The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 1) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

เจา พนกั งานควบคมุ มลพษิ ซ่ึงมีอํานาจหนาทใี่ นเขตทองถิน่ หมายถึง
– อธบิ ดกี รมควบคมุ มลพิษ สาํ หรบั เขตพ้นื ทก่ี รุงเทพมหานคร
– ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอมจังหวัด (ทสจ.) สาํ หรับเขตพน้ื ทีต่ างจังหวัด

หนาท่ีความรับผิดชอบ ของผูเก่ียวของตามกฎกระทรวงน้ีและมาตราท่ีเก่ียวของ
มีดงั นี้

๑. เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษหรือผูควบคุมระบบบําบัดน้ําเสีย
หรอื ผรู ับจา งใหบรกิ ารบาํ บดั นาํ้ เสยี มหี นา ที่

– จดั เกบ็ สถติ แิ ละขอ มลู ซง่ึ แสดงผลการทาํ งานของระบบบาํ บดั นา้ํ เสยี ในแตล ะวนั
ตามแบบ ทส. ๑ และจดั เกบ็ ไว ณ สถานท่ตี ้ังแหลง กาํ เนดิ มลพษิ นนั้ เปนเวลา ๒ ป

– จัดทํารายงานสรุปผลการทาํ งานของระบบบาํ บดั นาํ้ เสียในแตล ะเดอื น ตาม
แบบ ทส. ๒ เสนอตอเจาพนักงานทองถนิ่ ภายในวนั ท่ี ๑๕ ของเดอื นถัดไป

๒. เจา พนกั งานทองถิ่น มีหนาท่ี
– รบั รายงานสรปุ ผลการทาํ งานของระบบบาํ บดั นํา้ เสีย (แบบ ทส. ๒)
– ออกใบรบั เพื่อเปนหลักฐานใหแ กผเู สนอรายงานภายใน ๗ วันนับแตว นั ทไ่ี ดรับ

รายงาน
– รวบรวมรายงานเสนอตอ เจา พนกั งานควบคมุ มลพษิ ทม่ี อี าํ นาจในเขตทอ งถน่ิ นน้ั

อยางนอยเดือนละ ๑ ครัง้ ซ่ึงอาจจดั ทําความเหน็ เพื่อประกอบการพจิ ารณาของเจา พนกั งาน
ควบคมุ มลพิษเสนอไปพรอ มกบั รายงานทรี่ วบรวมสงไปนนั้ ดว ยก็ได (เปน ไปตามท่ีกาํ หนดไวใน
มาตรา ๘๑ แหงพระราชบญั ญัติสง เสริมและรักษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ มแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕)

๓. เจา พนักงานควบคุมมลพษิ มหี นาที่
– เก็บรวบรวมรายงานและใชเปนขอมูลในการดําเนินการตรวจสภาพการทํางาน

ของระบบบําบดั นํา้ เสียหรอื อปุ กรณและเคร่อื งมอื ตา งๆ รวมท้ังตรวจบันทึกรายละเอียด สถติ ิหรือ
ขอมูลเกี่ยวกับการทํางานของระบบหรืออุปกรณและเครื่องมือดังกลาวหรือเมื่อมีเหตุอันสมควร
สงสัยวามีการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ (เปน ไปตามทก่ี ําหนดไวในมาตรา ๘๒ (๑) แหงพระราชบญั ญัตสิ งเสรมิ และรกั ษา
คุณภาพสงิ่ แวดลอมแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕)

๓๙๗

ขั้นตอนการรายงาน พืน้ ท่กี รุงเทพมหานคร
แนวทางปฏิบัติการดาํ เนินงานตามกฎกระทรวง ซ่งึ ออกตามความในมาตรา ๘๐
แหง พระราชบญั ญตั ิสง เสริมและรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดลอมแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๓๕

สําหรบั พื้นทกี่ รุงเทพมหานคร

จดั เก็บสถติ ิและขอ มลู ผลการทาํ งานของระบบบําบัดนาํ้ เสยี
และบันทึกขอ มลู ตามแบบ ทส.๑ (ทุกวนั )

ตามประกาศกรมควบคมุ มลพิษ
สง ทางไปรษณียต อบรบั ใหถ อื วนั ท่ลี งทะเบียนเปน วันสงรายงาน
❖ สงดวยวิธที างอิเลก็ ทรอนิกสใ หถือวา วนั ท่ขี อ มูลถกู สงออก

จากระบบขอมลู ของผูสงเปนวนั รายงาน

กรมควบคุมมลพษิ รวบรวมรายงาน

๓๙๘

ขั้นตอนการรายงาน พน้ื ทตี่ างจงั หวัด
แนวทางปฏบิ ัตกิ ารดาํ เนินงานตามกฎกระทรวง ซง่ึ ออกตามความในมาตรา ๘๐
แหงพระราชบัญญัตสิ งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพสิง่ แวดลอ มแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๓๕

สาํ หรับพนื้ ทตี่ างจังหวัด

จัดเก็บสถติ แิ ละขอ มลู ผลการทาํ งานของระบบบําบัดน้ําเสยี
และบนั ทกึ ขอมลู ตามแบบ ทส.๑ (ทกุ วัน)

(เขตเมืองพัทยา) ตามประกาศกรมควบคมุ มลพษิ
สง ทางไปรษณียต อบรับใหถือวนั ทลี่ งทะเบียนเปนวันสง รายงาน
❖ สงดวยวธิ ีทางอิเล็กทรอนกิ สใหถอื วา วนั ทข่ี อมลู ถูกสง ออก

จากระบบขอ มูลของผสู ง เปนวันรายงาน

๓๙๙

การตดิ ตอขอรับแบบ ทส. ๑ และ ทส. ๒
พื้นทกี่ รงุ เทพมหานคร
– ดาวนโ หลดแบบไดท่เี ว็บไซตก รมควบคุมมลพษิ (www.pcd.go.th) หรอื เว็บไซต

สํานกั จดั การคณุ ภาพนา้ํ กรมควบคุมมลพิษ (www.wqm.pcd.go.th/water)
– ตดิ ตอ ขอรับแบบไดท่สี ํานักจดั การคณุ ภาพนํา้ กรมควบคุมมลพิษ โทรศัพท

หมายเลข ๐ ๒๒๙๘ ๒๒๒๑ - ๔, ๐ ๒๒๙๘ ๒๒๑๘-๒๐ , ๐ ๒๒๙๘ ๒๒๑๐-๓
พ้นื ทีต่ างจงั หวดั
– ดาวนโ หลดแบบไดทีเ่ ว็บไซตก รมควบคุมมลพษิ (www.pcd.go.th) หรอื เว็บไซต

สํานักจดั การคุณภาพนาํ้ กรมควบคุมมลพษิ (www.wqm.pcd.go.th/water)
– ติดตอขอรับแบบไดท ส่ี ํานักงานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มจังหวดั

ภาคเหนือ โทร. ๐ ๕๕๗๑ ๑๒๘๘ , ๐ ๕๕๗๑ ๗๐๙๐
กาํ แพงเพชร โทร. ๐ ๕๓๖๐ ๐๘๑๖ , ๐ ๕๓๗๑ ๑๔๔๕
เชยี งราย โทร. ๐ ๕๓๒๗ ๕๒๖๕ , ๐ ๕๓๔๐ ๘๙๙๗
เชยี งใหม โทร. ๐ ๕๕๕๑ ๑๗๖๓
ตาก โทร. ๐ ๕๖๖๒ ๔๖๓๕ , ๐ ๕๖๒๒ ๘๐๕๘
นครสวรรค โทร. ๐ ๕๔๗๑ ๐๑๓๖
นา น โทร. ๐ ๕๔๘๘ ๗๑๑๒
พะเยา โทร. ๐ ๕๖๖๑ ๑๒๙๕
พิจิตร โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๒๙๗ , ๐ ๕๕๒๓ ๑๕๔๑
พิษณุโลก โทร. ๐ ๕๖๗๒ ๙๗๘๖
เพชรบรู ณ โทร. ๐ ๕๔๕๑ ๑๖๓๗
แพร โทร. ๐ ๕๓๖๑ ๔๔๒๓
แมฮ อ งสอน โทร. ๐ ๕๔๒๖ ๕๒๔๐ , ๐ ๕๔๒๖ ๕๒๔๗
ลาํ ปาง โทร. ๐ ๕๓๕๑ ๐๖๖๒
ลําพูน โทร. ๐ ๕๕๖๑ ๓๓๕๒
สุโขทัย โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๑๐๕๖
อุตรดิตถ โทร. ๐ ๕๖๕๑ ๑๐๐๙ , ๐ ๕๖๕๑ ๓๑๕๙
อทุ ัยธานี

ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โทร. ๐ ๔๓๘๑ ๑๗๗๘
กาฬสนิ ธุ โทร. ๐ ๔๓๓๓ ๑๓๖๙ , ๐ ๔๓๒๓ ๗๙๗๑
ขอนแกน

๔๐๐

ชัยภมู ิ โทร. ๐ ๔๔๘๑ ๑๔๗๘ , ๐ ๔๔๘๒ ๒๔๙๘
นครพนม โทร. ๐ ๔๒๕๑ ๑๕๐๕ , ๐ ๔๒๕๑ ๒๑๓๕
นครราชสมี า โทร. ๐ ๔๔๒๑ ๔๓๗๗
บรุ รี ัมย โทร. ๐ ๔๔๖๑ ๑๑๐๒
มหาสารคาม โทร. ๐ ๔๓๗๗ ๗๘๙๙
มกุ ดาหาร โทร. ๐ ๔๒๖๑ ๔๒๓๑ , ๐ ๔๒๖๑ ๕๔๔๒
ยโสธร โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๒๗๑๐ , ๐ ๔๕๗๑ ๕๖๕๗
รอยเอด็ โทร. ๐ ๔๓๕๖ ๑๕๖๑ , ๐ ๔๓๕๑ ๓๐๔๓
เลย โทร. ๐ ๔๒๘๑ ๑๑๑๒ , ๐ ๔๒๘๑ ๑๓๙๔
ศรีสะเกษ โทร. ๐ ๔๕๖๑ ๒๘๗๗
สกลนคร โทร. ๐ ๔๒๗๑ ๑๔๖๐ , ๐ ๔๒๗๑ ๔๕๔๐
สุรนิ ทร โทร. ๐ ๔๔๕๑ ๑๓๖๒
หนองคาย โทร. ๐ ๔๒๔๑ ๑๑๔๙
หนองบวั ลาํ ภู โทร. ๐ ๔๒๓๑ ๑๐๒๕
อํานาจเจริญ โทร. ๐ ๔๕๕๑ ๑๙๘๖ , ๐ ๔๕๕๑ ๒๑๙๐
อดุ รธานี โทร. ๐ ๔๒๒๑ ๒๕๘๘ , ๐ ๔๒๒๒ ๑๗๗๙
อบุ ลราชธานี โทร. ๐ ๔๕๒๕ ๔๐๘๔ , ๐ ๔๕๒๔ ๒๑๓๓

ภาคกลาง

กาญจนบรุ ี โทร. ๐ ๓๔๖๒ ๒๙๑๐ , ๐ ๓๔๕๗ ๑๕๖๖
ชัยนาท โทร. ๐ ๕๖๔๑ ๓๐๔๐ , ๐ ๕๖๔๑ ๑๐๑๓
นครนายก โทร. ๐ ๓๗๓๑ ๒๗๑๓
นครปฐม โทร. ๐ ๓๔๓๔ ๐๐๒๕ , ๐ ๓๔๓๔ ๐๐๒๖
นนทบรุ ี โทร. ๐ ๒๕๘๐ ๐๗๒๗ , ๐ ๒๕๘๐ ๐๗๒๘
ปทุมธานี โทร. ๐ ๒๕๙๓ ๔๐๖๘
ประจวบคีรีขนั ธ โทร. ๐ ๓๒๖๑ ๑๒๗๕
พระนครศรีอยธุ ยา โทร. ๐ ๓๕๓๔ ๖๒๑๗
เพชรบรุ ี โทร. ๐ ๓๒๔๒ ๕๐๒๘
ราชบุรี โทร. ๐ ๓๒๓๓ ๗๐๔๑
ลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๐๖๐
สมทุ รสงคราม โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๔๖๗
สมุทรสาคร โทร. ๐ ๓๔๔๑ ๑๘๕๑

๔๐๑

สมุทรปราการ โทร. ๐ ๒๓๙๕ ๑๑๑๕ , ๐ ๒๓๙๕ ๒๑๕๕
สระบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๒๑ ๑๐๓๗ , ๐ ๓๖๒๒ ๐๒๙๖
สิงหบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๕๑ ๑๗๑๓ , ๐ ๓๖๕๒ ๓๕๐๖
สพุ รรณบรุ ี โทร. ๐ ๓๕๕๓ ๕๔๒๖
อางทอง โทร. ๐ ๓๕๖๑ ๑๑๘๔

ภาคใต

กระบี่ โทร. ๐ ๗๕๖๑ ๑๐๔๓ , ๐ ๗๕๖๒ ๒๗๘๗
ชุมพร โทร. ๐ ๗๗๕๑ ๒๑๖๖
ตรัง โทร. ๐ ๗๕๒๑ ๘๙๘๓
นครศรธี รรมราช โทร. ๐ ๗๕๓๕ ๖๒๑๘ ตอ ๒๒๒-๘
นราธิวาส โทร. ๐ ๗๓๕๑ ๑๑๕๔
ปต ตานี โทร. ๐ ๗๓๓๓ ๑๕๙๔ , ๐ ๗๓๓๔ ๘๔๓๒
พงั งา โทร. ๐ ๗๖๔๔ ๐๖๑๙ , ๐ ๗๖๔๔ ๐๖๒๐
พัทลงุ โทร. ๐ ๗๔๖๑ ๓๐๙๓
ภูเก็ต โทร. ๐ ๗๖๒๑ ๑๐๖๗
ยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๐ ๓๕๓๕
ระนอง โทร. ๐ ๗๗๘๑ ๑๒๖๗
สงขลา โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๕๗๙ , ๐ ๗๔๓๒ ๗๔๒๘
สตูล โทร. ๐ ๗๔๗๑ ๑๐๓๙
สุราษฎรธ านี โทร. ๐ ๗๗๒๘ ๗๕๗๓

ภาคตะวนั ออก โทร. ๐ ๓๙๓๑ ๑๐๑๖
จันทบรุ ี โทร. ๐ ๓๘๕๑ ๑๐๕๓
ฉะเชงิ เทรา โทร. ๐ ๓๘๔๖ ๗๐๓๔
ชลบุรี โทร. ๐ ๓๙๕๑ ๑๑๕๗ , ๐ ๓๙๕๒ ๐๐๕๗
ตราด โทร. ๐ ๓๗๔๕ ๔๓๒๖ , ๐ ๓๗๔๕ ๒๑๐๔
ปราจีนบรุ ี โทร. ๐ ๓๘๖๑ ๑๐๐๘
ระยอง โทร. ๐ ๓๗๔๒ ๕๕๐๐
สระแกว

๔๐๒

บทลงโทษ
มาตรา ๑๐๔ เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษผูใดไมปฏิบัติตาม

กฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา ๘๐ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหนึง่ ป หรอื ปรับไมเกนิ หนงึ่ แสน
บาท หรือทงั้ จําทงั้ ปรับ

มาตรา ๑๐๖ เจา ของหรอื ผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ ผูควบคมุ หรอื ผรู ับจา ง
ใหบริการบําบดั น้ําเสียหรือกาํ จัดของเสียผใู ดไมจ ดั เก็บสถิติ ขอ มูล หรือไมท าํ บันทกึ หรือรายงาน
ตามมาตรา ๘๐ ตองระวางโทษจําคุกไมเ กินหนึ่งเดือน หรือปรบั ไมเ กินหน่ึงหม่นื บาท หรอื ทง้ั จํา
ท้ังปรบั

มาตรา ๑๐๗ ผคู วบคมุ หรอื ผรู บั จา งใหบ รกิ ารบาํ บดั นา้ํ เสยี ผใู ดทาํ บนั ทกึ หรอื รายงาน
ทต่ี นมหี นา ทต่ี อ งทาํ ตามพระราชบญั ญตั สิ ง เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ มแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๓๕
โดยแสดงขอ ความอันเปนเท็จ ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ หนงึ่ ป หรือปรบั ไมเ กินหน่งึ แสนบาท
หรอื ท้ังจาํ ท้งั ปรบั

______________________________________
สอบถามขอ มลู เพม่ิ เติมไดท่ีสว นนํ้าเสยี เกษตรกรรม สาํ นกั จดั การคณุ ภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ
๙๒ ซอยพหลโยธนิ ๗ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐
โทร. ๐ ๒๒๙๘ ๒๒๒๑–๔ โทรสาร ๐ ๒๒๙๘ ๒๒๐๒

๔๐๓

(สําเนา)
แนวทางการเกบ็ สถิติ ขอ มูล การจัดทาํ บันทึกรายละเอียด
และรายงานสรปุ ผลการทํางานของระบบบาํ บดั นํ้าเสยี

