The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 2) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

๕๔๔

๕๔๕

๕๔๖

๕๔๗

๕๔๘

๕๔๙

๕๕๐

๕๕๑

๕๕๒

๕๕๓

๕๕๔

บญั ชรี ายช่อื หนงั สือเวยี น ระเบียบ และคําส่ังตางๆ
สาํ นกั มาตรฐานการทะเบียนทดี่ นิ
ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขท่หี นังสอื เวียน ช่ือเรอื่ ง หนา
ลาํ ดับท่ี ระเบยี บ คาํ ส่งั ๕๕๙

๒. ลงวนั เดือน ป

๑. ดว นทส่ี ุด
ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๑๔๔๙ การประกาศบญั ชีกําหนดราคาประเมนิ
ลว. ๑๙ ม.ค. ๕๕ ทนุ ทรพั ยอสังหารมิ ทรพั ย

๒. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ /ว ๓๙๑๗ การเรยี กเอกสารหลกั ฐานบตั รประจาํ ตวั ๕๖๒
ลว. ๘ ก.พ. ๕๕ ประชาชนของผเู ยาวอายุต้งั แต ๗ ปบรบิ ูรณ
ข้ึนไป

๓. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๕๒๐๐ พระราชบญั ญัตกิ ารเคหะแหง ชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) ๕๗๑
ลว. ๑๗ ก.พ. ๕๕ พ.ศ. ๒๕๕๐

๔. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๐๐๔ การปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญัตปิ องกนั และ ๕๘๑
ลว. ๑๓ ม.ี ค. ๕๕ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒

๕. ท่ี มท ๐๕๑๕.๒ / ว ๘๔๕๑ การรายงานเปล่ยี นแปลงทะเบียนการ ๕๘๓
ลว. ๑๕ มี.ค. ๕๕ ครอบครองท่ีดิน

๖. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๖๗๘ แนวทางปฏบิ ตั ิกรณที ่ีมผี มู ายนื่ คําขอ ๕๙๒
ลว. ๑๙ มี.ค. ๕๕ จดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิติกรรม หรอื กิจการอื่นๆ
เกีย่ วกับอสงั หารมิ ทรพั ยซ ง่ึ ไมสามารถ
ดําเนินการใหก ับผขู อได

๗. ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๖๘๙ ธนาคารนครหลวงไทย จาํ กดั (มหาชน) ๕๙๔
ลว. ๑๙ มี.ค. ๕๕ ยน่ื คาํ ขอจดทะเบียนโอนสิทธกิ ารรับจํานอง
ใหแกบริษทั บรหิ ารสินทรพั ย ที เอส จํากดั

๕๕๕

บัญชีรายชอื่ หนังสือเวียน ระเบยี บ และคําสัง่ ตางๆ
สํานักมาตรฐานการทะเบยี นทีด่ ิน
ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทหี่ นงั สอื เวียน ชือ่ เร่ือง หนา
ลําดบั ท่ี ระเบยี บ คําส่ัง

๒. ลงวัน เดอื น ป

๘. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๘๕๖ การจดทะเบยี นเปลย่ี นตัวผแู ทนผถู ือหุนกู ๕๙๗
ลว. ๒๐ มี.ค. ๕๕

๙. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๙๑๒๙ การตรวจสอบหนงั สอื มอบอาํ นาจทีท่ ําใน ๖๐๒

ลว. ๒๒ ม.ี ค. ๕๕ ตา งประเทศ

๑๐. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๑๓๗๘ การจดั เก็บคา ธรรมเนยี มกรณีสว นราชการ ๖๐๔

ลว. ๑๘ เม.ย. ๕๕ องคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ หรือรฐั วิสาหกจิ

ขอตรวจหลักฐาน ขอคดั หรือขอถายสําเนา

เอกสาร

๑๑. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๔๐๕๕ การเรยี กเอกสารหลกั ฐานประกอบการ ๖๐๗

ลว. ๑๘ พ.ค. ๕๕ จดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ ิกรรมและธรุ กรรมอนื่

เก่ยี วกบั อสงั หารมิ ทรัพย

๑๒. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๗๖๒๘ แจง รายชอ่ื บรษิ ทั บริหารสินทรัพยร ายใหม ๖๑๑
ลว. ๒๖ มิ.ย. ๕๕

๑๓. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๘๙๙๕ แนวทางปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการจําหนา ย ๖๑๔

ลว. ๑๑ ก.ค. ๕๕ บญั ชอี ายัด

๑๔. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๙๓๗๒ การดําเนินการตามมาตรา ๔๔ (๓) แหง ๖๑๖

ลว. ๑๒ ก.ค. ๕๕ พระราชบญั ญัตกิ ารจัดสรรท่ดี นิ พ.ศ. ๒๕๔๓

๕๕๖

บัญชรี ายช่อื หนังสอื เวียน ระเบียบ และคาํ ส่ังตางๆ
สํานักมาตรฐานการทะเบียนท่ดี นิ
ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทีห่ นังสือเวียน ชื่อเรอื่ ง หนา
ลาํ ดบั ที่ ระเบียบ คําสง่ั

๒. ลงวนั เดือน ป

๑๕. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๙๘๘๗ การยกเวน ภาษธี รุ กิจเฉพาะและอากรแสตมป ๖๒๐

ลว. ๑๗ ก.ค. ๕๕ การโอนอสงั หาริมทรพั ยกรณกี ารปรบั ปรงุ

โครงสรางองคกร

๑๖. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๐๑๐๖ การคัดสาํ เนาระวางแผนทีท่ ีด่ ินหรือสาํ เนา ๖๓๗

ลว. ๑๙ ก.ค. ๕๕ โฉนดทดี่ ินของการรถไฟแหงประเทศไทย

๑๗. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๒๔๕๕ ภาษเี งนิ ได ภาษธี รุ กจิ เฉพาะและอากรแสตมป ๖๓๘

ลว. ๑๕ ส.ค. ๕๕ กรณีจดทะเบียนโอนที่ดินเพือ่ บรจิ าคใหแ ก

สถานศึกษา

๑๘. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๓๐๒๑ กองทนุ ฟนฟแู ละพัฒนาเกษตรกรโอน ๖๔๘

ลว. ๒๐ ส.ค. ๕๕ อสงั หาริมทรัพยทต่ี กเปนของกองทุนตาม

มาตรา ๓๗/๙ แหง พระราชบัญญัติกองทุน

ฟน ฟูและพฒั นาเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๒

คืนใหแกเกษตรกรไมอยูในหลกั เกณฑต อ ง

เสยี ภาษีเงนิ ได

๑๙. ดว นทส่ี ดุ

ท่ี มท ๐๕๑๕.๒/ว ๒๖๓๘๑ ระเบยี บกรมทีด่ ินวา ดวยการจัดเกบ็ ๖๕๒

ลว. ๑๙ ก.ย. ๕๕ หนังสือแสดงสทิ ธิในทีด่ นิ สารบบท่ีดิน และ

สารบบส่ิงปลกู สราง พ.ศ. ๒๕๕๕

๒๐. ดว นท่ีสดุ

ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๘๑๑๔ ขยายระยะเวลาการลดคา ธรรมเนยี ม ๖๗๔

ลว. ๔ ต.ค. ๕๕ จดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมกรณกี ารปรบั ปรงุ

โครงสรา งหนี้

๕๕๗

บัญชีรายชือ่ หนังสอื เวยี น ระเบยี บ และคาํ สง่ั ตางๆ
สํานกั มาตรฐานการทะเบยี นท่ีดนิ
ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขท่หี นังสอื เวยี น ช่ือเร่ือง หนา
ลาํ ดับที่ ระเบียบ คาํ สั่ง

๒. ลงวนั เดอื น ป

๒๑. ดว นทส่ี ุด

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๘๖๙๔ การลดหยอนคา ธรรมเนียมจดทะเบยี น ๖๘๑

ลว. ๑๐ ต.ค. ๕๕ สิทธิและนติ กิ รรมเปน พเิ ศษ กรณีการปรบั ปรุง

โครงสรางหน้ขี องลูกหนท้ี ไี่ ดร บั ความเสยี หาย

โดยทางตรงหรอื ทางออมจากอทุ กภยั

๒๒. ที่ มท ๐๕๑๕.๒/ว ๒๙๒๕๖ ซอมความเขา ใจการขอตรวจสอบทะเบียน ๖๙๘

ลว. ๑๖ ต.ค. ๕๕ การครอบครองท่ีดนิ ไปยังกรมท่ดี ิน

๒๓. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๙๙๑๒ การรับคาํ ขอรังวดั สอบเขต แบง แยก ๖๙๙

ลว. ๒๒ ต.ค. ๕๕ และรวมโฉนดท่ีดนิ

๒๔. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๓๑๑๑๓ ระเบยี บกรมทด่ี นิ วา ดว ยการมอบอํานาจ ๗๐๐

ลว. ๒ พ.ย. ๕๕ ใหทาํ การจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมหรอื

กจิ การอน่ื เกย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ย พ.ศ.๒๕๕๕

๒๕. ดวนท่ีสดุ

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๓๒๗๐๖ การลดหยอ นคา ธรรมเนียมและยกเวน ๗๑๑

ลว. ๑๖ พ.ย. ๕๕ ภาษีอากรกรณปี รับปรงุ โครงสรา งหนี้

๒๖. ดว นท่สี ดุ

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๓๓๒๗๘ การลดหยอ นคา ธรรมเนยี มและยกเวน ๗๒๗

ลว. ๒๒ พ.ย. ๕๕ ภาษอี ากรกรณปี รับปรุงโครงสรา งหนีข้ อง

ลกู หน้ที ี่ไดร บั ความเสยี หายโดยทางตรงหรอื

ทางออมจากอทุ กภัย

๒๗. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๓๓๗๔๖ การจดทะเบียนควบบริษทั เขาดวยกันตาม ๗๔๓

ลว. ๒๙ พ.ย. ๕๕ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

๕๕๘

ดว นท่สี ดุ (สาํ เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๑๔๔๙
กรมทด่ี ิน
ศนู ยร าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๙ มกราคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง การประกาศบญั ชีกําหนดราคาประเมนิ ทุนทรพั ยอ สงั หารมิ ทรัพย
เรยี น ผวู า ราชการจงั หวดั ทุกจังหวดั
ส่งิ ทสี่ งมาดวย สําเนาหนงั สือกรมธนารักษ ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๓๑๔/๑๔๔๙๔

ลงวนั ท่ี ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔

กรมท่ดี นิ ขอสงสาํ เนาหนงั สอื กรมธนารกั ษ ดว นทีส่ ุด ท่ี กค ๐๓๑๔/๑๔๔๙๔
ลงวนั ท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ กรณีคณะกรรมการกาํ หนดราคาประเมินทุนทรัพยมีมติใหขยาย
เวลาการใชบัญชีกําหนดราคาประเมินทุนทรัพยที่ดินและบัญชีกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย
โรงเรอื นสง่ิ ปลูกสรา งรอบบัญชี ป พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ออกไปอกี ๖ เดอื น มาเพือ่ โปรดทราบ
และแจง ใหเจา หนา ทที่ ดี่ ินทราบและถอื ปฏบิ ัตติ อ ไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชอื่ ) อนวุ ฒั น เมธวี บิ ลู วฒุ ิ
(นายอนวุ ัฒน เมธีวิบลู วุฒิ)
อธบิ ดกี รมท่ีดิน

สาํ นักมาตรฐานการทะเบยี นทด่ี นิ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๐
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๕๕๙

ดว นทีส่ ุด (สําเนา)
ท่ี กค ๐๓๑๔ / ๑๔๔๙๔
กรมธนารกั ษ
ถนนพระรามท่ี ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
๓๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔

เรอ่ื ง การประกาศบัญชกี าํ หนดราคาประเมินทุนทรพั ยอ สังหารมิ ทรัพย
เรียน อธบิ ดีกรมทด่ี นิ

ตามทก่ี รมทด่ี ินไดม บี นั ทกึ ดว นทีส่ ุด ที่ มท ๐๕๐๕.๔/๓๒๗๖๗ ลงวันที่ ๘
ธนั วาคม ๒๕๕๔ ถงึ ปลดั กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย ไดม ีหนงั สือ ดวนทสี่ ดุ ที่ มท
๐๕๐๕.๔/๑๓๓๐๗ ลงวนั ที่ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ถึงรัฐมนตรีวา การกระทรวงการคลัง ขอให
กระทรวงการคลังมอบหมายใหคณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพยใชอํานาจตามขอ
๓๒ วรรคสอง ของระเบียบคณะกรรมการฯ ท่จี ะพจิ ารณาเห็นความจําเปน เพื่อประโยชนในทาง
เศรษฐกิจและสงั คม ขยายเวลาการใชบญั ชีกาํ หนดราคาประเมินทุนทรัพยของอสงั หาริมทรัพย
ฉบับปจจุบนั ออกไปอีกหน่งึ ป เพอ่ื เปน การชวยเหลือประชาชนดงั กลา วในการท่จี ะฟน ฟูที่อยอู าศยั
ใหม คี วามเปน อยูทดี่ ีขน้ึ จากการท่ีตองประสบอุทกภยั ไดท างหน่งึ อนั จะเปน ประโยชนต อประชาชน
อยางมาก นั้น

กรมธนารักษไดนําเรียนเสนอคณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย
พิจารณา ตามท่กี รมทดี่ นิ กระทรวงมหาดไทย เสนอในการประชุมคณะกรรมการกาํ หนดราคา
ประเมนิ ทุนทรัพย คร้งั ที่ ๒๕/๒๕๕๔ วันท่ี ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔ จากปญหาวิกฤตอุทกภัยทีเ่ กิด
ข้ึนในป ๒๕๕๔ สง ผลกระทบตอราษฎรท่ีไดร ับความเดือดรอน สูญเสียทรัพยส นิ จาํ นวนมาก และ
มผี ลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมทัง้ ทางตรงและทางออมอยา งกวางขวาง อาศัยอาํ นาจตาม
ความในมาตรา ๑๐๕ เบญจ แหง ประมวลกฎหมายทดี่ นิ ซ่งึ แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิ
แกไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายที่ดนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๔ ประกอบระเบยี บคณะกรรมการ
กําหนดราคาประเมนิ ทนุ ทรัพย ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๘) วาดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารในการ
กําหนดราคาประเมนทุนทรพั ยของอสังหาริมทรัพย เพอื่ เรียกเก็บคา ธรรมเนียมจดทะเบียนสทิ ธิ
และนิติกรรมคณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพยไดมีมติใหขยายเวลาการใชบัญชี
กําหนดราคาประเมินทุนทรัพยที่ดินและบัญชีกําหนดราคาประเมินทุนทรัพยโรงเรือนส่ิงปลูกสราง
รอบบัญชีป พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ออกไปอกี ๖ เดือน

๕๖๐

จงึ เรยี นมาเพือ่ แจง ใหสาํ นกั งานทดี่ ินจังหวัด สํานกั งานทดี่ ินจังหวัดสาขา และ
สาํ นกั งานท่ีดินอําเภอทราบ เพื่อดาํ เนินการตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชือ่ ) ชูชพี จิตรอ ําไพ

(นายชชู พี จติ รอําไพ)
ผูอ าํ นวยการสํานักประเมนิ ราคาทรพั ยส นิ ปฏบิ ัตริ าชการแทน

อธิบดกี รมธนารักษ

สาํ นกั ประเมนิ ราคาทรัพยส นิ
สวนประเมนิ ราคาทรพั ยสินในกรงุ เทพฯ ๑
โทรศพั ท ๐ ๒๑๔๒ ๒๔๒๕ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๘๗๕๗

๕๖๑

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๓๙๑๗ (สาํ เนา)

กรมท่ีดิน
ศนู ยร าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจง วฒั นะ
แขวงทงุ สองหอง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕

เรอ่ื ง การเรยี กเอกสารหลกั ฐานบัตรประจําตวั ประชาชนของผูเยาวอายุตัง้ แต ๗ ปบรบิ ูรณข ้ึนไป

เรยี น ผวู า ราชการจงั หวดั ทกุ จังหวดั

สิง่ ท่สี งมาดว ย สําเนาพระราชบัญญัตบิ ตั รประจาํ ตัวประชาชน (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔
จาํ นวน ๑ ฉบับ

ดวยปจจุบันไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติบัตรประจําตัวประชาชน
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึง่ แกไขเพ่มิ เติมพระราชบัญญตั บิ ัตรประจาํ ตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๘ ตอนท่ี ๓๔ ก ลงวนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ตาม
มาตรา ๒ กาํ หนดใหพ ระราชบัญญัตนิ ้ีมผี ลใชบ ังคับเม่ือพนกําหนดหกสิบวันนับแตวนั ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา จึงมีผลใชบ งั คบั ต้ังแตว นั ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เปน ตนไป ตามพระราช
บญั ญัติฉบบั นไ้ี ดแ กไขเพม่ิ เตมิ พระราชบัญญัติบตั รประจําตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซงึ่ แกไ ข
เพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิบตั รประจาํ ตวั ประชาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒ มีสาระสําคัญโดย
สรปุ คอื กาํ หนดใหบ คุ คลสญั ชาตไิ ทยซง่ึ มอี ายตุ ง้ั แตเ จด็ ปบ รบิ รู ณข น้ึ ไป แตไ มเ กนิ เจด็ สบิ ปบ รบิ รู ณ
และมีชื่อในทะเบียนบานตองมีบัตรประจําตัวประชาชน และตองยื่นคําขอมีบัตรตอพนักงาน
เจา หนา ท่ีตามพระราชบญั ญัตินภ้ี ายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด ตามมาตรา ๖ และมาตรา ๖
เบญจ แหง พระราชบญั ญตั บิ ัตรประจําตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ทแี่ กไขแลว หรือมาตรา ๑๖
แหง พระราชบัญญัตบิ ัตรประจาํ ตัวประชาชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ แลวแตก รณี แตห าก
พนักงานเจาหนาท่ีตามพระราชบัญญัติน้ีไมสามารถออกบัตรใหผูยื่นคําขอไดในวันเดียวกันให
ออกใบรับแกผูย่ืนคําขอ และใบรับหรือใบแทนใบรับนั้นใหใชไดเสมือนบัตรตามระยะเวลาที่
กาํ หนดไวในใบรบั หรอื ใบแทนใบรับ

กรมที่ดนิ พจิ ารณาแลวเห็นวา โดยท่ใี นการยนื่ คาํ ขอจดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ ิกรรม
พนกั งานเจา หนา ทม่ี อี าํ นาจสอบสวนคกู รณแี ละเรยี กบคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ งมาใหถ อ ยคาํ หรอื สง เอกสาร
หลักฐานที่เก่ียวของไดตามความจําเปนตามมาตรา ๗๔ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน และ
ตองสอบสวนถึงสิทธิความสามารถและความสมบูรณของนิติกรรมตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๗

๕๖๒

(พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญตั ใิ หใ ชประมวลกฎหมายทดี่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอ ๒
ประกอบกับตามคาํ สงั่ กรมทด่ี ิน ท่ี ๑๐/๒๔๗๕ เร่ือง การทาํ นิติกรรมเกย่ี วกบั อสังหารมิ ทรพั ยของ
ผูเ ยาว ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๔๗๕ กาํ หนดใหผปู กปกรักษาของผูเยาวน้นั ทําแทนผูเยาว และ
คาํ สง่ั กรมทด่ี นิ ที่ ๔/๒๕๐๖ เรอ่ื ง การสอบสวนสทิ ธขิ องผูมาทําการเกย่ี วกับทด่ี ิน ลงวันท่ี ๒๕
ธนั วาคม ๒๕๐๖ เวียนโดยหนงั สอื กรมทดี่ ิน ท่ี ๘๕๒๖ / ๒๕๐๖ ลงวันที่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๐๖
วางแนวทางปฏิบัตใิ นเรือ่ งการพจิ ารณาตัวบคุ คลผขู าย หรอื ผูจาํ นอง วา ถาไมเ ปน ทร่ี ูจักกค็ วร
ใหห าผทู ี่เชอื่ ถือไดม ารับรอง นอกจากน้ันก็ควรไดต รวจสอบสิง่ อ่ืนๆ ประกอบ เชน บตั รประจําตวั
ทม่ี ีอยตู ามกฎหมาย เปนตน และใหผ รู ับซอ้ื หรือผรู ับจาํ นอง รับรองอีกช้ันหน่ึงดว ย ดงั นน้ั เพอื่
ใหพนักงานเจาหนาท่ีถือปฏิบัติในการเรียกเอกสารหลักฐานบัตรประจําตัวประชาชนของผูเยาวที่
มอี ายุตงั้ แต ๗ ปบ ริบรู ณขึน้ ไปเพอื่ ประกอบการจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิติกรรมใหเ ปน ไปในแนวทาง
เดียวกนั จงึ ใหพ นกั งานเจา หนาทเ่ี รียกหลักฐานบัตรประจาํ ตัวประชาชน ใบรับหรอื ใบแทนใบรับ
ของผูเ ยาวท่ีออกตามความในพระราชบญั ญัติบัตรประจาํ ตัวประชาชน (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔
เพื่อใชเปนหลักฐานประกอบการพิจารณาตัวบุคคลตามคําสั่งกรมที่ดินดังกลาว แตหากผูขอ
จดทะเบียนไมส ามารถแสดงบัตรประจาํ ตัวประชาชน ใบรบั หรอื ใบแทนใบรับของผเู ยาวได ก็ให
พนักงานเจาหนาทสี่ อบสวนขอ เทจ็ จริง และบันทกึ ถอ ยคาํ บิดาและมารดา ผใู ชอาํ นาจปกครอง
หรือผูที่ควรเช่ือถือได เพื่อยืนยันจนเปนที่เชื่อไดวาผูเยาวมีตัวตนอยูจริงและมีสัญชาติไทยไว
เปน หลักฐาน แลวดาํ เนินการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมตอ ไปได พรอ มน้ไี ดสง สาํ เนาพระราช
บัญญัติบัตรประจาํ ตวั ประชาชน (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาเพื่อใหพนกั งานเจา หนา ที่ศึกษา
ทาํ ความเขาใจและถอื ปฏบิ ัตแิ ลว

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ และแจง ใหเจา หนาท่ที ดี่ ินทราบและถอื ปฏบิ ัตติ อ ไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชอ่ื ) อนุวฒั น เมธีวบิ ูลวุฒิ
(นายอนุวฒั น เมธีวบิ ลู วฒุ ิ)
อธบิ ดีกรมที่ดนิ

สาํ นักมาตรฐานการทะเบียนท่ดี นิ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๐
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๕๖๓

(สาํ เนา)

พระราชบัญญัติ
บตั รประจาํ ตวั ประชาชน (ฉบบั ท่ี ๓)

___พ_._ศ_._๒_๕__๕_๔___

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

เปนปที่ ๖๖ ในรัชกาลปจ จบุ นั

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา

โดยท่เี ปน การสมควรแกไขเพมิ่ เตมิ กฎหมายวา ดว ยบัตรประจําตวั ประชาชน
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภาดงั ตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติบัตรประจําตัวประชาชน
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเม่ือพนกําหนดหกสิบวันนับแตวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเปน ตนไป
มาตรา ๓ ใหย กเลิกความในมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๖ ทวิ และมาตรา ๖ ตรี
แหงพระราชบัญญัตบิ ัตรประจาํ ตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึง่ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัติ
บตั รประจาํ ตัวประชาชน (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน
“มาตรา ๕ ผมู ีสัญชาตไิ ทยซ่ึงมอี ายตุ ัง้ แตเ จ็ดปบรบิ ูรณ แตไ มเกนิ เจ็ดสิบปบ รบิ ูรณ
และมชี ่อื ในทะเบยี นบา นตองมบี ัตรตามท่กี ําหนดในพระราชบัญญัตินี้
ความในวรรคหนึง่ ไมใชบ งั คบั แกผ ูซ ึ่งไดรับการยกเวน ตามท่กี ําหนดในกฎกระทรวง
ผูซ่ึงไดรับการยกเวนตามกฎกระทรวงตามวรรคสอง ซ่ึงมีบัตรประจําตัวตาม
กฎหมายอื่นใหใ ชบตั รประจาํ ตวั น้ันแทนได
ผซู ง่ึ มีอายเุ กนิ เจด็ สบิ ปและผซู งึ่ ไดร ับการยกเวนตามกฎกระทรวงจะขอมบี ัตรก็ได
มาตรา ๖ ผซู ง่ึ ตองมบี ตั รตามมาตรา ๕ ใหยนื่ คําขอมบี ัตรตอพนกั งานเจาหนา ที่
ภายในกําหนดหกสิบวันนับแต
(๑) วนั ท่อี ายคุ รบเจด็ ปบรบิ รู ณ
(๒) วันทีไ่ ดสัญชาติไทย สาํ หรบั ผูไมไ ดส ัญชาติไทยโดยการเกดิ หรอื ไดกลบั คนื
สัญชาติไทยตามกฎหมายวาดวยสัญชาติ

๕๖๔

(๓) วันท่ีนายทะเบียนเพิ่มช่ือในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียน
ราษฎร

(๔) วันทพ่ี นสภาพจากการไดร ับการยกเวน
มาตรา ๖ ทวิ บัตรใหใชไดนับแตวันออกบัตรและมีอายุแปดปนับแตวันเกิดของ
ผูถ อื บัตรท่ถี ึงกําหนดภายหลงั จากวนั ออกบัตร
บัตรที่ยงั ไมห มดอายุในวนั ทผี่ ถู อื บตั รมีอายุครบเจด็ สิบปบริบรู ณ ใหใชบ ตั รนน้ั ตอ ไป
ไดต ลอดชีวติ
มาตรา ๖ ตรี ผถู อื บัตรตอ งมบี ัตรใหม โดยย่ืนคําขอตอพนกั งานเจา หนา ที่ภายใน
หกสบิ วนั นบั แตวันที่บัตรเดิมหมดอายุ
ผูถือบตั รจะขอมีบัตรใหมก อนวันทีบ่ ัตรเดมิ หมดอายกุ ็ได โดยยื่นคาํ ขอตอพนกั งาน
เจาหนา ทภ่ี ายในหกสิบวันกอนวันทบี่ ตั รเดิมหมดอาย”ุ
มาตรา ๔ ใหย กเลิกความในมาตรา ๖ เบญจ แหง พระราชบญั ญัติบตั รประจําตัว
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซงึ่ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัตบิ ตั รประจําตวั ประชาชน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๖ เบญจ ในกรณีท่ีมีเหตุสมควร รัฐมนตรีจะขยายกําหนดเวลาตาม
มาตรา ๖ มาตรา ๖ ตรี หรอื มาตรา ๖ จัตวา สาํ หรบั ทองท่ใี ดหรือบุคคลใดก็ได โดยประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา”
มาตรา ๕ ใหเ พ่มิ ความตอไปน้ีเปน มาตรา ๖ ฉ แหง พระราชบัญญตั บิ ตั รประจาํ ตวั
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖
“มาตรา ๖ ฉ การขอมบี ัตรตามมาตรา ๖ และการขอมบี ตั รใหมหรอื ขอเปลี่ยนบตั ร
ตามมาตรา ๖ จตั วา ของผมู ีอายุไมถงึ สบิ หาป ใหเ ปน หนา ทขี่ องบิดา มารดา ผูปกครองหรอื บุคคล
ซึ่งรบั ดแู ลผนู ้นั อยูเ ปนผยู นื่ คาํ ขอ แตไมเปนการตัดสิทธบิ คุ คลน้นั ท่จี ะยน่ื คาํ ขอดวยตนเอง”
มาตรา ๖ ใหเพ่มิ ความตอ ไปน้เี ปนมาตรา ๗/๑ แหงพระราชบญั ญัติบัตรประจาํ ตวั
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖
“มาตรา ๗/๑ บัตรนอกจากจะมรี ายการตามทกี่ ําหนดไวในมาตรา ๗ แลว จะมหี นว ย
ความจาํ เพ่อื บนั ทกึ ขอ มูลอ่ืนของผูถือบตั รดว ยก็ได แตข อมูลทีบ่ นั ทึกไวใ นหนว ยความจาํ ดังกลาว
ตองไมส ามารถเปดเผยตอ บคุ คลหรือหนวยงานซึ่งมใิ ชเ ปน ผูจัดทําหรอื รวบรวมขอมลู น้นั ได เวน
แตเปน ขอมลู ท่วั ไปท่ปี รากฏอยบู นบัตร หรือเปน การเปดเผยตอหนวยงานทมี่ คี วามจาํ เปน ตอ ง
ทราบขอมูลนั้นเทาที่จําเปนเพื่อประโยชนของผูถือบัตรโดยไดรับความยินยอมจากผูถือบัตรหรือ
เพอื่ ประโยชนของรฐั หรือเพือ่ ความสงบเรียบรอ ยของบานเมอื ง”
มาตรา ๗ ใหย กเลิกความในมาตรา ๘ แหง พระราชบญั ญัติบตั รประจาํ ตัวประชาชน
พ.ศ. ๒๕๒๖ และใหใชค วามตอ ไปนีแ้ ทน

๕๖๕

“มาตรา ๘ การขอมบี ตั ร การขอมีบตั รใหม การขอเปลีย่ นบตั ร การออกบัตรและ
การออกใบรับและการออกใบแทนใบรบั ใหเปน ไปตามแบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการที่กําหนดใน
กฎกระทรวง

ในกรณีที่พนักงานเจาหนาท่ีไมสามารถออกบัตรใหผูยื่นคําขอไดในวันเดียวกันให
ออกใบรับแกผูยน่ื คาํ ขอ

ใบรับหรือใบแทนใบรับนั้นใหใชไดเสมือนบัตรตามระยะเวลาท่ีกําหนดไวในใบรับ
หรอื ใบแทนใบรบั และการใชใ บรบั หรือใบแทนใบรบั ใหใชรว มกบั บตั รเดิม เวนแตเ ปน กรณกี ารขอ
มีบัตรครงั้ แรกหรือบัตรหายหรอื ถูกทําลายทงั้ หมด”

มาตรา ๘ ใหยกเลิกความในมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติบัตรประจําตัว
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และใหใชความตอ ไปน้แี ทน

“มาตรา ๑๐ ภายใตบ ังคบั มาตรา ๗/๑ ผมู ีสวนไดเสียโดยตรงจะขอตรวจหลกั ฐาน
รายการหรือขอมลู ใดเกยี่ วกับบัตร และจะขอใหพนักงานเจา หนาท่ีถา ยเอกสารหรอื คดั และรับรอง
สาํ เนาดวยกไ็ ด ทั้งน้ี ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง”

มาตรา ๙ ใหยกเลิกความในมาตรา ๑๑ แหงพระราชบัญญัติบัตรประจําตัว
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งแกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัตบิ ตั รประจําตวั ประชาชน (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใ ชค วามตอ ไปนีแ้ ทน

“มาตรา ๑๑ เมื่อพนกําหนดระยะเวลาการขอมีบัตรตามมาตรา ๖ ผูซึ่งตองมี
บตั รตามมาตรา ๕ ซึ่งมอี ายตุ ัง้ แตสบิ หา ปข น้ึ ไป หรอื บคุ คลซึ่งมีหนา ทีย่ ่นื คาํ ขอมบี ัตรแทนตาม
มาตรา ๖ ฉ แลวแตกรณไี มย่นื ขอมีบัตร ตองระวางโทษปรับไมเ กินหนึง่ รอยบาท

เมื่อพน กาํ หนดระยะเวลาการขอมบี ัตรใหมตามมาตรา ๖ ตรี วรรคหนง่ึ หรือการขอ
มบี ตั รใหมห รอื ขอเปล่ียนบตั รตามมาตรา ๖ จัตวา วรรคหนึ่ง ผูถ ือบตั รซึง่ มอี ายุตัง้ แตส บิ หาปข ้นึ
ไปหรือบคุ คลซ่งึ มีหนาทีย่ ่นื คําขอมบี ัตรแทนตามมาตรา ๖ ฉ แลวแตกรณี ไมย่ืนขอมีบตั รใหม
ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกนิ หน่ึงรอ ยบาท

ในกรณตี ามวรรคหน่งึ หรอื วรรคสอง หากผูซง่ึ ตอ งมีบัตรหรอื ผูถอื บตั รซ่งึ มอี ายุไมถงึ
สิบหา ปไดย น่ื คาํ ขอดว ยตนเองแลว ใหบ ุคคลซง่ึ มีหนา ที่ยนื่ คาํ ขอแทนตามมาตรา ๖ ฉ ไมตอง
รบั โทษ”

มาตรา ๑๐ ใหเ พม่ิ ความตอ ไปน้ีเปน มาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัตบิ ตั รประจํา
ตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซงึ่ ถูกยกเลกิ โดยพระราชบัญญัติบัตรประจําตัวประชาชน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๒

“มาตรา ๑๒ ผูใดเขาถึงขอมูลหรือเปดเผยขอมูลท่ีบันทึกไวในหนวยความจําตาม
มาตรา ๗/๑ อันมใิ ชข อ มลู ทั่วไปทป่ี รากฏอยูบนบัตรตามมาตรา ๗ โดยมิไดร ับความยนิ ยอมจาก
ผูถ ือบัตร ตองระวางโทษจําคุกไมเ กินหาป หรอื ปรับไมเ กนิ หนง่ึ แสนบาท หรือท้งั จําทัง้ ปรบั เวน

๕๖๖

แตเปน การเขา ถึงขอ มลู หรอื เปด เผยตามมาตรา ๑๐ หรอื ตามคาํ สัง่ ศาล หรอื เขาถึงขอมลู ระหวา ง
หนวยงานของรฐั ท่จี าํ เปน ตองใชข อ มลู น้ันในการปฏบิ ตั ิหนา ท”่ี

มาตรา ๑๑ ใหยกเลิกความในมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ แหงพระราชบญั ญตั ิ
บัตรประจําตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติบัตรประจําตัว
ประชาชน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชค วามตอไปนี้แทน

“มาตรา ๑๓ ผถู ือบตั รซึ่งเสียสัญชาติไทยผใู ด
(๑) ไมสงมอบบัตรหรอื ใบรบั หรอื ใบแทนใบรบั ตามมาตรา ๙ ตอ งระวางโทษจําคุก
ไมเ กนิ หาป หรอื ปรับไมเ กนิ หน่ึงแสนบาท หรือทัง้ จาํ ทง้ั ปรับ
(๒) ใชห รือแสดงบัตรหรอื ใบรับหรือใบแทนใบรบั ซง่ึ ตนหมดสิทธิใชต ามมาตรา ๙
ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ สบิ ปและปรับไมเกนิ สองแสนบาท
มาตรา ๑๔ ผใู ด
(๑) ย่ืนคําขอมีบัตรโดยมิไดม ีสญั ชาติไทย ดวยการแสดงหลักฐานอันเปน เท็จหรอื
ปกปด ขอความจริงตอพนักงานเจาหนาท่ี ตองระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห นง่ึ ปถึงหา ปหรอื ปรบั ต้งั แต
สองหมน่ื บาทถึงหนง่ึ แสนบาท หรอื ท้ังจําท้งั ปรับ
(๒) แจง ขอความหรือแสดงหลกั ฐานอนั เปนเท็จตอ พนกั งานเจา หนา ท่ี ในการขอมี
บัตรตามมาตรา ๖ หรือการขอมบี ัตรใหมตามมาตรา ๖ ตรี หรือการขอมีบัตรใหมห รือขอเปลย่ี น
บัตรตามมาตรา ๖ จตั วา อันมิใชเปน กรณตี าม (๑) ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ สามปห รือปรบั ไม
เกนิ หกหม่ืนบาท หรอื ท้งั จาํ ทงั้ ปรบั
(๓) ปลอมบัตรหรอื ใบรับหรือใบแทนใบรับ ตองระวางโทษจําคกุ ตั้งแตหนงึ่ ปถึงสบิ ป
หรือปรบั ต้งั แตส องหม่นื บาทถึงสองแสนบาท หรอื ท้ังจาํ ท้ังปรับ
(๔) ใชหรือแสดงบัตรหรอื ใบรบั หรือใบแทนใบรบั อนั เกดิ จากการกระทําความผิด
ตาม (๑) (๒) หรอื (๓) แลว แตก รณี แตกระทงเดียว
ถา ผูกระทาํ ความผดิ หรือผูใชหรือผูส นบั สนนุ การกระทําความผิดตาม (๑) (๒) (๓)
หรอื (๔) เปนเจา พนักงานออกบตั ร เจาพนกั งานตรวจบัตร หรือพนักงานเจาหนาทีต่ องระวาง
โทษจําคุกต้ังแตส ามปถ ึงสบิ หาปแ ละปรับต้งั แตหกหม่นื บาทถงึ สามแสนบาท”
มาตรา ๑๒ ใหย กเลิกความในมาตรา ๑๗ แหง พระราชบญั ญตั บิ ัตรประจาํ ตวั
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซ่ึงแกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตบิ ัตรประจาํ ตวั ประชาชน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใ ชค วามตอ ไปนี้แทน
“มาตรา ๑๗ ผูถือบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับ ซึ่งมีอายุต้ังแตสิบหาปข้ึนไป
ผูใดไมส ามารถแสดงบตั รหรือใบรับหรอื ใบแทนใบรบั เม่อื เจา พนกั งานตรวจบัตรขอตรวจ ตอ ง
ระวางโทษปรับไมเ กินสองรอยบาท”

๕๖๗

“มาตรา ๑๓ ใหยกเลิกอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัติบัตรประจําตัว
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซง่ึ แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัตบิ ัตรประจําตัวประชาชน (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชอัตราคา ธรรมเนียมทายพระราชบญั ญัตินีแ้ ทน

มาตรา ๑๔ บรรดาคําขอท่ีย่ืนตามพระราชบัญญัติบัตรประจําตัวประชาชน
พ.ศ. ๒๕๒๖ กอ นวนั ทีพ่ ระราชบญั ญัตนิ ใี้ ชบงั คับ ใหถ ือเปน คาํ ขอที่ไดย่ืนตามพระราชบญั ญตั ิบัตร
ประจําตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งแกไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ินี้

มาตรา ๑๕ บรรดาบัตร ใบรับหรือใบแทนใบรับที่ออกตามพระราชบัญญัติบัตร
ประจําตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ กอนวันท่พี ระราชบัญญัตินีใ้ ชบ ังคับ ใหย ังคงใชไ ดต อไปจนกวา
จะหมดอายุตามทีร่ ะบไุ วในบตั ร ใบรบั หรือใบแทนใบรบั นนั้

บตั ร ใบรบั หรอื ใบแทนใบรับตามวรรคหน่งึ ซ่งึ ยงั ไมหมดอายุ ผถู ือบัตร ใบรับหรอื
ใบแทนใบรบั ประสงคจ ะมบี ัตรใหมต ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ใหย ่นื คําขอมีบัตรตอ พนกั งานเจาหนาที่
โดยไมต องเสียคา ธรรมเนยี ม

มาตรา ๑๖ ผูใดไมตองมีบัตรหรือไดรับยกเวนไมตองมีบัตรตามพระราชบัญญัติ
บัตรประจําตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ แตตองมบี ตั รตามพระราชบัญญตั ิบตั รประจําตวั ประชาชน
พ.ศ. ๒๕๒๖ ซงึ่ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตนิ ้ี ใหย่นื คาํ ขอมีบัตรตอพนักงานเจาหนา ท่ี
ภายในหน่งึ ปน บั แตว นั ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบังคับ

ในกรณีจาํ เปน รัฐมนตรจี ะประกาศขยายระยะเวลาตามวรรคหนึง่ ออกไปอีกกไ็ ด
มาตรา ๑๗ ในวาระเริ่มแรกแตไมเกินสองปนับแตวันที่พระราชบัญญัติน้ีมีผลใช
บังคบั ความในมาตรา ๕ วรรคหน่งึ แหง พระราชบัญญตั บิ ตั รประจาํ ตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖
ซ่ึงแกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตนิ ม้ี ใิ หใ ชบงั คับกับบุคคลตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง แตไม
ตัดสิทธิบุคคลเหลาน้ันทจ่ี ะขอมีบัตร
มาตรา ๑๘ ใหบรรดากฎกระทรวงและประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติ
บตั รประจาํ ตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซ่ึงใชบงั คับอยูก อนวันทีพ่ ระราชบญั ญัตนิ ีม้ ผี ลใชบ ังคับ
ยงั คงใชไ ดต อ ไปเทา ท่ีไมข ดั หรอื แยง กับพระราชบัญญตั ินี้ จนกวาจะมกี ฎกระทรวงหรือประกาศ
ท่ีออกตามพระราชบญั ญตั ินี้

ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ
อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

๕๖๘

อตั ราคา ธรรมเนยี ม
_______________

(๑) การออกบัตรตามมาตรา ๖ จัตวา ฉบับละ ๑๐๐ บาท
(๒) การออกใบแทนใบรับ ฉบับละ ๑๐ บาท
(๓) การขอคดั และรับรองสาํ เนาขอ มูลเกี่ยวกบั บัตร ฉบับละ ๑๐ บาท

๕๖๙

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบัญญตั ฉิ บับน้ี คือ โดยทีเ่ ปนการสมควรกําหนด
ใหผูมีสัญชาติไทยทุกคนตองมีบัตรประจําตัวประชาชนไวใชแสดงตนเพ่ือประโยชนในการเขารับ
บริการสาธารณะของรฐั จงึ ไดป รบั ปรุงหลักเกณฑและวธิ กี ารการออกบตั รประจาํ ตัวประชาชน
เพือ่ ใหส อดคลอ งกับการท่รี ัฐจะนําเทคโนโลยมี าใชใ นการบรกิ ารประชาชนในดานตา งๆ ผานทาง
บตั รประจาํ ตัวประชาชน เพอื่ ประโยชนของผูถอื บัตรประจําตวั ประชาชน สมควรแกไขเพ่มิ เติม
กฎหมายวาดวยบัตรประจําตัวประชาชนเพ่ือใหสอดคลองกับหลักการดังกลาวและสภาวการณ
ปจจุบัน จงึ จาํ เปน ตองตราพระราชบัญญตั นิ ี้

๕๗๐

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๕๒๐๐ (สําเนา)

กรมท่ีดิน
ศูนยราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทุงสองหอ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๗ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๕

เรอ่ื ง พระราชบัญญัตกิ ารเคหะแหง ชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐
เรยี น ผวู าราชการจงั หวัดทุกจงั หวดั
สงิ่ ท่ีสงมาดว ย สําเนาพระราชบญั ญตั กิ ารเคหะแหง ชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐

ดวยไดร บั แจงจากการเคหะแหง ชาติ วาไดม ีพระราชบญั ญตั กิ ารเคหะแหง ชาติ
(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ซง่ึ แกไ ขเพิ่มเตมิ พระราชบัญญัตกิ ารเคหะแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ ประกาศ
ในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๕๖ ก ลงวันท่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๕๐ มีผลใชบงั คบั ตั้งแต
วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๐ เปนตนไป โดยทม่ี าตรา ๒๕/๑๒ ไดบญั ญัติใหการดาํ เนนิ การใดๆ
ทางทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมสาํ หรบั เคหะ ใหเ จา พนกั งานทด่ี นิ รบั จดทะเบยี นไดเ มอ่ื ผขู อจดทะเบยี น
ไดแ สดงหนงั สือรบั รองจากคณะกรรมการชุมชนการเคหะ หรอื กคช. แลวแตกรณี วา ไดม ีการ
ชาํ ระเงินคา บรกิ ารและเงินเพิม่ ตามมาตรา ๒๕/๑๑ (๗) สําหรบั เคหะนั้นครบถว นแลว ซึ่งมสี ว น
เกย่ี วขอ งกบั การปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานเจา หนา ทต่ี ามประมวลกฎหมายทด่ี นิ โดยขอความรว มมอื
มายังกรมท่ีดินเพ่ือกําหนดแนวทางการปฏิบัติในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมใหสอดคลอง
กบั พระราชบญั ญัติดงั กลาว

กรมทด่ี นิ พจิ ารณาแลว เหน็ วา บทบญั ญตั ดิ งั กลา วขา งตน มผี ลบงั คบั ใหเ จา พนกั งาน
ทด่ี นิ ผรู บั จดทะเบยี นจะตอ งดาํ เนนิ การตามทก่ี ฎหมายไดบ ญั ญตั ไิ ว จงึ ขอสง สาํ เนาพระราชบญั ญตั ิ
การเคหะแหง ชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงแกไขเพม่ิ เตมิ พระราชบัญญตั ิการเคหะแหง ชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๗ ในสว นทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานเจา หนา ทม่ี าเพอ่ื ศกึ ษาและถอื ปฏบิ ตั ิ
ใหเปนไปในแนวทางเดียวกนั

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจง ใหเ จา หนา ที่ทีด่ ินทราบและถอื ปฏบิ ัตติ อ ไป

ขอแสดงความนับถอื

(ลงช่ือ) อนวุ ัฒน เมธีวิบลู วฒุ ิ
(นายอนุวฒั น เมธวี ิบลู วฒุ ิ)
อธิบดกี รมที่ดิน

สาํ นักมาตรฐานการทะเบยี นทด่ี นิ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๐ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๕๗๑

(สําเนา)

พระราชบญั ญตั ิ
การเคหะแหง ชาติ (ฉบบั ท่ี ๒)

___พ_._ศ_._๒_๕__๕_๐___

ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐

เปน ปท่ี ๖๒ ในรัชกาลปจ จุบนั

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา

โดยที่เปน การสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวา ดวยการเคหะแหงชาติ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและ
ยนิ ยอมของสภานติ บิ ญั ญัตแิ หง ชาติ ดงั ตอ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ เ้ี รียกวา “พระราชบญั ญัติการเคหะแหงชาติ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษา เปนตน ไป
มาตรา ๓ ใหย กเลิกความใน (๑) ของมาตรา ๖ แหง พระราชบัญญัติการเคหะ
แหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน
“(๑)จัดใหมีเคหะเพ่ือใหประชาชนไดมีท่ีอยูอาศัย รวมตลอดถึงจัดใหมี
สาธารณูปโภค สาธารณูปการ และส่ิงอํานวยความสะดวกแกผ อู ยอู าศยั ทาํ นบุ าํ รุง ปรบั ปรงุ และ
พัฒนาบรรดาเคหะดงั กลา ว รวมทัง้ พฒั นาผอู ยูอาศยั ใหมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ขี ้นึ ท้ังในทางสังคม
เศรษฐกิจ และสงิ่ แวดลอ ม”
มาตรา ๔ ใหย กเลิกความใน (๘) ของมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัตกิ ารเคหะ
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ และใหใ ชความตอไปนีแ้ ทน
“(๘)เขา รว มดําเนนิ กจิ การกับบคุ คลอื่น หรอื ถอื หนุ ในบรษิ ทั จาํ กดั หรอื บรษิ ทั มหาชน
จํากัด เพอ่ื ดาํ เนินกิจการอนั อยูในขอบแหง วตั ถปุ ระสงคของ กคช.”
มาตรา ๕ ใหเพ่มิ ความตอ ไปนีเ้ ปน (๙) และ (๑๐) ของมาตรา ๙ แหงพระราช
บัญญตั ิการเคหะแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗
“(๙) เรียกเก็บเงินคาใชจายในการบํารุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภคและ
บริการสาธารณะ

๕๗๒

(๑๐) กระทําการอยางอ่ืนบรรดาที่เก่ียวเน่ืองกับการจัดการใหสําเร็จตาม
วัตถปุ ระสงคของ กคช.”

มาตรา ๖ ใหเพ่มิ ความตอไปน้ีเปนหมวด ๒/๑ นิตบิ คุ คลชุมชนการเคหะ มาตรา
๒๕/๑ ถงึ มาตรา ๒๕/๑๖ แหงพระราชบัญญตั ิการเคหะแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗

“หมวด ๒/๑
นิตบิ คุ คลชมุ ชนการเคหะ

––––––––––––––
มาตรา ๒๕/๑ ในหมวดนี้
“เจาของเคหะ” หมายความวา ผเู ปน เจาของเคหะในโครงการ และหมายความรวม
ถึงคูสญั ญากบั กคช. ตามสญั ญาจะซอื้ จะขายหรือสญั ญาเชา ซอ้ื เคหะในโครงการดว ย แตไ มร วม
ถึง กคช. ในฐานะท่ีเปน เจา ของเคหะในโครงการ
“โครงการ” หมายความวา โครงการของ กคช. ในการจดั ใหมเี คหะที่มิใชอาคารชดุ
ตามกฎหมายวา ดวยอาคารชุด
“สมาชกิ ” หมายความวา สมาชกิ นติ ิบคุ คลชมุ ชนการเคหะ
“ทรัพยส ินทใ่ี ชป ระโยชนร ว มกนั ” หมายความวา ทด่ี ิน อาคาร หรอื ทรัพยส นิ อนื่ ที่
กคช. ไดจ ัดทําหรือมีไวเพอ่ื ประโยชนรว มกันของผอู ยูอาศัย หรอื ทผี่ ูอ ยูอาศยั ไดจดั ทําหรอื รว มกนั
จัดใหมีขึน้ เพื่อประโยชนสวนรวม
มาตรา ๒๕/๒ เมื่อมีเจาของเคหะเปนจํานวนเกินสามในสี่ของเคหะทั้งหมดใน
โครงการแลว และโครงการนนั้ มเี คหะตง้ั แตสองรอยหนวยขึน้ ไป ให กคช. ดาํ เนนิ การใหม ีการจัด
ตั้งนิติบุคคลชุมชนการเคหะเพื่อดูแลและบํารุงรักษาสาธารณูปโภคและทรัพยสินที่ใชประโยชน
รวมกนั
มาตรา ๒๕/๓ ในการดําเนินการเพื่อใหมีการจัดต้ังนิติบุคคลชุมชนการเคหะตาม
มาตรา ๒๕/๒ ให กคช. จดั ใหมกี ารสอบถามความเห็นเจา ของเคหะเก่ียวกบั การจัดตั้งนติ ิบุคคล
ชมุ ชนการเคหะ
ในการดําเนินการตามวรรคหน่งึ ให กคช. จดั ใหมีรางขอบังคับของนติ บิ ุคคลชมุ ชน
การเคหะท่จี ะจดั ต้งั แสนอตอทปี่ ระชุมเจา ของเคหะดวย
ในกรณีท่ีเจาของเคหะตามวรรคหน่ึงแสดงความเห็นคัดคานการจัดต้ังนิติบุคคล
ชุมชนการเคหะไมเกินกึ่งหน่ึงของเจาของเคหะท้ังหมดในโครงการขณะนั้น และเสียงขางมาก
ของเจาของเคหะ ซึ่งอยใู นที่ประชุมเห็นชอบดวยกบั รางขอ บังคบั ตามวรรคสองแลว ให กคช. รบั
จดทะเบียนขอบังคบั และขึน้ ทะเบยี นชมุ ชนการเคหะน้ันเปนนิติบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

๕๗๓

ในกรณีท่ีเจาของเคหะตามวรรคหนึ่งแสดงความเห็นคัดคานการจัดต้ังนิติบุคคล
ชุมชนการเคหะเกินกวา ก่ึงหนง่ึ ของเจา ของเคหะทัง้ หมดในโครงการขณะนนั้ ใหยตุ กิ ารดาํ เนนิ การ
จัดตง้ั นติ บิ คุ คลชุมชนการเคหะนนั้

การสอบถามความเห็นเจา ของเคหะตามวรรคหนึง่ และการประชุมเจา ของเคหะให
เปน ไปตามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่ กคช. กาํ หนด

มาตรา ๒๕/๔ ในกรณีโครงการที่มีเคหะนอยกวาสองรอยหนวย หรือกรณีการ
ดําเนนิ การจดั ตั้งนติ บิ ุคคลชุมชนการเคหะยตุ ิลงตามมาตรา ๒๕/๓ วรรคสี่ หรือกรณีนติ ิบุคคล
ชมุ ชนการเคหะถกู เพกิ ถอนทะเบยี นตามมาตรา ๒๕/๑๕ หากเจาของเคหะในโครงการดังกลาว
ประสงคจะจดั ตัง้ นิตบิ ุคคลชุมชนการเคหะ ใหก ระทําไดโดยเขาชื่อรวมกนั จํานวนไมนอยกวาหนงึ่
ในสิบของเจา ของเคหะทัง้ หมดในโครงการนนั้ และย่นื คําขอจดั ตั้งนติ ิบคุ คลชุมชนการเคหะตอ
กคช. ทง้ั น้ี เมอื่ กคช. ไดร บั คําขอแลวใหด ําเนนิ การตอ ไป โดยนาํ ความในมาตรา ๒๕/๓ มาใช
บังคับโดยอนโุ ลม

การเขาช่อื และการยืน่ คําขอตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ
เง่อื นไขท่ี กคช. กาํ หนด

มาตรา ๒๕/๕ การรับจดทะเบียนขอ บังคับ การข้นึ ทะเบยี นนิตบิ คุ คล และการควบ
นติ บิ ุคคลชมุ ชนการเคหะ ใหเปน ไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กคช. กําหนด

ขอบงั คับของนิตบิ ุคคลชุมชนการเคหะอยา งนอยตอ งมีรายการดงั ตอไปนี้
(๑) ชือ่ นิตบิ ุคคลชมุ ชนการเคหะ
(๒) วตั ถปุ ระสงค
(๓) ท่ตี ้งั สาํ นกั งาน
(๔) ขอ กําหนดเกย่ี วกับคณะกรรมการชุมชนการเคหะ ไดแก จาํ นวนกรรมการการ
เลือกวาระการดํารงตําแหนง อํานาจหนาที่ คา ตอบแทน และการประชมุ ของคณะกรรมการชุมชน
การเคหะ
(๕) ขอ กาํ หนดเกย่ี วกบั การดําเนินงาน การบญั ชี และการเงิน
(๖) ขอกําหนดเกย่ี วกบั สทิ ธแิ ละหนา ท่ขี องสมาชกิ
(๗) ขอกําหนดเกยี่ วกับการประชุมใหญของสมาชกิ
มาตรา ๒๕/๖ ใหนิติบุคคลชุมชนการเคหะมีคณะกรรมการชุมชนการเคหะ เปน
ผูดําเนินกิจการของนิติบุคคลใหเปนไปตามกฎหมายและขอบังคับของนิติบุคคลชุมชนการเคหะ
น้ัน และอยภู ายใตก ารควบคมุ ดแู ลของท่ีประชุมใหญแ ละสมาชกิ
ประธานกรรมการชุมชนการเคหะเปนผูแทนของนิติบุคคลชุมชนการเคหะในกิจการ
อนั เก่ยี วกบั บคุ คลภายนอก แตอ าจมอบหมายเปนหนังสอื ใหก รรมการชมุ ชนการเคหะคนหนงึ่
ทําการแทนในเร่อื งทม่ี อบหมายได

๕๗๔

มาตรา ๒๕/๗ กรรมการชุมชนการเคหะตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม
ดังตอ ไปนี้

(๑) เปนผอู ยอู าศัยในโครงการนั้น
(๒) เปน ผูบรรลนุ ติ ิภาวะ
(๓) ไมเปน บคุ คลลม ละลาย
(๔) ไมเ ปนคนไรความสามารถหรือคนเสมอื นไรความสามารถ
(๕) ไมเคยไดรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกในความผิดเก่ียวกับ
ทรัพย เวน แตพ นโทษมาแลว ไมนอยกวา หาป
(๖) ไมเคยถูกส่ังใหพ นจากตําแหนงกรรมการชมุ ชนการเคหะใด เวนแตพนกําหนด
หา ปน ับแตวนั ทีม่ ีคาํ สงั่
มาตรา ๒๕/๘ นอกจากการพนจากตําแหนง ตามวาระ กรรมการชุมชนการเคหะพน
จากตําแหนง เม่อื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) มิไดอ ยูอาศัยในโครงการติดตอกนั เกนิ หน่ึงรอยแปดสบิ วัน
(๔) มีลกั ษณะตอ งหามตามมาตรา ๒๕ (๓) และ (๔)
(๕) ไดร บั โทษจาํ คุกตามคําพิพากษาถงึ ที่สดุ ใหจ ําคกุ เวนแตเปน ความผิดลหุโทษ
หรอื ความผิดอันไดกระทาํ โดยประมาท
(๖) ถกู ส่งั ใหพ น จากตําแหนงกรรมการชุมชนการเคหะตามมาตรา ๒๕/๑๓ วรรคสี่
มาตรา ๒๕/๙ เจา ของเคหะในโครงการทม่ี ีการจดั ตง้ั นติ ิบคุ คลชมุ ชนการเคหะ ยอ มมี
ฐานะเปน สมาชิกของนิตบิ ุคคลชมุ ชนการเคหะนนั้
ในกรณที เ่ี คหะหนว ยใดทม่ี อี าคารหรอื สง่ิ ปลกู สรา งแลว แตย งั มไิ ดม ผี ใู ดซอ้ื ทาํ สญั ญา
จะซื้อหรือเชาซื้อกับ กคช. หรอื ไดโอนกลับมาเปนของ กคช. ใหถือวา กคช. มีฐานะเปนสมาชิก
สําหรบั เคหะแตล ะหนว ยนนั้
การนับคะแนนเสียงในการประชุมใหญข องสมาชกิ ใหส มาชิกมีคะแนนเสียงหน่ึง
เสียงตอเคหะหนงึ่ หนว ยท่ีตนเปนเจา ของ
มาตรา ๒๕/๑๐ ใหนิติบคุ คลชมุ ชนการเคหะมอี าํ นาจในการปกครอง ดแู ล บาํ รุง
รักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจากสาธารณูปโภคและทรัพยสินท่ีใชประโยชนรวมกันใน
โครงการ ทงั้ น้ี ตามรายการที่ กคช. กําหนด
การดําเนินการของนิติบุคคลชุมชนการเคหะเก่ียวกับสาธารณูปโภคและทรัพยสิน
ทใี่ ชประโยชนรว มกันตามวรรคหนึ่ง ตอ งเปน ไปเพอ่ื ประโยชนร ว มกนั ของผอู ยอู าศัยในโครงการ
และจะเปลยี่ นแปลงการใชป ระโยชนแหงทรัพยส นิ ดงั กลา วมิได เวน แตไ ดรบั ความเห็นชอบเปน
หนงั สอื จาก กคช.

๕๗๕

ในกรณีที่นิติบุคคลชุมชนการเคหะเห็นสมควรมอบสาธารณูปโภคหรือทรัพยสินท่ีใช
ประโยชนรวมกันตามวรรคหนึ่ง ใหห นวยงานของรัฐหรอื นิตบิ คุ คลตามกฎหมายอ่นื ดูแลและบํารงุ
รกั ษาเพอื่ ใชเ ปนประโยชนส าธารณะ และทปี่ ระชุมใหญข องสมาชกิ เหน็ ชอบดวย ถา กคช. เห็น
วาการมอบใหหนวยงานของรัฐหรือนิติบุคคลตามกฎหมายอ่ืนดังกลาวจะกอใหเกิดประโยชนรวม
กนั แกผ ูอยูอาศัยในโครงการให กคช. มอี ํานาจโอนหรอื อนุญาตใหหนว ยงานของรัฐหรอื นิตบิ คุ คล
ตามกฎหมายอ่ืนดังกลาวดูแลและบํารุงรักษาสาธารณูปโภคหรือทรัพยสินที่ใชประโยชนรวมกัน
นน้ั ได

ในกรณีทีก่ ารใชอํานาจปกครอง ดแู ล บาํ รุงรกั ษา ใช หรือจดั หาผลประโยชนจ าก
สาธารณูปโภคและทรัพยสินที่ใชประโยชนรวมกันตามวรรคหนึ่งของนิติบุคคลชุมชนการเคหะ
มิไดเ ปนไปตามวรรคสอง กคช. จะเพกิ ถอนอาํ นาจดงั กลา วสําหรบั สาธารณปู โภคและทรพั ยสิน
ที่ใชประโยชนรวมกันนั้นก็ไดและจะโอนหรืออนุญาตใหหนวยงานของรัฐหรือนิติบุคคลตาม
กฎหมายอื่นดูแลและบํารุงรักษาสาธารณูปโภคและทรัพยสินท่ีใชประโยชนรวมกันเพื่อประโยชน
รว มกนั ของผอู ยูอ าศยั ในโครงการนนั้ ตอ ไปกไ็ ด

มาตรา ๒๕/๑๑ เพ่ือประโยชนของผูอยอู าศยั ใหน ิติบุคคลชมุ ชนการเคหะมอี าํ นาจ
ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ดแู ลและบาํ รุงรกั ษาสาธารณปู โภคและทรัพยส ินท่ีใชป ระโยชนร วมกนั
(๒) วางระเบียบเกยี่ วกับการใชสาธารณปู โภคและทรัพยส นิ ท่ใี ชป ระโยชนรว มกัน
(๓) กําหนดขอหามการกระทําอันอาจจะกอใหเกิดความเสียหายหรือเดือดรอน
รําคาญเกนิ ควรแกสวนรวม หรือความสงบเรียบรอยหรอื สวัสดิภาพของผูอ ยูอาศัย
(๔) กําหนดขอหามเกี่ยวกับการใชเคหะในการประกอบกิจการหรือในการประกอบ
อาชีพของผอู ยอู าศัยท่ีอาจกอ ใหเกิดความเดือดรอ นราํ คาญแกผ ูอยูอ าศัยอ่นื
(๕) วางระเบยี บเกยี่ วกับการจราจร
(๖) จัดใหม บี ริการสาธารณะและการรกั ษาความปลอดภัย
(๗) เรียกเกบ็ คา บรกิ ารในการดูแลและบํารงุ รกั ษาตาม (๑) และคา บรกิ ารตาม (๖)
และคา ใชจายอื่นจากสมาชกิ ท้งั นี้ เทาทีเ่ หมาะสมและจาํ เปน ตอ การบํารงุ รักษา และจัดการ
สาธารณูปโภค บรกิ ารสาธารณะ และการรักษาความปลอดภัย รวมท้ังกําหนดเงินเพมิ่ ในกรณี
ไมช ําระหรือชําระลาชา ซงึ่ ตองไมเ กนิ อตั รารอยละสองตอ เดอื นของจํานวนเงนิ ท่ีไมช ําระหรอื ชาํ ระ
ลา ชา
(๘) กําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการชุมชนการเคหะและคาใชจายในการ
ดําเนินงานของนติ ิบุคคลชุมชนการเคหะ ซ่ึงตองไมเกนิ อัตราท่ี กคช. กาํ หนด
(๙) ย่ืนคํารองทุกขหรือเปนคูความในคดีขอพิพาทแทนสมาชิกเกี่ยวกับกรณีที่
กระทบสิทธหิ รือประโยชนของสมาชกิ สว นรวม

๕๗๖

การดาํ เนนิ การตาม (๓) (๔) และ (๘) จะตอ งไดร ับความเห็นชอบจากท่ปี ระชุมใหญ
ของสมาชิก

มาตรา ๒๕/๑๒ การดาํ เนนิ การใด ๆ ทางทะเบยี นสิทธิและนติ กิ รรมสาํ หรับเคหะ ให
เจาพนักงานที่ดินรับจดทะเบียนไดเม่ือผูขอจดทะเบียนไดแสดงหนังสือรับรองจากคณะกรรมการ
ชุมชนการเคหะ หรอื กคช. แลวแตกรณี วาไดม กี ารชําระเงินคา บรกิ ารและเงนิ เพมิ่ ตามมาตรา
๒๕/๑๑ (๗) สาํ หรับเคหะน้นั ครบถว นแลว

ใหถือวาหน้ีคาบริการในการดูแลและบํารุงรักษาสาธารณูปโภคและทรัพยสินที่ใช
ประโยชนร ว มกันตามมาตรา ๒๕/๑๑(๑) และคา บริการในการจดั ใหม ีการรกั ษาความปลอดภัย
ตามมาตรา ๒๕/๑๑(๖) เปน หนบี้ ุริมสิทธใิ นมลู รกั ษาอสังหาริมทรพั ยเหนอื เคหะของผูค า งชําระ

มาตรา ๒๕/๑๓ ให กคช. มหี นาทใ่ี นการสงเสรมิ สนับสนนุ และใหค วามชวยเหลือ
นติ ิบุคคลชุมชนการเคหะตามควรแกก รณี รวมทัง้ มีอํานาจหนา ทกี่ าํ กบั ดแู ลการดําเนนิ การของ
นิติบคุ คลชุมชนการเคหะใหเ ปน ไปโดยเรียบรอ ยและเปน ประโยชนแกสวนรวม

สมาชกิ เปนจํานวนไมน อยกวา หน่ึงในหาของสมาชิกทงั้ หมดในโครงการมีสิทธิเขา ชอื่
กนั รองเรยี นตอ กคช. วา การกระทําของคณะกรรมการชมุ ชนการเคหะไมช อบดว ยกฎหมายหรอื
ขอบงั คับของนติ บิ ุคคลชุมชนการเคหะ หรือกอ ใหเกิดความเดอื นรอ นแกผ ูอยูอาศยั เกินสมควร

เมือ่ กคช. ไดรับเร่ืองรอ งเรยี นตามวรรคสอง ใหทําการตรวจสอบขอเทจ็ จริงโดยเร็ว
ในกรณีท่ี กคช. เหน็ วา มกี ารกระทาํ ตามทีม่ ีผูรอ งเรยี น ให กคช. มีอํานาจสงั่ ใหค ณะกรรมการ
ชุมชนการเคหะระงบั หรอื แกไขการกระทํานัน้ หรอื แกไขหรอื ยกเลกิ ระเบียบหรือขอ หา มไดตามที่
เหน็ สมควร

ในกรณีท่ีผลการตรวจสอบขอเท็จจริงปรากฏวาคณะกรรมการชุมชนการเคหะหรือ
กรรมการชุมชนการเคหะคนใดกระทําการโดยทุจริตหรือกอใหเกิดความเสียหายหรือเดือดรอน
รําคาญแกผูอยอู าศยั อยา งรา ยแรง ให กคช. มอี ํานาจส่ังใหคณะกรรมการชุมชนการเคหะหรอื
กรรมการชมุ ชนการเคหะน้นั พนจากตาํ แหนง

การดําเนินการตามวรรคสามหรือวรรคสี่ ไมเปนเหตุใหคณะกรรมการชุมชนการ
เคหะหรือกรรมการชุมชนการเคหะน้ันพนจากความรับผิดในทางแพงหรือทางอาญาเกี่ยวกับการ
กระทําดังกลาว

มาตรา ๒๕/๑๔ ในโครงการทไ่ี มมกี ารจัดต้ังนติ ิบุคคลชุมชนการเคหะ ใหเปน หนา ที่
ของ กคช. ในการดูแลและบํารุงรกั ษาสาธารณูปโภคและทรัพยส ินทใ่ี ชประโยชนรว มกันและเพื่อ
ประโยชนในการดาํ เนนิ การดงั กลา ว ให กคช. มอี าํ นาจเชน เดยี วกบั นติ ิบุคคลชุมชนการเคหะตาม
มาตรา ๒๕/๑๑ แตมใิ หนําความในมาตรา ๒๕/๑๑ วรรคสอง มาใชบังคบั กับการดําเนนิ การของ
กคช.

๕๗๗

ให กคช. พนจากหนาท่ใี นการดแู ละบาํ รงุ รกั ษาสาธารณูปโภคและทรัพยสนิ ทใี่ ช
ประโยชนรวมกันตามวรรคหนงึ่ เมอื่ ไดจ ดทะเบียนโอนสาธารณูปโภคและทรัพยสินทใ่ี ชป ระโยชน
รวมกันดังกลาวใหแกหนวยงานของรัฐหรือนิติบุคคลตามกฎหมายอ่ืนเพ่ือใชเปนประโยชน
สาธารณะ แตท ้งั น้ตี อ งประกาศใหอยูอาศัยทราบลวงหนา ไมน อยกวาหนึ่งป

ใหนําความในวรรคหน่ึงมาใชบังคับในกรณีที่นิติบุคคลชุมชนการเคหะถูกเพิกถอน
ทะเบยี นตามมาตรา ๒๕/๑๕ และ กคช. ยงั มไิ ดพน จากหนาท่ีตามวรรคสอง

มาตรา ๒๕/๑๕ ให กคช. เพิกถอนทะเบยี นนติ ิบุคคลชมุ ชนการเคหะ เม่ือปรากฏ
ขอเทจ็ จริงอยา งหนึง่ อยา งใด ดังตอ ไปนี้

(๑) เมอื่ กคช. เห็นวานติ บิ ุคคลชุมชนการเคหะไมอาจดาํ เนินการตอ ไปไดไมว าดว ย
เหตใุ ด

(๒) ไมม บี คุ คลใดยอมเปน กรรมการชมุ ชนการเคหะ
(๓) ท่ีประชุมใหญของสมาชิกมีมติจํานวนไมนอยกวาสองในสามของคะแนนเสียง
ของสมาชิกทัง้ หมดในโครงการ ใหย กเลิกนิตบิ คุ คลชมุ ชนการเคหะ
กอนเพกิ ถอนทะเบียนนิติบุคคลชมุ ชนการเคหะตามกรณี (๑) ให กคช. จดั ใหมีการ
ประชุมใหญของสมาชิกเพ่ือลงมติเก่ียวกับการเพิกถอนทะเบียนนิติบุคคลชุมชนการเคหะหาก
สมาชิกแสดงความเห็นคัดคานการเพิกถอนดังกลาวจํานวนเกินกวาก่ึงหน่ึงของคะแนนเสียงของ
สมาชกิ ทั้งหมดในโครงการ ให กคช. งดการเพิกถอนทะเบยี นนติ บิ คุ คลชมุ ชนการเคหะนน้ั
เม่ือเพกิ ถอนทะเบยี นนิติบุคคลชมุ ชนการเคหะตามวรรคหนงึ่ แลว ให กคช. หรอื
คณะกรรมการนติ ิบคุ คลชมุ ชนการเคหะ แลวแตก รณี แตงต้งั ผูช ําระบญั ชีภายในสิบสว่ี นั นบั แตว ัน
ทเ่ี พกิ ถอนทะเบียนนติ ิบคุ คลชมุ ชนการเคหะ และใหนําบทบญั ญตั ิแหงประมวลกฎหมายแพงและ
พาณชิ ยว าดวยการชําระบัญชหี า งหนุ สว นจดทะเบยี น หางหุนสวนจาํ กดั และบรษิ ัทจาํ กัด มาใช
บังคบั แกการชําระบัญชีของนิตบิ คุ คลชมุ ชนการเคหะโดยอนุโลม
ในการเพกิ ถอนทะเบียนนติ บิ คุ คลชุมชนการเคหะตามกรณี (๒) ให กคช. แตงตั้ง
กรรมการชุมชนการเคหะจากผูอยูอาศัยไดตามที่เห็นสมควรเพื่อปฏิบัติหนาท่ีในระหวางการชําระ
บญั ชี
ผูชําระบัญชีตองจัดการชําระบัญชีของนิติบุคคลชุมชนการเคหะใหเสร็จภายในหนึ่ง
ปน ับแตวนั ทไ่ี ดรับแตง ตั้ง เวนแต กคช. จะกาํ หนดเวลาไวเปนอยา งอนื่
การเพิกถอนทะเบียนนิติบุคคลชุมชนการเคหะตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตาม
หลกั เกณฑแ ละวิธีการที่ กคช. กําหนด
มาตรา ๒๕/๑๖ เม่ือนิติบุคคลชุมชนการเคหะถูกเพิกถอนทะเบียนตามมาตรา
๒๕/๑๕ ใหโอนบรรดาสาธารณูปโภคและทรัพยสนิ ทใ่ี ชประโยชนรวมกันท่ียังเปนของ กคช. ใหแก
หนว ยงานของรฐั หรอื นติ บิ ุคคลตามกฎหมายอ่ืนตามที่ กคช. กาํ หนด

๕๗๘

การดําเนินการเกี่ยวกบั ทรัพยส นิ อืน่ ทเ่ี หลอื ภายหลังการชาํ ระบัญชี นอกจากกรณี
ตามวรรคหน่งึ ใหเปนไปตามหลักเกณฑแ ละเง่อื นไขที่ กคช. กาํ หนด”

มาตรา ๗ เจาของเคหะในโครงการท่ี กคช. ดาํ เนนิ การไปแลวกอ นวนั ท่ีพระราช
บัญญตั ินี้ใชบ ังคบั หากประสงคจะจดั ตั้งนติ บิ ุคคลชมุ ชนการเคหะตามพระราชบญั ญัตกิ ารเคหะ
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหกระทาํ ไดโ ดยเขา ชือ่ กนั จาํ นวน
ไมน อ ยกวาหนึ่งในสบิ ของเจาของเคหะทงั้ หมดในโครงการนน้ั และย่นื คําขอจดั ตั้งนติ บิ คุ คลชมุ ชน
การเคหะตอ กคช. ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอื่ นไขท่ี กคช. กําหนด

เมื่อ กคช. ไดร ับคําขอตามวรรคหนึ่ง ใหดาํ เนนิ การใหมกี ารจดั ตัง้ นติ ิบคุ คลชุมชนการ
เคหะนัน้ โดยเร็ว โดยใหน าํ ความในหมวด ๒/๑ นิตบิ คุ คลชมุ ชนการเคหะแหงพระราชบญั ญตั ิการ
เคหะแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั นิ ี้ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๘ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
รกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยทุ ธ จลุ านนท

นายกรฐั มนตรี

๕๗๙

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทป่ี จจุบนั รัฐบาลมนี โยบาย
แกไ ขปญ หาความยากจนและขยายโอกาสใหค นยากจนและคนดอ ยโอกาส ซง่ึ นโยบายประการหนง่ึ
คือการสงเสริมใหผูมีรายไดนอยไดมีที่อยูอาศัย รวมท้ังไดรับการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ
ชวี ติ ใหด ขี ้ึน ดังน้ัน เพื่อใหการเคหะแหงชาติสามารถดาํ เนินการตามนโยบายดังกลา วไดอ ยา งมี
ประสิทธภิ าพ สมควรปรบั ปรงุ อํานาจหนา ทข่ี องการเคหะแหงชาติใหร องรับกับการพัฒนาเมอื ง
และการบรหิ ารชุมชน อกี ท้ังสมควรสง เสริมใหป ระชาชนผูอยูอาศยั ในโครงการการจดั ใหมที ่ีอยู
อาศัยของการเคหะแหง ชาติ ไดม กี ารรวมตัวจัดตั้งเปนนิตบิ คุ คลเพ่ือบริหารจัดการสาธารณูปโภค
และทรัพยสินท่ีใชประโยชนรวมกัน ตลอดจนมีสวนรวมในการดูแลรักษาความเปนระเบียบ
เรียบรอยของผอู ยูอ าศยั ดว ยกนั เอง จึงจําเปนตองตราพระราชบญั ญัตนิ ี้

๕๘๐

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๐๐๔ (สําเนา)
กรมทด่ี นิ
ศูนยร าชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๓ มีนาคม ๒๕๕๕

เรื่อง การปฏิบัติตามพระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
เรยี น ผวู า ราชการจงั หวัดทกุ จังหวดั
อางถึง ๑. หนังสอื กรมทด่ี ิน ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๒๐๒๔๘ ลงวันท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๓

๒. หนังสือกรมทด่ี ิน ที่ มท ๐๗๒๘/ว ๓๒๐๖๐ ลงวนั ที่ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๓
๓. หนังสือกรมท่ีดนิ ดวนท่ีสุด ท่ี มท ๐๗๒๘/ว ๓๘๑๑๘ ลงวนั ท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓
๔. หนังสือกรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๗๒๘/ว ๐๐๐๔๒ ลงวันท่ี ๓ มกราคม ๒๕๔๔
๕. หนงั สือกรมทดี่ ิน ดวนมาก ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๒๒๑๑๑ ลงวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๔๙

ตามหนังสือท่ีอางถึง กรมที่ดินไดสงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ กฎกระทรวง และประกาศสํานักงานปอ งกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน พรอมท้ังกําชับใหพนักงานเจาหนาท่ีถือปฏิบัติในการรายงานธุรกรรมไปยังสํานักงาน
ปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ (สาํ นกั งาน ปปง.) ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ เม่ือปรากฏวา มีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับ
อสงั หาริมทรัพยทีส่ ถาบนั การเงินมไิ ดเปนคกู รณี และทีม่ ลี กั ษณะดังตอ ไปนี้

๑. เมอ่ื มกี ารชาํ ระดว ยเงนิ สดเปน จาํ นวนเงนิ ตง้ั แตส องลา นบาทหรอื กวา นน้ั ขน้ึ ไป
๒. เมื่ออสังหาริมทรัพยมีมูลคาตามราคาประเมินเพ่ือเรียกเก็บคาธรรมเนียม
จดทะเบียนสิทธิและนติ ิกรรมตง้ั แตห า ลา นบาทหรอื กวาน้นั ขึน้ ไป เวน แตเ ปน การโอนในทางมรดก
ใหแกทายาทโดยธรรม หรือ
๓. เม่ือเปน ธรุ กรรมทม่ี ีเหตอุ นั ควรสงสัย
โดยใหสงสําเนาคําขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมท่ีรับรองถูกตองที่ทําขึ้นใน
ระหวา งวันท่ี ๑ ถึงวนั ส้ินเดอื นไปยงั สํานักงาน ปปง. ภายในหาวันนบั แตวนั ถัดจากวันส้ินเดือน
สําหรับกรณีการรายงานธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยใหสงสําเนาคําขอจด
ทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมทร่ี ับรองถกู ตอ ง พรอมท้งั บนั ทึกเหตุอนั ควรสงสัยไปยังสาํ นกั งาน ปปง.
ภายในหาวนั นับแตวนั ทมี่ เี หตอุ ันควรสงสยั ความละเอียดแจง อยูแ ลว นัน้

๕๘๑

บัดนี้ ไดร ับแจง จากสํานักงานปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ วา มกี ารทาํ
ธุรกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพยท่ีอยูในหลักเกณฑตองรายงานสํานักงานปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน แตสํานกั งานท่ีดินมไิ ดรายงานการทําธุรกรรมใหสํานักงานปอ งกันและปราบปราม
การฟอกเงนิ ทราบ หรือรายงานการทําธุรกรรมลาชา เกินระยะเวลาทกี่ ฎหมายกาํ หนด ซึ่งอาจ
เปนความผดิ ตามกฎหมายและมโี ทษทางอาญา จึงขอใหกรมทดี่ ินแจงผูมหี นาที่รายงานการทาํ
ธรุ กรรมใหปฏิบตั ิตามกฎหมายโดยเครงครัดดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และสั่งกําชับสํานักงานท่ีดินปฏิบัติตามกฎหมาย
ดังกลาวโดยเครง ครัดตอไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) อนุวัฒน เมธีวบิ ลู วฒุ ิ

(นายอนวุ ฒั น เมธีวบิ ูลวฒุ ิ)
อธิบดีกรมทีด่ ิน

สาํ นกั มาตรฐานการทะเบยี นทีด่ ิน
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๐
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๕๘๒

ท่ี มท ๐๕๑๕.๒ / ว ๘๔๕๑ (สาํ เนา)
กรมท่ีดนิ
ศนู ยร าชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทงุ สองหอง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๕ มนี าคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง การรายงานเปลีย่ นแปลงทะเบยี นการครอบครองทดี่ นิ

เรยี น ผวู า ราชการจังหวดั ทุกจังหวดั

อางถงึ ๑. หนังสอื กรมที่ดนิ ท่ี ๑๑๙/๒๕๐๒ ลงวนั ท่ี ๗ มกราคม ๒๕๐๒
๒. หนงั สือกรมที่ดนิ ที่ มท ๐๕๑๕.๒/ว ๑๕๐๑๕ ลงวันท่ี ๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๔
๓. หนังสือกรมทดี่ นิ ดว นท่ีสดุ ท่ี มท ๐๕๑๕.๒/ว ๒๖๙๐๘ ลงวันที่ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๔

สง่ิ ทสี่ งมาดวย ๑. หนงั สอื กรมทด่ี นิ ท่ี ๑๑๙/๒๕๐๒ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๐๒
๒. ตวั อยางการกรอกแบบรายงานทะเบียนการครอบครองที่ดนิ จาํ นวน ๑ ฉบับ

ตามหนังสือที่อางถึง ๑. กรมที่ดินไดวางแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการจดแจง
รายการเปล่ียนแปลงทะเบียนการครอบครองที่ดิน กรณีเม่ือผูวาราชการจังหวัดสั่งผอนผัน
ใหร ับแจงการครอบครองทด่ี ิน เมอ่ื มกี ารออกใบจอง เมอื่ ผูว า ราชการจังหวัดสง่ั ใหเพ่ิมเติมหรอื
แกไขเปล่ียนแปลงอยางหนึ่งอยางใด เมื่อมีการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนหรือแจก
ใบไตสวน เมื่อมกี ารแบงแยก โดยเมื่อไดแ กหรอื แจง รายการทะเบยี นการครอบครองทดี่ ินทาง
อําเภอเรียบรอ ยแลว ใหรายงานการเปลีย่ นแปลงทะเบียนการครอบครองทด่ี นิ ไปยังกรมท่ีดิน เพ่ือ
จดแจงรายการทะเบียนการครอบครองที่ดินทางกรมทีด่ ินใหถกู ตองตรงกัน และตามหนงั สือทอ่ี า ง
ถงึ ๒. และ ๓. กรมทด่ี นิ ไดจดั สง ทะเบยี นการครอบครองที่ดนิ ของทางสว นกลาง ซ่ึงไดถ า ยเอกสาร
ในลกั ษณะ Portable Document Format (PDF) และจัดเกบ็ ไวในอุปกรณบ ันทึกขอมูลทาง
คอมพิวเตอร (ฮารดดิสกต ดิ ตัง้ ภายนอก) ใหส าํ นักงานทดี่ นิ จงั หวดั สํานกั งานทด่ี นิ จงั หวัดสาขา
สาํ นกั งานท่ดี นิ สวนแยก และสาํ นกั งานทด่ี นิ อาํ เภอ ตรวจสอบขอมูลทะเบยี นการครอบครองท่ีดิน
เลมของทางสวนกลางท่ีบันทึกไวในอุปกรณบันทึกขอมูลทางคอมพิวเตอรกับทะเบียนการครอบ
ครองทด่ี ินเลมของสาํ นักงานทดี่ ิน หากพบวาท่ดี นิ แปลงใดในทะเบยี นการครอบครองทดี่ ินของ
สํานกั งานทด่ี ินมกี ารหมายเหตแุ ลว แตในเลม ทะเบียนการครอบครองที่ดินของทางสวนกลางยงั
มิไดม ีการหมายเหตุ และจังหวัดยงั มไิ ดร ายงานกรมทีด่ นิ ตามหนงั สอื กรมที่ดนิ ที่ ๑๑๙/๒๕๐๒
ลงวนั ท่ี ๗ มกราคม ๒๕๐๒ ใหจ ังหวดั รายงานกรมทด่ี ินเพ่อื หมายเหตใุ นทะเบียนการครอบครอง
ท่ดี นิ ของทางสวนกลางใหตรงกัน น้ัน

๕๘๓

กรมทด่ี นิ พจิ ารณาแลว เหน็ วา เนอ่ื งจากมสี าํ นกั งานทด่ี นิ บางแหง เมอ่ื ไดด าํ เนนิ การ
ออกโฉนดที่ดนิ น.ส.๓ หรอื น.ส.๓ ก. จากหลักฐาน ส.ค.๑ แลว มไิ ดม ีการหมายเหตกุ าร
เปล่ียนแปลงในทะเบียนการครอบครองท่ีดิน หรือบางกรณีมีการหมายเหตุในทะเบียนการ
ครอบครองทด่ี ิน แตม ไิ ดรายงานการเปล่ยี นแปลงตามแบบรายงานทะเบยี นการครอบครองทีด่ ิน
ใหจังหวดั และกรมท่ีดินทราบ ตามนยั หนงั สอื กรมท่ดี นิ ท่ี ๑๑๙/๒๕๐๒ ลงวนั ที่ ๗ มกราคม ๒๕๐๒
ทําใหรายการทะเบียนการครอบครองที่ดินเลมของสํานักงานที่ดิน และเลมของทางสวนกลาง
ผดิ พลาดคลาดเคล่ือนไมตรงกนั ซ่งึ เปน สาเหตทุ ท่ี าํ ใหจ ํานวนยอด ส.ค.๑ ท่ีเหลืออยูตามทะเบียน
การครอบครองทด่ี ินไมต รงกับความเปนจริง ดงั นัน้ เพือ่ ใหร ายการทะเบียนการครอบครองท่ดี นิ
เลมของสํานักงานท่ีดนิ และเลมของทางสวนกลางถกู ตองตรงกนั และเพือ่ ทาํ ใหจาํ นวนยอด
ส.ค.๑ ท่เี หลอื อยตู ามทะเบยี นการครอบครองทดี่ ินถกู ตอ งตรงกบั ความเปนจริง จงึ ขอใหสาํ นกั งาน
ทด่ี ินจังหวดั สาํ นกั งานท่ดี นิ จังหวดั สาขา สํานักงานทีด่ นิ สวนแยก และสาํ นักงานทด่ี นิ อาํ เภอ
(กรณียังไมย กเลิกอํานาจหนาทข่ี องนายอําเภอ) ตรวจสอบทะเบียนการครอบครองท่ดี นิ เลม ของ
สาํ นักงานทีด่ ินและแบบแจงการครอบครองทด่ี ิน (ส.ค.๑) ฉบับสาํ นักงานที่ดิน หากพบวา แปลง
ใดไดออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนไปแลว แตยังมิไดมีการหมายเหตุใน
ทะเบยี นการครอบครองทดี่ ินเลม ของสํานักงานท่ีดนิ และในแบบแจงการครอบครองทด่ี นิ (ส.ค.๑)
ขอใหดําเนินการหมายเหตุและรายงานเปลี่ยนแปลงไปกรมที่ดินใหแลวเสร็จภายในวันท่ี ๓๑
สงิ หาคม ๒๕๕๕ หากพนกาํ หนดเวลาดังกลาวมผี นู าํ แบบแจงการครอบครองที่ดนิ (ส.ค.๑) ทีอ่ ยู
ในความรบั ผดิ ชอบของจังหวัดใดซงึ่ ไดออกเอกสารสิทธิแลว แตยังมไิ ดหมายเหตุการเปลี่ยนแปลง
ในทะเบยี นการครอบครองทดี่ ินไปเปน หลกั ฐานประกอบการขอออกโฉนดที่ดินโดยทจุ รติ ใหถือวา
เจา พนกั งานทด่ี นิ ผเู ปน หวั หนา สาํ นกั งานและหวั หนา ฝา ยทะเบยี นซง่ึ ปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี ณะนน้ั มสี ว นรว ม
ในการรับผดิ ชอบกบั ผลการกระทําผิดดว ย ยกตัวอยางเชน นาย ก. เจา พนกั งานท่ีดินจังหวัด ข.
หลังจากวนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๕ ยา ยไปดํารงตาํ แหนงที่อืน่ ตอมาจงั หวัด ข. เกิดทุจรติ โดยมี
ผนู ํา ส.ค.๑ ซึง่ ไดม กี ารออกเอกสารสิทธแิ ลว แตไ มม กี ารหมายเหตกุ ารเปลีย่ นแปลงในทะเบียน
การครอบครองท่ีดนิ ใหแ ลวเสร็จภายในวนั ที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ ไปใชเ ปนหลักฐานประกอบการ
ขอออกโฉนดท่ดี ินแปลงอ่นื อีก ใหถือวานาย ก. ซึง่ เปน เจาพนักงานที่ดนิ ผูเปนหวั หนา สาํ นักงาน
รวมทั้งหวั หนาฝา ยทะเบียนมีสวนรว มในการรบั ผดิ ชอบกับผลการกระทําผดิ ดังกลา วดว ย เปน ตน

อน่งึ การรายงานเปลีย่ นแปลงทะเบียนการครอบครองท่ีดนิ ตามหนงั สือนี้ และ
ตามนัยหนงั สือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๕๑๕.๒/ว ๑๕๐๑๕ ลงวนั ที่ ๒ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ ขอใหจ งั หวัด
รายงานตามแบบรายงานแนบทา ยหนงั สอื กรมทดี่ ิน ที่ ๑๑๙/๒๕๐๒ ลงวนั ท่ี ๗ มกราคม ๒๕๐๒
โดยปฏิบัติตามคําอธิบายวิธีกรอกขอความรายงานทะเบียนการครอบครองที่ดินทายหนังสือ
ดังกลาวใหถ ูกตองครบถวนดวย โดยกรมท่ีดินไดจ ัดทาํ ตัวอยา งการกรอกแบบรายงานทะเบียน
การครอบครองท่ีดินมาพรอ มน้ดี วยแลว

๕๘๔

จงึ เรียนมาเพ่อื โปรดทราบ และแจง ใหพ นักงานเจาหนาทท่ี ราบและถือปฏิบัตโิ ดย
เครง ครดั ตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชอื่ ) อนวุ ัฒน เมธีวิบูลวฒุ ิ

(นายอนวุ ัฒน เมธีวิบลู วฒุ ิ)
อธบิ ดีกรมทีด่ ิน

สาํ นกั มาตรฐานการทะเบียนที่ดนิ
สว นกําหนดสทิ ธใิ นทด่ี นิ และควบคมุ ทะเบยี นทดี่ นิ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๗๕ – ๗ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๘

๕๘๕

รายงานทะเบียนการครอบครองทด่ี ิน

ที่................./๒๕........ ที่วา การ............................ ท่ี................./๒๕........ ศาลากลางจงั หวัด.....................
......................./๒๕........
เรยี น ผูวา ราชการจังหวดั ....................... ......................./๒๕........
เรียน อธบิ ดีกรมทด่ี นิ
ขอรายงานเปลี่ยนแปลงทะเบยี นการครอบครองท่ดี ิน โปรดส่ังเจาหนาท่จี ดแจง การเปลีย่ นแปลงในทะเบียนฯ
ตามรายการขางทา ยนี.้
............................................... ของกรมที่ดิน
...............................................
(.............................................) (.............................................)
...............................................
...............................................

ลาํ ดับท่ี ทด่ี นิ ต้ังอยู ทะเบียน สภาพทดี่ นิ เน้อื ที่ ๑. แจง การครอบครอง ช่อื ผคู รอบครองทด่ี นิ
เลม หนา เลขที่ ๒. รบั รองการทําประโยชน การเปลย่ี นแปลง
๓. รบั ใบไตสวน วนั เดอื น ป และ
๕๘๖ หมทู ่ี ตาํ บล ไร งาน วา วนั เดอื น ป หมายเหตุ

๑ ๑ หนองปรอื ๑ ๑ ๑ ทนี่ า ๑๐ ๐ ๐ ๑. ๒๘ พฤษภาคม ๒๔๙๘ นายใบ คําดี
๙๒ ๐ ๒. ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ ส.ค.๑ ฉบับนี้ไดอ อก น.ส.๓ ก.
๒ ๑ หนองปรือ ๑ ๑ ๒ ทบ่ี าน ๑๑
๑๐ เลขท่ี ๑๒ แตวนั ที่ ๒๙
พฤศจิกายน ๒๕๓๐
๐ ๑. ๒๘ พฤษภาคม ๒๔๙๘ นายสี คาํ ดี
๐ ๓. ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ส.ค.๑ ฉบบั นไี้ ดอ อกโฉนดที่ดนิ
เลขที่ ๑๒๓ แตวนั ท่ี ๒๐
ธนั วาคม ๒๕๕๔

(สาํ เนา)

ท่ี ๑๑๙ / ๒๕๐๒ กรมทดี่ นิ

๗ มกราคม ๒๕๐๒

เรอ่ื ง ใหรายงานเปลยี่ นแปลงทะเบียนการครอบครองที่ดิน

เรยี น ผวู าราชการจงั หวดั ทกุ จังหวัด

อางถงึ คําส่ังกระทรวงมหาดไทย ที่ ๑๒๔๔/๒๔๙๗ ลงวันท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๗

ตามคําสั่งกระทรวงมหาดไทยท่ีอางถึง วางระเบียบวิธีการรับแจงการครอบครอง
ที่ดนิ และใหจ ัดทําทะเบยี นการครอบครองท่ดี ินไวเปนหลกั ฐานเก็บไว ณ ท่วี าการอําเภอชดุ หนง่ึ
สงไปเก็บทก่ี รมท่ีดนิ ชดุ หน่งึ และในคาํ อธบิ ายวธิ ีกรอกทะเบยี นการครอบครองทด่ี ินไดแ นะนาํ วธิ ี
ปฏิบตั ิในเม่อื มีการเปลี่ยนแปลงสิทธคิ รอบครอง นน้ั

ปรากฏวา เม่ือมีการแกไขเพิ่มเติมรายการทะเบียนฯ หรือมีการจดทะเบียน
เปลย่ี นแปลงสทิ ธใิ นที่ดนิ พนักงานเจาหนาที่ไดร ายงานไปใหก รมท่ีดนิ จดแจง รายการใหต รงกับ
ทะเบยี นฯ ทางอําเภอหรอื ก่งิ อําเภอกม็ ี ทีไ่ มไ ดรายงานไปกม็ ี และบางจังหวัดรายงานไปมีขาดตก
บกพรองตองขอใหตรวจสอบใหมอยูเสมอ กรมที่ดินจึงไดพิจารณาวางระเบียบวิธีการจดแจง
รายการและการรายงานเปล่ียนแปลงทะเบียนการครอบครองทด่ี ินไว ดงั ตอไปน้ี

๑. ใหเจาหนาที่ปฏิบัติการจดแจงรายการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนการครอบครอง
ทดี่ นิ กรณตี อไปน้ี

ก. เม่ือผูวาราชการจังหวัดส่ังผอนผันใหรับแจงการครอบครองท่ีดินในหมูใด
ตําบลใด ใหลงรายการทะเบียนตอ ทา ยในทะเบยี นเดมิ โดยลงเลขทด่ี นิ ตอ จากเลขทเ่ี ดมิ และให
จดแจง ในชอ งหมายเหตดุ วยอกั ษรสแี ดงวา “ผวู าราชการจังหวดั ส่ังผอนผนั รับแจง การครอบครอง
ตามหนังสอื ที.่ ........................................ลงวนั ท่.ี .............(วันเดอื นปย อ )................”

ข. เม่อื มีการออกใบจอง ใหป ฏิบตั ติ ามนัย ขอ ก. เฉพาะชอ งหมายเหตใุ หเ ขียนวา
“ออกใบจอง เลขท่.ี .................................วนั ท.่ี .................(วนั เดือนปยอ)................”

ค. เมอ่ื ผวู า ราชการจังหวดั สง่ั ใหเพม่ิ เตมิ หรอื แกไ ขเปลย่ี นแปลงอยางหนง่ึ อยา งใด
ใหจัดการไปตามคําสงั่ แลวจดแจงหนังสอื สง่ั การโดยอนุโลมตาม ขอ ก.

ง. เม่ือมกี ารออกหนงั สอื รบั รองการทาํ ประโยชนหรอื แจกใบไตส วน ใหป ฏิบตั ิ
ตามคาํ อธิบายวธิ กี รอกทะเบียนการครอบครองทด่ี นิ

จ. เมื่อมีการแบงแยกหรือจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมอันมีผลทําใหสิทธิใน
ทดี่ นิ เปล่ยี นแปลงไป เชน ขาย ให แลกเปล่ียน มรดก ฯลฯ ใหป ฏิบัติตามนยั คาํ อธิบายวิธกี รอก
ทะเบยี นการครอบครองที่ดิน และคาํ ส่งั กระทรวงมหาดไทย ท่ี ๑๑๕๐/๒๔๙๘ ลงวันท่ี ๒๑ ตลุ าคม
๒๔๙๘

๕๘๗

๒. เม่อื มีกรณีท่ีตองจดแจง รายการทะเบยี นการครอบครองท่ีดนิ เกดิ ข้นึ ตามนยั ขอ ๑
ใหเ จาหนา ทดี่ าํ เนนิ การจดแจง รายการทะเบียนทนั ที และเซ็นช่อื เจาหนา ทผ่ี ูจดแจง ลงวัน เดือน ป
ท่ีจดแจง โดยยอ กํากับไวด วย

๓. เม่ือไดแ กหรือแจง รายการทะเบียนทางอาํ เภอเรียบรอ ยแลว ใหรายงานการ
เปลี่ยนแปลงทะเบยี นฯ ไปยังกรมทีด่ นิ เพือ่ จดแจงรายการทะเบยี นฯ ทางกรมทีด่ ินใหถกู ตองตรง
กนั การรายงานเปล่ยี นแปลงทะเบียน ฯ ใหปฏิบัตดิ ังตอไปน้ี

ก. แบบรายงานใหใชตามตวั อยางท่สี ง มาพรอ มหนังสอื น้ี ในช้นั นีใ้ หทางอาํ เภอ
พมิ พใ ชไปพลางกอ น เมื่อกรมท่ีดนิ จัดพิมพแบบพิมพเสรจ็ จะสงมาใหในโอกาสตอ ไป

ข. รายงานนใ้ี หทําขึ้น ๓ ชุด เกบ็ เปน ครู างทางอาํ เภอ ๑ ชดุ สง จงั หวดั ๒ ชุด
จงั หวัดสงกรมทีด่ ิน ๑ ชดุ วธิ ีกรอกขอ ความใหปฏิบัตติ ามคําอธบิ ายวธิ กี รอกขอ ความรายงาน
ทะเบยี นการครอบครองทีด่ นิ ทีแ่ นบมาพรอ มตวั อยางแบบพิมพรายงาน ฯ

ค. การสงรายงานใหน ายอําเภอหรือกิ่งอําเภอจดั สง รายงานเปนคราวๆ คือ ถา
กรอกรายงานการเปล่ยี นแปลงหมดเนอ้ื ทใี่ นแบบรายงานท้งั ๒ หนา แลว กใ็ หเ จาหนา ทเ่ี สนอนาย
อําเภอหรือผูแ ทนหรือปลัดอาํ เภอผูเปน หวั หนา ประจาํ ก่ิงอาํ เภอหรือผแู ทนแลว แตก รณี ลงนามสง
รายงานเสียครั้งหน่งึ

ง. เพ่ือใหมีการตรวจสอบทะเบียนการครอบครองที่ดินซึ่งเก็บรักษาทางอําเภอ
กับกรมทด่ี นิ ไปในตวั การเขียนรายงานฯ ใหก รอกรายงานเดมิ กอ นมกี ารเปล่ยี นแปลง โดยคัด
จากทะเบยี นการครอบครองที่ดินของอําเภอลงไปในแบบรายงานฯ กอน แลว จึงแสดงรายการที่
เปลีย่ นแปลงไป เพือ่ ใหปรากฏท้ังรายการเดมิ และรายการที่เปลยี่ นแปลงใหมด วย

๔. เน่ืองจากนับแตเริ่มจัดทําทะเบียนการครอบครองท่ีดินมาจนบัดนี้ ไดมีการ
เปลย่ี นแปลงทางทะเบยี นฯ เปน อันมาก แตป รากฏวา บางจงั หวัดมไิ ดส ง รายงานเปลย่ี นแปลง
ไปยังกรมที่ดินตามนัยท่ีกลาวมาน้ี เพราะฉะน้ันจึงใหเริ่มปฏิบัติการเปล่ียนแปลงทะเบียนการ
ครอบครองท่ดี นิ นับแตว นั ไดรับหนงั สอื น้ี และใหเจาหนาท่ที ําการตรวจสอบยอ นหลงั ขนึ้ ไปถึงวนั ที่
เริ่มจดั ทาํ ทะเบียนการครอบครองทด่ี ินดวย ถาท่ีดนิ แปลงใดมกี ารเปล่ียนแปลงตาม ขอ ๑. แตยงั
มไิ ดจดแจงรายการในทะเบยี นการครอบครองทด่ี ิน หรือมไิ ดรายงานการเปลย่ี นแปลงใหก รมทดี่ นิ
ทราบ ก็ใหดําเนินการเสียใหถกู ตอ งตามท่กี ลาวมาน้ี

๕. ปรากฏวาบางอําเภอและบางก่ิงอําเภอยงั มิไดจดั ทาํ สารบบ ส.ค. ๑ และทะเบียน
การครอบครองทดี่ ินใหแ ลว เสร็จตามนยั คาํ ส่งั กระทรวงมหาดไทยท่ี ๑๒๔๔/๒๔๙๗ ลงวนั ท่ี ๙
พฤศจกิ ายน ๒๔๙๗ หากเจาหนา ทจ่ี ะไดส นใจดาํ เนนิ การไปตามคาํ สัง่ ทีละเลก็ ละนอย นับแต
พ.ศ. ๒๔๙๗ จนถงึ บัดน้ี การจดั ทาํ ทะเบียนฯ ดังกลา วกค็ งจะเสรจ็ ไปได เพราะฉะนั้น ขอใหจ งั หวัด
ส่ังกวดขนั การปฏบิ ตั ิของเจา หนาท่ี และใหส ั่งเจา พนักงานท่ีดนิ ออกไปตรวจสอบการทาํ ทะเบยี นฯ
ดงั กลาว แลว บนั ทกึ ผลการตรวจสอบสงไปยังกรมทด่ี นิ ใหทราบตามหวั ขอตอ ไปน้ี

๕๘๘

ก. มผี ูแจง การครอบครองทีด่ ิน (รวมทง้ั ทผ่ี อนผันรบั แจง) เทา ใด
ข. เจาหนา ทีไ่ ดจ ัดทําสารบบ ส.ค. ๑ เสร็จหรอื คง่ั คา งเปน จาํ นวนเทา ใด
ค. จัดทาํ ทะเบียนการครอบครองท่ีดนิ เสรจ็ ไป (ท้งั ๒ ชดุ ) กต่ี ําบล และท่ียังมไิ ด
ทาํ ทะเบียนฯ อกี กี่ตําบล
ง. สาํ หรับการจดทะเบียนฯ ทคี่ า ง ใหพิจารณาเสนอความเหน็ วาควรดําเนนิ การ
ประการใด และจัดการใหแลว เสรจ็ สงทะเบียนฯ ชดุ ที่ ๒ ไปยังกรมทดี่ นิ ไดเ ม่ือใด
๖. อาํ เภอหรือกง่ิ อําเภอใดจดั ทาํ ทะเบียนการครอบครองทดี่ ินเสร็จแลว แตย ังมิไดส ง
ไปยงั กรมที่ดนิ ๑ ชุด ตามระเบียบ ใหจ งั หวดั รวบรวมจดั สง ไปภายในเดือนมกราคม ๒๕๐๒
ท้งั นี้ ขอไดโ ปรดสัง่ ใหเจา หนา ทปี่ ฏิบตั ิการโดยกวดขนั ตอ ไปดวย

ขอแสดงความนบั ถืออยางสงู
(ลงชื่อ) ศ. ไทยวัฒน

(นายศักด์ิ ไทยวัฒน)
อธิบดีกรมที่ดิน

สว นการทะเบียนทด่ี ิน.

๕๘๙

คาํ อธบิ ายวธิ กี รอกขอ ความรายงานทะเบียนการครอบครองท่ดี ิน
๑. แบบรายงานน้ี ทําเปน หนงั สือนาํ สงรายงานของอําเภอและจงั หวัดรวมไว ในแผน
เดียวกัน รายการเปล่ยี นแปลง ใหก รอกลงในชองสาํ หรบั กรอกรายการทายหนงั สอื นาํ สง ใหอ าํ เภอ
หรือกิ่งอาํ เภอแลว แตก รณที าํ ๓ ชุด สง จงั หวดั ๒ ชดุ เก็บไวทอี่ ําเภอหรือกิ่งอาํ เภอ ๑ ชุด
๒. หนังสอื นําสงซีกซายมือ เปนรายงานของอาํ เภอหรือกง่ิ อําเภอสงจังหวดั เม่อื จังหวดั
ไดร ับแลว ใหท ําหนงั สอื นําสงในซีกขวามอื สง กรมทด่ี ิน ๑ ชดุ เกบ็ ไวท จ่ี ังหวดั ๑ ชุด
๓. วธิ กี รอกขอ ความในชอ งรายการในการเกบ็ รายการตา งๆ จากทะเบยี นการครอบครอง
ทดี่ ิน โดยใหล งรายการเดิมกอนมกี ารเปล่ยี นแปลงลงเปนอันดับแรก แลว จึงลงรายการใหม
ตามที่ไดเปล่ียนแปลงเปนอันดับท่ีถัดไป ใหปรากฏท้ังรายการทะเบียนเดิมและรายการใหมที่
เปล่ยี นแปลง การทต่ี อ งทาํ เชนน้ี เพราะปรากฏเสมอวา รายการทะเบียนชุดท่เี ก็บรกั ษาทางอําเภอ
กับชดุ ทีส่ ง ไปยงั กรมท่ดี ินไมถูกตอ งตรงกนั และในกรณขี อรบั รองการทาํ ประโยชนเ นอ้ื ท่ีดินตามที่
ผูแจง ส.ค. ๑ ประมาณไวกบั เนอ้ื ที่ทีด่ นิ ซง่ึ เจาหนา ทที่ ําการรังวัดคาํ นวณไดไ มตรงกนั เพราะฉะน้นั
เม่อื ในรายงานนป้ี รากฏทั้งรายการเดมิ และรายการทีเ่ ปล่ียนแปลงใหม ถา มกี ารผดิ คลาดเคล่อื น
กันอยปู ระการใด เจา หนาทที่ างกรมทดี่ นิ จะไดทราบ และแกไ ขใหถ กู ตองตอไปได
๔. เม่ือมีกรณีเปลี่ยนแปลงทะเบียนการครอบครองที่ดินเกิดข้ึน ใหเจาหนาที่จัดการ
จดแจง รายการที่เปล่ียนแปลงในทะเบยี นการครอบครองที่ดินทนั ที แลว จึงนาํ รายการมาลงไวใน
แบบรายงานนี้ตามที่กลาวมาขางตน แตล ะเรอ่ื งๆ ไปจนกวาจะหมดหนาในแบบพมิ พ จึงจดั ทํา
หนังสอื นําสง ตามนัยขอ ๑ – ๒ ทงั้ นี้ เพอ่ื เปนการประหยัดแบบพมิ พ

๕๙๐

รายงานทะเบยี นการครอบครองท่ดี นิ

ที่.............../๒๕๐........ ที่วา การ..................................... ที.่ ............../๒๕๐........ ศาลากลางจงั หวดั .....................
............................................................./๒๕๐........ ............................................................./๒๕๐........
เรียน ผูว าราชการจงั หวดั ....................... เรยี น อธบิ ดีกรมทด่ี นิ
ขอรายงานเปลย่ี นแปลงทะเบยี นการครอบครองที่ดิน โปรดส่ังเจา หนาทจ่ี ดแจง การเปลี่ยนแปลงในทะเบียนฯ
ตามรายการขางทายน้ี. ของกรมทด่ี นิ
............................................... ...............................................
(.............................................) (.............................................)
............................................... ...............................................

ลาํ ดบั ท่ี ที่ดินตง้ั อยู ทะเบียน สภาพทด่ี นิ เน้อื ท่ี ๑. แจงการครอบครอง ช่อื ผคู รอบครองที่ดิน
เลม หนา เลขที่ ๒. รบั รองการทําประโยชน การเปลี่ยนแปลง
๕๙๑ ๓. รับใบไตสวน วัน เดอื น ป และ
หมูท่ี ตาํ บล ไร งาน วา วัน เดอื น ป หมายเหตุ

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๖๗๘ (สําเนา)
กรมทดี่ ิน
ศนู ยร าชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทุงสองหอ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๙ มนี าคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง แนวทางปฏิบตั ิกรณีที่มผี ูมายนื่ คาํ ขอจดทะเบยี นสทิ ธิและนติ กิ รรม หรอื กจิ การอนื่ ๆ
เกย่ี วกบั อสังหาริมทรัพยซึ่งไมสามารถดาํ เนินการใหก ับผูขอได

เรียน ผวู า ราชการจังหวัดทกุ จงั หวัด

อางถึง ๑. หนงั สือกรมที่ดนิ ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๑๖๗๖๘ ลงวันท่ี ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๔๑
๒. หนังสอื กรมทีด่ ิน ดว นมาก ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๑๘๕๐ ลงวนั ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๔๖
๓. หนงั สอื กรมทด่ี นิ ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๑๖๒๐๓ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๘

ดว ยมีผรู องเรียนการปฏิบตั ิงานของพนกั งานเจา หนาท่ีวา ไดย ่นื คาํ ขอรับมรดก
ที่ดนิ ตามพนิ ยั กรรมเอกสารฝายเมืองที่สาํ นกั งานทดี่ ิน พนักงานเจาหนาที่ไดตรวจสอบหลักฐาน
แลว สามารถดาํ เนินการได ๑ แปลง สวนทีด่ นิ อกี ๑ แปลง พนักงานเจาหนา ท่ีไดช้ีแจงใหท ราบวา
ไมสามารถดาํ เนนิ การใหไ ดเ นือ่ งจากทดี่ ินแปลงดังกลา วมิไดร ะบุไวในพนิ ัยกรรม ตอ มาผขู อได
มอบอาํ นาจใหบ คุ คลอน่ื ไปยน่ื คาํ ขอรงั วดั สอบเขตทด่ี นิ แปลงดงั กลา ว พนกั งานเจา หนา ทต่ี รวจสอบ
แลวแจงวา ไมส ามารถดาํ เนินการใหไดเ น่ืองจากท่ดี นิ ยงั เปน ช่ือของเจามรดก ผูขอจึงไดเ ปลย่ี น
ความประสงคโดยย่นื คําขอรับมรดกที่ดิน พนกั งานเจาหนา ที่ก็แจงอกี วา ไมส ามารถดําเนนิ การ
ใหไดเน่อื งจากท่ีดนิ แปลงดงั กลาวมไิ ดร ะบุไวใ นพนิ ัยกรรม โดยในการช้แี จงและปฏเิ สธการรับ
คาํ ขอ พนกั งานเจาหนาที่ไมไดรบั คําขอไวดําเนนิ การและไมไดบ ันทกึ ขอขัดของไวเปน หลกั ฐาน
และการชีแ้ จงอาจไมช ัดเจน ทาํ ใหผขู อเขาใจวาเจาหนาท่สี รา งเงอื่ นไขในการไมร ับคาํ ขอ จงึ ได
รอ งเรียนพฤติกรรมของเจาหนา ทีต่ อ สาํ นักงานผตู รวจการแผน ดิน ซงึ่ ทาํ ใหเ กิดความเสียหายตอ
ภาพลกั ษณของกรมที่ดิน

กรมทด่ี ินพิจารณาแลว เห็นวา เพื่อปอ งกันไมใหเ กดิ ปญหาการรองเรยี นกรณี
ดังกลาวขน้ึ อีก จงึ ขอซอมความเขาใจแนวทางปฏบิ ัติ กรณีที่มีประชาชนมาย่นื คําขอจดทะเบยี น
สิทธิและนิติกรรมหรอื กิจการอืน่ ๆ เกย่ี วกบั อสงั หาริมทรพั ย เมอ่ื พนักงานเจาหนา ท่ีผรู บั คาํ ขอ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานทผ่ี ขู อนํามาแสดงแลว หากเห็นวา ไมส ามารถดําเนนิ การใหกับผขู อได
ไมวา ดวยสาเหตใุ ดกต็ าม หา มมิใหพ นักงานเจา หนา ท่ีปฏิเสธ การรบั คําขอดังกลา วโดยทนั ที และ

๕๙๒

ใหพ นกั งานเจาหนา ที่ช้ีแจงเหตุขดั ของใหผ ูข อทราบดว ย หากเหตขุ ดั ขอ งเปน กรณีท่ีไมส ามารถ
ดําเนนิ การได เนื่องจากเอกสารหลักฐานไมครบ จะตอ งชี้แจงใหช ดั เจนวาขาดเอกสารอะไร
เหตุใดตอ งใชเ อกสารน้ัน โดยใหพ นักงานเจา หนาท่จี ดั ทําคาํ แนะนาํ แกผูม าติดตอเปน ลายลกั ษณ
อักษรวา มเี อกสารหลักฐานใดทีจ่ าํ เปน ซง่ึ ผขู อจะตอ งนํามาแสดงเพม่ิ เติม รวมทงั้ คา ใชจ ายที่
ผขู อตอ งเตรยี มมา ตามตวั อยา งคาํ แนะนาํ ประชาชนตามหนังสอื ทอ่ี า งถงึ ๑ แตหากเปนกรณีทไ่ี ม
สามารถดําเนินการได เนอ่ื งจากตดิ ขัดดวยระเบยี บ คําสัง่ หรือขอ กฎหมาย พนักงานเจาหนา ท่ี
จะตองช้แี จงระเบียบ คําส่งั และขอกฎหมายนนั้ ใหเปน ที่เขาใจพรอมท้ังเสนอใหเจาพนกั งานท่ดี นิ
จังหวัด เจา พนกั งานท่ดี ินจงั หวัดสาขา เจาพนกั งานทดี่ นิ หวั หนา สวนแยก เจา พนกั งานทดี่ นิ
อาํ เภอ เปนผพู จิ ารณาและสั่งการโดยระบุถงึ สาเหตทุ ไี่ มอ าจดาํ เนนิ การ ตามคาํ ขอนน้ั ไดแ ละแจง
สทิ ธใิ นการอทุ ธรณตามกฎหมายวาดวยวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง ทัง้ น้ี ตามหนังสอื ทอ่ี า งถึง
๒ และ ๓

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบและถือปฏิบัติ
โดยเครงครัดตอ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงช่อื ) อนวุ ฒั น เมธีวบิ ูลวุฒิ

(นายอนวุ ฒั น เมธวี ิบลู วฒุ )ิ
อธิบดีกรมทด่ี นิ

สํานักมาตรฐานการทะเบียนท่ีดนิ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๕๙
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๕๙๓


Click to View FlipBook Version