแผง ผู้รวบรวมควรจะเป็นใคร
ระหว่างผู้ผลิต ผู้ขาย หรือร้านขายของเก่า ผู้รีไซเคิลสามารถใช้หรือสกัดได้เองในประเทศ หรือส่งออกได้
หรือไม่และภาครัฐจะทาอย่างไรเพื่อส่งเสริมให้เกิดการรีไซเคิลสูงสุด ล่าสุด มีเอกชนยื่นขอใบประกอบกิจการ
โรงงานรีไซเคิลขยะจากโซลาร์เซลล์จากกรอ แล้ว และคาดว่าจะสรุปความชัดเจนต้นปี.2561 หลังจากน้ันจะ
เรม่ิ ก่อสรา้ งกลางปี 2561

นอกจากปัญหาขยะจากแผงโซลารเ์ ซลล์แลว้ อีกหนงึ่ ปญั หาท่ตี ้องเตรียมการ คอื แบตเตอรีส่ ารอง ทก่ี าลังจะเป็นอีกหนึ่ง
ส่งิ ท่ีจะมปี รมิ าณการผลิตและใช้เพ่ิมขึ้น หากเกิดขึ้นในอนาคตมากๆ ส่ิงนี้ กอ็ าจจะเปน็ ปัญหา ไมต่ ่างจากแผงโซลารเ์ ซลล์

ทางผจู้ ัดทาจึงมีแนวคิดสรา้ งเครื่องย่อยสลายเซลลแ์ สงอาทิตย์ )solar cell (เพื่อใชใ้ นการย่อยชิ้นสว่ นของ
ขยะโซลาร์เซลล์ใหม้ ีขนาดเลก็ ลง ให้ง่ายต่อกระบวนการการกาจัดตอ่ ไป โดยใส่ถุงท่ีปิดผนึก แล้วจึงนาไปท้ิงใน
ถังขยะอันตราย โดยต้องแยกออกจากขยะทั่วไป เพ่ือป้องกันอันตรายต่อพนักงานเก็บขยะ และการปนเปื้อนสู่
สิง่ แวดลอ้ ม

2. วัตถุประสงค์ของการทาโครงการ
1. เพื่อออกแบบและสรา้ งเครื่องยอ่ ยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell)
2. เพอ่ื ศึกษาประสทิ ธิภาพการทางานเครอื่ งย่อยสลายแผ่นเซลลแ์ สงอาทติ ย์ (solar cell)
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อเคร่ืองย่อยสลายแผน่ เซลลแ์ สงอาทติ ย์ (solar cell)

3. สมมติฐานของการวิจยั
1. ประสิทธิภาพของสรา้ งเครื่องย่อยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell) อยู่ในระดบั มาก
ตัวแปรตน้ เครอ่ื งย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell)
ตัวแปรตาม ประสทิ ธภิ าพในการทางานเครือ่ งยอ่ ยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell)
2. ความพึงพอใจของพนักงานบริษัทที่มีต่อสร้างเคร่ืองย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) อยู่

ในระดบั มาก
ตัวแปรตน้ เครื่องยอ่ ยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell)
ตัวแปรตาม ความพงึ พอใจตอ่ เครอ่ื งย่อยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell)

108

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

4. วิธกี ารดาเนินการวจิ ยั
ขัน้ ตอนการสรา้ งเครือ่ งย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) โดยมขี ัน้ ตอนการสรา้ งดังนี้
4.1 การสรา้ ง

รปู ท่ี 4 การออกแบบชน้ิ งาน

รปู ที่ 5 เคร่อื งย่อยสลายแผ่นเซลลแ์ สงอาทติ ย์ (solar cell)

109
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

4.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

กลุ่มตัวอย่างในการทาโครงการครั้งนี้คือพนักงานภายในหน่วยงานอาคารวิสซ์ดอม ปุณณวิถี สเตช่ัน

จานวน 4 คน และอาคารบางนาวเวอร์ จานวน 10 คน

4.3 เครอื่ งมอื วิจัย

เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป การ

วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ (SPSS) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ทาการ

ทดสอบสมมุติฐาน และใช้เกณฑ์มาตรวัดแบบ Rating Scale 5 ระดับ ตามมาตรวัดแบบ ลิเคิร์ท (Likert’s

Scale)

4.4 ขนั้ ตอนการสร้างและหาคณุ ภาพ

ผเู้ ชยี่ วชาญ ด้านการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุ และผู้ประกอบอาชพี จานวน 5 คน เพื่อตรวจสอบ

ความถูกต้อง คณุ ภาพ และความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) ซ่งึ มีรายนามตอ่ ไปน้ี

1.) นายวิษณุ จาปาทุม ตาแหน่ง ผู้จัดการแผนกปฏิบัติการ ปฎิบัติหน้าท่ี บริษัท พร้อม เทคโน

เซอรว์ ิส จากดั สถานท่ี อาคารบางนาทาวเวอร์

2.) นายสิริพงษ์ น้อยสุข ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนงานแผนกปฏิบัติการ ปฎิบัติหน้าที่ บริษัท พร้อม

เทคโน เซอรว์ ิส จากดั สถานที่ อาคารบางนาทาวเวอร์

3.) นายวุฒิชัย เพ็งคง ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนงานแผนกปฏิบัติการ ปฎิบัติหน้าที่ บริษัท พร้อม เทค

โน เซอร์วสิ จากัด สถานท่ี อาคารบางนาทาวเวอร์

4.) นายปราโมทย์ โลวาส ตาแหน่ง หัวหน้าสว่ นงานแผนกคุณภาพและความปลอดภัย ปฎบิ ัตหิ นา้ ที่

บรษิ ทั พรอ้ ม เทคโน เซอร์วิส จากดั สถานที่ อาคารบางนาทาวเวอร์

5.) นายอร่าม ทุมอ้ม ตาแหน่ง หัวหน้าหน่วยงานแผนกคุณภาพและความปลอดภัย ปฎิบัติหน้าที่

บริษัท พรอ้ ม เทคโน เซอร์วิส จากดั สถานที่ อาคารบางนาทาวเวอร์

นาข้อมูลที่รวบรวมจากความคิดเห็นของผู้เชย่ี วชาญมาคานวณหาค่า IOC แล้วเลือกข้อท่ีมีค่าดัชนีความ

สอดคล้องตงั้ แต่ 0.5 ขน้ึ ไป

นาไปทดลองใช้งานเพ่ือหาประสิทธิภาพของเครื่องย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) โดย

กาหนดเกณฑ์การพิจารณาค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ ง คือ

เหน็ วา่ สอดคล้อง ให้คะแนน +1

ไมแ่ นใ่ จ ใหค้ ะแนน 0

เหน็ ว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1

นาข้อมูลท่ีรวบรวมจากความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญมาคานวณหาค่า IOC แล้วเลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนี

ความสอดคลอ้ งตง้ั แต่ 0.5 ขน้ึ ไป

110

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

4.5 เกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. การทดสอบทางานของเคร่ืองยอ่ ยสลายเซลล์แสงอาทติ ย์ )solar cell(

ตารางท่ี 1 การทดสอบการทางานมอเตอร์ เครอื่ งย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell)

การทางานชดุ มอเตอร์
คร้งั ที่

ทางาน ไม่ทางาน
1
2
3
4
5

จากตารางที่ 1 การทดสอบการทางานของมอเตอร์เคร่ืองย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell)
โดยทาการทดสอบจานวน 5 ครง้ั พบว่า สามารถทางานไดป้ กติ

ตารางท่ี 2 การทดสอบหาระยะเฟืองบดท่ีเหมาะสมของเครอ่ื งยอ่ ยสลายเซลลแ์ สงอาทติ ย์ )solar cell( ขนาด
แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ กว้าง x ยาว x หนา คอื 50 x 200 x 4 เซนตเิ มตร

ระยะเฟอื ง ผลการบด ระยะเวลา
(mm) ความละเอยี ด (mm) (นาท)ี

20 30 ≥ 4.42
15 20 ≥ 5.53
10 10-13 7.25
5
- -

จากตารางท่ี 2 การทดสอบหาระยะเฟืองบดท่ีเหมาะสมของเครื่องย่อยสลายเซลล์แสงอาทิตย์ )solarcell(ขนาดแผ่นเซลล์
แสงอาทิตย์ กว้างxยาวxหนาคือ 50 x200x4เซนติเมตรโดยทาการทดสอบ4 ระยะ พบว่าที่ระยะ20 มิลลิเมตรขนาดของ
เศษการบดยอ่ ยท่ีออกมามีขนาดใหญ่มากกวา่ 30มิลลิเมตรที่ระยะ15มิลลิเมตรขนาดของเศษการบดย่อยท่ีออกมามีขนาด20
มิลลิเมตรท่ีระยะ 10มิลลิเมตรขนาดของเศษการบดย่อยท่ีออกมามีขนาด10-13มิลลิเมตรท่ีระยะ5 มิลลิเมตรทาให้ชิ้นสว่ น
ของเซลล์แสงอาทิตย์ )solarcell( บางส่วนมีการติดกับเคร่ืองย่อยสลายเซลล์แสงอาทิตย์ )solarcell( จึงสรุปได้ว่าระยะ
เฟอื งบดทเ่ี หมาะสมในการย่อยสลายเซลล์แสงอาทิตย์ )solarcell(คือ10มลิ ลเิ มตร

111

2. ผลการทดสอบประสิทธภิ าพของเครื่องย่อยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell)
ตารางท่ี 3 การศึกษาประสิทธภิ าพเครื่องย่อยสลายเซลลแ์ สงอาทิตย์ )solar cell(

หัวขอ้ การประเมิน ร้อยละ เวลา (Min)
≥ 1 CM < 1 CM
1. ความละเอียดของผลการบด ครั้งท่ี 1 7.18
2. ความละเอียดของผลการบด ครง้ั ที่ 2 80 20 7.16
3. ความละเอยี ดของผลการบด ครั้งที่ 3 80 20 7.21
4. ความละเอยี ดของผลการบด ครง้ั ที่ 4 85 15 7.23
5. ความละเอยี ดของผลการบด คร้ังที่ 5 85 18 7.18
6. ความละเอยี ดของผลการบด คร้ังที่ 6 90 10 7.20
7. ความละเอยี ดของผลการบด ครง้ั ท่ี 7 90 10 7.25
8. ความละเอยี ดของผลการบด ครั้งที่ 8 90 10 7.22
9. ความละเอียดของผลการบด ครั้งที่ 9 90 10 7.20
10. ความละเอียดของผลการบด ครง้ั ที่ 10 90 10 7.19
95 5 7.20
ค่าเฉลี่ย (̅X) 87.5 12.8

จากตารางที่ 3 การศึกษาประสิทธภิ าพเคร่ืองย่อยสลายเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) เหน็ วา่ เครื่องย่อย
สลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) มีประสิทธิภาพ โดยดูจากผลการทดสอบ พบว่า เฉล่ียร้อยละ 87.5
เศษจากการบดย่อยแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) มีขนาดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 เซนติเมตร และเฉล่ีย
ร้อยละ 12.5 เศษจากการบดย่อยแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) มีขนาดใหญ่กว่า 1 เซนติเมตร โดยเฉล่ีย
เวลาในการย่อยแผ่นเซลลแ์ สงอาทติ ย์ (solar cell) อยทู่ ี่ 7.20 นาที

112

ปร5ะชมุ วชิ าการนวัตกรรม2แ5ล6ะ3เทคโนโลยีบัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

4. ผลการหาความพึงพอใจของเครอื่ งย่อยสลายแผน่ เซลลแ์ สงอาทติ ย์ (solar cell) ดังน้ี
ตารางท่ี 4 การศึกษาความพึงพอใจเครื่องยอ่ ยสลายเซลล์แสงอาทิตย์ )solar cell(

