เอกสารอ้างอิง
กัลยาวานิชย์บญั ชา. พมิ พ์ครัง้ ท่1ี .การวิเคราะหส์ ถิต:ิ สถติ ิสาหรบั การบรหิ ารและวิจยั .
กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, 2546
กลั ยาวานชิ ย์บัญชา. (2551) . การใช้SPSS for Windows ในการวเิ คราะห์ข้อมูล. ภาควิชาสถิติ
บริษัท ซี พี ออลล์ จากดั (มหาชน)
คอตเลอร์, ฟิลลิป (2546: 24), สว่ นประสมทางการตลาด (Marketing Mix)
เฉลิมชัย แซ่ชิน (2557), ความคุ้นเคยกับ ตราสนิ คา้ ความเชอื่ มน่ั ในตราสนิ ค้า และส่วนประสมทาง
การตลาด
ธนวัฒน์ ปราณพี รอ้ มพงศ.์ (2553). ศึกษาพฤติกรรมและปัจจยั ทางการตลาดทม่ี ีผลต่อการเลอื กซื้อ
Armstrong and Kotler. 2009 : 617, การส่งเสริมการขาย (Sales promotion)
Etzel, Walker and Stanton. 2007 : 677, การใหข้ ่าวและประชาสัมพันธ์ (Publicity and Public
Relations)
Kantsperger and Kunz (2010, ความเช่อื ม่นั ของผู้บริโภคตอ่ ธรุ กิจบรกิ าร
Kotler and Armstrong (2002), ความหมายและแนวความคดิ เก่ยี วกบั ความพึงพอใจ
Kotler and Keller. 2009 : 787, ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย (Channel Distribution)
Kotler, Philip. (1999). Marketing Management, แนวคดิ และทฤษฏีเกี่ยวกับพฤติกรรมผบู้ ริโภคและ
การตดั สินใจซ้ือ
Loudon and Bitta (1988, p. 4), แนวความคดิ เกย่ี วกับพฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค
Parasuraman, Zeithaml and Berry (1985), แนวความคิดเกีย่ วกบั คณุ ภาพการให้บริการ (Service
Quality)
Philip Kotler, 2000 : 436, งานของธรุ กจิ บรกิ าร
344
ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
การศกึ ษาผลกระทบจากมาตรการการขึ้นภาษที ีม่ ีต่อพฤตกิ รรมการซ้อื บหุ รซี่ กิ าแรตของผบู้ ริโภค
ในเขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร
The study the effect of rasing tobacco excise tax towards the buying behavior
of cigarettes of consumer in Dusit District, Bangkok Province
นางสาวเขมลกั ษณ์ ทวิ หงษ1์ ,นางสมหมาย เสถียรธรรมวทิ ย์2, นางธดิ ารัตน์ ประสานวรรณ3
Miss. Kemmalak Thewhong 1Mrs. Sommai Satheantheammawit2 Mrs. Thidarat Prasanwan3
1สาขาวิชาการตลาด วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรี สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ 10600
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 095-757-0535
2นางสมหมาย เสถยี รธรรมวิทย์ วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี สถาบนั การอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอรโ์ ทร 092-919-9149
บทคัดยอ่
การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาผลกระทบจากมาตรการการข้ึนภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซ้ือ
บุหร่ีซิกาแรตของผู้บริโภคในเขตดุสติ กรุงเทพมหานคร 2) เปรียบเทียบผลกระทบจากมาตรการการข้ึนภาษีท่ีมีต่อ
พฤติกรรมการซื้อบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภคในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริโภคในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จานวน 399 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่
แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย
(Mean) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ) ทดสอบค่าสถิติ t – test ค่าสถิติทดสอบ F-test
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way – ANOVA) กรณีพบความแปรปรวนมีความแตกต่างอย่างมี
นัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05 ทาการทดสอบรายคโู่ ดยวธิ กี ารของเชฟเฟ่ (Scheffe) ผลการศึกษาพบวา่
ผลกระทบจากมาตรการการข้ึนภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหร่ีซิกาแรต ของผู้บริโภคในเขตดุสิต
กรุงเทพมหานคร โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผลกระทบต่อพฤติกรรม
การซ้ืออยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงตามลาดับจากมากไปหาน้อย ดังน้ี ด้านการเลือกตราสินค้า ด้านแหล่ง
ผขู้ าย ดา้ นผลิตภัณฑ์ทดแทน ดา้ นความถี่ในการซื้อ และดา้ นทีม่ คี ่าเฉลย่ี ต่าท่ีสดุ ไดแ้ ก่ ดา้ นปริมาณการซ้ือ ตามลาดับ
ส่วนการทดสอบสมมติฐาน พบว่า จาแนกตามเพศผลกระทบจากมาตรการขึ้นภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการ
ซื้อบหุ ร่ีโดยรวมและรายดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นการเลอื กตราสินค้า ด้านแหล่งผขู้ าย ด้านปริมาณการซ้ือ และด้านความถ่ี
ในการซื้อ ไม่แตกตา่ งกัน ส่วนด้านการใชผ้ ลติ ภัณฑ์ทดแทน แตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05
345
บทความผลงานวจิ ัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
จำแนกตามอายุผลกระทบจากมาตรการข้นึ ภาษที ีม่ ตี อ่ พฤตกิ รรมการซอื้ บุหรี่ด้านการใชผ้ ลิตภัณฑ์ทดแทน
ดา้ นการเลือกตราสนิ ค้า และดา้ นแหล่งผู้ขายไม่แตกตา่ งกนั ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ดา้ นปริมาณการซ้ือ
ด้านความถใ่ี นการซ้ือ แตกต่างกันอยา่ งมนี ยั ส าคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.05
จำแนกตามระดบั การศึกษาและอาชพี ผลกระทบจากมาตรการข้นึ ภาษที ่ีมตี อ่ พฤติกรรมการซอ้ื บุหร่โี ดยรวม
และรายดา้ น ได้แก่ ด้านการใช้ผลิตภณั ฑ์ทดแทน ดา้ นการเลอื กตราสนิ คา้ ด้านแหลง่ ผู้ขาย ด้านปรมิ าณการซือ้
และดา้ นความถ่ใี นการซื้อไม่แตกตา่ งกนั จาแนกตามรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันผลกระทบจากมาตรการ
ข้ึนภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหรี่ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน และด้านการเลือกตราสินค้า ไม่แตกต่างกัน
ส่วนโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านแหลง่ ผู้ขาย ด้านปรมิ าณการซือ้ และด้านความถีใ่ นการซอื้ แตกตา่ งกันอยา่ ง
มีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05
จาแนกตามความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผลกระทบจากมาตรการข้ึนภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหร่ี โดยรวม
และรายด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน และด้านความถ่ีในการซื้อ ไม่แตกต่างกัน ส่วน ด้านการเลือก
ตราสนิ ค้า ด้านแหล่งผขู้ าย และด้านปรมิ าณการซื้อ แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05
จาแนกตามมาตรการข้ึนภาษีบหุ ร่ีมผี ลกระทบต่อการสูบบหุ ร่ีของผ้บู รโิ ภคในเขตดุสติ ผลกระทบจากมาตรการ
ขน้ึ ภาษที ่มี ีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ โดยรวมและรายด้าน ไดแ้ ก่ดา้ นการใช้ผลิตภัณฑท์ ดแทน ด้านการเลือกตรา
สินค้า ดา้ นแหลง่ ผูข้ าย ดา้ นปริมาณการซอื้ และดา้ นความถใี่ นการซ้ือสินค้า แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติ
ทร่ี ะดบั 0.05
จาแนกตามมาตรการที่รัฐบาลประกาศยกเลิกการขายบุหร่ีในประเทศ พฤติกรรมการซ้ือบุหร่ีซิกาแรตของ
ผู้บริโภคในเขตดุสิตผลกระทบจากมาตรการขึ้นภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหร่ี ด้านแหล่งผู้ขาย ด้านปริมาณ
การซ้ือ และด้านความถี่ในการซื้อ ไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ผลติ ภณั ฑ์ทดแทน
ดา้ นการเลือกตราสินค้า แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05
คาสาคญั : มาตรการการขน้ึ ภาษี , ภาษสี รรพสามิต, พฤติกรรมการซอ้ื
1นางสาวเขมลกั ษณ์ ทวิ หงษ์ วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี สถาบนั การอาชีวศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 095-757-0535
2นางสมหมาย เสถยี รธรรมวิทย์ วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 092-919-9149
346
ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
Abstract
This project of The Study the effects of rasing tobacco excise tax towards the buying
behavior of cigarettes of consumer in Dusit District, Bangkok. The objectives are 1) To study
the effects of rasing tobacco excise tax towards the buying behavior of cigarettes of
consumers in the Dusit District, Bangkok. 2) . To compare the effects of Raising Tobacco
Excise Tax Towards the Buying Behavior of Cigarettes of Consumer in Dusit District, Bangkok.
The samples for the study are customers in Dusit District which derived from simple random
sampling for 399 cases; Statistical values used in data analysis are Frequency, Percentage,
Mean, Standard Deviation and hypothesis testing using t-test. Compare the differences of
data by The One-Way ANOVA was tested in pairs by the Scheffe method at the statistical
significance level of 0.05 The results of the research showed that.
1. Most of all customers (399 persons) in Dusit District are male 213 persons As a
percentage = 53.40, aged between 31-40 years old 138 persons As a percentage = 34.60,
Graduated with a bachelor's degree 220 persons As a percentage = 55.10, Civil servants and
state enterprise employees 146 persons As a percentage = 36.60, and has a fixed income at
least 30,001 baht per a month 148 persons As a percentage = 37.10, 179 persons As a
percentage = 44.90, of them realized the perils of the tobacco quite well, 174 persons As
a percentage = 43.60, are still smoking and 120 persons As a percentage = 30.10, are still
trying to seek for it.
2. The effects of Raising Tobacco Excise Tax towards the Buying Behavior of Cigarettes
of Consumer in Dusit District are moderate in overall. When arranging in order from most to
least are as follows, for products if having the excise tax raising from the government,
customers will focus on choosing the product brands and most of them are likely to choose
the cheaper brands according to the theories of customer behaviors. For distribution
channels, customers like to buy products at neighborhood convenient stores. For
replacement products, if having the excise tax raising from the government, customers will
use electric cigarettes or tobacco leaves instead.
3. The results of the comparative research classified by personal information show that
most of customers have behaviors in choosing product brand and distribution channels
indifferently. For buying quantity and buying frequency are also indifferent. But for
replacement products, they have statistically significant differences at 0.05.
Keyword: Buying Behaviors, Effects of Excise Tax Raising
347
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี
1. บทนา 348
ผู้อานวยการโรงงานยาสูบ คาดการณ์ว่า การที่ราคาบุหร่ีที่ขายในประเทศปรับตัวสูงขึ้นจะทาให้ตลาด
บุหร่ีภายในประเทศที่มีมูลค่าประมาณ 32,000 ล้านบาท หรือคิดเป็นปริมาณบุหรี่ประมาณ 40,000ล้าน
มวนต่อปี หดตัวลงประมาณร้อยละ 3ตลาดบุหร่ีภายในประเทศ โรงงานยาสูบ มีส่วนแบ่งการตลาดคิดเป็น
สัดส่วนประมาณร้อยละ ของท้ังตลาด ส่วนผลกระทบของรายได้ของโรงงานยาสูบ คาดว่า น่าจะหด 76-75
ล้านบาทตอ่ เดือน เนอ่ื งจากมีการคาดการณว์ ่าจะ 1,000 หรือมีรายได้ลดลงประมาณ 10 ตวั ประมาณรอ้ ยละ
มีการขึ้นอัตราภาษีทาให้ผู้ขายมีการสต๊อกบุหรี่ไว้ เม่ือบุหรี่ข้ึนราคาจึงรีบระบายสต๊อกเก่าออกมาจาหน่าย
ปรมิ าณการซ้อื จากโรงงานยาสบู จงึ ลดลง
ปี พ .ศ.2559 โรงงานยาสูบออกบุหร่ีตราใหม่ ขนาด 7.1 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นขนาดเล็กกว่ารุ่นปกติท่ีมี
ขนาดประมาณ 7.7 มิลลิเมตร ราคาจาหน่ายประมาณ 40 บาทต่อซอง เพ่ือเจาะตลาดผู้บริโภคที่มีรายได้
น้อยให้สามารถซ้ือบุหรี่ซองมาสบู ได้ การที่ราคาบุหร่ีปรบั ตัวสงู ข้ึนจะส่งผลกระทบให้ผูบ้ รโิ ภคท่ีมีรายไดน้ อ้ ย
บางส่วนไม่มีกาลังซ้ือบุหรี่แบบซองมาสูบ อาจจะมีการซื้อบุหรี่แบบแบ่งมวน หรือหันไปนิยมซ้ือยาเส้นแบบ
ม้วนเองมาสูบแทน หรืออาจจะมีการซื้อบุหร่ีท่ีไม่เสียภาษีบุหรี่ปลอม หรือบุหร่ีท่ีผิดกฎหมายมาสูบแทน
เพราะราคาถูกกวา่ ผลจากการดาเนินนโยบายการขนึ้ ภาษสี รรพสามติ ยาสูบ รายการบหุ รี่ซิกาแรตในครั้งนี้ ผล
การดาเนินการจะลดจานวนผูส้ บู บุหรร่ี ายใหม่ หรอื เพิ่มรายได้ใหก้ ับรฐั มากข้นึ
จากขอ้ มูลดังกล่าวทาใหผ้ ู้จัดทาโครงการมีความสนใจที่จะทาการศึกษาผลกระทบจากมาตรการการขึ้น
ภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภคในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ข้อมูลที่จะเป็นโยชนใ์ น
การกาหนดนโยบายการเกบ็ ภาษีบุหรซี่ ิกาแรต และวางแผนการผลติ ปรมิ าณบหุ รซี่ ิกาแรตเข้าสูต่ ลาดผู้บริโภค
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพต่อไป
2. วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย
2.1 เพือ่ ศกึ ษาผลกระทบจากมาตรการ การขน้ึ ภาษีที่มตี ่อพฤติกรรมการซื้อบหุ ร่ีซิกาแรต ของผู้บริโภค
ในเขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร
2.2 เพ่ือเปรียบเทียบผลกระทบจากมาตรการ การข้ึนภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหร่ีซิกาแรตของ
ผบู้ ริโภคในเขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปจั จยั พืน้ ฐานส่วนบคุ คล
3. สมมตฐิ านการวิจยั
3.1 ผลกระทบจากมาตรการ การข้ึนภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภค
ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานครอยูใ่ นระดบั มากทีส่ ุด
3ผลกระทบจาก 2.มาตรการ การข้ึนภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหร่ีซิกาแรตของผู้บริโภค
ในเขตดุสติ กรุงเทพมหานคร ไดแ้ ก่ผลกระทบด้านปริมาณการซอ้ื
3.3 ผลกระทบจากมาตรการ การขึ้นภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภค
ในเขตดุสติ กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพน้ื ฐานส่วนบุคคลแตกต่างกนั
4
ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563
4. วธิ ีการดาเนินการวิจัย
4.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ผู้บริโภคในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยใช้สูตรคานวณหาขนาด
กลุ่มตวั อย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ไดข้ นาดของกลุ่มตัวอย่าง 399 คน การส่มุ ตัวอย่างใช้หลักความน่าจะ
เป็น โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) จากตารางวัน เวลา และจานวน ที่กาหนดไว้โดยให้ทุก
หน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือกขึ้นมาตอบแบบสอบถามเท่าเทียมกันให้ได้กลุ่มตัวอย่างครบตามจานวนที่กาหนด
ไว้
4.2 ตัวแปรท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ คือปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์ มาตรการขึ้นภาษีบุหรี่มีผลกระทบต่อการสูบบุหร่ีถ้า
รัฐบาลประกาศยกเลิกการขายบุหร่ีในประเทศ ตัวแปรตามคือพฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภคประกอบด้วย
ดา้ นการใช้ผลติ ภณั ฑ์ทดแทน ดา้ นการเลือกตราผลติ ภัณฑ์ ด้านแหล่งผ้ขู าย ดา้ นปริมาณการซ้อื ด้านความถ่ใี นการซอ้ื
4.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการวจิ ัยเร่ิมต้ังแตวันท่ี ถงึ วันที 2563 กรกฏาคม 11่ กุมภาพนั ธ์ 262564
4.4 ผู้วจิ ยั ใช้แบบสอบถามเป็นเครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล มลี กั ษณะดังนี้ สว่ นท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับ
ปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภค เป็น
แบบสอบถามแบบใช้มาตรวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ การแปลความหมายตามเกณฑ์
ของธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ [1] สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ
4.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผวู้ จิ ัยใชส้ ถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดงั น้ี
4.5.1 แบบสอบถามเก่ียวกบั ปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล ประกอบดว้ ย ปจั จยั พน้ื ฐานส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ
ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉล่ียต่อเดือน ความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์ มาตรการขึ้นภาษีบุหรี่มีผลกระทบต่อการสูบบุหรี่ ถ้า
รฐั บาลประกาศยกเลกิ การขายบุหรี่ในประเทศ ใชก้ ารวิเคราะห์ดว้ ยคา่ ความถ่ี )Frequency) และคา่ ร้อยละ (Percentage(
4.5.2 แบบสอบถามเก่ียวกับผลกระทบจากมาตรการการข้ึนภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหร่ีซิกาแรตของ
ผบู้ ริโภค ในเขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลใช้การวเิ คราะห์ด้วยคา่ เฉลี่ย )Meanและ (
) คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานStandard Deviation(
4.5.3 การเปรียบเทียบผลกระทบจากมาตรการการข้ึนภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภค ในเขต
ดุสิต กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ใช้การวิเคราะห์โดยสถิติทดสอบ t-test และใช้สถิติทดสอบ F-test
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีพบว่าความแปรปรวนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ าการ
ทดสอบคา่ เฉลี่ยรายคู่ (Multiple Comparison) โดยใชว้ ิธีการของเชฟเฟ่ )Scheffe' (กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิติไว้ท่ีระดับ 0.05
5. ผลการวิจัย
การศึกษาผลกระทบจากมาตรการข้นึ ภาษีท่ีมตี ่อพฤตกิ รรมการซอื้ บุหรซ่ี ิกาแรตของผบู้ รโิ ภคในเขตดุสิตกรุงเทพมหานครพบวา่
5.1 ผู้บริโภคในเขตดุสิต ส่วนใหญ่เป็น เพศชาย จานวน 213 คน คิดเป็นร้อยละ 53.40 อายุ 31 - 40 ปี จานวน 138
คน คิดเป็นร้อยละ 34.60 ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 55.10 อาชีพข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน
คิดเป็นร้อยละ 36.60 รายไดม้ ากกว่า 30,001 บาท ขึน้ ไปคิดเปน็ ร้อยละ 37.10 มคี วามร้เู ก่ียวกบั ผลิตภัณฑ์รูถ้ ึงโทษและพษิ ภัย
349
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
ของบุหร่ีเป็นอย่างดี คิดเป็นร้อยละ 44.90 มาตรการขึ้นภาษีบุหร่ีมีผลกระทบต่อการสูบบุหร่ีมีผลต่อการสูบเท่าเดิม คิดเป็น
รอ้ ยละ 43.60 และถ้ารัฐบาลประกาศยกเลกิ การขายบหุ รใี่ นประเทศ พยายามหาซื้อให้ได้ คดิ เป็นร้อยละ 30.10
5.2 ผลกระทบจากมาตรการข้ึนภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหร่ีซิกาแรต ของผู้บริโภคในเขตดุสิต
กรงุ เทพมหานคร ปรากฏผลดงั ตารางที่ 1
ผลกระทบจากมาตรการขนึ้ ภาษีทมี่ ีต่อพฤติกรรมการซ้ือ ) ̅( (S.D.) แปลผล ลาดับท่ี
1. ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ทดแทน 2.90 0.75 ปานกลาง 3
2. ดา้ นการเลอื กตราสินคา้ 3.11 0.78 ปานกลาง 1
3. ด้านแหลง่ ผขู้ าย 3.02 0.77 ปานกลาง 2
4. ด้านปรมิ าณการซ้ือ 2.58 0.69 ปานกลาง 5
5. ดา้ นความถีใ่ นการซอื้ 2.61 0.79 ปานกลาง 4
รวม 2.85 0.62 ปานกลาง
จากตารางท่ี 1 พบว่า ผลกระทบจากมาตรการการขึ้นภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภคในเขตดุสิต
กรุงเทพมหานคร โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย ) ̅ (= 2.85 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผลกระทบต่อ
พฤติกรรมการซื้ออยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงตามลาดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการเลือกตราสินค้า ค่าเฉล่ีย
) ̅ (= 3.11ด้านแหล่งผู้ขาย ค่าเฉล่ีย ) ̅ (= 3.02ด้านผลิตภัณฑ์ทดแทน ค่าเฉล่ีย ) ̅ (= 2.90 ด้านความถี่ในการซ้ือ
คา่ เฉลยี่ ) ̅ (= ดา้ นทีม่ ีค่าเฉล่ยี ตา่ ท่ีสุด 2.61 ได้แก่ ด้านปรมิ าณการซ้ือ ค่าเฉลีย่ ) ̅ (= 2.58ตามลาดบั
5.3 ผลการเปรียบเทียบผลกระทบจากมาตรการการขน้ึ ภาษีที่มีตอ่ พฤตกิ รรมการซอ้ื บหุ รซี่ ิกาแรต
ของผู้บริโภคในเขตดุสติ กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปจั จยั พื้นฐานส่วนบุคคล ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 2
ผลกระทบจากมาตรการขึ้นภาษีทม่ี ีต่อพฤติกรรมการซอ้ื
ปัจจัยพนื้ ฐานสว่ นบคุ คล ด้านผลิตภัณฑ์
ทดแทน
ด้านการเลือก
ตรา ิสน ้คา
ด้านแหล่ง
ผู้ขาย
ด้านป ิรมาณ
การซื้อ
ด้านความ ี่ถใน
การซื้อ
โดยรวม
1. เพศ 0.00* 0.58 0.10 0.60 0.94 0.31
2. อายุ 0.23 0.45 0.08 0.00* 0.00* 0.02*
3. ระดับการศกึ ษา 0.86 0.30 0.87 0.90 0.60 0.97
4. อาชีพ 0.18 0.91 0.89 0.16 0.17 0.57
5. รายได้เฉล่ยี ตอ่ เดือน 0.95 0.20 0.01* 0.00* 0.00* 0.00*
6. ความร้เู กยี่ วกบั ผลติ ภณั ฑ์ 0.58 0.05 0.19 0.01* 0.14 0.42
7. มาตรการขึน้ ภาษที บี่ ุหร่ีมีผลกระทบต่อการ 0.00* 0.00* 0.00* 0.01* 0.00* 0.00*
สูบบุหร่ี
8. ถ้าประกาศยกเลิกการขายบหุ ร่ใี นประเทศ 0.00* 0.00* 0.18 0.07 0.06 0.00*
* มีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.05
6 350
ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
จากตารางที่ 2 ผลกระทบจากมาตรการขนึ้ ภาษีทีม่ ีต่อพฤติกรรมการซ้ือบหุ ร่ีซิกาแรตของผบู้ ริโภคในเขตดุสติ
กรงุ เทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพื้นฐานสว่ นบุคคล พบว่า
5.3.1 ผ้บู รโิ ภคในเขตดุสิต ที่มเี พศแตกต่างกัน ผลกระทบจากมาตรการข้ึนภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซื้อ
บุหรี่โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการเลือกตราสินค้า ด้านแหล่งผู้ขาย ด้านปริมาณการซื้อ และด้าน
ความถี่ในการซื้อ ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05
5.3.2 ผบู้ ริโภคในเขตดสุ ติ ท่ีมอี ายุแตกตา่ งกนั ผลกระทบจากมาตรการขนึ้ ภาษที ่ีมตี ่อพฤติกรรมการซื้อ
บุหร่ีด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน ด้านการเลือกตราสินค้า และด้านแหล่งผู้ขายไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม
และรายด้าน ได้แก่ ด้านปริมาณการซ้อื ดา้ นความถีใ่ นการซอื้ แตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.05
5.3.3 ผู้บริโภคในเขตดุสิต ท่ีมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน ผลกระทบจากมาตรการข้ึนภาษีท่ีมีต่อ
พฤติกรรมการซื้อบุหรี่โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน ด้านการเลือกตราสินค้า
ดา้ นแหล่งผู้ขาย ดา้ นปรมิ าณการซ้ือ และด้านความถ่ใี นการซื้อไมแ่ ตกต่างกนั
5.3.4 ผู้บริโภคในเขตดุสิต ท่ีมีอาชีพแตกต่างกันผลกระทบจากมาตรการขึ้นภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการ
ซื้อบุหรี่โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน ด้านการเลือกตราสินค้า ด้านแหล่งผู้ขาย
ดา้ นปรมิ าณการซื้อ และดา้ นความถใ่ี นการซ้ือ ไมแ่ ตกตา่ งกัน
5.3.5 ผู้บริโภคในเขตดุสิต ท่ีมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันผลกระทบจากมาตรการข้ึนภาษีที่มีต่อ
พฤติกรรมการซอื้ บุหร่ีด้านการใช้ผลิตภัณฑท์ ดแทน และด้านการเลือกตราสินค้า ไมแ่ ตกตา่ งกนั สว่ นโดยรวม
และรายด้าน ได้แก่ ด้านแหล่งผู้ขาย ด้านปริมาณการซ้ือ และด้านความถ่ีในการซื้อ แตกต่างกันอย่างมี
นยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.05
5.3.6 ผู้บริโภคในเขตดุสิต ที่มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผลกระทบจากมาตรการขึ้นภาษีที่มีต่อ
พฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน และด้านความถ่ีในการซื้อ
ไม่แตกต่างกัน ส่วน ด้านการเลือกตราสินค้า ด้านแหล่งผู้ขาย และด้านปริมาณการซื้อ แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั 0.05
5.3.7 มาตรการข้ึนภาษีบุหร่ีมีผลกระทบต่อการสูบบุหรี่ของผู้บริโภคในเขตดุสติ ผลกระทบจากมาตรการ
ข้นึ ภาษที ี่มตี ่อพฤติกรรมการซ้ือบหุ รี่ โดยรวมและรายด้าน ได้แกด่ า้ นการใช้ผลิตภณั ฑ์ทดแทน ด้านการเลือก
ตราสนิ ค้า ด้านแหล่งผู้ขาย ดา้ นปริมาณการซอ้ื และด้านความถีใ่ นการซ้ือสินคา้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติทรี่ ะดับ 0.05
5.3.8 ถ้ารัฐบาลประกาศยกเลิกการขายบุหร่ีในประเทศ พฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภคใน
เขตดุสิตผลกระทบจากมาตรการขึ้นภาษีท่ีมีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหร่ี ด้านแหล่งผู้ขาย ด้านปริมาณการซื้อ
และด้านความถ่ีในการซื้อ ไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน
ด้านการเลอื กตราสนิ คา้ แตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดบั 0.05
351
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
6. สรปุ ผล
การศึกษาผลกระทบจากมาตรการ การขึ้นภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซ้ือบุหรี่ซิกาแรตของผู้บริโภคใน
เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร พบว่าผลกระทบจากมาตรการการขึ้นภาษีที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อบุหร่ีซิกาแรต
ของผู้บริโภคในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า ผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้ออยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงตามลาดับจากมากไปหาน้อย ดังน้ี
ด้านการเลอื กตราสนิ คา้ ดา้ นแหลง่ ผขู้ าย ด้านผลติ ภัณฑท์ ดแทน ดา้ นความถี่ในการซ้ือ ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าท่ีสุด
ไดแ้ ก่ ด้านปรมิ าณการซ้ือ สอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ ธนวนิ ท์ ลิน้ ทอง [2] ไดท้ าการศกึ ษาเร่ือง ผลกระทบจาก
การปรับข้ึนอัตราภาษีบุหรี่ซิกาแรตตามพรราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ 2560 .ศ.มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
การศึกษาถึงสาเหตุของการปรับข้ึนอัตราการจดั เก็บภาษีบุหรี่ซิกาแรต วิธีการดาเนินนโยบาย และวิเคราะห์
ผลกระทบจากการปรับขึ้นอัตราการจัดเก็บภาษีบุหรี่ซิกาแลตตามพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ .ศ.