(แบบ ทส. ๑ และ ทส. ๒) ตามกฎกระทรวง
ซ่ึงออกตามความในมาตรา ๘๐

แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

สํานักจัดการคุณภาพน้าํ
กรมควบคุมมลพษิ
๔๐๔

๑. บทนํา
กรมควบคุมมลพิษไดออกกฎกระทรวงกําหนดหลกั เกณฑ วธิ ีการ และแบบการ

จัดเกบ็ สถิติ ขอมูล การจัดทําบันทกึ รายละเอียดและรายงานสรปุ ผลการทํางานของระบบบาํ บัด
นา้ํ เสีย พ.ศ. ๒๕๕๕ ซงึ่ ออกตามความในมาตรา ๘๐ แหงพระราชบญั ญัติสง เสริมและรกั ษา
คุณภาพสงิ่ แวดลอมแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่กี าํ หนดใหเจาของหรือผคู รอบครองแหลง กําเนดิ
มลพษิ ซง่ึ มีระบบบาํ บดั นํ้าเสยี ตามมาตรา ๗๐ เปนของตนเองมหี นา ท่เี ก็บสถติ แิ ละขอ มลู ซ่ึงแสดง
ผลการทํางานของระบบหรอื อุปกรณ และเครือ่ งมอื ในแตล ะวัน และจัดทําบันทกึ รายละเอียดเปน
หลักฐานไว ณ สถานทตี่ ั้งแหลงกาํ เนดิ มลพษิ นั้น และจะตอ งจดั ทํารายงานสรปุ ผลการทํางานของ
ระบบหรอื อปุ กรณแ ละเคร่อื งมือ เสนอตอ เจา พนักงานทอ งถิ่นแหง ทอ งทท่ี ีแ่ หลงกําเนดิ มลพษิ นัน้
ตง้ั อยูอยา งนอยเดือนละหนึ่งครง้ั ท้งั นี้ กรณแี หลงกาํ เนิดใดมผี ูควบคุมการดาํ เนนิ งานระบบบําบัด
นาํ้ เสียใหผ ูควบคมุ มหี นา ท่ดี าํ เนินการจดั เก็บสถิตแิ ละขอ มลู ฯ แทนเจา ของหรอื ผคู รอบครอง
รวมทั้งใหผูไดรับใบอนุญาตรับจางใหบริการบําบัดนํ้าเสียมีหนาท่ีตองดําเนินการเชนเดียวกับ
เจา ของหรอื ผคู รอบครองแหลงกําเนดิ มลพษิ โดยการเกบ็ สถิติ ขอ มูล การจัดทาํ บันทกึ รายละเอยี ด
และรายงานสรุปผลการทาํ งานของระบบบําบัดนา้ํ เสยี ใหทาํ ตามหลักเกณฑ วธิ กี าร และแบบท่ี
กําหนดไวใ นกฎกระทรวง

ซ่ึงตามกฎกระทรวงดังกลา วไดก าํ หนดให
๑) เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษหรือผูควบคุมระบบบําบัดน้ําเสีย
ตองจดั เกบ็ สถติ แิ ละขอ มูลซ่งึ แสดงผลการทํางานของระบบบาํ บดั นา้ํ เสียในแตล ะวัน และจัดทํา
บันทกึ รายละเอียดตามแบบ ทส.๑ เกบ็ ไว ณ สถานที่ต้งั แหลง กาํ เนิดมลพิษเปน ระยะเวลา ๒ ป
นบั แตว นั ท่ีมีการจดั เกบ็ สถิติและขอมลู น้ัน
๒) จะตองจัดทํารายงานสรุปผลการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสียในแตละเดือน
ตามแบบ ทส.๒ และเสนอรายงานดังกลา วตอ เจา พนกั งานทองถ่ินภายในวนั ท่ี ๑๕ ของเดือน
ถัดไป โดยใหเสนอเจาพนักงานทองถิ่นแหงทองท่ีท่ีแหลงกําเนิดมลพิษนั้นตั้งอยูหรือสงทาง
ไปรษณียลงทะเบียนหรือรายงานดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสตามท่ีอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ
ประกาศกําหนด
โดยกฎกระทรวงฯ ดงั กลา วไดล งประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๒๙ ตอนท่ี
๓๙ ก วันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ และจะมีผลบังคับใชเมือ่ พนกาํ หนด ๙๐ วนั นบั แตวัน
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ซึง่ ตรงกบั วันที่ ๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

๔๐๕

๒. แนวทางการบนั ทกึ ขอมลู ตามแบบ ทส. ๑
เจาของหรือผคู รอบครองแหลง กําเนดิ มลพิษ จะตอ งบันทึกสถติ แิ ละขอ มูลแสดงผล

การทาํ งานของระบบบาํ บัดนาํ้ เสียในแตละวนั ตามแบบบันทกึ รายละเอียดของสถติ แิ ละขอมูล
ซ่งึ แสดงผลการทํางานของระบบบําบดั นา้ํ เสยี ของแหลง กาํ เนิดมลพษิ หรอื แบบ ทส. ๑ โดยแบบ
ทส. ๑ จาํ นวน ๑ ชดุ

๑) ใชส ําหรับบนั ทกึ ขอ มลู ในแตละวนั ในรอบ ๑ เดอื น
๒) แตล ะชุดจะประกอบดว ยสวนสาํ คัญ ๓ สว น คือ ๑) ขอมูลท่ัวไปเกยี่ วกบั แหลง
กําเนิดมลพษิ ๒)สถิตแิ ละขอ มูลทีจ่ ัดเกบ็ จากแหลงกําเนดิ มลพษิ และ ๓) การรบั รองการบันทึก
สถติ ิ ขอ มลู และรายละเอยี ดตา งๆ โดยแนวทางการบนั ทกึ ขอ มลู ในแตล ะสว นมีรายละเอยี ด ดังนี้
๑. ขอมูลทวั่ ไปเกยี่ วกบั แหลงกําเนิดมลพิษ ประกอบดว ย สถานท่ตี ้ัง ชือ่ – สกลุ
เจาของหรือผูค รอบครองแหลงกําเนิด ประเภทของกจิ การ ใบอนญุ าต (ถาม)ี และแผนผงั แสดง
การทํางานของระบบบาํ บดั นํ้าเสยี ทัง้ น้ี ในการบนั ทึกขอ มูลทัว่ ไปของแหลง กาํ เนิดตามแบบ
ทส. ๑ ไมจ าํ เปนตองบนั ทกึ ทกุ เดือน เจา ของหรือผูครอบครองแหลง กําเนดิ มลพิษสามารถบนั ทกึ
ในครั้งแรกครั้งเดียว ยกเวนกรณีมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลเกี่ยวกับแหลงกําเนิดมลพิษจะตอง
ทําการบันทึกขอมูลใหมแทนขอมูลเดิม สําหรับแนวทางการบันทึกขอมูลท่ัวไปเก่ียวกับแหลง
กาํ เนดิ มลพษิ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี

รายละเอยี ดขอมูล แนวทางการบันทกึ

๑. สถานทต่ี ้งั แหลง กาํ เนิดมลพษิ – บนั ทกึ สถานท่ตี งั้ แหลง กําเนดิ มลพษิ ประกอบดว ย เลขท่ี หมทู ่ี
ซอย ถนน แขวง/ตาํ บล เขต/ อาํ เภอ จงั หวดั รวมท้งั หมายเลข
โทรศัพท และโทรสาร ทส่ี ามารถติดตอไป
– สถานทต่ี ง้ั แหลงกาํ เนิดมลพิษ อาจเปนสถานทเ่ี ดียวกันกบั
ที่อยขู องเจาของหรือผูครอบครองแหลงกาํ เนดิ หรอื ไมใ ชกไ็ ด

๒. ชื่อ – สกลุ เจาของหรอื บันทึกชื่อ – สกลุ เจา ของหรือผคู รอบครองแหลง กาํ เนดิ มลพษิ
ผคู รอบครองแหลงกาํ เนดิ มลพิษ – กรณีเปน ทีด่ นิ จัดสรร ไดแก นิติบุคคล
– กรณีเปน ระบบบําบัดนํ้าเสียรวมของชุมชน ไดแ ก องคก ร
ปกครองสว นทอ งถิ่น

๓. ประกอบกจิ การประเภท – บันทกึ ประเภทของกจิ การหรือประเภทของแหลงกําเนิด เชน
การเลยี้ งสกุ ร สถานบี รกิ ารนํา้ มนั เชอ้ื เพลงิ เปน ตน

๔๐๖

รายละเอยี ดขอ มลู แนวทางการบนั ทกึ

๔. ใบอนุญาต (ถาม)ี – บันทกึ ขอ มูลใบอนุญาต ไดแก เลขที่ หนวยงานออกใบอนญุ าต
และวันท่ีหมดอายุ เชน กรณีการเลยี้ งสุกร การอนญุ าตให
ประกอบกจิ การเปน อํานาจของทอ งถิ่น ตามพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ดงั นัน้ ใหกรอกเลขที่ใบอนญุ าต
ประกอบกจิ การท่ีเปน อันตรายตอ สุขภาพ ตามพระราชบัญญตั ิ
การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึง่ ออกใหโ ดยหนว ยงานทอ งถ่นิ ใน
ทองที่ทแ่ี หลง กาํ เนิดมลพษิ นน้ั ต้ังอยู เชน องคก ารบริหารสวน
ตําบล... หรือเทศบาล...

๔) แผนผงั แสดงการทํางานของ ใหแสดงแผนผังการทํางานของระบบบําบดั นาํ้ เสีย ควรประกอบ
ระบบบําบัดน้าํ เสีย ดวย การรวบรวมนาํ้ เสีย หนว ยบาํ บัดยอยของระบบฯ แสดงจุด
นํ้าเขาระบบฯ จดุ ระบายน้าํ ทง้ิ และแหลง รองรับน้าํ ท้ิง

๒. สถิติและขอมูลทจี่ ดั เก็บจากแหลง กําเนิดมลพษิ
เปนสถิตแิ ละขอ มลู ท่เี กบ็ จากแหลง กําเนดิ มลพษิ และบนั ทึกตามตารางในแบบ

ทส. ๑ ซ่งึ จะตองบนั ทึกขอมูลทุกวัน ประกอบดวย วัน เดอื น ปที่บนั ทึกขอ มลู ปริมาณการใชไ ฟฟา
ปรมิ าณนํา้ ใช ปรมิ าณนํ้าเสียท่ีเขา ระบบบําบัดนา้ํ เสยี การระบายน้ําท้งิ จากระบบบําบดั นา้ํ เสยี
ปรมิ าณสารเคมีหรือสารสกัดชีวภาพทใ่ี ช การทาํ งานของระบบบาํ บดั น้าํ เสีย ปริมาณตะกอน
สว นเกนิ ท่ีเกิดข้ึนจากระบบบาํ บัดนา้ํ เสยี ทนี่ ําไปกาํ จดั ปญหา อปุ สรรค และแนวทางการแกไข
และลายมือช่ือผบู นั ทกึ

สาํ หรบั แนวทางการจดั เก็บสถิติ ขอ มลู และการบนั ทึกท่จี ัดเกบ็ จากแหลง กาํ เนดิ
มลพิษมีรายละเอียด ดงั นี้

รายละเอยี ดขอมลู แนวทางการจัดเกบ็ สถติ ิ ขอ มูล/การบนั ทึก

๑) วัน เดือน ป ระบวุ นั ที่ เดือน และ พ.ศ. ทท่ี ําการบันทึกขอมูล ซง่ึ ตองบันทึก
ทุกวนั

๒) ปรมิ าณการใชไฟฟาของระบบ มแี นวทางการจัดเกบ็ สถิติ ขอ มูล ดงั นี้
บําบดั น้ําเสยี (หนวย) ๑) กรณมี กี ารตดิ ต้ังมเิ ตอรไ ฟฟา สําหรับระบบบาํ บดั นํ้าเสยี
โดยเฉพาะ ใหบ นั ทกึ ขอมลู จํานวนหนว ยทอ่ี า นไดจ ากมิเตอร
ไฟฟา (รายวัน)

๔๐๗

รายละเอียดขอมลู แนวทางการจัดเก็บสถติ ิ ขอมูล/การบันทกึ

๒) ปริมาณการใชไฟฟา ของระบบบาํ บัด ๒) กรณีไมไดตดิ ตั้งมิเตอรไ ฟฟาสาํ หรบั ระบบบําบดั ฯ
นา้ํ เสีย (หนวย) (ตอ ) โดยเฉพาะใหคดิ ปริมาณการใชไ ฟฟาจากอัตราการใช
ไฟฟาของอุปกรณท ่ใี ชไ ฟฟาทกุ ชิ้นในระบบบําบดั ฯ และ
ระยะเวลาในการใชงานอุปกรณน้ันในแตละวนั คํานวณ
เปน ปริมาณการใชไฟฟาในแตละวนั
๓) บนั ทึก “ – ” กรณีไมม ีการใชไ ฟฟา เชน เปนระบบ
บาํ บดั นาํ้ เสยี แบบธรรมชาตหิ รอื ใชนา้ํ มนั เปนตน

๓) ปรมิ าณการใชนา้ํ ทกุ กจิ กรรมใน มแี นวทางการจดั เกบ็ สถติ ิ ขอ มลู ดงั น้ี
แหลงกําเนิดมลพิษ (ลบ.ม.) ๑) กรณใี ชนา้ํ ประปาท้ังหมดและมีการตดิ ตั้งมาตรวดั นาํ้
ของแหลงกาํ เนดิ โดยเฉพาะ ใหบันทกึ ขอมูลปรมิ าณการ
ใชนา้ํ จากตวั เลขทอ่ี า นไดจากมาตรวัดน้าํ ของแตล ะวัน
๒) กรณไี มไ ดต ดิ ตง้ั มาตรวดั นา้ํ ของแหลง กาํ เนดิ โดยเฉพาะ
ใหเ ก็บขอมูลปริมาณการใชน ํ้าจากอุปกรณท่ีกกั เก็บนํ้าใช
ซ่ึงทราบปรมิ าตรที่ชดั เจน เชน แทงคน าํ้
และสาํ หรบั แหลงกาํ เนดิ ใดทีแ่ หลง นํ้าใชบางสวนมกี าร
ติดตงั้ มาตรวดั นํา้ และบางสว นไมมมี าตรวดั นํา้ ใหใช
แนวทางการเกบ็ ขอมลู ตามขอ ๑) และ ๒) รวมกัน
๓) กรณไี มมีท้ังมาตรวดั น้ํา และไมส ามารถเก็บขอมูลตาม
ขอ ๒) ไดใ หป ระเมนิ ปรมิ าณการใชน ํา้ ในแตละวันจาก
อตั ราการใชน ํ้าเฉลยี่ ของแหลงกําเนิดนัน้ ๆ เชน กรณี
สถานท่เี ล้ียงสกุ รประเมนิ โดยใชค า เฉล่ียอตั ราการใชน ํา้
ของสกุ รแตล ะชนิด (คพ., ๒๕๕๓) ดังนี้

สุกรพอ - แมพ นั ธุ ๐.๐๙๒ ลบ.ม./ตัว/วัน
สกุ รขนุ ๐.๐๔๘ ลบ.ม./ตัว/วนั
สกุ รอนุบาล ๐.๐๓๒ ลบ.ม./ตัว/วัน
ท้ังน้ี ในการจดั เกบ็ สถติ ิ ขอมูลใหใ ชแ นวทางตามขอ ๑)
เปน หลัก ถาไมม ีขอ ๑) คอยเลือกใชแนวทางตามขอ ๒)
และ ๓) ตามลาํ ดับ

๔) ปรมิ าณนา้ํ เสยี ที่เขา ระบบบาํ บดั มแี นวทางการจัดเกบ็ สถิติ ขอ มลู ดังนี้
นํ้าเสีย (ลบ.ม.) ๑) คํานวณจากความเร็วของการไหลในรางน้าํ เสีย โดยใช
เครื่องวดั อัตราการไหล (Flow Meter) และการติดตง้ั
เวยี ร (Weir)

๔๐๘

รายละเอียดขอ มลู แนวทางการจดั เก็บสถติ ิ ขอ มลู /การบนั ทกึ

๔) ปริมาณน้าํ เสียทเ่ี ขา ระบบบําบัด ๒) กรณมี กี ารสบู น้าํ เสียเขาระบบฯ สามารถเก็บขอ มลู
นํา้ เสีย (ลบ.ม.) (ตอ) จากขนาดของเคร่ืองสูบน้าํ และระยะเวลาทีใ่ ชในการสูบ
นํ้าเสียในแตละวัน
๓) ดจู ากเอกสารการออกแบบระบบบาํ บดั นํา้ เสยี วา
ระบบฯ มคี วามสามารถในการรองรับน้ําเสียไดเ ทา ไร และ
ปจจุบันมนี ํ้าเสียเขา ระบบเทาไร (กรณนี ้ีกิจกรรท่ีกอใหเ กิด
น้ําเสยี ของแหลง กําเนิดจะตอ งไมแ ตกตางจากตอน
ออกแบบระบบฯ) ทงั้ น้ี หากไมส ามารถจดั เกบ็ ขอมลู ตาม
ขอ ๑) - ๓) ได อนโุ ลมใหใ ชก ารประเมินโดยใชคาเฉลยี่
อัตราการเกดิ น้าํ เสยี ของแหลง กาํ เนิดน้ันๆ เชน กรณี
สถานทเ่ี ล้ียงสกุ รประเมินโดยใชอ ตั ราการเกดิ น้ําเสียของ
สุกรแตล ะชนดิ (คพ., ๒๕๕๓) ดงั น้ี

