The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dwork2465, 2022-03-30 09:46:32

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หนังสือรวมบทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: บทความ,งานวิจัย

3.1 การออกแบบชิ้นงานและชดุ แม่พิมพ์ เขียนแบบและสร้างชดุ แมพ่ ิมพ์

รปู ท่ี 0-1 การออกแบบ สร้างแมพ่ ิมพ์ แบบผส ม ดว้ ยโปรแกรม Auto CAD
3.2 เคร่ืองจักรกล ท่ใี ช้ในการสรา้ งชดุ แม่พิมพ์

รูปท่ี 0-2 เครอ่ื งจกั รกลทีใ่ ช้ สรา้ งแมพ่ ิมพ์ ดว้ ยเคร่อื ง Lathe M/C 144
ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

3.2.1 เครื่องจักรทใี่ ช้ในการสรา้ งชุดแม่พิมพ์

Cnc milling M/C Wire Cut M/C

Grinding M/C
รปู ท่ี 0-3 เครื่องจกั รท่ีใช้ สรา้ งแม่พมิ พ์
3.2.2 อปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื ท่ีใช้วัดแมพ่ ิมพ์

ไมโครมิเตอร์ (Outside Measurement)

เวอร์เนียร์ คารล์ ิปเปอร์ดจิ ติ อล (DIGITAL CALIPER)

145 รูปที่ 0-4 เครอื่ งมือวดั ละเอียดที่ใช้ วดั ชนิ้ สว่ นแม่พมิ พ์

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

รูปชิ้นสว่ นแม่พิมพ์ป๊ัม แบบผสม Compound Die ข้อต่อรางเดินสายไฟ
จากการผลิต ดว้ ยเครื่องจกั รกล CNC

BOTTOM PLATE TOP PLATE

STRIPPER PLATE PUNCH HOLDER PLATE

PUNCH PLATE DIE

146

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

รูปการเลอื กใชช้ ิน้ ส่วนแม่พิมพ์ แบบมาตรฐาน
จากบรษิ ทั ผผู้ ลติ

GUIDE POST SET

PUNCH
STANDARD
147

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ขัน้ ตอนการชบุ แข็ง ชิน้ สว่ นแม่พมิ พ์

หลังจากทีท่ าการ Machine ตามแบบ เสร็จเรยี บร้อยแล้วช้นิ งานจะทาการส่งชุบแข็งจานวนทงั้ สนิ้ 4
ชิน้ โดยมี การแยกประเภทของเหล็กตามคุณสมบัติของเหล็ก ไดแ้ กเ่ หล็ก SKD11 จานวน 2 ชนิ้ โดยคา่
ความแข็งท่ีกาหนดสามารถยอมรบั ไดท้ ่ี 58-60 HRC. และเหล็ก S45C จานวน 2 ช้ิน โดยคา่ ความแขง็ ที่
กาหนดสามารถยอมรบั ได้ที่ 38-40 HRC.

Die Plate SKD 11 Treat ment 58-60 Hrc.
Punch Plate SKD 11 Treat ment 58-60 Hrc.
Stripper Plate S45C Treat ment 38-40 Hrc.
Backing Plate S45C Treat ment 38-40 Hrc.

รปู การประกอบแม่พิมพ์

148

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563

ขัน้ ตอนในการทดลองแม่พมิ พ์

Try Out Mold

12

43

1. วัดความสงู ของแม่พมิ พ์ (240mm) จากน้ันปรับคอเคร่ืองขึน้ ให้มากกวา่
ความสงู ของแม่พิมพ์245mm แลว้ นาแม่พิมพ์เขา้ เครื่อง
2. ทาการปรับความสูงของแมพ่ ิมพ์ (240mm) แล้วลอ็ คแม่พมิ พ์ ลา่ ง-บน ใหแ้ น่น
3. ทาการป้ัมตัวเปลา่ ทดลองการเคลื่อนที่ เช็ควา่ ตดิ ขัดตรงไหนหรือไม่
4. ทาการปั้มทดลองนาแผน่ ชน้ิ งานที่เตรยี มไว้ ทดลองป้มั เพือ่ ตรวจสอบชน้ิ งาน

149

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

4. ผลการทดลองผลติ ชน้ิ งาน 3

1

2

ตารางท่ี 0-1 สรุปผลการตรวจวัดขนาดจุดท่ี 1 ขนาด Ø . +− . มิลลเิ มตร

จากตารางสรุปผลการตรวจวัดขนาดจดุ ท่ี 1 ขนาด Ø . −+ . ของจานวนชิ้นงาน
20 ชน้ิ พบวา่ ขนาดชิน้ งานอยูใ่ นคา่ พกิ ัดท่ีกาหนดทัง้ หมด 20 ชิ้น
ตารางที่ 0-2 สรุปผลการตรวจวัดขนาดจดุ ท่ี 2 ขนาด Ø . +− . มลิ ลิเมตร

จากตารางสรุปผลการตรวจวัดขนาดจุดที่ 2 ขนาด Ø . +− . ของจานวนช้ินงาน
20 ช้นิ พบว่าขนาดช้นิ งานอยใู่ นค่าพกิ ดั ที่กาหนดท้งั หมด 20 ช้นิ
ตารางที่ 0-3 สรุปผลการตรวจวดั ขนาดจุดท่ี 3 ขนาด +− . มิลลิเมตร

จากตารางสรุปผลการตรวจวัดขนาดจดุ ท่ี 2 ขนาด +− . ของจานวนชิน้ งาน 150
20 ชิ้น พบวา่ ขนาดชนิ้ งานอยู่ในคา่ พิกดั ทก่ี าหนดทงั้ หมด 20 ชนิ้

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

5. สรุปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ
จากการออกแบบและสร้างชุดแม่พิมพ์แบบผสมสาหรับผลิตช้ินงานชิ้นงาน ข้อต่อรางเดินสายไฟ

และทาการผลิตช้ินงานจานวน 20 ช้ิน สามารถสรุปผลการออกแบบและสร้างรวมท้ังผลการผลิต
ชน้ิ งานไดด้ งั ตอ่ ไปนี้

การออกแบบและสรา้ งชุดแมพ่ ิมพ์แบบผสมสาหรบั ผลิตช้นิ งาน ขอ้ ต่อรางเดนิ สายไฟ โดยทาการกด
ตัดรูและกดตัดขอบช้ินงานจากนั้นทาการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์และทาการผลิต
ช้ินส่วนต่างๆของชุดแม่พิมพ์ตามแบบท่ีกาหนด ไช้วัสดุที่นามาทาการผลิตช้ินงาน คือ เหล็กรีดเย็น
เกรด SPCC ความหนา 2.0 มิลลิเมตร เมื่อทาการผลิตช้ินงาน ข้อต่อรางเดินสายไฟ จานวน 20 ช้ิน
ทาการตรวจวัดขนาดจุดต่างๆ ของชิ้นงานด้วยเคร่ืองมือวัดและตรวจสอบด้วยสายตา สรุปผลการ
ทดลองผลติ ชิ้นงาน ขอ้ ต่อรางเดินสายไฟ ด้วยชุดแม่พิมพแ์ บบผสม
จาการทดลองผลิตชิ้นงาน ข้อต่อรางเดินสายไฟ ด้วยชุดแม่พิมพ์แบบผสมจานวน 20 ชิ้น และทาการ
วัดขนาดท้ังหมด 3 จุด ซ่ึงมีชิ้นงานเสียทั้งหมด 0 ช้ิน จากทั้งหมด 20 ชิ้น คิดเป็น 0% ของจานวน
ชน้ิ งานทง้ั หมด

ดังน้ันสรุปได้ว่าช้นิ งานที่ทาการผลิตด้วยชุดแม่พิมพ์แบบผสมสาหรบั ผลิตน้ันสามารถผลิตชนิ้ งานได้
ตามแบบที่กาหนดได้ในระดับความเชื่อม่ัน 95% จึงสามารถนาช้ินงาน ข้อต่อรางเดินสายไฟ ลงผลิต
ประกอบในไลน์ผลติ ได้

บรรณานกุ รม

1.เกษม เลิศรัตน์ และ มัทสึโอะ มิยากาวา ,2527 ,การทาแม่พมิ พ์อัดโลหะสมาคมส่งเสรมิ ความรดู้ ้านเทคนคิ ระหวา่ ง ,
,ประเทศกรงุ เทพฯ.

2 ชาญ ถนัดงาน และคณะ ,2533 ,คูม่ อื การออกแบบ และสรา้ งแม่พมิ พข์ นาดเลก็ ลฟิ วิ่ง .เอ .พี ,, กรุงเทพฯ.
3 ชาญชัย ทรพั ยากร และคณะ, การออกแบบแม่พิมพ์สมาคมส่ง ,เสรมิ เทคโนโลยี -ไทย)ญี่ปุ่น (ส.ท.ส., กรุงเทพฯ.
4 ชาลี ตระการกลู ,2541 ,เทคโนโลยซี ีเอ็นซีพิม ,พค์ รั้งท่ี , 6กรุงเทพฯ ,ส.เอเชยี เพรส.
5 บรษิ ทั เอม็ แอนด์อี จากดั ,2537 ,คมู่ ือการเลือกใช้วสั ดุกรงุ เทพฯ , ,เอม็ แอนดอ์ .ี
6 ศภุ ชัย รมยนนท์ ,2540 ,ทฤษฎเี ครอ่ื งมือกลฯกรุงเทพฯ , .5 พมิ พ์ครงั้ ที่ ,,ไทยวัฒนาพานชิ .
7 สุวิช มาเทศน์ ,2549 ,การออกแบบแม่พิมพ์ปั๊มข้ึนรูปโลหะเชียงใหม่ ,, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา
ภาคพายัพ.
8 ชานนท์ สขุ ตาอยู่ และคณะ ,2547,แม่พมิ พ์ป้ัมโลหะแผ่น ,กรุงเทพฯ,สมาคมอตุ สาหกรรมแมพ่ ิมพ์ไทย.

151

บทความผลงานวิจัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

รปู ชิ้นงานทีน่ ามาประกอบกบั ช้นิ ส่วนอื่น
เสร็จสมบูรณ์ พรอ้ มสง่ มอบใหล้ ูกคา้

152

ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การผลิตและหาประสทิ ธภิ าพสบูเ่ หลวลา้ งมอื กล่นิ มะกรดู
The Production and efficacy of liquid hand soap, bergamot scent

นางสาวอารีรตน์ แกว้ กลั ยา1,นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพมิ าย2, นางสาวชตุ ิมา ตาเดอนิ 3, นางพศิ มยั บุณยโสภณ4
Miss Areerat Keawkanlaya1, Benchamaporn Intarapimai 2, Chutima tadein3, Pitsamai Bunyasophon4

1สาขาวิชาการโรงแรม วิทยาลยั พณชิ ยการเชตุพน สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร รหสั ไปรษณีย์ 102400
2นางสาวเบญจมาภรณ์ อินทรพิมาย วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 081-806-3762

บทคดั ยอ่

การผลิตและหาประสิทธิภาพของสบู่เหลวล้างมือกล่ินมะกรูด ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือการผลิตสบู่เหลว
ล้างมือกลิ่นมะกรูด 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสบู่เหลวล้างมือกลิ่นมะกรูด 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็น ของ
กลุ่มเป้าหมายที่ทดสอบประสิทธิภาพของสบู่เหลวล้างมือกลิ่นมะกรูด กลุ่มทดลองท่ีใช้ในทดสอบประสิทธิภาพ ได้แก่
พนักงานแผนกแมบ่ ้าน โรงแรมเอเชยี จาํ นวน 30 คน ใชแ้ บบสอบถามเป็นเครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล สถติ ิที่ใชใ้ น
การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าสถิติ t-test Dependent Group ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage)
ค่าเฉลีย่ (Mean) และค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลจาก การจัดทาํ โครงการพบว่า

สบูเ่ หลวล้างมือกลน่ิ มะกรดู มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ท่กี าํ หนดไว้ดงั นี้ 1) มีกล่นิ หอมของมะกรูดติดทนนาน
2) สามารถชาํ ระล้างสิง่ สกปรกที่มอื ให้สะอาด 3) มีความอ่อนโยนต่อผิว 4) ไมก่ ่อใหเ้ กดิ การระคายเคอื งผิว

ความคิดเหน็ ของกล่มุ เปา้ หมาย ทม่ี ีต่อประสทิ ธิภาพของสบ่เู หลวกลน่ิ มะกรดู คร้งั ที่ 1และครง้ั ท่ี 2พบว่าครั้งที่ 2มี
ประสิทธภิ าพโดยรวมมากกวา่ คร้งั ท่ี 1เม่ือเปรยี บเทยี บประสิทธิภาพของสบเู่ หลวลา้ งมอื กล่นิ มะกรูด เปน็ รอ้ ยละ ครัง้ ที่ 1มี
ค่าคิดเป็นร้อย 41.67คร้ังที่ 2มีค่าคิดเป็นร้อยละ 59.23สรุปได้ว่าสบู่เหลวล้างมือกล่ินมะกรูดมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน คิด
เป็นรอ้ ยละ17.56

ความคิดเห็นของพนักงานแผนกแม่บ้านโรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับ
มากมีค่าเฉล่ีย (µ)= 4.46 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลําดับจากมากไปน้อย
ดังนี้ ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ค่าเฉลี่ย (µ)= 4.47 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ค่าเฉล่ีย (µ)= 4.47 ด้าน
องค์ประกอบของผลติ ภัณฑ์ คา่ เฉลีย่ (µ)= 4.45 ดา้ นความคาดหวังของผู้ใช้งาน ค่าเฉลยี่ (µ)= 4.44 ตามลาํ ดับ

คาํ สาํ คญั : การพัฒนา, การหาประสทิ ธภิ าพ, สบู่เหลวล้างมอื กลิน่ มะกรูด

153 นางสาวอารีรตั น์ แกว้ กลั ยา วทิ ยาลัยพณิชยการเชตพุ น สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 092-369-8660 E-mail: [email protected]
นางสาวเบญจมาภรณ์ อินทรพิมาย วทิ ยาลยั พณิชยการเชตพุ น สถาบันการอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
เบอร์โทร 081-806-3762 E-mail: [email protected]
îćÜÿćüßêč ĉöćǰêćđéĂîĉ ǰüĉì÷ćú÷Ć óèĉß÷Öćøđßêóč îǰÿëćïîĆ ÖćøĂćßĊüýċÖþćÖøčÜđìóöĀćîÙøǰǰǰ
đïĂøĝēìøǰ ǰ& NBJM ǰTBOEZ !HNBJM DPNǰǰ



Abstract

The Production and Efficiency of Liquid hand soap, bergamot scent. This time there
is a purpose 1) for produce and tests the efficacy of liquid hand soap, bergamot scent. 2)
To study the efficacy of liquid hand soap, bergamot scent. 3) To study the opinions of target
groups testing the efficacy of liquid hand soap, bergamot scent. The sample group used in
education was the staff of the Asia hotel housekeeping department. Assign a specific sample
group. Number 30 people use a query as a data collection tool.
Key words: Development, Efficiency, liquid hand soap bergamots scent.

