The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 2) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

(สําเนา)

พระราชบัญญตั ิ
ประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต

__พ__.ศ__. ๒__๕_๔_๒___
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒
เปนปท ี่ ๕๔ ในรัชกาลปจ จุบัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรใหมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ

จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ขนึ้ ไวโ ดย
คาํ แนะนําและยินยอมของรฐั สภา ดังตอ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู นเ้ี รยี กวา “พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ
รัฐธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๔๒”

มาตรา ๒1[๑] พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวัน
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลกิ
(๑) พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวง
ราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘

หมวด ๙
การขดั กันระหวา งประโ_ย_ช_น__ส_ว _น_บ_คุ__ค_ล_และประโยชนสวนรวม

มาตรา ๑๐๐ หามมิใหเจาหนา ที่ของรฐั ผใู ดดาํ เนนิ กจิ การ ดังตอ ไปน้ี
(๑) เปนคูสัญญาหรือมีสวนไดเสียในสัญญาท่ีทํากับหนวยงานของรัฐท่ีเจาหนาที่
ของรัฐผนู ้ันปฏบิ ตั ิหนา ที่ในฐานะทเ่ี ปนเจา หนาทข่ี องรฐั ซ่ึงมีอํานาจกาํ กบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบ
หรือดําเนินคดี

___________________________________

1[๑] ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๑๖/ตอนท่ี ๑๑๔ ก/หนา ๑/๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๒

๘๙๔

(๒) เปน หนุ สว นหรอื ผถู อื หนุ ในหา งหนุ สว นหรอื บรษิ ทั ทเ่ี ขา เปน คสู ญั ญากบั หนว ยงาน
ของรฐั ท่เี จา หนา ท่ขี องรฐั ผูน้ันปฏิบตั ิหนาท่ใี นฐานะท่เี ปน เจาหนา ทข่ี องรฐั ซ่งึ มอี ํานาจกํากบั ดูแล
ควบคุม ตรวจสอบ หรอื ดาํ เนินคดี

(๓) รบั สมั ปทานหรือคงถือไวซึ่งสมั ปทานจากรัฐ หนว ยราชการ หนวยงานของรัฐ
รฐั วสิ าหกจิ หรือราชการสว นทอ งถิ่น หรอื เขา เปนคสู ัญญากบั รัฐ หนวยราชการ หนว ยงานของรฐั
รัฐวิสาหกจิ หรือราชการ สวนทอ งถ่นิ อันมลี กั ษณะเปน การผกู ขาดตัดตอน ทง้ั น้ี ไมวา โดย
ทางตรงหรือทางออม หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีรับสัมปทานหรือ
เขา เปนคสู ญั ญาในลกั ษณะดงั กลาว

(๔) เขาไปมีสวนไดเสียในฐานะเปนกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือ
ลกู จา งในธรุ กจิ ของเอกชนซ่งึ อยูภายใตการกํากบั ดแู ล ควบคุม หรอื ตรวจสอบของหนว ยงาน
ของรฐั ทเ่ี จา หนา ทข่ี องรฐั ผนู น้ั สงั กดั อยหู รอื ปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นฐานะเปน เจา หนา ทข่ี องรฐั ซง่ึ โดยสภาพ
ของผลประโยชนข องธุรกิจของเอกชนนนั้ อาจขัดหรือแยงตอ ประโยชนส ว นรวม หรือประโยชนทาง
ราชการ หรอื กระทบตอ ความมีอสิ ระในการปฏบิ ตั ิหนาทีข่ องเจา หนาท่ขี องรัฐผูนน้ั

เจาหนาที่ของรัฐตําแหนงใดท่ีตองหามมิใหดําเนินกิจการตามวรรคหน่ึงใหเปนไป
ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

ใหน าํ บทบญั ญตั ใิ นวรรคหนง่ึ มาใชบ งั คบั กบั คสู มรสของเจา หนา ทข่ี องรฐั ตามวรรคสอง
โดยใหถือวา การดําเนินกิจการของคูสมรสดงั กลาว เปนการดําเนินกจิ การของเจาหนา ท่ขี องรัฐ

มาตรา ๑๐๑ ใหนาํ บทบญั ญตั ิมาตรา ๑๐๐ มาใชบงั คับกบั การดาํ เนินกจิ การของ
ผซู ่ึงพนจากการเปน เจาหนา ทีข่ องรัฐมาแลวยังไมถึงสองป โดยอนุโลม เวน แตการเปน ผูถือหุน
ไมเ กนิ รอ ยละหาของจํานวนหุนทงั้ หมดทจี่ ําหนายไดใ นบรษิ ทั มหาชนจํากดั ซงึ่ มิใชบรษิ ัทท่ีเปน
คูสัญญากับหนวยงานของรัฐตามมาตรา ๑๐๐ (๒) ที่ไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวย
หลกั ทรัพยและตลาดหลกั ทรพั ย

๘๙๕

(สําเนา)

ดว นทีส่ ุด
สวนราชการ กระทรวงมหาดไทย สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย (สบจ.) โทร. ๐-๒๒๒๑-๙๒๐๐ มท ๕๐๕๘๓

ที่ มท ๐๒๑๒.๑ / ว ๓๖๑๑ วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๕

เรือ่ ง การดาํ เนนิ การตามประกาศคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ
เรื่อง หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการ จดั ทาํ และแสดงบัญชรี ายรบั จา ยของโครงการที่บคุ คลหรือ
นิตบิ ุคคลเปน คสู ัญญากบั หนวยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๕๔