สุกรพอ - แมพนั ธุ ๐.๐๖๔ ลบ.ม./ตวั /วัน
สกุ รขนุ ๐.๐๒๔ ลบ.ม./ตวั /วัน
สุกรอนุบาล ๐.๐๒๐ ลบ.ม./ตัว/วัน

๕) การระบายน้ําท้ิงจากระบบบําบัด - บันทึกวา “ระบาย” สาํ หรบั วันทีม่ กี ารระบายนาํ้ ทิง้
น้ําเสยี (ระบาย/ไมร ะบาย) ออกจากระบบบาํ บดั ฯ
- บันทึกวา “ไมร ะบาย” สาํ หรบั วันทไ่ี มม กี ารระบายนํ้าทิง้
ออกจากระบบบาํ บัดฯ
ทั้งนี้ “การระบาย” หมายถึง ระบายนํ้าทิ้งจากระบบบําบดั
นํ้าเสียออกสแู หลงนาํ้ สาธารณะหรือออกสสู ง่ิ แวดลอ ม

๖) ปริมาณสารเคมีหรือสารสกัด - บันทกึ ช่อื ของสารเคมีหรือผลิตภณั ฑของสารสกัด
ชวี ภาพท่ีใช (ช่อื /ปรมิ าณ) (ลติ ร/กิโลกรัม) ชีวภาพพรอมทงั้ ปรมิ าณการใชใ นแตล ะวัน หากเปน
ของเหลวใชห นว ยเปนลติ ร และของแขง็ ใชห นว ยเปน
กิโลกรัม
- บนั ทึก “ – ” กรณไี มมีการใชส ารเคมหี รอื สารสกดั
ชีวภาพใด ๆ

๗) การทํางานของระบบบําบัดนํ้าเสีย
ประกอบดวย

(๑) ระบบบาํ บัดนา้ํ เสยี (ปกต/ิ ผดิ ปกต)ิ ตรวจสอบการทาํ งานของระบบฯ วา ทํางานปกติหรอื ไม
โดยพจิ ารณาทางดา นกายภาพของโครงสรางระบบ
รวมท้งั อุปกรณ และเครอื่ งจักรตา งๆ
- บนั ทึกวา “ปกติ” หากไมพบวา มวี ัสดุ อปุ กรณหรอื
เครือ่ งจกั รใดๆ ชํารุด
๔๐๙

รายละเอยี ดขอมูล แนวทางการจดั เกบ็ สถติ ิ ขอมูล/การบันทึก
(๑) ระบบําบดั นํ้าเสยี (ปกติ/ผิดปกติ) - บันทึกวา “ผดิ ปกต”ิ หากพบวามีโครงสรางระบบฯ หรอื
เคร่ืองจักรชํารุดไมสามารถใชงานได เชน ระบบอดุ ตนั
(ตอ) ทอนา้ํ เสียชาํ รุด เปน ตน และหากพบความผดิ ปกตคิ วร
(๒) เคร่ืองสบู น้าํ (ปกติ/ผดิ ปกติ) ระบปุ ญ หาและอุปสรรคและแนวทางการแกไ ขไวดว ย
- บนั ทกึ “ปกติ” หากเครอื่ งสูบนาํ้ ยงั คงสามารถทาํ งานได
(๓) เครื่องเตมิ อากาศ (ปกติ/ผดิ ปกต)ิ (สบู นาํ้ ได)
(๔) เครอื่ งกวน/ผสมนํ้าเสยี (ปกติ/ - บันทึก “ผดิ ปกติ” หากเคร่ืองสบู น้ําชาํ รุดและไมสามารถ
ผดิ ปกต)ิ ทํางานได (กรณีมีอาการผดิ ปกติอ่ืน เชน เสยี งดัง แตย ังคง
(๕) เครื่องกวน/ผสมสารเคมี (ปกต/ิ สามารถทาํ งานได ใหถือวาทํางาน “ปกต”ิ
ผดิ ปกติ) - บนั ทกึ “ – ” กรณไี มมหี รอื ไมไ ดใ ชเ ครอื่ งสบู นา้ํ
(๖) เคร่ืองสูบตะกอน (ปกติ/ผิดปกติ) ทั้งน้ี สาํ หรบั แหลง กําเนดิ มลพษิ ทม่ี เี คร่อื งสบู น้าํ มากกวา
(๗) อนื่ ๆ (ระบ)ุ (ปกต/ิ ผดิ ปกต)ิ ๑ เครือ่ ง ใหบันทกึ ทุกเครือ่ งท่ใี ชง าน กรณีทกุ เคร่ือง
ทาํ งานปกติใหบ นั ทึก “ปกติ” หากมีเครือ่ งใดเครื่องหน่งึ
ทํางานผดิ ปกติใหบ นั ทกึ วาปกติกเ่ี คร่ือง และผดิ ปกติ
กเ่ี ครอ่ื ง เชน มี ๓ เครอื่ งพบวาชาํ รดุ ไมส ามารถใชงานได
๑ เครอ่ื ง ใหบันทกึ “ปกติ ๒ เครอื่ ง ผิดปกติ ๑ เครอ่ื ง”
และควรระบุปญหาและอุปสรรคและแนวทางการแกไ ข
ไวดวย
มแี นวทางการบันทกึ ขอ มูลเชน เดยี วกบั เครื่องสูบนํา้
มแี นวทางการบันทกึ ขอ มลู เชน เดียวกับเครอ่ื งสบู นํ้า

มีแนวทางการบนั ทึกขอ มลู เชน เดียวกับเครื่องสูบนํา้

มแี นวทางการบันทกึ ขอมูลเชนเดียวกับเครอื่ งสูบนา้ํ
ระบุอปุ กรณแ ละเคร่ืองมอื ท่ีใชในระบบบําบัดนํ้าเสยี
นอกเหนอื จากอุปกรณและเคร่อื งมือตามขอ (๓) - (๖)
และใชแ นวทางการบนั ทกึ ขอมลู เชนเดยี วกับเครือ่ งสูบนํ้า

๔๑๐

รายละเอียดขอมูล แนวทางการจัดเก็บสถติ ิ ขอ มลู /การบันทึก
๘) ปริมาณตะกอนสวนเกนิ จากระบบ - บนั ทกึ ปรมิ าณตะกอนสว นเกนิ จากระบบบาํ บดั ฯ ทนี่ าํ ไป
บาํ บดั นํา้ เสยี ทน่ี ําไปกาํ จัด (ลบ.ม.) กําจัดวามีปริมาณเทาไหร ซงึ่ สามารถคาํ นวณไดจ าก
๙) ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไข ปริมาตรของบอ เกบ็ กกั ตะกอน
- บนั ทกึ วา “ – ” สําหรับวนั ทีไ่ มมกี ารนําตะกอนสว นเกนิ
๑๐) ลายมอื ช่ือผูบนั ทกึ ไปกาํ จดั
ระบปุ ญหา อปุ สรรค และแนวทางการแกไขปญหาท่ี
เกิดข้นึ หากพบวา ระบบบาํ บดั นํ้าเสยี อปุ กรณแ ละ
เครอ่ื งมือทีใ่ ชในระบบบําบดั นา้ํ เสยี มกี ารทํางานท่ีผิดปกติ
หรอื ไมสามารถจดั เกบ็ สถิติขอมลู ตามทกี่ ําหนดไวใ น
ตารางในแบบ ทส.๑ ไดห รอื พบส่ิงปกตใิ ดๆ แมว าระบบฯ
จะมกี ารทํางานอยางปกติก็ตาม เชน มีตะกอนอืดลอย
เปนตน
ลงลายมือชือ่ ผบู ันทึกสถติ ิและขอมลู ทุกวัน ทั้งน้ี ผูบ ันทกึ
จะเปน เจาของหรือผคู รอบครองแหลง กาํ เนิดมลพษิ หรอื
ไมใชก็ได

๓. การรบั รองการบนั ทกึ สถิติ ขอ มลู และรายละเอียดตา งๆ
เมือ่ บนั ทึกขอมลู ในแตละวนั ตามตารางในแบบ ทส. ๑ จนถงึ วนั สดุ ทา ยของเดอื น

เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษหรือผูควบคุมระบบบําบัดน้ําเสียหรือผูรับจางให
บรกิ ารบําบัดนา้ํ เสีย (บุคคลใดบคุ คลหนึ่ง) จะตอ งลงนามรบั รองวาการบนั ทกึ สถิติและขอมูลตาม
ตารางในแบบ ทส. ๑ มีความถูกตอ งทุกประการ โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี

กรณี การลงนาม

๑) เจาของหรือผคู รอบครองแหลง กําเนิด เจาของหรือผูครอบครองแหลง กาํ เนดิ มลพษิ จะตอ ง
มลพิษ ลงนามรบั รองวา การบันทกึ สถติ แิ ละขอ มลู ตามตารางใน
แบบ ทส.๑ มคี วามถูกตอ งทกุ ประการหรอื อาจ
มอบอาํ นาจใหผอู น่ื ลงนามแทนก็ได

๒) ผคู วบคุมระบบบาํ บัดนา้ํ เสีย กรณแี หลง กําเนิดมลพิษใด มีการจางผูค วบคุมระบบ
บาํ บัดนา้ํ เสีย ผคู วบคุมฯ จะตอ งเปน คนลงนามรบั รองฯ
พรอ มระบเุ ลขทใ่ี บอนุญาต วนั หมดอายุ และหนวยงาน
ผูออกใบอนุญาต (ทาํ แทนเจา ของหรอื ผคู รอบครองฯ)

๔๑๑

กรณี การลงนาม

๒) ผูควบคมุ ระบบบาํ บดั นา้ํ เสีย (ตอ ) ท้ังน้ี “ผคู วบคมุ ระบบบําบัดนํ้าเสยี ” หมายถึง ผคู วบคมุ
ตามมาตรา ๗๓ ของพระราชบญั ญัตสิ งเสริมและรกั ษา
คุณภาพสิง่ แวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

๓) ผูรับจา งใหบ ริการบําบดั นาํ้ เสยี กรณแี หลง กําเนดิ มลพิษใดใชบริการผรู ับจางใหบ ริการ
บาํ บัดนา้ํ เสีย ผูรบั จา งฯ จะตอ งเปน คนลงนามรบั รองฯ
พรอ มระบเุ ลขท่ีใบอนญุ าต วนั หมดอายุ และหนว ยงาน
ผูออกใบอนญุ าต (ทาํ แทนเจาของหรอื ผูครอบครองฯ)
ทั้งน้ี “ผรู บั จางใหบ รกิ ารบําบัดน้าํ เสยี ” หมายถงึ ผูรับจา งฯ
ตามมาตรา ๗๓ ของพระราชบญั ญัติสง เสริมและรักษา
คณุ ภาพสงิ่ แวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

ท้งั นี้ เมอ่ื เจา ของหรือผูครอบครองแหลง กําเนิดมลพษิ ดาํ เนนิ การจดั เก็บสถติ ิ และ
ขอ มูลแสดงผลการทาํ งานของระบบบําบัดนาํ้ เสยี ใน แตละวัน ตามแบบบนั ทึกรายละเอียดของ
สถิติและขอ มูลซงึ่ แสดงผลการทาํ งานของระบบบาํ บดั น้ําเสียของแหลงกาํ เนิดมลพิษ หรอื แบบ
ทส. ๑ ครบทกุ วันในรอบ ๑ เดอื นเรียบรอยแลว ใหดาํ เนินการ ดงั น้ี

๑. นําขอมูลท่ีบันทึกตามแบบ ทส. ๑ มาสรุปเปนผลการทํางานของระบบบําบัด
น้าํ เสยี ในแตล ะเดือนตามแบบ ทส. ๒

๒. จดั เก็บแบบ ทส. ๑ ท่บี ันทึกขอมลู เรียบรอ ยแลวไว ณ ท่ตี ัง้ แหลง กําเนิดมลพษิ
เปน เวลา ๒ ปน บั ตงั้ แตวนั ทีม่ ีการเกบ็ สถติ แิ ละขอมลู นั้น

๔๑๒

๓. แนวทางการบันทกึ ขอมลู ตามแบบ ทส. ๒
แบบรายงานสรุปผลการทาํ งานของระบบบําบดั นํา้ เสียหรอื แบบ ทส. ๒ ที่เจา ของ

หรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ จะตองจัดสงใหกับเจาพนักงานทองถ่ินในทองท่ีที่แหลง
กําเนิดมลพิษต้ังอยูในแตละเดือน (ไมเ กินวันท่ี ๑๕ ของเดอื นถัดไป) ประกอบดวยสว นสําคญั
๓ สว น คอื ๑) ขอมลู ทว่ั ไป ๒) ขอ มลู เกยี่ วกบั ระบบบาํ บัดนํ้าเสีย และแหลง รองรับนาํ้ ทิ้ง และ ๓)
สรุปผลการทํางานของระบบบําบัดนํ้าเสียเปนรายเดือนโดยแนวทางการรายงานขอมูลในแตละ
สว นมีรายละเอียด ดังนี้

๑. ขอมลู ท่ัวไป เปนขอ มลู ทวั่ ไปเกย่ี วกบั แหลง กําเนิดมลพษิ ประกอบดว ย
สถานทีต่ ัง้ ชอื่ –สกลุ เจา ของหรือผูครอบครองแหลง กาํ เนิด ประเภทของกจิ การ ใบอนญุ าต (ถา ม)ี
และการลงนามผรู ายงานสําหรับแนวทางการรายงานขอ มูลท่วั ไปตามแบบ ทส. ๒ มรี ายละเอยี ด
ดังนี้

รายละเอียดขอ มลู แนวทางการรายงาน

๑. สถานทต่ี ้ังแหลงกาํ เนิดมลพษิ เปน ขอมลู เดยี วกับสถานที่ตั้งแหลง กาํ เนดิ มลพิษทบี่ ันทกึ
ตามแบบ ทส. ๑

๒. ชื่อ - สกุล เจา ของหรอื ผคู รอบครอง เปน บคุ คลเดยี วกนั กับทบ่ี ันทกึ ตามแบบ ทส. ๑
แหลงกาํ เนิดมลพษิ

๓. ประกอบกิจการประเภท ตามท่บี ันทกึ ในแบบ ทส. ๑

๔. ใบอนญุ าต (ถาม)ี ตามทบี่ นั ทึกในแบบ ทส. ๑

๕. เดอื นท่ีรายงานและผูร ายงาน ใหระบุวา รายงานทจ่ี ัดสงครง้ั นี้ เปน รายงานสรุปขอมลู
แสดงผลการทํางานของระบบบําบดั นา้ํ เสยี ประจําเดือนใด
พ.ศ. ใด ไมใชเ ดอื นท่ีสงรายงาน และผรู ายงานรายงานใน
ฐานะ
– เจา ของหรือผคู รอบครองแหลงกําเนดิ หรือ
– ผคู วบคุมระบบบาํ บดั น้าํ เสยี หรือ
– ผูรบั จา งใหบริการบาํ บัดนา้ํ เสยี
ซึ่งผูร ายงานจะตองเปนบุคคลเดียวกับผรู บั รองการบนั ทกึ
สถติ แิ ละขอมลู ตามแบบ ทส. ๑

๔๑๓

๒. ขอมลู เกย่ี วกับระบบบาํ บดั น้าํ เสีย และแหลงรองรับนา้ํ ทิง้ เปน การรายงาน
เกีย่ วกบั ประเภท/ชนิดของระบบบาํ บดั น้าํ เสยี ความสามารถในการรองรับนา้ํ เสยี การทํางานของ
ระบบบําบัดนํ้าเสียเปนแบบตอเน่ืองหรือไมตอเน่ือง อุปกรณและเคร่ืองมือท่ีใชในระบบบําบัด
นา้ํ เสียมีอะไรบา ง แหลง รองรับนา้ํ ท้ิงและวธิ กี ารจัดการตะกอนท่ีเกดิ ขนึ้ จากระบบบาํ บัดน้ําเสยี
และวิธกี ารกําจัด โดยมแี นวทางการรายงาน ดังนี้