หวั ข้อการประเมนิ X̅ SD แปลผล

ด้านการออกแบบ 4.86 0.3631 มากท่สี ุด
1.วสั ดอุ ปุ กรณ์ทใี่ ช้มีความแขง็ แรงทนทาน 4.79 0.4258 มากทส่ี ุด
2.ขนาดของสิง่ ประดษิ ฐม์ คี วามเหมาะสมตอ่ การใชง้ าน 4.29 0.4688
3.การออกแบบและตดิ ตั้งอุปกรณม์ คี วามเหมาะสม 4.64 0.4972 มาก
4.,มาตรฐานความปลอดภยั 4.64 0.2538 มากที่สดุ
มากทส่ี ดุ
คา่ เฉลี่ย (̅X) 4.43
ด้านการใชง้ าน 4.79 0.5136 มาก
5.ความสะดวกในการใช้งานของสงิ่ ประดิษฐ์ 4.36 0.4258 มากที่สดุ
6.ความปลอดภยั ในการใช้งานส่งิ ประดษิ ฐ์ 4.64 0.4972
7.การทางานไม่ย่งุ ยากซบั ซ้อน สะดวกต่อผูใ้ ช้งาน 4.55 0.4972 มาก
8.สามารถเคลื่อนยา้ ยได้สะดวก 0.1967 มากทส่ี ดุ
5.00 มากที่สดุ
ค่าเฉล่ีย (̅X) 5.00
ดา้ นประโยชน์ 5.00 0.0000 มากทีส่ ุด
9.ประโยชน์ของเครอ่ื งยอ่ ยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell) 4.68 0.0000 มากที่สุด
10.ประสิทธภิ าพของเคร่ืองยอ่ ยสลายแผ่นเซลลแ์ สงอาทิตย์ (solar cell) 0.0000 มากทส่ี ุด
0.2542 มากทส่ี ุด
คา่ เฉลยี่ (X̅)
ผลรวมเฉลี่ย

จากตารางที่ 4ผลการประเมินความพึงพอใจของเครื่องย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) จากผู้ใชง้ านท้งั 14 คน พบว่า
ภาพรวมมีคะแนนเฉล่ีย ( X̅ )= 4.68 มีผลการประเมินในระดับมากที่สุด เมื่อจาแนกตามหัวข้อ พบว่า ด้านการออกแบบภาพรวมมี
คะแนนเฉล่ีย ( X̅ )= 4.64 ผลการประเมินในระดับมากท่ีสุด หัวข้อท่ี 1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้มีความแข็งแรงทนทาน มีคะแนนเฉลี่ย
( X̅ )= 4.64 หัวข้อที่ผลการประเมินรองลงมา คือหัวข้อท่ี 2 ขนาดของสิ่งประดิษฐ์มีความเหมาะสมต่อการใช้งาน มีคะแนนเฉล่ีย
(X̅ )=4.79 และหัวข้อท่มี ีผลการประเมินตา่ ทีส่ ุด คือหวั ข้อท่ี 3 การออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์มีความเหมาะสม มีคะแนนเฉลี่ย (X̅
)= 4.29 ตามลาดับ ด้านการใช้งานภาพรวมมีคะแนนเฉล่ีย ( X̅ )= 4.55 ผลการประเมินในระดับ มากท่ีสุด หัวข้อท่ี 6
ความปลอดภัยในการใช้งานสิ่งประดิษฐ์ มีคะแนนเฉล่ีย ( X̅ )= 4.79 หัวข้อที่ผลการประเมินรองลงมา คือหัวข้อที่ 8 สามารถ
เคล่ือนย้ายได้สะดวก มีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ )= 4.64 และหัวข้อที่มีผลการประเมินต่าท่ีสุด คือหัวข้อที่ 7 การทางานไม่ยุ่งยากซับซ้อน
สะดวกต่อผู้ใช้งาน มีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ )= 4.36 ตามลาดับ ด้านประโยชน์ ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ ) = 5.00 ผลการประเมิน
ในระดับ มากท่ีสุด หัวข้อท่มี ีผลการประเมินอยู่ในระดับ มากท่สี ุด คอื หวั ข้อท่ี 9 ประโยชน์ของเครื่องย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์
(solar cell) และหวั ข้อท่ี 10 ประสทิ ธิภาพของเครอื่ งย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell) มีคา่ เฉลีย่ (X̅ )= 5.00

113

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

5. ผลการวจิ ัย
5.3.1 ผลการทดลองเคร่ืองย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) ได้พบว่าสามารถต่อใช้งานได้

ตามวตั ถปุ ระสงค์ แผ่นเซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell) ที่ทาการยอ่ ยสลายมีขนาดตามขอบเขตท่ีกาหนดไว้
5.3.2 ผลการทดลองเพ่ือหาประสิทธิภาพเครื่องย่อยสลายแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) พบว่า

ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 87.5 ของผู้ประเมินจากผ้เู ช่ยี วชาญ ทั้ง 5 คน โดยการนาข้อมูล ท่ีรวบรวมจาก
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาคานวณหาค่า IOC โดยข้อคาถามท่ีมีค่าดัชนีความสอดคล้องต้ังแต่ 0.5 ขึ้นไป
นน้ั ผ้เู ชย่ี วชาญเหน็ วา่ มปี ระสทิ ธิภาพ

5.3.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของเคร่ืองยอ่ ยสลายแผน่ เซลล์แสงอาทิตย์ (solar cell) จากผู้ใช้งาน
ท้ัง 14 คน พบว่า ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ ) = 4.68 มีผลการประเมินในระดับ มากที่สุด เมื่อจาแนกตาม
หัวข้อ พบวา่ ด้านการออกแบบ ภาพรวมมีคะแนนเฉลีย่ ( X̅ ) = 4.64 ผลการประเมนิ ในระดับ มากทส่ี ดุ ดา้ น
การใช้งานภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย ( X̅ ) = 4.55 ผลการประเมินในระดับ มากที่สุด ด้านประโยชน์ ภาพรวมมี
คะแนนเฉลยี่ ( X̅ ) = 5.00

6. สรปุ ผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ
จากการรายงานผลการใช้ชุดสาธิตการควบคมุ ระบบการจา่ ยนา้ ภายในอาคารขนาดใหญ่มีขอ้ เสนอแนะดงั นี้
1. ควรเพ่มิ ความยาวของชุดเฟอื งใหม้ ีความยาวเท่ากบั ขนาดของแผน่ เซลล์แสงอาทติ ย์ (solar cell)
2. ควรเพมิ่ ระบบการคดั แยกชนิ้ ส่วนหลงั ทาการบดยอ่ ย หากมขี นาดใหญใ่ หว้ นกลับไปบดยอ่ ยอีกครัง้
3. ควรเพมิ่ ระบบความปลอดภยั ในการใชง้ าน ให้มีความปลอดภยั มากขน้ึ
4. การออกแบบโครงสรา้ งช้นิ งาน ออกแบบใหส้ วยงามและขนาดเลก็ ลงกว่านี้

เอกสารอา้ งองิ
[1] คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .“การจดั การขยะแผงเซลลแ์ สงอาทิตย์ ”

จากhttps//:www.trf.or.th/component/attachments/download(2563กันยายน11สืบคน้ เมือ่ วันที่)4036/
[2] ดร .สุจติ รา วาสนาดารงดี.“การจดั การซากผลติ ภัณฑ์เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์” จาก

https://thaipublica.org/2015/11/sujittra-e-waste/) สบื ค้นเมือ่ วันที่ 15 กันยายน (2563.
[3] มนสั นนั ท์ พบิ าลวงค.์ .(2559)การจดั การแผงโซล่าเซลล์ท่ีหมดอายกุ ารใชง้ านกรณศี กึ ษา จงั หวัดอบุ ลราชธานี .

วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต .(การจดั การส่งิ แวดล้อม)คณะบริหารการพฒั นาส่งิ แวดล้อม.สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
[4] มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี านวิทเขตขอนแกน่ .“การผลิตเฟือง” จาก https://sites.

google.com/site/krrmwithikarphlitt/home) สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 11 กนั ยายน (2563.
[5] วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี .“ขยะอิเลก็ ทรอนิกส์”จากhttps://th.wikipedia.org/wiki)สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน(2563.

114

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

การผลติ กาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา
Production of Rubber glue from foam mixed with latex

พรรณี พทุ ธเจรญิ ทอง1 ภาณุเดช ขัดเงางาม2 อภิชยั ปลมื้ บาเรอ3 อารียา ยอดยิ่ง4
Phannee Phutcharoentong1 Phanudej Kudngaongarm2
Apichai Pluembumrer3 Areeya Yodying4

1,2นกั ศึกษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีการก่อสรา้ ง วิทยาลยั เทคนิคมนี บุรี สถาบนั การอาชีวะศึกษากรงุ เทพมหานคร โทร. 09-4869-8484
E-mail: [email protected]

3อาจารย์ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารกอ่ สรา้ ง วิทยาลยั เทคนคิ มีนบรุ ี สถาบันการอาชวี ะศกึ ษากรงุ เทพมหานคร โทร. 09-1719-0721
E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่

การวจิ ยั นม้ี ีวตั ถุประสงค์ (1) เพ่ือออกแบบอตั ราส่วนผสมของกาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา
(2) เพื่อผลิตกาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา โดยการวจิ ัยนไี้ ดอ้ อกแบบอัตราส่วนผสมและผลติ กาวยาง
จากโฟมผสมน้ายางพารา จานวน 4 สูตร จากนั้นนาไปทดสอบคุณสมบัติความต้านแรงลอกแบบแช่น้า
และไม่แช่น้า และคุณสมบัติความต้านแรงเฉือนแบบแช่น้าและไม่แช่น้า โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน
มอก. 521-2527 : กาวยาง

ผลการวิจัยพบว่า กาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา สามารถใช้งานได้ 2 สูตร คือ สูตรท่ี 2
และสูตรที่ 3 และผลการทดสอบคุณสมบัติความต้านแรงลอกและความต้านแรงเฉือนพบว่า สูตรท่ี 2
ผ่านมาตรฐานมอก. 521-2527 สตู รที่ 3 ไม่ผ่านมาตรฐานมอก. 521-2527
ค้าส้าคญั : กาวยางจากโฟมผสมนา้ ยางพารา

115

Abstract
Thisresearch hastheobjective(1)Todesignthemixturerate ofrubbergluefromfoam mixedwith
latex (2)Intheproduction offoam rubberadhesivesmixed withlatex, thisresearch designedandproduced
four compound ratio formulations using foam-rubber-latex adhesives. The peel strength properties were
tested in water and without water. Compare with TISI standard 521-2527 : Rubber glue
The results of the research showed that the latex foam rubber glue can be used in 2 formulas,
formula 2 and formula 3. And the test results for peel strength and shear strength, it was found that
Formula 2 passed the Formula 3 standard and did not pass TISI standard. TISI 521-2527 TISI 521-2527
Keywords : Rubber glue from foam mixed with latex

1. บทน้า
จากสถิติของกรมควบคุมมลพษิ พบว่าในช่วง5ปี ตั้งแต่ปี 2555-2559พบว่าปริมาณขยะปประเภทโฟมเพ่ิมข้ึน