2560การปรับขึ้นอัตราการจัดเก็บภาษีบุหรี่ซกิ าแรตน้นั เป็นการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐเก่ียวข้องกับกลมุ่
ภารกิจด้านรายได้เพ่ือใช้ในการพัฒนาประเทศ ที่สาคัญอีกประการคือ เป็นมาตรการทางด้านภาษีในการ
ควบคุมบริโภค เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ และสังคมในปัจจบุ ัน ผลการวิจัยพบว่าทาให้รฐั มีรายได้
ลดลงเนื่องจากราคาบหุ ร่ีซิกาแรตสงู ข้ึนและจานวนผ้สู ูบลดลง
6.1 ด้านการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
บุหร่ีเถื่อน บุหรี่ไฟฟ้า บารากุ และบุหรี่ซิการ์ อยู่ในระดับปานกลาง ส่วน ยาเส้นมวนใบจาก และใบตอง อยู่
ในระดับน้อย สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ สุปัญญา ไชยชาญ [3] ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า ผลิตภัณฑ์ทดแทน
หมายถึง สิ่งที่เราต้องการจะซ้ือหากสินค้าเดิมท่ีขาดตลาด ขาดสต็อก หรือไม่ผลิตออกมาจาหน่าย ปัจจุบัน
พนักงานขายจะสินค้าแนะนา หรือ เลือกสินค้าทดแทนมีคุณสมบัติการใช้งานใกล้เคียง หรือเทียบเท่าเพ่ือ
ชดเชยกับสนิ ค้าทล่ี กู คา้ ต้องการ
6.2 ด้านการเลือกตราสินค้า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เลือกตราสินค้าที่
สบู อยูเ่ ป็นประจา เลอื กตราสินค้าท่ีมีราคาถูกทสี่ ุด เลือกตราสินค้าที่มีราคาปานกลาง และเลือกตราสินค้าใดก็ได้ที่
มีเงินซื้ออยู่ในระดับปานกลาง และเลือกตราสินค้าที่มีราคาสูงท่ีสุด อยู่ในระดับน้อย สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี
ของ สุปญั ญา ไชยชาญ [3] ไดก้ ล่าวไวว้ ่า ผบู้ รโิ ภคส่วนใหญ่พอใจที่จะซ้ือผลิตภัณฑ์ท่ีมีตราย่ีห้อมากกว่าผลิตภัณฑ์
ท่ีไม่มีตราย่ีห้อ เพราะตราย่ีห้อสร้างความม่ันใจให้กับผู้บริโภคว่าได้ซ้ือผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ และสามารถ
เปรยี บเทียบซื้อผลิตภัณฑ์จากหลาย ๆ ตราสินค้า เหน็ ความแตกต่างได้ชัดเจนตัดสินใจซ้ือได้ง่าย รวดเรว็ ขน้ึ
6.3 ด้านแหล่งผู้ขาย โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ร้านสะดวกซ้ือ
ร้านค้าโชห่วย อยู่ในระดับมาก ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง ห้างสรรพสินค้า อยู่ในระดับ
น้อย และแหล่งขายออนไลน์ อยู่ในระดับน้อย สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ วรลักษณ์ หิมะกลัส [4]
ได้กลา่ วไว้ ปริมาณสินค้าหรือบรกิ ารชนิดหน่ึง ๆ ที่ผู้ขายตอ้ งการขาย ณ ระดับราคาตา่ ง ๆ หรือบรกิ ารน้ัน ๆ
8 352
ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563
ณ ระยะเวลาใดเวลาหน่ึงโดยปริมาณการผลิตของสินค้าจะเป็นปริมาณท่ีผู้ผลิตนาออกมาขายเท่าน้ัน ไม่ได้
หมายถงึ ปรมิ าณสินคา้ ทัง้ หมดทีผ่ ผู้ ลติ ได้
6.4 ด้านปรมิ าณการซื้อ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า ซ้ือ ซอง ตอ่ ครั้ง 1
ซอง ต่อครั้ง อยู่ในระดับปานกลาง 2 อยู่ในระดับปานกลาง ซ้ือแบ่งซื้อไม่ได้ยกซอง ซื้อ 3ซอง ต่อครั้ง และ
อย่ใู นระดับนอ้ ย (คอตตอน) ซ้อื ยกหอ่ สอดคล้ องกับแนวคดิ ทฤษฎของ วันรักษ์ มง่ิ มณนี าคี [5] ได้กลา่ วไว้ว่า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ เป็นการบ่งบอกถึงความเปลี่ยนแปลงของปริมาณของความต้องการซ้ือ เมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่น ๆ ที่กาหนด เช่น ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นของ อุปสงค์
ของรายได้ และความยดื หยนุ่ ของอุปสงคต์ อ่ ราคาสินคา้ อนื่ หรอื ความยืดหยุน่ ไขว้
6.5 ด้านความถ่ีในการซื้อ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยู่ในระดับ
ปานกลางทุกข้อ ซ้ือบุหร่ี คร้ัง ต่อสัปดาห์ อยู่ใน 3 คร้ัง ต่อสัปดาห์ ซื้อบุหร่ี 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ซ้ือบุหรี่ 1
ครั้ง ต่อสัปดาห์ อยู่ในระดับปานกลาง 5 ครั้ง ต่อสัปดาห์ และซื้อบุหร่ีมากกว่า 4 ระดับปานกลาง ซ้ือบุหรี่
สอดคล้องกบั แนวคดิ ทฤษฎีของ สุปญั ญา ไชยชาญ [3] ได้กลา่ วไวว้ ่าพฤติกรรมการซ้อื แบบเป็นปกติ หมายถงึ
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นเมื่อผู้บริโภคทาการซ้ือผลิตภัณฑ์ ที่จะต้องซื้อถ่ี เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีลักษณะทั่วไป มีราคา
ต่อหน่วยต่า มีวางจาหน่ายท่ัวไป ผู้ซ้ือจะตัดสินใจซ้ือโดยไม่ยุ่งยากแต่อย่างใดพฤติกรรมการซ้ือแล้วลดความ
กังวลใจ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ ผู้บริโภค รู้จักดี และรู้ว่า มีความแตกต่างระหว่างตรายี่ห้อ น้อยมาก แต่ผู้บริโภคก็
ยังคงตดั สนิ ใจไดย้ ากในการซื้อ เพราะเปน็ ประเภททม่ี รี าคาและความเส่ียงสงู มกี ารซ้ือเปน็ คร้ังคราว
7. ข้อเสนอแนะ
ข้อมูลท่ไี ด้รับจากการศกึ ษาผลกระทบจากมาตรการ การขน้ึ ภาษที ม่ี ตี อ่ พฤตกิ รรมการซื้อบหุ รี่ซกิ าแรต
ของผบู้ รโิ ภคในเขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร ซง่ึ ผวู้ จิ ัยขอสรปุ ขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้
7.1 มาตรการขึ้นภาษีทาให้บุหร่ีมีราคาเพิ่มขึ้น ผลจากการศึกษาผลกระทบจากมาตรการดังกล่าว
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เน่ืองจากผู้ที่สูบบุหรี่มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจโดยไม่
สามารถหยดุ เสพได้เนื่องจากนโิ คตินในควันบุหรท่ี ่ผี ้สู ูบไดร้ ับเข้าไปในร่างกายถูกดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือด และ
สมองจะกระตนุ้ ให้หล่ังสารสื่อประสาทในสมอง เกดิ อารมณ์แหง่ ความสุข ทาให้เกิดการตน่ื ตวั มพี ลัง มสี มาธิ
ลดความรู้สกึ ซมึ เศร้า เมื่อหยดุ สูบบหุ รป่ี รมิ าณของสารสื่อประสาทเหล่านีจ้ ะลดลง ทาใหอ้ ารมณ์แห่งความสุข
ของผ้สู ูบบหุ รี่หายไป
7.2 การสูบบุหร่ีมผี ลเสยี ต่อสุขภาพทาให้เกิดโรคและการเสียชีวิต ท้ังคนที่สูบบุหรี่และผทู้ ี่ได้รบั ควัน
บุหรี่ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็งปอด โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งชนิดอื่นๆ ส่งผลเสียต่อ
เศรษฐกจิ ทาให้เสียเงินในการซื้อบุหร่ีมาสูบ และเสยี เงินในการรักษาโรคท่เี กดิ จากการสูบบุหร่ีและยังเส่ียงต่อ
การเกิดไฟไหม้ และอุบัติเหตุทางรถยนต์ สังคมไทยยอมรับว่าบุหร่ีเป็นสารเสพติด แต่มีความแตกต่างกับยา
เสพติดให้โทษประเภทอ่ืนที่สามารถซ้ือ-ขายได้โดยไม่ผิดกฎหมาย บุหรี่จึงถูกกาหนดให้เสียภาษีสรรพสามิต
เพื่อควบคุมและจากัดการบริโภคของผู้บริโภคในตลาด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรเพ่ิมการประชาสัมพันธ์ใน
ทุกชอ่ งทางเพ่อื ลดแรงจูงใจและการเข้าถึงการสบู บหุ รีซ่ ิกาแรต โดยเฉพาะเยาวชนทีม่ ีอายุไมถ่ งึ สิบแปดปี
353
บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
เอกสารอา้ งอิง
[1] ธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ. การวจิ ยั และวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถิต.ิ พมิ พค์ ร้ังที่ 11. นนทบุรี : บริษทั เอส. อาร.์
พรนิ้ ติง้ แมสโปรดัสก์ จากดั (2553)
[2] ธนวนิ ท์ ลิ้นทอง. (2562). ผลกระทบจากการปรบั ข้นึ อัตราการจดั เก็บภาษีบุหรี่ซกิ าแรตตาม
พระราชบญั ญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560. มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.
[3] สปุ ญั ญา ไชยชาญ .(2555) .การบรหิ ารการจัดการตลาด .กรงุ เทพฯ .ลฟิ วิ่ง.เอ.พี :
[4] วรลกั ษณ์ หมิ ะกลัส .(2555) .หลกั เศรษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[5] วันรักษ์ มิง่ มณนี าคี .(2558) .หลักเศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค. กรงุ เทพฯ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
354
10
ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
การศกึ ษาส่วนผสมทางการตลาดทม่ี ผี ลต่อการตดั สนิ ใจซื้อเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลเิ คชั่นร้าน
กาแฟมวลชนสถานีขนสง่ สายใตใ้ หม่ แบบบริการส่งถงึ บ้าน (Delivery )
ของลูกค้าในแขวงบางระมาด เขตตลงิ่ ชนั ชันกรุงเทพมหานคร
A Study of The Marketing Ingredients that Influence Beverage Purchasing
Decisions through Mass Coffee Shop Applications Southern Bus Terminal
Home Delivery Service for Customers in Bang Ramat, Khet Taling Chan, Bangkok
นายธีรวัฒน์ ลกั ษณยิ านนท1์ ,นางสมหมาย เสถยี รธรรมวทิ ย์2, นางธดิ ารัตน์ ประสานวรรณ3
Mr. Teerawat Laksaniyanon1,sommai Satheantheammawit2 Mrs. Thidarat Prasanwan3
1สาขาวชิ าการตลาด วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี สถาบนั การอาชีวศึกษากรงุ เทพมหานคร รหสั ไปรษณีย์ 10600
E-mail: [email protected], เบอรโ์ ทร091-761-7891
2นางสมหมาย เสถยี รธรรมวิทย์ วทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี สถาบนั การอาชวี ศึกษากรงุ เทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 092-919-9149
บทคดั ยอ่
การศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเครื่องด่ืมผ่านแอพพลิเคช่ันร้านกาแฟมวลชน
สถานีขนส่งสายใต้ใหม่ แบบบริการส่งถึงบ้าน (Delivery) ของลูกค้าในแขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน
กรุงเทพมหานครมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1( ศึกษาส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเคร่ืองดื่มผ่าน
แอพพลิเคช่ันร้านกาแฟมวลชน สถานีขนส่งสายใต้ใหม่ แบบบริการส่งถึงบ้าน (Delivery) ของลูกค้าในแขวงบาง
ระมาด เขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร 2( เปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเครื่องดม่ื
ผ่านแอพพลิเคช่ันร้านกาแฟมวลชน สถานีขนส่งสายใต้ใหม่ แบบบริการส่งถึงบ้าน (Deliveryของลูกค้าใน )
แขวงบางระมาดเขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ลูกค้า
ของร้านกาแฟมวลชน สถานีขนส่งสายใต้ใหม่ กรุงทพมหานคร จานวน 395 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา
ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ )Frequency( ค่าร้อยละ )Percentage(
คา่ เฉล่ยี )Mean( คา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน )Standard Deviation( ( ทดสอบค่าสถติ ิ t – test ค่าสถติ ทิ ดสอบ
F-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว )One – Way – ANOVA( กรณีพบความแปรปรวนมีความแตกต่าง
อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ ทาการทดสอบรายค่โู ดยวธิ ีการของเชฟเฟ่ )Scheffe( ผลการศกึ ษาพบว่า
355
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี
สว่ นผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเครื่องด่ืมผ่านแอพพลิเคชน่ั ร้านกาแฟมวลชนโดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านการส่งเสริมการตลาด อยู่ใน
ระดับมากที่สุด ด้านการกาหนดราคา ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพ ด้านผลิตภณั ฑ์ ด้านช่องทางการจดั จาหน่าย
ดา้ นกระบวนการให้บริการ อยู่ในระดับมาก ตามลาดบั
ส่วนการทดสอบสมมติฐาน พบว่า จาแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จาแนกตาม
อายุ และอาชีพ พบว่า โดยรวมและ รายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05 จาแนกตาม
ระดบั การศึกษา พบวา่ ด้านบุคลากรผใู้ หบ้ ริการไม่แตกต่างกัน สว่ นโดยรวมและรายดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นผลติ ภณั ฑ์
ด้านการกาหนดราคา ดา้ นช่องทางการจัดจาหน่าย ดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ ดา้ น
โครงสรา้ งทางกายภาพ แตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิ ทีร่ ะดบั 0.05จาแนกตามสถานภาพ พบวา่
ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านบุคลากร ผู้ให้บริการ ไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวมและ
รายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านด้านส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านโครงสร้างทาง
กายภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05จาแนกตามรายได้เฉลี่ยต่อเดือนพบว่า ด้านการ
กาหนดราคา ด้านด้านส่งเสริมการตลาดไม่แตกต่างกัน ส่วนโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน
ช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านโครงสร้างทางกายภ าพ
แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติ ทร่ี ะดบั 0.05
คาสาคัญ : ส่วนผสมการตลาด ,ปจั จยั ทางการตลาด, แบบบริการสง่ ถึงบา้ น
1นายธีรวฒั น์ ลกั ษณยิ านนท์วิทยาลยั พณชิ ยการธนบุรี สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรุงเทพมหานคร 356
E-mail: [email protected], เบอร์โทร091-761-7891
2นางสมหมาย เสถยี รธรรมวิทย์ วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรี สถาบันการอาชวี ศึกษากรุงเทพมหานคร
E-mail: [email protected], เบอร์โทร 092-919-9149
2
ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
3
Abstract
A study of ) 1 To study the marketing ingredients that influence beverage purchasing
decisions through mass coffee shop applications. Southern Bus Terminal Home delivery
service for customers in Bang Ramat Subdistrict, Taling Chan District, Bangkok )2 .To compare
the marketing ingredients that influence beverage purchasing decisions through mass coffee
shop applications. Southern Bus Terminal Home delivery service for customers in Bang Ramat
Taling Chan District, Bangkok. Classified by personal fundamentals Classified by personal
fundamentals Classified by personal fundamentals The sample consisted of 395 people. The
statistics used in data analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation.