รายละเอยี ดขอ มลู แนวทางการรายงาน

๑. ประเภท/ชนิดของระบบบําบดั นํา้ เสีย – ใหระบุประเภท/ชนดิ ของระบบบาํ บัดน้าํ เสยี ทใี่ ชใ น
การบําบดั นาํ้ เสยี ซ่งึ เปน ชื่อทเ่ี รียกระบบฯ ในทาง
วชิ าการ (ไมใ ชท างการคา) เชน ระบบเอเอส ระบบ
ยูเอเอสบี ระบบบอ ปรบั เสถยี ร เปน ตน
– ระบุความสามารถในการรองรับนํ้าเสียของระบบบําบัด
น้ําเสยี ทใี่ ชว า กีล่ กู บาศกเมตรตอวนั (ลบ.ม./วนั ) สามารถ
ดูไดจาก

– แบบรายละเอียดการกอ สรา งระบบบําบัดนํ้าเสยี
– คํานวณจากปรมิ าตรความจขุ องหนวยบาํ บัดยอ ย

๒. การทาํ งานของระบบบําบัดน้าํ เสยี ระบกุ ารทํางานของระบบบาํ บดั นํา้ เสีย โดยเลอื กดงั นี้
– กรณกี ารทาํ งานของระบบฯ เปนแบบตอเนอื่ ง เชน
ระบบเอเอส ระบบเอสบีอาร เปนตน ใหทาํ เครื่องหมาย ✓
ในชอง ■ แบบตอเน่ือง และระบจุ ํานวนชว่ั โมงทีท่ ํางาน
ตอวัน เชน ๒๔ ชั่วโมง/วนั เปนตน
– กรณีเปน แบบไมต อเนอ่ื ง เชน รวบรวมนาํ้ เสยี ไวแ ละทํา
การบําบดั เปนชว งๆ ใหท าํ เคร่อื งหมาย ✓ ในชอ ง ■
แบบไมตอเนือ่ ง และระบุชว งเวลาที่ระบบบําบดั น้าํ เสีย
ทํางานวาก่วี ันตอเดือน

๓. อปุ กรณแ ละเคร่อื งมอื ท่ใี ชใ นระบบ – ระบุอุปกรณและเครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ นระบบบาํ บดั นา้ํ เสยี
บาํ บดั นํา้ เสยี ทั้งหมด โดยทาํ เคร่ืองหมาย ✓ ในชอ ง ■ หนาอปุ กรณ
และเครื่องมือนั้นๆ
– กรณีมอี ุปกรณและเครื่องมอื ทม่ี ใี ชใ นระบบบาํ บัดน้าํ เสยี
นอกเหนือจากรายการที่ใหเลือกใหทาํ เครือ่ งหมาย ✓ ใน
ชอง ■ อนื่ ๆ และระบอุ ุปกรณแ ละเครือ่ งมือนั้น
ท้งั นี้ รายการอปุ กรณและเคร่อื งมือท่มี ีใชใ นระบบบาํ บัด
นํา้ เสีย จะเปนรายการเดยี วกนั กบั ขอ มูลตามตารางใน
แบบ ท.ส. ๑

๔๑๔

รายละเอยี ดขอ มูล แนวทางการรายงาน

๔. แหลง รองรบั นา้ํ ทิ้ง – กรณีแหลงรองรบั นาํ้ ทิง้ เปนแหลงนา้ํ ใหระบุชือ่ เรยี ก
แหลงรองรับน้ําท้ิงน้นั เชน แมนาํ้ .... หรอื คลอง.....หาก
แหลง นํ้านัน้ ไมม ชี ือ่ เรยี กหรือไมทราบช่อื ใหระบเุ ปน
ลักษณะของแหลงน้ํานน้ั เชน ลาํ รางสาธารณะ ทอ ระบาย
น้าํ สาธารณะ เปนตน
– กรณีแหลงรองรับนาํ้ ทิง้ ไมใชแหลง นํ้า ใหระบลุ กั ษณะ
พื้นที่ทร่ี ะบายนํ้าทิง้ ออกสภู ายนอก เชน พ้นื ที่รกราง
พ้ืนทเ่ี กษตรกรรม (ระบชุ นดิ พชื ) เปนตน
– กรณีในเดอื นทรี่ ายงานไมมีการระบายนา้ํ ทิง้ เลย ให
กรอก “ – ”

๕. วิธกี ารจัดการตะกอนทเี่ กดิ ขนึ้ จาก – กรณีมตี ะกอนสวนเกินจากระบบบําบัดนํ้าเสีย ใหร ะบุ
ระบบบําบดั นา้ํ เสียและวธิ ีการกําจดั วิธีการจดั การตะกอนทเ่ี กิดข้ึน เชน มบี อ เกบ็ ตะกอน และ
ระบุวธิ ีการกาํ จัดตะกอนดงั กลาว เชน จา งรถสบู มาสูบ
เพ่ือนําไปกาํ จดั

๓) สรปุ ผลการทาํ งานของระบบบําบดั น้าํ เสียเปน รายเดอื น
เปนขอมูลที่ไดจากการบันทึกสถิติและขอมูลแสดงผลการทํางานของระบบ

บาํ บดั นา้ํ เสียในแตล ะวนั จากตารางตามแบบ ทส. ๑ และนาํ มาสรุปเปน ผลการทํางานของระบบ
บาํ บัดนํ้าเสยี เปน รายเดือน โดยมีแนวทางการรายงาน ดังน้ี

รายละเอียดขอมลู แนวทางการรายงาน

๑. ปริมาณการใชไฟฟาของระบบ – นําขอ มลู ทบ่ี นั ทกึ ในแตล ะวนั ตามตารางในแบบ ทส. ๑
บําบดั นา้ํ เสีย (หนวย) มาบวกกนั เปนขอมลู รายเดือนสาํ หรับรายงานตามแบบ
ทส. ๒
– กรณีระบบบําบดั นํา้ เสียไมม กี ารใชไ ฟฟา ใหกรอก “ – ”

๒. ปรมิ าณนา้ํ ใชในทกุ กจิ กรรมของ นําขอ มลู ทบ่ี ันทกึ ในแตละวันตามตารางในแบบ ทส. ๑
แหลง กําเนิดมลพษิ (ลบ.ม.) มาบวกกนั เปน ขอ มูลรายเดอื นสําหรบั รายงานตามแบบ
ทส. ๒

๓. ปริมาณนํา้ เสยี ทเ่ี ขาระบบบาํ บัด นาํ ขอ มูลท่ีบนั ทกึ ในแตละวันตามตารางในแบบ ทส. ๑
น้าํ เสีย (ลบ.ม.) มาบวกกันเปนขอ มลู รายเดือนสาํ หรบั รายงานตามแบบ
ทส. ๒

๔๑๕

รายละเอียดขอ มูล แนวทางการรายงาน

๔. การระบายน้ําท้งิ จากระบบบาํ บัด นาํ ขอมูลท่บี ันทกึ ในแตล ะวนั ตามตารางในแบบ ทส. ๑
นํ้าเสีย (ระบาย/ไมระบาย) มาสรปุ วามีการระบายนํา้ ทิง้ จากระบบบําบัดนา้ํ เสียกี่วนั
ในรอบ ๑ เดอื น
- กรณรี ะบายทุกวัน ใหกรอกวา “ระบาย”
- กรณีระบายเปนบางวัน ใหกรอกวา ระบายกีว่ ันและ
ไมระบายกว่ี ัน เชน ระบาย ๒๐ วนั ไมร ะบาย ๑๐ วนั
เปน ตน
- กรณไี มม กี ารระบายเลย ใหกรอก “ – ”

๕. ปริมาณสารเคมหี รอื สารสกัดชีวภาพ - นาํ ขอ มลู ท่บี นั ทกึ ในแตล ะวันตามตารางในแบบ ทส. ๑
ทีใ่ ช (ลติ รหรือกโิ ลกรัม) มาบวกกนั เปนขอ มูลรายเดอื นสาํ หรับรายงานตามแบบ
ทส. ๒
- กรณีไมให ใหกรอก “ – ”

๖. การทํางานของระบบบําบดั น้าํ เสีย นาํ ขอมลู ทบ่ี นั ทกึ ในแตล ะวนั ตามตารางในแบบ ทส. ๑
(ปกต/ิ ผดิ ปกติ) มาสรุปวา ระบบบําบัดนา้ํ เสีย และอปุ กรณและเคร่อื งมือ
ตางๆ ทํางานปกตหิ รือไม
- รายงานใดท่ที าํ งานปกติทุกวนั ในรอบ ๑ เดือน ใหทํา
เครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ ง ■ ปกติ
- รายการใดมกี ารทาํ งานผดิ ปกติ ใหทําเครือ่ งหมาย ✓
ในชอ ง ■ ผดิ ปกติ และระบจุ ํานวนวันทผี่ ิดปกติ
ตวั อยา งเชน จากตารางตามแบบ ทส. ๑ บันทึกวา เครอ่ื ง
สบู นํา้ ทํางานผิดปกติ ในวันท่ี ๕ , ๖ , ๗ , ๘ และ ๙
ดังน้ัน ในแบบ ทส. ๒ ใหทําเครือ่ งหมาย ✓ ในชอง ■
ผิดปกติ และระบุวา ๕ วนั
- รายการใดไมม หี รือไมไ ดใช ใหกรอก “ – ”

๗. ปรมิ าณตะกอนสวนเกินทเ่ี กิดขนึ้ - นาํ ขอ มลู ท่ีบนั ทกึ ในแตละวันตามตารางในแบบ ทส. ๑
จากระบบบาํ บดั นํ้าเสยี ท่นี าํ ไปกาํ จัด มาบวกกนั เปน ขอ มูลรายเดือนสาํ หรับรายงานตามแบบ
(ลบ.ม.) ทส. ๒
- กรณไี มม ี ใหกรอก “ – ”

๘. ปญ หา อุปสรรค และแนวทาง - นําขอมูล ปญ หา อุปสรรค และแนวทางการแกไ ขที่
การแกไ ข บนั ทึกในแตละวัน ตามตารางในแบบ ทส. ๑ มาสรุปเปน
ปญหา อปุ สรรค และแนวทางการแกไ ขในแตล ะเดอื น
สาํ หรับรายงานตามแบบ ทส. ๒
- กรณไี มมี ใหก รอก “ – ”

๔๑๖

เม่ือจัดทํารายงานสรุปผลการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสีย ตามแบบ ทส. ๒
เรียบรอ ยแลว ใหเสนอตอเจา พนักงานทองถน่ิ ในพนื้ ทีท่ ี่แหลงกําเนิดมลพิษตง้ั อยูภายในวันที่ ๑๕
ของเดือนถัดไป ซึง่ เจาพนักงานทองถ่ิน หมายถงึ

– นายกเทศมนตรี กรณีแหลง กําเนดิ มลพษิ ตัง้ อยูใ นเขตเทศบาล
– นายกองคการบรหิ ารสว นตาํ บล กรณแี หลงกาํ เนิดมลพิษตงั้ อยใู นเขตองคการ

บริหารสวนตําบล
– ผวู า ราชการกรงุ เทพมหานคร กรณแี หลง กาํ เนดิ มลพษิ ตง้ั อยใู นเขตกรงุ เทพมหานคร
– ปลดั เมอื งพัทยา กรณีแหลงกําเนดิ มลพิษตั้งอยใู นเขตเมืองพัทยา
โดยมีวธิ กี ารจดั สง ดงั น้ี
๑) จัดสงดว ยตนเอง หรือ
๒) สงทางไปรษณียลงทะเบยี น หรือ
๓) วิธีการทางอิเล็กทรอนกิ สตามท่อี ธิบดีกรมควบคุมมลพิษประกาศกําหนด ทงั้ น้ี
กรณีกรมควบคมุ มลพิษยงั ไมออกประกาศกาํ หนดวธิ กี ารทางอิเล็กทรอนิกส ใหจดั สงโดยวธิ กี าร
ตามขอ ๑) และ ๒)

๔๑๗

๔๑๘

บญั ชรี ายชอื่ หนังสือเวยี น ระเบียบ และคาํ สั่งตา งๆ
สํานกั งานคณะกรรมการชา งรังวัดเอกชน
ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทห่ี นงั สอื เวยี น ช่อื เรอื่ ง หนา
ลําดบั ที่ ระเบยี บ คําส่ัง

๒. ลงวนั เดอื น ป

๑. ท่ี มท ๐๕๐๙ / ว ๓๓๐๖๖ การควบคุมครภุ ัณฑเ ครอื่ งมือรงั วดั ทาํ แผนที่ ๔๒๑

ลว. ๑๔ ธ.ค. ๕๔ ในสํานักงานที่ดิน

๒. ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๕๔๙ การทาํ การรงั วดั ในพื้นท่ีทกี่ าํ หนดใหท าํ การ ๔๒๒
ลว. ๘ พ.ค. ๕๕ รงั วัดแบบแผนท่ชี ้ันหนง่ึ

๓. ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๑๓๗๘๙ การปฏบิ ตั งิ านชา งรงั วัดเอกชนในพื้นท่แี ผนที่ ๔๒๓

ลว. ๑๖ พ.ค. ๕๕ ชัน้ หนึ่ง

๔. ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๑๙๙๕๘ ซักซอมความเขา ใจเครื่องมือวัดระยะ ๔๒๕

ลว. ๑๘ ก.ค. ๕๕ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส

๕. ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๙๔๓ ซกั ซอมความเขาใจเครื่องมือวดั ระยะ ๔๒๖
ลว. ๓๑ ก.ค. ๕๕ อเิ ล็กทรอนิกส

๔๑๙

๔๒๐

ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๓๓๐๖๖ (สําเนา)

กรมทีด่ นิ
ศนู ยร าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๔ ธนั วาคม ๒๕๕๔

เรือ่ ง การควบคุมครภุ ัณฑเ ครือ่ งมอื รงั วดั ทาํ แผนทใ่ี นสาํ นักงานทด่ี ิน
เรยี น ผูว า ราชการจังหวัดทกุ จังหวัด
อา งถงึ หนงั สือกรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๕๐๙/ว ๓๑๓๕๕ ลงวนั ท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๒

ตามท่ีกรมท่ีดินไดวางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมครุภัณฑเครื่องมือรังวัด
ทําแผนทใี่ นสาํ นักงานท่ีดิน โดยใหควบคมุ เกบ็ รกั ษาเครอ่ื งมอื เคร่ืองใชในการรงั วัดทําแผนทใ่ี น
สํานกั งานทีด่ นิ ใหเปน ไปตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ระเบยี บ
คาํ ส่ัง และแนวทางปฏบิ ัติตามท่ีกรมทีด่ นิ กําหนด ไมท ําใหเกดิ ปญหาเครอ่ื งมอื รังวัดทําแผนที่
ชาํ รุด หรอื สญู หาย รายละเอียดตามหนังสอื ท่ีอางถึง นั้น

บัดน้ี กรมท่ดี นิ ไดร บั แจง จากจังหวัดตา งๆ วาตูเ กบ็ เคร่อื งมอื อปุ กรณก ารรงั วัด
ทําแผนท่ีของสํานักงานทีด่ นิ จงั หวัด / สาขา / สวนแยก ถูกงดั แงะ และมีเคร่อื งมืออุปกรณร ังวัด
สญู หาย จงึ ขอใหส ํานักงานที่ดินจงั หวัด / สาขา / สว นแยก จดั เจา หนาทดี่ ูแลรบั ผดิ ชอบโดยเฉพาะ
และจัดสถานท่ีเก็บเคร่ืองมือรังวัดทําแผนที่ไวในสถานท่ีปลอดภัย หากมีกรณีเชนน้ีเกิดข้ึนอีก
จะถือวาเจาพนักงานท่ีดินจังหวัดและหัวหนาฝายรังวัดของสํานักท่ีดินจังหวัด / สาขา / สวนแยก
ละเลยไมปฏิบัติหนาที่หรือปฏิบัติหนาที่โดยไมใสใจซ่ึงอาจถูกดําเนินการทางวินัยหรือปรับเปลี่ยน
ตําแหนงหนา ทตี่ ามความเหมาะสมได

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจงใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัดทราบและ
ถอื ปฏบิ ตั ิโดยเครงครัดตอไป

ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงช่ือ) อนุวฒั น เมธีวิบูลวุฒิ
(นายอนุวฒั น เมธีวิบลู วุฒ)ิ
อธบิ ดกี รมทด่ี นิ

สาํ นกั งานคณะกรรมการชางรงั วัดเอกชน
โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๔๓ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๑๘

๔๒๑

ท่ี มท ๐๕๐๙ / ว ๕๔๙ (สาํ เนา)

สํานักงานคณะกรรมการชา งรังวดั เอกชน กรมท่ดี นิ
ศนู ยร าชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจง วฒั นะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เร่อื ง การทําการรงั วัดในพื้นท่ที ี่กําหนดใหทาํ การรังวัดแบบแผนทช่ี ้นั หน่งึ

เรยี น ผูจัดการสํานกั งานชา งรงั วัดเอกชน

อา งถึง หนังสือท่ี มท ๐๕๐๙/ว ๑๐๘๓ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๔ เรือ่ ง การทาํ การรงั วดั ในพื้นท่ี
ที่กาํ หนดใหท ําการรังวัดแบบแผนท่ีชน้ั หนึง่