อย่างต่อเน่ืองจาก56 ล้านใบต่อวันเป็น61 ล้านใบต่อวันเมื่อมาดูข้อมูลในปี 2559 มีปริมาณขยะประเภทโฟมเกิดขึ้น
ประมาณ1.3ล้านตันตอ่ ปี โดยคนไทยสร้างขยะประเภทโฟม1ใบตอ่ คนต่อวัน ขยะท่เี กิดขึ้นในแตล่ ะวนั ส่วนใหญ่ เปน็ เศษ
อาหารและอินทรยี ์สารและยังไมม่ กี ารกาจัดขยะแบบถกู ตอ้ งเชน่ เทกองกลางแจง้ การเผาในที่โล่งการกาจดั ขยะสารพษิ ที่
เกิดขน้ึ จากการเผาขยะประเภทแกว้ โฟมหรือถว้ ยโฟมโฟมกันกระแทกกลอ่ งโฟมบรรจุอาหารจะทาให้เกิดการปลอ่ ยกา๊ ซสไต
รีนสามารถถูกดูดซึมผ่านผวิ หนังและปอดได้ หากได้รบั สารสไตรีนในระดบั ที่สูงจะทาอันตรายตอ่ ตาและถา้ ได้รับสไตรนี
ในระยะยาวจะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางทาให้ปวดหัวอ่อนเพลยี และเกดิ ภาวะซึมเศร้าไดโ้ ฟมเป็นขยะท่คี งทนและ
สามารถทนต่อแรงอัดได้สูงและใช้เวลาในการย่อยสลายหลายร้อยปี เม่ือเทียบกับวัสดุอื่นเช่นถุงพลาสติกใช้เวลาย่อย
สลาย 450 ปี กระป๋องอลูมิเนียมใช้เวลาย่อยสลาย80-100 ปี ถ้วยกระดาษเคลือบไขใช้เวลาย่อยสลาย5 เดือน และเศษ
กระดาษใช้เวลาย่อยสลาย2-5เดือนโฟมส่วนใหญท่ ี่เราใช้ มักใช้ในรูปแบบภาชนะบรรจุอาหารซึ่งเม่ือผ่านการใชแ้ ลว้ จะ
ปนเปื้อนคราบน้ามันและคราบสกปรก การจะนามารีไซเคิลจึงต้องผ่านกระบวนการที่ยากและต้นทุนสูง อาจก่อให้เกิด
ปญั หาทางด้านมลพษิ สิน้ เปลืองงบประมาณและพื้นท่ีฝงั กลบไดเ้ นอ่ื งจากตอ้ งใชพ้ ้นื ทีเ่ ยอะ

ปัญหายางพาราของไทยไม่ได้มีเฉพาะท่ีราคายางพาราตกต่า แต่ยังมีปัญหาเร่ืองการจัดการสวนยาง และการ
จัดการผลผลิตการตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง โครงการของรัฐในอดีต เน้นการเพ่ิมผลผลิตยางพาราเน่ืองจาก
ราคายางอยู่ในระดับสูง แต่ในปจั จบุ ันราคายางอยู่ในระดับต่าซ่งึ เป็นผลจากเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจจนี ชะลอตวั และ
ผลจากโครงการการเพิม่ ผลผลิตดงั กลา่ ว ยังซ้าเติมปญั หาราคายางตกตา่ อย่างตอ่ เนอ่ื ง

จากท่ีกล่าวมาขา้ งต้นจึงได้จัดทากาวยางที่มีโฟมเปน็ สว่ นผสมหลักเพ่ือทาให้โฟมท่ีถูกทิ้งเป็นขยะมาใชใ้ หเ้ กดิ
ประโยชน์และช่วยลดมลพิษท่ีเกิดจากโฟมได้ และใช้น้ามันเบนซิน(95) เป็นตัวทาละลายแต่เน่ืองจากระยะยาวอาจมีการ
หลดุ รอ่ นหรอื โดนแดดเป็นเวลานานอาจทาให้ไมค่ งทนจงึ ไดน้ ายางพารามาเปน็ ส่วนผสมในกาวน้ีเพอื่ เสริมความยดื หยุน่

116

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

2. วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย
2.1 เพ่ือออกแบบอตั ราส่วนผสมของกาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา
2.2 เพ่อื ผลติ กาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา

3. ขอบเขตของการวิจัย
3.1 ขอบเขตดา้ นเน้อื หา ศึกษาคณุ สมบตั ิของกาวยาง โฟม และนา้ ยางพารา
3.2 ขอบเขตด้านเวลา เดือนกรกฎาคม 2563 ถึง เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2564
3.3 ขอบเขตด้านสถานท่ี 75/47 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

(อว.) ถ. พระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 เพ่อื ทดสอบคณุ สมบตั ิ

4. วธิ ดี ้าเนินการวจิ ยั
การสรา้ งชิ้นงานกาวยางจากโฟมผสมนา้ ยางพารา มขี ั้นตอนการดาเนนิ งาน ดังนี้
4.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง (4,5,6) โดยผู้วิจัยได้ศึกษาความรู้เบ้ืองต้น

เกี่ยวกับการผลิตกาวยางจากโฟม คุณสมบัติของโฟมและน้ายางพารา เพื่อนาความรู้ในการใช้ออกแบบ
อัตราส่วนผสมของกาวยางและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ มาประยุกต์ใชก้ ับงานวจิ ัย

4.2 ออกแบบอัตราสว่ นผสมของกาวยางจากโฟมและนา้ ยางพารา ดงั ตารางที่ 1

สตู รท่ี น้ามนั เบนซนิ (mL.) กลอ่ งโฟมขนาด 11.5*11.5*6 ซม. นา้ ยางชนดิ พาราเข้มข้น (mL.)

1 130 15 50

2 150 15 10

3 150 14 10

4 150 10 15
ตารางท่ี 1 อตั ราส่วนผสมของกาวยางจากโฟมและน้ายางพารา

4.3 ผลิตช้นิ งานตัวอย่าง จานวน 4 ช้ินงาน โดยใช้อัตราสว่ นผสมตามตารางท่ี 1 มขี ้นั ตอนการผลิต
ดงั ต่อไปนี้

1) ตวงอัตราส่วนของนา้ มนั เบนซนิ

ภาพที่ 1 ตวงอัตราสว่ นผสมของนา้ มนั เบนซิน

117

2) ฉกี โฟมเป็นชิน้ เล็กๆ ใสล่ งไปผสมในน้ามันเบนซนิ ที่เตรยี มไว้ เพือ่ ให้โฟมละลายไดด้ แี ละเรว็ ย่งิ ข้ึน

ภาพท่ี 2 ฉกี โฟมเป็นชนิ้ เลก็ ๆ ใส่ลงไปผสมในน้ามนั เบนซินท่ีเตรยี มไว้
3) ใช้หลอดสแตนเลสที่เตรียมไว้ คนโฟมท่ฉี ีกผสมกบั น้ามันเบนซนิ จนเป็นเนอื้ เดียวกัน

ภาพท่ี 3 คนโฟมท่ีฉีกผสมกบั นา้ มนั เบนซนิ จนเป็นเนอ้ื เดียวกนั
4) ตวงอตั ราสว่ นของนา้ ยางพาราชนดิ เขม้ ข้น

ภาพที่ 4 ตวงอตั ราส่วนผสมของนา้ ยางพาราชนดิ เขม้ ข้น
5) นาน้ายางพาราชนดิ เขม้ ขน้ ใสล่ งไปผสมกบั โฟมและนา้ มนั เบนซนิ ท่ีผสมกนั ไว้ก่อนหนา้ น้ี คนให้เปน็ เนอ้ื เดยี วกนั

ภาพที่ 5 นานา้ ยางพาราใส่ลงไปผสมกับโฟมและน้ามนั 118

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้งั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

4.4 วเิ คราะห์ผลการทดลองผลิตช้ินงาน

1) สูตรท่ี 1 ตามอัตราส่วนผสมของสตู รท่ี 1 นั้น จากการทดลองได้ พบว่า เนื้อกาวนั้น

ไดจ้ ับตวั กนั เปน็ กอ้ นและมีลักษณะเหนียว ทาใหไ้ ม่สามารถนาไปทดลองใช้งานได้

2) สตู รที่ 2ตามอัตราส่วนผสมของสูตรที่ 2นน้ั จากการทดลองได้ พบวา่ เน้ือกาวน้ันมีความข้นแต่

ไมจ่ ับตวั กันเป็นก้อน มีลักษณะเหนยี ว ผู้วจิ ยั คิดวา่ สามารถนาไปใช้งานได้จรงิ และได้ทาการทดลองนากาวยางท่ที าการ

ผสมทาลงไปบนแผน่ พืน้ ตัวอย่างหนา1มม. และนากาวยางส่วนทเ่ี หลอื เก็บไว้ในภาชนะบรรจภุ ัณฑ์

3) สตู รท่ี 3 ตามอตั ราส่วนผสมของสูตรที่ 3 นัน้ จากการทดลองได้ พบว่า เนอ้ื กาวนั้นมีความข้น

น้อยกว่าสูตรที่ 2 ผู้วิจัยคิดว่า สามารถนาไปใช้งานได้จริง และได้ทาการทดลองนากาวยางท่ีทาการผสมทาลงไปบน

แผน่ พืน้ ตวั อย่างหนา 1 มม. และนากาวยางส่วนที่เหลือเก็บไวใ้ นภาชนะบรรจภุ ณั ฑ์

4) สูตรท่ี 4 ตามอตั ราสว่ นผสมของสตู รท่ี 4 นั้น จากการทดลองได้ พบวา่ การใส่กลอ่ ง

โฟมจานวน 10 กลอ่ ง ทาให้เนื้อกาวนัน้ ค่อนขา้ งมีความเหลว

เมื่อได้อัตราส่วนผสมท่ีเหมาะสมแล้ว จึงนาไปทดสอบตามมาตรฐานมอก. โดยนาอัตรา

ส่วนผสมทเี่ ลือกมา 2 อตั ราส่วนผสม โดยทาการทดสอบหาค่าความต้านแรงลอกและหาคา่ ความตา้ นแรงเฉือน

ขนาดของช้ินงานทดสอบ มีขนาดเป็นไปตามมาตรฐาน แผ่นอลูมิเนียมกว้าง 25

มลิ ลิเมตร ยาว 150 มิลลเิ มตร และหนา 1.6 มลิ ลิเมตร จานวน 5 แผ่น/1 ชน้ิ งานทดสอบ

4.5 ทดสอบความต้านแรงลอกและความต้านแรงเฉือนของช้ินงานสูตรท่ี 2 และสูตรท่ี 3 เพ่ือ

เปรียบเทยี บกบั มาตรฐานมอก.521-2527 : กาวยาง

1) ผลทดสอบความต้านแรงลอกและแรงเฉอื น สูตรที่ 2 แสดงในตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 ผลทดสอบความต้านแรงลอกและแรงเฉอื น สตู รท่ี 2

ที่ คุณลกั ษณะ เกณฑ์ สูตรท่ี 2 เฉล่ยี รวม
กา้ หนด ชนิ งานทดสอบที่ 5
1 2 34

ความต้านแรงลอก นวิ ตันต่อ

1 ความกว้าง 25 มม. ไมน่ อ้ ยกว่า
- ไมไ่ ดแ้ ช่น้าหรอื นา้ มัน 50 54.789 56.983 55.873 57.982 55.847 56.294

- ภายหลงั การแชน่ ้า 50 52.762 54.893 53.257 55.673 52.783 53.873

ความตา้ นแรงเฉอื น กโิ ลปาส

กาล ไมน่ ้อยกวา่ 220 234.732 236.365 235.721 238.652 235.547 236.203
2 - ไม่ได้แช่น้าหรือน้ามนั

- ภายหลังการแชน่ า้ 220 231.651 233.762 232.353 235.241 231.872 232.975

ตารางที่ 2 ผลทดสอบความตา้ นแรงลอกและแรงเฉอื น สตู รที่ 2

119

2) ผลทดสอบความต้านแรงลอกและแรงเฉือน สูตรที่ 3

ตารางท่ี 3 ผลทดสอบความตา้ นแรงลอกและแรงเฉือน สตู รท่ี 3

ท่ี คุณลักษณะ เกณฑ์ สตู รที่ 3 เฉล่ียรวม
ก้าหนด ชินงานทดสอบท่ี 5
1 2 34

ความตา้ นแรงลอก นิวตนั ต่อ

1 ความกวา้ ง 25 มม. ไม่นอ้ ยกวา่ 50 44.287 43.276 43.871 44.211 42.632 43.655
- ไมไ่ ด้แชน่ ้าหรอื น้ามนั