1. บทนาํ
โรงแรมเอเชีย เป็นโรงแรมท่ีเปิดให้บริการลูกค้าในด้านที่พัก จําหน่ายอาหารและเคร่ืองด่ืม รวมทั้งการ

บริการ ด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจโรงแรม ต้ังอยู่บนถนนพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพมหานคร มีห้องพักรวมทั้งสิ้น 590 ห้อง ลูกค้าส่วนมากท่ีมาใช้บริการจะเป็นชาวไทย 40% ชาวจีน
30% ชาวต่างชาติอ่ืน ๆ 30% (โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร, 2563) ในแต่ละวันมีลูกค้าท่ีมา
ใช้บริการเขา้ พัก ในโรงแรมเอเชียเปน็ จาํ นวนมาก ทุกครั้งทล่ี ูกค้ามาใช้บรกิ ารหอ้ งพกั จะไดใ้ ชข้ องใช้ในห้องํน้า
อาทิ เช่น สบู่ก้อน แชมพู ยาสีฟัน และแปรงสีฟัน แต่ส่วนใหญ่แล้วลูกค้าท่ีเข้าพักจะใช้สบู่ก้อนไม่หมด จึงทํา
ให้เหลือสบู่ก้อนทิ้งไว้ จึงทําให้จํานวนของสบู่ก้อนที่ใช้แล้วเหลือในแต่วันเป็นจํานวนไม่ใช่น้อย เมื่อเหลือสบู่
กอ้ นทีใ่ ช้แล้วทางโรงแรม กน็ ําไปทิ้งโดยทีไ่ ม่ไดน้ าํ ไปใช้ประโยชน์ จึงทําให้เหลอื สบู่ก้อนเปน็ ขยะ

พนักงานแผนกแม่บ้านของโรงแรมเอเชีย ต้องใช้มือสัมผัสกับส่ิงต่าง ๆ เพ่ือทําความสะอาดห้องพัก และ
ล้างห้องํน้า โดยใช้สารเคมีต่าง ๆ พนักงานแผนกแม่บ้านจึงจําเป็นต้องทําความสะอาดมือบ่อย ๆ เพราะมือ
เป็นแหล่งแพร่เชื้อ โรคต่าง ๆ ได้เมื่อใช้มือหยิบจับอาหาร หรือส่ิงของต่าง ๆ และมือสามารถนําเช้ือโรคไป
ปนเปอื้ นสิ่งของรอบ ๆ ตวั ทําใหผ้ ูอ้ ่ืนไดร้ ับเชื้อโรคไปด้วย โรคตดิ ตอ่ หลายโรคมมี อื เป็นพาหะนําเชื้อโรคเข้าสู่
ร่างกาย การล้างมือให้สะอาด อย่างถูกวิธี จึงเป็นวิธีท่ีมีความสําคัญ เพ่ือป้องกันไม่ใช้เชื้อโรคต่าง ๆ เข้าสู่
รา่ งกาย

จากสถานการณ์ดังกลา่ วทําให้ผ้จู ัดทําโครงการมคี วามสนใจทีจ่ ะหาทางจัดการ และเล็งเห็นถึงความสําคัญ
การรักษาความสะอาดและสุขอนามัยของพนักงานทําความสะอาดห้องพัก โดยการนําสบู่ก้อนที่เหลือใช้
ภายในห้องพักแล้วมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบของสิ่งประดิษฐ์ เพ่ือลดปริมาณการทิ้งขยะนําขยะมาใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจําวันของมนุษย์ และเกิดมูลค่าเพ่ิมในรูปแบบของการผลิต และทดสอบประสิทธิภาพ
ของสบเู่ หลวลา้ งมอื กลน่ิ มะกรดู

154

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

2. วตั ถุประสงคก์ ารโครงการ
2.1 เพ่ือการผลิตและทดสอบประสทิ ธภิ าพของสบเู่ หลวล้างมอื กลนิ่ มะกรดู
2.2 เพื่อศึกษาประสิทธภิ าพของสบ่เู หลวลา้ งมือกลน่ิ มะกรูด
2.3 เพอื่ ศกึ ษาความคดิ เห็นของกลุม่ เป้าหมายท่ีทดสอบประสิทธิภาพของสบู่เหลวลา้ งมือกล่นิ มะกรูด

3. วธิ กี ารดําเนนิ การโครงการ
การผลิตและหาประสิทธิภาพสบู่เหลวล้างมือกล่ินมะกรูด โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
ผวู้ จิ ยั กําหนดวธิ กี ารดําเนินการ ดังน้ี

3.1 ข้นั ตอนที่ 1 การผลติ สบู่เหลวล้างมือกล่นิ มะกรดู
3.1.1 ปัจจัยทใ่ี ชใ้ นการผลิต ประกอบดว้ ย

1) สบกู่ อ้ นเหลือใช้ 320 กรมั

2) กลีเซอรนี 3 ชอ้ นโตะ๊

3) ํนา้ มนั หอมระเหยกลนิ่ มะกรูด 3 ชอ้ นโต๊ะ

4) ํนา้ สะอาด 350 มลิ ลิลิตร

5) สารเพม่ิ ฟองธรรมชาติ 3 ช้อนโตะ๊

3.1.2 การออกแบบ
การออกแบบตราสัญลักษณ์ (Logo) ของสบู่เหลวล้างมือกลิ่นมะกรูดเพื่อให้ผู้ใช้จดจําได้ง่าย มีขนาด

ความกว้าง 4 ซ.ม. ความสงู 9 ซ.ม. สําหรับบรรจเุ นอื้ สบู่เหลวกล่นิ มะกรูด ขนาด 6.5 x 17.5 ซ.ม.บรรจุเนอื้ สบู่ได้ 450 ml.
3.2 ข้นั ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพของสบู่เหลวล้างมอื กลน่ิ มะกรดู
1) ครัง้ ท่ี 1 การผลิตสบูเ่ หลวลา้ งมือกลนิ่ มะกรูด ครั้งที่ 1 ผ้จู ัดทําโครงการได้นําสบู่เหลวล้างมือกล่ิน

มะกรูด การทดสอบประสทิ ธภิ าพของสบู่เหลวลา้ งมือกลน่ิ มะกรูดครั้งท่ี 1 กับตนเองและสมาชิกในครอบครัว
พร้อม บันทึกการทดสอบประสทิ ธิภาพของครั้งที่ 1 ไว้

2) ครัง้ ที่ 2 ผู้จดั ทาํ โครงการนําข้อมูลบันทกึ การทดสอบประสิทธิภาพครง้ั ท่ี 1 มาทําการปรบั ปรุง
แกไ้ ข ก่อนทาํ การผลติ สบูเ่ หลวล้างมือกลิน่ มะกรูดคร้งั ท่ี 2และนาํ ไปทําการทดสอบประสิทธิภาพ กบั ตนเอง
และสมาชิกในครอบครัว พรอ้ มบันทกึ การทดสอบประสิทธิภาพของครง้ั ท่ี 2 ไว้

3) ครั้งท่ี 3 ผจู้ ัดทาํ โครงการนาํ ข้อมูลบันทึกการทดสอบประสทิ ธิภาพครงั้ ท่ี 2 มาทําการปรับปรุง
แก้ไข กอ่ นทาํ การผลติ สบูเ่ หลวลา้ งมอื กล่ินมะกรูด ครง้ั ที่ 3 และนําไปทาํ การทดสอบประสทิ ธภิ าพ กบั ตนเอง
และสมาชิกในครอบครัว พรอ้ มบันทึกการทดสอบประสทิ ธิภาพของคร้ังท่ี 3 ไว้

155

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.3 การวิเคราะห์ข้อมลู

ผู้จดั ทําโครงการใชส้ ถติ ิในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั น้ี

3.5.1 การทดสอบประสทิ ธภิ าพ จาํ นวน 2 คร้ัง ครัง้ ละ 1 สัปดาห์ โดยครง้ั ที่ 1 และคร้งั ท่ี 2 โดยกําหนด
ระยะเวลาการทดสอบประสทิ ธิภาพครั้งท่ี 1 และ 2 หา่ งกนั 2 สปั ดาห์ โดยใช้กลมุ่ ทดลองเดมิ ใช้สถติ ิ t
Dependent

3.5.2 แบบสอบถามเก่ยี วกับปจั จยั พื้นฐานสว่ นบุคคล ประกอบดว้ ย ตําแหนง่ งาน ประสบการณ์ทํางาน
ใช้ค่าสถิตคิ วามถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage)

3.5.3 แบบสอบถามเก่ียวกบั แบบสอบถามเกยี่ วกับความคดิ เหน็ ของกลมุ่ เป้าหมายท่ที ดสอบประสิทธ
ภาพ สบ่เู หลวล้างมอื กลนิ่ มะกรูด ใชค้ า่ เฉลี่ย (µ) และคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (σ)

4. ผลจากการดําเนินโครงการ

การผลิตและหาประสทิ ธิภาพของสบเู่ หลวลา้ งมือกลิ่นมะกรูด ในครั้งนี้ ผู้จดั ทําโครงการนําเสนอผลลัพธ์ ท่ีได้

จากการดําเนินโครงการ ดังนี้

4.1 ผลลัพธท์ ีไ่ ด้จากการผลติ สบู่เหลวลา้ งมอื กลิน่ มะกรูด

156

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

4.2 การผลติ และทดสอบประสิทธภิ าพสบูเ่ หลวลา้ งมอื กล่ินมะกรูดโดยผู้จดั ทําโครงการ แสดงดังตารางที่ 1

และ 2 ตารางที่ 1 การผลิตและทดสอบประสิทธภิ าพสบ่เู หลวล้างมือกลิน่ มะกรดู โดยผู้จัดทําโครงการ

สบู่เหลวล้างมือกลน่ิ มะกรดู การทดสอบประสทิ ธิภาพ ผลการเปรยี บเทยี บ
1
สบเู่ หลวลา้ งมอื ไมม่ ีกลน่ิ และฟอง ผลของชิน้ งานครง้ั ที่ 1 สบเู่ หลวลา้ งมือกลน่ิ
2
น้อยมาก นํามาใชล้ ้างมือไม่สะอาด เทา่ ท่คี วร มะกรดู ผลของการทดลองใช้ เนอื้ ของสบู่เหลว
3 สบูเ่ หลวล้างมือกล่นิ มะกรดู
(สมบูรณ์) แลว้ มคี วามเหนยี ว หนืดของสบู่ กลนิ่ มะกรดู มปี ระสิทธภิ าพทยี่ ังไมด่ เี ทา่ ทค่ี วร

เม่อื นําสบ่มู าทดลองใชล้ า้ งมอื ยงั ไมส่ ะอาด

เมื่อนําผลการทดลองใช้ในครง้ั ผลงานชิ้นงานครงั้ ท่ี 2 เมอื่ นําผลเปรียบเทียบ

ท่ี 1 ปรับปรุงแกไ้ ขทําให้สบู่ เหลวล้างมอื มี กบั ผลงานช้ินที่ 1 สบ่เู หลวล้างมอื มฟี องเพม่ิ

ฟองเพิม่ มากข้ึน แตไ่ มค่ ่อยมีกล่นิ ของ มาข้ึนมากกวา่ การทดลองใชค้ รงั้ ท่ี 1แตย่ ังไมค่ อ่ ยมี

มะกรูด กลิ่นหอมของมะกรูดเท่าเมื่อนํามาล้างมือ รูส้ กึ

มือยังไมส่ ะอาด

เม่ือนําผลการทดลองใชใ้ นครั้งท่ี 2 ผลของช้นิ งานคร้ังที่1 เปรียบเทียบกับผลของ

ปรับปรุงแก้ไขทําใหส้ บเู่ หลว ลา้ งมอื มี ช้นิ งานครัง้ ท่ี 2 สบเู่ หลวล้างมอื กล่ินมะกรูดมี

ประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ กวา่ การทดลองทีผ่ า่ นมา ประสิทธิภาพมากกว่าครั้งท่ี 1 และครัง้ ที่ 2 สบู่

สบู่เหลว ลา้ งมือมกี ลนิ่ หอมของกล่ินมะกรดู มี เหลวล้างมือมีความหอมของกล่ินมะกรูด

ฟองเยอะทําความสะอาดมือ ได้สะอาด และมีฟองเพิ่มขึ้น เม่ือนํามาล้างมอื รู้สกึ

มีความสะอาดกว่าครัง้ ที่ 1 และครงั้ ที่ 2

157

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ตารางที่ 2 การทดสอบประสิทธภิ าพสบูเ่ หลวล้างมอื กล่นิ มะกรดู โดยกลมุ่ เป้าหมาย จาํ นวน 2

คร้ัง โดยพนักงานแผนกแมบ่ ้าน โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร

ความคิดเห็นโดยรวมครั้งที่ 1 พนกั งานคนท่ี

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

1.ดา้ นคณุ ภาพของผลิตภัณฑ์ 3 3 4 4 4 4 4 3 3 4 3 3 3 3 3

2.ดา้ นองคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ 2 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 3 3 3 3

3.ดา้ นการออกแบบของผลติ ภณั ฑ์ 4 3 3 4 4 3 4 3 3 3 2 3 3 4 3

4.ด้านความคาดหวังของผูใ้ ช้ 3 3 3 2 2 3 3 3 4 3 3 3 3 3 2

รวมครงั้ ท่ี 1 12 12 13 14 14 13 14 12 14 13 11 12 12 13 11

ความคิดเหน็ โดยรวมคร้ังท่ี 2 พนักงานคนที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

1.ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 4 4 5 5 4 5 5 5 4 4 4 4 5 5 4

2.ดา้ นองคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ 4 5 5 5 5 4 4 4 4 5 4 4 4 4 5

3.ดา้ นการออกแบบของผลิตภัณฑ์ 5 5 4 5 4 5 4 5 4 4 4 5 5 4 5

4.ด้านความคาดหวังของผใู้ ช้ 4 4 4 5 5 5 4 4 4 5 5 4 4 5 4

รวมคร้ังท่ี 2 17 18 18 20 18 19 17 18 16 18 17 17 18 18 18
ผลต่าง 5 65646362565657

ผลตา่ ง2 25 36 25 36 16 36 9 36 4 25 36 25 36 25 49

ความคิดเห็นโดยรวมครงั้ ที่ 1 (ตอ่ ) พนักงานคนท่ี รวมทงั้ หมด
375
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

1.ด้านคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ 3 3 3 4 3 3 3 3 4 3 3 3 3 2 3

2.ด้านองคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ 2 3 3 3 4 3 3 3 4 3 3 4 3 3 4

3.ด้านการออกแบบของผลติ ภณั ฑ์ 2 4 3 3 4 3 3 3 4 3 2 3 3 4 4

4.ดา้ นความคาดหวังของผใู้ ช้ 3 3 3 3 3 3 4 3 3 3 3 2 3 3 3

รวมครัง้ ที่ 1 11 13 12 13 14 12 13 12 15 12 11 12 12 12 14

158

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ตารางท่ี 2 (ตอ่ )

ความคดิ เหน็ โดยรวมคร้งั ที่ 2 พนกั งานคนที่

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

1.ดา้ นคุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ 4 4 4 4 5 4 4 4 5 5 4 5 5 4 4

2.ดา้ นองคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ 5 5 4 5 5 4 4 5 5 4 5 5 5 4 5

3.ดา้ นการออกแบบของผลติ ภณั ฑ์ 5 4 4 5 5 4 4 4 4 5 4 4 4 5 4

4.ด้านความคาดหวงั ของผใู้ ช้ 5 4 4 4 5 4 5 5 4 5 5 4 4 4 4

รวมคร้ังที่ 2 19 17 16 18 20 16 17 18 18 19 18 1818 17 17 533
ผลตา่ ง 8 4 45 6 4 4 5 3 7 7 6 65 3 158
ผลตา่ ง2 64 16 16 25 36 16 16 25 12 49 49 36 36 25 12 872

ความคิดเห็นรวมเฉลย่ี คร้งั ที่ 1 (375/30=12.50) = 12.50 ความคิดเหน็ รวมเฉลี่ยคร้งั ที่ 2 (533/30=17.77) = 17.77

คดิ เปน็ ร้อยละ (12.50*100/30) = 41.67 คดิ เปน็ ร้อยละ (17.77*100/30) = 59.23

ผ้จู ัดทําโครงการใชส้ ตู รทางสถิติ t – test dependent groups คํานวณหาประสิทธิภาพของการทดลอง
ใช้ สบเู่ หลวลา้ งมือกลิ่นมะกรูด โดยทาํ การทดสอบ 2 ครง้ั เพื่อนาํ ข้อมูลมาทาํ การเปรยี บเทยี บ ผลการทดลอง
ใช้ครงั้ ท่ี 1 และครง้ั ที่ 2 ดังน้ี

จากตารางที่ 2 การเปรยี บเทยี บความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายไดแ้ ก่ พนักงานแผนกแมบ่ า้ น โรงแรม
เอเชยี ได้ทดลองใช้สบู่เหลวล้างมอื กล่ินมะกรูด ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 พบว่าคา่ t ท่ี df (n -1) = 29 ท่คี ํานวณ
ได้ มีคา่ เทา่ กบั 13.1353 ซ่งึ มีค่ามากกวา่ คา่ t ท่ี df (n-1) = 29 ระดบั นยั สาํ คัญทางสติที่ 0.05

เมือ่ เปรียบเทยี บเปน็ ร้อยละ พนกั งานแผนกแมบ่ ้าน โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ครง้ั ท่ี 1
คิดเป็นรอ้ ย 41.67 ครง้ั ที่ 2 คิดเป็นรอ้ ยละ 59.23 ความคิดเห็นตอ่ ประสทิ ธภิ าพโดยรวม ครง้ั ท่ี 2 มากกว่า
ครงั้ ท่ี 1 รอ้ ยละ 17.56 จึงสรปุ ได้วา่ สบเู่ หลวลา้ งมอื กลิน่ มะกรูดมีประสทิ ธภิ าพ

4.2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกีย่ วกบั ปจั จัยพื้นฐานส่วนบุคคลของพนกั งานแม่บ้านท่ีได้ทดลองใช้สบูเ่ หลว
ลา้ งมือกลิ่นมะกรดู จาํ นวน 30 คน พบว่า สว่ นใหญ่เป็นพนกั งานแผนกแมบ่ ้าน เพศหญิงจํานวน 25 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 83.30 มีอายุ 26-33 ปี จาํ นวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.70 มีระดบั การศึกษาํตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี
จํานวน 25 คน คิดเปน็ ร้อยละ 83.30 มีตําแหน่งงานพนกั งานทาํ ความสะอาดห้องพัก จาํ นวน 20 คน คิดเปน็
รอ้ ยละ 66.70 มีประสบการณ์ทํางาน 5 ปขี น้ึ ไป จาํ นวน 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.30

159

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเปรยี บเทียบความคิดเห็นของพนกั งานแผนกแมบ่ ้าน ทไ่ี ด้ทดลองใช้
สบู่เหลวล้างมือกลนิ่ มะกรูดคร้งั ที่ 1 และคร้ังที่ 2 ปรากฏผลดังตารางที่ 3

โดยรวม 4 ดา้ น ครัง้ ที่ 1 แปลผล ครัง้ ท่ี 2 แปลผล
(µ) (σ) (µ) (σ)
1. ด้านคุณภาพของผลติ ภัณฑ์ 3.21 0.38 ปานกลาง 4.47 0.35 มาก
2. ดา้ นองคป์ ระกอบของผลติ ภณั ฑ์ 3.25 0.38 ปานกลาง 4.45 0.37 มาก
3. ด้านการออกแบบผลิตภณั ฑ์ 3.11 0.49 ปานกลาง 4.47 0.29 มาก
4. ด้านความคาดหวังของผูใ้ ช้งาน 3.03 0.40 ปานกลาง 4.44 0.35 มาก
3.15 0.23 ปานกลาง 4.46 0.19 มาก
รวม

จากตารางท่ี 3 พบวา่ ความคิดเหน็ แผนกพนกั งานแมบ่ ้านทีไ่ ดท้ ดลองใชส้ บเู่ หลวลา้ งมือกลน่ิ มะกรดู โดยรวม 4ด้าน