ตามหนงั สือทอี่ า งถึง สํานกั งานคณะกรรมการชางรงั วดั เอกชน ไดส ง รายชือ่
จังหวดั ทอ่ี ธบิ ดีกรมทดี่ ินกาํ หนดใหทําการรังวัดโดยวธิ แี ผนทีช่ น้ั หนึ่ง จาํ นวน ๕๖ จังหวดั หาก
สํานักงานชา งรงั วัดเอกชน จะทําการรงั วดั ในพื้นท่ที ีไ่ ดก าํ หนดเปนแผนทีช่ ั้นหนึง่ ตองรังวัดดว ย
กลองสํารวจแบบประมวลผลรวมหรือกลองธิโอโดไลทและเคร่ืองมือวัดระยะท่ีไดขึ้นทะเบียนกับ
สํานักงานคณะกรรมการชา งรงั วดั เอกชน และหนงั สือรบั รองท่ียงั ไมห มดอายุเทาน้นั

สํานักงานคณะกรรมการชางรังวัดเอกชน ขอแจงใหทราบวาหากสํานักงาน
ชางรังวัดเอกชนที่มีความประสงคจะทําการรังวัดในพ้ืนท่ีท่ีไดกําหนดเปนแผนที่ช้ันหน่ึงที่ยังไมมี
เครอ่ื งมอื รังวดั ประเภทกลอ งสาํ รวจแบบประมวลผลรวม สามารถนํากลอ งดงั กลา วมาขึน้ ทะเบียน
กับนายทะเบียน และตองไดร บั หนงั สอื รับรองจากสํานักงานคณะกรรมการชางรงั วดั เอกชนแลว
จึงจะสามารถนาํ ไปใชร ังวัดในบรเิ วณท่ีเปน พ้นื ทแี่ ผนที่ชั้นหน่ึงได

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

(ลงช่อื ) ชลวทิ ย เทพาศกั ดิ์
(นายชลวิทย เทพาศักดิ์)

ผูอาํ นวยการสาํ นกั งานคณะกรรมการชางรงั วัดเอกชน

ฝา ยสง เสริมการรงั วัดเอกชน
โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๔๔
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๑๘

๔๒๒

ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๑๓๗๘๙ (สาํ เนา)
กรมที่ดนิ
ศนู ยร าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทุงสองหอง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เรือ่ ง การปฏิบตั ิงานชา งรงั วดั เอกชนในพื้นท่แี ผนท่ีชนั้ หนงึ่

เรยี น ผูวา ราชการจงั หวัดทุกจังหวดั
สิ่งที่สง มาดว ย บัญชีรายช่ือสํานกั งานชา งรงั วดั เอกชนทไี่ มม ีกลอ งสาํ รวจแบบประมวลผลรวม

ดว ยกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ใหใชประมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอ ๒ ไดกําหนดวา “ท่ีดนิ ในแผนท่ีระวางออกโฉนดท่ดี นิ
ซ่ึงทําการรังวัดเพ่ือออกโฉนดที่ดินไวแลวโดยวิธีแผนที่ชั้นหน่ึง หรือโดยแผนที่ชั้นสอง เมื่อมี
ความจําเปนตอ งรังวดั ใหม ใหทาํ การรงั วัดโดยมมี าตรฐานเทาเดมิ หรือดีกวา ” และกฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๔๙ (พ.ศ.๒๕๔๔) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ หใ ชป ระมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ.๒๔๙๗
ไดก าํ หนดวา “แผนท่ชี ั้นหนึ่ง กระทําโดยการใชก ลองธโิ อโดไลทและเคร่ืองมอื วดั ระยะโยงยึด
หลกั เขตวดั งามมมุ ภาคของทิศ หรอื ใชกลอ งสาํ รวจแบบประมวลผล หรอื การรงั วดั ดว ยเครือ่ งรบั
สัญญาณดาวเทียมหรือดวยเคร่ืองมือสํารวจประเภทอื่นท่ีมีความละเอียดถูกตองไมตํ่ากวาเกณฑ
มาตรฐานทก่ี รมทด่ี นิ กําหนด โดยคํานวณเปนคา พกิ ดั ฉากสืบเนือ่ งจากหมดุ หลกั ฐานแผนทขี่ อง
กรมทดี่ นิ และคาํ นวณพน้ื ทีโ่ ดยวธิ คี ณิตศาสตรจากคา พกิ ัดฉากของแตล ะมมุ เขต” ดงั น้ัน เมอ่ื จะ
ทาํ การรงั วัดในพนื้ ท่ที ีเ่ ปน แผนที่ช้นั หนึง่ จะตอ งใชกลองดังกลา วขา งตน

กรมท่ีดนิ พจิ ารณาแลวเห็นวา เพ่ือเปน การปองกนั มใิ หเ กิดปญหากรณสี ํานกั งาน
ชา งรงั วดั เอกชนรงั วดั ในพน้ื ทท่ี ไ่ี ดก าํ หนดเปน แผนทช่ี น้ั หนง่ึ แลว ไมม กี ลอ งสาํ รวจแบบประมวลผลรวม
จงึ ขอสง รายชอ่ื สาํ นกั งานชา งรงั วดั เอกชนทไ่ี มม กี ลอ งสาํ รวจแบบประมวลผลรวม มาเพอ่ื ใหจ งั หวดั
โปรดสั่งสํานักงานที่ดินใชเปนขอมูลตรวจสอบ หากสํานักงานชางรังวัดเอกชนใด จะทําการรงั วดั
ในพ้ืนที่ท่ีไดกําหนดเปนแผนท่ีช้ันหน่ึงจะตองรังวัดดวยกลองสํารวจแบบประมวลผลรวม
หรือกลองธิโอโดไลทพรอมเครื่องมือวัดระยะ ท่ีไดข้ึนทะเบียนกับสํานักงานคณะกรรมการ
ชา งรงั วัดเอกชน และหนงั สอื รบั รองเคร่ืองมอื รังวดั ที่ไดรับจากสาํ นักงานคณะกรรมการชา งรงั วดั
เอกชนทยี่ ังไมห มดอายเุ ทานั้น

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และใหเจาหนาที่ผูท่ีเก่ียวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชอื่ ) บญุ เชิด คดิ เหน็
(นายบุญเชดิ คิดเหน็ )
อธบิ ดกี รมทีด่ นิ

สาํ นักงานคณะกรรมการชางรงั วัดเอกชน โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๔๔ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๑๘
๔๒๓

บญั ชีรายช่ือจงั หวัดที่ไดประกาศใหเ ปนพนื้ ทีท่ าํ การรงั วัดโดยวิธีแผนทช่ี ั้นหนง่ึ

ลาํ ดับที่ ชอื่ จังหวัด ลําดบั ที่ ชอื่ จงั หวัด

๑. ๐๑ จงั หวดั กระบี่ ๒๙. ๓๗ จังหวดั พจิ ิตร
๒. ๐๒ จงั หวดั กาญจนบุรี ๓๐. ๓๘ จังหวัดเพชรบุรี
๓. ๐๕ จังหวดั ขอนแกน ๓๑. ๔๐ จังหวดั แพร
๔. ๐๖ จงั หวดั จันทบุรี ๓๒. ๔๑ จงั หวัดภเู ก็ต
๕. ๐๗ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๓๓. ๔๔ จังหวัดยะลา
๖. ๐๘ จงั หวัดชลบรุ ี ๓๔. ๔๕ จังหวัดระนอง
๗. ๐๙ จังหวัดชยั ภูมิ ๓๕. ๔๖ จังหวดั ระยอง
๘. ๑๑ จงั หวดั ชมุ พร ๓๖. ๔๗ จังหวดั ราชบรุ ี
๙. ๑๒ จังหวัดเชียงราย ๓๗. ๔๙ จังหวดั ลพบุรี
๑๐. ๑๓ จงั หวดั เชียงใหม ๓๘. ๕๐ จงั หวัดเลย
๑๑. ๑๔ จงั หวดั ตรัง ๓๙. ๕๒ จงั หวัดลําพนู
๑๒. ๑๕ จังหวัดตราด ๔๐. ๕๓ จงั หวัดศรีสะเกษ
๑๓. ๑๖ จงั หวดั ตาก ๔๑. ๕๔ จังหวดั สกลนคร
๑๔. ๑๘ จังหวัดนครนายก ๔๒. ๕๕ จงั หวัดสตูล
๑๕. ๑๙ จังหวดั นครปฐม ๔๓. ๕๖ จังหวัดสมุทรปราการ
๑๖. ๒๑ จงั หวดั นครราชสมี า ๔๔. ๕๗ จงั หวัดสมทุ รสงคราม
๑๗. ๒๒ จังหวัดนครศรีธรรมราช ๔๕. ๕๙ จงั หวัดสระบุรี
๑๘. ๒๔ จังหวัดนนทบุรี ๔๖. ๖๐ จังหวดั สุพรรณบุรี
๑๙. ๒๕ จังหวดั นราธิวาส ๔๗. ๖๑ จังหวดั สุราษฎรธานี
๒๐. ๒๘ จงั หวดั ปทุมธานี ๔๘. ๖๒ จงั หวดั สรุ ินทร
๒๑. ๒๙ จังหวัดปต ตานี ๔๙. ๖๓ จงั หวัดสุโขทยั
๒๒. ๓๐ จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ ๕๐. ๖๔ จังหวัดสงขลา
๒๓. ๓๑ จงั หวดั ปราจีนบรุ ี ๕๑. ๖๕ จังหวดั สิงหบุรี
๒๔. ๓๒ จงั หวดั พงั งา ๕๒. ๖๖ จงั หวัดหนองคาย
๒๕. ๓๓ จังหวดั พทั ลุง ๕๓. ๖๗ จงั หวัดอา งทอง
๒๖. ๓๔ กรุงเทพมหานคร ๕๔. ๗๕ จังหวดั พะเยา
๒๗. ๓๕ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ๕๕. ๗๖ จังหวัดมุกดาหาร
๒๘. ๓๖ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ๕๖. ๗๗ จังหวดั สระแกว

๔๒๔

ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๑๙๙๕๘ (สําเนา)

กรมทีด่ นิ
ศูนยร าชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจง วัฒนะ
แขวงทงุ สองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕

เรื่อง ซกั ซอ มความเขาใจเครอื่ งมือวดั ระยะอเิ ลก็ ทรอนิกส
เรียน ผูวา ราชการจงั หวดั ทุกจังหวัด
อา งถงึ หนงั สือกรมท่ดี ิน ท่ี มท ๐๕๐๙ / ว ๑๓๗๘๙ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕

ตามท่ีกรมท่ีดินไดสงรายช่ือสํานักงานชางรังวัดเอกชนท่ีไมมีกลองสํารวจแบบ
ประมวลผลรวม เพือ่ ใหสํานักงานท่ีดนิ ใชเปน ขอ มูลตรวจสอบ หากสาํ นักงานชางรังวดั เอกชนใด
จะทําการรังวัดในพื้นท่ีท่ีไดกําหนดเปนแผนที่ช้ันหนึ่งจะตองรังวัดดวยกลองสํารวจแบบประมวล
ผลรวมหรือกลองธิโอโดไลทพรอมเครื่องมือวัดระยะท่ีไดขึ้นทะเบียนกับสํานักงานคณะกรรมการ
ชางรังวัดเอกชนและหนังสือรับรองเคร่ืองมือรังวัดที่ไดรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการ
ชางรงั วัดเอกชนท่ยี งั ไมหมดอายุ นน้ั

กรมท่ีดนิ ขอซกั ซอ มความเขา ใจวาเคร่ืองมือวัดระยะดังกลา ว หมายถึงเครอ่ื งมอื
วดั ระยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สซ่ึงแสดงคาท่วี ดั ไดเ ปนตวั เลขบนจอภาพ วัดระยะไดล ะเอียดถึงเซนตเิ มตร
หรือดกี วา ตามระเบยี บกรมทด่ี นิ วา ดวยการรังวดั และทาํ แผนท่ีเพอื่ เก็บรายละเอียดแปลงท่ีดนิ
โดยวิธีแผนท่ชี ั้นหนึง่ ในระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ พ.ศ. ๒๕๔๒

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และใหเจาหนาท่ีผูท่ีเก่ียวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอ ไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) บุญเชิด คิดเห็น
(นายบญุ เชดิ คิดเห็น)
อธบิ ดกี รมทีด่ นิ

สาํ นักงานคณะกรรมการชา งรังวัดเอกชน
โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๔๖
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๑๘

๔๒๕

ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๙๔๓ (สําเนา)

สาํ นกั งานคณะกรรมการชา งรงั วัดเอกชน กรมทีด่ ิน
ศนู ยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕

เรือ่ ง ซกั ซอ มความเขาใจเครอื่ งมือวดั ระยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส

เรียน ผจู ดั การสาํ นักงานชา งรงั วดั เอกชน

อา งถงึ หนงั สอื สาํ นกั งานคณะกรรมการชา งรงั วดั เอกชน ที่ มท ๐๕๐๙ / ว ๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๘
พฤษภาคม ๒๕๕๕

ตามหนังสอื ท่อี า งถึง สาํ นกั งานคณะกรรมการชา งรังวัดเอกชนไดแ จง ใหทราบวา
หากสํานักงานชางรังวัดเอกชนจะทําการรังวัดในพ้ืนที่ท่ีไดกําหนดเปนแผนที่ช้ันหน่ึงตองรังวัดดวย
กลองสํารวจแบบประมวลผลรวมหรอื กลอ งธโิ อโดไลท และเคร่อื งมอื วัดระยะที่ไดข้ึนทะเบยี นกบั
สํานกั งานคณะกรรมการชางรงั วดั เอกชน และหนงั สอื รบั รองที่ยงั ไมหมดอายุ น้นั

สํานักงานคณะกรรมการชางรังวัดเอกชนขอซักซอมความเขาใจวาเครื่องมือวัด
ระยะดงั กลา ว หมายถงึ เครือ่ งวัดระยะอิเล็กทรอนิกสซ ่งึ แสดงคา ท่ีวัดไดเ ปน ตัวเลขบนจอภาพ
วดั ระยะไดละเอียดถึงเซนตเิ มตรหรือดกี วา ตามระเบยี บกรมทด่ี นิ วา ดวยการรงั วัดและทําแผนท่ี
เพอื่ เก็บรายละเอยี ดแปลงทีด่ ิน โดยวธิ ีแผนท่ีช้นั หน่งึ ในระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ พ.ศ.๒๕๔๒

จึงเรยี นมาเพอ่ื ทราบ

ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชอื่ ) วิรัช ภูมพิ ทิ ักษก ุล
(นายวิรชั ภูมพิ ทิ ักษก ลุ )

เจา พนักงานที่ดนิ จงั หวดั ขอนแกน สาขาภเู วยี ง รักษาราชการแทน
ผอู าํ นวยการสาํ นักงานคณะกรรมการชา งรงั วดั เอกชน

ฝายสงเสริมการรังวดั เอกชน
โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๔๘
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๑๘

๔๒๖

บญั ชีรายชือ่ หนงั สือเวียน ระเบียบ และคําสัง่ ตา งๆ
สํานักจดั การท่ีดนิ ของรฐั
ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขท่ีหนงั สอื เวยี น ชือ่ เร่ือง หนา
ลําดับที่ ระเบยี บ คําสง่ั

๒. ลงวนั เดอื น ป

๑. ดว นทีส่ ดุ
ที่ มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๕๕๑๐ โครงการสาํ รวจการลงระวางแผนทีแ่ ละแผนท่ี ๔๒๙
ลว. ๒๐ ก.พ.๕๕ รูปแปลงท่ดี ินในทดี่ ินของรัฐ

๒. ดว นทสี่ ดุ
ท่ี มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๒๑๘๓ มาตรการแกไ ขปญ หาการออกหนงั สือสาํ คญั ๔๓๑
ลว. ๑๗ พ.ค. ๕๕ สาํ หรับท่ีหลวง กรณผี ทู ม่ี หี นา ท่ดี ูแลรกั ษา
ทสี่ าธารณประโยชนไมส ามารถนาํ ชแี้ นวเขต
ทด่ี ินได
๓. ดวนทีส่ ดุ
ที่ มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๓๙๖๘ การดแู ลรกั ษาและคมุ ครองปอ งกนั ทดี่ ิน ๔๓๔
ลว. ๒๔ ส.ค. ๕๕ อันเปน สาธารณสมบตั ิของแผน ดนิ สําหรบั
พลเมอื งใชรวมกนั

๔. ที่ มท ๐๕๑๑.๓ / ว ๓๒๗๘๒ แนวทางปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกับการขออนญุ าต ๔๓๖
ลว. ๑๙ พ.ย. ๕๕ ดูดทราย

๕. ดวนทส่ี ดุ
ท่ี มท ๐๕๑๑.๒ / ว ๕๘๒๕ การดําเนนิ การของคณะกรรมการบูรณาการ ๔๔๐
ลว. ๑๔ ธ.ค. ๕๕ การบริหารจดั การท่ีดินเชิงระบบ (กบช.)

๖. ดว นท่ีสดุ
ที่ มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๓๕๙๔๕ โครงการบริหารจดั การการใชป ระโยชนในทด่ี นิ ๔๔๒
ลว. ๒๔ ธ.ค. ๕๕ สาธารณประโยชนทม่ี ีการบุกรกุ เพื่อขจดั
ความยากจนและพฒั นาชนบท (โครงการ
จัดทีด่ ินของรัฐ ขจดั ความยากจน)
ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

๔๒๗

๔๒๘

ดว นทีส่ ดุ (สําเนา)
ท่ี มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๕๕๑๐
กรมทีด่ นิ
ศนู ยราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจง วัฒนะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๐ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕

เรื่อง โครงการสาํ รวจการลงระวางแผนทแ่ี ละแผนทีร่ ปู แปลงที่ดินในทด่ี นิ ของรฐั

เรียน ผวู าราชการจงั หวัดทกุ จังหวัด

อา งถงึ หนังสือกรมทดี่ ิน ที่ มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๑๔๙๘๒ ลงวันท่ี ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๑

ส่ิงทส่ี งมาดว ย ๑. ตัวอยา งบญั ชสี าํ รวจขอ มูลท่ีดนิ ของรัฐที่ไดอ อกหนงั สือสําคัญสําหรับทีห่ ลวงแลว
๒. คาํ แนะนาํ และแนวทางการดาํ เนินงาน
๓. ขอ มูลท่ีดินของรฐั (CD)

ตามหนังสือที่อางถึงกรมที่ดินไดจัดทําแผนงานบริหารโครงการสํารวจการ
ลงระวางแผนท่ีและแผนที่รปู แปลงทด่ี นิ ในท่ดี นิ ของรัฐ โดยใหจังหวัดสาํ รวจขอมลู แผนที่รปู แปลง
ท่ีดินของรัฐที่ไดออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงแลว เพ่ือนําแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินดังกลาว
ลงทีห่ มายในระวางแผนทีร่ ะบบพกิ ดั ฉาก U.T.M. มาตราสว น ๑ : ๔๐๐๐ ใหค รบถวน เปนไปตาม
มาตรฐานเดียวกันตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยมาตรฐานระวางแผนที่และแผนท่ี
รูปแปลงทด่ี ินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่งึ กาํ หนดใหสวนราชการซง่ึ มีหนาที่ในการจดั ทาํ แผนทีแ่ สดง
แนวเขตที่ดินของรัฐดําเนินการปรับระวางแผนท่ีและแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินในที่ดินของรัฐใหเปนไป
ตามมาตรฐานที่กําหนด นน้ั

กรมที่ดินขอเรียนวา ไดตรวจสอบ รวบรวมขอมูลท่ีดินของรัฐท่ีไดมีการออก
หนังสอื สําคัญสาํ หรับทีห่ ลวงแลว ปรากฏวา มีบางจงั หวัดยงั มิไดนาํ สงหนงั สือสาํ คัญสาํ หรบั
ที่หลวง (ส.ธ.๑) ฉบับเกบ็ ไว ณ กรมทดี่ นิ ตามระเบียบกรมทดี่ นิ วาดว ยการออกหนังสอื สาํ คญั
สาํ หรบั ทีห่ ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ ๑๘ ใหก รมท่ีดนิ เพ่อื นาํ เขา ฐานขอ มูล หรอื นาํ สงแตม ขี อมูล
บางสวนไมถูกตอง ครบถว น และบางสวนซํ้าซอนกนั สง ผลใหฐ านขอ มลู ท่ีดนิ ของรัฐของกรมที่ดิน
ไมถกู ตอ ง ครบถวน ตรงกันกับขอมลู ท่ีดินของรฐั ของสาํ นักงานทีด่ นิ จังหวัด ดังน้ัน เพือ่ ใหขอมูล
ดงั กลาวถูกตอ ง ครบถว นเปนปจ จุบนั และเปนมาตรฐานเดยี วกัน ตามนัยระเบยี บสํานักนายก
รฐั มนตรดี ังกลา ว จงึ ขอใหจ ังหวดั ดาํ เนินการ ดงั น้ี

๔๒๙

๑. ใหจ งั หวัดสํารวจและจดั สง หนงั สือสาํ คญั สาํ หรับทีห่ ลวง (ส.ธ.๑) ฉบบั เก็บไว
ณ กรมท่ดี นิ ตามระเบียบกรมท่ีดนิ วาดว ยการออกหนังสือสําคัญสาํ หรบั ทหี่ ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗
ขอ ๑๘ ใหค รบถว น

๒. ใหจังหวัดตรวจสอบและปรับปรุงขอมูลท่ีดินของรัฐ ตามบัญชีขอมูลที่ดิน
ของรัฐรายละเอยี ดปรากฏตาม แผน บนั ทึกขอมลู (CD) หากพบขอ มูลที่ดินของรฐั ไมถ กู ตอ งให
ดําเนินการใหถูกตองครบถวน กรณีท่ีมีขอมูลที่ดินของรัฐเพ่ิมข้ึนใหแจงขอมูลเพิ่มเติมใหเปน
ปจจุบนั ตอจากลําดบั สดุ ทา ยของขอมลู ทีม่ อี ยเู ดิมลงในแผน บันทกึ ขอ มลู (CD) โดยนับขอมลู ณ
วันที่ ๒๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕ ในการรายงานดังกลาว

เม่ือไดด าํ เนินการ ตามขอ ๑. และขอ ๒. แลว ใหจัดสงเอกสารหลักฐานท่ี
เก่ียวขอ ง ไดแ ก สาํ เนาระวางแผนท่รี ะบบพิกัดฉาก U.T.M. มาตราสวน ๑ : ๔๐๐๐ บรเิ วณ
รูปแปลงหนงั สือสําคญั สาํ หรับท่หี ลวงท่ีไดดาํ เนินการ โดยระบตุ าํ แหนง ทตี่ งั้ ช่ือระวาง เลขที่ดนิ
แสดงพกิ ัดสวนยอยในระวางแผนทร่ี ะบบพิกดั ฉาก U.T.M. เพอื่ ประกอบการพิจารณาในการลง
ขอ มลู ทดี่ นิ ของรัฐใหเ ปน มาตรฐานเดยี วกนั ตามนัยระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดวยมาตรฐาน
ระวางแผนทแ่ี ละแผนทรี่ ูปแปลงทด่ี นิ ในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐ พรอมรายงานสรปุ ขอมูลทีด่ นิ
ของรัฐ ทถี่ ูกตอ ง ครบถว น เปน ปจ จุบัน เพ่อื ประกอบการดาํ เนนิ งาน ทงั้ นใ้ี หจ งั หวัดดําเนินการให
แลวเสรจ็ และรายงานใหก รมทด่ี นิ ทราบ ภายในวนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบและพิจารณาดาํ เนนิ การตอ ไป

ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงช่ือ) อนุวัฒน เมธีวิบลู วฒุ ิ
(นายอนวุ ัฒน เมธวี ิบลู วุฒ)ิ
อธบิ ดกี รมที่ดนิ

สํานกั จัดการทีด่ นิ ของรัฐ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๔๔ - ๔๗
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๗

๔๓๐

ดวนที่สดุ (สาํ เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๒๑๘๓
กระทรวงมหาดไทย
ถนนอัษฎางค กรงุ เทพมหานคร ๑๐๒๐๐
๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง มาตรการแกไ ขปญหาการออกหนังสอื สาํ คญั สําหรบั ท่ีหลวง กรณผี ทู มี่ หี นาทด่ี แู ลรักษา
ท่ีสาธารณประโยชน ไมส ามารถนําชีแ้ นวเขตที่ดนิ ได

เรียน ผวู า ราชการจังหวดั ทุกจังหวดั

ส่งิ ท่สี งมาดว ย ๑. สาํ เนารายงานการประชมุ ผตู รวจราชการกระทรวงมหาดไทย คร้งั ท่ี ๒/๒๕๕๕
เมอื่ วนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๕ จาํ นวน ๑ ชดุ

๒. ตวั อยางบัญชีสาํ รวจขอ มลู จํานวน ๒ ฉบบั

ดวยสํานักงานผตู รวจราชการกระทรวงมหาดไทย ไดจ ัดใหม ีการประชุมผูตรวจ
ราชการกระทรวงมหาดไทย คร้ังที่ ๒/๒๕๕๕ เม่ือวันที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕ ซ่งึ ที่ประชมุ ได
พิจารณา เรื่อง โครงการรังวดั จัดทาํ แผนท่ีเพอื่ แสดงแนวเขตท่ีดินของรัฐ โดยกลาวถึงปญหาและ
อปุ สรรคของการออกหนงั สอื สาํ คญั สาํ หรบั ท่หี ลวง กรณผี มู อี าํ นาจหนา ทใี่ นการดูแลรกั ษาท่ีดินอัน
เปนสาธารณสมบัติของแผน ดนิ สาํ หรับพลเมืองใชร ว มกัน ตามมาตรา ๑๒๒ แหงพระราชบญั ญตั ิ
ลักษณะปกครองทองที่ พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๗ ซ่ึงแกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองทองที่ (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบดวย นายอาํ เภอและองคก รปกครองสวน
ทอ งถิ่นไมสามารถนําชแ้ี นวเขตได และ/หรอื กรณเี จาพนักงานทดี่ ินจงั หวัดไดม กี ารประสานงาน
ไปแลว แตผ มู อี าํ นาจหนา ท่ีในการดูแลรักษามิไดด าํ เนินการใดๆ โดยไมแ จง เหตผุ ลใหทราบซง่ึ
เปนสาเหตุประการหนึ่งท่ีมีผลใหที่สาธารณประโยชนถูกบุกรุกและไมสามารถดําเนินการออก
หนังสือสาํ คัญสําหรับทีห่ ลวงได รายละเอยี ดปรากฏตามสงิ่ ท่สี ง มาดว ย ๑.

กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแลว เพื่อใหการแกไขปญหาดังกลาวบังเกิดผล
อยางเปนรูปธรรม จึงขอใหจงั หวดั ดาํ เนนิ การ ดังน้ี

๑. สั่งกําชบั เจา พนักงานที่ดนิ จงั หวดั และเจา พนกั งานท่ดี นิ จงั หวัดสาขาใหค วาม
สําคัญเก่ียวกับการประสานงานกับนายอําเภอและองคกรปกครองสวนทองถ่ินในเร่ืองท่ีเก่ียวของ
กบั การออกหนงั สือสาํ คัญสาํ หรบั ทห่ี ลวง ทง้ั แบบเปน ทางการและไมเ ปน ทางการ

๒. สํารวจขอมูลจํานวนงานคางประเภทการออกหนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวง
กรณีผมู ีอาํ นาจหนาทีใ่ นการดูแลรักษาทด่ี นิ สาธารณประโยชน ไมสามารถนําชี้แนวเขตทด่ี นิ ได

๔๓๑

และ/หรอื กรณเี จา พนกั งานท่ดี ินไดม กี ารประสานงานไปแลว แตผ มู ีอาํ นาจหนา ทใ่ี นการดูแล
รกั ษาก็ไมม กี ารดาํ เนินการใดๆ โดยไมแจง เหตผุ ลใหทราบ ตามตวั อยา งบัญชสี าํ รวจฯ ทสี่ งมา
พรอมนี้เสร็จแลวแจงผลใหกรมที่ดินทราบเพื่อจะไดประสานงานไปยังกรมการปกครองและ
กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินเพ่ือกําชับเจาหนาท่ีผูเก่ียวของไดใหความสําคัญเกี่ยวกับเรื่อง
ตอไป

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และสัง่ ใหเ จาหนาทท่ี ราบและถือปฏิบตั ติ อไป
ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงช่ือ) สรุ พล พงษท ดั ศริ ิกุล
(นายสุรพล พงษท ดั ศริ กิ ลุ )

รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏิบัตริ าชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

กรมท่ดี นิ
สํานักจดั การท่ีดนิ ของรฐั
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๔๔ – ๔๗
โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๗

๔๓๒

บัญชสี ํารวจที่สาธารณประโยชนท ย่ี งั ไมอ อกหนังสอื สาํ คญั สาํ หรบั ทีห่ ลวง
ของจังหวดั ....................

ทตี่ ง้ั มีทะเบียน การประกาศ
ท่สี าธารณะ สงวนหวงหาม
ท่ี ชื่อแปลงท่สี าธารณประโยชน หรอื ไม เนื้อท่ี สภาพ วัน/เดือน/ป เหตุท่ไี มสามารถ หมายเหตุ
การใชประโยชน นําช้ีแนวเขตได

หมูท ี่ ตําบล อาํ เภอ มี ไมม ี

๔๓๓

ดวนทส่ี ดุ (สําเนา)
ท่ี มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๓๙๖๘
กระทรวงมหาดไทย
ถนนอษั ฎางค กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐
๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๕

เร่อื ง การดูแลรักษาและคุมครองปองกนั ทด่ี นิ อันเปน สาธารณสมบัตขิ องแผน ดินสําหรับ
พลเมืองใชรวมกนั

เรียน ผวู าราชการจังหวัดทุกจงั หวดั

อางถงึ หนงั สือกรมการปกครอง ดวนมาก ท่ี มท ๐๓๑๐.๑ / ว ๑๖๔๐๔ ลงวนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม
๒๕๕๕

ตามหนังสือท่ีอางถึง กรมการปกครองไดแจงจังหวัดเพื่อสั่งการใหนายอําเภอ
และองคกรปกครองสวนทองถ่ินซึ่งเปนผูมีอํานาจหนาท่ีในการดูแลรักษาและคุมครองปองกัน
ท่ีดินอนั เปนสาธารณสมบัตขิ องแผนดินสาํ หรับพลเมืองใชร วมกนั ตามพระราชบญั ญัติลักษณะ
ปกครองทองที่ พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๕๗ ซ่ึงแกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติลกั ษณะปกครอง
ทอ งท่ี (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ดาํ เนนิ การสาํ รวจตรวจสอบจดั ทาํ ขอ มลู เกย่ี วกบั ทส่ี าธารณประโยชน
ดังกลาวเพ่ือดําเนินการตามโครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลที่สาธารณประโยชนในระบบ
สารสนเทศของกรมการปกครอง เพ่ือใหการดูแลรักษาและคุม ครองปอ งกันท่ดี ินอนั เปนสาธารณ-
สมบตั ิของแผนดนิ ไดเ ปนไปดวยความเรยี บรอยและมปี ระสิทธิภาพ ความละเอียดแจง แลว น้ัน

กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแลวเหน็ วา การดําเนนิ การจัดทําฐานขอมูลเกีย่ วกับ
ท่ีดินสาธารณสมบัติของแผนดินซึ่งอยูในความดูแลของกระทรวงมหาดไทยมีความสําคัญและ
จาํ เปน ซึง่ ขอ มลู ดงั กลาวสวนหน่ึงเก็บรกั ษาไวท ส่ี าํ นักงานทดี่ ินทองท่ี ประกอบกับในกรณีที่มี
ราษฎรเขา ครอบครองทาํ ประโยชนใ นทด่ี นิ อนั เปน สาธารณสมบตั ขิ องแผน ดนิ สาํ หรบั พลเมอื งใชร ว มกนั
รัฐบาลไดม ีนโยบายในการแกไ ขปญ หาเรอ่ื งทด่ี ินทํากนิ กระทรวงมหาดไทยจงึ ไดดําเนนิ การตาม
นโยบายโดยใหจ งั หวดั ดาํ เนนิ การตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการอนญุ าตใหป ระชาชน
ใชป ระโยชนใ นท่ีดนิ ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๗ ซง่ึ ไดด ําเนินการมาตงั้ แต พ.ศ. ๒๕๔๗ เปน ตน มาจนถงึ
ปจจุบัน สามารถจัดท่ดี ินใหแ กประชานไดจํานวน ๘๐,๓๒๘ แปลง ๖๖,๘๕๔ ครัวเรือน เน้อื ท่ี
ประมาณ ๓๐๖,๒๒๗ ไร สงผลใหประชาชนทอี่ ยอู าศยั ในท่ดี นิ ของรฐั สามารถอยอู าศัยและ
ทํากินไดอยางถูกตองตามกฎหมายเปนการจัดระเบียบการถือครองท่ีดินอยางหน่ึง อีกท้ัง
ยงั เปนการปองกนั ไมใ หมีการบกุ รุกเพ่ิมเติม ดงั นั้น เพอ่ื ใหเ กดิ การบรู ณาการรว มกนั ระหวา ง

๔๓๔

หนว ยงานตางๆ ในสงั กัดกระทรวงมหาดไทยในการแกไขปญ หาเกยี่ วกบั ทดี่ ินดงั กลาว จงึ ขอให
จงั หวดั ดําเนินการ ดังนี้

๑. แจงและกําชับใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัด เจาพนักงานท่ีดินจังหวัด
สาขา เจาพนกั งานที่ดนิ หัวหนา สวนแยก และเจา พนักงานที่ดินอาํ เภอในทองที่ ใหความรว มมือ
และสนับสนุนการดําเนินการของอําเภอและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสํารวจขอมูลที่
สาธารณประโยชน ตามโครงการพฒั นาระบบฐานขอมลู ท่ีสาธารณประโยชนในระบบสารสนเทศ
ของกรมการปกครองดังกลา ว ตามหนงั สือกรมการปกครอง ดว นมาก ท่ี มท ๐๓๑๐.๑/ว ๑๖๔๐๔
ลงวนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕

๒. รวบรวมผลการสํารวจแปลงที่ดินสาธารณประโยชนท่ีมีการบุกรุกตามท่ี
อําเภอและองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดดําเนินการไว จัดสงใหกรมที่ดินภายในวันท่ี ๓๐
กันยายน ๒๕๕๕ เพ่ือใชเปนขอมูลในการจัดทําโครงการบริหารจัดการการใชประโยชนใน
ท่ีสาธารณประโยชนท ี่มกี ารบกุ รุก เพอื่ ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท (โครงการจัดทด่ี ิน
ของรฐั ขจัดความยากจน) เพือ่ แกไ ขปญ หาเรอื่ งที่ดนิ ทาํ กินใหกบั ประชาชนตอไป

จึงเรียนมาเพอ่ื ทราบและสั่งใหเจาหนาทที่ ราบและถอื ปฏบิ ตั ิตอ ไป

ขอแสดงความนับถอื

(ลงช่อื ) สุรพล พงษทัดศิริกลุ
(นายสุรพล พงษท ดั ศริ กิ ุล)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

กรมทดี่ ิน
สาํ นักจดั การทด่ี นิ ของรฐั
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๔๔ – ๔๗
โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๗

๔๓๕

ท่ี มท ๐๕๑๑.๓ / ว ๓๒๗๘๒ (สาํ เนา)

กรมทด่ี นิ
ศนู ยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทุง สองหอ ง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ัติเก่ียวกบั การขออนญุ าตดดู ทราย
เรยี น ผูวาราชการจงั หวัดทกุ จังหวดั
สง่ิ ทสี่ ง มาดว ย สาํ เนาบันทึกสํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า เร่อื งเสรจ็ ที่ ๑๒๑ / ๒๕๕๕

ดวยกรมปา ไมไดมหี นงั สอื ที่ ทส ๑๖๑๐.๒/๕๖๓๖ ลงวันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๕
แจง ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา เร่ืองเสร็จท่ี ๑๒๑/๒๕๕๕ เร่อื ง การขออนญุ าต
แผว ถางปาในพ้นื ทดี่ ดู ทรายในทด่ี ินของรฐั ซงึ่ มคี วามเห็นสรปุ ไดว า คําวา “ปา ” ตามมาตรา ๔ (๑)
แหงพระราชบญั ญัติปา ไม พุทธศักราช ๒๔๘๔ หมายถงึ ที่ดนิ ท่ียังมไิ ดม ีบุคคลใดไดก รรมสทิ ธห์ิ รือ
ไดส ทิ ธคิ รอบครอง ซึ่งรวมไปถงึ ทดี่ ินรกรางวา งเปลา ที่ชายตลิง่ ภูเขา หว ย หนอง คลอง บงึ บาง
ลําน้าํ ทะเลสาบ เกาะ และทช่ี ายทะเลท่ีเปนท่ีดินของรฐั ดว ย ดังนนั้ การดดู ทราย ในแมน ้ําลําคลอง
ซึ่งเปนปา หากขอเท็จจริงปรากฏวา การเขาไปดําเนินการดูดทรายมีลักษณะเปนการกอสราง
แผว ถาง หรอื เผาปา หรอื กระทําดว ยประการใดๆ อันเปน การทาํ ลายปา หรือเขา ยดึ ถอื หรือ
ครอบครองปา แมการดูดทรายในแมนา้ํ ลาํ คลองจะไดร บั อนญุ าตตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
วา ดวยการอนุญาตใหดูดทราย พ.ศ. ๒๕๔๖ แลวกต็ าม ก็จะตองขออนญุ าตแผว ถางปาตาม
มาตรา ๕๔ แหงพระราชบัญญตั ิปา ไมฯ ดวย ใหก รมทดี่ นิ ทราบและพจิ ารณาใชเ ปน แนวทาง
ปฏิบัติ รายละเอยี ดปรากฏตามสาํ เนาเอกสารท่ีสงมาพรอ มน้ี

กรมทีด่ นิ ขอเรยี นวา ในการประชมุ คณะกรรมการพิจารณาอนญุ าตใหด ดู ทราย
(กพด.) คร้ังที่ ๒/๒๕๕๕ เมื่อวนั ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ท่ีประชุมมีมตใิ หแ จง เวยี นความเห็นของ
คณะกรรมการกฤษฎกี าใหท กุ จงั หวัดทราบและถอื ปฏิบตั ติ ามแนวทางดงั กลาว

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบและแจง เจาหนาทถ่ี อื เปน แนวทางดาํ เนินการตอไป

ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงช่ือ) บุญเชิด คดิ เหน็
(นายบุญเชดิ คดิ เห็น)
อธบิ ดีกรมที่ดนิ

สํานักจดั การทีด่ ินของรัฐ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๓๘ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๖

๔๓๖

เร่อื งเสรจ็ ท่ี ๑๒๑/๒๕๕๕

บนั ทึกสาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า
เรอ่ื ง การขออนญุ าตแ_ผ__ว _ถ_า_ง_ป_า_ใ_น_พ__นื้ _ท_ีด่_ูดทรายในทด่ี ินของรัฐ

กรมปาไมไ ดม หี นงั สอื ที่ ทส ๑๖๑๐.๒/๒๒๙๗๔ ลงวนั ที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๔
ถงึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สรปุ ความไดวา กรมปา ไมไดร ับการหารือการขออนญุ าต
ดูดทรายในแมน้ําลําคลองซ่ึงเปนที่ดินของรัฐตามมาตรา ๙ แหงประมวลกฎหมายท่ีดินวา
กอ นทผ่ี ูร ับอนุญาตจะเขาดําเนินการใดๆ ในพื้นที่จะตองขออนญุ าตและไดรับอนุญาตใหทาํ การ
แผวถางปา ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๖ (พ.ศ. ๒๔๙๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติปาไม
พุทธศกั ราช ๒๔๘๔ วาดว ยการแผวถางปากอนหรือไม และหากผูข ออนญุ าตดูดทรายในแมน้าํ
ลาํ คลองตองขออนญุ าตแผว ถางปาดว ยแลว ผูไ ดร บั ใบอนุญาตดดู ทรายไปแลว และใบอนุญาต
ยงั ไมหมดอายุ จะตองดําเนินการอยา งไร

กรมปาไมไดพจิ ารณาจากขอเท็จจริงดังกลา วขางตนแลว เหน็ วา นิยามคาํ วา “ปา ”
ตามมาตรา ๔ (๑) แหง พระราชบัญญตั ิปา ไม พุทธศกั ราช ๒๔๘๔ “หมายความวา ทีด่ ินท่ยี ังมิได
มบี ุคคลไดม าตามกฎหมายท่ีดนิ ” ซ่งึ เมอ่ื พจิ ารณาตามคาํ นิยามดังกลา วแลวจะเหน็ วา การขอ
อนญุ าตดดู ทรายในแมน า้ํ ลาํ คลองจะตอ งดาํ เนนิ การตามนยั มาตรา ๕๔ แหง พระราชบญั ญตั ปิ า ไม
พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๔ ดวย แตเน่ืองจากในแมน า้ํ ลาํ คลองยงั มสี ว นราชการอื่นๆ เชน กรมทด่ี นิ
กรมเจาทา และกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง ทมี่ อี าํ นาจหนา ทใี่ นการควบคมุ ดูแลพน้ื ท่ี
แมน าํ้ ลําคลอง ดังน้ัน เพื่อไมใ หเ กิดความซา้ํ ซอ นในการควบคุมดแู ลท่ีดินของรฐั และมแี นวทาง
ปฏิบัตทิ ่ถี กู ตอ งชัดเจน จงึ ขอหารือปญหาขอ กฎหมายในประเด็นการขออนญุ าตดูดทรายในแมน ้าํ
ลาํ คลองทีเ่ ปนพืน้ ทีป่ าตามมาตรา ๔ (๑) แหง พระราชบญั ญัติปาไม พุทธศกั ราช ๒๔๘๔ และได
รบั อนุญาตตามมาตรา ๙ แหงประมวลกฎหมายทด่ี นิ หรอื กฎหมายอนื่ แลว จะตอ งดําเนินการ
ตามมาตรา ๕๔ แหงพระราชบัญญตั ปิ าไม พุทธศกั ราช ๒๔๘๔ ดวยหรอื ไม

คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๗) ไดพิจารณาขอหารือของกรมปาไม โดยมี
ผูแ ทนกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม (กรมปาไม) เปน ผชู ี้แจงขอ เท็จจรงิ แลว
เห็นวา มาตรา ๔ (๑)๑ แหง พระราชบญั ญตั ปิ าไม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๔ ไดก ําหนดบทนิยามคําวา

_________________________
สง พรอ มหนงั สอื ที่ นร ๐๙๐๑/๑๒๑๑ ลงวนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ ซ่ึงสํานกั งานคณะกรรมการ

กฤษฎกี ามถี ึงสํานักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี
๑ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั นิ ี้
(๑) “ปา ” หมายความวา ทด่ี ินทย่ี ังมิไดมบี ุคคลไดม าตามกฎหมายทีด่ นิ
ฯลฯ ฯลฯ

๔๓๗

“ปา ” ไววา “ท่ดี นิ ท่ียงั มิไดมบี คุ คลใดไดม าตามกฎหมายที่ดนิ ” และโดยที่มาตรา ๑๒ แหงประมวล
กฎหมายท่ดี นิ บัญญตั ิบทนยิ ามคําวา “ทด่ี ิน” หมายความวา พน้ื ท่ีดินท่ัวไป และใหห มายความ
รวมถึง ภูเขา หว ย หนอง คลอง บงึ บาง ลํานาํ้ ทะเลสาบ เกาะ และท่ชี ายทะเลดวย ซ่งึ จากการ
พจิ ารณาบทนยิ ามดังกลาว คําวา “ทีด่ ิน” นอกจากจะหมายถึงทดี่ ินบนบกอันไดแ กพืน้ ดนิ ทั่วๆ ไป
และภูเขาแลว ยังคลมุ ไปถึงทด่ี ินซ่ึงอยูใตนํ้าดว ย เชน ท่ดี ินท่อี ยูในหวย หนอง คลอง บึง ตางๆ
ซึง่ ตามประมวลกฎหมายท่ีดินไดบญั ญัติรับรองใหบคุ คลสามารถไดมาซ่งึ สิทธิในท่ีดนิ ไดโ ดยการมี
กรรมสทิ ธิห์ รอื สทิ ธคิ รอบครองตามมาตรา ๓๓ ประกอบกบั มาตรา ๔๔ แหงประมวลกฎหมายทดี่ นิ
และหากที่ดนิ ใดมไิ ดตกเปนกรรมสทิ ธข์ิ องบคุ คลหนงึ่ บคุ คลใด มาตรา ๒๕ แหง ประมวลกฎหมาย
ทด่ี นิ ไดบ ญั ญตั ใิ หถ อื เปน ทด่ี นิ ของรฐั ดงั นน้ั เมอ่ื พจิ ารณาบทนยิ ามคาํ วา “ปา ” ตามมาตรา ๔ (๑)๖
แหง พระราชบัญญัติปาไมฯ ประกอบกบั การไดมาซง่ึ ทีด่ ินตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ “ปา”
จึงหมายถึงที่ดินที่ยังมิไดมีบุคลใดไดกรรมสิทธ์ิหรือไดสิทธิครอบครอง ซึ่งรวมไปถึงท่ีดินรกราง
วางเปลา ทชี่ ายตลิ่ง ภเู ขา หวย หนอง คลอง บงึ บาง ลํานา้ํ ทะเลสาบ เกาะ และท่ีชายทะเล
ท่ีเปนทดี่ นิ ของรฐั ดวย และแมบทนิยามคําวา “ทด่ี ิน” ตามมาตรา ๑ แหงประมวลกฎหมายท่ดี ิน
มไิ ดบ ัญญตั ไิ วอ ยา งชัดเจนวา ใหห มายความรวมถงึ แมนา้ํ ดว ย แตเ มื่อพจิ ารณาความหมายของ
คําวา “แมน าํ้ ” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งหมายถึง ลาํ น้ําใหญซึ่ง
เปนทรี่ วมของลาํ ธารทั้งปวง “แมน า้ํ ” จงึ เปนลํานา้ํ ใหญแ ละถอื เปน สว นหน่ึงของความหมายของ
บทนิยามคาํ วา “ทด่ี ิน” ตามประมวลกฎหมายที่ดิน

สาํ หรบั การดดู ทรายในแมน า้ํ ลาํ คลองซง่ึ เปน ปา และอยภู ายใตก ารดแู ลของหนว ยงาน
ของรฐั หลายๆ หนว ยงาน นั้น จะตอ งพจิ ารณาจากขอเท็จจริงวา มกี ารกอสราง แผวถาง หรือ
เผาปาหรอื การกระทําดว ยประการใดๆ อันเปน การทําลายปา ซ่ึงรวมถงึ ทด่ี นิ ทอ่ี ยูในแมน ้าํ ลาํ คลอง
น้ันหรือไม หากมกี ารดําเนนิ การท่มี ลี ักษณะดังกลา วก็จะตอ งไดร ับอนุญาตจากพนกั งานเจาหนาที่

_________________________
๒มาตรา ๑ ในประมวลกฎหมายนี้
“ทด่ี นิ ” หมายความวา พน้ื ที่ดนิ ท่วั ไป และใหหมายความรวมถงึ ภูเขา หวย หนอง คลอง บงึ บาง

ลาํ นาํ้ ทะเลสาบ เกาะ และทช่ี ายทะเลดว ย
“สทิ ธิในที่ดนิ ” หมายความวา กรรมสิทธิ์ และใหหมายความรวมถึงสทิ ธิครอบครองดว ย
ฯลฯ ฯลฯ
๓มาตรา ๓ บคุ คลยอ มมีกรรมสิทธ์ิในที่ดิน ในกรณตี อ ไปน้ี
(๑) ไดมาซ่ึงกรรมสทิ ธิต์ ามบทกฎหมายกอ นวนั ท่ีประมวลกฎหมายนีใ้ ชบ งั คับ หรือไดม าซึง่ โฉนด

ทด่ี นิ ตามบทแหงประมวลกฎหมายนี้
(๒) ไดม าซึง่ กรรมสทิ ธต์ิ ามกฎหมายวาดว ยการจัดท่ดี นิ เพอื่ การครองชีพ หรือกฎหมายอนื่
๔มาตรา ๔ ภายใตบงั คับมาตรา ๖ บุคคลใดไดม าซ่ึงสทิ ธคิ รอบครองในท่ีดิน กอนวันที่ประมวล

กฎหมายน้ใี ชบ ังคับ ใหมสี ิทธคิ รอบครองสืบไปและใหคุมครองตลอดถึงผูร บั โอนดวย
๕มาตรา ๒ ท่ีดนิ ซึง่ มไิ ดตกเปนกรรมสทิ ธข์ิ องบคุ คลหนง่ึ บคุ คลใด ใหถอื วา เปน ของรัฐ
๖ โปรดดเู ชงิ อรรถท่ี ๑, ขางตน

๔๓๘

ตามมาตรา ๕๔๗ แหง พระราชบญั ญัตปิ า ไมฯ และแมการอนุญาตใหดูดทรายในแมนํา้ ลาํ คลอง
จะไดร ับการอนุญาตตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการอนญุ าตใหดดู ทราย พ.ศ. ๒๕๔๖
ทอี่ อกตามความในมาตรา ๙๘ แหง ประมวลกฎหมายทีด่ นิ แลว ก็ตาม แตโ ดยทม่ี าตรา ๙ แหง
ประมวลกฎหมายที่ดนิ ไดบญั ญัตใิ หผ ูซ ่ึงไดร ับอนญุ าตตามประมวลกฎหมายท่ดี นิ จะตอ งปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายวา ดว ยเหมอื งแรแ ละการปา ไมด วย ดงั นั้น หากการเขา ดําเนินการดดู ทรายมีการ
กอ สรา ง แผวถาง หรอื เผาปา หรอื กระทําดว ยประการใดๆ อันเปน การทําลายปา หรอื เขายึดถือ
หรอื ครอบครองปากจ็ ะตอ งขออนุญาตแผว ถางปา ตามมาตรา ๕๔๙ แหงพระราชบญั ญตั ิปา ไมฯ
ดวย

(ลงชอื่ ) อัชพร จารจุ ินดา
(นายอัชพร จารุจนิ ดา)

เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า
มกราคม ๒๕๕๕

_________________________
๗มาตรา ๕๔ หามมใิ หผ ใู ด กอ สราง แผว ถาง หรอื เผาปา หรือกระทําดว ยประการใดๆ อันเปน การ

ทําลายปา หรอื เขายดึ ถือหรอื ครอบครองปาเพ่ือตนเองหรือผอู ื่น เวนแตจะกระทาํ ภายในเขตท่ไี ดจ ําแนกไว
เปน ประเภทเกษตรกรรม และรฐั มนตรไี ดประกาศในราชกจิ จานุเบกษาหรอื โดยไดร บั ใบอนญุ าตจากพนกั งาน
เจา หนา ท่ี

การขออนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑและเงือ่ นไขทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง
๘มาตรา ๙ ภายใตบังคับกฎหมายวาดวยการเหมืองแรและการปาไม ท่ีดนิ ของรัฐนน้ั ถามไิ ด
มสี ทิ ธคิ รอบครอง หรือมิไดร ับอนญุ าตจากพนักงานเจาหนาทแ่ี ลว หา มมใิ หบุคคลใด

(๑) เขาไปยดึ ถอื ครอบครอง รวมตลอดถงึ การกอ สรางหรือเผาปา
(๒) ทาํ ดวยประการใด ใหเปนการทาํ ลาย หรือทําใหเ สอ่ื มสภาพท่ดี นิ ทห่ี นิ ทก่ี รวด หรอื ทท่ี ราย
ในบรเิ วณท่ีรัฐมนตรีประกาศหวงหามในราชกิจจานุเบกษา หรือ
(๓) ทําสงิ่ หนึง่ ส่งิ ใดอันเปน อันตรายแกท รัพยากรในทดี่ ิน
๙โปรดดเู ชิงอรรถ ๗, ขางตน

๔๓๙

ดว นทสี่ ดุ (สาํ เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๑.๒ / ว ๕๘๒๕
กระทรวงมหาดไทย
ถนนอษั ฎางค กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐
๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง การดําเนินการของคณะกรรมการบรู ณาการการบริหารจดั การที่ดินเชงิ ระบบ (กบช.)