- ภายหลงั การแชน่ า้ 50 41.366 40.432 40.837 41.126 40.122 40.776

ความต้านแรงเฉอื น กิโลปาสกาล

ไมน่ อ้ ยกว่า

2 - ไม่ได้แช่นา้ หรอื นา้ มนั 220 183.326 180.193 187.859 182.842 178.82 182.608
3 176.826
- ภายหลังการแช่นา้ 220 178.673 175.872 183.983 174.572
171.03
2

ตารางที่ 3 ผลทดสอบความตา้ นแรงลอกและแรงเฉือน สูตรที่ 3

5. ผลการวจิ ยั
5.1 ผลการออกแบบอัตราส่วนผสมและการผลิตกาวยางจากโฟมผสมน้ายางพารา พบว่า จาก

อตั ราสว่ นผสมที่ออกแบบจานวน 4 สูตร สามารถใชง้ านได้จรงิ จานวน 2 สตู ร คอื สตู รท่ี 2 และ 3 โดย
สูตรท่ี 1 และ 4 เนือ้ กาวมีความขน้ และเหลวเกนิ ไปตามลาดบั ทาให้ไม่เหมาะสาหรับการใชง้ าน

5.1 ผลการทดสอบคุณลักษณะความต้านแรงลอกและแรงเฉือนของช้ินงาน เม่ือเปรียบเทียบ
ตามมาตรฐาน มอก.521-2527 : กาวยาง สรุปตามตาราง ดงั นี้

ตารางที่ 4 ผลการทดสอบคณุ ลกั ษณะของช้นิ งานเทยี บตามมาตรฐาน มอก.521-2527

สตู รท่ี คุณลักษณะ เกณฑก์ า้ หนด ผลทดสอบชนิ งาน ผลการทดสอบ
มอก. 521-2527 ผา่ น ไมผ่ า่ น

ความตา้ นแรงลอก นวิ ตนั ต่อความกวา้ ง 
25 มม. ไม่น้อยกวา่ 

- ไมไ่ ดแ้ ช่นา้ หรือนา้ มนั ไม่นอ้ ยกวา่ 50 56.294 
2 - ภายหลงั การแชน่ า้ ไมน่ ้อยกวา่ 50 53.873 

ความต้านแรงเฉือน กิโลปาสกาล ไมน่ อ้ ยกว่า 220 236.203 120
ไมน่ ้อยกวา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ 220 232.975
- ไมไ่ ดแ้ ช่นา้ หรอื น้ามนั
- ภายหลังการแชน่ ้า

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

สตู รท่ี คณุ ลกั ษณะ เกณฑก์ ้าหนด ผลทดสอบชนิ งาน ผลการทดสอบ
มอก. 521-2527 ผา่ น ไมผ่ า่ น

ความต้านแรงลอก นวิ ตันตอ่ ความกวา้ ง

25 มม. ไมน่ ้อยกว่า

- ไม่ไดแ้ ชน่ ้าหรอื นา้ มนั ไม่น้อยกว่า 50 43.655 

3 - ภายหลังการแช่น้า ไมน่ ้อยกว่า 50 40.776
ความตา้ นแรงเฉือน กิโลปาสกาล 

ไม่นอ้ ยกวา่

- ไมไ่ ด้แชน่ ้าหรอื นา้ มัน ไม่นอ้ ยกวา่ 220 182.608

- ภายหลังการแช่น้า ไม่น้อยกว่า 220 176.826

ตารางที่ 4 ผลการทดสอบคณุ ลักษณะของช้ินงานเทยี บตามมาตรฐาน มอก.521-2527

6. สรุปผล อภิปรายผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
6.1 สรุปผลและอภปิ รายผลการวิจัย
6.1.1 ผลการออกแบบอัตราสว่ นผสมและผลติ กาวยางจากโฟมผสมนา้ ยางพารา
1) สูตรท่ี 1 เน้ือกาวน้ันได้จับตัวกันเป็นก้อนและมีลักษณะเหนียว ทาให้ไม่

สามารถนาไปทดลองใช้งานได้
2) สูตรที่ 2 เนื้อกาวน้ันมีความข้นแต่ไม่จับตัวกันเป็นก้อน มีลักษณะเหนียว

ผู้วิจัยคิดว่า สามารถนาไปใช้งานได้จริงและได้ทาการทดลองนากาวยางที่ทาการผสมทาลงไปบนแผ่น
พืน้ ตัวอย่างหนา 1 มม. และนากาวยางส่วนท่ีเหลือเก็บไวใ้ นภาชนะบรรจภุ ัณฑ์

3) สูตรที่ 3 สูตรท่ี 3 เน้ือกาวน้ันมีความข้นน้อยกว่าสูตรที่ 2 ผู้วิจัยคิดว่า
สามารถนาไปใช้งานได้จริง และได้ทาการทดลองนากาวยางที่ทาการผสมทาลงไปบนแผ่นพ้ืนตัวอย่าง
หนา 1 มม. และนากาวยางส่วนท่เี หลอื เกบ็ ไวใ้ นภาชนะบรรจภุ ัณฑ์

4) สตู รท่ี 4 การใส่กล่องโฟมจานวน 10 กลอ่ ง ทาใหเ้ น้ือกาวนั้นคอ่ นข้างมีความ
เหลว

6.1.2 จากการส่งตัวอย่างชิ้นงานสูตรท่ี 2 และสูตรที่ 3 ทดสอบค่าความต้านแรงลอก
และความต้านแรงเฉอื น เพือ่ เปรียบเทยี บกับมาตรฐานมอก. 521-2527 โดยสรุปผลได้ ดงั น้ี

6.1.2.1 สูตรที่ 2
1) สูตรท่ี 2 ค่าความต้านแรงลอก แบบไม่ได้แช่น้าหรือน้ามัน ผลเฉลี่ยรวม =
31.280 และภายหลังการแชน่ ้า ผลเฉลีย่ รวม = 27.873
2) สูตรที่ 2 คา่ ความต้านแรงเฉอื น แบบไมไ่ ดแ้ ช่นา้ หรอื นา้ มนั ผลเฉลยี่ รวม =
182.608 และภายหลังการแช่น้า ผลเฉลีย่ รวม = 176.826

121

6.1.2.2 สตู รที่ 3
1) สูตรที่ 3 ค่าความต้านแรงลอก แบบไม่ได้แช่น้าหรือน้ามัน ผลเฉล่ียรวม =
29.713 และภายหลงั การแช่น้า ผลเฉลีย่ รวม = 25.549
2) สตู รท่ี 3 ค่าความต้านแรงเฉือน แบบไม่ได้แช่น้าหรอื นา้ มนั ผลเฉลย่ี รวม =
178.174 และภายหลังการแชน่ า้ ผลเฉล่ียรวม = 174.032
จากการทดสอบคา่ ความต้านแรงลอกและความตา้ นแรงเฉือน เพอื่ เปรยี บเทียบกับมาตรฐานมอก.
521-2527 พบว่า สูตรท่ี 2 ผ่านการทดสอบเทียบมาตรฐานมอก. และสูตรที่ 3 ไม่ผ่านการทดสอบเทียบมาตรฐาน
มอก.
6.2 ข้อเสนอแนะ
6.2.1 ข้อเสนอแนะสาหรับงานวิจัยในครั้งต่อไป ควรปรับเปลี่ยนตัวทาละลาย
เนื่องจากผู้วิจัยได้ใช้เบนซินเป็นตัวทาละลาย พบว่า หลังจากผลิตชิ้นงานเรียบร้อยแล้วหลังจากน้ัน 2
สัปดาห์ เบนซินนั้นมีการแยกตัวจากโฟมและน้ายางพารา และพบการระเหยของเบนซิน ทาให้กาวยาง
ท่ีผลิตไว้มีความข้นเหนียวมากกว่าเดิม แต่ยังสามารถนามาใช้งานต่อได้ โดยการคนส่วนผสมให้เข้ากัน
ใหม่
6.2.2 ควรใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีไม่ใช้ซีลยางเป็นตัวรองระหว่างฝา เน่ืองจากซีลยางไม่สามารถ
คงทนต่อความกัดกร่อนของเบนซินท่ีระเหยได้ จึงควรใช้บรรจภุ ัณฑ์ที่เป็นโลหะ เพ่ือความคงทนต่อแรงกัดกร่อน
ของเบนซนิ หน้าต่างถูกออกแบบเฉพาะ วัสดุและขนาดอน่ื ๆที่แตกต่างไปจากน้ี ต้องทาการออกแบบระบบควบคุม
ใหม่

เอกสารอา้ งองิ

[1] I chikawa และคณะ. (1993). สมบัติของน้ายางโปรตีนต่้า. แหลง่ ท่ีมา :

https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/4592/5/217580.pdf. [สืบคน้ เมอ่ื 22

พฤศจกิ ายน 2563]

[2] Kolstad Het al. (2555). ศึกษาการเกิดโรคไม่ติดตอ่ และโรคมะเร็งในคนงานท่ีสัมผัสกับสไตรนี

ในอุตสาหกรรมพลาสติกท่ีประเทศเดนมาร์กทงั หมด. แหลง่ ท่ีมา :

http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5717035249_5268_

3898.pdf. [สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจกิ ายน 2563]

[3] คุณสมบัตกิ าวยาง. (2563). [ออนไลน์]. กาวยาง สารานุกรมออนไลน์. แหลง่ ท่ีมา

:http://sbadhesive.com/blog/adhesive-specification/?fbclid=IwAR1NjTHNEEb-

fo9zSD53dVItRDm0R68g1KmDajB8SibQ5cmBl79Ak2BCDzU. [สบื ค้นเมือ่ 22

พฤศจกิ ายน 2563] 122

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรบั ตรวจสอบความสงู ของส่ิงปลกู สรา้ งรอบ
สนามบนิ ดอนเมอื ง

Development of a computer program for checking the height of
buildings Around Don Mueang Airport

กิตติศกั ดิ์ วฒั นเศรษฐ์คณุ 1พรรณี พุทธเจริญทอง2ภาณเุ ดช ขัดเงางาม3
kittisak Watthanasetkhun1Phannee Phutcharoentong2 Phanudej Kudngaongarm3
1นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารก่อสรา้ ง วิทยาลัยเทคนคิ มีนบรุ ี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร

โทร.09-1986-9199 E-mail: [email protected]
2,3,อาจารยส์ าขาวชิ าเทคโนโลยกี ารก่อสรา้ ง วิทยาลยั เทคนิคมีนบุรี สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร

โทร.09-1719-0721 E-mail: [email protected]

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตรวจสอบความสูงของส่ิง
ปลูกสร้างรอบสนามบินดอนเมืองให้เป็นไปตามมาตรฐานองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ(ICAO)
และพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497พระราชบัญญัติว่าด้วยเขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ.
2478 เคร่อื งมือทีใ่ ชเ้ ปน็ โปรแกรมMicrosoft Excel บนระบบปฏบิ ตั ิการ Windowและแบบประเมินความ
พึงพอใจ โดยการวิจัยนี้ได้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตรวจสอบความสูงของส่ิงปลูกสร้างรอบ
สนามบินดอนเมือง นาจัดทาเป็นฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การแปลงค่าพิกัดระบบพิกัดภูมิศาสตร์ให้อยู่ใน
ระบบของจอภาพ จากน้นั นาไปทาการทดสอบการทางานของโปรแกรมและนาไปหาค่าความพึงพอใจจาก
กลุ่มตัวอย่างท่ีได้จากการสุ่มอย่างง่ายจากการจับสลาก จานวน 30 คน จากข้าราชการ กรมช่างโยธา
ทหารอากาศเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นโปรแกรม Microsoft Excel บนระบบปฏิบัติการ Window
และแบบประเมินความพึงพอใจ สถติ ิทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล คือ คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาครั้งน้ีโปรแกรมที่พัฒนาข้ึนสามารถตรวจสอบความสูงของสิ่งปลูกสร้างรอบ
ส น า ม บิ น ด อ น เ มื อ ง แ ล้ ว แ ป ล ง ค่ า พิ กั ด ร ะ บ บ พิ กั ด ภู มิ ศ า ส ต ร์ ใ ห้ อ ยู่ ใ น ร ะ บ บ ข อ ง จ อ ภ า พ ไ ด้ ต า ม
วัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ค่าความพึงพอใจทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน ความสามารถของโปรแกรมตรงตาม
ความต้องการ 2) ดา้ นความสะดวกและง่ายตอ่ การใช้งาน 3) ดา้ นความรวดเร็วในการทางานของระบบ
4) ด้าน ความสามารถในการทางานของระบบ โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน พบว่ามีค่าความพึงพอใจมาก
ค่าเฉล่ียอยู่ที่ 4.20แสดงถึงความเป็นไปได้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในการ
ทางานของฝา่ ยผังแมบ่ ท กรมช่างโยธาทหารอากาศ
คาสาคญั : โปรแกรมตรวจสอบความสูงของส่งิ ปลูกสรา้ ง