คร้ังที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย (µ) = 3.15 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ดา้ นองค์ประกอบ
ของผลิตภัณฑ์ อยูใ่ นระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ย (µ) = 3.25 รองลงมา ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับปาน
กลาง ค่าเฉลย่ี (µ) = 3.21 รองลงมา ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลยี่ (µ) = 3.11 และ
ท่ีค่าเฉล่ยี น้อยท่ีสดุ ด้านความคาดหวังของผใู้ ช้งาน อยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉล่ีย (µ) = 3.03 ตามลําดับ

ครงั้ ท่ี 2โดยรวมอยใู่ นระดับมากค่าเฉลยี่ (µ)=4.46เมื่อพิจารณาเปน็ รายด้านพบว่าดา้ นคณุ ภาพของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับ
มากคา่ เฉลยี่ (µ)=4.47รองลงมาด้านการออกแบบผลิตภณั ฑ์ อยใู่ นระดบั มากคา่ เฉลยี่ (µ)=4.47รองลงมาดา้ นองค์ประกอบของ
ผลิตภณั ฑ์ อยใู่ นระดบั มากคา่ เฉลีย่ (µ)=4.45และทีค่ ่าเฉล่ยี นอ้ ยทสี่ ดุ ด้านความคาดหวงั ของผใู้ ชง้ านอยใู่ นระดับมากคา่ เฉลย่ี (µ)
= 4.44

5. สรปุ ผล
การดําเนินโครงการพิเศษ เร่ือง การผลิตและหาประสิทธิภาพสบู่เหลวล้างมือกลิ่นมะกรูด ผู้จัดทํา

โครงการ มีข้อค้นพบและประเดน็ ที่สามารถนํามาสรปุ ผล ดงั น้ี
5.1 ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ซ่ึงสบู่เหลวล้างมือกล่ินมะกรูดล้างออกง่าย สะดวกต่อการใช้ ทําความ

สะอาดมือ เน้ือสัมผัสของสบู่เมื่อเกิดฟองมีความนุ่ม และสามารถล้างออกได้อย่างสะดวก มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ
4.67 โดยสอดคลอ้ งกับแนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั คุณภาพของผลติ ภัณฑ์ ทฤษฎีของศภุ ชยั นาทะพนั ธ์ [2] (2556)
กล่าวว่าคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นตัวกําหนดและวัดประสิทธิภาพการทํางานของผลิตภัณฑ์ความเหมาะสม ใน
การใช้งาน คุณสมบัติทุกประการของผลิตภัณฑ์ รูปร่างสวยงาม สีสันสวยงาม ความคงทน และความปลอดภัยใน
การใช้งานตอบสนองความต้องการและสามารถสร้างความพึงพอใจให้แกผ่ ู้ใชง้ านผลติ ภัณฑ์ หรอื สนิ ค้า

5.2 ด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ ซึ่งบรรจุภัณฑ์มีความโดดเด่น บรรจุภัณฑ์ท่ีนํามาใช้สําหรับบรรจุ
เนื้อสบูเ่ หลวกลิน่ มะกรูดมรี ายละเอียดของของผลิตภัณฑ์อย่างชดั เจน เช่น ชอ่ื ผลติ ภณั ฑ์ โลโกข้ องผลิตภัณฑ์

ทมี่ ีความโดดเดน่ และรูปลกั ษณข์ องบรรจภุ ณั ฑโ์ ดยรวมมีสวยงาม และทันสมัย สามารถดึงดดู ความสนใจ 160

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

ของผู้ใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ 4.60 โดยสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองค์ประกอบของ
ผลิตภัณฑ์ ทฤษฎีของนพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร [3] (2556) กล่าวไว้ว่า ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ผลิตข้ึนมาจะอยู่ใน
รูปแบบลักษณะ หน้าตาของผลิตภัณฑ์ที่เห็นได้ชัดก็ เช่น ตราสินค้า รูปทรงของผลลิตภัณฑ์ องค์ประกอบ
ของผลิตภัณฑ์ ที่มีความละเอียดได้แก่ สไตล์ คุณสมบัติต่าง ๆ เช่น รูปลักษณะของผลิตภัณฑ์ คุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ รูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์

5.3 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งสีของบรรจุภัณฑ์และรูปร่างของบรรจุภัณฑ์มีความโดดเด่นบรรจุ
ภัณฑ์ ที่นํามาใชส้ ําหรบั บรรจเุ น้อื สบ่เู หลวกล่ินมะกรูดมีขนาด รปู ทรง ทส่ี วยงาม ทนั สมยั และคงทน มีสีสันท่ี
สวยงาม รูปลักษณ์ของบรรจุภัณฑ์มีความสะดวกต่อการใช้งานโดยหัวปั๊มของบรรจุภัณฑ์เป็นแบบวิปโฟมทํา
ใหส้ ะดวก ต่อการทาํ ความสะอาดมอื และขวดบรรจภุ ณั ฑ์สามารถเกบ็ รกั ษาไดง้ า่ ย มีค่าเฉลยี่ สงู สุด 4.63 โดย
สอดคล้อง กับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทฤษฎีของรัฐไท พรเจริญ [4] (2558) ได้
กล่าวไว้ว่า การออกแบบเป็นกิจกรรมท่ีสําคัญกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ท่ี
ได้รับการออกแบบ ท่ีดีจะได้รับประโยชน์หลายประการ เช่น สี รูปร่างช่วยให้ผลิตภัณฑ์นั้นมีความสวยงาม
น่าประทับใจ ง่ายต่อการผลิตมีความทนทานใช้งานได้ง่ายช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและการ
บํารงุ และสามารถนํากลบั มา หมุนเวยี นใช้ใหมไ่ ด้

5.4 ดา้ นความคาดหวงั ของผใู้ ช้งาน ซ่ึงสบ่เู หลวล้างมอื กล่ินมะกรูดมีความอ่อนโยนต่อผวิ มือ สบเู่ หลวล้างมือ
มีสารสกัดท่ีมาจากธรรมชาติ ทําให้ลดการระคายเคืองต่อผิว มีค่าเฉล่ียสูงสุด 4.60 โดยสอดคล้องกับแนวคิด
และทฤษฎีเกี่ยวกับความคาดหวัง ทฤษฎีของคํานาย อภิปรัชญาสกุล [5] (2558) ได้กล่าวไว้ว่า ความคาดหวัง
ของลกู คา้ ความรู้สึก ความคิดเห็น การรับรู้ การตคี วาม ความต้องการ ความมุ่งหวังหรือความรสู้ ึกของบุคคล ทม่ี ี
ตอ่ สงิ่ หน่ึง สบเู่ หลวลา้ งมือกล่ินมะกรดู มีความอ่อนโยนต่อผิวมือ ผู้ใช้งานมีความร้สู กึ ดีต่อผลิตภณั ฑ์

6. ขอ้ เสนอแนะ

6.1 การผลิตและหาประสิทธภิ าพของสบเู่ หลวล้างมือกล่ินมะกรูด เมอ่ื พิจราณาเป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ น
คุณภาพอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.47 ผลของสบู่เหลวล้างมือกลิ่นมะกรูดมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ท่ีได้
กําหนดไว้ การนําสบู่เหลวล้างมือกล่ินมะกรูดนาํ มาให้กับโรงแรมเอเชีย ราชเทวี กรุงเทพมหานคร ทําให้เกิด
ประโยชน์กับทางโรงแรม พนักงานแผนกแม่บา้ นมีสบู่เหลวล้างมือกล่ินมะกรูดใช้ทําความสะอาดมือ โดยการ
นําสบู่เหลอื ใชน้ าํ มาผลิตสบู่เหลวลา้ งมือเป็นการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรเหลือใช้ท่ีคุ้มค่า การนําทรพั ยากร
เหลือใช้นํามาเพ่ิมมลู ค่า และลดจาํ นวนของขยะ ส่งผลทาํ ใหไ้ มต่ ้องเสียต้นทนุ ในการทําลายขยะ ไมก่ อ่ ให้เกิด
ผลกระทบกับส่ิงแวดล้อม และสามารถนําไปเป็นข้อมูลไปศึกษาเพื่อพัฒ นาต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้มี
ประสทิ ธิภาพ ในการใช้งานใหส้ มบรู ณ์มากข้นึ

6.2 การผลติ และหาประสิทธภิ าพของสบเู่ หลวล้างมอื กลน่ิ มะกรดู เมอ่ื พิจราณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ด้านความคาดหวงั ของ
ผใู้ ช้ มีค่าเฉลย่ี นอ้ ยที่สดุ 4.44 ควรมกี ารปรบั เปล่ยี นรูปแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ใหค้ วามเหมาะสม ได้ตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน และ
รปู แบบหรอื ลกั ษณะของผลติ ภัณฑส์ บ่ใู หม้ คี วามน่าสนใจมากข้นึ และควรการปรบั เปลี่ยนส่วนผสม กลนิ่ เนอ้ื สมั ผสั หรือการนาํ

161 ทรพั ยากรทม่ี ีคุณสมบัตทิ ี่ดกี วา่ มาใชท้ ดแทนเพอ่ื พฒั นาตอ่ ยอดผลติ ภัณฑใ์ ห้มีประสทิ ธภิ าพในการใชง้ านใหส้ มบรู ณ์มากขนึ้

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

เอกสารอ้างอิง
[1] ธานนิ ทร์ ศลิ ป์จารุ. การวิจยั และวเิ คราะหข์ ้อมูลทางสถติ ิ. พมิ พค์ รั้งที่ 11. นนทบรุ ี : บริษทั เอส. อาร์.

พริ้นตง้ิ แมสโปรดสั ก์ จาํ กดั (2553)

[2] ศุภชยั นาทะพันธ์. (2556). การควบคมุ คณุ ภาพ. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพ์ซีเอ็ดยเู คชนั่ .
[3] นพรัตน์ ภมู วิ ุฒสิ าร (2558). การจัดการตลาด. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
[4] รัฐไท พรเจริญ. (2558). เทคนิคการเขียนออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพ์ซเี อด็ ยเู คช่นั .
[5] คาํ นาย อภปิ รชั ญาสกุล. (2558). พมิ พ์คร้ังท่ี 1. หลกั การตลาด. กรุงเทพฯ : โฟกสั มีเดียแอนด์พับลิชิง่

162

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

การศกึ ษาส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหนา่ ยอาหารสตรีทฟดู้ (Street Foods) โรงแรมอโนมา แกรนด์
ตามมาตรการเวน้ ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) ท่ีมผี ลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค

ในเขตปทมุ วัน กรงุ เทพมหานคร
The Study of Service Marketing Mixes on Street Food Selling at Arnoma Grand Hotel
under Social Distancing MeasuresAffectingConsumers' Purchasing Decisionsin PathumwanBangkok

นางสาวธิดารตั น์ แสนทวสี ขุ 1,นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพิมาย2, นางสาวรวิษฎา ใจเย็น3,นางพิศมัย บณุ ยโสภณ4
Miss Thidarat Saenthawisuk1, Benchamaporn Intarapimai 2, Rawitsada Jaiyen3, Pitsamai Bunyasophon4

1สาขาวชิ าการโรงแรม วิทยาลัยพณชิ ยการเชตุพน สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10140
2นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพิมาย วทิ ยาลัยพณชิ ยการเชตพุ น สถาบนั การอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 081-806-3762

บทคัดยอ่
การศกึ ษาในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพอ่ื ศึกษาสว่ นผสมการตลาดบริการในการจดั จาหนา่ ยอาหารสตรีทฟู้ด( Street Food)โรงแรม อโนมา แกรนด์
ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม( Social Distancing) ที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 2 )เพื่อเปรียบเทียบ
ส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด( Street Foods)โรงแรมอโนมา แกรนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม( Social
Distancing) ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคในเขตปทุมวันกรุงเทพมหานครจาแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา
จานวน 397คน ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างได้จากการใชส้ ูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) สุ่มตวั อย่างแบบอาศัยความนา่ จะเป็น โดยใชว้ ธิ ีการสุ่มกลุ่ม
ตัวอย่างแบบง่าย (Simple randomsampling) ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถ่ี
(Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลย่ี (Mean) ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การเปรยี บเทียบส่วนผสมการตลาดบริการที่มี
ผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในเขตปทุมวัน จาแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล วิเคราะห์โดยใช้สถิตทดสอบ t-test และค่าสถิติทดสอบ F-test
วเิ คราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One WayANOVA) กรณีพบวา่ ความแปรปรวนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ ทาการทดสอบค่าเฉล่ียราย
คู่ (Multiple Comparison) ภายหลังด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) โดยกาหนดค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อมูลท่ีได้สามารถนาไปใช้
ประโยชนใ์ นการพัฒนาส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหนา่ ยอาหารสตรีทฟู้ด ของโรงแรมใหม้ ีคณุ ภาพต่อไป ผลการจัดทาโครงการ พบว่า
1. ผู้บรโิ ภคในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร จานวน 397คน สว่ นใหญ่เป็น เพศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ 6150. เปน็ มอี ายุตา่ กว่า ปี จานวน 25 – 16130
คน คิดเป็น ร้อยละ 32.70 อาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน จานวน 148 คน คิดเป็น ร้อยละ 37.30 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็น ร้อยละ
49.10 มีรายได้เฉลี่ยตอ่ เดือน ตา่ กวา่ บาท 15,000 - 10,000 คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.50 ความถ่ใี นการซอ้ื 1-2 คร้งั สัปดาห์/คิดเปน็ รอ้ ยละ 39.50
2. สว่ นผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟดู้ (StreetFoods( โรงแรมอโนมา แกรนด์ ตามมาตรการเวน้ ระยะห่างทางสังคม)Social
Distancing) ทม่ี ีผลต่อการตัดสนิ ใจซอื้ ของผ้บู ริโภคในเขตปทมุ วัน กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยูใ่ นระดบั มากและเมื่อพจิ ารณาเปน็ รายด้านเรยี งลาดับจาก
มากไปหาน้อย พบว่า ด้านกระบวนการให้บริการ อยู่ในระดับมาก เป็นลาดับที่ 1รองลงมาด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้าน
โครงสร้างทางกายภาพของร้าน ด้านการกาหนดราคาดา้ นผลติ ภัณฑ์ และดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาดอยใู่ นระดบั มากตามลาดับ

163 คาสาคัญ : สว่ นผสมการตลาด ,ปจั จัยทางการตลาด ,อาหารสตรีทฟดู้

นางสาวธดิ ารัตน์ แสนทวสึ ุข วทิ ยาลยั พณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 064-6755003 E-mail: [email protected]
นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพมิ าย วิทยาลัยพณชิ ยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 081-806-3762 E-mail: [email protected]
นางสาวรวษิ ฎา ใจเยน็ วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตุพน สถาบนั การอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 061-245-9245 E-mail: [email protected]

Abstract

The Study of Service Marketing Mixes on Street Foods at Arnoma Grand Hotel under
Social Distancing Measures Affecting Consumers' Purchasing Decisions in Pathumwan Bangkok
The purpose as 1) to study the Service Marketing Mixes on Street Foods at Arnoma Grand
Hotel under Social Distancing Measures Affecting Consumers' Purchasing Decisions in
Pathumwan Bangkok 2) to compare Service Marketing Mixes on Street Foods at Arnoma
Grand Hotel under Social Distancing Measures Affecting Consumers' Purchasing Decisions on
Pathumwan Bangkok, classified according to personal fundamentals. The sample used in the
study was 397 people. The sample size was obtained by using the Taro Yamane formula.
Probability By using simple random sampling method, questionnaires were used as a tool
to collect statistical data used in data analysis, namely frequency, percentage, mean,
Standard Deviation, a comparison of Service Marketing Mixes affecting consumers' purchasing
decisions in Pathumwan. Classified by personal fundamentals, analyzed by static test, T-test
and F-test statistics. In the case of One Way ANOVA, it was found that the variance had a
statistically significant difference. Subsequently, the multiple comparison was tested by the
Scheffe method. The statistical significance was determined at the level. 0.05. The results
of the project can be used to develop quality Service Marketing Mixes on Street Foods at
Arnoma Grand Hotel
Key words: Marketing Mixes, Marketing Factors, Street Food

1. บทนา 164
ที่โดดเด่นสามารถครองใจนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เป็นเสน่ห์ที่เชิญชวนให้ทุกชนชาติ

อยากประเทศไทยมีสถานที่ท่องเท่ียวสวยงามสร้างรายได้ใหป้ ระเทศอย่างมหาศาลรวมถึงความอุดมสมบูรณ์
ของอาหารไทยท่ีนาเสนอขายในรปู แบบของสตรที ฟู้ด )Street Food) ด้วยความหลากหลายของเมนอู าหาร
ผสมผสานรสชาติมาชิมและล้ิมรส อาหารสตรีทฟู้ด )Street Food) เป็นอาหารจานด่วนพร้อมรับประทาน
ขายตามริมถนนหรือบนพ้ืนที่สาธารณะ มีรูปแบบแตกต่างกันไป เช่น ซุ้มอาหาร รถเข็น หรือแม้แต่ร้านค้า
หาบแร่แผงลอย หารับประทานกันได้ง่ายและราคาย่อมเยา ทาให้อาหารสตรีทฟู้ดของประเทศไทยได้รับ
ความนิยมและถูกจัดอันดบั ให้เปน็ 1 ใน 23 เมืองท่ัวโลกที่มีอาหารสตรีทฟู้ดดีท่ีสุด จากสานักข่าว CNN เมื่อ
ปีพุทธศักราช 2559 นอกจากนี้มีข้อมูลจาก Eurom onitor International บริษัทผู้วิจัยตลาดอาหารโลก
เมอื่ ปพี ุทธศกั ราช 2560 ไดท้ าการประเมนิ ยอดขายของผ้ปู ระกอบการธุรกิจอาหารสตรที ฟูด้ ในประเทศไทยมี
มูลค่ารวมเป็นเงิน 271,355 ลา้ นบาท )https://www.tipsdd.com/เขา้ ถึงเม่ือวนั ที่ 18 กรกฎาคม 2563)