เรยี น อธิบดีกรมทด่ี นิ

ดวยในคราวประชุมคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาติดตามการบริหารงบประมาณ
ของหนวยงานราชการ หนวยงานของรฐั รฐั วสิ าหกิจ และองคกรเอกชนทเี่ กีย่ วของในการใหค วาม
ชว ยเหลือผปู ระสบอทุ กภัย ป พ.ศ. ๒๕๕๔ ในคณะกรรมาธิการติดตามการบรหิ ารงบประมาณ
สภาผูแทนราษฎร เมื่อวันพุธท่ี ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ หอ งประชมุ กรรมาธกิ าร
หมายเลข ๒๐๙ ช้นั ๒ อาคารรัฐสภา ๒ นัน้

คณะอนกุ รรมาธิการฯ ไดใ หข อสงั เกตวา กรณีเอกชนทเี่ ปนคูส ัญญากับหนว ยงาน
ของรัฐในการรับจายเงนิ ตามโครงการเพ่อื ใหค วามชว ยเหลือ ฟน ฟู เยยี วยาผไู ดรบั ผลกระทบจาก
สถานการณอ ทุ กภยั จงั หวดั ทไ่ี มไ ดด าํ เนนิ การเปด บญั ชกี ระแสรายวนั ขน้ึ มาเฉพาะเพอ่ื การรบั จา ย
เงนิ แตไ ดเ ปด ใชบ ัญชอี อมทรพั ยแทน ซึง่ ขดั กบั หลักเกณฑแ ละวิธีการตามประกาศคณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ปปช.) เร่อื ง หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการจัดทําและแสดง
บญั ชีรบั จายของโครงการทบ่ี ุคคลหรอื นิติบุคคลเปนคูสัญญากับหนวยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๕๔
หมวด ๕ มาตรการเพือ่ ใหห นว ยงานของรัฐปฏิบัติ ตามขอ ๑๕ ระบใุ หห นว ยงานของรฐั กาํ หนด
เง่ือนไขและคุณสมบัติของบุคคลและนิติบุคคลท่ีจะเขามาเปนคูสัญญาและกําหนดใหคูสัญญา
ตอ งปฏิบัติตาม ขอ (๓) คสู ัญญาตองรับจายเงนิ ผานบญั ชีเงินฝากกระแสรายวนั เวน แตการรับ
จา ยเงินแตล ะครัง้ ซ่ึงมมี ูลคา ไมเกินสามหมืน่ บาทคสู ัญญาอาจรบั จา ยเปนเงินสดได รายละเอียด
ปรากฏตามเอกสารที่สงมาพรอ มนี้

จึงเรียนมาเพ่ือทราบและถือปฏิบัติตามประกาศของคณะกรรมการปองกันและ
ปราบปรามการทุจริตแหงชาตโิ ดยเครง ครดั

(ลงช่อื ) ประชา เตรัตน
(นายประชา เตรัตน)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ริ าชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

๘๙๖

(สําเนา)

ประกาศคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ
เรอ่ื ง หลกั เกณฑและวธิ กี ารจัดทาํ และแสดงบัญชรี ายการรับจา ยของโครงการ

ท่บี คุ คลหรือนติ ิบุคคลเปนคูสญั ญากับหนวยงานของรฐั
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๔____

โดยท่ีเปนการสมควรกําหนดหลักเกณฑและวิธีการจัดทําและแสดงบัญชีรายการ
รบั จายของโครงการ ท่ีบคุ คลหรือนิตบิ คุ คลเปนคสู ัญญากบั หนวยงานของรัฐ เพื่อใหเ ปน ไปตาม
กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปองกนั และปราบปรามการทุจริต

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๑๐๓/๗ วรรคสอง และวรรคสี่ แหงพระราช
บญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไ ข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการทุจริต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่ง
มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของ
รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ใิ หกระทําไดโ ดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญตั แิ หง
กฎหมายคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ จึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ
ทจุ ริตแหงชาติ เรือ่ ง หลกั เกณฑและวธิ ีการจัดทําและแสดงบัญชีรายการรับจา ยของโครงการที่
บุคคลหรือนติ บิ ุคคลเปนคสู ัญญากบั หนว ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๔”

ขอ ๒ ประกาศนีใ้ หม ผี ลใชบังคบั ตั้งแตว ันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เปน ตน ไป
ขอ ๓ ในประกาศน้ี
“คสู ัญญา” หมายความวา บุคคลหรือนิตบิ คุ คลท่ีเปน คูสัญญากับหนวยงานของรฐั
“บัญชแี สดงรายรับรายจา ย” หมายความวา บัญชีแสดงรายการรบั จายเงนิ ของ
โครงการตามสัญญาที่บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐตองจัดทําและยื่น
ตอ กรมสรรพากร
“หนว ยงานของรฐั ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม ราชการสว นภูมิภาค ราชการ
สว นทองถิน่ รฐั วสิ าหกิจ องคก ารมหาชน องคก รตามรฐั ธรรมนูญ หรือหนวยงานอนื่ ของรฐั ตามท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกาํ หนด
“สญั ญา” หมายความวา สญั ญาทกุ ประเภททีท่ าํ ขน้ึ เพ่ือดําเนินการตามโครงการใน
การจัดหาพัสดุหรือการพัสดุและบริการไมวาดวยวิธีการจัดซื้อหรือการจัดจางหรือใหทุนสนับสนุน
หรือวธิ ีอนื่ ใดของหนวยงานของรฐั และใหหมายความรวมถงึ บนั ทึกขอ ตกลงหรือบันทกึ แนบทา ย
สัญญาซง่ึ มีผลเปน การแกไขสญั ญาในสวนทเ่ี ปนสาระสาํ คญั ดว ย