Comparison Marketing ingredients that influence beverage purchasing decisions through mass
coffee shop applications. Southern Bus Terminal Home delivery service for customers in Bang
Ramat Subdistrict, Taling Chan District, Bangkok. Classified by personal fundamentals Statistical
analysis, t-test and statistical F-test were analyzed for one-way variance (One Way ANOVA).
Subsequently, the multiple comparison was tested by the Scheffe method. The statistical
significance was assigned at the level 0.05. Found that
1. The sample group 395 people, most of them were female, 209 people, 52.90
percent, under 25 years old, 205 people, or 51.90 percent, with a bachelor's degree, 213
people, or 53.90 percent. Percentage of occupation 199 students / students, equivalent to
50.40 percent, income 10,001 - 20,000 baht, total 235 people, or 59.50 percent
. 2 Marketing ingredients that influence beverage purchasing decisions through mass
coffee shop applications. Southern Bus Terminal Home delivery service for customers in Bang
Ramat Subdistrict, Taling Chan District, Bangkok. Overall is at a high level.
3. The comparing marketing ingredients that influence beverage purchasing decisions
through mass coffee shop applications. Classified by personal fundamentals by gender, it was
found that overall and by individual aspects were product. Pricing aspect Distribution channels
Marketing promotion Service process Service personnel Physical structure No different As for
the personal fundamentals classified by age, it was found that the physical structure. No
different. Therefore reject the hypothesis Overall and each aspect, including product Pricing
aspect Distribution channels Marketing promotion Service process Service personnel The
difference was statistically significant at the 0.05 level.
357 Keywords :, Marketing Factors, Marketing Mix, Marketing Ingredients
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
1. บทนา
ร้านกาแฟมวลชน สาขาสถานีขนส่งสายใต้ใหม่ เปิดให้บริการลูกค้ากลุ่มเป้าหมายโดยรอบพ้ืนท่ีสถานี
ขนส่งสายใต้ใหม่ และพื้นที่โดยรอบ ที่มีกาลังการซื้อสูง เม่ือวันท่ี 2562 มีนาคม 8ด้วยรูปแบบการเปิด
ให้บริการหน้าร้าน ในระยะเร่ิมต้นของการเปิดให้บริการพนักงานมีน้อย เคร่ืองชงกาแฟมีน้อย การจัดการไม่ดี
สับสนวุ่นวาย ลูกค้ายืนออกัน ลูกค้าแสดงความเห็นว่าถ้าไม่ปรับปรุงก็จะไม่มาใช้บริการอีก พนักงานก็ไม่ย้ิม
เครยี ด เรง่ รบี ทาเคร่อื งด่ืม รสชาตขิ องเครอ่ื งดม่ื ไม่อรอ่ ย ลกู คา้ ส่วนใหญ่ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะการใหบ้ ริการว่าการ
บริการลูกค้าท่ีมีคุณภาพในปัจจุบันควรเชื่อมโยงทุกกิจกรรมทางการตลาดและการส่งเสริมการตลาดต่างๆ เข้า
กับช่องทางการส่ือสารในโซเชียลมีเดีย โมบายล์ และแอพพลิเคชัน ซ่ึงถือเป็นช่องทางในการติดต่อท่ีมีความ
สะดวกสบาย สามารถควบคุมคุณภาพและเข้าถึงลูกค้าได้ทุกเวลาและสถานที่ และยังเป็นช่องทางใหม่ท่ี
เอื้ออานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้ารวมท้ังให้เพ่ิมการให้บริการแบบส่งถึงบ้านของลูกค้าในแขวงบางระมาด
เขตตลงิ่ ชันชัน กรงุ เทพมหานคร เพิ่มอกี ชอ่ งทางหน่ึง
จากการให้บริการดังกล่าวทาให้ผู้จัดทาโครงการมีความสนใจที่จะทาการศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่
มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลิเคชน่ั รา้ นกาแฟมวลชน สถานขี นส่งสายใต้ใหม่ แบบบรกิ ารส่งถึง
บ้าน (Delivery ของลูกค้าในแขวงบางระมาด )เขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ใน
การวางแผนการตลาด การให้บรกิ ารลูกค้าท่เี หนือความคาดหมาย สร้างความพงึ พอใจและเกิดความจงรักภักดี
ต่อร้านกาแฟมวลชน สถานีขนสง่ สายใตใ้ หม่ กรุงเทพมหานครตอ่ ไป
2. วัตถปุ ระสงค์การวิจัย
2.1 เพ่ือศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตดั สินใจซื้อเคร่ืองดื่มผา่ นแอพพลิเคชั่นร้านกาแฟมวลชน
สถานีขนสง่ สายใตใ้ หม่ แบบบริการสง่ ถึงบา้ น (Delivery) ของลูกค้าในแขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร
2. 2เพื่อเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลิเคช่ันร้าน
กาแฟมวลชน สถานีขนสง่ สายใต้ใหม่ แบบบรกิ ารส่งถึงบา้ น (Delivery ของลูกคา้ ในแขวงบางระมาด )เขตตล่ิง
ชัน กรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจยั พนื้ ฐานสว่ นบุคคล
3. สมมตฐิ านการวิจัย
3.1ส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลิเคชั่นร้านกาแฟมวลชน สถานีขนส่งสาย
ใต้ใหม่ แบบบรกิ ารส่งถึงบา้ น (Delivery) ของลกู คา้ ในแขวงบางระมาด เขตตล่งิ ชัน กรงุ เทพมหานคร อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด
2 .3ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มผ่านแอพพลิเคชั่นร้านกาแฟมวลชน สถานีขนส่งสาย
ใต้ใหม่ แบบบรกิ ารส่งถึงบา้ น (Delivery) ของลกู ค้าในแขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ได้เเก่ ด้านการกาหนดราคา
3.3ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมผี ลต่อการตดั สินใจซ้ือเครื่องด่ืมผ่านแอพพลิเคชั่นร้านกาแฟมวลชน สถานี
ขนส่งสายใต้ใหม่ แบบบริการส่งถึงบ้าน (Delivery) ของลูกค้าในแขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร
จาเเนกตามปัจจัยพนื้ ฐานส่วนบคุ คล เเตกตา่ งกัน
4 358
ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้งั ที่ 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
5
4. วิธกี ารดาเนินการวิจัย
4.1 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาได้แก่ ลูกค้าของร้านกาแฟมวลชน สถานีขนส่งสายใต้ใหม่
กรุงเทพมหานคร ขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ )Taro Yamane( ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 395
คน การสุ่มตัวอย่างใช้หลักความน่าจะเป็น โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย)Simple Random Sampling( จาก
ตารางวนั เวลา และจานวน ทก่ี าหนดไวโ้ ดยให้ทุกหน่วยมีโอกาสถูกเลือกข้นึ มาตอบแบบสอบถามเทา่ เทียมกัน
ให้ได้กลุ่มตวั อยา่ งครบตามจานวนท่กี าหนดไว้
4.2 ตัวแปรทใ่ี ช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ ตัวแปรอิสระ ประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชพี รายได้เฉล่ีย
ต่อเดือน ตัวแปรตาม ได้แก่ ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลิเคชั่นร้านกาแฟมวลชน
ประกอบด้วย ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้าน
กระบวนการให้บริการ ดา้ นบุคลากรผูใ้ หบ้ รกิ าร ด้านโครงสร้างทางกายภาพ
4.3 ระยะเวลาทใี่ ช้ในการวิจัยเริ่มต้ังแตวันท่ี ถึงวันที 2563 กรกฏาคม 11่ กมุ ภาพันธ์ 262564
4.4 ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีลักษณะดังนี้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถาม
เกีย่ วกบั ปจั จยั พนื้ ฐานส่วนบุคคล สว่ นท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจ
ซื้อเคร่อื งด่ืมผ่านแอพพลิเคชัน่ ร้านกาแฟมวลชนเปน็ แบบสอบถามแบบใชม้ าตรวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า
)Rating Scale( 5 ระดบั การแปลความหมายตามเกณฑ์ของธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ [1] ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
4.5 การวิเคราะห์ข้อมลู ผวู้ ิจัยใชส้ ถติ ิในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
4.5.1 แบบสอบถาม ปจั จยั พื้นฐานสว่ นบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา สถานภาพ
อาชีพ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน ใช้การวิเคราะห์ดว้ ยค่าความถี่ (Frequency( และค่ารอ้ ยละ )Percentage)
4.5.2 แบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือประกันภัยรถยนต์ท่ี
นง่ั ส่วนบุคคล ใชก้ ารวเิ คราะหด์ ว้ ยค่าเฉลีย่ (Mean( และคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน )Standard Deviation)
4.5.3 การเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลิเคช่ัน
ร้านกาแฟมวลชน จาแนกตามปัจจัยพ้ืนฐานส่วนบุคคล ใช้การวิเคราะห์โดยสถิติทดสอบ t-test และใช้สถิติ
ทดสอบ F-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีพบว่าความแปรปรวนมีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทาการทดสอบค่าเฉล่ียรายคู่ (Multiple Comparison) โดยใช้วิธีการของ
เชฟเฟ่ (Scheffe' )กาหนดระดับนัยสาคญั ทางสถติ ไิ วท้ ่ีระดบั 0.05
5. ผลการวจิ ัย
การศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเครื่องด่ืมผ่านแอพพลิเคช่ันร้านกาแฟมวลชน สถานี
ขนสง่ สายใต้ใหม่ แบบบริการสง่ ถึงบา้ น )Delivery) ของลกู ค้าในแขวงบางระมาด เขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร พบวา่
5.1 ลกู คา้ ในแขวงบางระมาด เขตตลง่ิ ชัน กรงุ เทพมหานคร จานวน 395 คน สว่ นใหญ่เปน็ เพศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ
52.90อายุต่ากว่า 51.90 ปี คิดเป็น ร้อยละ 25ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 53.90 สถานภาพ
โสด จานวน 351 คน คิดเป็นร้อยละ 88.90 อาชีพ นักเรียนนักศึกษา/ คิดเป็น ร้อยละ 50.40 มีรายได้ 10,20 - 001, 000
359 บาทคดิ เป็นร้อยละ 59.50
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
5.2 ส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเคร่ืองดื่มผ่านแอพพลิเคช่ันร้านกาแฟมวลชน
ปรากฏผลดังตารางที่ 1
ส่วนผสมทางการตลาดท่ีมผี ลต่อการตัดสินใจซือ้ เครื่องดมื่ ( ̅) (S.D.) แปลผล ลาดับท่ี
1. ด้านผลิตภณั ฑ์ 4.30 0.41 มาก 5
2. ด้านการกาหนดราคา 4.48 0.32 มาก 3
3. ด้านชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย 4.27 0.29 มาก 6
4. ด้านการสง่ เสรมิ การตลาด 4.50 0.31 มากทส่ี ุด 2
5. ดา้ นบุคลากรผู้ใหบ้ รกิ าร 4.25 0.33 มาก 7
6. ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ 4.58 0.27 มากทส่ี ดุ 1
7. ดา้ นโครงสร้างทางกายภาพ 4.44 0.30 มาก 4
รวม 4.40 0.18 มาก
จากตารางที่ 1 พบว่า ส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเคร่ืองด่ืมผ่านแอพพลิเคช่ันร้านกาแฟ
มวลชนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( ̅ )= 4.40 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ อยู่ใน
ระดบั มากที่สุด คา่ เฉลย่ี ( ̅ )= 4.58 ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ คา่ เฉลยี่ ( ̅ )= 4.50 ด้านการกาหนด
ราคา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( ̅ )= 4.48 ด้านโครงสร้างทางกายภาพ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( ̅ )= 4.44 ด้าน
ผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( ̅ )= 4.30 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( ̅ )= 4.27 และ
ดา้ นทม่ี ีค่าเฉล่ยี ต่าท่ีสดุ ดา้ นกระบวนการให้บริการ อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลยี่ ( ̅ )= 4.25 ตามลาดับ
5.3 ผลเปรียบเทียบส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องด่ืมผ่านแอพพลิเคชั่นร้าน
กาแฟมวลชน จาแนกตามปจั จัยพืน้ ฐานส่วนบุคคล ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 2
สว่ นผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซอ้ื เครอื่ งดืม่ ผ่านแอพพลเิ คชัน่
ปัจจยั พืน้ ฐานสว่ นบคุ คล ด้านผลิต ัภณฑ์
ด้านการกาหนดราคา
้ดานช่องทางการจัด
จาหน่าย
ด้านการส่งเสริม
การตลาด
ด้านบุคลากร ูผ้
ใ ้หบ ิรการ
ด้านกระบวนการ
ใ ้หบริการ
้ดานโครงส ้รางทาง
กายภาพของ ้ราน
โดยรวม
1. เพศ 0.37 0.55 0.27 0.32 0.23 0.97 0.84 0.21
2. อายุ 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
3. ระดับการศึกษา 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.02* 0.00* 0.00* 0.00*
4. สถานภาพ 0.00* 0.38 0.06 0.00* 0.00* 0.14 0.00* 0.01*
5. อาชีพ 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
6. รายได้เฉลย่ี ต่อเดือน 0.00* 0.97 0.00* 0.92 0.00* 0.00* 0.00* 0.02*
* มนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05
6 360
ประชุมวชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563
7
จากตารางท่ี 2 สว่ นผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซอ้ื ประกนั ภยั รถยนต์ที่นง่ั สว่ นบุคคล
จาแนกตามปัจจยั พนื้ ฐานสว่ นบุคคล พบวา่
จาแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกนั
จาแนกตามอายุ และอาชีพ โดยรวมและ รายด้าน แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ ทร่ี ะดบั 0.05
จาแนกตามระดับการศึกษา ด้านบคุ ลากรผูใ้ ห้บรกิ ารไม่แตกต่างกัน
ส่วนโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการกาหนดราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย
ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านโครงสร้างทางกายภาพ แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคญั ทางสถติ ิ ท่ีระดับ 0.05
จาแนกตามสถานภาพ ดา้ นการกาหนดราคา ดา้ นชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย ดา้ นบุคลากร ผใู้ หบ้ ริการ ไมแ่ ตกต่างกัน
ส่วนโดยรวมและรายดา้ น ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านด้านส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการใหบ้ ริการ
ดา้ นโครงสรา้ งทางกายภาพ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ ท่รี ะดบั 0.05
จาแนกตามรายได้เฉลี่ยตอ่ เดือน ดา้ นการกาหนดราคา ด้านด้านสง่ เสรมิ การตลาดไมแ่ ตกตา่ งกนั
ส่วนโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านกระบวนการให้บริการ ด้าน
บคุ ลากรผูใ้ หบ้ ริการ ดา้ นโครงสรา้ งทางกายภาพ แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติ ทร่ี ะดับ 0.05
6. สรปุ ผล
การศึกษาส่วนผสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือเครื่องด่ืมผ่านแอพพลิเคชั่นร้านกาแ ฟ
มวลชน สถานีขนส่งสายใต้ใหม่ แบบบริการส่งถึงบ้าน (Delivery) ของลูกค้าในแขวงบางระมาด เขตตล่ิงชัน
กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมอื่ พิจารณาเป็นรายดา้ นพบว่า ด้านบุคลากรผใู้ หบ้ รกิ าร ด้าน
การส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านการกาหนดราคา ด้านโครงสร้างทางกายภาพ ด้าน
ผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านกระบวนการให้บริการ อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัย
ของ เกรียงศักด์ิ นาคสอ้ิงศาสน์ [2] ได้ทาการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและพฤติกรรม การสั่ง
อาหารแบบส่งถึงที่ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครท่ี เข้ามาใช้
บริการ จานวน 400 คน ปัจจัยที่นามาศึกษาคือ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ส่วนประสม ทางการตลาด
และพฤติกรรมการใช้บริการอาหารแบบส่งถึงที่ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดท่ีส่งผล
ต่อพฤติกรรมการส่ังอาหารของผู้บริโภคมากที่สุดคือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และ ปัจจัยด้านการส่งเสริม
การตลาด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านราคาและปัจจัยด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ส่วนปัจจัยด้าน
ประชากรศาสตร์ไม่มีผลกบั พฤติกรรมในการสัง่ อาหารพร้อมรับประทานทางโทรศัพท์
6.1 ด้านผลิตภัณฑ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นาเสนอรายการอาหารแนะนาใหม่ๆ
ทกุ วัน อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด สภาพอาหารท่ีจัดสง่ อยู่ในสภาพดี อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด ใชบ้ รรจุภัณฑ์ย่อยสลายง่ายไม่สร้าง
ปัญหาต่อส่ิงแวดล้อม อยู่ในระดับมาก มีรายการอาหารให้เลือกหลากหลาย อยู่ในระดับมาก และภาพลักษณ์ของอาหารมี
ความโดดเด่น แตกต่างจากร้านอ่ืนสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของ เชาว์ โรจนแสง [3] ได้ให้ความหมายของผลิตภัณฑ์ไว้
ว่า ผลิตภัณฑ์ หมายถงึ สนิ ค้าหรอื บรกิ าร ที่สามารถตอบสนองความต้องการและความปรารถนาของผบู้ ริโภคได้
361
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
6.2 ด้านการกาหนดราคา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อัตราค่าบริการใน
การจัดส่งอาหารมีราคาถูกกว่าค่าบริการแบรนด์อ่ืน ราคาเหมาะสมเมื่อเทียบกับรสชาติ อยู่ในระดับมาก
ที่สุด ราคาเหมาะสมกับปริมาณ อัตราค่าบริการในการจัดส่งอาหารมีความเหมาะสมกับระยะทางการ
ใหบ้ ริการ และราคาเหมาะสมกับคุณภาพ อยใู่ นระดบั มากสอดคล้องกับแนวคดิ ทฤษฎี ของ ศิริวรรณ เสรรี ตั น์
และคณะ [4] ได้ให้ความหมายของ การกาหนดราคา หมายถึง การสร้างสรรค์นโยบายกลยุทธ์ด้านราคาถือ
เป็นปัจจัยสาคัญที่นักการตลาดต้องให้ความสาคัญ เนื่องจากราคาหมายถึง สิ่งที่บุคคลสละเพื่อแลกเปลี่ยน
กับผลิตภัณฑ์มาสนองความตอ้ งการด้านความพอใจซึ่งจะเก่ียวข้องกับคาวา่ มูลค่าและอรรถประโยชนร์ าคามี
ความสาคญั ต่อกจิ การ เพราะเป็นตวั กาหนดความต้องการของตลาดเปา้ หมายและมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจ
ของประเทศ
6.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า การยืนยัน
อาหารมคี วามรวดเร็ว แอพพลิเคชน่ั และเว็บไซตส์ าหรับการส่งั ซ้ืออาหารมรี ปู แบบการใช้งานง่าย อยใู่ นระดับ
มากที่สุด เข้าถึงช่องทางการจัดจาหน่ายได้ง่าย แอพพลิเคชั่นและเว็บไซต์สาหรับการส่ังซื้ออาหารมีการ
อัพเดทอย่างสม่าเสมอ และมีความหลากหลายช่องทางการชาระเงิน อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับแนวคิด
ทฤษฎี ของ ปณิศา มีจินดา [5] ได้ให้ความหมายของ ช่องทางการจัดจาหน่าย หมายถึง การส่งมอบสินค้า
บริการจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค โดยส่งมอบผ่านคนกลางหรือผู้ผลิตเอง หัวใจสาคัญของการจัดจาหน่ายคือ
การนาผลิตภณั ฑท์ เ่ี หมาะสมออกจาหน่ายในสถานท่ีที่เหมาะสม ดว้ ยราคาปริมาณ และเวลาทเี่ หมาะสม
6.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด เม่อื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่
มีการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์พิเศษในช่วงเทศกาล การจัดกิจกรรมการขายด้วยการลดราคา อยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่าน Social Network อย่างสม่าเสมอ การจัดกิจกรรมการขายซ้ือ 1
1 แถมและมีโปรโมช่ันส่วนลดค่าจัดส่ง อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของ บุญสม รัศมีโชติ
และคณะ[6] ได้ให้ความหมายของ การส่งเสริมการตลาด เป็นกิจกรรมการโฆษณา การประชาสัมพันธ์และ
กจิ กรรมพิเศษทางการตลาด การใชพ้ นักงานขาย การตลาดทางตรง
6.5 ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ โดยรวมอยใู่ นระดับมาก เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ การให้บริการ