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

โรงแรมอโนมาแกรนด์เป็นโรงแรมระดับ 4 ดาว ตั้งอยู่ซึ่งเป็นใจกลางกรุงเทพมหานคร ในเขตปทุมวัน
การเดินทางสะดวกอยู่ใกล้กับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส และศูนย์การค้าชื่อดังหลายแห่งเปิดให้บริการห้องพัก
จานวน 369 ห้อง ผู้เข้าพักสามารถเดินทางไปยังสถานที่ท่องเท่ียวสถานท่ีต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกสบาย
แตเ่ นอื่ งจากสถาการณก์ ารการแพรร่ ะบาดของ ไวรัสโคโรนา่ 19 ในประเทศไทย รฐั บาลประกาศปิดเมือง ทา
ให้ธุรกิจทุกประเภทต้องปิดให้บริการเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโรค โรงแรมต้องปิดและหยุด
ใหบ้ ริการทาให้ขาดรายไดแ้ ละขาดสภาพคลอ่ งทางการเงนิ

จากการวิเคราะห์สถานการณ์โดยรอบ พบว่า ในพื้นที่เขตปทุมวันและบริเวณใกล้เคียงมีการเปิด
ให้บริการอาหารสตรีทฟู้ดอยู่อย่างหลากหลาย ในระดับราคาท่ีแตกต่างกัน ซี่งเป็นท่ีนิยมของนักท่องเที่ยว
และผู้บริโภคท่ัวไป ทาให้โรงแรมมองเห็นช่องทางและส่วนแบ่งทางการตลาดที่ยังมีอยู่สาหรับโรงแรมในการ
สร้างรายได้ด้วยการเปิดให้บริการอาหารสตรีทฟู้ดบนพื้นท่ีบริเวณด้านหน้าของโรงแรมด้วยรายการอาหารที่
หลากหลายในราคาขายที่สามารถจับต้องได้ตามมาตรฐานการให้บริการลูกค้าของโรงแรม ผู้จัดทาโครงการ
พิเศษจึงสนใจท่ีจะทาการศึกษาส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด )Street
Foods) โรงแรมอโนมา แกรนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม )Social Distancing) ท่ีมีผลต่อการ
ตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ข้อมูลที่ได้จะนามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ส่วนผสมการตลาดบรกิ ารในการจดั จาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ดของโรงแรมใหม้ ีคุณภาพต่อผู้บรโิ ภคยงิ่ ขึน้ ต่อไป

2. วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย
2.1 เพอื่ ศึกษาสว่ นผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด (Street Foodsโรงแรมอโนมา แกรนด์ ตาม )

( มาตรการเว้นระยะห่างทางสงั คมSocial Distancing) ทีม่ ผี ลต่อการตดั สินใจซื้อของผูบ้ รโิ ภคในเขตปทุมวนั กรงุ เทพมหานคร
2.2 เพ่ือเปรียบเทียบส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด (Street Foods )

( โรงแรมอโนมา แกรนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคมSocial Distancing) ท่ีมผี ลตอ่ การตดั สินใจซ้ือ
ของผ้บู ริโภคในเขตปทุมวนั กรงุ เทพมหานครจาแนกตามปัจจยั พื้นฐานสว่ นบคุ คล

3. สมมติฐานการวิจยั
3.1 ส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด (Street Foods) โรงแรม อโนมา แก

รนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคใน
เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมากทีส่ ุด

3.2 ส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด (Street Foods) โรงแรม อโนมา แก
รนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคใน
เขตปทุมวัน กรงุ เทพมหานคร ไดแ้ ก่ ด้านผลติ ภัณฑ์

165

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

3.3 ส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด (Street Foods) โรงแรม อโนมา แก
รนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคใน
เขตปทมุ วัน กรุงเทพมหานคร จาเเนกตามปัจจัยพน้ื ฐานส่วนบคุ คล เเตกต่างกัน

4. วิธกี ารดาเนินการวิจัย 166
การศกึ ษาสว่ นผสมการตลาดบรกิ ารในการจดั จาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด )Street Foods( โรงแรมอโนมา

แกรนด์ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม )Social Distancing( ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภค
ในเขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร ผวู้ จิ ยั กาหนดวธิ ีการดาเนินการ ดงั น้ี

4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาได้แก่ ผู้บริโภคในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ผู้วิจยั
ใช้สูตรคานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ )Taro Yamane( ที่ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 95
และระดับความคลาดเคลื่อนที่รอ้ ยละ 5 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจานวน 397 คน การสุ่มตัวอย่างใช้หลักความ
น่าจะเป็น )Probability Sampling( โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย )Simple Random Sampling( โดยการ
กาหนดตารางวัน เวลา และจานวน ของกลุม่ ตวั อยา่ งท่ีกาหนดไวโ้ ดยให้ทุกหนว่ ยมีโอกาสถูกเลือกขึ้นมาตอบ
แบบสอบถามเท่าเทยี มกันตามสดั สว่ นใหไ้ ด้กล่มุ ตวั อยา่ งครบตามเกณฑ์ที่กาหนด

4.2 ตัวแปรท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคลของผู้บริโภคใน
เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้เฉล่ียต่อเดือน ความถ่ี
ในการซื้อ ตัวแปรตาม ได้แก่ ส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด ประกอบด้วย
ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมทางการตลาด ด้าน
บคุ ลากรผใู้ หบ้ ริการ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพ

4.3 ระยะเวลาการจัดทาโครงการพิเศษเรม่ิ ตัง้ แต่ วันที่ 4 กรกฎาคม พ .ศ.2563 ถงึ วันที่ 27 กุมภาพันธ์
พ .ศ.2564

4.4 เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ได้แก่ แบบสอบถาม )Questionnaire( ลักษณะของเครือ่ งมอื แบ่งออกเป็น
3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้บริโภคในเขต ปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหาร
สตรีทฟู้ด ใช้มาตรวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า )Rating Scale( 5 ระดับ การแปลความหมายตามเกณฑ์
ของธานินทร์ ศิลป์จารุ [1] ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับข้อเสนอแนะ การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัย
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ได้แบบสอบถามท่ีสมบูรณ์ จานวน 397 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ภายในเวลา
30 วนั

4.5 การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผวู้ จิ ยั ใชส้ ถติ ิในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดังน้ี
4.5.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ ระดับ

การศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และความถ่ีในการซ้ือ ใช้การวิเคราะห์ด้วยค่าความถ่ี (Frequency )และค่า
รอ้ ยละ (Percentage)

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

4.5.2 แบบสอบถามเก่ียวกับส่วนผสมการตลาดบริการในการจดั จาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด ใช้การ
วิเคราะห์ดว้ ยคา่ เฉลีย่ (Mean( และคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน )Standard Deviation)

4.5.3 การเปรียบเทียบส่วนผสมการตลาดบรกิ ารในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด จาแนกตาม
ปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคลวิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ t-test และใช้สถิติทดสอบ F-test วิเคราะห์ความ
แปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีพบว่าความแปรปรวนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถติ ทิ าการทดสอบคา่ เฉล่ยี รายคู่ (Multiple Comparison) โดยใช้วธิ กี ารของเชฟเฟ่ (Scheffe' )โดยกาหนด
ระดับนัยสาคญั ทางสถติ ิไวท้ ร่ี ะดบั 0.05

5. ผลการวจิ ัย

การศึกษาส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด )Street Foods( โรงแรมอโนมา

แกรนด์ ตามมาตรการเว้นระยะหา่ งทางสังคม )Social Distancing( ทมี่ ผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจซ้อื ของผบู้ ริโภคใน

เขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร พบว่า

5.1 ผู้บริโภคในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร จานวน 397 คน ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง คิดเป็น ร้อยละ

6150. เป็น มีอายุต่ากว่า ปี จานวน 25 – 16130 คน คิดเป็น ร้อยละ 32.70 อาชีพเป็นพนักงาน

บริษัทเอกชน จานวน 148 คน คิดเป็น ร้อยละ 37.30 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็น ร้อยละ 49.10 มี

รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ต่ากว่าบาท 15,000 - 10,000 คิดเป็น ร้อยละ 32.50 ความถี่ในการซ้ือ 1-2 คร้ัง/

สัปดาห์คดิ เป็นร้อยละ 39.50

5.2 ส่วนผสมการตลาดบริการ ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ปรากฏผลดงั ตารางที่ 1

สว่ นผสมการตลาดบริการท่มี ีผลตอ่ การตดั สินใจซื้อของ ( ̅) (S.D.) แปลผล ลาดับ
ผู้บรโิ ภค ท่ี

1. ด้านผลติ ภัณฑ์ 4.05 0.71 มาก 6

2. ดา้ นการกาหนดราคา 4.07 0.69 มาก 5

3. ด้านช่องทางการจดั จาหนา่ ย 4.12 0.69 มาก 3

4. ดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด 3.91 0.77 มาก 7

5. ด้านบคุ ลากรผ้ใู หบ้ รกิ าร 4.13 0.66 มาก 2

6. ด้านกระบวนการใหบ้ รกิ าร 4.18 0.70 มาก 1

7. ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพของรา้ น 4.10 0.67 มาก 4

รวม 4.08 0.62 มาก

167

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

จากตารางท่ี 1 พบว่า ส่วนผสมการตลาดบริการ ทม่ี ีผลตอ่ การตดั สินใจซื้อโดยรวมอย่ใู นระดับ มาก คา่ เฉลีย่
( ̅ )= 4.08 และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายดา้ นพบว่า ขอ้ 6. ดา้ นกระบวนการใหบ้ รกิ าร อยใู่ นระดบั มาก ลาดบั ท่ี
1 คา่ เฉลีย่ ( ̅ )= 4.18 รองลงมา ขอ้ 5. ดา้ นบคุ ลากรผูใ้ หบ้ ริการ อยใู่ นระดบั มาก ลาดบั ที่ 2 ค่าเฉลยี่ ( ̅ )=
4.13 และด้านที่มีค่าเฉลย่ี ต่าที่สุด เป็นลาดับท่ี 7 ข้อ 4. ด้านการส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลยี่
( ̅ )= 3.91 ตามลาดบั

5.3 ผลการเปรียบเทียบส่วนผสมการตลาดบริการท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคในเขตปทุมวัน
กรงุ เทพมหานคร จาแนกตามปจั จยั พน้ื ฐานส่วนบุคคล ปรากฏผลดังตารางท่ี 2

ส่วนผสมการตลาดบรกิ ารท่ีมีผลต่อการตดั สนิ ใจซื้อของผ้บู รโิ ภค

ปจั จยั พื้นฐาน ด้านผ ิลตภัณ ์ฑ
สว่ นบุคคล ้ดานการกาหนด
ราคา
ด้านช่องทางการ ัจด
จาหน่าย
ด้านการส่งเส ิรม
การตลาด
้ดานบุคลากร ูผ้
ใ ้หบริการ
้ดานกระบวนการ
ใ ้หบ ิรการ
้ดานโครงส ้รางทาง
กายภาพของร้าน
โดยรวม

1. เพศ 0.36 0.94 0.07 0.05* 0.54 0.79 0.74 0.91

2. อายุ .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00*

3. อาชีพ .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00*

4. ระดับการศึกษา .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00*

5. รายได้เฉลยี่ ต่อ .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00* .00*
เดอื น

6. ความถ่ใี นการซือ้ .00* .00* .00* .01* .00* .00* .00* .00*

* มีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.05

จากตารางที่ 2 สว่ นผสมการตลาดบริการท่มี ีผลต่อการตัดสนิ ใจซ้ือของผบู้ รโิ ภค จาแนกตามปัจจยั พนื้ ฐาน

สว่ นบคุ คล พบว่า

5.3.1 ผู้บรโิ ภคในเขตปทุมวันท่ีมีเพศแตกต่างกัน สว่ นผสมการตลาดบริการทมี่ ผี ลต่อการตัดสนิ ใจซื้อ

โดยรวมไม่แตกตา่ งกัน และเม่ือพิจารณาจากรายด้านพบว่า ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด แตกตา่ งกนั อย่างมี

นยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั 0.05

5.3.2 ผู้บริโภคในเขตปทุมวันที่มีอายุแตกต่างกัน ส่วนผสมการตลาดบริการท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อ

โดยรวมและรายดา้ นแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ 0.05

5.3.3 ผู้บริโภคในเขตปทุมวันที่มีอาชีพแตกต่างกัน ส่วนผสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ

โดยรวมและรายดา้ นแตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั 0.05

168

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

5.3.4 ผู้บริโภคในเขตปทุมวันท่ีมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน ส่วนผสมการตลาดบริการท่ีมีผลต่อการ
ตดั สินใจซื้อ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ 0.05

5.3.5 ผู้บริโภคในเขตปทุมวันท่ีมีรายได้เฉล่ียต่อเดือนแตกต่างส่วนผสมการตลาดบริการท่ีมีผลต่อการ
ตดั สินใจซ้อื โดยรวมและรายด้านแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05

5.3.6 ผู้บริโภคในเขตปทุมวันท่ีมีความถี่ในการซ้ือแตกต่างกัน ส่วนผสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการ
ตัดสินใจซ้อื โดยรวมและรายดา้ นแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั 0.05

6. สรปุ ผล
ส่วนผสมการตลาดบริการในการจัดจาหน่ายอาหารสตรีทฟู้ด (Street Foodsโรงแรม ) อโนมา แกรนด์

ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคในเขต
ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของทพิ ารตั น์ สัญพงศ์ [2] ไดศ้ กึ ษา
เร่ือง ความคิดเห็นของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่มีผลต่อการบริโภคอาหารริมบาทวิถี กรณีศึกษาเขตพระ
นคร กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ในด้านความพึงพอใจของนักท่องเท่ียวชาวต่างประเทศที่มีต่อ
อาหารรมิ บาทวิถี พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ ระดับความพึงพอใจอยู่
ในระดบั มากมี 6 ประเด็น ได้แก่ รสชาตขิ องอาหาร ความสะดวกในการซ้ือ ปา้ ยบอกราคา ความหลากหลาย
ของอาหาร คุณภาพของอาหาร และรูปลักษณ์ของอาหาร ในขณะที่ระดับความพึงพอใจท่ีอยู่ท่ีระดับปาน
กลางมี 4 ประเดน็ ได้แก่ ความสะอาด อธั ยาศยั ของผขู้ าย คณุ คา่ อาหาร และภาชนะบรรจุอาหาร

6.1 ด้านผลิตภัณฑ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วัตถุดิบที่ใช้ประกอบ
อาหารปราศจากการปนเปื้อนทางเคมีและชีวภาพ อาหารสะอาด อร่อย น่ารับประทาน ปริมาณอาหาร
เหมาะสมเพียงพอที่จะรับประทานต่อมื้อ นาเสนอรายการอาหารแนะนาใหม่ ๆ ทุกวัน กระบวนการปรุง
อาหารมีความสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีรายการอาหารให้เลือกหลากหลาย อาหารไม่ปรุงทิ้งไว้คราวละ มาก
ๆ ภาพลักษณ์ของอาหารมีความโดนเด่น แตกต่างจากร้านอื่น บอกรายละเอียดส่วนผสม และวันหมดอายุ
รวมท้ังแหล่งผลิตติดไว้ในป้ายฉลากอย่างชัดเจน และใช้บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายง่ายไม่สร้างปัญหาต่อ
สิ่งแวดล้อม โดยสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ ปณิศา มีจินดา [3] กล่าวไว้ว่า
ผลิตภัณฑ์ เป็นสิ่งท่ีเสนอขายโดยธุรกิจ เพ่ือตอบสนองความจาเป็นหรือความต้องการของลูกค้าให้เกิดความ
พึงพอใจ เชน่ บรรจุภณั ฑ์ สี คุณภาพ ตรา บริการและช่ือเสียงของผู้ขาย

6.2 ด้านการกาหนดราคาโดยรวมอย่ใู นระดับมากเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ ราคาเหมาะสมกับคุณภาพราคา
เหมาะสมเม่ือเทียบกับรสชาติ ราคาเหมาะสมกับปริมาณและราคาต่อหนว่ ยของอาหารต่าเมื่อเทียบกับร้านอ่ืนโดยสอดคลอ้ ง
กับทฤษฎเี ก่ยี วกบั การกาหนดราคาของ อรทยั เลิศวรรณทิพย์ [4]ไดก้ ลา่ วไว้ว่า การกาหนดราคา คือปรมิ าณเงินทถ่ี กู กาหนด
ข้ึนอย่างเป็นทางการเพ่ือใช้ในการให้ได้มาซึง่ ผลิตภัณฑใ์ นปริมาณหนึ่ง ซ่งึ ผบู้ ริโภคจะพจิ ารณาปรมิ าณเงนิ ทีเ่ สียไปกับคุณค่า
ทจี่ ะได้รับในสินคา้ อปุ โภคหรอื บรโิ ภคน้นั

169

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

6.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เปิด
ช่องทางให้บริการท่ีเพียงพอไม่ต้องเบียด หรือแย่งกันซ้ือ เข้าถึงช่องทางการจัดจาหน่ายได้ง่าย มีรถประจา
ทางผ่านหลายสาย และทาเลที่ตั้งของร้านสามารถเดินทางมาใช้บริการได้สะดวก โดยสอดคล้องกับแนวคิด
และทฤษฎีเกี่ยวกับช่องทางการจัดจาหน่ายของ ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา [5] กล่าวว่า การเลือกทาเลท่ีต้ัง
สาหรับการให้บริการควรให้ความสาคัญกับ3ปัจจัยที่สาคัญ คือ สถานท่ีในการนาเสนอบริการ เวลาในการ
นาเสนอบริการ และวิธีการในการนาเสนอบริการ ความสาคัญของแหล่งท่ีตั้งของสถานท่ีให้บริการจะข้ึนอยู่
กบั ประเภทของการนาเสนอบรกิ าร และระดับของการมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ นั ระหว่าง ผู้ให้บรกิ ารกบั ลูกคา้ เป็นหลกั