123

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

การพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรับตรวจสอบความสงู ของสิ่งปลูกสร้างรอบสนามบนิ ดอนเมือง

Abstract

This research The objective is to develop a computer program for checking the
height of buildings around Don Mueang Airport in accordance with the International Civil
Aviation Organization (ICAO) standard and the Air Navigation Act 1954, the Military Safety
Zone Act. Year 1935 A tool used as a Microsoft Excel program on the operating system.
Window and the satisfaction survey. This research has developed a computer program
for checking the height of buildings around Don Muang airport. Prepare a relational
database. Converting the coordinates of the geographic coordinate system to the display
system. The program was then tested and the satisfaction value was obtained from a
simple random sample from a drawing of 30 people from the civil servants of the Royal
Thai Air Force. Microsoft Excel on the Window operating system and the satisfaction
survey. The statistics used for data analysis are mean and standard deviation.

As a result of this study, the developed program was able to examine the height of the
buildings around Don Mueang airport and convert the coordinate coordinates to the screen
system according to the purpose set. Satisfaction values in all 4 aspects, namely 1) the ability
of the program to meet the needs 2) the convenience and ease of use 3) the speed of the
system 4) the capability of the system Overall, the 4 aspects were found to have a high level
of satisfaction. The mean is 4.20 indicates the possibility of increasing the efficiency and
facilitating the work of the master plan division. Royal Thai Air Force Civil Service Department
Keywords: Program to check the building height
1 บทนา

การขออนุญาตก่อสร้างส่ิงปลูกสร้างรอบสนามบินดอนเมืองน้ันต้องยึดตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ
พ.ศ. ๒๔๙๗[3]พระราชบัญญตั วิ า่ ดว้ ยเขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘[2]เพ่ือควบคุมสง่ิ ปลูกสร้างและเพอื่
ความปลอดภยั ในการเดินอากาศให้เป็นไปตามมาตรฐานองค์การการบินพลเรอื นระหวา่ งประเทศ (ICAO)[1]

กรมชา่ งโยธาทหารอากาศเป็นหน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบในการควบคุมดูแลให้สนามบินอยู่ในสภาพพร้อมรองรับ
ภารกิจของกองทัพอากาศ และหน่ึงในภารกิจสาคัญของกรมช่างโยธาทหารอากาศ คือ ฝ่ายผังแม่บท ขึ้นตรงกับ แผนก
แบบแผน กองออกแบบกอ่ สร้าง กรมชา่ งโยธาทหารอากาศ มีหน้าท่ี ดแู ลผังแม่บทของหน่วยข้ึนตรงกองทัพอากาศ และ
รับผิดชอบในการตรวจสอบและควบคุมการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนในบริเวณใกล้เคียงโดยรอบสนามบินให้เป็นไปตาม
ขอ้ บญั ญตั ใิ นระเบียบกองทพั อากาศและพระราชบัญญัติวา่ ด้วยเขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘ [2]

124

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

2 วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั
เพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตรวจสอบความสูงของสิ่งปลูกสร้างรอบสนามบินดอน

เมืองให้เป็นไปตามมาตรฐานองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ(ICAO)และพระราชบัญญัติการ
เดนิ อากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยเขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘
3 ขอบเขตของการวิจยั

3.1ขอบเขตด้านพื้นทศี่ ึกษาเฉพาะบรเิ วณพื้นทโ่ี ดยรอบสนามบนิ กองทัพอากาศดอนเมือง และทา่ อากาศยานดอน
เมอื งเทา่ น้ัน

3.2 ขอบเขตระบบงานหรือข้นั ตอนการทางาน :เง่อื นไข ข้อกาหนดทใี่ ช้ในโปรแกรมนี้เป็นไปตามขอ้ ข้อบัญญัติท่ี

ระบุในระเบยี บกองทพั อากาศและตามกฏการบนิ สากลขององคก์ ารการบนิ พลเรอื นระหว่างประเทศ(ICAO)[1]

3.3 ขอบเขตดา้ นการพฒั นาระบบ:ใช้กับโปรแกรม MicrosoftExcelบนระบบปฏิบตั ิการ Window
4 วธิ ดี าเนินการวิจยั

4.1 เตรยี มเอกสารปรกึ ษาอาจารยท์ ป่ี รึกษาและผ้เู ช่ียวชาญ
4.2 ศึกษาข้อหนดตามกฎการบินสากลขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
(ICAO)[1]และ พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗[3]และพระราชบัญญัติว่าด้วยเขต
ปลอดภยั ในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘ [2]

ภาพท่ี 1ศึกษาหลกั เกณฑม์ าตรฐานองคก์ ารการบนิ พลเรอื นระหวา่ งประเทศ(ICAO)

125

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

การพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาหรับตรวจสอบความสงู ของส่งิ ปลกู สร้างรอบสนามบินดอนเมือง

ภาพท่ี 2นาเกณฑ์มาตรฐานองคก์ ารการบินพลเรือนระหวา่ งประเทศ(ICAO)เขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ.
๒๔๗๘ลงในแผนทีภ่ าพถา่ ยทางอากาศ

4.3 ศกึ ษาระบบการทางานเดิม
การปฏิบัติของฝ่ายผังแม่บท กรมช่างโยธาทหารอากาศ จากเดิมเม่ือมีผู้มาติดต่อขอ

ตรวจสอบความสูงของสิ่งปลูกสร้าง เพื่อที่จะออกแบบก่อสร้างบ้านเพื่อขออนุญาตก่อสร้างกับ
สานักงานเขตในพื้นท่ีรอบสนามบินดอนเมือง และยื่นขออนุญาตปลูกสร้างในเขตปลอดภัยในราชการ
ทหารของกองทัพอากาศจากเดิมมีขั้นตอนการตรวจสอบโดยใช้ไม้บรรทัดวัดในแผนที่จากตาแหน่ง
ก่ึงกลางรันเวย์สนามบินฝั่งใดฝ่ังหน่ึงที่ใกล้ที่สุด ไปยังตาแหน่งท่ีจะทาการตรวจสอบความสูงแล้วทา
การคานวณ โดยใช้หลักเกณฑ์มาตรฐานตามกฏการบินสากลขององค์การการบินพลเรือนระหว่าง
ประเทศ(ICAO)[1]ต่อมามีเทคโนโลยีเข้ามาช่วยโดยใช้ ซอฟต์แวร์Google Earthทาการวัดเหมือน
ข้นั ตอนแรก

4.4 เปรียบเทียบระบบงานเดิมและระบบงานใหม่
จากการศึกษาระบบงานเดิมน้ัน พบวา่ การตรวจสอบความสูงของสิ่งปลกู สรา้ งแบบเดิมต้อง

ใช้งานระบบอินเตอร์เน็ตของทางกองทัพอากาศในการ ล็อกอิน เข้าใช้งานระบบ บางคร้ังอาจเกิด
ปัญหาเร่ืองระบบไฟฟ้า หรือระบบอินเตอร์เน็ตมีปัญหา ไม่สามารถเข้าซอฟต์แวร์ Google Earth ต้อง
รอทาใหเ้ กิดเสียเวลา

126

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ดังนั้นผู้วิจัยได้มีแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมหาระยะพ้นสิ่งกีดขวางของสนามบิน
ภาควชิ าวิศวกรรมโยธา กองการศึกษา โรงเรยี นนายเรืออากาศนวมินทกษตั ริยาธริ าช เพ่ือแกไ้ ขปัญหา
และเป็นการเพิ่มประสิทธภิ าพในการทางานให้ดีย่งิ ขน้ึ

4.5 พฒั นาโปรแกรมตรวจสอบความสงู ของสง่ิ ปลูกสรา้ งรอบสนามบนิ ดอนเมือง

ภาพที่ 3เขยี นข้อมูลระบบพกิ ดั โดยโปรแกรม Microsoft Excel

ภาพที่ 4พฒั นาโปรแกรมหาระยะพน้ ส่ิงกีดขวางของสนามบินและปรบั แก้ระบบพกิ ดั

7

127

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตรวจสอบความสงู ของสงิ่ ปลกู สรา้ งรอบสนามบินดอนเมอื ง

ภาพที่ 5ทดสอบโปรแกรมและทดสอบซา้

ภาพที่ 6พมิ พ์ผลการตรวจสอบความสงู

128

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

4.6 นาโปรแกรมท่ีได้ปรับปรงุ ตามคาแนะนาของผเู้ ช่ียวชาญและอาจารย์ที่ปรกึ ษา
4.7 ไดโ้ ปรแกรมท่พี ฒั นาขนึ้
4.8 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่างในการหาความพึงพอใจ

4.8.1 ประชากร
ประชากร ประกอบดว้ ยข้าราชการ กรมชา่ งโยธาทหารอากาศ

4.8.2 กลุ่มตวั อยา่ ง
กลมุ่ ตวั อย่างทใี่ ช้ในการศึกษาผลของโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรบั ตรวจสอบความสูงของส่ิง

ปลกู สร้างรอบสนามบินดอนเมือง ในครงั้ น้แี บ่งออกเป็น 2 กล่มุ ซง่ึ ได้จากการสุ่มตัวอยา่ งโดยการจับฉลาก
กลมุ่ ท่ี 1 กลุ่มทดลองใช้แบบสอบถาม เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ กองออกแบบ

ก่อสร้าง กรมชา่ งโยธาทหารอากาศ รวมทั้งสนิ้ 15 คน
กล่มุ ที่ 2 กลุ่มตัวอยา่ งในการตอบแบบสอบถาม เปน็ ข้าราชการ พนกั งานราชการ กรมช่าง

โยธาทหารอากาศ รวมท้งั ส้นิ 30 คน

ภาพที่ 7แบบสอบถามความพงึ พอใจ

129

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

การพัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรับตรวจสอบความสงู ของส่งิ ปลูกสร้างรอบสนามบนิ ดอนเมือง

4.9 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยไดด้ าเนินการเก็บข้อมูลดงั ตอ่ ไปน้ี
4.9.1 วางแผนดาเนินการประเมินและขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของ

โปรแกรมตรวจสอบความสงู ของสิ่งปลูกสรา้ งรอบสนามบินดอนเมือง กาหนดนัดหมายวนั เวลา กาหนด
ขนั้ ตอนประเมิน และวธิ ดี าเนนิ การประเมนิ

4.9.2 ดาเนินการช้ีแจงเพื่อให้กลุ่มตัวอย่างเข้าใจวิธีการทาแบบประเมินตามวัน เวลาท่ีนัด
หมายไว้ โดยผู้วิจัยช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการประเมินและประโยชน์ท่ีได้รับ และเห็นความสาคัญของ
การประเมินตลอดจนตง้ั ใจทาแบบประเมินเตม็ ความสามารถ