๘๙๗

“รายรับ” หมายความวา จํานวนเงินท่ีคูสัญญาไดรับจากหนวยงานของรัฐ
อนั เน่ืองจากการไดป ฏบิ ตั ิตามสญั ญาหรือเกยี่ วเนอื่ งกับสญั ญา หรอื รายรบั อน่ื ๆ ทีก่ าํ หนดไวให
คสู ัญญาไดร ับ

“รายจาย” หมายความวา จาํ นวนเงินที่คูสัญญาไดจ ายไปท้งั สนิ้ เพื่อการปฏิบัติให
เปน ไปตามสญั ญาหรือเกยี่ วเนอ่ื งกับสัญญา

ขอ ๔ ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติรักษาการ
ตามประกาศน้ีและใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีอํานาจตีความ
และวนิ ิจฉยั ชี้ขาดปญหาทเี่ กิดขนึ้ จากการบงั คบั ใชประกาศนี้

หมวด ๑
___บ__ท_ท_ั่ว_ไ_ป____

ขอ ๕ ใหคูสัญญาตามสัญญาซึ่งมีมูลคาต้ังแตหาแสนบาทข้ึนไปจัดทําบัญชีแสดง
รายรบั รายจายและยนื่ ตอ กรมสรรพากรตามแบบแนบทา ยประกาศนี้

การเปนคสู ัญญากบั หนวยงานของรัฐตามวรรคหนง่ึ ใหน บั แตวันท่มี กี ารลงนามใน
สัญญาหรอื ถอื วา ไดมีสัญญาเกดิ ขึ้นแลว

ขอ ๖ กรณีทีค่ สู ัญญาไมอาจปฏบิ ัตติ ามประกาศนีไ้ ด เน่อื งจากเปนนติ ิบุคคลท่ี
ต้งั ข้ึนตามกฎหมายของตา งประเทศ และไมมีตัวแทนหรอื ผูแทนในประเทศ แตมกี ารสง มอบหรอื
ใหบริการในประเทศ และหนวยงานของรัฐไดชําระเงินตามสัญญาใหแกคูสัญญาออกไปตาง
ประเทศโดยตรง คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกําหนดหลกั เกณฑและวธิ ีการเพือ่ ใหค สู ญั ญาปฏิบัติ
กไ็ ด

ขอ ๗ ใหสํานักงาน ป.ป.ช. จัดใหมีการเชื่อมโยงขอมูลตามประกาศน้ีระหวาง
กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร และสํานกั งาน ป.ป.ช.

หมวด ๒
การจัดทําบ__ญั __ช_แี _ส_ด_ง_ร_า_ย_ร_บั รายจาย

ขอ ๘ ในการบันทึกรายรับรายจายเพื่อจัดทําและแสดงบัญชีรายรับรายจายตอ
กรมสรรพากรตามประกาศนี้ ใหค ูสญั ญาบันทกึ รายรับรายจายทเ่ี กดิ ข้นึ ในแตละรอบระยะเวลา
บญั ชหี รือรอบปภาษีนน้ั แลว แตก รณี โดยแยกเปนรายโครงการตามสัญญา

ขอ ๙ เพื่อประโยชนใ นการตรวจสอบตามขอ ๑๓ นอกจากคูสัญญาตอ งจดั ทาํ และ
แสดงบัญชรี ายรบั รายจา ยตอกรมสรรพากรตามแบบแนบทายประกาศนีแ้ ลว ใหค สู ญั ญาบนั ทึก

๘๙๘

บญั ชีเปนรายโครงการตามสัญญา โดยใหเ ก็บและรักษาเอกสารหลกั ฐานประกอบไว ณ สถาน
ประกอบการหรอื ทีอ่ ยอู าศัยของคสู ญั ญาเปน ระยะเวลาไมน อยกวาหา ปน ับแตวันสน้ิ สดุ ระยะเวลา
สญั ญาหรอื จนกวา การดําเนนิ การตามขอ ๑๓ เสรจ็ สิ้น

หมวด ๓
วธิ ีการยนื่ บ__ัญ__ช_แี _ส_ด_ง_ร_า_ย_ร_บั รายจา ย

ขอ ๑๐ ใหคูสญั ญายนื่ บัญชีแสดงรายรับรายจายตอกรมสรรพากร โดยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนกิ สต ามกําหนดระยะเวลา ดังตอไปนี้

(๑) กรณีบคุ คลธรรมดาเปนคูสญั ญากับหนว ยงานของรฐั
(ก) หากการรับจายเงินตามสัญญาท้ังหมดเสร็จสิ้นภายในปภาษีเดียวกัน

ใหย น่ื พรอมกับการย่นื ชาํ ระภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดาของปภาษนี น้ั
(ข) หากการรับจายเงินตามสัญญาท้ังหมดมิไดเสร็จส้ินภายในปภาษีเดียวกัน

ใหย่ืนบัญชีแสดงรายรับรายจายซึ่งประกอบดวยรายรับรายจายที่เกิดขึ้นในแตละปภาษีพรอมกับ
การยนื่ ชาํ ระภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดาของปภาษนี นั้

(๒) กรณีนติ ิบุคคลเปน คูสัญญากับหนวยงานของรัฐ
(ก) หากการรับจายเงินตามสัญญาทั้งหมดเสร็จสิ้นภายในรอบระยะเวลาบัญชี