6.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า การโฆษณา
และประชาสัมพันธ์ทาอยา่ งตอ่ เนื่อง การโฆษณาและประชาสมั พันธ์มจี ดุ เดน่ นา่ สนใจ การจัดกิจกรรมสง่ เสริม
การขายด้วยการลดราคา การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่าน Social Network อย่างสม่าเสมอ การจัด
กิจกรรมส่งเสริมการขายซื้อ 1 แถม 1 และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายด้วยการสะสมแสตมป์ โดย
สอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการส่งเสริมการตลาดของ คานาย อภิปรัชญาสกุล [6] กล่าวไว้ว่า
การส่งเสริมการตลาด หมายถึง กิจกรรมการส่งเสริมการตลาดท่ีนอกเหนือไปจากการโฆษณาการตลาด
ทางตรง การขายโดยใช้พนักงานขาย และการประชาสัมพันธ์ท่ีจัดขึ้นเป็นคร้ังคราว เพื่อกระตุ้นความสนใจ
การทดลองใช้ หรือการซื้อของของลูกค้าขั้นสุดท้าย โดยท่ัวไปมักจะใช้ร่วมกับการโฆษณาการตลาดทางตรง
หรือการขายโดยพนกั งานขาย เชน่ โฆษณาให้รูว้ า่ วา่ มกี ารลก แลก แจก แถม หรอื มกี ารสะสมคะแนน

6.5 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า พนักงานมี
บุคลิกภาพดี อยู่ในระดับมาก พนักงานแต่งกายสะอาดเรียบร้อย พนักงานปฏิบัติหน้าท่ีด้วยใบหน้ายิ้มแย้ม
แจ่มใส พนักงานส่ือสารด้วยคาพูดท่ีสุภาพ น่าฟัง พนักงานใส่ใจและรักในการบริการ (Service Mind)
พนักงานมีความกระตือรือร้นในการให้บริการ พนักงานให้บริการอย่างผู้ท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี พนักงานมี
ความรู้เกีย่ วกบั ส่วนผสมและรสชาตขิ องอาหาร พนกั งานมีจานวนเพียงพอตอ่ การให้บรกิ าร และให้คาแนะนา
และช่วยตัดสินใจให้ลูกค้าได้เป็นอย่างดี โดยสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลากรผู้ให้บริการ
ของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ [7] กล่าวว่า บุคคล หรือบุคลากรนับได้วา่ เป็นส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีความสาคัญ
เนื่องจากเป็นผู้คิด วางแผน และปฏิบัติงาน เพ่ือขับเคลื่อนองค์กรให้เป็นไปในทิศทางที่วางกลยุทธ์ไว้
นอกจากนี้บทบาทอีกอย่างหน่ึงของบุคลากรท่ีมีความสาคัญ คือ การมีปฏิสัมพันธ์และสร้างมิตรไมตรีต่อ
ลูกคา้ เปน็ สิ่งสาคญั ทีจ่ ะทาให้ลูกคา้ เกิดความพึงพอใจ และเกดิ ความผกู พันกับองค์กรในระยะยาว

6.6 ด้านกระบวนการให้บริการให้บริการโดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้ันตอนการส่ัง
อาหารง่าย สะดวก ไม่ซับซ้อน คิดเงิน ทอนเงิน ถูกต้อง แม่นยา การให้บริการถูกต้องตามจานวนที่ลูกค้าต้องการซ้ือ การ
ให้บริการรวดเร็วไม่ต้องรอคอยนานและการให้บริการตามมาตรฐานของโรงแรมโดยสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกบั
กระบวนการให้บริการของศิริวรรณเสรีรัตน์ [7]กล่าวไว้วา่ กระบวนการเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระเบียบวิธกี ารและงาน
ปฏบิ ตั ิในดา้ นการบริการท่ีนาเสนอใหก้ ับผใู้ ชบ้ รกิ ารเพ่ือมอบการใหบ้ ริการอย่างถกู ต้องรวดเรว็

170

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

6.7 ด้านโครงสร้างทางกายภาพของร้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มี
ป้ายบอกราคาอาหารแต่ละรายการอย่างชัดเจน รูปแบบการจัดพื้นที่ประกอบอาหารเหมาะสม สะอาด
อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการประกอบอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ การตกแต่งร้านมีเอกลักษณ์โดดเด่น
ภาพถ่ายประกอบรายการอาหารสวยงาม ดึงดูดใจ น่ารับประทาน และบอกรายละเอียดของส่วนผสมและ
น้าหนักของวัตถุดิบที่ใช้ โดยสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างทางกายภาพของ ธีรกิติ
นวรัตน ณ อยุธยา [5] ได้กล่าวว่า การนาเสนอตัวแปรด้านลักษณะทางกายภาพให้กับลูกค้า โดยใส่ใจสร้าง
คุณภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านกายภาพและรูปแบบการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างคุณค่าให้กับลูกค้า ได้แก่ พ้ืนท่ีมี
ขนาดเหมาะสมในการจัดวางสินค้าเอื้อต่อการจับจ่าย ความสะอาดน่าเข้ามาใช้บริการ บรรยากาศร้านมี
ความผ่อนคลาย การตกแตง่ ร้านดูเหมาะสมกับตวั

7. ข้อเสนอแนะ
7.1 ด้านผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการร้านอาหาร สตรีทฟู้ด ควรให้ความสาคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์

โดยเน้นไปท่ีเรื่องของรสชาติจะต้องมีความอร่อย โดยอาจใช้วิธีทดลองแจก ให้กลุ่มตัวอย่างชิมและให้กลุ่ม
ตัวอย่างให้คาแนะนากลบั มา เพ่ือนามาใช้ปรับปรุงรสชาติอาหารให้ดีขึ้น ผู้ประกอบการจะต้องใช้วตั ถุดิบทม่ี ี
คณุ ภาพ ทาการควบคมุ และรักษามาตรฐานของวตั ถดุ บิ อย่างต่อเน่ืองและจะต้องให้ความสาคัญอยา่ งมากกับ
ความสะอาดของอาหาร เพอื่ ป้องกันไม่ให้เกดิ อนั ตรายแก่ผบู้ รโิ ภค

7.2 ด้านการกาหนดราคา ควรให้ความสาคัญกบั การต้งั ราคาเมื่อเทียบกบั คุณภาพ ปรมิ าณ และรสชาติ
จะต้องไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคจนเกินไป และควรท่ีจะมีการสารวจราคาของร้านที่ขายอาหารประเภท
เดียวกัน เพื่อท่ีจะได้นามาใช้ในประกอบในการพิจารณาเก่ียวกับการต้ังราคาเพ่ือให้มีความสอดคล้องและ
เหมาะสมมากยิ่งข้ึน

7.3 ด้านช่องทางการจดั จาหน่าย ควรให้ความสาคัญ โดยควรท่ีจะคานึงถึงความสะดวกในการเดินทาง
ของผู้บริโภค เช่น ติดริมถนน สามารถเดินทางโดยอาศัยรถประจาทาง รถไฟฟ้า หรือมีท่ีจอดรถในบริเวณ
ใกล้เคียง หรือจอดใกล้แหล่งท่ีอยู่อาศัย สถานศึกษา อาคารสานักงาน ท่ีมีจานวนประชากรอาศัยอยู่เป็น
จานวนมาก จะชว่ ยเพ่มิ โอกาสในการทลี่ กู ค้าตัดสนิ ใจเลอื กใชบ้ ริการไดม้ ากขน้ึ

7.4 ดา้ นการส่งเสริมการตลาด เพิ่มการใช้สื่อ Social Network เขา้ มามีบทบาทและเปน็ ส่ิงสาคัญ เชน่
การใช้ Page Facebook ในการสื่อสารกับผู้บริโภคว่าในแต่ละสัปดาห์จะมีเมนูพิเศษใดบ้าง หรือมีการแจ้ง
เมนใู หม่ ๆ ใหก้ ับลกู ค้าผ่านสอ่ื ดงั กลา่ ว โดยใชร้ ปู ภาพและคาบรรยายท่ีมคี วามนา่ สนใจ

7.5 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ควรให้ความสาคัญกับการอบรมพนักงานให้มากให้เข้าใจตรงกันถึงงาน
บริการที่แท้จริง โดยต้องอบรมให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ของร้านท่ีแท้จริง สามารถ
ให้คาแนะนาและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และรู้จักการมีมารยาทและมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีต่อลูกค้า มีความ
กระตอื รือร้นและรกั งานบรกิ ารรวมไปถงึ การแตง่ กายท่สี ะอาดเรยี บร้อยของพนกั งาน

171

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี

7.6 ด้านกระบวนการให้บริการ การลดกระบวนการขั้นตอนในการส่ังจะช่วยให้สามารถดาเนินการไป
ได้อย่างราบร่ืนขึ้น ไม่ติดขัด หรือ อาจนาเทคโนโลยีสมาร์ทโฟนเข้ามาช่วย รวมท้ังมีการให้บริการที่รวดเร็ว
และรกั ษามาตรฐานในการให้บรกิ าร

7.7 ด้านโครงสร้างทางกายภาพของสถานที่ ควรให้ความสาคัญกับการทาเมนูอาหารให้น่าสนใจ มี
ภาพประกอบที่สวยงาม ดูน่ารับประทาน และมีป้ายแสดงราคาอาหารชัดเจนเพื่อกระตุ้นให้เกิดการตัดสนิ ใจ
ได้มากและเรว็ ขึ้น

เอกสารอา้ งองิ
[1] ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวจิ ยั และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ. พิมพ์ครั้งท่ี 11. นนทบรุ ี : บริษัทเอส. อาร์.

พริ้นติ้ง แมสโปรดัสก์ จากดั )2553(
[2] ทิพารตั น์ สญั พงศ(์ .2557) .ความคิดเหน็ ของนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวตา่ งชาติท่มี ีผลตอ่ การบรโิ ภคอาหาร

รมิ บาทวถิ ี กรณศี กึ ษาเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ .
[3] ปณศิ า มจี ินดา. (2553). กรงุ เทพฯ : พฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค (Consumer Behavior(. บรษิ ทั ธรรมสาร

จากัด.
[4] อรทัย เลศิ วรรณวิทย์( .2559). กรุงเทพฯ : การวางแผนการตลาด .สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
[5] ธรี กิติ นวรตั น ณ อยุธยา. (2557). พมิ พค์ รัง้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ :การตลาดบริการแนวคิดและกลยุทธ์.

บรษิ ทั วี( พร้ินท์.1991).
[6] คานาย อภปิ รัชญาสกลุ .( 2559). กรงุ เทพฯ : ความรเู้ กย่ี วกับผลติ ภณั ฑ์ (Product Knowledge).

บริษทั โฟกสั มเี ดีย แอนด์ พับลิชชง่ิ จากดั .
[7] ศริ ิวรรณ เสรรี ตั น์.255( 3). กรุงเทพฯ : การบรหิ ารการตลาดยคุ ใหม่.บริษัทธรรมสาร จากัด .

172

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

การพฒั นาและหาประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากนา้ ดา่ งขเ้ี ถา้
The Development and Effectiveness of laundry detergent from alkaline ash

นายรัฐวุฒิ อยู่สขุ 1, นางพศิ มัย บุณยโสภณ2, นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพิมาย3,นางสาวรวษิ ฎา ใจเยน็ 4
Mr.Rattavut Yusuk1, Mrs.Pitsamai Bunyasophon2,Miss.Benchamaporn Intarapimai3,Mrs.Rawisada Jaiyen4

1สาขาวิชาการโรงแรม วทิ ยาลัยพณิชยการเชตพุ น สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร รหสั ไปรษณีย์ 10600
E-mail: [email protected], เบอรโ์ ทร 097-058-1909

บทคัดยอ่

การจดั ทาโครงการ เร่ือง การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของนา้ ยาซักผา้ จากน้าด่างขเี้ ถ้า ในครงั้ นี้มวี ัตถปุ ระสงค์ 1) เพอ่ื ทา
การผลิตน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า 2) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของ
กลุ่มเป้าหมายที่ทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซกั ผา้ จากน้าดา่ งขี้เถา้ กลุม่ เปา้ หมายท่ีใช้ในการศกึ ษา ได้แก่ ประชาชนทีอ่ าศัยอยู่
ในคอนโด 101 แมนชั่นจานวน 30 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
และค่าสถติ ิ t-test Dependent Group โดยกาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.05 ขอ้ มูลท่ไี ด้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน
การพัฒนานา้ ยาซักผ้าจากนา้ ด่างขี้เถ้าให้มีคุณภาพต่อไป ผลจากการจดั ทาโครงการพบว่า

1. ได้น้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้ามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กา หนดไว้ดังน้ี 1) เสื้อผ้ามีความสะอาด 2) ไม่มีกลิ่นอับหลัง
ซกั เสร็จ 3) ไม่มีอาการละคายเคืองหลังซักผ้าด้วยน้ายาโดยการซกั มอื

2. ผลการทดสอบความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในคอนโด101แมนชั่นที่มีความคิดเห็นต่อ
ประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากนา้ ดา่ งขี้เถา้ ครงั้ ที่ 1 และ ครั้งที่ 2 พบว่าคา่ t ที่ df (n-1) = 29 ที่คานวณได้ มีคา่ เท่ากับ 30.7996
ซึ่งมีค่ามากกว่า ค่า t ท่ี df (n-1)= 29 ระดับนัยสาคัญทางสติที่ 0.05 ท่ีมีค่าจากตารางที่ df มีค่า = 2.0452 จึงสรุปได้ว่า ความ
คิดเห็นของประชาชนท่ีอาศัยอยู่ในคอนโด101แมนชั่นท่ีมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า คร้ังที่ 1
และครั้งท่ี 2 พบว่า คร้งั ท่ี 2 มีประสทิ ธิภาพโดยรวม มากกวา่ คร้งั ที่ 1

3. ผลการศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายท่ีทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า โดยรวมอยู่ในระดับ

มาก คา่ เฉล่ีย (σ) = 4.49 เม่ือพจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ดา้ นความปลอดภัยในการใช้งาน อยูใ่ นระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย (σ) =

4.58 รองลงมา ดา้ นต้นทุนผลติ ภัณฑ์ อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉลีย่ (σ) = 4.50 รองลงมา ดา้ นคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อย่ใู นระดับมาก

ค่าเฉลี่ย (σ) = 4.49 รองลงมา ด้านองค์ประกอบผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย (σ) = 4.48 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด

ได้แกด่ า้ นผลกระทบสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย (σ) = 4.41 ตามลาดบั

173 คา้ ส้าคัญ : การพฒั นา, การหาประสิทธภิ าพ, น้ายาซกั ผ้าจากนา้ ดา่ งขเี้ ถ้า

นายรัฐวุฒิ อย่สู ขุ วทิ ยาลัยพณชิ ยการเชตุพน สถาบนั การอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 097-058-1909 E-mail: [email protected]
นางพิศมัย บุณยโสภณ วิทยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น สถาบนั การอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
เบอร์โทร 081-421-3483 E-mail: [email protected]
นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพมิ าย วิทยาลัยพณชิ ยการเชตุพน สถาบนั การอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
เบอร์โทร 081-806-3762 E-mail: [email protected]
นางสาวรวิษฎา ใจเยน็ วิทยาลัยพณิชยการเชตพุ น สถาบนั การอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 098-245-9245 E-mail [email protected]

Abstract

Project preparation on the development and efficacy of laundry detergent from alkaline
ash This time, it is, 1) to produce laundry detergent from alkaline ash water 2 ) to study the
effectiveness of laundry detergent from alkaline ash water 3 ) to study the opinions of the target
group that tested the effectiveness of laundry deterg ent from alkaline water. The target group
used in the study included 30 people living in condo 101 mansions using questionnaires as a data
collection tool. Statistics used in data analysis include frequency, percentage, mean, and standard
deviation, and t- test dependent group statistics, with a statistical significance level of 0. 05. As a
result of the project preparation, it was found that

1.Get laundry detergent from alkaline ash water effectively according to the criteria set out as
follows: 1) Clothes are clean, 2) No bad smell after washing, 3) No dehydration after washing with
reagents by washing hands.

2. The results of the target group's opinions include people living in condo 101 mansions who
have an opinion on the effectiveness of laundry detergent from alkaline ash. The 1st and 2nd time
found that the value t at df (n -1) = 29 calculated. The value is 30.7996, which is greater than the
value t at df (n-1) = 29, the conscious significance level of 0.05, the value from table df = 2.0452,
thus concluding that public opinions on condo 101 mansions have an opinion on the effectiveness
of laundry detergent from alkaline ash. The 1st and 2nd time showed that the second time was
more effective overall than the 1st time.

3. The results of the study of the opinions of the target group that tested the effectiveness of
laundry detergent from alkaline ash. Overall, the average (σ) = 4.49 When considering the aspects,
it is found that the safety of use is at the highest level. Average ( σ) = 4.58. Average ( σ) = 4.50
seconds. Average ( σ) = 4.49, second only to product composition. Average ( σ) = 4.48, and the
smallest average is environmental impact. Average (σ) = 4.41, respectively.