4.9.3 นาผลการประเมินมาวิเคราะหข์ ้อมูลและแปรผล โดยค่าสถิติดงั นี้
4.9.3.1 คา่ เฉลย่ี
4.9.3.2 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
4.9.3.3 ผ้วู จิ ัยนาแบบสอบถามไปแจกและเก็บรวบรวมดว้ ยตนเอง

4.9.4 นาแบบสอบถามที่สมบูรณ์มาวิเคราะห์และคัดฉบับที่ไม่สมบูรณ์ออก ใช้โปรแกรม
Microsoft Excel ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล เม่ือทาการประเมินผลประสิทธิภาพของโปรแกรมโดย
ผู้เช่ียวชาญ และได้ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้โปรแกรมตรวจสอบความสูงของสิ่งปลูกสร้างรอบ
สนามบนิ ดอนเมอื งแลว้ นาผลที่ได้มาแปลผลจากคา่ เฉลี่ย 5 ระดบั โดยวดั ระดบั ความสาคัญจะใช้มาตร
วัดของลเิ คริ ท์ (Likert’sScale) (กลั ยา วานิชย์บัญชา 2545:67-68) ดังน้ี

คา่ เฉล่ียระหว่าง 4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ
คา่ เฉล่ียระหว่าง 3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก
ค่าเฉลีย่ ระหวา่ ง 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง
ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ยท่สี ุด

5 ผลการวิจยั
การวิจยั การพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาหรับตรวจสอบความสูงของสิง่ ปลูกสร้างรอบสนามบินดอน

เมือง พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชายเฉล่ยี อยทู่ ร่ี ้อยละ 60.00 อายอุ ย่ทู ่ีประมาณ 30 – 39
ปี ประเภทผเู้ ชยี่ วชาญ ผูเ้ ชยี่ วชาญด้านเนื้อหา และผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาโปรแกรมอยูเ่ ท่ากนั ทีร่ ้อยละ
40.00 ในส่วนของผลการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มลู จากประเมินความพึงพอใจในหัวข้อผลการ
ประเมินดา้ นความสามารถของโปรแกรมพบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญพ่ ึงพอใจดา้ น ความสามารถใน
การคานวณผล เฉลี่ยอยู่ท่ี 4.10ต่อมาหัวข้อผลการประเมินด้านความสามารถในการทางานตามหน้าท่ีของ
โปรแกรม โดยกลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่พงึ พอใจด้านความถูกตอ้ งในการคานวณผลและความถกู ต้องในการ

130

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ทางานของโปรแกรมในภาพรวม มีความพ่ึงพอใจเท่ากัน และมากท่ีสุดเฉล่ียอยู่ที่ 3.90 ถัดมาหัวข้อผลการ
ประเมินด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่พึงพอใจด้านความสะดวกและ
งา่ ยในการใชเ้ มนกู ารทางาน พึงพอใจมากทสี่ ุด เฉลยี่ อยู่ที่ 4.65 ถดั มาหวั ขอ้ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจที่
มีต่อโปรแกรมโดยกลุ่มตัวอย่าง ท้ัง 4 ด้าน พบว่าส่วนใหญ่พึงพอใจด้าน ความสามารถของโปรแกรมตรง
ตามความต้องการ (Functional Requirement Test) พึงพอใจมากทีส่ ดุ เฉล่ียอยู่ท่ี 4.60

6. สรปุ ผล อภปิ รายผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ
6.1สรุปผลและอภิปรายผลการวจิ ัย
6.1.1 ผลการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตรวจสอบความสูงของส่ิงปลูกสร้างรอบ

สนามบนิ ดอนเมือง ตามหลักเกณฑม์ าตรฐานตามกฎการบินสากลขององค์การการบนิ พลเรือนระหว่าง
ประเทศ(ICAO)[1] และสอดคล้องกับการทางานของฝ่ายผังแม่บท แผนกแบบแผน กองออกแบบ
ก่อสร้าง กรมช่างโยธาทหารอากาศ และพระราชบัญญัติว่าด้วยเขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ.
2478[2]สามารถทางานได้จริงตามที่วัตถุประสงค์ เพ่ือที่จะสามารถให้บริการแก่เจ้าหน้าท่ีในกรมช่าง
โยธาทหารอากาศ และประชาชนทั่วไปที่จะมาขอตรวจสอบความของของส่ิงปลูกสร้างรอบสนามบิน
ดอนเมือง ให้มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงาน ลดขั้นตอนการทางาน
สง่ ผลให้การทางานมีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้ึน

6.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับ
ตรวจสอบความสูงของสิ่งปลูกสร้างรอบสนามบินดอนเมืองโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
จานวน30คนซึ่งผลจากการประเมินโดยรวมท้ัง4ด้านพบว่ามีค่าความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.20
แสดงถึงความเป็นไปได้ในการเพิ่มประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในการทางานของฝ่ายผัง
แม่บท กรมชา่ งโยธาทหารอากาศ

6.2 ขอ้ เสนอแนะ
6.2.1 ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีผู้วจิ ัยได้พัฒนาโดยใชโ้ ปรแกรมพ้ืนฐาน ให้ปฏิบัติการบนระบบ

Windows ภายใต้ข้อจากัดทางด้านความปลอดภัยทางทหาร จึงไม่สามารถแสดงข้อมูลในส่วน
เกย่ี วข้องอนื่ ได้มากเทา่ ทคี่ วร

6.2.2 ในการศึกษาวิจัยคร้ังต่อไปควรเพ่ิมเติมการพัฒนาโปรแกรมให้ใช้อากาศยานไร้คนขับ
(โดรน)เพ่อื ตรวจสอบความสูงจุดทไ่ี ม่สามารถเข้าถึงสัญญาณได้

131

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

การพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตรวจสอบความสูงของสง่ิ ปลกู สรา้ งรอบสนามบนิ ดอนเมอื ง

เอกสารอ้างอิง

[1] ICAO. (2018). Annex 14 Volume1 Aerodrome Design and Operations.
[2] พระราชบัญญตั ิว่าดว้ ยเขตปลอดภัยในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘
[3] พระราชบัญญัติการเดนิ อากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗

132

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

คมู่ ือการซอ่ มเสาเขม็ เจาะทีม่ ีคุณภาพไม่ดีทห่ี ัวเสาเขม็

Guide to repairing poor quality bored piles at pile heads

พรรณี พุทธเจรญิ ทอง1 ภาณเุ ดช ขัดเงางาม2 พันพฒั น์ พวงทิพย์3
Phannee Phutcharoentong1 Phanudej Kudngaongarm2 panpat puangtip3
1,2อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการกอ่ สร้าง วทิ ยาลัยเทคนิคมีนบรุ ี สถาบนั การอาชวี ะศึกษากรุงเทพมหานคร

โทร.09-1719-0721 E-mail: [email protected]

3นกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีการกอ่ สรา้ ง วิทยาลยั เทคนคิ มีนบุรี สถาบันการอาชวี ะศึกษากรงุ เทพมหานคร
โทร.08-6655-0172 E-mail: [email protected]

บทคดั ย่อ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ (1) เพ่ือสร้างคู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะที่มีคุณภาพไม่ดีที่หัวเสาเข็ม (2) ศึกษา
ปัญหาท่ีเกิดจากงานเสาเข็มเจาะระบบเจาะเปียก (3) เพื่อจัดทาข้อมูลเก็บไว้ใช้ในโครงการอ่ืนที่เจอปัญหาและ
นาไปหาประสิทธิภาพจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการสุ่ม จานวน 10 คน จากประชาชนในพื้นท่ีโครงการก่อสร้าง
Dusit central park จังหวัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ คู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะที่มี
คุณภาพไม่ดีที่หัวเสาเข็ม และแบบประเมินประสิทธิภาพ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า คู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะท่ีมีคุณภาพไม่ดีท่ีหัวเสาเข็มตามวัตถุประสงค์ มีความพึง
พอใจโดยภาพรวมอยูใ่ นค่าระดบั มากทีส่ ุด โดยมคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ4.51และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.50
คาสาคญั : คูม่ ือการซ่อมเสาเขม็ เจาะ

ABSTRACT
The objective of this study: (1) to create a repair guide piling on the poor quality of
the pile head (2) Study the problems arising from wet bored piling work (3) To prepare data
for use in other projects that encounter problems and to find efficacy from a random
sample of 10 people from people in the Dusit central park construction project area,
Bangkok Province. The research tools were: Guide to repairing poor quality bored piles at
pile heads And performance assessment form The statistics used for data analysis are mean
and standard deviat
The results of the research were as follows: Guide to repairing poor quality bored
piles at pile heads for their intended purpose. Overall satisfaction was at the highest level.
With a mean of 4.51 and a standard deviation of 0.50.

133

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

1 บทนา

ปัจจุบันส่ิงก่อสร้างในยุคโลกาภิวัตน์ เช่น อาคารสูง ทางด่วนยกระดับและทางรถไฟลอยฟ้าฯลฯ ล้วน
แล้วแตเ่ ปน็ โครงสร้างท่ีมีความสลับซับซ้อนและมีน้าหนักท่ีถ่ายลงฐานรากสูงมากกว่าสิ่งก่อสร้างในทศวรรษก่อนๆ
แม้นจะมีการใช้เสาเข็มระบบเจาะเปียกในประเทศไทยกันค่อนข้างมากแต่กลับปรากฏว่ายังไม่มีการจัดมาตรฐาน
งานเสาเข็มเจาะไว้เป็นแนวทางให้ผู้เกี่ยวข้องแต่ละฝ่ายได้ออกแบบและก่อสร้างให้เป็นมาตรฐานเดียวกันกับ
ตา่ งประเทศ [1]

ซ่ึงปัจจุบันพบปัญหาในงานเสาเข็มเจาะระบบ เจาะเปียก พบปัญหาเช่น เสาเข็มในระดับ cutoff
สภาพไม่สมบูรณ์คอนกรีตในระดับcutoff ไม่สมบูรณ์, [2] จึงท้าการวิเคราะห์และหาแนวทางข้อมูลการแก้ไข
ปัญหาและด้าเนินการเป็นผู้รวบรวมข้อมูลจัดท้าคู่มือขึนคาดวา่ จะได้น้าหยิบไปใช้ในภายหน้าถ้าพบปญั หาและ
สามารถน้ามาเผยแพร่ต่อคนอื่นน้าไปใช้เป็นประโยชนไ์ ดแ้ ละทา้ ให้มีผลดตี ่อบริษัท

2 วัตถุประสงค์การวจิ ยั

2.1 ศึกษาปัญหาท่ีเกดิ จากงานเสาเข็มเจาะระบบเจาะเปยี ก
2.2 จัดทา้ คู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะที่มีคุณภาพไม่ดที ห่ี ัวเสาเข็ม
2.3 เพื่อจัดทา้ ขอ้ มลู เกบ็ ไวใ้ ชใ้ นโครงการอื่นทเี่ จอปญั หา

3 ขอบเขตของการวจิ ัย
3.1 เร่ิมเดอื นพฤศจิกายน 2563 สินสุดการวจิ ยั และพฒั นา ภายในเดอื นมีนาคม 2564
3.2 กลุ่มตัวอย่างในแก้ไขซ่อมแซมเสาเข็มเจาะผู้วิจัยเลือกใช้ การซ่อมเสาเข็มเจาะศึกษาเฉพาะ บริษัท ซีฟโก้ จ้ากัด
(มหาชน)

4 วิธีดาเนินการวิจยั
4.1 การสร้างคู่มอื
ข้ันตอนการจัดทาคมู่ ือ
4.1.1 วิเคราะห์ปัญหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีพบเจอในงานเสาเข็มเจาะระบบเจาะเปียก

[2,3]โดยใช้การสอบถามจากผู้เช่ียวชาญในด้านการท้าเสาเข็มเจาะ ผู้เช่ียวชาญในที่นีจะประกอบไปด้วย
ผู้จัดการโครงการ4คน และวิศวกรโครงการ6คน บริษัท ซีฟโก้ จ้ากัด (มหาชน) จ้านวน10คน ซ่ึงเป็นผู้ท่ีมี
ประสบการณ์ในการท้าเสาเข็มเจาะระบบเปียกมาอย่างยาวนาน และเป็นผู้ที่เคยประสบกับเหตุการณ์การซ่อม
เสาเขม็ เจาะและได้มีประสบการณเ์ สาเข็มเจาะมาพอสมควร จึงท้าให้มคี วามรใู้ นดา้ นนอี ย่างดีเยย่ี ม

134

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

4.1.2 ศกึ ษาเก่ียวกับการซ่อมเสาเข็มเจาะเพิ่มเติมโดยได้คน้ คว้าศึกษาผ่านทางออนไลน์ตามงานวจิ ยั
ตา่ งๆ

ภาพท่ี 1 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการซ่อมเสาเข็มเจาะ

4.1.3 ออกแบบคู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะในการจัดวางหน้ากระดาษให้เหมาะสมสา้ หรบั การท้าคู่มอื

ภาพท่ี 2 เริ่มทาการออกแบบคูม่ ือการซ่อมเสาเข็มเจาะโดยใช้โปรแกรม power point

4.1.4 เร่ิมจัดทา้ คูม่ อื การแกไ้ ขปญั หางานเสาเข็มเจาะระบบเจาะเปียก
4.1.5 นา้ ค่มู ือการแก้ไขปัญหางานเสาเข็มเจาะระบบเจาะเปียกไปทดลองใชก้ ับกลุม่ ตัวอย่างทีส่ ่มุ
แบบงา่ ย
4.1.6 ปรับปรงุ แก้ไขตามคา้ แนะนา้ ของผูท้ ดลองใช้จนได้ค่มู ือฉบับสมบูรณ์

ภาพที่ 3 ได้คูม่ ือฉบบั สมบูรณ์

135

บทความผลงานวจิ ัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

4.2 แบบประเมินประสิทธภิ าพ
เปน็ แบบสอบถามเพ่อื ประเมินหาประสิทธภิ าพ ค่มู ือการซ่อมเสาเขม็ เจาะที่มคี ณุ ภาพไม่ดีทห่ี ัวเสาเขม็

เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณคา่ 5 ระดบั ผ้วู จิ ัยได้ด้าเนนิ การสรา้ งแบบสอบถาม ดังต่อไปนี
4.2.1 ออกแบบข้อคา้ ถามให้สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์
4.2.2 นา้ ข้อความปรึกษาอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาเพ่ือขอคา้ แนะน้า
4.2.3 ปรับปรงุ แก้ไขตามคา้ แนะนา้
4.2.4 น้าแบบสอบถามที่แก้ไขแล้วให้ผู้เชย่ี วชาญประเมินความสอดคลอ้ ง
4.2.5 ปรบั ปรงุ แก้ไขจนได้แบบสอบถามน้าไปทดลองใช้ เพื่อหาประสิทธิภาพ
4.2.6 ปรบั ปรงุ แก้ไขจนไดแ้ บบสอบถามทส่ี มบรู ณ์ น้าไปใชก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ ง เพ่ือประเมิน

ประสิทธภิ าพ โดยแบ่งสอบถามออกเปน็ 3 ตอน
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผูป้ ระเมนิ เกีย่ วกบั ประสิทธิภาพของคู่มือ
ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นของผปู้ ระเมินเกยี่ วกบั ประสิทธิภาพ ลกั ษณะข้อคา้ ถามเป็นแบบ

เลือกตอบแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั
5 = ระดับประสิทธิภาพมากที่สุด
4 = ระดบั ประสทิ ธิภาพมาก
3 = ระดับประสทิ ธภิ าพปานกลาง
2 = ระดบั ประสิทธภิ าพน้อย
1 = ระดับประสทิ ธภิ าพนอ้ ยทสี่ ุด

เกณฑ์การประเมิน มีดงั นี
ค่าเฉลยี่ ระหว่าง 4.50 – 5.00 หมายถึง มปี ระสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ
ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 3.50 – 4.49 หมายถงึ มปี ระสิทธภิ าพมาก
คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง 2.50 – 3.49 หมายถงึ มปี ระสิทธภิ าพปานกลาง
คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.50 – 2.49 หมายถงึ มปี ระสทิ ธิภาพนอ้ ย
ค่าเฉลยี่ ระหว่าง 1.00 – 1.49 หมายถึง มปี ระสทิ ธิภาพนอ้ ยท่สี ุด

4.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู มขี น้ั ตอนในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลดังนี้
4.3.1 ขอความอนุเคราะห์ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างในพนื ท่ีไซต์งานกอ่ สรา้ งโครงการDusit

central park จงั หวัดกรุงเทพมหานคร
4.3.2 ดา้ เนินการแจกคู่มือการซอ่ มเสาเขม็ เจาะท่ีมีคุณภาพไม่ดีทหี่ ัวเสาเข็มและเก็บขอ้ มูลด้วยตนเอง ใน

พนื ทีไ่ ซต์งานกอ่ สร้างโครางการ Dusit central park จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยเลือกกลุ่มตัวอยา่ งแบบสมุ่

136

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

4.3.3 ให้กลมุ่ ตัวอย่างทดลองใชค้ ู่มอื การซ่อมเสาเข็มเจาะที่มีคุณภาพไม่ดีที่หวั เสาเข็ม ใหเ้ หน็ ถึง
ประสิทธภิ าพและประโยชนข์ องคู่มือ

4.3.4 ใหก้ ลุ่มตัวอยา่ งท้าแบบสอบถามเพอ่ื หาประสิทธิภาพของคมู่ ือการซอ่ มเสาเขม็ เจาะที่มีคณุ ภาพไม่ดีที่หัวเสาเขม็
4.3.5 เก็บรวบรวมแบบสอบถามเพื่อหาประสิทธภิ าพ เพื่อนา้ ไปวิเคราะห์ข้อมูล และใหไ้ ด้ครบจา้ นวน
กลมุ่ ตวั อย่าง จ้านวน 10 คน
5 ผลการวจิ ัย

5.1 ผลการประเมนิ ประสทิ ธิภาพท่มี ตี ่อคู่มอื การซ่อมเสาเข็มเจาะท่ีมีคุณภาพไม่ดีทีห่ วั เสาเข็มโดยกลุม่
ตวั อยา่ งจา้ นวน 10 คน เพื่อประเมินหาประสทิ ธภิ าพ สามารถสรปุ ผลจากแบบประเมนิ ประสิทธิภาพสา้ หรับ
กลุ่มตวั อยา่ งได้ ดังนี

5.1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมิน
ในสว่ นนีไดท้ ้าแบบสอบถามเกยี่ วกับข้อมูลทั่วไปของผปู้ ระเมินได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ จ้านวน 3

ข้อ โดยกลมุ่ ตัวอยา่ งตอบแบบสอบถาม จา้ นวน 10 คน
5.1.2 ผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพทีม่ ตี อ่ คมู่ ือการซ่อมเสาเขม็ เจาะทม่ี ีคุณภาพไม่ดีทีห่ ัวเสาเขม็ ตามตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ผลการประเมินประสทิ ธิภาพจากผู้เชีย่ วชาญท่ีมีตอ่ คู่มอื การซ่อมเสาเขม็ เจาะท่มี ีคุณภาพไม่ดีท่หี ัว
เสาเข็มเจาะ

137

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

จากตารางท่ี 1 สรปุ ผลการประสทิ ธภิ าพทมี่ ีต่อคู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะที่มีคณุ ภาพไมด่ ีที่หัวเสาเขม็ รวม 3
ดา้ น โดยกลมุ่ ตัวอย่าง เมื่อน้าคะแนนเฉลีย่ ทีไ่ ด้ของแต่ละด้านมาผ่านวิธกี ารทางสถติ ิ เพื่อหาค่าเฉล่ียอีกครัง
พบวา่ ค่าเฉลี่ยรวมทัง 3 ด้านเทา่ กับ4.51และค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานโดยรวมเท่ากบั 0.50ดงั นันคู่มือการซอ่ ม
เสาเข็มเจาะทมี่ ีคณุ ภาพไม่ดีท่ีหัวเสาเขม็ ผวู้ ิจยั ได้ทา้ การพฒั นา ได้ผลการประเมินจากกลุ่มตัวอยา่ งมีระดับความ
พึงพอใจ โดยรวมทัง 3 ด้านอย่ใู นระดับมากที่สุด

6 สรปุ ผล อภปิ รายผลการวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะ
6.1สรุปผลและอภิปรายผลการวิจยั
6.1.1 คู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะท่ีมีคุณภาพไม่ดีท่ีหัวเสาเข็มสามารถน้าไปใช้งานได้จริงตาม

วัตถุประสงค์ท่ีผู้วิจัยได้ออกแบบไว้ซึ่งผลการวิจัยนีเกิดจากการพบเจอปัญหาการซ่อมเสาเข็มเจาะในหลายไซต์
งานในช่วงขันตอนตรวจสอบเสาเข็มเจาะ[2]ซึ่งยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลเป็นรูปเล่มหรือคู่มือ ทาให้จัดทาคู่มือ
การซ่อมเสาเข็มเจาะท่ีมีคุณภาพไม่ดีท่ีหัวเสาเข็มน้ีขึ้นมาและสามารถนาไปใช้ได้จริงโดยผ่านการใช้งานและ
ประเมินจากผ้เู ชีย่ วชาญในด้านงานเสาเข็มเจาะ

6.1.2 ผลการประเมินประสิทธิภาพพของกลุ่มตัวอย่างในพ้ืนท่ีไซต์งาน Dusit central park จังหวัด
กรงุ เทพมหานคร ท่ีมีต่อคมู่ ือการซ่อมเสาเข็มเจาะทมี่ ีคุณภาพไม่ดีทีห่ วั เสาเข็ม โดยการวิเคราะหข์ อ้ มูลจากกลุ่ม
ตัวอย่าง จานวน 10 คน ซ่ึงผลจากการประเมินโดยรวมทั้ง 3 ด้าน มีค่าระดับประสิทธิภาพเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มากที่สุดโดยมีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ4.51 มีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.50

6.2 ขอ้ เสนอแนะ
6.2.1 ในการศึกษาวิจัยคร้งั น้ีผู้วิจัยได้จัดทาคู่มือการซ่อมเสาเข็มเจาะที่คุณภาพไม่ดีทีห่ ัวเสาเข็มมาเพอื่ ใช้ใน
การหาซ่อมเสาเขม็ เจาะทพี่ บในงานกอ่ สรา้ งซึง้ ขอ้ มูลเชิงลกึ ยงั ไมค่ รบถ้วนมากเน้ือหาในคม่ อื ตอ้ งหาเพิม่ ให้มากกว่านี้
6.2.2 ในการศึกษาวิจัยครั้งตอ่ ไปควรนาคู่มอื การซ่อมเสาเข็มเจาะที่คุณภาพไม่ดีที่หัวเสาเข็มไปพฒั นา
ในด้านตัวรูปเลม่ คมู่ ือ ใหท้ นั สมัยและมีประสิทธภิ าพ

เอกสารอา้ งอิง 138
[1] ดร. ณรงค์ ทศั นนิพนั ธ์ , ซอว์ ซอว์ เอย์ , ดร ธนานันท์ บณุ ยรักษ์ , ชันลักสมาย โรธ
งานคอนกรีตสาหรบั เข็มเจาะและงานเทใตน้ า้ โครงการอบรม : คอนกรีตพเิ สษ แนวคิด ส่วนผสม การทดสอบ
และการใช้งาน 30-31 พฤษภาคม 2561สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย { AIT }
[2] ประทุมทิพย์ รอดเกดิ 2559 [ออนไลน์]. การตรวจสอบเสาเขม็ เจาะ [สบื ค้นเมื่อ24/11/2563]. จาก
http://oknation.nationtv.tv/blog/pratumthip
[3] ศักดา เรืองอตุ มานนั ท์ 2560 [ออนไลน]์ การวเิ คราะห์ความเสย่ี งของโครงการก่อสร้างฐานรากเสาเข็ม
เจาะระบบรถเครนสวา่ น (สบื ค้นเมอ่ื 24/11/2563)จาก
http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/8006/2/Fulltext.pdf