เดียวกันใหยื่นเมื่อส้ินสุดรอบระยะเวลาบัญชีพรอมกับการย่ืนชําระภาษีเงินไดนิติบุคคลของรอบ
ระยะเวลาบญั ชนี ัน้

(ข) หากการรับจายเงินตามสัญญาท้ังหมดมิไดเสร็จสิ้นภายในรอบระยะเวลา
บัญชีเดียวกันใหย่ืนบัญชีแสดงรายรับรายจายซ่ึงประกอบดวยรายรับรายจายท่ีเกิดข้ึนในแตละ
รอบระยะเวลาบัญชีพรอมกบั การย่ืนชาํ ระภาษีเงนิ ไดน ติ บิ ุคคลของรอบระยะเวลาบญั ชนี ั้น

ใหค ูส ัญญาย่นื บญั ชแี สดงรายรับรายจา ยตอ กรมสรรพากรตาม (๑) และ (๒) จนกวา
จะสิน้ สดุ ภาระผูกพันตามสญั ญา

หมวด ๔
การตรวจสอ_บ_บ__ัญ_ช_ีแ__ส_ด_ง_ร_า_ยรับรายจา ย

ขอ ๑๑ กรณีที่คูสัญญาไดยื่นบัญชีงบดุลประจําปหรือย่ืนชําระภาษีเงินไดของบุคคล
หรือนติ บิ ุคคลแลวแตกรณี ใหกรมสรรพากรตรวจสอบวา คูสญั ญาไดย ืน่ บญั ชแี สดงบญั ชรี ายรบั
รายจายดว ยหรือไม

กรณกี รมสรรพากรตรวจพบวาคสู ญั ญารายใดไมย ื่นบญั ชีแสดงรายรับรายจาย ให
รายงานคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ เพอ่ื ดําเนนิ การตามอาํ นาจหนาทตี่ อ ไป

๘๙๙

ขอ ๑๒ กรมสรรพากรอาจนําบัญชีแสดงรายรับรายจายของโครงการไปพิจารณา
ประกอบการตรวจสอบบัญชีงบดุลประจําปของนิติบุคคลหรือตรวจภาษีเงินไดของบุคคลหรือ
นติ ิบคุ คล แลวแตกรณตี ามทเ่ี ห็นสมควรกไ็ ด

ขอ ๑๓ ในกรณปี รากฏจากการตรวจสอบหรือการไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
วาคูสัญญาใดที่มีสวนเกี่ยวของกับการทุจริตของเจาหนาที่ของรัฐหรือแสดงบัญชีรายรับรายจาย
ไมถ ูกตอ งครบถว นในสาระสาํ คัญ หรือกรณมี ีความจําเปนท่ีจะตอ งตรวจสอบธุรกรรมทางการ
เงินหรือการชําระภาษเี งินไดข องบุคคลหรอื นิติบคุ คลนน้ั แลว แตกรณี ใหคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ประสานงานและสั่งใหหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของรับเร่ืองดังกลาวไปดําเนินการตามอํานาจ
หนา ที่ แลวใหห นวยงานของรฐั น้ันรายงานผลการดาํ เนินการใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ
ตอ ไป หรือในกรณจี าํ เปนตอ งเขา ถึงขอ มูลของหนว ยงานหรือสถาบนั การเงินใหนาํ ระเบยี บคณะ
กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติวาดวยการเขาถึงขอมูลของหนวยงานหรือ
สถาบนั การเงินมาใชบังคับ

หมวด ๕
มาตรการเพ_ือ่ _ใ_ห_ห _น__ว _ย_ง_า_น_ข_องรฐั ปฏบิ ตั ิ

ขอ ๑๔ เพ่ือประโยชนใ นการปองกนั และปราบปรามการทุจริต ในการดาํ เนินการ
เพอ่ื ใหไดม ซี ึ่งคูสัญญาตามขอ ๕ ใหหนวยงานของรฐั ตอ งปฏิบัตติ ามความในหมวดน้ี

ขอ ๑๕ ใหหนวยงานของรัฐกําหนดเง่ือนไขและคุณสมบัติของบุคคลหรือนิติบุคคลที่
จะเขาเปนคสู ัญญาและกาํ หนดใหคสู ญั ญาตองปฏบิ ตั ิ ดังนี้

(๑) บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเขาเปนคูสัญญาตองไมอยูในฐานะเปนผูไมแสดง
บัญชรี ายรบั รายจา ย หรอื แสดงบญั ชีรายรบั รายจา ยไมถ ูกตองครบถว นในสาระสาํ คญั

(๒) บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเขาเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐซึ่งไดดําเนินการ
จัดซ้อื จัดจา งดวยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (e-Government Procurement : e-GP) ตามขอ ๑๖ ตอง
ลงทะเบียนในระบบอิเลก็ ทรอนกิ สของกรมบัญชีกลางที่เว็บไซตศูนยข อ มลู จดั ซ้อื จดั จางภาครฐั

(๓) คสู ัญญาตอ งรับจายเงนิ ผานบัญชเี งนิ ฝากกระแสรายวนั เวน แตการรบั จา ยเงนิ
แตละครัง้ ซงึ่ มมี ูลคา ไมเกนิ สามหมืน่ บาทคสู ัญญาอาจรับจายเงนิ สดก็ได

ขอ ๑๖ ใหหนวยงานของรัฐซึ่งดําเนินการจัดซื้อจัดจางดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
(e-Government Procurement : e-GP) ของกรมบญั ชีกลาง บันทกึ ขอ มูลของคูสญั ญาท่ีตอง
แสดงบัญชีรายรบั รายจา ยในระบบอิเลก็ ทรอนิกสด ังกลาวดวย

หนวยงานของรัฐใดท่ีมิไดดําเนินการจัดซื้อจัดจางดวยระบบอิเล็กทรอนิกสของ
กรมบญั ชกี ลาง (e-Government Procurement : e-GP) ใหร ายงานขอมลู ของคูสญั ญาทต่ี อง
แสดงบญั ชรี ายรับรายจา ยตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. และกรมสรรพากร

๙๐๐

ขอ ๑๗ หามมิใหหนวยงานของรัฐกอนิติสัมพันธกับบุคคลหรือนิติบุคคลซ่ึงไดมีการ
ระบุช่ือไวใ นบญั ชรี ายชือ่ วา เปนคสู ญั ญาทไ่ี มไดแ สดงบัญชรี ายรบั รายจาย หรือแสดงบัญชีรายรับ
รายจายไมถกู ตอ งครบถว นในสาระสาํ คัญ เวนแตบุคคลหรือนติ บิ ุคคลนน้ั จะไดแ สดงบญั ชีรายรับ
รายจายตามประกาศน้ีหรือไดมีการปรับปรุงแกไขใหถูกตอง และมีการสั่งเพิกถอนรายชื่อจาก
บญั ชดี งั กลาวแลว

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔
ปานเทพ กลาณรงคราญ

ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ

๙๐๑

๙๐๒

รายการท่ี ๑ รายได รายจาย และกาํ ไรหรือขาดทุนสุทธิ จํานวนเงนิ

๑. รายไดโดยตรงตามสัญญา
๒. หัก ตน ทุนขายหรือรายจายเพอ่ื คํานวณกําไรข้ันตน (จากรายการท่ี ๒)
๓. ■ กาํ ไรข้นั ตน ■ ขาดทนุ ข้นั ตน
๔. รายไดอนื่ (จากรายการที่ ๔)
๕. รวม (๓. + ๔.) ถาขาดทนุ (๔. – ๓.)
๖. หัก รายจา ยอน่ื (จากรายการที่ ๕)
๗. รวม (๕. – ๖.) ถาขาดทนุ (๕. + ๖.)
๘. หกั รายจา ยในการขายและบรหิ าร (จากรายการท่ี ๖)
๙. ■ กาํ ไรสุทธิ ■ ขาดทนุ สทุ ธิ ตามบัญชกี ําไรขาดทุน

รายการท่ี ๒ ตนทนุ ขายหรือรายจายเพ่ือคํานวณกําไรข้นั ตน จํานวนเงนิ

๑. สนิ คาคงเหลอื ณ วันเรม่ิ รอบระยะเวลาบัญชี
๒. สนิ คา สาํ หรับโครงการสทุ ธิ (๒.๑ + ๒.๒ – ๒.๓)

๒.๑ ซือ้ สินคาสาํ หรับโครงการ
๒.๒ บวกสินคา ท่ไี ดร ับโอนจากคลังใหญหรือโครงการอ่ืน
๒.๓ หักสินคาทไ่ี ดโ อนใหคลงั ใหญห รอื โครงการอนื่
๓. ตนทุนการผลติ (จากรายการที่ ๓ ขอ ๑๗)
๔. คาแหงกดู วิลล คา แหง ลิขสิทธิ์ หรือสิทธอิ ยางอ่นื
๕. คา ใชจายอน่ื ๆ ในการซือ้ สินคา
๖. รวม ๓. ถึง ๕.
๗. รวม (๑. + ๒. + ๖.)
๘. หัก สนิ คาคงเหลือ ณ วนั สดุ ทา ยของรอบระยะเวลาบัญชี
๙. ตนทุนขายหรอื รายจา ยเพอ่ื คาํ นวณกําไรขั้นตน (๗. – ๘.)

๙๐๓

รายการท่ี ๓ ตน ทุนผลิต จํานวนเงนิ

๑. วตั ถดุ ิบ และวสั ดคุ งเหลอื ณ วนั เร่ิมรอบระยะเวลาบญั ชี
๒. วตั ถุดบิ และวัสดุ (๒.๑ + ๒.๒ – ๒.๓)

๒.๑ ซือ้ วตั ถุดิบและวัสดุ สาํ หรบั โครงการสทุ ธิ
๒.๒ วตั ถดุ บิ และวัสดุ ทไี่ ดรบั โอนจากคลังใหญห รอื โครงการอ่นื
๒.๓ หักวตั ถดุ ิบและวัสดุ ที่ไดโ อนใหคลังใหญหรือโครงการอืน่
๓. คา ใชจา ยอ่ืนๆ ในการซอื้ วัตถุดบิ และวัสดุ
๔. รวม ๑ + ๒ + ๓
๕. หัก วตั ถดุ บิ และวัสดุคงเหลือ ณ วนั สดุ ทายของรอบระยะเวลาบัญชี
๖. ตน ทนุ วัตถุดิบ และวัสดุใชไป (๔. – ๕.)
๗. งานระหวางทํา หรือสินคา ระหวางผลติ คงเหลือ ณ วนั เร่ิมรอบระยะเวลาบญั ชี
๘. เงินเดือน และคาจา งแรงงาน
๙. คา แหง กดู วิลล คา แหง ลขิ สทิ ธิ์ หรอื สิทธิอยางอ่นื
๑๐. คาเชือ้ เพลิงหรือพลังงาน
๑๑. คาภาชนะบรรจุ คาหบี หอ
๑๒. คา สึกหรอและคาเสื่อมราคา
๑๓. คา ใชจ ายในการผลติ อ่นื ๆ
๑๔. รวม ๘. ถงึ ๑๓.
๑๕. รวม (๖. + ๗. + ๑๔.)

๑๖. หัก งานระหวา งทําหรือสนิ คาระหวา งผลติ คงเหลอื ณ วันสุดทายของรอบ
ระยะเวลาบญั ชี

๑๗. ตนทนุ ผลิต (๑๕.– ๑๖.)

รายการท่ี ๔ รายไดอน่ื จาํ นวนเงิน

๑. กาํ ไรจากการจาํ หนายทรพั ยส นิ
๒. กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
๓. ดอกเบย้ี รบั
๔. เงินปน ผลหรือสว นแบง กําไร
๕. เงนิ ชดเชยคาภาษอี ากร
๖. รายไดอนื่ ที่นอกเหนือจาก ๑. ถงึ ๕.
๗. รวม ๑. ถึง ๖.

๙๐๔

รายการท่ี ๕ รายจา ยอื่น จํานวนเงนิ
จํานวนเงนิ
๑. ขาดทุนจากการจําหนายทรพั ยส นิ
๒. ขาดทนุ จากอตั ราแลกเปล่ยี น
๓. ดอกเบ้ยี จา ย
๔. รายจายอ่นื นอกเหนอื จาก ๑. ถึง ๓.
๕. รวม ๑. ถงึ ๔.

รายการที่ ๖ รายจา ยในการขายและบริหาร

๑. รายจา ยเกีย่ วกบั พนกั งาน
๒. คาตอบแทนกรรมการ
๓. คาไฟฟา คาประปา คา โทรศัพท
๔. คาพาหนะ รายจา ยในการเดนิ ทาง คาทพี่ กั
๕. คาระวาง คาขนสง
๖. คาเชา
๗. คาซอมแซม
๘. คารบั รอง
๙. คา นายหนา คา โฆษณา คา สงเสรมิ การขาย
๑๐. คา ภาษีธุรกิจเฉพาะ
๑๑. คาภาษีอากรอน่ื ๆ
๑๒. ดอกเบยี้ จา ย
๑๓. คาสอบบัญชี
๑๔. รายจายเพื่อการกุศลสาธารณะ
๑๕. รายจายเพ่ือการศกึ ษาหรอื เพ่ือการกฬี า
๑๖. คา ธรรมเนียมในการใหค ําแนะนําและปรึกษา
๑๗. คา ธรรมเนยี มอื่น
๑๘. หนส้ี ญู
๑๙. คาสกึ หรอและคา เสือ่ มราคาของทรพั ยส นิ
๒๐. รายจา ยอ่นื นอกเหนือจาก ๑. ถึง ๑๙.
๒๑. รวม ๑. ถึง ๒๐.

๙๐๕

รายการท่ี ๗ รายละเอียดการรบั เงนิ และจา ยเงนิ จาํ นวนเงนิ

ดานรายได
๑) ไดรบั เปนเงินสด
๒) ไดร บั เขาบญั ชีเงนิ ฝากธนาคาร
๓) เปนลูกหนค้ี า งชาํ ระเงิน
๔) ไดปรบั ปรุงบัญชีเปนรายไดคา งรับ
๕) รายการทีน่ อกเหนอื จาก (๑) – (๔)

รวมรายได

ดา นรายจาย
๑) ไดจ า ยเปนเงินสด
๒) ไดจา ยโดยจายผา นบญั ชีเงนิ ฝากธนาคาร
๓) เปนเจา หนค้ี างชาํ ระ
๔) รายจายทเี่ กิดจากการปรบั ปรุงบญั ชีเปน คาใชจา ยคางจาย
๕) รายการที่นอกเหนอื จาก (๑) – (๔)

รวมรายจา ย

บญั ชเี งินฝากธนาคารท่ีใชในการรับจา ยเงินตามโครงการ และยอดเงนิ คงเหลอื
๑) บญั ชีเงนิ ฝากธนาคารเลขท่ี.......................................มยี อดคงเหลือ
๒) บญั ชีเงนิ ฝากธนาคารเลขที่.......................................มยี อดคงเหลือ
๓) บญั ชเี งินฝากธนาคารเลขท.่ี ......................................มียอดคงเหลือ
๔) บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารเลขท่.ี ......................................มยี อดคงเหลอื
๕) บญั ชเี งินฝากธนาคารเลขที่.......................................มียอดคงเหลือ

๙๐๖

รายการท่ี ๘ รายละเอียดสินทรัพย หนสี้ ิน และสว นของคูส ญั ญา จาํ นวนเงนิ

สินทรัพย
๑. สนิ ทรัพยหมุนเวียน

(๑) เงินสด
(๒) ธนาคาร
(๓) ลกู หนก้ี ารคา – สทุ ธิ
(๔) สนิ คา คงเหลอื
(๕) สินทรัพยห มุนเวียนอนื่ นอกจากทรี่ ะบใุ น (๑) ถงึ (๔)

๒. สินทรัพยไ มหมนุ เวยี น
(๑) เงินใหกยู ืมระยะยาวแกบุคคลหรือกจิ การท่ีเก่ียวของกนั
(๒) ทีด่ ิน และอาคารซึ่งหกั คาสึกหรอและคาเสื่อมราคาแลว
(๓) ทรัพยส ินอนื่ ซึ่งหักคาสึกหรือและคาเสื่อมราคาแลว
(๔) สทิ ธกิ ารเชา และหรอื สทิ ธกิ ารใชทรัพยสนิ
(๕) สนิ ทรัพยไ มห มนุ เวียนอื่น นอกจากท่ีระบุใน (๑) ถงึ (๔)
รวมสนิ ทรพั ย

หนส้ี ินและสว นของคสู ัญญา
๑. หนสี้ นิ หมุนเวียน

(๑) เงินเบกิ เกนิ บัญชแี ละเงินกูย ืมระยะสัน้ จากสถาบันการเงนิ
(๒) เจา หน้ีการคา
(๓) เงนิ กยู ืม
(๔) หน้สี ินหมนุ เวียน นอกจากทรี่ ะบุใน (๑) ถึง (๓)

๒. หนีส้ นิ ไมห มุนเวยี น
(๑) เงนิ กยู มื ระยะยาว
(๒) หน้สี ินไมห มุนเวยี นอื่น

รวมหนส้ี นิ

๓. สว นของคสู ญั ญา
(๑) เงินลงทนุ ของกจิ การ
(๒) อื่นๆ
(๓) ■ กาํ ไรสะสม ■ ขาดทนุ สะสม
รวมสว นของคสู ญั ญา

รวมหนสี้ นิ และสวนของคสู ัญญา

๙๐๗

รายละเอยี ดประกอบแบบ บช. ๑ ...................... แผน
...................... แผน
๑. รายละเอียดของรายได ...................... แผน
๒. รายละเอียดของรายจาย

...........................................................................

๙๐๘

รายละเอียดของรายได รายละเอยี ดประกอบ
แบบ บช.๑

ชอื่ คสู ญั ญา............................................................................

เลขท่ีสัญญา เลขคุมสัญญาในระบบ e–GP

(๑) (๒) (๓) (๔) (๕) รวม
รายได ไดรับเปนเงินสด ไดรบั เขาบญั ชี เปน ลกู หน้ี ไดปรับปรงุ บัญชี รายการท่ี
คางชําระเงิน เปน รายไดค า งรบั นอกเหนอื จาก
เงินฝากธนาคาร (ยอดคงเหลอื ) (เปนยอดคงเหลอื ) (๑) – (๔)

๙๐๙ ๑ รายไดโ ดยตรงตามสญั ญา
๒ รายไดอ ่ืน

๒.๑ กําไรจากการจําหนายทรพั ยส นิ
๒.๒ กาํ ไรจากอตั ราแลกเปล่ยี นเงินตรา
๒.๓ ดอกเบีย้ รบั
๒.๔ เงินปนผลหรอื สวนแบง กําไร
๒.๕ เงนิ ชดเชยคา ภาษอี ากร
๒.๖ รายไดอ ่ืนทีน่ อกเหนือจาก ๒.๑ ถงึ ๒.๕
๒.๗ รายไดอ ื่น
รวม (๑+๒.๗) ยกไปกรอกในแบบ รายการท่ี ๗

รายละเอียดประกอบ
แบบ บช.๑

รายละเอยี ดของรายจาย

ชื่อคูสญั ญา............................................................................

เลขทสี่ ญั ญา เลขคุมสญั ญาในระบบ e–GP

(๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
ไดรบั เปนเงนิ สด ไดร ับเขา บัญชี เปน ลูกหนี้ ไดป รบั ปรุงบัญชี รายการที่
รายได เงนิ ฝากธนาคาร คางชําระเงนิ เปน รายไดคางรบั นอกเหนือจาก รวม

(ยอดคงเหลือ) (เปนยอดคงเหลอื ) (๑) – (๔)

๙๑๐ ๑. ตนทนุ ขาย
๑.๑ สนิ คาคงเหลอื ณ วนั เรมิ่ รอบระยะเวลาบัญชี
๑.๒ สนิ คา สาํ หรับโครงการสทุ ธิ (๑.๒.๑ + ๑.๒.๒ – ๑.๒.๓)

๑.๒.๑ ซื้อสินคา สําหรบั โครงการ
๑.๒.๒ บวกสินคาท่ีไดรับโอนจากคลังใหญห รือโครงการอน่ื
๑.๒.๓ หักสินคาท่ไี ดโ อนใหคลังใหญหรือโครงการอ่นื
๑.๓ ตน ทุนการผลติ (จากรายการท่ี ๒ ขอ ๒.๑๗)
๑.๔ คา แหง กูดวลิ ส คาแหงลขิ สิทธิ์ หรือสิทธิอยางอน่ื
๑.๕ คาใชจ า ยอื่นๆ ในการซือ้ สนิ คา
๑.๖ รวม ๑.๓ ถงึ ๑.๕
๑.๗ รวม (๑.๑ + ๑.๒ + ๑.๖)
๑.๘ หกั สนิ คา คงเหลือ ณ วันสดุ ทายของรอบระยะเวลาบญั ชี
๑.๙ ตน ทุนขายหรือรายจา ยเพอื่ คํานวณกําไรข้นั ตน (๑.๗–๑.๘)
๒. ทุนการผลติ
๒.๑ วัตถุดิบ และวสั ดุคงเหลอื ณ วันเรม่ิ รอบระยะเวลาบญั ชี
๒.๒ วตั ถุดบิ และวัสดุ (๒.๒.๑ + ๒.๒.๒ – ๒.๒.๓)

(๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
ไดรับเปนเงนิ สด ไดร ับเขา บัญชี เปน ลูกหนี้ ไดปรบั ปรุงบญั ชี รายการท่ี
รายได เงินฝากธนาคาร คา งชําระเงิน เปน รายไดคางรบั นอกเหนอื จาก รวม

(ยอดคงเหลือ) (เปนยอดคงเหลอื ) (๑) – (๔)

๙๑๑ ๒.๒.๑ ซ้อื วตั ถุดบิ และวสั ดุ สําหรับโครงการ
๒.๒.๒ วัตถดุ บิ และวัสดุทไ่ี ดร บั โอนจากคลังใหญหรอื
โครงการอ่นื
๒.๒.๓ หกั วตั ถดุ ิบและวัสดุทไ่ี ดโอนใหค ลงั ใหญหรือ
โครงการอื่น
๒.๓ คา ใชจา ยอ่นื ๆ ในการซอื้ วตั ถุดบิ และวสั ดุ
๒.๔ รวม ๒.๑ ถึง ๒.๓
๒.๕ หัก วตั ถุดิบ และวสั ดคุ งเหลือ ณ วนั สดุ ทายของรอบระยะ
เวลาบญั ชี
๒.๖ ตน ทนุ วตั ถดุ บิ และวสั ดใุ ชไป (๒.๔ – ๒.๕)
๒.๗ งานระหวางทาํ หรือสนิ คา ระหวางผลติ คงเหลอื ณ วนั เร่มิ
รอบระยะเวลาบญั ชี
๒.๘ เงนิ เดือน และคา จางแรงงาน
๒.๙ คาแหง กูด วิลส คา แหงลิขสทิ ธ์ิ หรอื สิทธิอยางอืน่
๒.๑๐ คา เช้ือเพลงิ หรอื พลงั งาน
๒.๑๑ คา ภาชนะบรรจุ คาหีบหอ
๒.๑๒ คาสกึ หรอและคา เสอื่ มราคา
๒.๑๓ คาใชจายในการผลิตอ่นื ๆ
๒.๑๔ รวม ๒.๘ ถงึ ๒.๑๓
๒.๑๕ รวม (๒.๖ + ๒.๗ + ๒.๑๔)
๒.๑๖ หักงานระหวา งทาํ หรอื สินคาระหวางผลติ คงเหลอื ณ
วันสดุ ทา ยของรอบระยะเวลาบญั ชี
๒.๑๗ ตนทุนผลติ (๒.๑๕ – ๒.๑๖)

รายได (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) รวม
ไดรบั เปนเงินสด ไดรับเขา บญั ชี เปนลกู หนี้ ไดป รบั ปรุงบัญชี รายการท่ี
๓. รายจายอ่ืน
๓.๑ ขาดทนุ จากการจําหนายทรัพยสนิ เงนิ ฝากธนาคาร คางชาํ ระเงนิ เปนรายไดคางรับ นอกเหนือจาก
๓.๒ ขาดทนุ จากอตั ราแลกเปลยี่ น (ยอดคงเหลือ) (เปน ยอดคงเหลอื ) (๑) – (๔)
๓.๓ ดอกเบ้ยี จา ย
๙๑๒ ๓.๔ รายจา ยอน่ื นอกเหนอื จาก ๓.๑ ถึง ๓.๓
๓.๕ รวม ๓.๑ ถงึ ๓.๔
๔. รายจา ยในการขายและบรหิ าร
๔.๑ รายจา ยเก่ยี วกบั พนกั งาน
๔.๒ คา ตอบแทนกรรมการ
๔.๓ คาไฟฟา คา ประปา คาโทรศพั ท
๔.๔ คาพาหนะ รายจา ยในการเดินทาง คา ทพ่ี ัก
๔.๕ คาระวาง คา ขนสง
๔.๖ คาเชา
๔.๗ คา ซอมแซม
๔.๘ คารับรอง
๔.๙ คานายหนา คา โฆษณา คา สง เสรมิ การขาย
๔.๑๐ คา ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ
๔.๑๑ คาภาษีอากรอืน่ ๆ
๔.๑๒ ดอกเบี้ยจา ย
๔.๑๓ คา สอบบญั ชี
๔.๑๔ รายจายเพื่อการกุศลสาธารณะ

(๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
ไดรบั เปนเงินสด ไดรบั เขา บญั ชี เปนลูกหนี้ ไดปรับปรงุ บญั ชี รายการท่ี
รายได เงนิ ฝากธนาคาร คา งชาํ ระเงนิ เปนรายไดคางรบั นอกเหนือจาก รวม

(ยอดคงเหลือ) (เปน ยอดคงเหลือ) (๑) – (๔)

๙๑๓ ๔.๑๕ รายจายเพอื่ การศกึ ษาหรอื เพ่ือการกฬี า
๔.๑๖ คา ธรรมเนยี มในการใหค ําแนะนําและปรกึ ษา
๔.๑๗ คาธรรมเนยี มอ่นื
๔.๑๘ หนีส้ ูญ

๔.๑๙ คา สกึ หรอและคาเสอ่ื มราคาของทรพั ยสิน

๔.๒๐ รายจายอน่ื นอกเหนอื จาก ๔.๑ ถงึ ๔.๑๙
๔.๒๑ รวม ๔.๑ ถึง ๔.๒๐
๕. รวมรายการคา ใชจาย

ตน ทนุ ขาย (ยกมาจากรายการท่ี ๑)
รายจา ยอืน่ (ยกมาจากรายการที่ ๓)
รายจายในการขาย และบริหาร (ยกมาจากรายการท่ี ๔)
รวม (ไปกรอกในแบบ รายการท่ี ๗)

๙๑๔


Click to View FlipBook Version