รวดเรว็ ไมต่ ้องราคอยนาน อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด มาตรฐานการให้บริการอยา่ งเปน็ ระบบ มีความพรอ้ มในการ
ให้บริการและแก้ไขปัญหาได้ทันทีเมื่อเกิดความผิดพลาด การให้บริการถูกต้องตามจานวนที่ลูกค้าต้องการ
ซอ้ื และขนั้ ตอนการส่ังอาหารง่าย สะดวก ไมซ่ บั ซอ้ น อย่ใู นระดับมาก สอดคลอ้ งกับแนวคิดทฤษฎี ของ ธธีร์
ธร ธีรขัญโรจน์ [7] ได้ให้ความหมายของ กระบวนการให้บริการ เป็นส่วนประสมทางการตลาดที่มี
ความสาคัญมาก ต้องอาศัยพนักงานท่ีมีประสิทธิภาพหรือเครื่องมือทันสมัยในการทาให้เกิดกระบวนการที่
สามารถส่งมอบบริการท่ีมีคุณภาพได้ เนื่องจากการให้บริการโดยท่ัวไปมักจะประกอบด้วยหลายขั้นตอน
ได้แก่ การตอ้ นรบั การสอบถามขอ้ มลู เบ้อื งตน้ การใหบ้ ริการตามความต้องการ การชาระเงนิ
8 362
ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
9
6.6 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า พนักงาน
สามารถให้คาแนะนาและช่วยตัดสินใจให้ลูกค้าได้เป็นอย่างดี พนักงานมีความกระตือรือร้นในการให้บริการ
อยู่ในระดับมากท่ีสดุ พนักงานส่ือสารดว้ ยคาพูดทีส่ ุภาพ น่าฟัง พนักงานใสใ่ จและรักในการบริการ (Service
Mind) และพนักงานให้บริการอย่างผู้ท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี อยู่ในระดับมากสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของ
ไพลนิ โพธมิ์ ว่ ง [8] ไดใ้ หค้ วามหมายของ บคุ ลากรผู้ให้บริการ หมายถงึ พนกั งานนอกจากจะดูน่าเชื่อถือแล้ว
จะต้องสามารถดึงดูดและทาให้ลูกค้าเล็งเหน็ ถึงประโยชน์และข้อดขี องผลิตภัณฑ์ ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ ผู้บริโภคใน
อาเภอเมอื งลาปางในการซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตผา่ นธนาคารกรุงเทพ จากดั พบวา่ ปจั จัยย่อยที่มี )มหาชน(
อิทธิพลในระดับมากที่สุด คือ พนักงานให้คาแนะนาในการเลือกแบบประกันชีวิตที่เหมาะสมและพนักงานมี
กรยิ ามารยาทดี แตง่ กายสะอาดเรียบรอ้ ย
6.7 ด้านโครงสร้างทางกายภาพ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ การตกแต่ง
ร้านมีเอกลักษณ์ โดดเด่น มีป้ายบอกราคาอาหารแต่ละรายการอย่างชัดเจน อยู่ในระดับมากที่สุด รูปแบบ
การจัดพื้นที่ประกอบอาหารเหมาะสม สะอาด อุปกรณ์เคร่ืองมือใช้ในการประกอบอาหารสะอาดถูก
สุขลักษณะ และมีภาพถ่ายประกอบร ายการอาหารสวยงาม ดึงดูดใจ น่ารับประมาน อยู่ในระดับมาก
สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของ เกตน์นิภา พรหมสิทธ์ิ[9] ได้ให้ความหมายของโครงสร้างทางกายภาพ
หมายถึง ปัจจัยที่เกี่ยวกับภาพลกั ษณ์สิ่งที่จับต้องได้และสภาพแวดล้อม ณ พ้ืนที่ท่ีให้บริการซึ่งจะสร้างความ
ประทับให้กับลูกค้าโดยสามารถสร้างได้จากตกแต่งสถานท่ีให้ดูเป็นทันสมัยน่าเชื่อถือการจัดวางส่ิงของ
เครื่องใช้การประดับตกแต่งมีบริการเสริมต่าง ๆ ระหว่างรอคิวหรือมีป้ายกากับแสดงจุดบริการต่าง ๆ อย่าง
ชัดเจนเพื่อใหล้ กู ค้าเข้าใจง่ายและสามารถเดนิ ไปทาธุรกรรมต่าง ๆ ไดอ้ ย่างสะดวกสบาย
ข้อเสนอแนะ
7.1 ด้านผลิตภัณฑ์ จากการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญท่ีมีผลในการตัดสินใจซ้ือกาแฟสด
ด้านผลิตภัณฑ์ให้ความสาคัญมากในเรื่อง รสชาติกาแฟและเคร่ืองดื่มอื่น ๆ ผู้ประกอบการควรคานึงถึงรสชาติ
ของกาแฟและให้ความสาคัญในเรื่องคุณภาพของเมล็ดกาแฟทตี่ ้องมีความสดใหม่ นอกจากน้ีทางผู้ประกอบการ
ควรจะต้องปรบั ปรุงสูตรกาแฟเพื่อดงึ ดูดและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
7.2 ด้านการกาหนดราคา จากการศกึ ษาพบวา่ ผบู้ ริโภคให้ความสาคญั ทีม่ ผี ลในการตัดสนิ ใจซื้อกาแฟ
สดดา้ นราคาใหค้ วามสาคญั มากในเร่อื ง ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ ดงั น้รั ทางผู้ระกอบการควรใหค้ วามสาคัญ
ในการกาหนดราคาให้เหมาะสมกับคุณภาพและรสชาติต่อปริมาณกาแฟในหนึ่งแก้วด้วย นอกจากนี้ควรต้ัง
ราคาใหใ้ กล้เคียงกบั คแู่ ขง่ เพ่อื ให้บรโิ ภครู้สึกว่า กาแฟสดทีซ่ ้อื ไปคุม้ ค่ากบั เงินทจ่ี า่ ยไป
7.3 ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย จากการศึกษาพบว่า ควรเพ่ิมช่องทางการขายทางออนไลน์
นอกเหนือจากแอพพลเิ คชั่นของรา้ น เชน่ เว็บไซด์ Facebook Line หรอื ทางส่อื โซเชย่ี ล อน่ื ๆ อกี ดว้ ย
7.4 ดา้ นสง่ เสรมิ การขาย จากการศึกษาพบว่า ผู้บรโิ ภคใหค้ วามสาคัญท่มี ผี ลในการตดั สินใจซื้อกาแฟ
สด ด้านส่งเสริมการขายให้ความสาคัญมากในเร่ืองการลดราคา ดังนั้นทางผู้ประกอบการควรให้ความสาคัญ
ในเรื่องของการให้ส่วนลด การใช้คูปองสะสมเพื่อแลกสินค้าหรือส่วนลด เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้เกิดการ
363 บริโภคเพ่ิมมากข้นึ และสร้างความภักดีของลกู คา้ อีกดว้ ย
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
7.5 กระบวนการการให้บริการ จากการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญท่ีมีผลในการตัดสินใจ
ซ้ือกาแฟสด ด้านกระบวนการการให้บริการให้ความสาคัญมากในเรื่องความถูกต้องในการชาระเงิน ดังน้ัน
ทางผปู้ ระกอบการควรมีการจัดอบรมใหค้ วามรู้พนักงานใหมแ่ ละกากับดแู ลพนักงานในการรับชาระเงนิ
7.6 ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ จากการศึกษาพบว่า พนักงานมีความรู้และความสามารถท่ีดีพนักงาน
มคี วามกระตือรือร้นในการใหบ้ ริการพนักงานแต่งกายสะอาด สุภาพเรียบรอ้ ย ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ว่า ผู้บริโภคมี
ความพงึ พอใจพนักงานให้บรกิ าร ควรรักษาระดับมาตรฐานนี้ไว้
7.7 ด้านโครงสร้างทางกายภาพ จากการศึกษาพบว่า บรรยากาศของร้านนา่ ใช้ บริการการ ตกแต่ง
ภายในและภายนอกรา้ นสวยงาม ภายในรา้ นมีแสงสว่างเพยี งพอ อากาศ ถา่ ยเทได้สะดวก และ ควรมีห้องน้า
ไว้บรกิ ารลูกค้าอย่างเพยี งพอและสะอาด
เอกสารอา้ งอิง
[1] ธานนิ ทร์ ศิลปจ์ าร.ุ การวิจยั และวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิต.ิ พิมพค์ รั้งท่ี 11. นนทบุรี : บริษทั เอส. อาร์.
พริ้นติ้ง แมสโปรดัสก์ จากดั )2553(
[2] เกรียงศักดิ์ นาคสอง้ิ ศาสน.์ )2550). ปัจจัยสว่ นประสมการตลาดและพฤติกรรมในการสงั่ ซ้อื อาหาร
พร้อมรับประทานทางโทรศัพท์ในเขตบางกะปิ. กรงุ เทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
กรงุ เทพมหานคร.
[3] เชาว์ โรจนแสง( .2554 .)การจัดการผลติ ภัณฑร์ าคา. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 7โรงพมิ พ์ : นนทบรุ ี .
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
[4] ศิริวรรณ เสรีรตั น.์ )2552). การบริหารการตลาด. กรุงเทพมหานคร: พฒั นาศึกษา.
[5] ปณิศา มีจนิ ดา( .2553). พฤติกรรมผบู้ ริโภค. กรงุ เทพมหานคร : ธรรมสาร.
[6] บญุ สม รัศมโี ชติ( .2552). ความพึงพอใจของลกู ค้าทมี่ ตี อ่ การบรกิ ารของบริษัทฟารอ์ ีสท์ปั่นทอ
อุตสาหกรรม จากัด. วิทยานิพนธบ์ รหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการตลาด, บัณฑติ วทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม.
[7] ธธีร์ธร ธีรขวัญโรจน์)2556( .. การตลาดบริการ Service Marketing. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สเอเชีย.
เพรส (1989).
[8] ไพลิน โพธ์ิม่วง( .2555). ปัจจัยที่มีผลต่อผูบ้ รโิ ภคในอาเภอเมอื งลาปางในการซ้อื กรมธรรม์ประกันชวี ิต
ผ่านธนาคารกรุงเทพ จากดั การค้นควา้ แบบอสิ ระบรหิ ารธุรกจิ .)มหาชน(. มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
[9] เกตน์นิภา พรหมสิทธ์ิ( .2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซ้ือประกันชีวิตของ บ .อยุธยา
อลิอนั ซ์ ซพี ี สาขาพชิ ัยสงคราม อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
10 364
ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563
ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดที่มผี ลตอ่ การตัดสนิ ใจซ้อื น้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสขุ สวัสดิ์
Study of marketing strategies for purchasing decision, Niagara Free Ice,
Suksawat
นางสาวโชตกิ า เทยี มสขุ สม
Chotika Tiamsuksom
นักศกึ ษา สาขาการตลาด (ตอ่ เนอ่ื ง) สถาบนั การอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร E–mail [email protected]
บทคดั ย่อ
ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสุขสวัสดิ์ ผู้ศึกษา
มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี 1. เพ่อื ศึกษาทัศนคติของผปู้ ระกอบการที่มตี ่อน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแอง
การ่า สาขาสุขสวัสด์ิ 2. เพื่อศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวัสด์ิ 3. เพื่อน้าผลการศึกษาไปพัฒนาการผลิตสินค้า การขนส่ง และการให้บริการให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึน
จ้าแนกตามข้อมูลท่ัวไปของผู้ประกอบการ ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ประกอบการท่ีจ้าหน่ายน้าแข็งหลอด
ปลอดสารตราไนแองการา่ สาขาสุขสวัสดิ์ แบบเจาะจงผู้ประกอบการประจ้า จา้ นวน 100 คน ใชแ้ บบสอบถามเป็น
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ
(Percentage) คา่ เฉลีย่ (Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการจดั ทา้ โครงการพบว่า
1. ผลการศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดท่ีมีต่อการตัดสินใจซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสุข
สวัสดิ์ จ้าแนกตามข้อมูลท่ัวไปของผู้ประกอบการ พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ31-40 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
30,001 – 40,000 บาท และมีประสบการณ์ในการเปน็ ผูป้ ระกอบการ 20 ปขี ้ึนไป
2. การศึกษาคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการท่ีมีต่อน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขา
สุขสวัสดิ์ พบวา่ มกี ารใช้บริการน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสุขสวัสดิ์เป็นระยะเวลา 5 ปี คดิ เป็นร้อย
ละ 37.00 เม่ือเกิดปัญหาโรคระบาดโควิด 19 มีผลต่อการซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสุขสวัสด์ิ
น้อยลง คิดเป็นร้อยละ 98.00 มักน้าน้าแข็งหลอดปลอดสาร น้าไปขายต่อร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 68.00 ส่วนผล
การศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสุขสวัสด์ิ โดยรวม
ท้ัง 7 ด้าน มีผลอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.55 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.57 และแยกเป็นรายด้าน พบว่า ด้าน
ผลิตภัณฑ์ มีค่าเฉล่ีย 4.62 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.60 ด้านราคา มีค่าเฉลี่ย 4.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55 ด้าน
สถานท่ี/ช่องทางจัดจ้าหน่าย มีค่าเฉล่ีย 4.67 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51 ด้านการส่งเสริมการตลาด มีค่าเฉล่ีย 4.56
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.62 ดา้ นกระบวนการการให้บริการ มีคา่ เฉลี่ย 4.31 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.96 ดา้ นบุคคล
มคี ่าเฉลี่ย 4.47 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.71 และดา้ นลักษณะทางกายภาพ มีคา่ เฉลี่ย 4.50 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.69
ค้าสา้ คัญ : การศึกษา, ทัศนคติ, ผู้ประกอบการ, กลยุทธ์การตลาด, การตัดสินใจ, การบรกิ าร
365
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี
Abstract
The results of the study of marketing strategies towards purchasing decisions of the Niagara Free Tube Ice
Suksawat Branch Classified by general information It was found that most of them were male, aged 31-40 years old,
with an average monthly income of 30,001 - 40,000 baht and experienced at work for 20 years or more.
The results of a study of Enterprenure attitudes towards free tube ice Niagara Suksawat Branch Most of
them found that 1. You use the service of ice tubes free of Niagara brand. How long was the Suksawat Branch? It was
found that in 5 years, 37 people, 37.00 percent, 10 years, 26 people. 2. The epidemic of COVID 19 made you buy
Niagara-free tube ice. Suksawat Branch Less or not found that fewer 98 people, equivalent to 98.00% 3. You choose
to buy ice tubes free of Niagara, Suksawat branch, why did you find that? Sold to stores 68 people, or 68.00 percent.
The results of the study of marketing strategies towards purchasing decision of the Niagara Free Tube Ice at
Suksawatin totalof 7 aspectswere the most effective,with a mean of 4.55, a standarddeviationof 0.57 and a separate.
Each side found that the product side had a mean of 4.62, standard deviation 0.60, price had a mean of 4.73, standard
deviation 0.55, location / channel of distribution had a mean of 4.67, standard deviation 0.51, marketing promotion
had Mean 4.56, 0.62 standard deviation, service process mean 4.31, standard deviation 0.96, personal mean 4.47, 0.71
standard deviation and physical appearance mean 4.50, 0.69 standard deviation
Keywords : Education, attitude, Enterprenure, marketing strategy, decision-making, service
1. บทนา้
ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีมีอากาศร้อน และมปี ระชากรที่เพิ่มมากขนึ้ เรอ่ื ย ๆต้นไม้ทเ่ี คยให้ความร่มเย็นก็ก้าลัง
จะหมดไป มีอาคารตึกแถวข้ึนมาทดแทนสิ่งก่อสร้างเหล่านเ้ี ป็นสิง่ ที่กั้นสายลมตามธรรมชาติท้าให้อากาศร้อนข้นึ มีผลท้า
ให้อุณหภมู ใิ นรา่ งกายมนษุ ยน์ ้นั เพ่มิ ข้นึ ตามไปด้วย และสูญเสียเหงอื่ มากในแตล่ ะวนั มนุษยจ์ งึ หันมาบริโภคน้าแข็งเพ่ือดับ
กระหาย และคลายร้อนซึ่งส่วนใหญ่นิยมบริโภคผสมกับน้าหรือเคร่ืองด่ืมอ่ืน ๆ และผสมในขนมหรืออาจจะรับประทาน
โดยตรงในการรับประทานอาหารไม่ว่าจะเป็นภัตตาคารร้านอาหาร หรือในครัวเรือนน้าแข็งเป็นสิ่งจ้าเป็นเสมอ น้าแข็ง
เข้ามามีบทบาทในประเทศไทยครงั้ แรก ตามเอกสารบนั ทกึ ราว พ.ศ.2400รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเรือกลไฟชื่อ“เจ้าพระยา” เดินเมล์รับส่งสินค้าระหว่างสิงคโปร์กับกรุงเทพฯ ใช้เวลา
15 วันในบรรดาสินค้าจากสิงคโปร์ยามน้ันมีของแปลกอย่างหนึ่ง คือ “น้าแข็ง”บรรจุหีบกลบด้วยขี้เล่ือยส่งเข้ามาถวาย
จากนั้นกแ็ พรห่ ลายในหมู่เจา้ นาย และขา้ ราชการชั้นผใู้ หญ่โดยผู้ทสี่ ่ังน้าแขง็ เข้าเมอื งไทยยคุ น้นั
ปัจจุบันการด้าเนินธุรกิจด้านอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่มต่าง ๆ โดยเฉพาะธุรกิจน้าแข็งเพ่ือจ้าหน่าย
และบริโภคน้ัน มีการแข่งขันกันค่อนข้างรุนแรงโดยแต่ละองค์กรต่างก็พยายามหาวิธีการบริหารจัดการเพื่อลดต้นทุน
สินค้าเพื่อการบริหารจัดการที่ดีตลอดจนสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ประกอบการหรือผู้ประกอบการมีทัศนคติที่ดีต่อธุรกิจ
น้าแข็งซ่ึงเก่ียวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การบริการท่ีดีประทับใจ สินค้าท่ีมีคุณภาพ และสะอาดตลอดจนปัจจัยใน
การจัดส่งสินค้าท่ีมีประสิทธิภาพครบตามจ้านวนทันเวลาตามความต้องการของผู้ประกอบการ สินค้าจากผู้ผลิตไปยัง
ผปู้ ระกอบการเปน็ สง่ิ ทเี่ จา้ ของธรุ กจิ ตอ้ งรับผดิ ชอบและให้ความส้าคัญอยา่ งยิง่ โดยเฉพาะกระแสบริโภคนิยมของ 366
ประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
ผู้ประกอบการที่เปล่ียนไปหรือมีทางเลือกอื่นอยู่เสมอท้าให้ธุรกิจน้าแข็งท่ีมี ต้องตรงกับความต้องการของ
ผู้ประกอบการและยังต้องมีนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อการปรับปรุงเพ่ิมมูลค่า น้าแข็ง เช่น รูปแบบอาหารรูปลักษณ์ของ
บรรจุภัณฑ์ และสินค้ายังต้องถึงมือผู้ประกอบการด้วยความรวดเร็วมีคุณภาพ และราคาถูกดังน้ันการบริหารจัดการ
จงึ มีความจา้ เปน็ ตอ้ งใช้ความละเอียดรอบคอบเปน็ อย่างมาก
จากข้อมูลข้างต้นการท่ีธุรกิจต้องมีการจัดการระบบการบริการ และการขนส่งท่ีดีเพ่ือธุรกิจสามารถมรี ะบบ
การจัดการการใหบ้ รกิ าร การขนส่ง และทรพั ยากรอยา่ งอ่ืนต่าง ๆสรปุ โดยง่ายกค็ ือทุกอยา่ งที่มกี ารบริการ จะตอ้ งลด
ระยะเวลาในการขนส่ง ลดปัญหาต่าง ๆ ทุกอย่างท่ีจะเกิดข้ึน โดยใช้ต้นทุนน้อยท่ีสุดเพราะท่ามกลางการแข่งขันทาง
การคา้ ที่ทวคี วามรนุ แรงมากขึ้นความสามารถในการจัดสง่ สนิ คา้ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกคา้ ดว้ ยระยะเวลา
ในการจัดส่งส้ันท่ีสุด ถือเป็นปัจจัยส้าคัญท่ีจะผลักดันให้ธุรกิจประสบความส้าเร็จได้จะเห็นได้ว่าการบริการที่ดี
สามารถสร้างมาตรฐานไดว้ ่าจะมีสินคา้ เพียงพอทจี่ ะจดั จ้าหนา่ ย ณ สถานท่ีและรวมไปถงึ การขนสง่ ที่รวดเร็ว ตรงตาม
เวลาทผ่ี ู้ประกอบการต้องการ และคุณภาพของสินค้าซึง่ ถือไดว้ ่าเป็นปัจจัยพนื้ ฐานท่สี า้ คญั ของธุรกิจ ผวู้ จิ ยั จงึ มคี วาม
สนใจท่ีจะศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวสั ดิ์
2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพ่ือศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการท่ีมีต่อน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสุข
สวสั ด์ิ
2.2 เพอื่ ศกึ ษากลยุทธท์ างการตลาดท่ีมีผลต่อการตดั สินใจซอ้ื นา้ แข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสขุ สวสั ดิ์
2.3 เพื่อนา้ ผลการศึกษาไปพัฒนาการผลติ สินค้า การขนสง่ และการใหบ้ ริการให้มปี ระสิทธภิ าพสูงข้นึ
3. สมมติฐานการวจิ ัย
3.1 น้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสุขสวัสด์ิ มีการขนส่งสินค้าที่รวดเร็ว และการ
บริการที่ท้าให้ผู้ประกอบการได้รับสนิ ค้าทันต่อความต้องการ
4. วิธีการวจิ ยั
4.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีได้แก่ ผู้ประกอบการที่ซ้ือน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสขุ สวัสด์ิ ณ วันที่ 12 มนี าคม 2564 ถึงวนั ท่ี 14 มีนาคม 2564
4.2 เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั
เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ี คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับ ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดที่มีต่อการ
ตดั สินใจซื้อนา้ แข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่ สาขาสขุ สวสั ด์ิ แบ่งออกเป็น 4 ตอน มรี ายละเอยี ดดังนี้
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการท่ีตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนและ
ประสบการณ์ในการท้างาน เป็นค้าถามใหผ้ ู้ตอบเลือกตอบเพียงข้อเดยี วประกอบด้วยค้าถาม 4 ขอ้
ตอนที่ 2 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ทศั นคตขิ องผปู้ ระกอบการที่มีต่อนา้ แขง็ หลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสุข
367 สวสั ดิ์ เปน็ ค้าถามใหผ้ ตู้ อบเลือกตอบเพียงข้อเดยี วประกอบดว้ ย คา้ ถาม 3 ข้อ
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
ตอนที่ 3 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั กลยทุ ธท์ างการตลาดทีม่ ีต่อการตดั สนิ ใจซอื้ น้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่