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การสร้างแม่พิมพป์ ั๊มโลหะแบบผสมสาหรบั ผลติ ชนิ้ งาน ข้อตอ่ รางเดินสายไฟ
MAKING COMBINATION DIE PRODUCE TRUNKING SYSTEM PARTS

มนัส มาตราช , ชุตพิ นธ์ ใชยอุดม , ดร. วสันต์ ภูร่ สั มี , อ. ยงยุทธ แกว้ ธรรมชยั
Manus Matarach, Chutipon Chaiudom, Dr. Wasan Phooratsamee, Yongyut Kaewthamchai

นกั ศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยแี ม่พิมพ์ สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร E-mail: [email protected]
อาจารยส์ าขาวิชา สาขาวิชาเทคโนโลยแี มพ่ มิ พ์ สถาบนั การอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร E-mail: [email protected]

บทคดั ย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยฉบับนี้ เป็นการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ แบบผสม
Compound Die สาหรับผลิตชิ้นส่วน ข้อต่อรางเดินสายไฟ วัสดุช้ินงานเป็นเหล็กรีดเย็น เกรด
SPCC ความหนา 2.0mm.t โดยเรม่ิ จากการออกแบบแผ่นงาน เขียนแบบชดุ แม่พมิ พ์ เลือกวัสดุที่
ใช้ในการสร้างชุดแม่พิมพ์ หลังจากทาการออกแบบและสร้างชุดแม่พิมพ์เสร็จแล้ว นาชิ้นส่วนต่างๆ
ของแม่พิมพ์มาทาการตรวจวัดขนาด ว่าถูกต้องตามแบบท่ีกาหนดไว้หรือไม่ เพ่ือปรับปรุงแก้ไขให้
ถูกต้องสมบูรณ์ จากน้ันนาชุดแม่พิมพ์ไปทาการทดลองผลิตชิ้นงาน ชิ้นส่วนข้อต่อรางเดินสายไฟ
จานวน 20 ชิ้น นาช้ินงานท่ีผลิตได้ ไปทาการตรวจวัด ขนาดจุดต่างๆ ของช้ินงาน ตามแบบงานที่
กาหนด ซึ่งจากการตรวจวัดขนาด ของช้ินงานข้อต่อรางเดินสายไฟ ทราบว่าขนาดของจุดต่างๆของ
ชนิ้ งานอยใู่ นพิกัดความเผ่อื ท่ีกาหนดไวท้ ุกจดุ สรปุ ผลการทดลองเมื่อทาการตรวจวัดขนาดต่างๆ ของ
ชิ้นงานเปรียบเทียบของดีและของเสยี ที่ระดับความเชื่อมั่นที่กาหนดไว้คือ 95% และผลการทดลอง
ออกมาอยู่ในระดับความเชื่อม่ัน ที่สามารถยอมรับได้ที่ระดับความเชื่อม่ัน 95% จากการผลิตช้ินงาน
20 ช้ิน ทาการตรวจวัดทั้งหมดและส่งตัวอย่างช้ินงานทั้ง 20 ชิ้น ให้แผนกงานประกอบ ทดลอง
ประกอบข้ึนเป็นชุดข้อต่อรางเดินสายไฟ สามารถประกอบได้ถูกต้องตามแบบท่ีกาหนด ดังนั้น
สามารถนาชิน้ งานลงผลติ ในขบวนการผลติ ได้ และสามารถผลติ จาหนา่ ยใหล้ กู ค้าได้

คาสาคัญ: สรา้ งแม่พิมพ์ปมั๊ โลหะแบบผสม Compound Die สาหรบั ผลติ ขอ้ ต่อรางเดินสายไฟ

139

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

Objectives of this research It is a design and fabrication of composite die for stamping parts.
Wiring rail joint The workpiece material is SPCC grade cold rolled steel, thickness 2.0mm.t
starting from the design of the sheet. Drawing a set of molds Select the material used to
create the mold set. After finished designing and building the mold set. The various parts of
the mold are taken to measure the dimensions. That it is correct as specified or not In order
to improve, correct and complete Then take a set of molds to test the production of
workpieces. 20 pieces of cable trunk joint To measure the various point sizes of the workpiece
according to the specified work plan Which from measuring the size Of workpieces, joints,
troughs, wiring Note that the dimensions of the workpiece are within the set tolerance at all
points. Summary of experimental results when measuring various sizes Of good and waste
comparable workpieces At the predetermined confidence level was 95% and the results came
out with a confidence level. That can be accepted at a 95% confidence level from the
production of 20 parts, all measurements are taken and all 20 samples are sent to the
assembly department Experimental assembly into a set of wiring harness connectors. Can be
assembled correctly as required Therefore, the workpiece can be brought into production in
the production process. And able to produce and sell to customers

Keywords: Compound Die For producing joints, trunking and wiring

140

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

1. บทนา
ผลงานวิจัยน้ีจัดทาขึ้นใน บริษัท เดนโก้ อินดัสทรี จากัด เลขที่ 999 หมู่ 8 ถนน สมุทรปราการ-

สมทุ รสาคร ตาบลนาเกลือ อาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวดั สมทุ รปราการ
ด้วยปัจจุบันวัตถุดิบหลักหลายชนิด ท่ีใช้กันมากในการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น เหล็ก , เม็ด

พลาสติก และอ่นื ๆ ซึง่ วัตถุดิบภายในประเทศ มีไม่เพยี งพอกับการใชง้ าน วัตถดุ บิ หลักบางชนดิ ต้องนาเข้า
จากต่างประเทศ ทาให้ต้นทุนในการผลิตสูงขึ้นตามไปด้วย แต่ราคาขายผลิตภัณฑ์ยังไม่สามารถปรับขึ้น
ราคา ตามต้นทนุ ทส่ี ูงขึน้ ทางบริษัทจาเป็นตอ้ งปรับวธิ กี ารทางาน และหาวธิ ีการบรหิ ารจดั การวตั ถดุ ิบ ใหม้ ี
ประสิทธิภาพสูงสดุ คุ้มค่ามากท่ีสุด เพื่อลดต้นทุนของวัตถุดิบในการผลิต และคงราคาผลิตภณั ฑ์ไม่ให้ปรับ
สูงข้นึ ทางบรษิ ัท เดนโก้ อนิ ดัสทรี จากดั เป็นผูผ้ ลติ ตู้สวิทย์บอร์ดควบคุมระบบไฟฟา้ ,รางเดินสายไฟ Wire
Way , Cable Tray ,Cable Ladder วัตถุดิบหลักท่ีใช้ คือ เหล็กแผ่นรีดเย็นเกรด SPCC ด้วยปัจจุบัน
เหล็กมีการปรับราคาสูงข้ึน และมีแนวโน้มปรับสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ทางผู้บริหารของ บริษัท เดนโก้
อินดัสทรี จากัด ได้มีนโยบาย ที่จะลดต้นทุนในการผลิต จากการใช้วัตถุดิบให้คุ้มค่ามากท่ีสุด ใน
สายการผลิตช้ินงานด้วยงานป๊ัม ท่ีนักศึกษาทางานรับผิดชอบอยู่ในสายการผลิตงานป๊ัมนั้นปัจจุบัน ใน
ขั้นตอนการผลิตงานป๊ัม ใช้เคร่ือง CNC Punching ผลิตช้ินงาน โดยนาเหล็กแผ่นเต็ม ขนาด W4 x L8
ฟุต ขึ้นเคร่ือง CNC Punching เจาะรู และ ตัด ออกมาเป็นชิ้นๆ บางช้ินงานมีขนาดเล็ก สามารถใช้แผ่น
เหลก็ ที่มขี นาดเล็ก มาทาการผลิตได้ ในขบวนการผลติ ในบริษัทจะมีแผน่ เหล็กท่เี หลือ จากการผลิตช้นิ งาน
จากผลิตภัณฑ์อ่ืน เช่น จากงาน สั่งทาพิเศษ ( Made to order ) ที่มีเศษเหล็กเหลือจานวนมาก ตัว
นักศึกษาเองได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้ดาเนินการบริหารจัดการเศษเหล็ก ที่เหลือจากการผลิต ได้
นามาวิเคราะห์หาวิธีการ ตามท่ีได้รับหมอบหมาย จึงได้มีแนวคิด ที่จะนาแผ่นเหล็กมาทาเปน็ ชิน้ งาน โดย
ที่ไมต่ ้องนาเหล็กแผ่นเต็มมาใชใ้ นการผลิต เพื่อเพ่ิมมลู คา่ ของชนิ้ งาน จากการขายเป็นเศษเหล็กที่มรี าคาถูก
เมือเทียบกับราคาเหล็กแผ่นเต็มท่ีซื้อเข้ามา โดยได้ทาการคิดออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ป้ัมโลหะ แบบ
ผสม Compound Die เพื่อใช้ในการผลิต ข้อต่อรางเดินสายไฟ โดยวิธีการทางานป๊ัมเพียง 1 คร้ัง ได้
ช้ินงานท่ีเสร็จสมบูรณ์ เพื่อเป็นการประหยัดเวลาในการทางาน จึงได้ทาการออกแบบ และสร้างแม่พิมพ์
ปั้มโลหะ โดยคานึงถึง ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน และความคุ้มค่า ด้วยการลดต้นทุนในการบริหาร
จัดการ ในการใชว้ ัตถดุ ิบหลกั ของบรษิ ัท คอื เหล็กแผน่

141

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

2. วัตถุประสงคข์ องโครงการ
2.1 เพ่ือนาเศษเหล็กท่ีเหลือจากการผลติ มาเพ่ิมมูลค่าชิ้นงาน
2.2 เพอ่ื ออกแบบและสร้าง แม่พมิ พ์ปั๊มโลหะแบบผสม Compound Die

3. วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั
3.1 วางแผนทาโครงการกาหนดขอบเขต
3.2 ศึกษาข้อมลู และทฤษฏที เ่ี กีย่ วข้อง
3.3 ประชุมออกแบบแมพ่ ิมพ์
3.4 จดั ซอื้ วสั ดุ
3.5 ทาการสร้างแม่พมิ พป์ รับประกอบแม่พมิ พท์ ดลองแม่พมิ พ์
3.6 แก้ไขปรบั ปรุงแม่พิมพ์
3.7 ผลติ ชนิ้ งาน
3.8 ตรวจวดั และบนั ทึกผล
3.9 สรปุ ผล
3.10 จดั ทารูปเล่ม

โดยมีรายละเอียดในแต่ละหัวขอ้ ดงั น้ี
ขั้นตอนในการดาเนนิ การวจิ ยั

3.1 การออกแบบช้ินงานและชุดแม่พมิ พ์ เขียนแบบและสรา้ งชดุ แม่พมิ พ์
3.2 เครอ่ื งจักรทีใ่ ชใ้ นการสร้างชุดแม่พิมพ์
3.3 การสร้างชดุ แม่พมิ พ์แบบผสมสาหรับผลติ ชิ้นงานข้อตอ่ รางเดินสายไฟ
3.4 เครื่องมือวดั และอุปกรณท์ ใี่ ช้ในการตรวจวดั ชน้ิ งาน
3.5 วธิ กี ารเกบ็ ข้อมลู และการทดลอง

142

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ขั้นตอนการดาเนนิ โครงการ สามารถเขยี นเปน็ ไดอะแกรม ไดด้ งั แผนภมู กิ ารดาเนนิ งานตอ่ ไปน้ี

รูปท่ี 0-1 แผนภมู ิแสดงขัน้ ตอนการวางแผนการทางาน

143

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี


Click to View FlipBook Version