Keywords : development, determination of efficiency, laundry detergent
from alkaline water ashes.

174

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

3

1.บทนา้
กรงุ เทพฯ เปน็ เมืองท่มี ีปรมิ าณขยะมูลฝอยเกดิ ขน้ึ ต่อวนั มากท่สี ดุ ของประเทศไทย จากข้อมลู ปรมิ าณขยะ

มูลฝอย โดยสานักส่ิงแวดล้อม ระบุว่าในปีงบประมาณ 2561 (ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2560 – เดือนเมษายน
2561) จัดเก็บขยะมูลฝอย 2.23 ล้านตัน เฉลี่ยวันละ 10,525 ตัน นับว่าสูงที่สุดในรอบ 8 ปีเม่ือเทียบกับ
ชว่ งเวลาเดียวกนั ซ่งึ ปรมิ าณขยะใน กทม. มีแนวโน้มมากขึน้ เนือ่ งมาจากหลายสาเหตุ ไมว่ า่ จะเปน็ จานวนประ
ชากรท่ีเพ่ิมข้ึนจากการขยายตัวของเมืองในเขตชั้นนอกและช้ันใน โดยเฉพาะพ้ืนท่ีใกล้เส้นทางรถไฟฟ้า และ
การเพ่ิมจานวนของผู้คนท่ีเข้ามาทางานไปจนถึงนักท่องเท่ียวโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คาดการณ์ว่าในปี
2559 คนกรุงเทพฯ ผลิตขยะเฉลี่ยคนละ 1.2 กก./วัน และในปี 2573 จะผลิตขยะรวมกัน 15,029 ตัน/วัน ซ่ึง
จะส่งผลโดยตรงต่อความต้องการใช้ทรัพยากรและงบประมาณท่ีมากข้ึน และเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษทาง
อากาศทีส่ ่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามยั รวมทัง้ ส่งผลกระทบทั้งในระดับทอ้ งถน่ิ และตอ่ บรรยากาศโลก
(สานกั สง่ิ แวดลอ้ ม : 2561)

ปัจจบุ ันมนษุ ย์ยงั ใชว้ ธิ กี ารหงุ ต้มและประกอบอาหารแบบด้ังเดิมโดยการใช้ถา่ นเปน็ เชื้อเพลิงให้ความร้อน
ซ่ึงทาให้เกิดขยะตกค้างในรูปแบบขี้เถ้าเป็นจานวนมาก จากการศึกษาคุณสมบัติของขี้เถ้าสามารถนามาใช้
ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ เช่น ใชเ้ ป็นปุ๋ยใสต่ ้นไม้ ใช้ไล่แมลงตามตน้ ไม้ และนามาใช้ทาน้าด่างซกั ผา้ ในยุคสมัย
ที่ยังไมม่ ีผงซกั ฟอกใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายเหมือนปัจจุบนั

จากข้อมลู ดังกล่าวทาให้ผ้จู ดั ทาโครงการมีความสนใจทจี่ ะนาขี้เถ้ามาพัฒนาเปน็ น้ายาซักผ้า เพ่ือลด
ปริมาณขยะและเพ่ิมมูลคา่ ให้กับขยะในรปู แบบของการผลิตและทดสอบประสิทธภิ าพ ของน้ายาซักผา้ จากน้า
ดา่ งข้เี ถ้า

2. วตั ถปุ ระสงค์การจัดท้าโครงการ
1.2.1 เพอ่ื ผลติ นา้ ยาซักผ้าจากนา้ ด่างขเี้ ถา้
1.2.2 เพอื่ ศึกษาประสิทธิภาพของนา้ ยาซักผ้าจากนา้ ด่างขีเ้ ถ้า
1.2.3 เพอ่ื ศึกษาความคิดเห็นของกล่มุ เปา้ หมายที่ทดสอบประสิทธิภาพของนา้ ยาซกั ผา้ จากน้าดา่ งขี้เถา้

175

บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

3. ขอบเขตของการจดั ทา้ โครงการ
การจัดทาโครงการพิเศษ เร่ือง การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า

ผจู้ ดั ทาโครงการไดก้ าหนดขอบเขตไว้ดังนี้
1.3.1 สถานที่ใช้ในการดาเนินโครงการ ได้แก่ 12/4 ซ.ลาดพร้าว101ซอย38แยก1 แขวงคลองจั่น เขต

บางกะปิ กรงุ เทพมหานคร 10240
1.3.2 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ประชาชนในคอนโด101แมช่ัน ท่ีทดลองใช้น้ายาซักผ้าจากน้า

ดา่ งข้ีเถ้า จานวน รวมทั้งหมด 30 คน (ข้อมูลจากนติ ิบุคคลคอนโด101แมนช่นั วันที่ 3 สิงหาคม 2563)
1.3.3 เน้ือหาท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่าง

ข้ีเถ้า โดยจะศึกษาครอบคลุมในเรื่อง องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ความปลอดภัยใน
การใช้งาน ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ตน้ ทุนผลติ ภณั ฑ์

1.3.4 ระยะเวลาท่ีดาเนินการศึกษา การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า
ผจู้ ัดทาโครงการดาเนินการจัดทาในระหว่างวนั ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถึง วันที่ 27 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564

4. กรอบแนวคดิ ในการจัดทา้ โครงการ
การจัดทาโครงการ เร่ือง การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า ผู้จัดทาได้

ศกึ ษาจากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง เพอ่ื นามาประมวลผลเปน็ กรอบแนวคดิ ดงั น้ี

ตวั แปรจัดกระท้า ตวั แปรตาม
(Treatment Variables) (Dependent Variables)
ประสทิ ธภิ าพของนา้ ยาซักผา้ จากนา้ ด่างขีเ้ ถา้
นา้ ยาซักผา้ จากน้าดา่ งขี้เถ้า 1. ดา้ นองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์
2. ด้านคุณภาพของผลติ ภัณฑ์
3. ดา้ นความปลอดภัยในการใชง้ าน
4. ดา้ นผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม
5. ดา้ นต้นทนุ ผลิตภัณฑ์

176

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

5

5 วิธีดา้ เนินโครงการ
5.1 ข้ันตอนที่ 1 การผลิตน้ายาซักผา้ จากน้าด่างขเ้ี ถ้า
5.1.1 การผลิตน้ายาซกั ผ้าจากนา้ ด่างข้เี ถ้า
สถานที่ท่ีผู้จัดทาโครงการพิเศษใช้เป็นสถานที่ผลิต ได้แก่ 12/4 ซ.ลาดพร้าว101ซอย38

แยก1 แขวงคลองจ่นั เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร 10240
5.1.2 ปจั จัยท่ใี ชใ้ นการผลิต ประกอบดว้ ย
1. หวั เชอื้ แชมพู
2. สารเพม่ิ ฟองชนดิ น้า
3. ผงขน้ หรอื เกลือแกง
4. ขเี้ ถ้า
5. น้าเปล่า
6. สารกันเสยี ชนิดนา้
5.1.3 การออกแบบตราสัญลักษณ์
ผู้จัดทาโครงการได้ทาการออกแบบตราสัญลักษณ์ของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้าเพ่ือให้

ผ้ใู ชจ้ ดจาได้งา่ ยขึน้ มีขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 6.5 เซนติเมตร

ภาพ ตราสัญลักษณ์ ของนา้ ยาซักผา้ จากนา้ ด่างข้ีเถ้า
ท่ีมา รัฐวุฒิ อยู่สขุ

177

บทความผลงานวิจยั นวตั กรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5.1.4 บรรจภุ ณั ฑ์ สาหรบั บรรจนุ ้ายาซกั ผ้าจากน้าดา่ งขีเ้ ถ้าขนาด 250 มลิ ลลิ ิตร

ภาพ บรรจภุ ณั ฑ์ สาหรบั บรรจนุ า้ ยาซกั ผ้าจากนา้ ด่างข้เี ถา้
ที่มา รัฐวุฒิ อย่สู ุข

1.5.2 ขั้นตอนท่ี 2 การทดสอบประสิทธภิ าพของน้ายาซกั ผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า

ตารางการผลติ และทดสอบประสิทธิภาพนา้ ยาซกั ผา้ จากน้าด่างขี้เถ้า

การผลติ การทดสอบประสิทธิภาพของนา้ ยาซกั ผ้าจากน้าด่างขเ้ี ถ้า
คร้ังท1ี่ การทดสอบประสทิ ธภิ าพ
ครง้ั ท2่ี
การผลิตน้ายาซักผ้าจากนา้ ด่างข้ีเถ้าครง้ั ที่ 1 ผู้จัดทาโครงการได้น้ายาซักผา้ จากนา้ ดา่ งขี้เถ้าครั้งท่ี 1
คร้งั ท3่ี
กับเส้ือผา้ ของสมาชิกในครอบครัวมาทาความสะอาด พร้อมบันทึกการทดสอบประสิทธิภาพของคร้ัง

ท่ี 1
การผลิตน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้าครั้งท่ี 2 ผู้จัดทาโครงการนาข้อมูลบันทึกการทดสอบ
ประสิทธิภาพคร้ังที่ 1 มาทาการปรบั ปรุงแกไ้ ข ก่อนทาการผลิตน้ายาซักผ้าจากน้าดา่ งข้ีเถ้าครั้งที่ 2
และนาไปทาการทดสอบประสทิ ธภิ าพของน้ายาซักผ้าจากนา้ ด่างข้เี ถา้ คร้ังท่ี 2 กบั เสื้อผา้ ของสมาชิก
ในครอบครัวมาชุดเดิมมาทาความสะอาด พร้อมบันทึกการทดสอบประสิทธภิ าพครั้งท่ี 2 นาผลการ
ทดสอบประสิทธิภาพเปรยี บเทียบกับครงั้ ที่ 1 พร้อมบนั ทึกการทดสอบประสทิ ธิภาพครั้งท่ี 2
การผลิตน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้าครั้งที่ 3 ผู้จัดทาโครงการนาข้อมูลบันทึกการทดสอบ
ประสทิ ธิภาพคร้งั ที่ 2 มาทาการปรับปรุงแก้ไข ก่อนทาการผลติ น้ายาซักผา้ จากน้าดา่ งข้เี ถ้า ครง้ั ที่ 3
และนาไปทาการทดสอบประสทิ ธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขเ้ี ถา้ คร้ังท่ี 3 กบั เส้อื ผ้าของสมาชิก
ในครอบครัวชุดเดิมมาทาความสะอาด พร้อมบันทึกการทดสอบประสิทธิภาพคร้ังท่ี 3 นาผลการ
ทดสอบสมรรถนะเปรยี บเทยี บกบั ครง้ั ที่ 2 พรอ้ มบันทึกการทดสอบประสิทธภิ าพครงั้ ท่ี 3

178

ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

7

6 ประโยชนข์ องการจัดทา้ โครงการ
6.1 ได้นา้ ยาซกั ผ้าจากน้าด่างขเ้ี ถ้า
6.2 ได้ขอ้ มลู การทดสอบประสทิ ธภิ าพของนา้ ยาซักผ้าจากน้าดา่ งขีเ้ ถ้า
6.3 ไดข้ ้อมลู ความคดิ เหน็ ของกลมุ่ เป้าหมายทที่ ดสอบประสิทธภิ าพของนา้ ยาซักผ้าจากน้าด่างข้เี ถ้า

7.ผลการวจิ ัย
7.1 ผลลัพธท์ ไ่ี ด้จากการผลิตนา้ ยาซกั ผ้าจากน้าด่างข้เี ถา้

ผลิตภณั ฑ์ท่ผี ลิตสาเรจ็

179

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

7.2 การผลิตและทดสอบประสิทธภิ าพนา้ ยาซกั ผา้ จากน้าด่างขเ้ี ถา้ โดยผูจ้ ัดทาโครงการ

การผลิตครั้งที่ นา้ ยาซักผา้ จากนา้ ด่าง การทดสอบประสทิ ธภิ าพ ผลการเปรยี บเทยี บ
ข้ีเถา้ การทดสอบประสทิ ธิภาพ

ผ้าทซี่ ักเสร็จมีกล่นิ อับ

1 เลก็ น้อย ขจดั คราบซอสได้

ดีเลก็ นอ้ ย ไมส่ ามารถใชง้ านได้

มอี าการละคายเคืองทม่ี ือ

หลังซักเสรจ็

สตู รนา้ ยาซักผ้าจากน้าดา่ งขีเ้ ถ้าครั้งท่ี 1
นา้ ดา่ งขี้เถา้ 2 ลติ ร หมกั เปน็ เวลา 3 วัน หัวเชอ้ื แชมพู 350 กรมั
เกลอื แกง 100 กรมั สารเพม่ิ ฟอง 150 กรมั สารกันเสยี ชนิดน้า 5 มลิ ลลิ ิตร

ผา้ ท่ซี ักเสรจ็ ไม่มีกล่นิ อบั

2 ขจัดคราบซอสได้ดีปาน ไมส่ ามารถใชง้ านได้

กลาง
มอี าการละคายเคือง
เลก็ น้อยท่มี อื หลงั ซกั เสรจ็

สตู รนา้ ยาซกั ผา้ จากนา้ ดา่ งข้เี ถ้าคร้งั ที่ 2
น้าด่างข้ีเถ้า 2 ลิตร หมักเป็นเวลา 5 วัน หวั เชอื้ แชมพู 350 กรัม
เกลือแกง 100 กรัม สารเพมิ่ ฟอง 150 กรัม สารกันเสยี ชนิดนา้ 5 มิลลลิ ติ ร

3 ผ้าทีซ่ กั เสรจ็ ไม่มกี ล่ินอับ สามาราถนาไปให้กลมุ่

ขจัดคราบซอสได้ดี ทดลองทดสอบใช้ได้

ไมม่ ีอาการละคายเคอื งทีม่ อื

หลังซกั เสรจ็

สตู รน้ายาซกั ผา้ จากน้าดา่ งขีเ้ ถา้ ครง้ั ท่ี 3
น้าด่างขีเ้ ถ้า 2 ลติ ร หมักเป็นเวลา 15 วนั หวั เช้ือแชมพู 350 กรัม
เกลือแกง 100 กรมั สารเพ่ิมฟอง 150 กรมั สารกนั เสยี ชนิดน้า 5 มลิ ลลิ ติ ร

180

ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

9

7.3 ตารางการทดสอบประสิทธภิ าพน้ายาซกั ผา้ จากน้าด่างข้เี ถ้าโดยกล่มุ เป้าหมายจานวน 2 ครง้ั โดย

ประชาชนที่อาศัยอยใู่ นคอนโด101แมนชัน่

ความคดิ เหน็ โดยรวม ครั้งที่ 1 ความคิดเห็นโดยรวม ครงั้ ท่ี 2

ชาว ด้านองค์ประกอบผลิต ัภณฑ์
ด้านคุณภาพของผลิต ัภณ ์ฑ
บ้าน ้ดานความปลอด ัภยในการใช้งาน
้ดานผลกระทบส่ิงแวดล้อม
้ดานต้นทุนผลิต ัภณฑ์
ด้านอง ์คประกอบผลิต ัภณฑ์
้ดาน ุคณภาพของผลิต ัภณ ์ฑ
้ดานความปลอดภัยในการใช้งาน
ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม
้ดาน ้ตนทุนผลิต ัภณฑ์
คนท่ี
รวม รวม ผล

ครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 ผลต่าง ต่าง2

1. 3 3 3 3 3 15 4 4 4 4 4 20 5 25

2. 2 2 3 3 3 13 4 4 4 4 4 20 7 49

3. 3 2 2 3 3 13 4 4 5 5 5 23 10 100

4. 2 2 2 2 2 10 5 4 5 4 4 22 12 144

5. 2 2 2 2 3 11 5 4 4 4 5 22 11 121

6. 2 2 2 3 2 11 5 5 4 4 5 23 12 144

7. 2 2 2 2 2 10 5 5 5 5 4 24 14 196

8. 3 2 2 3 2 12 4 5 5 5 5 24 12 144

9. 2 3 3 2 2 12 5 5 5 4 5 24 12 144

10. 2 3 2 3 3 13 5 4 5 5 4 23 10 100

11. 2 3 2 2 3 12 4 5 4 4 4 21 9 81

12. 3 3 3 2 2 13 5 4 5 4 5 23 10 100

13. 2 2 2 3 2 11 4 5 5 4 5 23 12 144

14. 2 3 2 2 2 11 4 5 5 4 4 22 11 121

15. 2 2 3 2 2 11 4 5 4 5 4 22 11 121

16. 3 2 2 3 3 13 4 5 4 5 5 23 10 100

17. 2 2 3 3 3 13 5 5 5 5 4 24 11 121

18. 2 2 2 3 2 11 5 4 5 4 5 23 12 144

19. 3 2 3 3 3 14 4 4 5 5 4 22 8 64

20. 3 2 2 3 3 13 5 4 5 5 5 24 11 121

21. 2 2 3 2 2 11 5 4 5 4 4 22 11 121

22. 3 2 2 2 3 12 4 4 4 4 4 20 8 64

181

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

ความคิดเห็นโดยรวม ครัง้ ท่ี 1 ความคดิ เหน็ โดยรวม ครัง้ ท่ี 2

ชาว ด้านอง ์คประกอบผลิต ัภณฑ์
ด้าน ุคณภาพของผ ิลตภัณฑ์
้ดานความปลอดภัยในการใช้งาน
้ดานผลกระทบส่ิงแวดล้อม
ด้าน ้ตนทุนผลิต ัภณฑ์
ด้านอง ์คประกอบผลิต ัภณฑ์
ด้าน ุคณภาพของผ ิลต ัภณฑ์
้ดานความปลอดภัยในการใช้งาน
ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้าน ้ตนทุนผลิต ัภณฑ์
บา้ น รวม รวม ผล