สาขาสุขสวัสด์ิ ซ่ึงเป็นมาตราวดั แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) โดยใชว้ ธิ วี ัดของลิเคริ ท์ (Likert) 5 ระดบั
ประกอบด้วย ค้าถาม 24 ข้อ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี
1. ดา้ นดา้ นผลติ ภัณฑ์ จา้ นวน 4 ขอ้
2. ดา้ นราคา จ้านวน 3 ข้อ
3. ด้านสถานท่ี/ช่องทางจัดจ้าหนา่ ย จ้านวน 3 ขอ้
4. ด้านการส่งเสริมการตลาด จ้านวน 3 ขอ้
5. ด้านกระบวนการการใหบ้ ริการ จา้ นวน 3 ข้อ
6. ด้านบคุ คล จา้ นวน 4 ขอ้
7. ด้านลกั ษณะทางกายภาพ จ้านวน 4 ขอ้
ในแตล่ ะขอ้ ค้าถามมีค้าตอบให้เลือกตอบ 5 ระดบั ซ่ึงมีเกณฑก์ ารให้คะแนน ดงั น้ี
5 หมายความวา่ อยู่ในระดับ มากทสี่ ดุ
4 หมายความว่า อยูใ่ นระดบั มาก
3 หมายความวา่ อยู่ในระดับ ปานกลาง
2 หมายความวา่ อยูใ่ นระดับ นอ้ ย
1 หมายความวา่ อยใู่ นระดบั น้อยท่ีสดุ
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ / เพมิ่ เติม
5. สรุปผลการวจิ ัย
ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดท่ีมีต่อการตัดสินใจซ้ือน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสุข
สวสั ดิ์ ด้านผลติ ภณั ฑ์
ข้อ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ คา่ เฉล่ีย สว่ น แปลผล ลา้ ดับ
เบยี่ งเบน
1. ผลิตภณั ฑม์ ีความสะอาด มสี ีใสไมข่ ุน่ 4.82 มาตรฐาน มากท่สี ุด 1
2. ผลติ ภณั ฑ์มีปริมาณที่เหมาะสม 4.51 มากทีสดุ 4
3. ตราสินค้ามีความน่าเชอ่ื ถอื 4.53 0.52 มากท่ีสุด 3
4. บรรจภุ ณั ฑม์ ีความสวยงาม 4.60 0.96 มากทส่ี ุด 2
4.62 0.82 มากท่สี ดุ
รวม 0.68
0.60
จากตารางพบว่า กลยุทธ์ทางการตลาดที่มีต่อการตัดสนิ ใจซ้ือน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวัสด์ิ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.62 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.60เม่ือแยกเป็น
ข้อ พบว่า ผลติ ภัณฑม์ คี วามสะอาด มสี ใี สไมข่ นุ่ มคี า่ เฉล่ยี 4.82 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.52 ผลติ ภัณฑม์ ี 368
ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
ปริมาณท่เี หมาะสม มีคา่ เฉล่ีย 4.51 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.96 ตราสินคา้ มีความนา่ เช่ือถือ มคี า่ เฉลย่ี 4.53
สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.82 และบรรจุภัณฑม์ ีความสวยงาม มีคา่ เฉล่ีย 4.60 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.68
ศึกษากลยทุ ธท์ างการตลาดที่มตี อ่ การตัดสินใจซอ้ื น้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสขุ สวสั ดิ์ ด้านราคา
ส่วน
ข้อ ด้านราคา คา่ เฉลย่ี เบ่ียงเบน แปลผล ล้าดับ
มาตรฐาน
5. ราคาเหมาะสมกบั ขนาด และปริมาณ 4.77 0.68 มากทสี่ ดุ 2
6. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ 4.80 0.62 มากทสี ุด 1
7. ราคาตา้่ กวา่ เมือ่ เปรียบเทยี บกับทอ่ี นื่ 4.63 0.81 มากทส่ี ดุ 3
รวม 4.73 0.55 มากที่สุ
จากตารางพบว่า กลยทุ ธ์ทางการตลาดท่ีมีต่อการตัดสนิ ใจซ้ือน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวัสด์ิ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สดุ มีค่าเฉล่ีย 4.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55 เม่ือแยกเป็น
รายข้อพบว่า ราคาเหมาะสมกับขนาด และปริมาณ มีค่าเฉลี่ย 4.77 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.68 ราคา
เหมาะสมกับคุณภาพ มีค่าเฉลี่ย 4.80 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.62 และราคาต้่ากว่าเม่ือเปรยี บเทียบกับทอ่ี ่นื
มคี า่ เฉลี่ย 4.63 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.81
ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซ้ือน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสุข
สวสั ดิ์ ด้านสถานท/ี่ ช่องทางจัดจ้าหน่าย
สว่ น
ขอ้ ด้านสถานท/ี่ ช่องทางจัดจา้ หน่าย ค่าเฉล่ยี เบยี่ งเบน แปลผล ลา้ ดบั
มาตรฐาน
8. มคี วามสะดวกในการเดนิ ทาง 4.68 0.71 มากที่สุด 2
9. มีจ้าหนา่ ยหลายสาขา 4.81 0.46 มากทีสุด 1
10. สถานที่จอดรถสะดวก และเพียงพอ 4.56 0.87 มากท่ีสุด 3
รวม 4.67 0.51 มากที่สดุ
จากตารางพบว่า กลยุทธ์ทางการตลาดทีม่ ีต่อการตัดสินใจซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวัสด์ิ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.67 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.51 เมื่อแยกเป็น
รายข้อพบว่า มีความสะดวกในการเดินทาง มีค่าเฉลี่ย 4.63 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.71 มีจ้าหน่ายหลาย
สาขา มีค่าเฉล่ีย 4.81 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.46 และสถานที่จอดรถสะดวก และเพียงพอ มีค่าเฉลี่ย 4.56
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.87
369
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
ศึกษากลยทุ ธ์ทางการตลาดท่มี ตี ่อการตดั สนิ ใจซ้ือน้าแขง็ หลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่ สาขา
สุขสวสั ด์ิ ดา้ นการส่งเสริมการตลาด
สว่ น
ขอ้ ดา้ นการส่งเสริมการตลาด ค่าเฉลี่ย เบ่ียงเบน แปลผล ล้าดบั
มาตรฐาน
11. มกี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การขาย เช่น การ 4.45 0.81 มากทสี่ ุด 3
ลด แลก แจก แถม อย่างเพยี งพอ
12. มีการเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารเป็นเอกสาร 4.58 0.70 มากทีสุด 2
แผน่ พบั
13. มกี ารส่งเสริมทางการตลาดท่ีน่าสนใจ เชน่ 4.64 0.79 มากท่ีสุด 1
การจัดชิงโชค แจกรางวัล เปน็ ตน้
รวม 4.56 0.62 มากทีส่ ดุ
จากตารางพบว่า กลยทุ ธ์ทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซ้ือนา้ แข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวัสดิ์ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สดุ มีค่าเฉลี่ย 4.56 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.62 เม่ือแยกเป็น
รายข้อพบว่า มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น การลด แลก แจก แถม อย่างเพียงพอ มีค่าเฉล่ีย 4.45
สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.81 มกี ารเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารเป็นเอกสาร แผ่นพบั มคี ่าเฉลยี่ 4.58 สว่ นเบ่ยี งเบน
มาตรฐาน 0.70 และมีการส่งเสริมทางการตลาดที่น่าสนใจ เช่น การจัดชิงโชค แจกรางวัล เป็นต้น มีค่าเฉล่ีย
4.64 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79
ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดทมี่ ตี ่อการตดั สินใจซ้ือนา้ แข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่ สาขาสุขสวสั ด์ิ
ดา้ นกระบวนการการใหบ้ รกิ าร
ส่วน
ขอ้ ดา้ นกระบวนการการให้บรกิ าร คา่ เฉล่ีย เบยี่ งเบน แปลผล ลา้ ดบั
มาตรฐาน
14. การขนส่งมีความรวดเรว็ 4.40 0.91 มาก 1
15. มีบริการใหก้ ับผปู้ ระกอบการอยา่ งรวดเร็ว 4.32 1.26 มาก 2
16. มีการจดั เรียงคิวอยา่ งเป็นระเบียบ 4.20 1.04 มากท่สี ุด 3
รวม 4.31 0.96 มาก
จากตารางพบว่า กลยุทธ์ทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซ้ือน้าแขง็ หลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสขุ
สวัสดิ์ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉลี่ย 4.31 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.96 เม่ือแยกเปน็ รายขอ้ พบว่า การขนสง่ มี
ความรวดเร็ว มีค่าเฉล่ีย 4.40 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.91 มีบริการให้กับผู้ประกอบการอย่างรวดเร็ว มีค่าเฉล่ีย 4.32
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.26 และมีการจัดเรียงควิ อย่างเปน็ ระเบยี บ มีค่าเฉลยี่ 4.20 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.04 370
ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563
ศกึ ษากลยุทธท์ างการตลาดท่ีมีต่อการตัดสนิ ใจซ้ือน้าแข็งหลอดปลอดสารตราไนแองการ่า สาขาสุข
สวัสดิ์ ดา้ นบุคคล
ขอ้ ดา้ นบคุ คล คา่ เฉ ส่วนเบย่ี งเบน แปลผล ล้าดบั
ลย่ี มาตรฐาน
17. พนกั งานมีการแตง่ กายเหมาะสม และดสู ภุ าพ 4.56 0.67 มากทีส่ ุด 1
18. พนักงานมีความสนใจ และมีความ 4.53 0.74 มากทสี่ ดุ 2
กระตอื รือรน้ ในการใหบ้ ริการ
19. พนกั งานมีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ่ีดียิ้มแย้มแจ่มใส และ 4.37 1.05 มากท่สี ดุ 4
พูดจาดี
20. พนกั งานมจี ้านวนเพียงพอในการให้บรกิ าร 4.42 0.96 มาก 3
รวม 4.47 0.71 มาก
จากตารางพบวา่ กลยทุ ธ์ทางการตลาดทมี่ ตี อ่ การตัดสินใจซอ้ื น้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขา
สุขสวัสด์ิ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.47 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.71 เมื่อแยกเป็นรายข้อพบว่า
พนักงานมีการแต่งกายเหมาะสม และดูสุภาพ มีค่าเฉล่ีย 4.56 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.67 พนักงานมีความสนใจ
และมีความกระตือรือร้นในการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.53 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.74 พนักงานมีมนษุ ยสัมพันธท์ ด่ี ี
ย้ิมแย้มแจ่มใสและพูดจาดี มีค่าเฉล่ีย 4.73 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.05 และพนักงานมีจ้านวนเพียงพอในการ
ใหบ้ รกิ าร มีคา่ เฉลย่ี 4.42 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.96
ศึกษากลยทุ ธ์ทางการตลาดทมี่ ตี อ่ การตดั สินใจซ้ือนา้ แข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่ สาขาสุขสวสั ดิ์
ดา้ นลักษณะทางกายภาพ
ข้อ ด้านลกั ษณะทางกายภาพ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบน แปลผล ลา้ ดบั
มาตรฐาน
21. ภายในบริเวณร้านมีความสะอาด ไมม่ เี ศษขยะใหพ้ บ 4.28 1.28 มาก 4
เหน็
22. บรรยากาศภายในร้านดีเช่น ไม่มีกลิ่น และความ 4.55 0.72 มากที่สดุ 2
สวา่ งพอเพียง
23. มีการตง้ั ป้ายช่อื รา้ นตดิ ในตา้ แหน่งทโ่ี ดดเดน่ 4.69 0.68 มากทีส่ ดุ 1
24. ในร้านมอี ปุ กรณอ์ า้ นวยความสะดวกในรา้ น เช่น อ่าง 4.47 0.89 มาก 3
ล้างมอื ห้องน้า มาก
4.50 0.69
รวม
371
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
จากตารางพบวา่ กลยุทธท์ างการตลาดที่มีตอ่ การตัดสินใจซื้อน้าแขง็ หลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่ สาขาสุขสวัสดิ์ พบว่า
โดยรวมอยู่ในระดบั มาก มีคา่ เฉลีย่ 4.50สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.69เมอื่ แยกเป็นรายขอ้ พบวา่ ภายในบริเวณร้านมคี วามสะอาด ไม่มี
เศษขยะให้พบเห็น มีค่าเฉล่ีย 4.28ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน1.28บรรยากาศภายในร้านดีเช่นไม่มีกล่ิน และความสว่างพอเพียงมี
ค่าเฉลยี่ 4.55ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.72มีการตั้งปา้ ยชอ่ื ร้านตดิ ในตา้ แหนง่ ที่โดดเด่น มีค่าเฉล่ยี 4.69ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.68
และในรา้ นมีอุปกรณอ์ า้ นวยความสะดวกในรา้ นเชน่ อา่ งลา้ งมือหอ้ งน้ามีคา่ เฉลี่ย4.47สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน0.89
สรุปกราฟ
กลยทุ ธท์ างการตลาดท่มี ตี ่อการตดั สนิ ใจซื้อน้าแขง็ หลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า สาขาสุขสวัสด์ิ
4.8
4.7
4.6
4.5
4.4
4.3
4.2
4.1
6. อภปิ รายผล
การศึกษาเรื่อง ศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดท่ีมีต่อการตัดสินใจซื้อน้าแข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแอง
การา่ สาขาสขุ สวสั ด์ิ ผู้ศกึ ษาโครงการสามารถอภิปรายไดด้ ังนี้
ผลการศึกษาพบว่าด้านผลิตภัณฑ์ มีความสอดคล้องกับ อรณิชาชัยชาญ(2556)ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ทะเลกระป๋องในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาพบว่าผู้ประกอบการนิยมบริโภคปลากระป๋องมากที่สุดเน่ืองจากหาซ้อื
ง่าย รองลงมาคือปลาทูน่ากระป๋องโดยจะพิจารณาถึงตรายี่ห้อในการซ้ือทุกครั้งปัจจัยอันดับหน่ึงที่ผู้ประกอบการใช้พิจารณา
เลือกซอื้ อาหารทะเลกระปอ๋ งมากท่สี ุด คือรสชาติ และหากรสชาตไิ ม่เปน็ ที่พอใจกจ็ ะทา้ ให้บรโิ ภคลดลง
ด้านราคา มคี วามสอดคล้องกับ บณั ฑติ า ทรัพย์กมล (2556) ไดศ้ กึ ษาพฤติกรรมการซอ้ื อาหาร ส้าเร็จรูปของผู้ประกอบการ
ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่าราคาส่งผลต่อการตัดสินใจในระดับปานกลาง โดยปจั จัยย่อยที่มีความสา้ คัญมากท่สี ุดคอื สนิ คา้ แต่ละ
ประเภทบ่งบอกราคาไว้ชัดเจนส่วนปัจจัยย่อยท่ีมี ระดับความส้าคัญรองลงมาคือราคาสินค้าแต่ละประเภทเหมาะสมกับคุณภาพมี
ใบเสร็จรบั เงินไว้เป็นหลักฐานมบี ริการช้าระเงินหลายรูปแบบและสามารถตอ่ รองราคาสนิ คา้ ได้ 372
ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
ด้านสถานที่/ช่องทางจัดจ้าหน่าย มีความสอดคล้องกับ กิตชัย ดิเรกวัฒนชัย (2556) ได้ศึกษา
พฤติกรรมการซื้ออาหารส้าเร็จรปู ของผูป้ ระกอบการในจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี พบว่าสถานทจี่ ้าหน่ายสนิ คา้ ความ
สะดวกในการ เดินทางไปเลือกซ้ือ ส่งผลต่อการตัดสินใจมาก โดยปัจจัยย่อยท่ีมีความส้าคัญรองลงมาคือ มี
สถานที่ จอดรถสะดวกและเพียงพอกับจ้านวนลูกค้ามีการตกแต่งสถานที่อย่างสวยงาม จัดวางสินค้าเป็น
ระเบยี บ มีห้องน้าบริการสะอาดไว้บรกิ ารลกู ค้าและมีทน่ี ั่งพักหรอื มุมรับรองลูกค้าอย่าง
ด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสอดคล้องกับ สุภาวรรณ ภู่สกุลสุข (2556) ได้ศึกษาพฤติกรรมการ
ซื้ออาหาร ส้าเร็จรูปของผู้ประกอบการในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่าผู้ประกอบการให้ความส้าคัญกับการ
รับประกนั คุณภาพ จากองค์การอาหารและยามากท่ีสดุ รองลงมาคือ มกี ารลด แลก แจก แถม ในชว่ งเทศกาล
ตา่ ง ๆ มกี ารประชาสัมพันธร์ ายละเอยี ดสินคา้ ไวช้ ัดเจน และมีรปู แบบการขายใหม่ ๆ อยเู่ สมอ
ด้านกระบวนการการให้บริการ มีความสอดคล้องกับ ละมัย เบาเออร์ (2559ได้ศึกษาเร่ืองคุณค่าของ
ตราสินค้า การรับรู้ คุณภาพในการให้บริการ คุณภาพของอาหาร และบรรยากาศที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้
บริการ ร้านอาหารไทยของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานครผลการศึกษาพบว่า การรับรู้คุณภาพในการ
ให้บริการด้านสิ่งที่สัมผัสได้คุณภาพของอาหารและบรรยากาศส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารไทย
ของผ้ปู ระกอบการในเขตกรงุ เทพมหานครอยา่ งมีนัยส้าคัญทางสถิติ ในขณะทค่ี ณุ ค่าของสินคา้ ดา้ นภาพลกั ษณ์
ตราสนิ คา้ และความภกั ดีต่อตราสินค้าและการรับรคู้ ณุ ภาพในการให้บริการด้านการใหค้ วามเชือ่ มน่ั ไม่สง่ ผลต่อ
การตัดสินใจใชบ้ ริการร้านอาหารไทยของผปู้ ระกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร
ด้านบุคคล มีความสอดคล้องกับ อัญชลี ภักดีโทรกิจ (2558) ได้ท้าการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพัน
องค์กรของพนักงาน โรงแรม 5 ดาว ในเขตอ้าเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ผลลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยท่ีมี
ผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงานโรงแรม 5 ดาว ในเขตอ้าเภอหัวหนิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์พบว่า โดยรวมอยู่
ในระดับมาก เรียงตามล้าดับจากมากไปน้อย ล้าดับแรก ด้านเงินเดือน รองลงมาคือ ด้านความส้าเร็จในการท้างาน
ด้านโอกาสท่ีจะได้รับความก้าวหน้าในอนาคต ด้านการได้รับ การยอมรับนับถือด้านความ ด้านความสัมพันธ์กับ
ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน และด้านลักษณะงาน ตามล้าดับ 2. การเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของ
พนกั งานโรงแรม 5 ดาว ในเขตอา้ เภอหวั หิน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์จ้าแนกตามปจั จยั ส่วนบุคคล พบวา่ พนักงานท่ี
มีเพศ อายุระดับการศึกษา สถานภาพ รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาการปฏิบัติงานต่างกันมีความคิดเห็นไม่
แตกต่างกัน 3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงแรม 5 ดาว ในเขตอ้าเภอ
หัวหิน จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธโ์ ดยรวมมีความสัมพันธก์ ันทางบวกในระดบั สูง อย่างมีนยั ส้าคัญ ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05
4. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยค้าจุนกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน โรงแรม 5 ดาว ในเขตอ้าเภอหัวหิน
จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์โดยรวมมคี วามสัมพันธก์ ันทางบวกใน ระดับสงู อย่างมนี ัยสา้ คัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05
ด้านลกั ษณะทางกายภาพ มคี วามสอดคล้องกบั นสั สุ คสู วุ รรณ (2554) ได้ท้าการวิจยั และศกึ ษาปัจจัย
การตลาด กลยทุ ธ์การตลาดและการจัดการเชงิ กลยุทธ์เพื่อเพิ่มผลประกอบการของของธรุ กิจขนสง่ ระบบรางใน
เขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จ้ากัด (มหาชน) ที่ได้เก็บตัวอย่างจากการ
สัมภาษณเ์ ชิงลึกกับผใู้ ชบ้ ริการ จ้านวน 56 คนและพบวา่ ปจั จยั ดา้ นลักษณะทางกายภาพมีผลต่อ ความพงึ
373
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
พอใจต่อการใช้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส โดยเรื่องความสะอาดภายในสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส นั้นผู้โดยสารให้
ความส้าคัญมากท่สี ดุ คอื และนอ้ ยท่สี ุดคือ ความสะดวกสบายในการใชบ้ รกิ ารภายใน สถานรี ถไฟฟ้าบที ีเอส
7. ขอ้ เสนอแนะ
จากการศกึ ษาเร่อื ง ศกึ ษากลยุทธ์ทางการตลาดท่ีมีตอ่ การตดั สินใจซ้อื น้าแขง็ หลอดปลอดสาร ตราไนแองการ่า
สาขาสุขสวสั ดิ์ผู้จดั ทา้ โครงการมขี ้อเสนอแนะทไี่ ด้รับจากการศึกษาในครงั้ น้ี ดังนี้
ข้อเสนอแนะการน้าผลการจดั ทา้ โครงการไปใชป้ ระโยชน์
1.จากการศกึ ษาพบว่าผู้ที่ไดต้ อบแบบสอบถามนน้ั ให้ความส้าคญั เก่ยี วกับกลยทุ ธท์ างการตลาดที่มตี ่อการ
ตดั สินใจซื้อนา้ แข็งหลอดปลอดสาร ตราไนแองการา่ สาขาสขุ สวสั ดิ์
2.จดั ทา้ การตรวจสอบภายในโรงนา้ แขง็ หลอดปลอดสารอย่างนอ้ ยปีละ 5 – 6 ครง้ั เพอื่ ความปลอดภัยในการ
ผลติ น้าแข็งหลอดปลอดสาร
3. เตรยี มความพร้อมในเรอื่ งของวสั ดุ อุปกรณ์และเทคโนโลยใี นการผลติ รปู ทรงของน้าแขง็ หลอดปลอดสารน้าแขง็ หลอด
ปลอดสาร
ข้อเสนอแนะในการจัดทา้ โครงการคร้งั ตอ่ ไป
1. ในการวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป ควรศกึ ษาเก่ยี วกับความนา่ เชื่อถือ หรอื พฤติกรรมการเลือกใชบ้ ริการซ้า
2. ในการวิจัยครง้ั ตอ่ ไปควรศกึ ษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษามาตรฐานของธุรกจิ ให้มีความมนั่ คง และมีความสมา้่ เสมอ
เอกสารอา้ งองิ 374
กติ ชยั ดเิ รกวฒั นชัย. (2556). ได้ศึกษาปจั จยั สว่ นผสมทางการตลาดทม่ี ผี ลต่อ แนวโน้มการตดั สินใจบรโิ ภค
อาหารสุขภาพจานด่วนของกลมุ่ คนท้างานในยา่ นธรุ กจิ ในกรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญา
มหาบณั ฑิต สาขาการประชาสัมพนั ธ์, บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณว์ ทิ ยาลัย.