เรียน ผวู า ราชการจังหวัดทกุ จงั หวดั

อา งถงึ การประชมุ มอบนโยบายของนายกรฐั มนตรใี หแ กผูว าราชการจงั หวัด (ผานระบบวดี ีทศั น
ทางไกล) เม่อื วันท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕

ตามทน่ี ายกรฐั มนตรไี ดเ ปน ประธานในการประชมุ มอบนโยบายใหแ กผ วู า ราชการ
จังหวดั (ผา นระบบวีดีทัศนทางไกล) เมื่อวนั ท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ ณ หอ งสีเขียว ตึกไทยคูฟ า
ทาํ เนยี บรฐั บาล ซง่ึ มปี ระเดน็ สาํ คญั ประเดน็ หนง่ึ คอื การใชป ระโยชนจ ากทด่ี นิ โดยมคี ณะกรรมการ
บรู ณาการการบริหารจัดการทีด่ ินเชงิ ระบบ (กบช.) ท่ีแตงตง้ั โดยมตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วันที่ ๑๕
มกราคม ๒๕๕๕ วนั ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ วันที่ ๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ วนั ท่ี ๒ ตลุ าคม ๒๕๕๕ และ
วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เพอ่ื บูรณาการการแกไขปญ หาเรอื่ งท่ีดนิ ทํากินทัง้ ประเทศใหเปนไป
ในทิศทางเดียวกนั ตลอดจนเสนอแนวทางในการบรหิ ารจดั การทดี่ นิ อยางเปน ธรรมและลดความ
เหลือ่ มล้ําในการใชประโยชนใ นทดี่ ิน โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (รอ ยตํารวจเอก เฉลิม อยบู าํ รุง)
เปนประธานกรรมการ รฐั มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีทเี่ กย่ี วขอ ง เปนกรรมการ
อธิบดีกรมท่ีดนิ เปนกรรมการและเลขานกุ าร และ ผูอ าํ นวยการสํานกั จดั การที่ดินของรัฐ กรมทีด่ ิน
เปน กรรมการและผูชว ยเลขานกุ าร น้ัน

กระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาแลว เหน็ วาการดําเนนิ การของ กบช. เปนนโยบาย
เรงดวน ทีส่ ําคญั ของรฐั บาล เพอ่ื มุงแกไ ขปญหาดานที่ดินทาํ กินและทอ่ี ยูอาศัยใหกับประชาชน
ท่ยี ากจนท้งั ประเทศ ซงึ่ ขณะนี้ไดมีการจัดตัง้ ศนู ยปฏิบตั กิ ารท่ดี ินระดบั จังหวัด (ศปท.จ.) เพ่อื
เปน กลไกการดําเนินงานของ กบช. ในระดบั พ้ืนทแี่ ลว โดยมีผวู า ราชการจงั หวัด เปน ประธาน-
อนกุ รรมการ ทาํ หนา ทเี่ ปน เจาภาพหลักหรือเจาของเร่ือง เพือ่ ใหเกดิ การบรู ณาการในทุกหนวยงาน
ตลอดจนเรง รัดตดิ ตามการดาํ เนินการใหเ กดิ ผลเปน รูปธรรม รวมท้ังผลกั ดันใหก ารปฏิบตั ิงานของ
กบช. เกิดการขบั เคล่ือนไปอยา งตอ เนอ่ื ง

จึงขอใหผูวาราชการจังหวัดในฐานะประธานอนุกรรมการศูนยปฏิบัติการท่ีดิน
จังหวดั เขา มามีสว นรวมในการดาํ เนนิ งานอยางจรงิ จงั และกํากบั ดแู ลหนว ยงานตางๆ ใหเ กดิ

๔๔๐

การบูรณาการการบริหารจดั การท่ีดินในพ้นื ทอ่ี ยา งเปน ระบบดว ยตนเอง เพือ่ ใหเ จาหนาท่มี ขี วญั
และกําลงั ใจท่ดี ีในการปฏบิ ตั งิ าน จนสามารถสําเร็จลุลวงเห็นผลเปนรปู ธรรมตอ ไป โดยใหถือเปน
ภารกจิ หลกั ท่ีสําคัญอยา งหน่งึ ของกระทรวงมหาดไทยดว ย ทง้ั นี้ กระทรวงมหาดไทยไดกําชับให
หนว ยงานภายในสงั กัดกระทรวงมหาดไทยทกุ หนว ย ใหการสนับสนุนการดาํ เนินงานของคณะ
กรรมการบูรณาการการบรหิ ารจัดการที่ดนิ เชิงระบบ (กบช.) ในทุกๆ ดา น อยางเต็มกาํ ลงั ความ
สามารถดวยแลว

จงึ เรยี นมาเพอื่ ทราบและดําเนินการตอ ไป

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชื่อ) ประภาศ บุญยนิ ดี

(นายประภาศ บญุ ยินดี)
รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ัติราชการแทน

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

กรมที่ดนิ
สํานกั จัดการทดี่ นิ ของรฐั
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๒๘-๒๙ โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๓-๔
E-mail : [email protected]

๔๔๑

ดวนทสี่ ุด (สาํ เนา)
ที่ มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๓๕๙๔๕
กรมท่ดี ิน
ศูนยราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทุง สองหอ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง โครงการบริหารจัดการการใชประโยชนในทีด่ นิ สาธารณประโยชนทมี่ กี ารบกุ รกุ เพื่อขจัด
ความยากจนและพฒั นาชนบท (โครงการจดั ที่ดินของรัฐ ขจดั ความยากจน) ปง บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๖

เรยี น ผูว าราชการจังหวดั ทกุ จังหวัด

อา งถึง หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว นทส่ี ดุ ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๓๘๔๕ ลงวนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๕๕

สิ่งท่สี ง มาดวย รายงานผลการจดั ที่ดินตามโครงการ จํานวน ๑ ฉบับ

ตามหนังสอื ท่อี างถงึ กระทรวงมหาดไทยไดแ จงเวยี นใหจังหวัดคัดเลือกแปลง
ทีด่ นิ สาธารณประโยชนท ่อี ยใู นหลกั เกณฑมาดาํ เนินการจัดทาํ โครงการจัดทด่ี ินของรฐั ขจดั ความ
ยากจน ซง่ึ หากโครงการใดมีความจําเปน ตองดาํ เนนิ การจัดทาํ สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในการ
กอสรางถนนผิวจราจรลูกรังเกรดบดอัด หรอื ขดุ สระนํา้ ใหพิจารณาเสนอไปพรอ มโครงการพรอ ม
จดั สง เอกสารทเ่ี ก่ียวของใหกรมท่ีดนิ ภายในวนั ที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๕ เพอ่ื พจิ ารณาจดั สรร
งบประมาณในการดําเนินงานใหจ งั หวดั นัน้

กรมที่ดนิ พจิ ารณาแลว เนอื่ งจากในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ กระทรวง
มหาดไทยไดกําหนดใหการดําเนินการจัดท่ีดินทํากินและที่อยูอาศัยใหแกประชาชนที่ยากจน
ซ่ึงมีกรมที่ดินเปนเจาภาพรับผิดชอบเปนตัวชี้วัดตามนโยบายสําคัญเรงดวนของรัฐบาลใน
ภารกจิ ของกระทรวงมหาดไทย โดยกาํ หนดเปา หมายตัวชี้วัด “จํานวนประชาชนทยี่ ากจน
ไดรบั การจดั ทีด่ นิ ทาํ กินและที่อยอู าศัย” จาํ นวน ๑๑,๐๐๐ ครวั เรือน และรัฐบาลมนี โยบาย
ในการแกไขปญหาภัยแลว เนอ่ื งจากปจจบุ นั มพี ้นื ท่หี ลายจงั หวดั ประสบปญ หาภยั แลง ซ่ึงใน
ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ กรมทดี่ ินไดรับการสนับสนุนงบประมาณในการขุดสระนาํ้ ในแปลง
ท่ีดนิ สาธารณประโยชนที่ไดนํามาดําเนินการจดั ทีด่ นิ ใหแกร าษฎร ดงั นั้น เพือ่ ใหก ารดําเนินการ
เปนไปตามนโยบายของรฐั บาล และบรรลตุ ามเปา หมายที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดไว จงึ ขอให
ดําเนินการ ดังนี้

๑. ใหความสําคัญตอการดําเนินการตามโครงการจัดท่ีดินของรัฐ ขจัดความ
ยากจน โดยแจง ใหหนวยงานท่เี กี่ยวของคัดเลือกแปลงทดี่ นิ สาธารณประโยชนท อี่ ยูในหลกั เกณฑ
มาดําเนินการจัดทําโครงการฯและจัดสงโครงการใหกรมที่ดินเพื่อพิจาณาจัดสรรงบประมาณให

๔๔๒

จงั หวดั เสรจ็ แลว ใหร ายงานผลการจดั ทีด่ นิ วา แตละโครงการสามารถดาํ เนนิ การจดั ท่ีดิน
ใหแกร าษฎรไดจ าํ นวนก่แี ปลง/ครัวเรือน/คน ตามสิง่ ทีส่ ง มาดว ยใหกรมท่ดี ินภายในวันท่ี ๒๐
ของทกุ เดอื น เพื่อรายงานกระทรวงมหาดไทยทราบตอ ไป (ครัวเรอื น หมายถึง บุคคลธรรมดา
ท่บี รรลนุ ิตภิ าวะหรอื หัวหนา ครอบครัว อาจเปน บคุ คลเดยี วหรือหลายคนอาศยั อยบู า น
เรือนเดยี วกนั ซ่ึงไดร บั การจัดทด่ี นิ ตามทคี่ รอบครองเพ่ือเปน ที่อยูอาศัยและ/หรอื ทาํ มาหา
เล้ยี งชีพดวยตนเอง)

๒. ประชาสัมพนั ธโครงการจัดทีด่ นิ ของรัฐ ขจัดความยากจน พรอ มสาํ รวจแปลง
ท่ีดินสาธารณประโยชนท่ีสามารถดําเนนิ การขดุ สระนํ้า เพือ่ เปนการแกไ ขปญ หาภัยแลงภายใน
จังหวดั โดยมหี ลักเกณฑ ดงั น้ี

๒.๑ ดําเนินการขุดสระน้ําในพ้ืนท่ีสวนกลางในที่ดินสาธารณประโยชนที่
ประชาชนเลกิ ใชป ระโยชนร ว มกนั แลว ซง่ึ ไดนํามาดาํ เนินการจดั ทด่ี ินใหแกร าษฎรแลว หรืออยู
ระหวางดําเนินการ หรอื คาดวา จะนํามาดําเนนิ การจดั ท่ีดนิ ตามโครงการในปตอๆ ไป

๒.๒ การขดุ สระนา้ํ มีวัตถุประสงคเพื่อใหค วามชว ยเหลือขัน้ พ้ืนฐานแกร าษฎร
ในพื้นทท่ี ี่อยูในโครงการตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยสระน้ําดังกลาวจะตอ งสามารถ
กักเกบ็ นาํ้ เพ่ือใหร าษฎรใชใ นการอปุ โภค บริโภค หรอื ทาํ การเกษตรไดอ ยา งถาวร

๒.๓ การขดุ สระนา้ํ มใิ ชเ ปน การขดุ ลอกหนองนา้ํ หรอื ลาํ คลองสาธารณประโยชน
ทม่ี ีอยูเดิม

๒.๔ ใหจัดสงโครงการพรอมแบบแปลนการขุดสระน้ําที่สอดคลองตรงกับ
สภาพพ้ืนที่ที่ขุดสระนํ้าจริง รูปแผนที่ของที่ดินสาธารณประโยชนท่ีแสดงตําแหนงบริเวณท่ีขุด
สระนํ้า และแบบสรุปผลการประมาณราคาคา วัสดุ และคาแรงงานกอสรา ง (แบบ ปร. ๔, ปร. ๕)
ทค่ี าํ นวณราคากลางงานกอ สรางตามมติคณะรฐั มนตรี เมื่อวันที่ ๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๐

๒.๕ ใหส าํ นักงานทดี่ นิ จงั หวดั เปนผูด าํ เนินการจดั ซ้อื จดั จา ง แตถ าสาํ นักงาน
ท่ดี ินจงั หวดั ไมม ีความพรอ มท่จี ะดําเนินการได ใหท ที่ าํ การปกครองจงั หวัดเปน หนว ยดาํ เนินการ
แทน และแจงกรมทด่ี นิ เพือ่ ประสานงานกรมการปกครองรบั เปนหนว ยเบกิ จา ยแทนกรมท่ดี นิ โดย
ดาํ เนินการตามระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วา ดว ยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพ่ิมเติม
รวมท้ังระเบียบและคาํ สง่ั ตา งๆ ทเ่ี กี่ยวของอยางเครงครัด

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณาดาํ เนินการตอ ไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงช่ือ) ธรรมศกั ดิ์ ชนะ
(นายธรรมศักดิ์ ชนะ)

รองอธบิ ดี ปฏิบตั ริ าชการแทน
อธบิ ดกี รมทดี่ นิ

สาํ นกั จดั การทด่ี นิ ของรัฐ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๕๐–๕๑ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๘

๔๔๓

แบบรายงานผลการจดั ทด่ี นิ ตามโครงการบรหิ ารจดั การการใชป ระโยชนใ นทด่ี นิ สาธารณประโยชนท ม่ี กี ารบกุ รกุ เพอ่ื ขจดั ความยากจนและพฒั นาชนบท
ปง บประมาณ ๒๕๕๖

แปลง.................................นสล. เลขท.่ี ............................ตาํ บล.............................อําเภอ.............................จงั หวดั .............................

ลําดับที่ ชื่อ – สกุล เลขประจาํ ตวั เขา ทาํ ประโยชน จํานวนเนือ้ ท่ี สภาพการทํา เลขท่ี ส.ย.๑ การทาํ หนังสอื อนญุ าต หมายเหตุ
ประชาชน จํานวน แปลง วนั เรม่ิ ทาํ ไร–งาน–วา ประโยชน ลงวันท่ี ประชาคม เลขท่/ี ลงวันท่ี
แปลง หมายเลข ประโยชน (ผาน/ไมผ า น)

๔๔๔

รวมทั้งส้นิ จํานวนทไ่ี ดร บั การจัดที่ดนิ .....................แปลง จาํ นวน..................ครัวเรือน จาํ นวนคนที่ไดร ับประโยชน...................คน
หมายเหตุ ครวั เรือน หมายถึง บุคคลธรรมดาที่บรรลนุ ิตภิ าวะหรือหวั หนาครอบครัวอาจเปนบคุ คลคนเดียวหรอื หลายคน อาศัยอยบู านเรอื นเดยี วกนั ซ่งึ ไดรับ

การจัดทด่ี นิ ตามทค่ี รอบครองเพ่ือเปน ท่อี ยอู าศัยและ/หรือทาํ มาหาเลีย้ งชพี ดว ยตนเอง

๙๑๔


Click to View FlipBook Version