คนท่ี ครง้ั ท่ี 1 ครงั้ ที่ 2 ผลตา่ ง ต่าง2

23. 2 2 2 2 3 11 5 4 5 4 4 22 11 121

24. 2 3 3 2 3 13 4 4 5 5 5 23 10 100

25. 2 3 3 2 2 12 5 4 5 4 5 23 11 121

26. 3 2 3 3 3 11 5 4 5 5 5 24 13 169

27. 3 2 3 2 2 12 5 5 5 4 4 23 11 121

28. 2 3 3 3 3 14 4 5 5 4 5 23 9 81

29. 2 3 3 3 3 14 4 5 4 5 5 23 9 81

30. 3 2 3 2 3 13 4 5 5 4 4 22 9 81

รวม 365 รวม 677 312 3,344

ความคิดเห็นรวมเฉลย่ี ครงั้ ท่ี 1 ความคิดเหน็ รวมเฉล่ยี ครง้ั ท่ี 2

(365/30=12.166) 12.16 (677/30=22.566) 22.56

คดิ เป็นรอ้ ยละ คิดเป็นรอ้ ยละ

(12.16*100/30) 40.53 (22.56*100/30) 75.20

ผู้จัดทาโครงการใช้สูตรทางสถิติ t – test dependent groups คานวณหาประสิทธิภาพของการทดลองใช้

น้ายาซักผ้าจากน้าดา่ งขีเ้ ถา้ โดยทาการทดสอบ 2 ครั้ง เพื่อนาขอ้ มูลมาทาการเปรียบเทยี บและพัฒนาประสทิ ธภิ าพ

ผลการศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพน้ายาซักผา้ จากน้าด่างข้ีเถ้า จากกลุ่มเป้าหมายท่ีทดลองใช้จานวน

30 คน คร้งั ท่ี 1 และ ครงั้ ที่ 2 พบว่าคา่ t ท่ี df (n -1) = 29 ทีค่ านวณได้ มคี า่ เทา่ กับ 30.7996 ซึ่งมคี า่ มากกว่า

คา่ t ที่ df (n-1) = 29 ระดับนัยสาคัญทางสตทิ ่ี 0.05 ทมี่ คี ่าจากตารางท่ี df มคี ่า = 2.0452

ผลจากการคานวณโดยใช้สูตรเพ่ือเปรียบเทียบการพัฒนาประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า

จานวน 2 ครัง้ พบวา่ ครั้งท่ี 2 มคี ่ามากกวา่ คร้ังที่ 1 และเมอ่ื เปรียบเทียบเป็นร้อยละ พบวา่ ครั้งที่ 1 ประสิทธิภาพ

ของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า คิดเป็นร้อยละ40.53 คร้ังท่ี 2 คิดเป็นร้อยละ 75.20 ประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้า

ครัง้ ที่ 2 มากกว่าคร้ังที่ 1 คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.67 จงึ สรปุ ได้วา่ นา้ ยาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้ามีประสิทธิภาพ 182

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

11

7.4 คา่ เฉล่ยี (μ) และคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) ของ ความคดิ เหน็ ของกลุ่มเปา้ หมาย ที่มตี อ่ ประสทิ ธภิ าพ
ของน้ายาซักผ้าจากนา้ ดา่ งขเ้ี ถา้ โดยรวม ครงั้ ที่ 1 และคร้งั ที่ 2

โดยรวม คร้ังที่ 1 แปลผล ครงั้ ที่ 2 แปลผล
(μ) (σ) (μ) (σ)

1. ดา้ นองค์ประกอบผลิตภณั ฑ์ 2.47 0.13 นอ้ ย 4.48 0.25 มาก

2. ด้านคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ 2.45 0.16 นอ้ ย 4.49 0.26 มาก

3. ด้านความปลอดภัยในการใชง้ าน 2.49 0.18 นอ้ ย 4.58 0.27 มากท่ีสดุ

4. ดา้ นผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 2.51 0.18 ปานกลาง 4.41 0.28 มาก

5.ดา้ นตน้ ทุนผลิตภัณฑ์ 2.55 0.18 ปานกลาง 4.50 0.26 มากทส่ี ุด

รวม 2.49 0.08 น้อย 4.49 0.15 มาก

จากตารางพบว่า พบว่า ความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายท่ีได้ทดลองใช้น้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้าด้าน

โดยรวม

คร้ังท่ี 1 ความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายโดยรวม อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย (μ) =2.49 ค่าส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (σ) = 0.08 เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายด้า น พบวา่ ด้านต้นทุนผลิตภณั ฑ์ อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย่

(μ) = 2.55 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.18 รองลงมา ด้านผลกระทบส่ิงแวดล้อม อยู่ในระดับปาน

กลาง คา่ เฉลี่ย (μ) = 2.51 คา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (σ) = 0.18 รองลงมา ด้านความปลอดภัยในการใช้งาน

อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย (μ) = 2.49 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.18 รองลงมา ด้านองค์ประกอบ

ผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย (μ) = 2.47 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.13 และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ย

น้อยท่ีสุด ได้แก่ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย (μ) = 2.45 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

(σ) = 0.16 ตามลาดบั

ครั้งท่ี 2 ความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายโดยรวมอยใู่ นระดับ มาก ค่าเฉล่ีย (μ) = 4.49 ค่าส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (σ) = 0.15 เมอื่ พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ดา้ นความปลอดภยั ในการใชง้ าน อยู่ในระดบั มากท่ีสุด

ค่าเฉล่ีย (μ) = 4.58 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.27 รองลงมา ด้านต้นทุนผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก

ค่าเฉลย่ี (μ) = 4.50 ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (σ) = 0.26 รองลงมา ด้านคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ อยู่ในระดับ

มาก ค่าเฉลี่ย (μ) = 4.49 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.26 รองลงมา ด้านองค์ประกอบผลิตภณั ฑ์ อยู่

ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย (μ) = 4.48 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.25 และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด ได้แก่

ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย (μ) = 4.41 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) = 0.28

ตามลาดบั

183

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

8. สรุปผล
การจัดทาโครงการ เร่ือง การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า มี

วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ 1) ทาการผลิตนา้ ยาซักผ้าจากนา้ ด่างข้ีเถ้า 2) ศึกษาประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่าง
ข้ีเถ้า 3) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายที่ทดสอบประสิทธิภา พของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า
กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการศึกษาประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้ามี 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย
ใช้แบบสอบถาม ค่าสถิติท่ีใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ t – dependent ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ

(Percentage) ค่าเฉลี่ย (μ) และ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) ผู้จัดทาโครงการสามารถสรุปผลการ
ดาเนนิ งานไดด้ งั น้ี

การดาเนินโครงการ เร่ือง การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า ผู้จัดทา
โครงการได้สรปุ ผลโครงการดงั น้ี

8.1 การผลติ นา้ ยาซกั ผา้ จากน้าด่างข้เี ถา้
ผู้จดั ทาโครงการสามารถใช้สว่ นผสมตามท่ีกาหนดไว้ ประกอบด้วย หัวเช้ือแชมพู สารเพิ่มฟองชนิด

น้า เกลือแกง ขี้เถ้า น้าเปล่า สารกันเสียชนิดน้า ดาเนินการผลิตน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้าท่ีมีประสิทธิภาพ
ตามที่กาหนดไวใ้ นโครงการดงั น้ี

1. เสือ้ ผา้ มคี วามสะอาด
2. ไมม่ ีกลิน่ อับหลังซักเสร็จ
3. ไม่มอี าการละคายเคอื งหลังซกั ผา้ ด้วยนา้ ยาโดยการซกั มือ
และผู้จัดทาโครงการสามารถนาน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้าไปทดสอบเพ่ือหาประสิทธิภาพของน้ายาซกั
ผา้ จากน้าด่างข้ีเถ้ากับกล่มุ เป้าหมายท่กี าหนดไว้สาเร็จภายในระยะเวลาของการจัดทาโครงการท่ีได้กาหนดไว้
8.2 การพฒั นาประสิทธภิ าพของนา้ ยาซักผา้ จากนา้ ด่างขีเ้ ถา้
ผลการศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพน้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า จากกลุ่มเป้าหมายที่ทดลองใช้
จานวน 30 คน คร้งั ที่ 1 และ ครั้งที่ 2 พบวา่ คา่ t ท่ี df (n -1) = 29 ท่คี านวณได้ มีคา่ เท่ากบั 30.7996 ซึ่งมคี ่า
มากกว่า คา่ t ท่ี df (n-1) = 29 ระดับนัยสาคญั ทางสติท่ี 0.05 ทมี่ คี ่าจากตาราง df มคี ่า = 2.0452
สรุปไดว้ า่ ความคดิ เห็นของกลุม่ เป้าหมาย ทม่ี ตี ่อนา้ ยาซักผ้าจากน้าดา่ งขีเ้ ถา้ คร้ังท่ี 1 และ ครั้งที่ 2 พบวา่ ครัง้
ท่ี 2 มปี ระสิทธิภาพโดยรวม มากกว่าครัง้ ท่ี 1
8.3 การศกึ ษาความคิดเหน็ ของกลมุ่ เปา้ หมายทที่ ดสอบประสทิ ธิภาพของนา้ ยาซักผ้าจากน้าด่างขเี้ ถา้
สามารถสรุปผลไดด้ งั น้ี

184

ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครงั้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563

13

8.3.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ียวกับปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบคุ คลของกลุ่มเป้าหมาย ท่ีได้ทดลองใช้นา้ ยา
ซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้า จานวน 30 คน พบว่า เป็นเพศชายจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 เป็นเพศหญิง
จานวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 สว่ นใหญม่ ีอายุ 46 – 55 ปี จานวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.30 ส่วน
ใหญ่มีระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรี จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.30 ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส
จานวน 17 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 56.70 สว่ นใหญเ่ ป็นพนักงานบริษัท จานวน 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.30 สว่ น
ใหญ่มีรายได้ต่ากว่า ถึง 10,000 – 15,000 บาท จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่มีความถี่ใน
การใชน้ า้ ยาซักผา้ ทุกวัน จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.70

8.3.2 ด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ ซึ่งน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า มีความสะดวกในการใช้งาน
รูปแบบภาชนะบรรจุเหมาะสม ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ ตัวผลิตภัณฑ์มีความน่าเชื่อถือ ตรา
สินค้ามีความสวยงาม สอดคล้องกับแ นวคิดทฤษฎีของ วีราวรรณ มารังกูร (2561) กล่าวไว้ว่า องค์ประกอบ
ของผลติ ภัณฑ์ ประกอบดว้ ยกนั 3 องคป์ ระกอบ คอื ผลิตภณั ฑห์ ลัก คือ ส่ิงทผ่ี ู้ซือ้ ต้งั ใจจะซอ้ื เปน็ ประโยชนห์ ลัก
หรือบริการพื้นฐานสาคัญท่ีผู้บริโภคใช้เป็นเกณฑ์การตัดสิใจซ้ือ ผลประโยชน์ของผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งท่ีลูกค้า
คาดหวังว่าจะได้รับจากการใช้ผลิตภัณฑ์ ส่ิงบ่งชี้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์ ซ่ึงอาจเป็น ของเหลว ของแข็ง ก๊าซ ที่มี
ขนาด น้าหนัก รูปร่าง หรือสีสัน กล่ิน และรสชาติ จึงต้องมีสิ่งบงช้ีลักษณะของผลิตภัณฑ์อย่างชัดเจน ได้แก่
บรรจุภณั ฑ์ ตราผลติ ภัณฑ์ บรกิ ารต่าง ๆ การจาหน่ายสินค้าหลายชนดิ แมต้ วั ผลติ ภณั ฑ์ ได้ทาหนา้ ทีข่ องมนั แล้ว
แต่หากมีคู่แข่งมาในการจูงใจให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อน้ันจะเป็นต้องมี บริการ ซึ่งอาจเป็นบริการก่อนขาย ใน
ระหว่างท่ขี ายและบรกิ ารหลังการขาย

8.3.3 ดา้ นคณุ ภาพของผลิตภัณฑ์ ซง่ึ มฟี องน้อย ลา้ งออกง่าย ประหยัดการใชน้ ้า ในระยะยาวไม่เป็น
อันตรายกับเส้นใยของเส้ือผา้ นา้ ยาซักผ้าไดส้ ะอาด ไม่มีกลิน่ อับในเสื้อผ้าที่ใช้น้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้า ขจดั
คราบสกปรกได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ วัชรธน ขอพรกลาง (2560) กล่าวไว้ว่า
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันคุณภาพจะเน้นถึงความต้องการของผู้ซ้ือ น่ันคือ ผลิตภัณฑ์สิ่งใดก็ตามท่ี
ผู้บริโภคมีความพอใจ ผลิตภัณฑ์น้ันมีคุณภาพ ลักษณะของลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพที่สาคัญมี 2 อย่างคือ หน้าท่ี
ความคงทน ความมัน่ คง การอยู่ในสภาพทีด่ ีทางานได้ และ รปู รา่ งลกั ษณะสวยงาม สี ความเรียบร้อยกลมกลืน
ของเสน้ แนวหรอื โครงสร้างของผลิตภัณฑ์

8.3.4 ด้านความปลอดภัยในการใชง้ าน ซง่ึ ผิวหนงั ทส่ี ัมผสั ไม่เกิดการแห้ง ลอก หรอื เปน็ ขยุ อธบิ าย
รายละเอียดการใช้น้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้าไว้อย่างละเอียด เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีปราศจากสารก่อให้เกิดภูมิแพ้
หลังการใชง้ านสามารถล้างมือทาความสะอาดได้ง่าย ไม่มอี าการระคายเคืองทผ่ี วิ หนังหลังการใช้ สอดคล้องกับ
แนวคิดทฤษฎีของ จรนิ ทร์ เจรญิ ศรีวฒั นกุล (2561) กลา่ วไวว้ ่า ความปลอดภัย หมายถึง สภาพทีป่ ราศจากภัย
คกุ คาม ไมม่ อี นั ตรายจากสงิ่ ของเคร่ืองทใี่ ช้และความเส่ยี งใด ๆ ในการใชง้ าน

185

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

8.3.5 ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซ่ึงน้ายาซักผ้าจากน้าด่างข้ีเถ้าไม่มีสารเคมีที่ทาลายส่ิงแวดล้อม
ปริมาณการท้ิงขยะข้ีเถ้าที่เกิดจากการเผาไหม้ลดลง บรรจุภัณฑ์สามารถนามาใช้ใหม่ได้ (Reuse, Reduce,
Recycle) ท้ิงในแหล่งน้าธรรมชาติได้ไม่เป็ นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิต น้ายาซักผ้าจากน้าด่างขี้เถ้าเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ (2561) กล่าวไว้ว่า ผลกระทบที่มีต่อ
สิ่งแวดลอ้ มทท่ี าให้เกิดมลพษิ ต่อสิ่งแวดล้อมเกิดจากความเฉลยี วฉลาดของมนุษยใ์ นเร่ืองคิดประดิษฐ์นวัตกรรม
และเทคโนโลยี เพื่อการน้ีมนุษย์ไม่ได้หาทางป้องกันแก้ไขและแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตให้
กลายเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าท่ีได้มาตรฐาน แต่กลับเพ่ิมปริมาณวัสดุเหลือทิ้งสะสมปริมาณมาก จนส่งผลเสีย
กอ่ ใหเ้ กิดมลพิษทางตอ่ ธรรมชาติ

8.3.6 ด้านต้นทุนผลติ ภัณฑ์ ซ่ึงต้นทุนบรรจุภัณฑ์ราคาต่อหนว่ ยถูก วัตถุดิบหาง่าย ราคาถูก ใช้เวลา
ในการผลิตสั้น ใช้แรงงานน้อย ประหยัดพลังงาน ออกแบบป้ายฉลากของผลิตภัณฑ์จัดทาเองทาให้ประหยัด
ต้นทุน การผลิตจานวนมากจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีราคาต้นทุนถูกลง สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ พรเทพ
รัตนตรัยภพ (2561) กล่าวไว้ว่า ต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือต้นทุนสินค้า เป็นต้นทุนท่ีประกอบด้วยวัตถุดิบทางตรง
ค่าแรงทางตรงและค่าใช้จ่ายการผลิต ต้นทุนผลิตภัณฑ์อาจเป็นต้นทุนสินค้าจากการซื้อสินค้ามาหรือจากการ
ผลิตสนิ คา้ ขน้ึ

9. ข้อเสนอแนะ
9.1 สาหรับผู้ที่สนใจสามารถนาไปเป็นข้อมูลไปศึกษาเพื่อพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพสมบูรณ์

ยิ่งขนึ้
9.2 การนาขยะมูลฝอยมาเพ่ิมมูลค่า สามารถสร้างรายได้ ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม เป็นการใช้ประโยชน์จาก

ขยะมลู ฝอยที่นับวนั ยง่ิ เพม่ิ มากข้ึนอยา่ งคุ้มคา่

10. เอกสารอา้ งอิง

[1] วรี าวรรณ มารังกูร. พมิ พ์คร้งั ท่ี 4. หลักการตลาด. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย.(2561)
[2] วัชรธน ขอพรกลาง. การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชั่น.(2560)
[3] จรนิ ทร์ เจรญิ ศรีวัฒนกลุ . พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. อาชีวอนามยั และความปลอดภัย. กรุงเทพฯ :

สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง. (2561)
[4] สกุ าญจน์ รัตนเลิศนสุ รณ์. พิมพ์คร้ังที่ 1. ส่ิงแวดล้อมและการจัดการแบบยัง่ ยนื . ปทมุ ธานี :

ศูนย์นวัตกรรมการออกแบบและส่อื คอนเวอรเ์ จนซ์.(2561)
[5] พรเทพ รัตนตรัยภพ พิมพ์ครั้งที่ 1. หลักการบัญชตี น้ ทุน. บริษทั มสิ เตอรก์ ๊อปป้ี (ประเทศไทย) จากดั .

(2561)

186

ประชมุ วชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

การพัฒนาและหาประสิทธภิ าพของน้ามนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กส้ม
The Development Orange Peel for Air Conditioning Essential Oil

นางสาว ศริ ิลักษณ์ จนั ทรโ์ นนแซง 1, นางพิศมยั บุณยโสภณ2นางสาวเบญจมาภรณ์ อนิ ทรพมิ าย3,
นางสาวรวิษฎา ใจเยน็ 4

Ms.Sirilak Jannonsaeng1,Mrs.Pitsamai Bunyasophon2,Miss.Benchamaporn Intarapimai3,Mrs.Rawisada
Jaiyen4

1สาขาวชิ าการโรงแรม วทิ ยาลยั พณิชยการเชตพุ น สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ 10600
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 097-058-1909

บทคัดย่อ
การจัดท้าโครงการ เร่ือง การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก
เปลือกส้ม ในครังนีมีวัตถุประสงค์1) เพื่อผลิตน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม 2) เพ่ือทดสอบ
ประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม3)เพ่ือความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย ท่ี
ทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม ข้อมูลท่ีได้จะเป็นประโยชน์ในการ
จัดการของเสียจากเปลือกส้มให้มีมูลค่าเพิ่มน้ากลับมาใช้ในการปรับสภาพอากาศในร้านอาหารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ พนักงานอาหารบ้านสุริยาศัย ก้าหนดกลุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจงตามรา้ นอาหารบ้านสุรยิ าศยั จา้ นวน 40 คน ใชแ้ บบสอบถาม เปน็ เครอื่ งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean)
และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าสถิติ t-test Dependent Group โดย
กา้ หนดระดบั นยั สา้ คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 ผลการจดั ท้าโครงการพบว่า

187

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี

2 .ผลการทดสอบความคดิ เห็นของพนกั งานร้านอาหารบา้ นสุริยาศยั ทีม่ ีต่อประสิทธภิ าพของน้ามัน
หอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มพบว่าครังที่ 1 และ ครงั ที่ 2 พบวา่ ค่า t ท่ี df (n-1) = 39 ที่ค้านวณได้
มีค่าเท่ากับ 37.1855 ซึ่งมีค่ามากกว่า ค่า t ท่ี df (n-1) = 39 ระดับนัยส้าคัญทางสถิติ ท่ี 0.05 ที่มีค่าจาก
ตารางที่ df มีค่า = 2.0227 จึงสรุปได้ว่าความคิดเห็นของพนักงานร้านอาหาร บ้านสุริยาศัยท่ีมีผลต่อ
ประสิทธิภาพน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกสม้ มีประสิทธิภาพครังท่ี 1 และ ครังที่ 2 พบว่า ครังที่
2 มีประสิทธิภาพโดยรวม มากกว่าครังท่ี 1 เม่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศ
จากเปลือกส้มเป็นร้อยละครังท่ี 1 คิดเป็นร้อย 49.66 ครังท่ี 2 คิดเป็นร้อยละ 96.66 ความคิดเห็นต่อ
ประสิทธิภาพโดยรวมครงั ท่ี 2 มากกวา่ ครังท่ี 1 ร้อยละ 39.41

3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก
เปลือกส้ม โดยรวม อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉล่ีย ( ) = 4.41 ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน( ) = 0.21 เม่ือพิจารณาเป็น
รายด้าน พบว่า ด้านความคาดหวังของผู้ใช้งาน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( ) = 4.46 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
( ) = 0.37 รองลงมา ด้านผลกระทบของส่ิงแวดล้อม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( ) = 4.45 ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ( )= 0.37 และด้านท่มี ีคา่ เฉลีย่ ต้า่ ทสี่ ดุ ได้แก่ ด้านความปลอดภยั ของผใู้ ชง้ าน อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย
( ) = 4.32 ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( )= 0.35 ตามลา้ ดบั

ค้าส้าคญั : การพัฒนา, การหาประสทิ ธภิ าพ, นา้ มนั หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกส้ม

นางสาว ศริ ิลกั ษณ์ จันทร์โนนแซง วทิ ยาลัยพณิชยการเชตพุ น สถาบันการอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร 188
เบอรโ์ ทร 098-618-2254 E-mail: [email protected]
นางพิศมยั บุณยโสภณ วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตพุ น สถาบันการอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
เบอรโ์ ทร 081-421-3483 E-mail: [email protected]
นางสาวเบญจมาภรณ์ อินทรพิมาย วทิ ยาลยั พณชิ ยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร
เบอร์โทร 081-806-3762 E-mail: [email protected]
นางสาวรวษิ ฎา ใจเยน็ วทิ ยาลัยพณชิ ยการเชตุพน สถาบนั การอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร
เบอร์โทร 098-245-9245 E-mail [email protected]

ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครัง้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

Abstract

. Onthedevelopmentanddeterminationoftheeffectivenessofessentialoilsfromorangepeelthistime,the
objectives are as follows:1.) To produce essential oils from citrus peels.2.) To test the efficacy of essential oil conditioning
fromorangepeel.3.)Fortheopinionsofthetargetaudience.Totesttheefficacy ofessentialoilsfromorangepeel.This
information will be useful in the management of citrus peel waste for added value. It can be used to optimize the
climate in the restaurant. The population used in the study was Baan Suriyasai staff. A specific sample group was
determined at Baan Suriyasai restaurants of 40 people. Questionnaires were used to collect data. The statistics used for
data analysis were (Frequency), (Percentage), (Mean), (Standard Deviation) and (t-test Dependent Group) statistical values
level 0.05

1) The results of the study of the effectiveness of air-conditioned essential oils from orange peel are effective
according to the specified criteria. The ingredients of the product do not have a pungent odor, it is not dangerous to
inhale. Detailed product labels, ingredients and methods of use are available. The ingredients of the product are certified
by a standardized and reliable body. The quality of the products, essential oils, air conditioning from orange peel are
products, do not damage the atmosphere and the active area. Go On The result of using the product is detailed on the
label, it has a long service life, does not deteriorate the quality easily. Air-conditioned essential oils from orange peel have
cheappackagingcosts,donotaffectthecost. ProductionMassproductionwillgetproductsthatarecheaper.Usecheap,
easy-to-find raw materialsavailable. Local Essential oils air-conditioned from orange peel are free from chemicals that
may causeinhalationirritationNoresiduesorstainsontheapplied area.Theweathercanbe adjustedtothefragrance
of orange peel. Orange peel essential oil is a product that has no inhalation and respiratory effects. Other organs can be
washed with clean water and essential oils aired from orange peel,

2) Results of the opinion test of Baan Suriyasai restaurant’s staff on the efficiency of citrus peel essential oils
were found that the1st and 2nd times found that thet valuesat df (n-1) = 39 were calculated. It was 37.1855, which
was greater than the t at df (n-1) = 39. The statistical significance level of 0.05 was from the table df = 2.0227. Baan
Suriyasai had aneffect ontheefficiency oforangepeel essential oil,thefirst timeand thesecond timewas found that
the second time was overall effective. More than the first time when comparing the efficiency of essential oils from
orange peel was thefirst time,49.66 percent,the second time representing96.66 percent,the second opinion on the
overall efficiency, more than the 1st time 39.41 percent.

3) To study the opinions of employees on the efficacy of essential oils. The overall conditioning from orange
peelwasatahighlevel.Mean(μ)=4.41,standarddeviation( ) =0.21.Highlevel.Mean(μ)=4.46,standarddeviation
( ) =0.37,followedbyenvironmentalimpact.Themean(μ)=4.45,standarddeviation( ) =0.37,andthesidewith
the lowest mean was user safety. In high level, mean (μ) = 4.32, standard deviation ( ) = 0.35, respectively.

189 Keywords:Development,Efficiency,orangepeelconditioningessentialoil

บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

1.บทน้า
ร้านอาหารบ้านสุริยาศัยเป็นร้านอาหารไทย ที่ตกแต่งเป็นบ้านสไตล์โคโลเนียวิคตอเรียเป็นการ

ตกแต่งแบบอิตาเลียน เป็นอาคารครึ่งไม้คร่ึงปูน และขายอาหารไทยโบราณอาหารอาหารไทยโบราณมีกล่ิน
เครื่องแกงพวกเคร่ืองปรุงรสค่อนข้างแรงท้าให้เกิดกลิ่นท่ีไม่พึงประสงค์และเวลาท่ีเปิดเครื่องปรับอากาศท้า
ให้ร้านเย็นและอาจจะท้าให้มีความชืนอยู่ถึงจะเปิดเครื่องดูดอากาศก็ตาม จึงต้องใช้สเปรย์ดับกลิ่น และหัว
น้าหอมในการฉีดเสมอ เพื่อให้ลดกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะกลิ่นอาหาร ที่แรงหรือกล่ินจากไม้ที่
เกิดจากความชืนในอากาศ การใช้นา้ หอมในการดับกล่ินมีต้นทุนที่สูง ราคาแรง และการฉีดแตล่ ะครงั ใช้เยอะ
และสินเปลอื งมากและกลนิ่ ไมต่ ดิ ทนนาน

ในส่วนของรา้ นอาหารจะประกอบเปน็ หลากหลายส่วนไม่ว่าจะเป็นโซนของ Tea room ครวั บาร์
และส่วนของห้องอาหาร แต่ละแผนกสั่งของมาและท้าการประกอบอาหารและเครอ่ื งดื่มในการบริการลกู คา้
และเนื่องจากสถานการณ์โควิดตอนนี ท้าให้มีลูกค้ามาใช้บริการน้อยลง รายรับที่ได้รับน้อยลงแต่สถาน
ประกอบการยังต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเท่าเดิม ถึงต้องสั่งของตามสถานการณ์ของลูกค้าท่ีมาใช้บริการแต่
ของก็ยังใช้ไม่หมดและได้ทิงอยู่เสมอ ผูศ้ ึกษาโครงการจึงมองว่าการท่ีทา้ เคร่ืองดื่มและการประกอบอาหารใช้
สว่ นประสมท่ีสามารถมาท้าเป็นทด่ี ับกลนิ่ และใหค้ วามสดชืน่ ใหค้ วามผ่อนคลายและไม่เป็นอันตรายได้

จากข้อมูลดังกล่าวท้าให้ผู้ศึกษาโครงการมองเห็นโอกาสในการเอาของท่ีไม่ได้ใช้แล้วมาสร้าง
มูลค่าเพ่ิมให้เกิดประโยชน์ใหม่และเป็นการลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในส่วนท่ีไม่จ้าเป็นลงได้ เน่ืองด้วยใช้หัว
เชือน้าหอมมีราคาแพงการสั่งซือแต่ละครังเป็นเงินจ้านวนมาก ในรูปแบบของการผลิตและทดสอบ
ประสทิ ธภิ าพของน้ามนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม

2. วัตถปุ ระสงค์การจัดทา้ โครงการ
1.2.1 เพื่อการผลติ น้ามนั หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลอื กสม้
1.2.2 เพือ่ ทดสอบประสิทธภิ าพของน้ามันหอมระเหยปรบั อากาศจากเปลอื กสม้
1.2.3 เพื่อความคิดเหน็ ของกลมุ่ เปา้ หมายท่ีทดสอบประสิทธภิ าพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศ

จากเปลอื กส้ม

190

ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครงั้ ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563

3. ขอบเขตของการจัดทา้ โครงการ
การจัดท้าโครงการ เร่ือง การผลิตและทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศ

จากเปลอื กสม้ ผจู้ ัดท้าโครงการไดก้ า้ หนดขอบเขตไวด้ ังนี
1.3.1 สถานท่ีทใ่ี ชใ้ นการด้าเนนิ โครงการ ไดแ้ ก่ ร้านอาหารบ้านสุริยาศัย
1.3.2 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัยท่ีได้ทดลองใช้น้ามัน

หอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกสม้ จ้านวน 40 คน
1.3.3 เนือหาท่ีใช้ในการศึกษาครังนี คือ การศึกษาการท้าน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กสม้

โดยในการศึกษาจะศึกษาครอบคลุม ผู้จัดท้าโครงการจะท้าการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหย
ปรับอากาศจากเปลือกส้ม ครอบคลุมในเร่ือง องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ต้นทุนที่ใช้ใน
การน้ามาใช้งาน ความคาดหวังของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ ความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์ ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม
เรอื่ งดงั ตอ่ ไปนี

1.3.4 ระยะเวลาการจัดท้าโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพในครังนี เริ่มตังแต่ วันท่ี 4 กรกฎาคม
พ.ศ. 2563 ถึง วนั ท่ี 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

4. กรอบแนวคิดในการจัดท้าโครงการ
การจัดท้าโครงการเรื่องการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก

เปลอื กสม้ ผูจ้ ดั ทา้ ได้ศกึ ษาจากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง และน้ามาประมวลผลเป็นกรอบแนวคิด

ดงั นี

ตัวแปรจัดกระทา้ ตวั แปรตาม
(Treatment Variables) (Dependent Variables)

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของน้ามนั หอมระเหยปรับอากาศจาก
ของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศ เปลือกส้ม
จากเปลอื กสม้ 1. ดา้ นองคป์ ระกอบของผลิตภณั ฑ์
2. ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์
3. ด้านต้นทุนในการน้ามาใช้งาน
4. ดา้ นความคาดหวังของผใู้ ช้ผลติ ภัณฑ์
5. ดา้ นความปลอดภัยในการใช้ผลติ ภณั ฑ์
6. ด้านผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม

191

บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี

5 วิธดี ้าเนินโครงการ
1.5.1 ขันตอนท่ี 1 การผลติ น้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กส้ม
1.5.1.1 การผลิตนา้ มนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กสม้
สถานทท่ี ่ผี ้จู ดั ท้าโครงการพิเศษใช้เป็นสถานท่ีผลิต ไดแ้ ก่ รา้ นอาหารบ้านสุรยิ าศัย ถนนสรุ วงค์

แขวงสี่พระยา เขตบางรัก 10600
1.5.1.2 ปัจจัยท่ีใชใ้ นการผลติ ประกอบดว้ ย
1) เปลอื กส้ม
2) นา้ กล่ัน
3) นา้ มันมะพรา้ วสกัดเย็น
1.5.1.3 การออกแบบตราสัญลักษณ์ (Logo)
ผูจ้ ดั ทา้ โครงการได้ทา้ การออกแบบตราสัญลักษณ์ (Logo) ของน้ามนั หอมระเหยปรบั

อากาศจากเปลือกสม้ ไว้ดังนี

ภาพท่ี 1.2.ตราสัญญาลักษณ์ (logo) ของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้ม
ทมี่ า : ศิรลิ ักษณ์ จนั ทร์โนนแซง

192

ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563

1.5.2 ขันตอนท่ี 2 การทดสอบประสิทธิภาพภาพของน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลือก
สม้ ตารางที่ 1.1 ตารางการผลิตและทดสอบประสทิ ธิภาพของน้ามนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กสม้

การผลิต การทดสอบประสิทธิภาพน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กส้ม
ครังที่ 1 การทดสอบประสทิ ธภิ าพ

ผู้จัดท้าโครงการได้ท้าการผลิตนา้ มันหอมระเหยปรับอากาศจากเปลอื กส้ม
ครังที่ 1 และท้าการทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับ
อากาศ จากเปลือกส้มกับพนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย พร้อมบันทึก
การทดสอบประสทิ ธภิ าพของครงั ท่ี 1 ไว้

ครงั ท่ี 2 ผู้จัดท้าโครงการน้าข้อมูลบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพครังท่ี 1 มา
ครังท่ี 3 ท้าการปรับปรุงแก้ไขและท้าการผลิตน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก
เปลือกส้มเป็นครังท่ี 2 และท้าการทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันหอม
ระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มกับพนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย
พนักงานชุดเดิมพร้อมบันทึกการทดสอบประสิทธิภาพครังท่ี 2
เปรียบเทยี บกบั ครงั ที่ 1 พร้อมบนั ทกึ การทดสอบประสทิ ธิภาพครังที่ 2 ไว้
ผู้จัดท้าโครงการน้าข้อมูลบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพครังท่ี 2 มา
ท้าการปรับปรุงแก้ไขและท้าการผลิตน้ามันหอมระเหยปรับอากาศจาก
เปลือกส้มเป็นครังที่ 3 และท้าการทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันหอม
ระเหยปรับอากาศจากเปลือกส้มกับพนักงานร้านอาหารบ้านสุริยาศัย
พนักงานชุดเดิมพร้อมบันทึกการทดสอบประสิทธิภาพครังท่ี 3
เปรียบเทยี บกับครงั ที่ 2 พร้อมบนั ทกึ การทดสอบประสิทธภิ าพครงั ท่ี 3 ไว้

1.6 ประโยชน์ของการจัดท้าโครงการ
1.6.1 ไดผ้ ลิตภัณฑน์ า้ มันหอมระเหยปรบั อากาศจากเปลือกสม้
1.6.2 ไดข้ อ้ มูลประสทิ ธภิ าพของผ้ทู ใี่ ช้ นา้ มนั หอมระเหยปรับอากาศจากเปลือกสม้
1.6.3 ได้ข้อมูลความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายท่ีทดสอบประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยปรับ

อากาศจากเปลือกสม้

193

บทความผลงานวิจยั นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี


Click to View FlipBook Version