จารวุ รรณ ประดา. (2556). การตลาดบรกิ าร. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่
เฉลียว บุรีภักด.ี (2556).ความหมายทัศนคติ และบคุ ลิกภาพ. กรุงเทพฯ:มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร.
ฉตั ยาพร เสมอใจ. (2556). การจัดการตลาดบรกิ าร. กรุงเทพฯ : ส.เอเซียเพรส (1989).
ฉตั ยาพร เสมอใจ และฐิตนิ ันท์ วารวี นิช. (2556). การตดั สนิ ใจซอ้ื . กรงุ เทพฯ : ซเี อด็ ยูเคชนั่ .
ฑิตยา สุวรรณะชฏ. (2555). ลกั ษณะทศั นคต.ิ กรุงเทพฯ : รงุ่ วัฒนาฯ
ธนวรรณ แสงสวุ รรณ. (2556). กลยทุ ธ์การตลาด. กรุงเทพฯ : ส. เอเชยี เพรส.
ธงชยั สันติวงษ.์ (2556). คณุ ภาพในการบริการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรงุ เทพฯ : ประชาชน.
ธงชัย สนั ติวงษ์. (2556). พฤติกรรมผ้ปู ระกอบการ. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ .
นพิ นธ์ คนั ธเสว.ี (2555). ความส้าคญั ทศั นคติ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์
บณั ฑิตา ทรัพย์กมล. (2556). ปจั จัยท่ีมอี ิทธพิ ลต่อการเลือกผู้ให้ บรกิ ารโลจิสติกสใ์ นกลุ่มอุตสาหกรรมการ
ผลิตอาหารและเครอ่ื งด่ืม. วิทยานพิ นธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริญ ลักษิตานนท.์ (2556). หลกั การตลาด. (พิมพ์ครัง้ ที่ 4). ปทมุ ธานีฯ : ส้านักพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ.
พศั นยี ์ บญุ งาม. (2557). ส่วนประสมทางการตลาด. กรุงเทพฯ : สา้ นักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ราชบัณฑิตยสถาน. (2557). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ : นานมีบุ๊คส์.
ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
การพฒั นาคู่มอื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชีเพื่อจัดทางบการเงินให้มคี ณุ ภาพ
ของสานกั งานพภิ ทั ราการบัญชี
Developing a manual for auditing accounting documents for the preparation
of financial statements for the quality of the accounting department.
นางวารณุ ี เอี่ยมอารมณ1์ นางอษา ณะบุตรจอม2 นางสาวณฐั กานต์ ปานฉลอม3
Mrs. Warunee Iemarrom 1 Ms. Usa Nabudchom 2 Miss. Nattakarn Panchalom3
1ครูชานาญการพิเศษ แผนกวชิ าการบัญชี วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี E-mail:[email protected]
2 ครชู านาญการพิเศษ แผนกวิชาการบญั ชี วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี E-mail:[email protected]
3 นักศึกษาปรญิ ญาตรสี าขาการบัญชี วทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี E-mail:[email protected]
บทคดั ย่อ
โครงการการพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทางบการเงินให้มีคุณภาพ
ของสานกั งานพิภทั ราการบัญชี มีวัตถุประสงคค์ ือ1. เพ่ือพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
เพื่อจัดทางบการเงินให้มีคุณภาพ 2. เพ่ือประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการ
ลงบญั ชีเพือ่ จัดทางบการเงนิ ให้มคี ุณภาพ
ผลการพัฒนาคู่มือ มี 2 องค์ประกอบดังน้ี 1) จัดทาแฟ้มเอกสารตามหมวดหมู่ ซึ่งแยกออกเป็น 4
หัวขอ้ คือ 1.1 กาหนดหมวดหมเู่ อกสาร 1.2 สรา้ งแฟม้ ตามเอกสารทกี่ าหนด 1.3 คัดแยกเอกสารตามหมวดหมู่
1.4 เรียงเอกสารและจัดเก็บเอกสาร 2) ตรวจสอบเอกสารตามประมวลรัษฎากร ซึ่งแยกออกเป็น 3 หัวข้อ คือ
2.1 เอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการลงบัญชีท่ีจัดทาข้ึนโดยบุคคลภายนอก 2.2 เอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการ
ลงบัญชีท่ีจัดทาข้ึนโดยผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีเพ่ือออกให้แก่บุคคลภายนอก 2.3 เอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการ
ลงบัญชที ส่ี ามารถนามาเป็นรายจา่ ยได้ ซ่ึงผลประเมินด้านองค์ประกอบของคมู่ ือมีความเหมาะสมในระดบั มาก
การประเมินความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือพบว่ามีความพึงพอใจระดับมาก ผู้บริหารสานักงานบัญชี
ส่วนมากเห็นว่าด้านเนื้อหามีความพึงพอใจระดับอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.61 และส่วน
เบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.51 ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
เพอื่ จดั ทางบการเงนิ อยู่ในระดบั มาก มีคา่ เฉลี่ยเทา่ กบั 4.47 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.59
คาสาคญั : คู่มอื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชี งบการเงิน
375
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
Abstracts
The development of a manual for the audit of accounting documents for the
preparation of quality financial statements. Of the Phiphatra Accounting Office The
objectives are: 1. To develop a manual for the audit of accounting documents for the
preparation of quality financial statements. 2. To assess the satisfaction of the audit
manual for accounting documents to prepare financial statements to have quality.
The results of the manual development consist of 2 components as follows: 1)
Prepare the documents by category. Which is divided into 4 topics: 1.1 Define the
document category 1.2 Create a file according to the specified document 1.3 Sort
documents by category 1.4 Sort documents and store documents 2) Check the documents
according to the Revenue Code Which is divided into 3 topics: 2.1 Documents required for
accounting prepared by third parties 2.2 Documents required for accounting prepared by
the person responsible for keeping accounts to be issued to third parties 2.3 Documents
required for accounting that can be used as an expense The evaluation of the composition
of the manual is very appropriate. Follow-up after using the manual was found to be very
satisfied.
The satisfaction assessment after using the manual was found to be very satisfied. Most
accounting firm executives found that the content aspect had the highest level of satisfaction.
The mean value was 4.61 and standard deviation of 0.51. Satisfaction after using the manual
for the audit of accounting documentation for the preparation of financial statements was at
a high level. Has a mean of 4.47 and a standard deviation of 0.59
Keywords: Manual for auditing accounting documents, financial statements
376
ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563
1. บทนา
สานักงานพภิ ทั ราการบัญชี เป็นสานกั งานรับจัดทาบัญชี บรษิ ัทลูกคา้ ไดจ้ ัดสง่ เอกสารที่นามาใช้ในการ
ประกอบการลงบญั ชีไมถ่ กู ต้องตามหลกั พระราชบญั ญตั ิการบญั ชี เป็นเหตุใหย้ ่ืนงบการเงินของลูกค้าไม่ตรงตาม
เวลาท่ีกาหนด ผู้จัดทาโครงการจึงมีความสนใจที่จะศึกษาสภาพปัญหา และได้ทาการศึกษาปัญหาระบบการ
ตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชขี องบรษิ ทั ทลูกคา้ พบว่า ปญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ เกดิ จากลูกคา้ ขาดความเข้าใจ
ในหลักของเอกสารตามพระราชบัญญัติการบัญชีและทาให้เอกสารไม่มีคุณภาพ จึงทาให้เอกสารท่ีนามาเป็น
รายจ่ายเป็นเอกสารท่ีไม่สามารถถือเป็นรายจ่ายเสียภาษีส่งผลให้กิจการมีกาไรสุทธิก่อนภาษีสูงขึ้นตาม
ข้อกาหนดของประมวลรัษฎากรและเกิดการเสียภาษีเพ่ิมข้ึนจากความบกพร่องของเอกสารซึ่งหากไม่ส่งเสริม
และแนะนาใหล้ ูกค้ารู้วิธีการตรวจสอบเอกสารที่สามารถใช้เป็นรายจ่ายในเบื้องต้นก่อนจะส่งผลให้บรษิ ัทลูกค้า
ตอ้ งเสยี ภาษเี กนิ ความจาเปน็ และอาจส่งผลตอ่ ภาพลักษณ์ของสานักงานบัญชีที่รับทาบัญชี
ดังนั้นผู้จัดทาโครงการสนใจที่จะจัดทาคู่มือตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีท่ีแสดงถึงขั้นตอน
การปฏบิ ตั ิงานในรปู แบบ Flowchart เพ่อื ให้ลกู ค้าเขา้ ใจถึงหลักการของเอกสารและการตรวจสอบเอกสาร ลด
ทางด้านระยะเวลาในกระบวนการทางานให้กระชับมากขึ้น และยังคงไว้ซึ่งความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ
ของเอกสารและขอ้ มลู
2.วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ พฒั นาคูม่ อื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชเี พ่ือจดั ทางบการเงนิ ใหม้ ีคณุ ภาพ
2. เพ่ือประเมินความพึงพอใจที่มีต่อคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทางบ
การเงนิ ใหม้ คี ุณภาพ
3.สมมตฐิ านของโครงการ
1. การพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชเี พอื่ จัดทางบการเงินให้มีคุณภาพอยู่ในระดบั ดี
2. การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทางบ
การเงนิ ให้มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ปานกลาง
4. วธิ ีการดาเนนิ งาน
4.1 ศึกษาหลักการ แนวคิด และกระบวนการพัฒนาของคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
เพ่อื จัดทางบการเงนิ ใหม้ ีคณุ ภาพ
4.1.1 ศึกษาหลักการ ทฤษฎี การพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ของ
สานักงานบัญชี จากเอกสาร ตารา งานวิจยั
4.1.2 ศึกษาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีท่ีสามารถพัฒนาให้พนักงานบัญชีเกิด
ทกั ษะในการตรวจสอบเอกสาร จากเอกสาร ตารา งานวิจยั ต่างๆ ประกอบด้วย
377
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี
4.1.2.1 การพัฒนาคูม่ ือโดยใช้ปญั หาเปน็ หลัก
4.1.2.2 การพัฒนาคมู่ ือแบบแกป้ ญั หา
4.1.3 สรปุ ขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาเพ่อื เสนอหวั ขอ้ โครงการการพัฒนาคู่มอื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชี
4.2 ศึกษาสภาพปัญหาการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพอ่ื จัดทางบการเงนิ ของสานักงานพภิ ทั ราการบญั ชี
การศึกษาสภาพปัญหาการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทางบการเงินของสานักงาน
พิภัทราการบัญชีโดยผู้จัดทาโครงการได้สารวจความคิดเห็นของพนักงานบัญชีในสถานประกอบการณ์ เพื่อนา
ข้อมูลที่ได้มาพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี โดยมีรายละเอียดข้ันตอนการดาเนินงาน
ดงั นี้
4.2.1 ศึกษาข้อมูลสภาพปัญหาในการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี จากตารา เอกสาร
บทความ และงานวิจัย เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการสร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัญหาในการตรวจสอบ
เอกสารประกอบการลงบญั ชี
4.2.2 สร้างแบบสอบถามเพื่อสารวจสภาพปัญหา โดยศึกษาวิธีการ เพื่อสร้างแบบสอบถาม จากตารา
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ที่เน้น
กระบวนการแกป้ ัญหา เพอ่ื นามากาหนดเปน็ ข้อคาถามของสภาพปัญหาในการสร้าง แบบสอบถาม ซง่ึ แบบสอบถาม
แบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ความคิดเห็น
เกี่ยวกับสภาพปัญหาของการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีขาดคุณภาพ และตอนที่ 3 เป็นคาถาม
ปลายเปิดเก่ียวกับข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จากนั้นนาแบบสอบถาม ที่ออกแบบไว้ปรึกษาอาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือขอ
คาแนะนาแล้วปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะนา แบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่านตรวจสอบและ
ประเมินความสอดคล้อง (IOC) ของวัตถุประสงค์ของการวิจัยกับข้อคาถามสภาพปัญหาของการตรวจสอบเอกสาร
ประกอบการลงบัญชีขาดคุณภาพ เลือกขอ้ คาถามทีม่ ีค่าความสอดคล้อง (IOC) ท่ีมีคา่ มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 มาใช้
เปน็ ขอ้ คาถามเพ่ือศึกษาสภาพปัญหา
4.2.3 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากสานักงานพิภัทราการบัญชี จานวน
32 คน ซ่ึงแบ่งเป็น ผู้บริหาร พนักงานแผนกบัญชี พนักงานแผนกธุรการ และเด็กฝึกงาน รวบรวมข้อมูลท่ีได้
จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ผลและสรุปสภาพปัญหาในการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีขาด
คุณภาพ เพื่อนาผลการวิเคราะห์ไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
ตอ่ ไป วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ โดยใช้คา่ เฉล่ยี ( ̅) และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)
4.3 การพัฒนาคมู่ อื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชเี พ่ือจัดทางบการเงนิ ให้มคี ุณภาพ
การพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทางบการเงินให้มีคุณภาพ เพ่ือนา
คมู่ อื ไปพฒั นาในสถานประกอบการณไ์ ด้ ผ้จู ดั ทาโครงการได้ดาเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังนี้
378
ประชมุ วชิ าการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563
4.3.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับคู่มือการตรวจสอบ
เอกสารประกอบการลงบัญชี จากเอกสาร ตารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อมูลที่เกิดจากการศึกษาสภาพ
ปญั หาการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีของสานักงานพภิ ทั ราการบัญชี เพอ่ื นามาเปน็ ข้อมลู ประกอบ
ในการพฒั นาค่มู ือ
4.3.2 ศึกษาเกี่ยวกับคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีในสถานประกอบการ จาก
เอกสาร ตารา งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงประกอบด้วย การพัฒนาคู่มือโดยใชป้ ัญหาเป็นหลกั และการพัฒนาคู่มือ
แบบแกป้ ญั หา
4.3.3 กาหนดองค์ประกอบของคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี โดยมีองค์ประกอบ
ของคมู่ ือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชี ประกอบดว้ ย 2 องคป์ ระกอบ ดังนี้
4.3.3.1 จัดทาแฟม้ เอกสารตามหมวดหมู่
4.3.3.2 ตรวจสอบเอกสารตามประมวลรษั ฎากร
4.3.4 พัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี (ฉบับร่าง) โดยนาผลจากการศึกษา
สภาพปัญหาการพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาเก่ียวกับการ
แก้ปัญหางานของสถานประกอบการ และการพัฒนาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี โดยนา
ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เพ่ือใช้กาหนดเป็นกรอบแนวคิด กาหนดหลักการ กาหนดวัตถุประสงค์ของคู่มือ
กระบวนการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีของคู่มือ และการวัดผลประเมินผล จากนั้นจดั ทาเป็นคู่มือ
การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีฉบับร่าง อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบคู่มือการตรวจสอบเอกสาร
ประกอบการลงบัญชีฉบบั ร่าง และปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามข้อแนะนา
4.4 สรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจของคูม่ ือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชี
การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ผู้จัดทา
โครงการศึกษาหลักการและแนวคิดเก่ียวกับการสร้างแบบประเมินแล้วจึงร่างแบบประเมินความพึงพอใจ
จากนั้นนาแบบประเมินที่ออกแบบไว้ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาแล้วปรับปรุงแก้ไขตาม
ข้อเสนอแนะ โดยแบบประเมินเปน็ แบบประเมนิ คา่ 5 ระดบั แบง่ ออกเปน็ 3 ตอนประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูล
เก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นเก่ียวกับการพัฒนาคู่มือการตรวจสอบ
เอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทางบการเงินให้มีคุณภาพ และตอนท่ี 3 เป็นคาถามปลายเปิดเกี่ยวกับ
ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ
4.5 ทดลองใช้คูม่ อื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
หลังจากปรับปรุงรายละเอียดในด้านต่างๆ ตามข้อแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาแล้วผู้จัดทาโครงการ
ได้นาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ไปทดลองใช้กับกลุ่มประชากรในสานักงานพิภัทราการ
บญั ชีเพอ่ื หาขอ้ แก้ไข และปรบั ปรุงของคู่มอื ดา้ นตา่ งๆ ดังนี้
379
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
4.5.1 เตรียมเอกสาร ซง่ึ ประกอบด้วย
4.5.1.1 ค่มู อื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชี
4.5.1.2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
4.5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในโครงการ จานวน 32 คน ได้แก่ พนักงานสานักงานพิภัทราการ
บัญชี ซ่ึงการทดลองใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประการลงบัญชี ได้กาหนดผู้ทาการทดลองใช้คู่มือ คือ
ผู้บริหาร พนกั งานแผนกบญั ชี พนักงานแผนกธรุ การ และเด็กฝกึ งาน
4.5.3 ประเมินผลการทดลองใช้คู่มือโดยประเมินความพึงพอใจของคู่มือโดยใช้แบบประเมินจากน้ัน
ผู้จัดทาโครงการได้วิเคราะห์ สรุป และแปลผลเสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือพิจารณาและทาการปรับปรุงแก้ไข
ตามข้อแนะนา
4.6 ประเมินผลหลงั การพฒั นาคู่มอื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี
การประเมินความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ประเมินหลังการใช้
คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ซ่งึ ผู้จัดทาโครงการได้ประเมิน และเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากประชากร
5. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
5.1 ผลการประเมินคา่ ดัชนีความสอดคล้องของคุณภาพคู่มือ (IOC) จากผเู้ ชี่ยวชาญ
การประเมินความเหมาะสมของของคู่มือท่ีพัฒนาข้ึนได้จากการศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์เอกสาร
ตลอดจนงานกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้เช่ยี วชาญ จานวน 3 คน เพื่อพิจารณาและให้คาปรกึ ษา
ข้อแนะนา เพ่ือปรบั ปรงุ รปู แบบใหม้ คี วามเหมาะสม และสอดคลอ้ งสามารถนาไปใชง้ านโดยการพฒั นาคมู่ ือการ
ตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี โดยไดผ้ ลการประเมนิ จากผูเ้ ชี่ยวชาญซึง่ เปน็ ค่าท่ีสามารถนาไปใชไ้ ด้
5.2 ผลการศึกษาความคิดเหน็ เก่ียวกบั สภาพในการปฏบิ ัตงิ านของสานกั งานบัญชี
พบว่าผลการศึกษาสภาพปัญหาการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีขาดคุณภาพ ของสานักงานพิ
ภทั ราการบญั ชี ดา้ นเอกสารท่นี ามาใชป้ ระกอบการลงบัญชีส่งมาล่าชา้ อยใู่ นระดบั มปี ัญหามาก ด้านเอกสารทใี่ ช้
ประกอบการลงบัญชีไม่ครบถว้ นอยู่ในระดบั มีปัญหามาก ด้านเอกสารท่ีนามาใช้ประกอบการลงบัญชีไม่ถูกต้อง
อยใู่ นระดับมีปัญหาปานกลาง ด้านเอกสารท่ีนามาประกอบการลงบัญชีขาดความน่าเชื่อถืออยใู่ นระดับมีปัญหา
ปานกลาง ด้านบุคลากรไม่มีทักษะความรู้ด้านเอกสารอยู่ในระดับมีปัญหาปานกลาง ด้านบุคลากรไม่มีทักษะ
ดา้ นกฎประมวลรัษฎากรอยู่ในระดับมีปัญหาปานกลาง ด้านบุคลากรไม่มีความรู้ดา้ นการการจัดเกบ็ เอกสารอยู่
ในระดับมีปัญหาปานกลาง ด้านบุคลากรในการตรวจสอบเอกสารมีน้อยคนอยู่ในระดับมีปัญหาปานกลางด้าน
การตรวจสอบเอกสารไม่ละเอียดถี่ถ้วนอยู่ในระดับมีปัญหาปานกลาง ด้านการตรวจสอบเอกสารผ่านข้ันตอน
น้อยอยู่ในระดับมีปัญหามาก ด้านการตรวจสอบเอกสารไม่เปน็ ไปตามประมวลรัษฎากรอยู่ในระดับมีปัญหามาก
ดา้ นการตรวจสอบเอกสารขาดความรูค้ วามเขา้ ใจอยู่ในระดับมีปัญหามาก
380
ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต คร้ังท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
5.3 ผลการศกึ ษาข้อมูลทั่วไปเก่ยี วกับสานกั งานบญั ชี
ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเป็นเพศชาย ร้อยละ 28 เพศหญิง ร้อยละ 72 ซ่ึง
เป็นอายุมากกว่า 20 ปี ร้อยละ 44 อายุมากกว่า 30 ปี ร้อยละ 28 อายุมากกว่า 40 ปี ร้อยละ 6 และอายุ
มากกวา่ 45 ปขี ึ้นไป รอ้ ยละ 22 ซึ่งเป็นสถานะผู้บริหาร รอ้ ยละ 12 พนกั งานแผนกบัญชี ร้อยละ 41 พนักงาน
แผนกธรุ การ ร้อยละ 28 และเดก็ ฝกึ งาน ร้อยละ 19 ซึ่งระดับการศึกษาปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 94 และปรญิ ญาโท
ร้อยละ 6 ซึ่งประสบการณ์ในทางวิชาชีพบัญชีน้อยกว่า 5 ปี ร้อยละ 38 ประสบการณ์ในทางวิชาชีพบัญชี 5 -
10 ปี ร้อยละ 24 และประสบการณ์ในวชิ าชพี บญั ชีมากกว่า 10 ปี รอ้ ยละ 38
5.4 ผลการศึกษาความคิดเหน็ เกีย่ วกับความพงึ พอใจในการปฏิบตั ิงานของสานักงานบัญชี
ตารางที่1 แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจาแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับความพึงพอใจ
ของคูม่ อื การตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชเี พ่ือจัดทางบการเงนิ
สภาพในการปฏบิ ัติงานของสานกั งานบัญชี SD. แปลค่า
ด้านเนื้อหา 4.61 0.51 มากทีส่ ดุ
1. เนื้อหามคี วามครบถว้ นและครอบคลมุ 4.72 0.46 มากทส่ี ุด
2. ความเหมาะสมของเนื้อหามีความเขา้ ใจมากน้อยเพยี งใด 4.56 0.50 มากทส่ี ุด
3. มคี วามสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการมากนอ้ ยเพยี งใด 4.59 0.56 มากที่สดุ
4. หวั ข้อเรียงลาดับได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม 4.56 0.50 มากทสี่ ุด
ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการ 4.47 0.59 มาก
ลงบญั ชีเพื่อจัดทางบการเงนิ
1. คู่มือการใช้งานมรี ายละเอียดการใชง้ านครบถ้วน ถูกตอ้ งมากนอ้ ยเพียงใด 4.41 0.61 มาก
2. ศึกษาคู่มือและสามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบเอกสารได้ด้วยตนเอง 4.31 0.59 มาก
มากนอ้ งเพียงใด
3. ขั้นตอนการทางานของค่มู ือชดั เจน ง่ายต่อการใชง้ าน 4.47 0.62 มาก
4. เรียงเน้ือหาคู่มือให้เข้าใจง่ายพรอ้ มที่จะนาไปปฏบิ ัติงานดว้ ยตนเองหรอื ไม่ 4.47 0.57 มาก
5. ภาพประกอบสอดคลอ้ งกับเน้อื หาคมู่ ือการตรวจสอบเอกสาร 4.41 0.71 มาก
ประกอบการลงบัญชีหรอื ไม่
6. ขนั้ ตอนการใช้งานของคู่มืออ่านแลว้ เขา้ ใจมากนอ้ ยเพียงใด 4.56 0.50 มากท่สี ุด
7. เน้ือหาของคู่มือมีความจาเป็นต่อการศึกษาสามารถที่จะนาไปปฏิบัตงิ าน 4.50 0.57 มาก
ได้
8. มคี วามเหมาะสมในเนอ้ื หาและการปฏบิ ตั งิ านของคมู่ ือหรอื ไม่ 4.53 0.51 มากท่สี ุด
9. คมู่ อื การใชง้ านสามารถนาไปเปน็ คมู่ อื ใช้ในสถานประกอบการณ์ได้หรอื ไม่ 4.53 0.62 มากที่สุด
จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของสานกั งานบัญชี
ภายหลงั จากการนาคู่มอื ฯ ไปใช้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจเกือบทกุ ข้ออย่ใู นระดบั มากทีส่ ดุ
381
บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
6. สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ
6.1 ผู้จัดทาโครงการไดค้ มู่ ือการการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี เพ่อื ใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบ
เอกสารประกอบการลงบัญชี ส่งผลพนักงานบัญชีมีความเข้าใจเก่ียวกับเอกสารประกอบการลงบัญชีตามประมวล
รษั ฎากร
6.2 ผลการประเมินความพึงพอใจคู่มือการการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ผลการประเมินความพึงพอใจ
จากผทู้ ดลองใช้คมู่ ือในภาพรวมมีความพึงพอใจ สามารถนาไปใช้ในการประกอบการเพื่อตรวจสอบเอกสารตามประมวลรัษฎากร
ได้จริง
6.3 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจคมู่ อื การการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบญั ชี
6.3.1 ผลการสารวจข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
ผลการศึกษาในภาพรวมพบว่า สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย จานวน 9 คน คิดเป็น
ร้อยละ 28 เพศหญิง จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 72 ซ่ึงเป็นอายุมากกว่า 20 ปี จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 44
อายุมากกว่า 30 ปี จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 28 อายุมากกว่า 40 ปี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6 และอายุ
มากกวา่ 45 ปขี ้นึ ไป จานวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 22 ซ่ึงเปน็ สถานะผบู้ ริหาร จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12 พนกั งาน
แผนกบัญชี จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 41 พนักงานแผนกธุรการ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 28 และเด็กฝึกงาน
จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 19 ซ่ึงระดับการศึกษาปริญญาตรี จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 94 และปริญญาโท
จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6 ซ่ึงประสบการณ์ในทางวิชาชีพบัญชีน้อยกว่า 5 ปี จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 38
ประสบการณใ์ นทางวิชาชพี บญั ชี 5 - 10 ปี จานวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 24 และประสบการณ์ในวิชาชีพบัญชีมากกว่า
10 ปี จานวน 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 38
6.3.2 สรุปความคิดเห็นเก่ียวกับความพึงพอใจของคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการ
ลงบญั ชี
ผลการศึกษาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพื่อจัดทางบการเงินให้มี
คุณภาพ ของสานกั งานพภิ ัทราการบญั ชี
1) ด้านเนื้อหามีความครบถ้วนและครอบคลุม ระดับความคิดเห็นมากที่สุด อยู่ในระดับมาก
ที่สุด จานวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ 75 และ ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก จานวน 9 คน คิด
เป็นร้อยละ 28 และ คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในระดบั มากที่สดุ ( ̅=4.72 S.D. = 0.46)
2) ดา้ นเน้อื หาความเหมาะสมของเนื้อหามคี วามเข้าใจ ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด อยใู่ นระดับมาก
ทีส่ ดุ จานวน 14 คน คิดเปน็ ร้อยละ 44 และ ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยูใ่ นระดับมากท่ีสดุ ( ̅= 4.56 S.D. =
0.50)
3) ด้านเน้ือหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด
อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด จานวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 63 และ ระดับความคิดเห็นปานกลาง อยูใ่ นระดับมากที่สุด
382
ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต ครัง้ ท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563
จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 34 และ ระดับความคิดเห็นน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 1 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 3 และ คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ ( ̅= 4.59 S.D. = 0.56)
4) หัวข้อเรียงลาดับได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด อยู่ในระดับ
มากที่สุด จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 56 และระดับความคิดเห็นน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับมาก จานวน 14 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 44 และ คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยูใ่ นระดบั มากท่สี ดุ ( ̅=4.56 S.D. = 0.50)
5) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพื่อจัดทา
งบการเงินคู่มือการใช้งานมีรายละเอียดการใช้งานครบถ้วน ระดับความคิดเห็นมากที่สุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด
และมาก จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 47 และ ระดับความคิดเห็นน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับปานกลาง จานวน 2
คน คิดเป็นร้อยละ 2 และ คา่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในระดบั มาก ( ̅= 4.41 S.D. = 0.61)
6) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทา
งบการเงินศึกษาคู่มือและสามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบเอกสารได้ด้วยตนเอง ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด
อยู่ในระดับปานกลาง จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 56 และ ระดับความคิดเห็นน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับปานกลาง
จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6 และ คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยูใ่ นระดบั มาก ( ̅= 4.31 S.D. = 0.59)
7) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทา
งบการเงินข้ันตอนการทางานของคู่มือชัดเจน ง่ายต่อการใช้งาน ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด อยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 53 และ ระดับความคิดเห็นน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับปานกลางจานวน 2 คน คิด
เป็นร้อยละ 6 และ ค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในระดับมาก ( ̅= 4.47 S.D. = 0.62)
8) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทา
งบการเงินเรียงเนื้อหาคู่มือให้เข้าใจง่ายพร้อมที่จะนาไปปฏิบัติงานด้วยตนเอง ระดับความคิดเห็นมากที่สุด อยู่
ในระดับมากที่สุด จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และ ระดับความคิดเห็นน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับปานกลาง
จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3 และ คา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในระดบั มาก ( ̅= 4.47 S.D. = 0.57)
9) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทา
งบการเงินภาพประกอบสอดคล้องกับเนื้อหาคู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชี ระดับความ
คิดเห็นมากท่ีสุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 53 และ ระดบั ความคิดเห็นน้อยที่สุด อยู่ใน
ระดบั ปานกลาง จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 13 และ ค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยูใ่ นระดับมาก ( ̅= 4.41
S.D. = 0.71)
10) ด้านความพึงพอใจหลังการใชค้ ู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพ่ือจัดทา
งบการเงินขั้นตอนการใช้งานของคู่มืออ่านแล้วเข้าใจ ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน
18 คน คิดเป็นร้อยละ 56 และ ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 44
และ ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยใู่ นระดับมากที่สดุ ( ̅= 4.56 S.D. = 0.50)
383
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
11) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพื่อจัดทางบการเงินเนื้อหาของ
ค่มู อื มคี วามจาเป็นต่อการศึกษาสามารถที่จะนาไปปฏิบัตงิ านได้ ระดบั ความคดิ เหน็ มากที่สดุ อย่ใู นระดับมากที่สดุ จานวน17คนคิดเป็น
ร้อยละ 53 และระดับความคิดเหน็ น้อยที่สดุ อยใู่ นระดับปานกลาง จานวน 1คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 3และค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
อยูใ่ นระดับมาก( ̅=4.50S.D.=0.57)
12) ด้านความพึงพอใจหลังการใช้คู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพื่อจัดทางบการเงินมีความ
เหมาะสมในเน้อื หาและการปฏิบัติงานของคู่มือระดับความคิดเห็นมากทสี่ ุดอยู่ในระดับมากที่สุดจานวน17คนคิดเป็นร้อยละ53 และ
ระดับความคิดเหน็ น้อยทีส่ ุดอย่ใู นระดับมากจานวน15คน คดิ เป็นร้อยละ47และค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน(S.D.)อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด
( ̅= 4.53 S.D. = 0.51)
13) ด้านความพึงพอใจหลังการใชค้ ู่มือการตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีเพื่อจัดทา
งบการเงินคู่มือการใช้งานสามารถนาไปเป็นคู่มือใช้ในสถานประกอบการณ์ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด อยู่ใน
ระดบั มากท่ีสุด จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 59 และ ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด อยู่ในระดับปานกลาง จานวน
2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6 และ คา่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅= 4.53 S.D. = 0.62)
6.4 ข้อเสนอแนะ
6.4.1 ควรทาการศึกษาการปฏิบัติงานของสานักงานบัญชีในพื้นที่จังหวัดอ่ืนๆเพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้
ว่ามีปัจจัยใดที่สอดคล้องหรือมีปจั จัยใดท่ีมีความแตกต่างกนั เพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลให้กับผ้ทู ี่สนใจประกอบธุรกจิ สานักงานบัญชี
ตอ่ ไป
6.4.2 ควรศึกษาปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การปฏิบัติงานของสานกั งานบญั ชีในกรุงเทพมหานครเพื่อใช้
เปน็ ขอ้ มูลในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคได้อยา่ งมีคุณภาพ
6.4.3 ควรทาการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มพนักงานที่ทาการลงบัญชีสานักงานบัญชีใน
สานกั งานพิภัทราการบญั ชีเพือ่ ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพการตรวจสอบเอกสารให้ดขี ้นึ
เอกสารอ้างองิ
จากหนงั สือ
[1] เกศฉราภรณ์ สัตยาชัย,2553,ศึกษาระบบการบริหารจัดการเอกสาร,การค้นคว้าแบบอิสระ
สาขาวชิ าการจดั การทว่ั ไป,มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี.
[2] ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวฒุ ิ,2551,การศึกษาการพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสารของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,การ
ค้นคว้าอิสระ สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ตกิ ส์,มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.
[3] ปณิธาน พีรพัฒนา,2554,การบริหารจัดการระบบเอกสาร,การค้นคว้าแบบอิสระ สาขาวิชา
บริหารธุรกจิ ,มหาวิทยาลยั ธนบุรี.
จากงานวิจัย
[4] อรณุ ี ออ่ นสวสั ดิ์, 2551, ระเบียบวธิ ีวิจัย, พิมพ์ครงั้ ที่ 3,มหาวิทยาลยั นเรศวร,พษิ ณุโลก 384
ประชมุ วิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีบัณฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
การพฒั นาคมู่ อื งานระบบบัญชซี อื้ สนิ ค้าและเจา้ หนี้ โดยโปรแกรม CD Organizer
Development of Accounting System manuals, Purchases of products and
Payables by CD Organizer program
นางสาว มธุรส กะแตเซ็ง1 อาจารย์ อุษา ณะบตุ รจอม2
Miss Mathuros Kataeseng1 Ms. Usa Nabudchom2
1 นักศึกษาปรญิ ญาตรสี าขาการบัญชี วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี E-mail: [email protected]
2ครชู านาญการพเิ ศษ แผนกวิชาการบญั ชี วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี E-mail: [email protected]
บทคัดยอ่
การวิจัยในคร้ังนี้มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ 1. เพอื่ ศึกษาสภาพปญั หาและแนวทางการบรหิ ารระบบบัญชี
ซ้ือสินค้าและเจ้าหนี้ 2. เพ่ือพัฒนาและประเมินความเหมาะสมของระบบบัญชีซื้อสินค้าและเจ้าหนี้ โดย
โปรแกรม CD Organizer 3 เพื่อทดลองใช้คู่มือการบันทึกบัญชีระบบซ้ือสินค้าและเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม
CD Organizer 4 เพื่อติดตามผลการทดลองใช้คู่มือการบันทึกบัญชีระบบซ้ือสินค้าและเจ้าหน้ี โดย
โปรแกรม CD Organizer
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทาเอกสารระบบบัญชีซื้อสินค้าและเจ้าหน้ี โดย
พบว่าพนักงานบัญชมี ีการเปลยี่ นแปลงเขา้ ออกอยู่เป็นประจา และไม่ทราบขั้นตอนและวธิ ีการดาเนินงานท่ี
ถูกต้อง ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะท่ีจะจัดทา “คู่มือขั้นตอนการจัดทาเอกสารประกอบการจ่ายค่าสินค้าและ
เจ้าหนี้” โดยมีการพัฒนาและประเมินความเหมาะสมของระบบบัญชีซื้อสินค้ าและเจ้าหน้ี และได้มีการ
ทดลองใช้คู่มือการบันทึกบัญชีระบบซื้อสินค้าและเจ้าหน้ี โดยให้พนักงานสามารถนาคู่มือนี้ไปใช้ได้ และ
เกิดประโยชน์ในการทางาน และเป็นท่ีพึงพอใจมาก เพราะช่วยทาให้งานทาได้ง่ายข้ึน และใช้ได้ท้ัง
พนกั งานท่เี คยทางานมาแลว้ และนักศกึ ษาทจี่ บใหม่ท่ีมาเริ่มงาน จะมีรายละเอียดขน้ั ตอนของเอกสารและ
การบนั ทึกบัญชที ่ถี กู ตอ้ ง เมือ่ พนกั งานได้ใชค้ มู่ ือแล้วไดต้ ดิ ตามผลการทดลองใชเ้ ปน็ ทีน่ า่ พึงพอใจมาก
คาสาคัญ : คู่มือการบันทึกบัญชีระบบบัญชีซ้ือสินค้าแลเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม CD Organizer, พนักงาน
บัญชีและนักศึกษาท่จี บใหม่
385
บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี
ABSTRACTS
The objectives of this research are: 1. To study problem conditions and
management guidelines for the accounting system, purchases of goods and payables 2. To
develop and evaluate the appropriateness of the accounting system for purchases of
goods and payables by the CD Organizer 3 program to try out the recording manual.
Accounts Payable and Accounts Payable by CD Organizer 4 Program to follow up on trial
results, manual for accounting system for purchases and payables by CD Organizer
program.
The results of the research were as follows: Problems and obstacles in
documenting accounting systems, purchases of goods and payables. It was found that the
accounting staff changed in and out on a regular basis. And do not know the correct
procedure and method of operation the researcher has suggestions to make. "Guide for
the Documentation Procedures for Payment of Goods and Accounts Payable" with the
development and assessment of the suitability of the accounting system, purchases of
goods and payables. And there was a trial of the manual for accounting records, purchasing
systems and payables. By allowing employees to use this manual And benefit in work And
it is very satisfying Because it makes the job easier And can be used by both employees
who have worked before And new graduates who come to start work There will be
detailed procedures for documents and accurate accounting records. Once the staff had
used the manual, they followed up on the results of the trial, which was very satisfying.
Keywords: Accounting Bookkeeping Manual, Buying Accounting System and Accounts
Payable by CD Organizer program, accounting staff and new graduates.
386
ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครั้งที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2563
1. บทนา
บริษัท เอ็ม ดี ไอ โฮมโปรดักส์ อินดัสทร้ี จากัด และบริษัทในเครือ ได้เปิดทาการผลิต จาหน่าย
วอลล์เปเปอร์หรือกระดาษติดฝาผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ พร้อมติดตั้ง เป็นเวลานานกว่า 20 ปี บริษัทฯ มี
การนาเข้าและจาหน่ายสินค้าส่งออกไปยังประเทศต่างๆ เป็นท่ีรู้จักของประเทศเพ่ือนบ้าน และเป็นบริษทั
ชั้นนาในเร่ืองวอลล์เปเปอร์ และมีโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง บริษัทมีการทาการค้ากับบริษัทร่วมค้า
มากมาย มีการซ้ือสินค้า และวัตถุดิบในการผลิต และมีการต่อเติมตกแต่งภายในบ้าน อาทิเช่น การทา
ผ้าม่าน รางม่าน มู่ลี่ กระดาษติดฝาผนัง สินค้าบางรายการบริษัทก็มีความจาเป็นต้องส่ังจากบริษัทช้ันนา
อน่ื ๆ เพื่อมาทาการติดต้งั และท่ผี า่ นมาบริษัทมคี วามน่าเช่อื ถอื และมีเครดิตทด่ี ีโดยตลอดมา
จากโครงสร้างการทางานของบริษัท ประกอบด้วยฝ่ายบัญชี, ฝ่ายจัดส่ง, ฝ่ายหน้าร้าน,ฝ่ายไอที,ฝ่าย
คลังสินค้า,ฝ่ายขาย,ฝ่ายจัดซ้ือ ซ่ึงแต่ละฝ่ายจะมีหน้าท่ีมีการงานของแต่ละคนแตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะงานท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั แผนกบัญชี ซ่งึ ไดแ้ ก่ การบนั ทึกบัญชีในโปรแกรม, เปดิ ใบเสร็จรับเงินให้ลูกค้าและลูกหน้ี, รบั เงินสด-เช็ค
จากการขายสินค้า จ่ายเงินสดย่อยในค่าใช้จ่ายตา่ งๆ และจา่ ยเชค็ ใหก้ ับเจ้าหน้ี ปญั หาท่ีพบไดบ้ ่อยคือ ความล่าช้าของ
การบนั ทึกบญั ชเี ก่ียวกับสินค้าในโปรแกรม CD จงึ มผี ลทาใหไ้ มส่ ามารถชาระหน้ีแก่เจ้าหน้ีได้ทันตามกาหนด ปัญหาท่ี
ตามมาคือ การสั่งซ้ือคร้ังต่อมา จะถูกปฏิเสธทาให้ไม่สามารถจัดซ้ือสินค้ามาเพ่ือขายและใช้ในสานักงานได้อย่าง
ต่อเนื่อง ในการบันทึกบัญชี เกี่ยวกับสินค้าในโปรแกรม CD จะต้องใช้พนักงานบัญชีท่ีมีประสบการณ์การทางาน
สามารถจัดทาเอกสารการบันทึกบัญชีวิเคราะห์รายการค้าได้อย่างเชย่ี วชาญ และเมื่อมีการลากิจ ลาป่วย หรือลาออก
ทาให้เกิดปัญหางานท่ีทาหยุดชะงัก เพราะไม่สามารถมีพนักงานอื่นเข้ามาทาแทนได้ และเม่ือมีพนักงานเข้ามาใหม่ก็
จะไม่ทราบถึงขั้นตอนการบริหารงานระบบบัญชีซื้อสินค้าและเจ้าหน้ี เพราะไม่มีคู่มือในการทางาน และไม่มีคนคอย
สอนงานอย่างละเอียดถี่ถ้วน จึงไม่สามารถทาเอกสารประกอบการจ่ายเช็คให้กับบริษัทคู่ค้าได้ทันเวลาที่กาหนด
เนื่องจากบริษัทมีการกาหนดการจ่ายเช็คให้กับคู่ค้า ทุกวันท่ี 25 ของทุกเดือน และต้องการให้คู่ค้าได้รับเช็คตาม
ระยะเวลาท่ีกาหนด ถ้าคู่ค้าไม่ได้รับเช็คตามระยะเวลาท่ีกาหนด จะเกิดปัญหาหลายอย่างตามมา อาทิ คู่ค้าเกิดความ
ไม่พอใจและขาดความเช่ือม่นั ในตวั บรษิ ัทฯ คคู่ า้ บางรายกไ็ ม่ให้สง่ั สินค้า หรอื บางรายก็ไมใ่ หเ้ ครดติ กับทางบริษทั
จากสภาพปัญหาขั้นต้นเพอ่ื ให้การจัดทาบัญชีสินค้าและเจ้าหนี้ เป็นไปอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันกับการชาระหนี้
และมีสนิ คา้ ใชต้ ลอดเวลาไม่ให้ขาดชว่ งผู้วจิ ัยจึงมแี นวคดิ ในการพัฒนาคมู่ อื งานระบบบัญชีซอื้ สนิ คา้ และเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม
CDOrganizerโดยออกแบบกระบวนการจัดทาคู่มือแสดงข้ันตอนการจัดทาเอกสารและการบันทึกบัญชี คู่มือการใช้โปรแกรม
CDOrganizerทเ่ี ก่ียวกับบัญชีซอ้ื สนิ คา้ และเจ้าหนี้ เพื่อใหบ้ รษิ ทั สามารถนาไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตอ่ ไป
จากสภาพปัญหาขั้นต้นเพือ่ ให้การจัดทาบัญชีสินค้าและเจ้าหนี้ เป็นไปอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ทันกับการชาระหน้ี
และมสี นิ ค้าใช้ตลอดเวลาไม่ใหข้ าดชว่ งผ้วู จิ ยั จงึ มแี นวคดิ ในการพฒั นาคูม่ ืองานระบบบญั ชีซอ้ื สนิ คา้ และเจา้ หนี้ โดยโปรแกรม
CDOrganizerโดยออกแบบกระบวนการจัดทาคู่มือแสดงขน้ั ตอนการจัดทาเอกสารและการบันทึกบัญชี คู่มือการใช้โปรแกรม
CDOrganizerท่เี กี่ยวกบั บญั ชีซื้อสนิ คา้ และเจ้าหน้ี เพ่ือให้บรษิ ัทสามารถนาไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตอ่ ไป
387
บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี
2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
2.1 เพอื่ พัฒนาและประเมนิ ความเหมาะสมของระบบบัญชีซอื้ สินค้าและเจา้ หนี้ โดยโปรแกรมCDOrganizer
2.2 เพ่ือทดลองใช้คมู่ ือการบันทึกบญั ชีระบบซ้อื สินค้าและเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม CD Organizer
2.3 เพ่อื ตดิ ตามผลการทดลองใชค้ ู่มอื การบันทึกบญั ชรี ะบบซื้อสินค้าและเจ้าหนี้ โดยโปรแกรม CD Organizer
3. วธิ ีการดาเนนิ การวิจยั
การวิจัย เรื่อง สภาพปัญหาการบริหารงานระบบบัญชีซื้อสินค้าและเจ้าหนี้ เพื่อให้พนักงานท่ีเข้า
มาใหม่ และทีม่ อี ยู่สามารถทางานไดถ้ กู ต้องตามกระบวนการบัญชี โดยมวี ิธกี ารดาเนินงานวจิ ยั ดังน้ี
ขัน้ ตอนที่ 1 ศกึ ษาสภาพปัญหาและแนวทางการบรหิ ารระบบบญั ชซี ้ือสนิ คา้ และเจ้าหนี้
ขนั้ ตอนที่ 2 พฒั นาและประเมินความเหมาะสมของระบบบัญชีซ้ือสินค้าและเจ้าหนี้ โดยโปรแกรม CDOrganizer
ขน้ั ตอนที่ 3 ทดลองใช้คมู่ อื การบนั ทึกบัญชีระบบซ้ือสินคา้ และเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม CD Organizer
ขนั้ ตอนท่ี 4 ตดิ ตามผลการทดลองใช้คมู่ ือการบันทกึ บัญชีระบบซ้ือสินคา้ และเจา้ หนี้ โดยโปรแกรม
CD Organizer
4. ขอบเขตของการวจิ ัย
การศึกษาค้นคว้าครั้งน้ี ผู้วิจัยมุ่งศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการบริหารระบบบัญชีซ้ือสินค้า
และเจา้ หน้ี โดยโปรแกรม CD Organizer โดยกาหนดขอบเขตไว้ 3 ดา้ น ดงั น้ี
4.1 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
4.1.1 การพัฒนาคู่มือการบันทึกบัญชีระบบซ้ือสินค้าและเจ้าหนี้ โดยโปรแกรม CD Organizer ศึกษา
เฉพาะระบบบัญชีซื้อสินค้าและเจา้ หน้ี โปรแกรม CD Organizer ของ บริษทั เอ็มดีไอ โฮมโปรดักส์ อินดัสทร้ี จากัด
4.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ผูว้ ิจัยกาหนดประชากรตามขั้นตอนการวจิ ัย ดังน้ี
4.2.1 ข้ันศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางของคู่มือการบันทึกบัญชีระบบซ้ือสินค้าและเจา้ หนี้
โดยโปรแกรม CD Organizer ประชากรทัง้ หมด ได้แก่ พนกั งานบัญชบี รษิ ทั ฯ ทงั้ หมด 30 คน
4.2.2 ขั้นพัฒนาและประเมนิ ความเหมาะสมของค่มู ือการบันทึกบัญชีระบบซื้อสนิ คา้ และ
เจ้าหน้ี โดยโปรแกรม CD Organizer ประเมินความเหมาะสมของคู่มือ โดยกลมุ่ เปา้ หมายซงึ่ เปน็
ผู้เช่ียวชาญ จานวน 9 คน ทีม่ ีคุณสมบตั ิ ดงั นี้ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และมปี ระสบการณท์ างานไม่
น้อยกว่า 3 ปี ในดา้ นการบริหารระบบบญั ชี ดา้ นการบันทกึ บัญชี และดา้ นสาระสนเทศ
4.2.3 ขั้นทดลองใช้คู่มือการบันทึกบัญชีระบบซื้อสินค้าและเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม CD
Organizer โดยนาไปทดลองใชก้ ับประชากร ไดแ้ ก่ พนกั งานบัญชี รวมทงั้ สนิ้ 30 คน
4.2.4 ข้ันประเมินและติดตามการทดลองใช้คู่มือการบันทึกบัญชีระบบซื้อสินค้าและเจ้าหน้ี
โดยโปรแกรม CD Organizer ไดแ้ ก่ พนกั งานบัญชี รวมทัง้ ส้ิน 30 คน ของผ้ทู ่นี าคมู่ อื ไปทดลองใช้
388
ประชุมวิชาการนวตั กรรมและเทคโนโลยบี ณั ฑิต ครั้งท่ี 5 ประจาปีการศึกษา 2563
5. ผลการวิจัย
5.1 ผลการประเมนิ คา่ ดชั นีความสอดคล้องของคณุ ภาพคมู่ ือ (IOC) จากผู้เช่ยี วชาญ
การประเมินความเหมาะสมของคู่มือท่ีพัฒนาข้ึนได้จากการศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์รายการ
และรวบรวมข้อมูลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน เพื่อพิจารณาและให้
คาปรึกษา ข้อแนะนา เพื่อปรับปรุงรูปแบบให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องสามารถนาไปใช้งานโดยการ
พฒั นาค่มู อื งานระบบบญั ชซี ้ือสินค้าและเจ้าหน้ี โดยได้ผลการประเมินจากผู้เช่ียวชาญว่ามีความสอดคล้องกัน
5.2 ผลการสารวจขอ้ มลู ทั่วไปของพนกั งานบญั ชี บรษิ ทั เอม็ ดไี อ โฮมโปรดักส์ จากัด
ข้อมูลทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเปน็ ร้อยละ90.00มอี ายรุ ะหวา่ ง20-30ปี
การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คดิ เป็นรอ้ ยละ66.67ประสบการณ์ทางานอยู่ในชว่ งระหว่าง2-5ปี คิดเป็นรอ้ ยละ43.33
5.3 ผลการวิเคราะห์ระดับข้ันตอนคู่มือการบันทึกบัญชีระบบซ้ือสินค้าและเจ้าหน้ี โดยโปรแกรม CD
Organizer โดยประมาณทั้ง 2 ดา้ น คอื ด้านความรู้ความสามารถ ดา้ นเอกสารและวธิ ีการทางบัญชี โดยหาค่าเฉลีย่ และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าคะแนนเฉล่ีย ( ̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับความพึงพอใจต่อผู้ใช้ท่ีมีต่อ
คมู่ ือการบนั ทึกบญั ชรี ะบบซื้อสนิ ค้าและเจา้ หนี้ โดยโปรแกรม CD Organizer ท้งั 2 ด้าน ดังน้ี
ลาดบั รายการประเมนิ S.D. แปล
ความหมาย
1 ดา้ นความรคู้ วามสามารถ 3.98 0.07 มาก
2 ด้านเอกสารและวธิ ีการทางบัญชี 3.90 0.05 มาก
3.86 0.04 มาก
รวม
จากตาราง พบว่าระดับความพึงพอใจของผู้ใช้คู่มือการบันทึกบัญชีระบบซ้ือสินค้าและเจ้าหน้ี
โดยโปรแกรม CD Organizer โดยรวมอยู่ในระดับมาก เท่ากับ ( ̅= 3.86) เม่ือพิจารณาเป็นด้าน ได้แก่
ดา้ นความรคู้ วามสามารถ เท่ากบั ( ̅= 3.98) และดา้ นเอกสารและวธิ กี ารทางบัญชี เทา่ กบั ( ̅= 3.90)
6. สรุปผล และข้อเสนอแนะ
จากผลดาเนินการพัฒนาคู่มืองานระบบบัญชีซ้ือสินค้าและเจ้าหนี้ โดยโปรแกรม CDOrganizerพบว่าคู่มือท่ี
สรา้ งขึน้ มีประสทิ ธภิ าพและรายละเอียดเนือ้ หาของคูม่ อื งานระบบบัญชีซ้อื สินคา้ และเจา้ หน้ี โดยโปรแกรม CDOrganizer
ดา้ นความรู้ความสามารถ พบว่า บคุ ลากรผใู้ ชโ้ ดยภาพรวมอยู่ในระบบมากเกือบทกุ ข้อ ตามลาดับ
ได้แก่ มีความรู้ความเข้าใจให้คาแนะนาและตอบข้อซักถามตรงกับความต้องการ รองลงมา ให้บริการ
ด้วยความสะดวกรวดเร็ว มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีสุภาพและเป็นมิตร มีความเอาใจใส่กระตือรือร้น และเต็มใจ
ในการให้บริการ การนาคู่มือมาใช้ในองค์กรถือได้ว่านวัตกรรมท่ีมุ่งให้องค์กร เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึง
เป็นการเปล่ียนแปลงที่สาคัญที่ผู้บริหารจาเป็นต้องให้ความสนใจและใส่ใจ มิฉะน้ันอาจส่งผลกระทบต่อ
องคก์ รได้
389
บทความผลงานวจิ ัย นวตั กรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดับปริญญาตรี
ด้านกระบวนการ/ขน้ั ตอน พบว่า บคุ ลากรผู้ใชโ้ ปรแกรม CD Organizer โดยภาพรวมอยู่ในระบบ
มากเกือบทุกข้อ ตามลาดับ ได้แก่ ขั้นตอนการทางานของคู่มือชัดเจน และเข้าใจง่าย รองลงมาคือ ผู้ใช้
สามารถเข้าใจและเรียนรู้โดยใช้คู่มือการใช้โปรแกรม CD Organizer ได้ด้วยตนเองกับผู้ใช้สามารถแก้ไข
ขอ้ ผดิ พลาดได้ด้วยตนเอง และการทางานดว้ ยการใชค้ มู่ ือมีความยากลาบากตอ้ งใชค้ วามสามารถมาก ผใู้ ช้
สามารถใช้คู่มือได้ดีกว่าเดิมหลงั จากไม่เคยมีคู่มือมาก่อนกับคู่มือตรงตามความต้องการของผู้ใช้ คู่มือมีการ
จาแนกเมนูการทานได้อย่างชัดเจน คู่มือสามารถช่วยแบ่งเบาภาระงานของผู้ใช้ได้ คู่มือสามารถช่วยทาให้
งานแม่นยาและถูกต้อง เพื่อตอบสนองความต้องการข้อมูล หรือสารสนเทศโดยภาพรวม ทาให้การใช้คู่มอื
นัน้ มีความสะดวกรวดเรว็ มากขนึ้ ทาให้องค์กรมีความกา้ วหน้า ขอ้ ผดิ พลาดลดนอ้ ยลง ประหยัดเวลาในการ
ทางานมากขน้ึ สามารถทางานอ่ืนๆ
ข้อเสนอแนะ
จากผลการจัดทา คูม่ อื งานระบบบัญชซี ้อื สนิ คา้ และเจ้าหนี้ โดยโปรแกรม CD Organizer ผู้จัดทา
ได้ขอเสนอแนวทางในการ แก้ไขปัญหาจากการใช้งานโปรแกรม CD Organizer ของระบบงานบัญชีของ
บริษทั เอม็ ดีไอ โฮมโปรดกั ส์ อินดัสทร้ี จากดั ตามลาดับ ดงั น้ี
ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือเป็นแนวทางให้องค์กรให้ความสาคัญในการพัฒนา ทักษะของ
ผู้ใช้งานและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการใช้คู่มือ การใช้คู่มือสามารถทาให้การพัฒนาทักษะของ
ผู้ใช้งานเพ่ิมมากขึ้น และองค์กรยังได้รับประโยชน์ในด้านอ่ืน เช่น การแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง และ
รายละเอยี ดขน้ั ตอนการทางานมีเขา้ ใจง่ายมากขึ้น
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรเป็นไปตามทิศทางเดียวกัน ควรจัดทาคู่มือ
ขึ้นใหค้ รบทุกตาแหน่งเหมาะแกก่ ารใชง้ าน และ ผใู้ ชง้ านใหมส่ ามารถใช้งานคมู่ อื ไดจ้ รงิ
ด้านสิง่ อานวยความสะดวก เพ่ือเปน็ แนวทางในการปรับปรุงบริษัทให้เหน็ ถึงความสาคัญของพนักงาน
เอกสารอา้ งอิง
ชลติ พนั ธ์ บญุ มีสุวรรณ. (2547). การวางระบบบญั ชี. พมิ พ์คร้งั ท่ี2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั หวั เฉยี ว 390
เฉลิมพระเกยี รต.ิ
พะยอม สิงห์เสน่ห์ และนรนี ุช เมฆวชิ ยั . การบัญชีการเงนิ . กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, 2533.
วารสารมหาวิทยาลยั นครพนม : ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561.
ศศิกานต์ นวลขาว. คูม่ อื การใช้งานโปรแกรมบญั ชี เล่ม 1. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเทพฯ : บจก. คอมพ์
ดเี วลลอปเปอร,์ 2537
สุพาดา สริ ิกตุ ตา. การบญั ชเี บือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท., 2531.
อรุณี อยา่ งธารา. การบญั ชกี ารเงิน. พิมพค์ รง้ั ท่ี 9. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์
2542.
ประชุมวชิ าการนวัตกรรมและเทคโนโลยีบณั ฑิต ครง้ั ที่ 5 ประจาปีการศกึ ษา 2563
การพัฒนาระบบการจัดการสินคา้ คงคลงั ให้มีคุณภาพ ดว้ ยโปรแกรม Excel Barcode
Development a quality Inventory management system
with Excel Barcode program
น.ส.กุสุมา บุญศรัทธา ปรญิ ญาตรี
บทคดั ย่อ
โครงการ การพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลังให้มีคุณภาพ ด้วยโปรแกรม Excel Barcode มี
วัตถุประสงค์ 1.เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลังด้วยด้วยโปรแกรม Excel Barcode 2.เพื่อประเมิน
ประสิทธิภาพของระบบการจัดการสินค้าคงคลัง ด้วยโปรแกรม Excel Barcode ที่พัฒนาข้ึนประชากรและ
กลุ่มตัวอย่างเป็นการคัดเลือกจากฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับงานสินค้าคงคลัง ได้แก่ พนักฝ่ายที่เก่ียวข้องของ บริษัท
พีค อีควิปเม้นท์ แอนด์ ซัพพลาย จากัด รวมทั้งส้ิน 20 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดาเนินโครงการคือ 1.
แบบสอบถามสภาพปัญหาในการควบคุมสิน ค้าคงคลัง 2. แบบประเมินความหมาะสมของระบบการจัดการ
คลังสินค้าด้วยโปรแกรม Excel Barcode ท่ีพัฒนาข้ึน 3.แบบประเมินผลการปฏิบัติหลังการใช้งานของระบบ
การจัดการสินค้าคงคลัง ด้วยโปรแกรม Excel Barcode ที่พัฒนาข้ึน กับผลการปฏิบัติงานหลังการใช้ระบบ
การจัดการสินค้าคงคลังด้วยโปรแกรม Excel Barcode และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า
ความสอดคลอ้ ง คา่ รอ้ ยละค่าเฉล่ีย และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาสภาพปัญหาก่อนการนาระบบการจัดการสินค้าคงคลัง ด้วยโปรแกรม Excel Barcode
พบวา่ มปี ัญหาดา้ นการจดั เก็บและการดูแลรักษามากทสี่ ดุ จานวน 70 รายการ คดิ เปน็ ร้อยละ 48.28 รองลงมา
คือ ด้านการจดั การสนิ ค้า จานวน 45 รายการ คดิ เปน็ ร้อยละ 31.03 และดา้ นเอกสาร จานวน 30 รายการ คิด
เป็นรอ้ ยละ 20.69
ผลการพัฒนาระบบการจัดการคลังสินค้าให้มีคุณภาพ ด้วยโปรแกรม Excel Barcode หลังจากการ
นาระบบการจัดการคลังสินค้า ด้วยโปรแกรม Excel Barcode มาใช้ พบว่ามีปัญหาด้านการจัดเก็บและการ
ดูแลรักษาลดลงมากท่ีสุด จานวน 70 รายการ คิดเป็นร้อยละ 51.43 รองลงมาคือ ด้านการจัดการสินค้า
จานวน 45 รายการ คิดเป็นรอ้ ยละ 46.67 และดา้ นเอกสาร จานวน 30 รายการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.67
391
บทความผลงานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี
Abstract
Inventory management system development project To have quality with Excel
Barcode program has a purpose 1. To develop an inventory management system with Excel
Barcode 2. To evaluate the efficiency of the inventory management system with the Excel
Barcode developed program. Involved in Peak Equipment and Supply Co., Ltd. totaling 20
people. The tools used in the project are: 1. Inventory control problem questionnaire 2.
Evaluation of the suitability of the warehouse management system with the developed Excel
Barcode program. Inventory management system with Excel Barcode program developed on
the performance after using the inventory management system with Excel Barcode and
statistics used for data analysis by finding the consistency. Mean percentage value And
standard deviation.
The results of the study of problems before implementing the inventory management
system with Excel Barcode program found that there were 70 items of storage and
maintenance problems, accounting for 48.28 percent, followed by product management,
totaling 45 items. Is 31.03 percent and documents are 30 items, accounting for 20.69 percent
The results of the development of a quality warehouse management system with
Excel Barcode program after applying the warehouse management system with Excel Barcode
program found that the storage and maintenance problems were reduced the most 70 items
or 51.43 percent. Followed by management products 45 items, accounting for 46.67 percent
and documents, 30 items, accounting for 46.67 percent.
392
ประชมุ วิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยบี ัณฑิต คร้งั ท่ี 5 ประจาปกี ารศึกษา 2563
1.บทนา
ในปัจจุบันระบบรหัสแท่ง (BAR CODE) ได้ เข้ามามีบทบาทต่อธุรกิจการค้า ในประเทศไทยมากข้ึน เพราะ
ผปู้ ระกอบการธุรกจิ ไดเ้ หน็ ถึงประโยชน์ของการใชร้ หสั แท่ง (BAR CODE) วา่ สามารถทาใหล้ ดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานได้ใน
ระยะยาวและสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงานท่ีซ้าซ้อน ประหยัดเวลา และท่ีสาคัญเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการวาง
แผนการบริหารเพื่อยกมาตรฐานของสินค้าและสร้างศักยภาพเชิงแข่งขันในต่างประเทศด้วย ในการนารหัสแท่ง (BAR CODE)
ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะสามารถนามาใช้ในธุรกิจอุตสาหกรรม เกี่ยวกับขายส่งและผู้ผลิต
อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทางด้านการผลิตเก่ียวกับวัตถุดิบ งาน
ระหวา่ งผลิต งานตรวจสอบ และสินค้าสาเร็จรูป ตา่ ง ๆ ตลอดจนนามาใช้ในการบริการลูกค้า ที่จดุ ขาย ทาใหม้ ีความรวดเร็วใน
การบริการลูกค้า และการรวบรวมข้อมูลทางการขายตัดสต๊อกสินค้าได้ทันที และทาให้สะดวกต่อการตรวจนับสินค้าคงเหลือ
ดว้ ย
จากการท่ีผู้จัดทาโครงการทางานสานักงานบัญชีและได้รับผิดชอบทาบัญชีเก่ียวกับบริษัทต่าง ๆ ได้
สงั เกตว่ากระบวนการทางาน บริษัท พีค อีควิปเมน้ ท์ แอนด์ ซัพพลาย จากัด ประกอบกิจการผลติ และจาหน่าย
สินค้าประเภท วัสดุอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ เช่น สายไฟ Yazaki, Fuhrer ตู้คอนโทรล,
อินเวอร์เตอร์, พีแอลซี, Hitachi, Unicon, สาย R 6-6 คอมสโครป เป็นต้น ซ่ึงแต่ละประเภท มีหลากหลาย
แบบและหลายขนาดขนาด เกิดจากการบันทึกข้อมูลด้วยมือ จึงถือเป็นความยุ่งยากนามาซึ่งความเสี่ยง ท่ี
ผู้ปฏิบัติงานจะลืมบันทึกข้อมูล หรือบันทึกข้อมูลได้ไม่ครบถ้วน ทาให้ยากต่อการตรวจนับสินค้า นอกจากน้ี
ผูจ้ ัดทาโครงการยังพบว่า ระบบการจดั เก็บสินคา้ ท่ีไม่มรี ะเบียบ ในบางคร้งั รายงานสนิ คา้ คงคลงั ไม่ตรงกบั สินค้า
ที่มอี ย่จู รงิ ทาให้ไมส่ ามารถทจ่ี ะตรวจสอบสนิ ค้าได้
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื พฒั นาระบบการจัดการสินคา้ คงคลังใหม้ ีคณุ ภาพ ดว้ ยโปรแกรม Excel Barcode
2. เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบการจัดการสินค้าคงคลงั ดว้ ยโปรแกรม Excel Barcode
สมมุติฐาน
1. ระบบการจัดการสินค้าคงคลังให้มีคุณภาพ ด้วยโปรแกรม Excel Barcode ที่พัฒนาข้ึน ผ่านการ
ประเมินความเหมาะสมในระดับมาก
2. ประสิทธิภาพของระบบการจดั การสินค้าคงคลังใหม้ ีคุณภาพ ด้วยโปรแกรม Excel Barcode
ผลการประเมินอยูใ่ นระดับมาก
วิธดี าเนินงานวิจยั
การจัดทาโครงการ “การพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลังให้มีคุณภาพ ด้วยโปรแกรม Excel
Barcode” คร้ังนี้ ผู้จัดทาโครงการมุ่งเน้นศึกษาและพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลังให้มีคุณภาพ ด้วย
โปรแกรม Excel Barcode ให้มีประสิทธิภาพ โดยมีวิธีการดาเนินโครงการ สรุปเป็นแผนภาพได้ให้มีคุณภาพ
ดงั นี้
393
บทความผลงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี