The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 1) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

บญั ชี ง หมายถึง รายการยาท่ีมีหลายขอบง ใชแ ตม คี วามเหมาะสมทีจ่ ะใชเพียง
บางขอ บง ใชหรือมีแนวโนมจะมกี ารสั่งใชยาไมถ กู ตอ ง หรือ เปน รายการยาที่มรี าคาแพง จึงเปน
กลมุ ยาทม่ี คี วามจาํ เปน ตอ งมกี ารระบขุ อ บง ใชแ ละเงอ่ื นไขการสง่ั ใชย าการใชบ ญั ชยี าหลกั แหง ชาติ
ไปอางอิงในการเบิกจายควรนําขอบงใชและเงื่อนไขการสั่งใชไปประกอบในการพิจารณาอนุมัติ
การเบกิ จา ยจึงจะกอประโยชนส งู สดุ

ทง้ั น้ี ยาในบญั ชี ง จําเปนตอ งใชส าํ หรบั ผูปวยบางราย แตอ าจทาํ ใหเ กิดอนั ตราย
ตอผูปวย หรอื กอ ปญ หาเชอ้ื ด้อื ยาทร่ี า ยแรง การสั่งใชย าซ่งึ ตองใหสมเหตผุ ลเกิดความคมุ คาสม
ประโยชนจ ะตอ งอาศัยการตรวจวินิจฉยั และพิจารณาโดยผชู ํานาญเฉพาะโรคท่ไี ดรบั การฝก อบรม
ในสาขาวิชาที่เก่ียวของจากสถานฝกอบรมหรือไดรับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติจากแพทยสภา
หรือทันตแพทยสภาเทานั้น และโรงพยาบาลจะตองมีระบบการกํากับประเมินและตรวจสอบ
การใชยา (Drug Utilization Evaluation, DUE) โดยตองมกี ารเกบ็ ขอมูลการใชย าเหลานัน้ เพือ่
ตรวจสอบในอนาคตได

บญั ชี จ ไดแก
บัญชี จ (๑) รายการยาสําหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรม หรือ
หนวยงานของรัฐท่ีมีการกําหนดวธิ ีการใชแ ละการติดตามประเมินการใชยาตามโครงการ โดยมี
หนวยงานนน้ั รับผดิ ชอบ และมีการรายงานผลการดาํ เนินงานตอ คณะอนุกรรมการฯ เปน ระยะ
ตามความเหมาะสม เพ่อื พิจารณาจดั เขา ประเภทของยา (ก ข ค ง) ในบญั ชียาหลกั ตอ ไปเม่ือมี
ขอมลู เพยี งพอ
บญั ชี จ (๒) รายการยาสําหรับผูปว ยทีม่ คี วามจําเปนเฉพาะ๓ ใหเ ขา ถงึ ยาได
อยางสมเหตุผลและคุมคา ซ่ึงมีการจัดกลไกกลางเปนพิเศษในกํากับการใชยาภายใตความรับ
ผดิ ชอบรวมกนั ของระบบประกนั สขุ ภาพซ่ึงดแู ลโดย กรมบญั ชีกลาง กระทรวงการคลัง สํานกั งาน
ประกนั สังคม กระทรวงแรงงาน สํานักงานหลกั ประกันสุขภาพแหงชาติ และหนวยงานอน่ื ๆ
ทเี่ กย่ี วของ

๓เปน ยาที่จําเปนตองใชส าํ หรบั ผปู วยเฉพาะราย โดยยามีความเหมาะสมท่ีจะใชเพียงบางขอบงใชห รอื
มแี นวโนมจะมีการส่งั ใชยาไมถูกตอง หรอื เปนยาทีต่ องอาศยั ความรู ความชาํ นาญเฉพาะโรคหรอื ใช
เทคโนโลยชี ้ันสงู และ เปน ยาทม่ี รี าคาแพงมากหรือสงผลอยางมากตอ ความสามารถในการจายท้งั
ของสงั คมและผปู ว ย จึงตอ งมรี ะบบกํากับและอนมุ ัติการสัง่ ใชยา (authorized system) ทเ่ี หมาะสม
โดยหนวยงานสิทธิประโยชนหรือหนวยงานกลางที่ไดรับมอบหมาย ท้ังนี้เพ่ือใหเปนไปตามขอบงใช
และเงอื่ นไขการสงั่ ใชยา จงึ จะกอ ประโยชนสูงสุด โรงพยาบาลจะตอ งมีระบบการกาํ กับประเมินและ
ตรวจสอบการใชยา และมเี กบ็ ขอมูลการใชย าเหลา นัน้ เพอื่ ใหต รวจสอบโดยกลไกกลางในอนาคตได

๒๔๗

ยาในบญั ชี จ (๒) มีเกณฑการพจิ ารณาเพิม่ เติมเปน การเฉพาะกลา วคอื เปนยาท่ี
จําเปนตองใชสําหรับผูปวยเฉพาะรายมีจํานวนผูปวยไมมากและยามีคาใชจายสูงที่สงผลกระทบ
ตอ ความสามารถในการจายของรัฐ ซึง่ คาใชจ า ยทเ่ี กดิ ขึ้น รัฐสามารถรบั ภาระคา ใชจ ายได โดยจดั
ระบบบริหารจัดการยาทีเ่ หมาะสม
หมายเหตุ

๑. ยาแตล ะชนดิ จัดอยใู นบญั ชียอ ยไดมากกวา ๑ บัญชี หากวา ขอ บงชีก้ ารใชยา
ชนดิ น้ันมหี ลายอยาง และควรมกี ารกํากบั การใชท แ่ี ตกตา งกนั

๒. มาตรการ กํากบั การใชของยาในบญั ชี ง พิจารณาจดั ทาํ ไดต งั้ แตก ารกําหนด
แนวทางการพิจารณาการใชย า การติดตามปริมาณการใชยา จนถงึ การตดิ ตามผลการใชย าใน
ผูปวยเฉพาะรายตามความเหมาะสม

๓. ในกรณีท่เี ปน ยากาํ พรา ใหวงเลบ็ ไวท า ยบัญชียอ ย เชน บัญชี ก (ยากาํ พรา)
๔. ยา ในบญั ชี จ (๒) มเี กณฑการพิจารณาเพิ่มเตมิ เปนการเฉพาะกลาวคือ เปน ยา
ทจ่ี าํ เปน ตอ งใชส าํ หรบั ผปู ว ยเฉพาะรายมจี าํ นวนผปู ว ยไมม ากและยามคี า ใชจ า ยสงู ทส่ี ง ผลกระทบ
ตอ ความสามารถในการจายของรฐั ซึ่งคา ใชจา ยที่เกิดข้ึน รัฐสามารถรบั ภาระคา ใชจ ายได โดยจดั
ระบบบริหารจดั การยาทเ่ี หมาะสม

๒๔๘

กระบวนการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแหง ชาติ
บัญชียาหลกั แหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๔ ไดมกี ารพัฒนาระบบในกระบวนการคัดเลอื กยา

ท่สี ําคญั ดงั นี้
ความโปรง ใสในกระบวนการคัดเลือกยา (transparency) โดยทีก่ รอบการบริหาร

เวชภณั ฑข องรฐั และชุดสิทธปิ ระโยชนข องระบบประกนั สุขภาพตา งๆ ไดใชบ ญั ชยี าหลกั ฯ อา งองิ
ดังน้นั เพอ่ื ใหบญั ชยี าหลกั แหง ชาตใิ ชไ ดผลและเปน ทเ่ี ช่ือถอื ยอมรับได คณะอนุกรรมการฯ
จึงกําหนดเกณฑจริยธรรมในการจัดทําบัญชียาหลักแหงชาติข้ึน มีสาระสําคัญที่มุงใหคณะ
อนกุ รรมการฯ และคณะทํางานฯ ในการจดั ทาํ บญั ชยี าหลักแหงชาตทิ ุกคนปฏบิ ัตหิ นา ทดี่ วยความ
บริสุทธ์ิใจ โปรงใสตามหลักวิชาการ และมุงประโยชนสวนรวมเปนสําคัญ ในการน้ีคณะ
อนกุ รรมการฯ และผูทํางานฯ ทกุ คนไดล งนามแสดงความบรสิ ทุ ธ์ิไจไวต ามเกณฑจ ริยธรรมท่ี
กาํ หนด

การคดั เลอื กยาโดยใชห ลักฐานเชิงประจกั ษทางการแพทย (evidence–based
approach) เพอ่ื ใหก ารคัดเลอื กยากระทําโดยมีหลักฐาน มีเหตุผล และเปนปจจบุ นั สามารถ
อธิบาย ช้ีแจงหรือเผยแพรตอผูเกี่ยวของได จึงจําเปนตองใชหลักฐานขอมูลเชิงประจักษ
(evidence–based information) ทลี่ ะเอยี ดครบถวนเพียงพอตอการตดั สินใจ เปน ขอมลู ทช่ี ดั เจน
และตรวจสอบไดในทกุ ขั้นตอน เพอ่ื ลดอคติในกระบวนการพิจารณา โดยมีการพัฒนาเคร่ืองมือ
ในการคัดเลอื กยาท่สี ําคัญคอื ระบบคะแนน ISafE และดัชนี EMCI มาใชในการเปรียบเทยี บยา
ชนดิ ตางๆ กอ นตัดสินใจเลือกยา ระบบดงั กลาวไดผสมผสานขอดีของการใช evidence–based
information ซง่ึ มกี ารใหนํ้าหนกั ความสําคญั ตอปจจัยหลกั ทใ่ี ชเปรียบเทียบ คุณสมบัติของยา
อยางครบถวน เปน ระบบ ปราศจากอคติ รวมเขาไวดว ยกนั กบั ขอ ดขี องการใช expert judgement
กลาวคือดลุ พินจิ ของผเู ชย่ี วชาญทสี่ ามารถนาํ ปจจยั อ่ืนๆ ท่ไี มไดน าํ มาคํานวณคะแนนมาประกอบ
การพจิ ารณา เชน ความรวดเรว็ ในการออกฤทธขิ์ องยา ความคงทนของตัวยา และการด้ือยา
เปน ตน

ยาในบัญชียาหลักแหงชาตสิ วนใหญคดั เลือกโดยผานระบบคะแนนดงั กลาว เวนแต
ยาบางรายการซ่ึงพิจารณาโดยองิ ปรชั ญาและหลกั การท่คี ณะอนุกรรมการฯ วางไวเ ปนหลักใน
เบ้ืองตน รวมกบั หลกั เกณฑของ evidence–based medicine ตวั อยา งยาทไ่ี มไ ดใชระบบคะแนน
lSafE และดัชนี EMCI ไดแก ยาสว นใหญท ใี่ ชส าํ หรบั โรคมะเร็งและโรคทางโลหติ วิทยา ยาดาน
เวชศาสตรนวิ เคลียรแ ละรงั สีวินิจฉัย ยาดา นโภชนาการ ยาดานทนั ตกรรม ยาดานอาชวี เวชศาสตร
และพษิ วทิ ยา ยาที่ไมต อ งเปรียบเทยี บกับยาอืน่ ยาท่ีมใิ ชค วามจาํ เปนตอ สขุ ภาพ ยาทไี่ มมี
หลกั ฐานสนบั สนุน ยาผสมทไ่ี มมขี อมลู แสดงวามขี อดกี วาหรอื เทาเทียมกับยาเดย่ี ว เปนตน

ระบบการพิจารณาสามข้ันตอน เพ่ือใหการพิจารณาคัดเลือกยาเปนไปอยาง
รอบคอบ มีการพิจารณาในมิตติ า งๆ อยางครบถวน ท้ังในระดับจุลภาค (ผลตอ บุคคล/ผปู ว ย

๒๔๙

แตล ะราย) และระดบั มหภาค (ผลตอ รัฐ/ระบบบริการสุขภาพและสังคม) รวมท้ังใหส อดคลองกับ
ปรชั ญา หลกั การในการพัฒนาบญั ชียาหลกั แหงชาติ คณะอนุกรรมการฯ จงึ กําหนดใหมกี าร
พิจารณากล่นั กรองสามขนั้ ดงั นี้

ขั้นทหี่ นงึ่ คณะทํางานผูเชี่ยวชาญแหงชาติดานการคัดเลอื กยา ๑๗ สาขา พิจารณา
คัดเลือกยาตามแนวทางและหลกั เกณฑการคัดเลอื กยาของคณะอนกุ รรมการฯ โดยใชค ะแนน
ISafE และ EMCI เปน เคร่ืองมือในการพิจารณารว มกบั ความเห็นและขอมูลในประเด็นอน่ื ๆ
ท่ไี มไดเ ปนองคประกอบในการคํานวณคะแนน ISafE และ EMCI การพิจารณาในชน้ั แรกน้ี
คณะทํางานฯ สวนใหญมงุ พิจารณาในมมุ มองของผูใชย า ซึ่งคาํ นึงถงึ ประโยชนต อผูปวยแตละ
รายรว มกบั ความสะดวกในการสง่ั จายยาเปน สําคญั จึงควรคํานึงถึงภาพรวมของประเทศเพื่อให
เกดิ การใชยาอยา งสมเหตุผล โดยมกี ารคนขอ มูลหลกั ฐานเชงิ ประจักษเพิ่มเติม มกี ารใชข อมลู
ISafE และ EMCI อยางจริงจงั เปน ระบบ ผนวกเขากบั ขอ มูล cost–effectiveness analysis และ
ใชม ุมมอง ดา นสงั คม (social perspective) ความสามารถในการจา ยของประเทศ (affordability)
ความเสมอภาค (equity) รวมทั้งความเหมาะสมกับบรบิ ทของระบบสขุ ภาพในประเทศไทยเปน
ฐานในการพจิ ารณา

ขน้ั ทส่ี อง คณะทาํ งานประสานผลการพจิ ารณายาในบญั ชยี าหลกั แหง ชาตนิ าํ ขอ มลู
ของคณะทํางานผูเช่ียวชาญแหงชาติดานการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแหงชาติทุกสาขาที่
พิจารณายาในกลมุ เดียวกนั มารวมกนั เพอื่ พิจารณาในภาพรวมวา ควรมขี อ เสนอในการคดั เลือก
ยาอยางไร

ข้ันทส่ี าม คณะอนุกรรมการพัฒนาบญั ชียาหลกั แหง ชาติ จะทาํ การพจิ ารณาขอมลู
เหตผุ ล และหลกั ฐานตางๆ จากทัง้ คณะทํางานท้งั สอง เพอ่ื ตัดสนิ ใจคัดเลอื กยาในข้นั สดุ ทา ย
หากยงั ไมสามารถใชฉ นั ทามติคัดเลอื กยาได กจ็ ะสงกลับไปยงั คณะทํางานฯ ทั้งสองพิจารณาซํ้า
อีกครง้ั

ในกรณีที่คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาแลวเห็นวายานั้นมีความสําคัญและมี
ผลกระทบตอความสามารถในการจา ยทง้ั ของระบบประกันสขุ ภาพตางๆ สังคมและผปู ว ย จะตอง
จัดใหมีระบบการประเมินความคุมคาและผลกระทบทางการเงินตามคูมือการประเมินเทคโนโลยี
ดานสุขภาพสําหรับประเทศไทย เพ่ือเสนอคณะทํางานดานเศรษฐศาสตรสาธารณสุขและ
หนว ยงาน สิทธปิ ระโยชนพ จิ ารณาความคมุ คาและผลกระทบทางการเงินในอีก ๕–๑๐ ปข างหนา
กอนการพจิ ารณาตัดสินใจคัดเลือกยา

๒๕๐

สิ่งที่สง มาดวย ๒

คูมือการแสดงเหตุผล
การใชย านอกบัญชียาหลักแหงชาติ

(สาํ หรบั ผูป วยเฉพาะราย)

กรมบัญชีกลาง
กระทรวงการคลงั
ตลุ าคม ๒๕๕๕

๒๕๑

บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๕ มเี ปา ประสงคเพอ่ื สรางเสริมระบบการใชย า
อยางสมเหตุผล* โดยมงุ สรา ง “บัญชยี าแหง ชาต”ิ เพ่อื ใชเ ปนกลไกหน่งึ ในการสง เสรมิ ระบบ
การใชย าของประเทศใหส อดคลองกบั หลักปรัชญาวถิ ีชวี ิตพอเพยี ง โดยใหม ีรายการยาที่มี
ความจําเปนในการปองกนั และแกไ ขปญ หาสขุ ภาพของคนไทย ดว ยกระบวนการคดั เลือกยา
ที่โปรงใส และการมีสวนรว มจากทกุ ฝา ยท่เี กีย่ วขอ ง

ยาทไ่ี ดร บั การคดั เลอื กตอ งเปน ยาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพจรงิ สนบั สนนุ ดว ยหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ
มปี ระโยชนเ หนอื ความเสยี่ งจากการใชยาอยา งชัดเจน มคี วามคมุ คาตามหลกั เศรษฐศาสตร
สาธารณสขุ สอดคลองกบั สภาพเศรษฐกิจและความสามารถในการจายของสังคม โดยจดั ให
มกี ลไกกลางกาํ กบั สาํ หรบั ผปู วยทีม่ คี วามจําเปน จาํ เพาะใหส ามารถเขาถึงยาได

บัญชียาหลกั แหงชาตฉิ บบั นี้ มีคุณสมบตั เิ ปนบญั ชยี ายงั ผล (effective list) เพื่อให
ระบบประกันสขุ ภาพแหง ชาติ ระบบประกนั สังคม ระบบสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขา ราชการ
พนักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระบบสวัสดิการอ่ืนๆ สามารถอางอิงเปนสิทธิ
ประโยชนดานยา (pharmaceutical benefit scheme) โดยเกดิ เสถียรภาพและเปนธรรมใน
ระบบบรกิ ารสาธารณสุขของประเทศ

* องคการอนามัยโลก (๑๙๘๕) กาํ หนดวา การใชยาอยางสมเหตผุ ลหมายถึง “การใชยาตามความจําเปน ทาง
คลนิ ิกของผูปว ยดว ยขนาดยาและระยะเวลาการรกั ษาท่เี หมาะสม โดยมคี า ใชจา ยตอผูปวยและชมุ ชน (หรือ
ประเทศ) ตํา่ ท่สี ุด”

คาํ อธิบายประกอบเหตุผลการใชย านอกบัญชียาหลกั แหงชาติ

สบื เนอ่ื งจากกรมบญั ชกี ลางไดเ ปด ชอ งทางใหแ พทยส ง่ั ใชย านอกบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ
บางรายการไดสาํ หรับผูปว ยเฉพาะรายทม่ี ีความจาํ เปน เพอื่ การเบิกจา ยคา ยาแบบผูป ว ยนอก
แตพบวามีการนําชองทางดังกลาวไปใชเพื่อสั่งยานอกบัญชียาหลักแหงชาติกับผูปวยท่ัวไป
จาํ นวนมากในระบบสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา ราชการทง้ั ทม่ี ยี าในบญั ชยี าหลกั แหง ชาตใิ หเ ลอื กใช
ซง่ึ เปน การสรางภาระทางดานงบประมาณใหแ กรัฐเกนิ ความจําเปน

ในเดอื นเมษายน ๒๕๕๓ กรมบญั ชีกลางจงึ ไดข อความรวมมือใหแพทยผทู ําการ
รักษาออกหนังสือรับรองการใชยานอกบัญชียาหลักแหงชาติพรอมแสดงเหตุผลท่ีชี้ใหเห็นถึง
ความจําเปนสําหรบั ผปู ว ยแตละรายท่ีทําใหไ มส ามารถใชย าในบัญชยี าหลกั แหงชาตไิ ด ซ่ึงหาก
ไมแสดงเหตผุ ลหรอื แสดงเหตผุ ลที่ไมเหมาะสม กรมบญั ชกี ลางจะเรียกเงนิ คนื ในทกุ กรณี ทั้งน้ี
กรมบญั ชกี ลางตอ งการใหมีการพจิ ารณาใชยาในบัญชียาหลกั แหง ชาติกอ นเสมอ

จากการตรวจสอบพบวาสถานพยาบาลไดจ ดั ทาํ วิธีแสดงเหตุผลทหี่ ลากหลาย และ
อาจไมสอดคลอ งกับเปาประสงคในการแสดงเหตุผล ซึ่งตอ งการเหตผุ ลทช่ี ดั เจนวา เหตใุ ดจึง
ใชย าในบญั ชยี าหลกั แหง ชาติไมได

๒๕๒

กรมบัญชีกลางจึงไดจัดทําแนวทางการแสดงเหตุผลที่ไมสามารถใชยาในบัญชี
ยาหลักแหง ชาติ (สําหรบั ผปู วยเฉพาะราย) เพื่อประกอบการเบิกจา ยขึน้ เพอื่ ใหส ถานพยาบาล
และแพทยน ําไปใชใ หเปนมาตรฐานเดยี วกนั ดงั นค้ี อื

ก. ใหแ พทยผูรักษาระบุการวนิ จิ ฉัยโรคใหชัดเจนลงในเวชระเบียน
ข. มีรายละเอียดการใชยาในบัญชียาหลักแหงชาติ และลักษณะทางคลินิกของ
ผปู ว ยทเ่ี ปนสาเหตุใหไมสามารถใชยาเหลา นน้ั ไดในเวชระเบียน ซึ่งสามารถอธบิ ายการใชเหตผุ ล
ขอใดขอ หนึง่ ตามขอ ค. ไดอยางพอเพียงตอ การประเมินของผูต รวจสอบจากกรมบัญชีกลาง
ค. ระบุเหตผุ ลหลกั ขอ ใดขอ หนงึ่ ใน ๖ ขอ หลงั ชอ่ื ยานอกบัญชียาหลกั แหง ชาติ
แตละช่อื ในเวชระเบียน (ระบุเฉพาะอกั ษร A ถึง F) เหตผุ ลดงั กลา วประกอบดวย
A. เกดิ อาการไมพ งึ ประสงคจ ากยาหรอื แพย าทส่ี ามารถใชไ ดใ นบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ
B. ผลการรักษาไมบรรลุเปาหมายแมวาไดใชยาในบัญชียาหลักแหงชาติครบตาม
มาตรฐานการรักษาแลว
C. ไมมกี ลุมยาในบัญชียาหลักแหง ชาตใิ หใ ช แตผ ูป วยมีความจําเปนในการใชย านี้
ตามขอ บงใชทไ่ี ดข ึ้นทะเบยี นไวก ับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
D. ผปู วยมภี าวะหรอื โรคที่หา มใชยาในบญั ชีอยา งสมั บรู ณ (absolute contrain-
decation) หรือมขี อหามการใชย าในบญั ชีรวมกบั ยาอนื่ (contraindicated/serious/major drug
interaction) ท่ผี ปู ว ยจําเปนตอ งใชอยา งหลีกเลยี่ งไมไ ด
E. ยาในบัญชยี าหลักแหง ชาติมีราคาแพงกวา (ในเชิงความคุม คา )
F. ผปู ว ยแสดงความจาํ นงตองการ (เบกิ ไมไ ด)

หากมกี ารปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มส อดคลอ งกบั แนวทางทร่ี ะบไุ วใ นคาํ อธบิ ายประกอบการใชเ หตผุ ล
ในแตละขอ อาจสงผลใหสถานพยาบาลถูกเรยี กเงนิ คนื เมอื่ มีการตรวจสอบจากกรมบญั ชกี ลาง

๒๕๓

คาํ อธบิ ายประกอบการใชเ หตผุ ลในแตล ะขอ เพอ่ื ใหแ สดงเหตผุ ลประกอบไดอ ยา งเหมาะสม

เหตผุ ล ตวั อยา งวธิ กี ารพจิ ารณาความเหมาะสมของการใชเ หตผุ ล

A. เกิดอาการไมพึงประสงคจาก การใชเ หตุผลขอ นี้ มีขอ ควรระวังและขอควรทราบดังน้ี
ยาหรือแพยาท่ีสามารถใชไดใน
บญั ชยี าหลกั แหง ชาติ A๑ การใชเหตผุ ลในขอนี้ ผปู ว ยตอ งไดร บั ยาในบัญชยี าหลกั
แหงชาติมากอน แลวเกิดอาการไมพึงประสงคจากยาหรือ
เกิดอาการไมพึงประสงคจากยา แพย าและไมส ามารถหายารายการอน่ื ในบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ
หมายถงึ อาการไมพ งึ ประสงคช นดิ มาใชท ดแทน
ท่ที ําใหผปู วยไมสามารถใชยาเดิมได A๒ การสั่งใชยานอกบัญชยี าหลกั แหงชาติ ในกลมุ ACEI
ตอ ไป เนอื่ งจาก “เกรงวาผปู ว ยจะมีอาการไอจาก enalapril (ก)”
แพย า หมายถงึ มปี ระวตั แิ พย าใน เปนการใชเหตุผลท่ีไมเหมาะสม เนื่องจากอาการไมพึง
บัญชียาหลักแหงชาติหรือเกิดอาการ ประสงคดังกลาวยังไมเกิดขึ้น และหากเกิดข้ึนยังมียาลด
แพยาหลังการใชยาในบัญชียาหลัก ความดันเลือดในหมวดอ่ืนตามบัญชียาหลักแหงชาติใหเลือก
แหง ชาติ ใชอ ีกหลายกลุม

ขอ พงึ ปฏบิ ตั ิ A๓ การสัง่ ใชยานอกบญั ชยี าหลักแหงชาติ ในกลุม coxibs
ตองมีบันทึกในเวชระเบียนท่ีระบุ เนื่องจาก “ผปู ว ยมีอาการแสบทอ งจากการใช ibuprofen (ก)”
ช่ือยาในบัญชียาหลักแหงชาติและ เปนการใชเ หตผุ ลที่ไมเ หมาะสม เน่ืองจากอาการดังกลาวอาจ
ลักษณะทางคลินิกของผปู วยท่กี ลาว ปองกันไดด ว ยการให gastro protective agent รว มดว ย เชน
ถึงอาการไมพึงประสงคจากยาหรือ omeprazole (ก)
การแพย า ตามทก่ี ลา วมาขา งตน คําเตือน การสัง่ ใชยานอกบญั ชยี าหลักแหง ชาติ ในกลุม
coxibs ใหกับผปู ว ยท่ีมคี วามเสีย่ งตอการเกดิ Gl event ผสู ง่ั
ใชย าควรพิจารณาหลักฐานเชงิ ประจักษจาก Health Tech-
nology Assessment (Chen ๒๐๐๘) ซงึ่ พบวาการใช coxibs
ทกุ ชนดิ ใหค ณุ ภาพชวี ิตที่ติดลบ (QALY loss) เมื่อเทียบกบั
การใช ibuprofen + generic omeprazole ทัง้ ในกลมุ ผูปว ย
ทว่ั ไปและกลมุ ผปู วยทีม่ คี วามเสยี่ งตอการเกดิ Gl event ทงั้ นี้
เนือ่ งจาก coxibs มี excess risk ตอ ระบบหลอดเลอื ดหัวใจ
และสมอง และอันตรายดังกลาวไมขน้ึ กบั baseline risk ของ
โรคหวั ใจหรือระยะเวลาในการใชย า (BNF ๖๓) หมายความ
วา coxibs ทุกชนดิ มีคุณสมบตั เิ ปน prothrombotic agent
ซ่งึ อาจทาํ ใหเ กดิ myocardial infarction หรือ stroke ไดกบั
ผูที่ใชยาแมไมมีประวัติโรคหัวใจหรือเปนการใชยาในระยะส้ัน
สถานพยาบาลจึงควรตรวจสอบไมใหผูปวยไดรับยาในกลุม
coxibs บอยเกินความจาํ เปน

๒๕๔

B. ผลการรกั ษาไมบ รรลเุ ปา หมาย การใชเหตุผลขอน้ี มขี อควรระวงั และขอ ควรทราบดังน้ี
แมวาไดใชยาในบัญชียาหลักแหง
ชาติครบตามมาตรฐานการรักษา B๑ การใชยาลดไขมันในเลือดนอกบัญชียาหลักแหงชาติ
แลว เชน ezetimibe, rosuvastatin และยาอน่ื ๆ การท่ีจะใชเ หตผุ ล
ขอน้ไี ดอยา งเหมาะสม ตองมบี นั ทกึ ในเวชระเบยี นวาผปู วยได
หมายถึง ผูป วยไดรับยาในบัญชียา รับยาในบญั ชียาหลกั แหง ชาติ ไดแ ก simvastatin (ก) และ/
หลักแหงชาติดวยขนาดยาที่เหมาะ หรอื atorvastatin (๔๐ mg) (ค) รวมกับไดร ับคําแนะนําให
สมเปนระยะเวลานานพอท่ีจะสรุป ปรับเปล่ียนวิถีชีวิตอยางเหมาะสมมาเปนระยะเวลานานพอ
ไดวาการรักษาไมบรรลุเปาหมาย สมควรแลว แตยงั ไมสามารถควบคมุ ระดบั ไขมนั ในเลือดได
ทต่ี องการ และไมมยี าอืน่ ในบญั ชี ตามเปาหมาย
ยาหลักแหง ชาติ ซึง่ เปนยาในกลุม ตามหลกั ฐานทางการแพทย ผปู วยทอี่ าจมคี วามจําเปน
เดียวกัน หรอื ตางกลมุ กนั ท่ีสามารถ ตองใชยานอกบัญชียาหลักแหงชาติ ดวยเหตุผลน้ีจะมี
นํามาใชรวมหรือใชทดแทนยา สดั สว นไมเ กนิ รอยละ ๕ ของผปู วยทงั้ หมด (Department of
ดังกลาวได Defense Pharmacoeconomic Center, MTF Formulary
Management for Antilipidemic I Drugs (Statins and
ขอ พงึ ปฏบิ ตั ิ Adjuncts), ๒๐๐๘) เพือ่ ปองกนั การถูกเรยี กเงินคนื จากกรม
ตองมีบันทึกในเวชระเบียนท่ีระบุ บญั ชีกลาง สถานพยาบาลจึงควรตรวจสอบการใชย านอก
ช่ือยาในบัญชียาหลักแหงชาติและ บญั ชยี าหลักแหง ชาติ ในหมวดนวี้ า ถูกใชอ ยางเปนสัดสว นท่ี
ลักษณะทางคลินิกของผูปวยที่ระบุ เหมาะสมหรือไม หากมีสัดสว นท่ไี มเหมาะสมสถานพยาบาล
ผลการรักษาตามที่กลาวมาขางตน ควรหามาตรการควบคุมการใชใหเปนไปอยางสมเหตุผลและ
เชน มีผลการตรวจระดบั ไขมันใน คุมคา
เลือดกอ นการเปลย่ี นยา
B๒ การใชยาควบคุมระดับกลูโคสในเลือดนอกบัญชียาหลัก
แหง ชาติ เชน gliptins และยาอ่ืนๆ การท่ีจะใชเ หตุผลขอ นี้
ไดอ ยา งเหมาะสม ตอ งมบี ันทกึ ในเวชระเบียนวา ผูปวยไดรับ
ยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ไดแก metformin (ก) และ
sulfonylurea เชน glipizide (ก) หรือ repaglinide (ง) ในผปู วย
ทีแ่ พ sulfonamides และ –glucosidase inhibitors ไดแก
acarbose (ค) และ pioglitazone (ง) แลว แตยงั ควบคุมระดบั
กลูโคสและ HbA๑c ไมไดตามเปา หมายทต่ี อ งการ

C. ไมมีกลุมยาในบัญชียาหลัก การใชเหตผุ ลขอน้ี มีขอควรระวงั และขอ ควรทราบดังนี้
แหง ชาติใหใช แตผ ปู วยมีความ
จําเปน ในการใชย าน้ีตามขอ บง ใช C๑ การใชเหตุผลขอนี้ในการใชยานอกบัญชียาหลักแหงชาติ
ที่ไดขึ้นทะเบียนไวกับสํานักงาน นั้น เกิดขนึ้ ไดนอ ยมาก ท้งั นี้ เนื่องจากรายการยาในบญั ชียา
คณะกรรมการอาหารและยา หลกั แหง ชาตไิ ดร บั การปรบั ปรงุ ใหดขี น้ึ ตลอดเวลา และในการ
ใชยามีกลไกอืน่ ซ่งึ อนญุ าตใหมีการใชยาบางชนิดทีไ่ มไ ดอ ยู

๒๕๕

การใชเหตุผลขอนี้หมายถึงผูปวยมี ในบญั ชียาหลกั แหง ชาติอยแู ลว เชน บญั ชรี ายการยากําพรา
โรค ภาวะ หรืออาการ ทีไ่ มส ามารถ (ตัวอยา งยา dacarbazine) และกลไกของกรมบญั ชีกลางท่ี
หาตัวยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ประกาศอนุญาตใหใชยาบางรายการท่ีไมอยูในบัญชียาหลัก
มาใชเพื่อรักษาได โดยมหี ลักฐาน แหงชาตไิ ด โดยถอื เปน reimbursable indication ของยา
สนับสนุนการใชยานอกบัญชียา ท่กี รมบญั ชกี ลางไดประกาศไวแ ลว (ตวั อยางยา rituximab
หลกั แหง ชาติ ซ่งึ หมายถึง การที่ ในผูปว ย diffuse large–B–cell lymphoma)
แพทยไดพิจารณาองคประกอบ C๒ การตีความวาไมม ี coxibs, saw palmetto extract,
สําคัญในการใชยาอยางสมเหตุผล ormega–๓ capsule (และกลมุ ยาตา งๆ อกี หลายกลุม ยา)
อยา งครบถว นแลว ไดแ ก ความ ใหใ ช จงึ นํายาเหลานั้นมาใชภ ายใตเ หตผุ ลขอ น้ี เปนการใช
จําเปนทางคลินิก หลักฐานเชิง เหตผุ ลทไี่ มเหมาะสม เนอ่ื งจากยงั มยี ากลมุ อ่นื ๆ ทเี่ ปนยาใน
ประจักษท่ีสนับสนุนประสิทธิผล บญั ชียาหลักแหงชาติทีน่ ํามารกั ษาโรค หรอื อาการภายใตขอ
ของยา หลักฐานดา นความปลอดภยั บง ช้ขี องยาเหลานัน้ ได เชน NSAIDs ใชใ นขอบงชเี้ ดยี วกัน
ของยา และหลกั ฐานดานความคมุ กบั coxibs หรือใช ๑–adrenergic antagonists ในขอ
คา ของยาในบรบิ ทของสังคมไทย บงชี้เดียวกนั กบั saw palmetto extract และใช statins หรอื

fibrates ในขอบงชีเ้ ดียวกนั กับ omega–๓ capsule เปนตน
C๓ ควรมีหลักฐานเชิงประจักษท่ีเปนปจจุบันและมีคุณภาพ
ทย่ี ืนยันวา ยาดังกลาวมีประสทิ ธผิ ลจรงิ อยา งมนี ยั สําคญั ทาง
คลินกิ ตัวอยา งเชน การสง่ั ใชย าในกลมุ anti–inflammatory
enzymes (เชน serratiopeptidase) หรือยาละลายเสมหะ
(เชน acetylcysteine) โดยใชเ หตุผลวาไมม ยี าดงั กลา วใหใช
เปน การใชเ หตผุ ลที่ไมเ หมาะสม เน่ืองจากไมมหี ลกั ฐานเชงิ
ประจักษท่ีเปนปจจุบันและมีคุณภาพท่ียืนยันประสิทธิผลของ
ยาเหลา น้ี ซงึ่ เปน สาเหตทุ ีไ่ มไ ดบ รรจยุ าเหลานี้ไวใ นบญั ชียา
หลักแหง ชาติ
C๔ ควรมหี ลักฐานวา ยาดงั กลา วมคี วามปลอดภัย หมายถึง
ผูปวยไดรับประโยชนเหนือความเสี่ยงจากการใชยาอยาง
ชดั เจน ตวั อยา งเชน ยาตอ ไปนี้ไมอ ยใู นบญั ชียาหลกั แหง ชาติ
ดวยเหตุผลดานความปลอดภัย การส่ังใชยาเหลานี้ดวย
เหตุผลขอนี้ จงึ เปน การใชเ หตผุ ลทไี่ มเ หมาะสม
● cinnarizine และ flunarizine ชักนําใหเกดิ parkinsonism
● cisapride อาจชักนาํ ใหเกิด QT prolongation และมี drug
interaction กบั ยาหลายชนิดท่ีอาจทาํ ใหเ กดิ ภาวะหวั ใจเสยี
จังหวะ ซ่ึงเปน อันตรายถึงชวี ิต

๒๕๖

● fenoverine ชักนาํ ใหเกดิ rhabdomyolysis
● muscle relaxants เชน orphenadrine เปน ยาทไ่ี มเ หมาะสม
สําหรับผสู ูงอายตุ าม Beers Criteria ๒๐๑๒
● nimesulide ชักนําใหเ กิด fatal hepatotoxicity
● short acting calcium channel blockers (เชน nifedipine
/diltiazem ชนิด immediate release) เพ่มิ อตั ราการเสยี ชีวติ
ของผูปว ยความดนั เลอื ดสูงที่ใชยาดังกลาว
C๕ ควรทราบวามียานอกบัญชียาหลักแหงชาติหลายชนิด
ที่ไมไดรับการคัดเลือกเปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติดวย
เหตุผลดา นความไมปลอดภัย และตอ มายาเหลานัน้ ไดถ อน
การจําหนายทวั่ โลก โดยทีย่ าเหลา นี้เคยเปนยาทถ่ี กู สง่ั จาย
บอ ยครง้ั แกผูรับสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา ราชการ อนั เปน
การเพม่ิ ความเสย่ี งตอ ผปู ว ยโดยไมจ าํ เปน ตวั อยา งยาเหลา นน้ั
ไดแก
● gatifloxacin
● tegaserod
● valdecoxib
● rofecoxib
● rosiglitazone
C๖ ควรมีหลักฐานวายาดังกลาวมีความคุมคาตามหลัก
เศรษฐศาสตรส าธารณสขุ หมายถึงผูสั่งยามหี ลกั ฐานจาก
งานวิจัยทรี่ ะบุวายาดังกลาวมคี วามคุมคา ไดแ ก มีหลักฐาน
แสดง cost–benefit หรือ cost–effective หรอื cost–utility ท่ี
ระบุวา ยาดงั กลา วมี incremental cost effectiveness ratio
(ICER) ต่าํ กวา ๑ เทา ของ GDP ของประเทศไทย ไดแ กไ มเ กิน
๑๒๐,๐๐๐ บาทตอ QALY gain (ประมาณ ๒,๔๐๐ ปอนด
หรือ ๔,๐๐๐ ดอลลาร ตอ QALY gain)
ตัวอยางเชน
● การใช bisphosphonate ซึ่งเปนยานอกบญั ชยี าหลกั แหง

ชาติในการปองกันกระดกู หักจากโรค osteoporosis แบบ
ปฐมภูมิ (primary prevention) มีหลักฐานจากการศึกษา
ในประเทศไทยวาหากเริม่ ใหยากับผทู ่มี อี ายุ ๔๕ ป การใช
ยาเหลานีจ้ ะมคี า ใชจ า ยตอ QALY gain ๑.๗๒ ลา นบาท

๒๕๗

และหากเร่ิมใหยากับผทู ีม่ อี ายุ ๘๐ ป ก็ยงั มีคาใชจ ายตอ
QALY gain ท่ี ๑.๘๗ แสนบาท แสดงใหเห็นวาการ
ใชยากลุมนี้ยังไมมีความคุมคาตามเกณฑมาตรฐานของ
ประเทศไทย จนกระท่ังยามีราคาลดลงรอยละ ๘๐ จึงจะ
เริ่มมีความคุมคา กบั ผทู ีม่ อี ายตุ ัง้ แต ๕๕ ปขน้ึ ไป (ธนนรรจ
รตั นโชตพิ านชิ และคณะ สํานักงานวิจยั เพอ่ื การพัฒนา
หลกั ประกนั สุขภาพไทย ๒๕๕๔)
● การใชย านอกบัญชียาหลักแหงชาติ coxibs เทียบกับ
NSAIDs (ibuprofen หรือ diclofenac ซง่ึ เปน ยาในบญั ชี
ยาหลักแหงชาติ บัญชี ก.) พบวา มีคาใชจ า ยตอ QALY
gain ดงั น้ี celecoxib (low dose) ๖๘,๔๐๐; celecoxib
(high dose) ๑๕๑,๐๐๐; etoricoxib ๓๑,๓๐๐;
meloxicam (low dose) ๑๐,๓๐๐ ; meloxicam
(high close) ๑๗,๘๐๐ www.hta.ac.uk/fullmono/
mon๑๒๑๑.pdf จงึ กลาวไดวา celecoxib กบั etoricoxib
ตางไมมคี วามคุมคาในบรบิ ทของสงั คมอังกฤษ (สหราช
อาณาจักรใชเ กณฑค วามคมุ คาท่ี ๓๐,๐๐๐ ตอ Q ALY
gain) และอาจอนุมานไดว า coxibs ทุกชนดิ ไมมีความคมุ
คาเม่ือเทียบกับยาในบัญชียาหลักแหงชาติภายใตบริบท
ของสังคมไทย
● การใช PPI นอกบัญชียาหลกั แหงชาติ เชน esomeprazole
(๒๐ หรือ ๔๐ mg) ในการรักษาโรค GERD ชวยใหผ ูปว ย
(๘๐๘ คน) มีคณุ ภาพชวี ติ เพิม่ ข้นึ ๐.๐๗๑ QALM (qual-
ity–adjusted life month) เม่ือเทยี บกบั กลุม ควบคมุ (๔๔๕
คน) ทใ่ี ช PPI ชนิดอื่น หรือ H๒ receptor antagonist ดว ย
คาใชจ ายทเ่ี พ่มิ ขน้ึ $๗๖๓ ตอ QALM gain (Spiegel BM.
๒๐๑๐) หรอื คดิ เปน ๒๗๔,๖๘๐ บาทตอ QALY gain ซง่ึ
เกินกวาคาความคุมคาในบริบทของสังคมไทยไปประมาณ
๒ เทา เศษ
หมายเหตุ คา QALM gain ๐.๐๗๑ หนวย หมายความ
วา การใช esomeprazole นาน ๔ สปั ดาห ชว ยใหผูปวย
โรค GERD มรี ะยะเวลาท่ปี ราศจากอาการของโรคไดนาน
กวายาอ่นื ๒ วัน ดว ยคา ยา ๑,๐๗๖–๑,๗๐๐ บาท (ข้ึนกับ
ขนาดยาที่ใช)

๒๕๘

D. ผูปวยมีภาวะหรือโรคท่ีหามใช การใชเหตุผลขอน้ี มขี อควรระวงั และขอ ควรทราบดังน้ี
ยาในบัญชียาหลักแหงชาติอยาง
สมั บรู ณ (absolute contraindi- D๑ ขอหามใช ควรเปน absolute contraindication ไมใ ช
cation) หรอื มขี อ หา มการใชย า relative contraindication หรือ precaution ซึ่งมีวิธีการ
ในบัญชียาหลักแหงชาติรวมกับ หลกี เล่ยี งหรือบรรเทาอันตรายจากยา

ยาอน่ื (contraindicated/serious/ D๒ ปญหาอนั ตรกิริยา ควรเปน อนั ตรกิริยาทที่ ําใหไมสามารถ
major drug interaction) ทผ่ี ปู ว ย ใชย าทงั้ สองรวมกันได อนง่ึ ในกรณสี วนใหญปญ หาจาก
จาํ เปน ตอ งใชอ ยา งหลกี เลย่ี งไมไ ด อันตรกิริยาอาจถูกแกไขไดดวยการปรับเปลี่ยนขนาดยาหรือ
วธิ ใี หยา หรือเปน เพยี งขอ ควรระวงั เพื่อใหแ พทยต ดิ ตามผล
ขอ หา มใชย าอยา งสมั บรู ณ (absolute ของการใชยารว มกนั อยางใกลช ิด
contraindication) หมายถงึ ไมมี
กรณีใดที่การใชยาจะมีประโยชน หมายเหตุ ขอมลู ขา งตนควรมีแหลงอา งอิงจากฐานขอ มลู ยา
เหนอื อนั ตรายจากการใชย าในผปู ว ย ฐานใดฐานหนง่ึ หรอื คูมือยาฉบบั ใดฉบบั หนึ่งท่เี ปนมาตรฐาน
ซึ่งการใชยาจะนําอันตรายรายแรงสู เชน เอกสารกํากับยาที่ไดรับอนุมัติจากสํานักงานคณะ
ผูปวยหรือทารกในครรภหรือทารกที่ กรรมการอาหารและยา Summary of Product Characteris-
ดดู นมมารดา tics (SPC), US FDA official drug labeling, Micromedex,
Lexicomp, Clinical Pharmacology หรอื British National
ขอ หามการใชย ารวมกบั ยาอนื่ Formulary เปน ตน
(contra–indicated/serious/major
drug inter–action) หมายถงึ ยาที่
มีอันตรกิริยาตอกันที่ทําใหเกิดอัน
ตรายตอผูปวยในลักษณะท่ีจัดเปน
ขอ หา มใช (contraindicated) หรือ
ถูกระบุวาเปนอันตรกิริยาท่ีมีผลเสีย
ตอผปู วยขัน้ รนุ แรง (serious) หรือ
เปนอนั ตรกริ ยิ าระดบั รุนแรง (major)

ขอพงึ ปฏิบัติ
ตองมีบันทึกในเวชระเบียนที่ระบุ
ชื่อยาในบัญชียาหลักแหงชาติและ
ลักษณะทางคลินิกของผูปวยที่ทําให
ไมสามารถใชย าแตละชนดิ ได

๒๕๙

E. ยาในบัญชียาหลักแหงชาติ การใชเหตุผลขอนี้ มขี อ ควรระวังและขอควรทราบดังนี้
ราคาแพงกวา (ในเชงิ ความคมุ คา ) E๑ มีความเปนไปไดท่ียานอกบัญชียาหลักแหงชาติบางชนิด
การใชเ หตุผลในขอนี้ หมายถึง ยา อาจเขาเกณฑต ามความหมายในขอนี้ เชน voriconazole
นอกบัญชียาหลักแหงชาติท่ีใหผล ชนดิ กินมีราคาถูกกวา liposomal amphotericin B แตยานยี้ ัง
การรักษาท่ีเทา กนั หรือดกี วา หรือมี ไมถ กู ประกาศเปน ยาในบัญชียาหลักแหง ชาติ ซง่ึ ความลาชา
วธิ บี รหิ ารยาทส่ี ะดวกกวา โดยมรี าคา ดังกลาวอาจเกดิ ขึน้ จากเหตุผลหลายประการ เชน กําลงั อยู
ถูกกวายาในบัญชียาหลักแหงชาติ ในข้ันตอนการพิจารณาของคณะทาํ งานฯ กาํ ลงั อยใู นขนั้ ตอน
อกี ทง้ั ยงั มคี วามปลอดภยั ทไ่ี มแ ตกตา ง การตอรองราคา กาํ ลงั อยใู นขน้ั ตอนการจัดทาํ คมู ือการใชยา
กนั หรอื ดกี วา ยาในบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ (หากเปนยาในบญั ชี จ๒) หรืออยูในระหวางการรอผูมอี ํานาจ
หมายเหตุ ราคายาหมายถงึ คา ใชจ า ย ลงนามในประกาศ เปนตน
ตอ course ของการรกั ษาหากเปน E๒ การพิจารณาวายาในบัญชียาหลักแหงชาติมีราคาแพง
การรักษาระยะส้นั หรอื คํานวณเปน กวา นนั้ ใหใ ชพ ้นื ฐานราคาของยาชือ่ สามัญเปน หลัก
คาใชจายตอวัน หากเปนโรคเร้อื รงั ท่ี
ตองใชยาอยางตอ เนอื่ ง E๓ เหตุผลขอน้ีเปนไปตามคําจํากัดความของการใชยา
ขอพึงปฏบิ ัติ อยางสมเหตุผลขององคการอนามัยโลกที่มีใจความโดยยอวา
หากมีการใชเหตุผลขอนี้ กรมบัญชี การใชย าอยางสมเหตผุ ล หมายถึง “การใชย าตามความ
ก ล า ง จ ะ นํ า ข อ มู ล แ จ ง ต อ ค ณ ะ จําเปนทางคลินิกของผูปวยดวยคาใชจายที่ตํ่าท่ีสุดตอ
อนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลัก ผปู ว ยและสงั คม”
แหง ชาติ เพอื่ ดําเนนิ การตามความ (http://apps.who.int/medicinedocs/pdf/h๓๐๑๑e/
เหมาะสมตอ ไป ดังนนั้ แพทยจึง h๓๐๑๑e.pdf)
ค ว ร ร ะ บุ ชื่ อ ย า แ ล ะ วิ ธี ใ ห ย า ที่ ใ ช ดังนั้น การใชยานอกบัญชียาหลักแหงชาติทุกชนิดท่ีมีราคา
เปรียบเทียบราคาไวใหชัดเจนใน แพงกวายาในบัญชียาหลักแหงชาติ โดยไมมีเหตุผลอัน
เวชระเบียน เชน ระบใุ หท ราบวา สมควรตามขอ A ถงึ D จงึ ไมควรกระทํา เนื่องจากเขาขายการ
voriconazole ชนิดกนิ มีราคาถกู ใชย าอยางไมส มเหตผุ ล

กวา liposomal amphoterich B
ในขอบงชี้เดยี วกันมากกวา ๑๐ เทา
เปน ตน

F. ผูป วยแสดงความจาํ นงตอ งการ (เบิกไมได)
หมายถึง การท่ีแพทยมคี วามประสงคทีจ่ ะสง่ั ยาในบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ แตผ ูป ว ยมเี หตผุ ลสว นตัว
บางประการที่ตองการใชยานอกบัญชียาหลักแหงชาติ แมวาแพทยจะไดอธิบายแลววาสามารถ
ใชยาในบัญชียาหลักแหงชาติ เพ่อื รกั ษาโรคหรอื อาการของผปู วยไดอ ยางมปี ระสทิ ธิผลและปลอดภยั
ผปู วยตองรับภาระคาใชจ ายเอง

๒๖๐

ที่ มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๒๗๑๙๓ (สาํ เนา)

กรมที่ดนิ
ศูนยราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทงุ สองหอง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๕

เร่ือง การบันทกึ ขอ มูลสนิ ทรพั ยถ าวรในระบบ GFMIS
เรียน ผวู า ราชการจงั หวดั ทุกจังหวดั
อางถงึ ๑. หนังสอื กรมที่ดนิ ที่ มท ๐๕๐๘/ว ๒๑๙๓๓ ลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๘

๒. หนังสอื กรมบญั ชีกลาง ดว นทีส่ ุด ท่ี กค ๐๔๐๙.๓/ว ๓๕๖ ลงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๔
๓. หนังสอื กรมบัญชกี ลาง ที่ กค ๐๔๒๓.๓/ว ๒๑๒ ลงวันท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๕
๔. หนงั สอื กรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๐๓.๒/ว ๑๒๗๔๒ ลงวนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
สงิ่ ท่ีสงมาดวย ๑. คมู อื แนวทางการจัดทาํ ขอมูลสนิ ทรพั ยถาวรในระบบ GFMIS ของสํานกั งานท่ีดนิ

หนว ยเบิกจา ย
๒. บัญชีพักสนิ ทรพั ยค งคา งในระบบ GFMIS ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘–๒๕๕๕

ตามหนงั สือทีอ่ า งถึง ๑ กรมที่ดินไดกาํ หนดวธิ ีการจดั ทําขอ มลู สินทรพั ยถาวร
ใหส าํ นักงานที่ดินหนว ยเบิกจายจัดทาํ รายละเอยี ด “แบบฟอรมขอมูลหลักสนิ ทรัพยถาวรในระบบ
GFMIS” (แบบฟอรม ๒๓ ชอง) สง กรมทีด่ ินเพ่ือบนั ทึกขอมูลที่เครอ่ื ง GFMIS Terminal ตอ มา
กรมบญั ชีกลางไดพัฒนาระบบ GFMIS ใหหนวยเบกิ จา ยสามารถบนั ทกึ ขอมูลสนิ ทรัพยถ าวรท่จี ดั
ซ้อื จัดจางในปป จ จบุ นั ผาน GFMIS Web Online และกําหนดแนวทางการปรบั ปรุงบญั ชีสินทรพั ย
ถาวรกอ นปป จจบุ ันผาน GFMIS Web Online ตามหนงั สอื ทอ่ี างถงึ ๒ และ ๓ โดยกรมที่ดินได
แจงใหสํานักงานที่ดินจังหวัดสงขอมูลสินทรัพยถาวรใหกรมที่ดินบันทึกขอมูลที่เคร่ือง GFMIS
Terminal และเมอื่ กรมท่ีดินจัดทาํ แนวทางปฏิบัติการบนั ทึกขอ มูลผา น GFMIS Web Online
ใหส ํานกั งานทดี่ ินหนวยเบิกจา ยเสร็จเรียบรอย จะแจง ใหจ ังหวัดทราบตามหนังสือทอ่ี า งถงึ ๔ นนั้

กรมทด่ี ินพจิ ารณาแลว เพอ่ื เปน การลดขั้นตอนการสง ขอ มลู ของสาํ นักงานทด่ี ิน
หนว ยเบิกจา ยใหก รมทีด่ ินบนั ทึกขอมลู หลกั สนิ ทรพั ยถาวรและลางบัญชพี ักสนิ ทรพั ยถาวร ทําให
ขอมูลสินทรัพยถาวรและการประมวลผลคาเสื่อมราคาเปนไปตามระยะเวลาการไดมาของ
สนิ ทรพั ย และสามารถบันทึกขอ มลู ในระบบ GFMIS ไดกอนการปด งวดบญั ชขี องกรมบญั ชีกลาง
รวมทง้ั สามารถเรยี กดูรายงานสนิ ทรพั ยถาวรผาน GFMIS Web Online ได กรมที่ดินจึงไดจ ัดทํา

๒๖๑

คูมือแนวทางการจัดทําขอมูลสนิ ทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสาํ นกั งานที่ดินหนวยเบิกจาย
ตามส่งิ ทีส่ งมาดว ย ๑ เพ่อื ใหส ํานกั งานที่ดินหนว ยเบิกจายมคี วามสะดวก และคลอ งตัวในการ
บนั ทึกขอมลู สนิ ทรัพยถาวร ทราบข้นั ตอนในการปฏบิ ัติงานของหนวยงานที่เกีย่ วขอ ง และมี
แนวทางปฏิบตั งิ านเปนไปในทศิ ทางเดียวกัน รวมท้งั ใชเ ปนคูมือการปฏิบตั ิงานควบคกู ับแนวทาง
การปฏบิ ตั งิ านของกรมบญั ชกี ลาง โดยใหส าํ นกั งานทด่ี นิ หนว ยเบกิ จา ยบนั ทกึ ขอ มลู สนิ ทรพั ยถ าวร
ผาน GFMIS Web Online ตั้งแตวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ เปน ตนไป สําหรับสํานักงานทด่ี ิน
หนวยเบิกจา ยที่มีบญั ชพี ักสนิ ทรพั ยคงคา งในระบบ GFMIS ปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ – ๒๕๕๕
ตามสิ่งที่สงมาดวย ๒ ขอใหจัดทําแบบฟอรมขอมูลหลักสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS
(แบบฟอรม ๒๓ ชอง) สงกรมท่ีดินบนั ทกึ ขอมูลสินทรัพยถ าวรท่ีเครอ่ื ง GFMIS Terminal ภายใน
วนั ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ หากพนกําหนดดังกลา วใหส ํานกั งานทดี่ นิ หนวยเบิกจายบันทึกขอมลู
สินทรัพยถ าวรผา น GFMIS Web Online ตามคมู อื สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑

อนง่ึ กรมท่ีดินไดรวบรวมหนงั สอื เวยี นและคมู อื การบันทกึ สินทรพั ยถาวรในระบบ
GFMIS ไวท่ีเวบ็ ไซตก รมท่ีดิน เวบ็ ไซตหนว ยงานภายใน กองคลงั หวั ขอ สินทรัพยถ าวร

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ และแจง ใหส าํ นักงานที่ดินจงั หวัดดาํ เนินการตอ ไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชือ่ ) บุญเชิด คดิ เหน็

(นายบุญเชิด คิดเหน็ )
อธบิ ดกี รมทดี่ ิน

กองคลงั
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๖๗
โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๙๒

๒๖๒

ดว นที่สุด (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๕
กระทรวงการคลงั
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒ ตลุ าคม ๒๕๕๕

เรื่อง การลงทะเบียนในระบบเบิกจายตรงผูปวยนอกกบั สถานพยาบาลของทางราชการกรณี
ผปู วยโรคเร้อื รัง

เรยี น อธิบดีกรมทีด่ นิ

สืบเนื่องจากนโยบายรัฐบาลท่ีตองการใหระบบบริการสาธารณสุขมีคุณภาพ
และกระทรวงการคลังเล็งเห็นวา ปจจุบันการดูแลรักษาพยาบาลผูปวยโรคเรื้อรังที่ตองมีการ
รกั ษาตอ เน่อื งสําหรบั สทิ ธิสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา ราชการ มผี ูปวยจาํ นวนมากทีเ่ จ็บปว ยดวย
โรคเรอ้ื รงั ไดเขารบั บริการดวยโรคเดียวกันในสถานพยาบาลหลายๆ แหง จึงทําใหขาดการรักษา
พยาบาลท่ตี อ เนือ่ ง และไดร บั ยาซํา้ ซอนเกินความจาํ เปน ทําใหโ อกาสหายขาดจากโรคนอยลง
ดังน้นั หากมกี ารดแู ลรกั ษาพยาบาลผูปว ยโรคเร้อื รงั ในระบบสวสั ดิการรักษาพยาบาลขา ราชการ
โดยใหม ีโรงพยาบาลประจาํ ตวั เพียง ๑ แหง ตอ ๑ โรค จะเปนการยกระดบั คุณภาพการดูแล
สุขภาพของผูปวยดงั กลา วได

กระทรวงการคลงั พิจารณาแลว ขอเรยี นวา เพ่อื สง เสรมิ การเขาถึงการรกั ษาและ
การบรกิ ารสาธารณสุขท่จี ําเปนตามขอบง ชท้ี างการแพทย และเปน การดแู ลผปู ว ยสิทธิสวัสดกิ าร
ขาราชการใหไ ดร ับการดูแลรกั ษาอยา งตอ เนอ่ื ง เห็นควรกาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ิในการเขา รบั การ
รกั ษาพยาบาลสําหรบั ผูปว ยดวยโรคเรอ้ื รงั และสถานพยาบาลของทางราชการ ดงั นี้

ผูมีสิทธิ
การเจบ็ ปว ยดว ยโรคเรอื้ รงั ไดแก ผูทเ่ี จ็บปว ยดว ยโรคเรือ้ รงั และเคยเขารบั การ
รักษาอยา งตอ เนือ่ งกับสถานพยาบาลอยูแลว ไมต ํา่ กวา ๓ เดอื น เชน โรคเบาหวานทีต่ องใชย า
ควบคุมระดับนํ้าตาล โรคความดนั โลหติ สูงทต่ี อ งใชยาควบคุม โรคหัวใจทผ่ี ปู ว ยเคยไดรบั การ
วนิ ิจฉยั วา เคยมีภาวะหวั ใจวาย (myocardial infarction) หรอื หัวใจลม เหลว (heart failure) อยา ง
นอ ย ๑ ครั้งมากอน หรอื โรคหัวใจขาดเลอื ด (ischemic heart disease) ท่ีมีผลการตรวจยนื ยัน
ชัดเจน โรคอมั พฤกษห รอื โรคอัมพาตทม่ี ีสาเหตุจากพยาธสิ ภาพของเสนเลอื ดในสมอง ไมวา
จะเปนการตีบ ตัน (ischemic stroke) หรือการแตก (hemorrhagic stroke) หรอื โรคภูมิคุมกัน
บกพรอ ง (AIDS) เปน ตน ใหผมู สี ทิ ธิและบคุ คลในครอบครัวถอื ปฏบิ ัตดิ งั นี้

๒๖๓

๑. กรณที ผ่ี มู สี ทิ ธแิ ละบคุ คลในครอบครวั ซง่ึ เจบ็ ปว ยดว ยโรคเรอ้ื รงั ทไ่ี ดล งทะเบยี น
ในระบบเบกิ จา ยตรงไวแ ลว กับสถานพยาบาลหลายแหง เพ่ือรักษาพยาบาลดว ยโรคเดยี วกัน ให
เลือกสถานพยาบาลเพ่อื เปน สถานพยาบาลประจําตัวไดเ พยี ง ๑ แหง ตอ ๑ โรคเรือ้ รงั
หรอื ๑ แหง ตอทกุ โรคเร้อื รงั หรอื สามารถเปลย่ี นสถานพยาบาลประจาํ ตัวไดโ ดยเลอื กสถาน
พยาบาลแหงใหมภายใตเงอ่ื นไขดังกลา ว

๒. กรณีผมู ีสิทธิและบุคคลในครอบครัว ซง่ึ เจบ็ ปว ยดว ยโรคเรอ้ื รงั ทย่ี ังไมเคย
ลงทะเบียนในระบบเบิกจายตรงกับสถานพยาบาลแหงใด ใหเลือกลงทะเบียนกับสถาน
พยาบาลเพอ่ื เปน สถานพยาบาลประจาํ ตวั สําหรบั รกั ษาโรคเรื้อรงั ไดเพียง ๑ แหง ตอ ๑
โรคเรื้อรัง หรือ ๑ แหง ตอ ทุกโรคเรอื้ รัง

๓. ใหผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บปวยดวยโรคเร้ือรังดําเนินการ
ลงทะเบียนตามขอ ๑ หรือขอ ๒ ใหแ ลว เสรจ็ ภายในวนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ซึ่งในชว ง
ระยะเวลาของการลงทะเบียนดังกลาวใหถือปฏิบตั ติ ามระบบเดมิ

๔. การรักษาพยาบาลในระบบเบิกจายตรงผูปวยนอกกับสถานพยาบาลของ
ทางราชการกรณผี ูป ว ยโรคเรือ้ รงั ใหมผี ลใชบังคบั ตัง้ แตวนั ที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เปนตนไป
โดยมใิ หผมู สี ิทธินาํ ใบเสรจ็ รับเงนิ คารกั ษาพยาบาลโรคเรอื้ รงั ยน่ื เบกิ ทีส่ วนราชการตน สงั กดั

สถานพยาบาลของทางราชการ
การเบกิ คา รักษาพยาบาลสาํ หรบั ผปู วยโรคเรื้อรงั ใหสถานพยาบาลเรยี กเก็บ
คารักษาพยาบาลในระบบเบิกจายตรง โดยมิใหสถานพยาบาลออกใบเสร็จรับเงินคารักษา
พยาบาลเพอ่ื ใหผูปวยนาํ ไปเบกิ กบั ตน สงั กดั ทง้ั น้ี ต้งั แตว ันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เปน ตน ไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจงใหผูมีสิทธิและเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของทราบ
และถอื ปฏบิ ตั ติ อไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชือ่ ) สุภา ปยะจติ ติ

(นางสาวสภุ า ปยะจติ ต)ิ
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหนา กลมุ ภารกิจดา นรายจา ยและหนี้สนิ

กรมบัญชีกลาง
สํานักมาตรฐานคา ตอบแทนและสวสั ดกิ าร
กลุม งานสวัสดกิ ารรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๒๖๔

ดว นที่สุด (สาํ เนา)
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๖
กระทรวงการคลงั
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒ ตลุ าคม ๒๕๕๕

เรือ่ ง การหามเบิกคา ยากลูโคซามนี ซัลเฟต

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

อา งถึง ๑. หนังสอื กระทรวงการคลัง ดว นท่สี ุด ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๑๒๗ ลงวันท่ี ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕๓
๒. หนังสือกระทรวงการคลงั ดวนที่สดุ ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๖๒ ลงวันท่ี ๒๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๔

ตามหนงั สอื ทีอ่ า งถึง ๑ และ ๒ คณะกรรมการบริหารระบบสวสั ดกิ ารรกั ษา
พยาบาลขาราชการไดแตงต้ังคณะทํางานวิชาการทางการแพทยศึกษาทบทวนเอกสารทาง
วิชาการเก่ยี วกับประสิทธิผลและความคุมครองของยากูลโคซามีนซัลเฟต ซึ่งจากผลการศกึ ษา
ทบทวนเอกสารงานวิจัยทางการแพทยท่ไี ดร บั การยอมรบั พบวา ยาดงั กลาวไมม คี วามคมุ คา และ
มปี ระสิทธิผลไมช ดั เจน คณะกรรมการฯ และกระทรวงการคลงั จงึ ไดกาํ หนดใหย ากลู โคซามีน
ซลั เฟตเปนรายการยาทีห่ า มเบกิ จา ยจากระบบสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขาราชการ ปรากฏวา ราช
วิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทยขอใหกระทรวงการคลังพิจารณาทบทวนกระทรวง
การคลังจงึ ใหราชวิทยาลัยแพทยอ อรโ ธปดกิ สฯ ศึกษาความคุม คา ทางเศรษฐศาสตรส าธารณสุข
ของกลมุ ยาบรรเทาอาการขอเสื่อม เพ่ือใชเ ปน ขอ มลู ในการกาํ หนดแนวทางการบริหารจดั การ
และกาํ กับการใชย าใหเ ปน ไปตามความเหมาะสม ภายในระยะเวลา ๑ เดอื น และในระหวา งที่
รอผลการศึกษา กระทรวงการคลงั ไดประกาศหลกั เกณฑผ อ นคลายใหผ มู สี ทิ ธสิ ามารถเบกิ จา ย
คา ยากูลโคซามนี ซลั เฟตตามแนวทางกาํ กับการใชย าของราชวทิ ยาลยั แพทยอ อรโ ธปดิกสฯ โดย
ใหผูปวยจา ยเงนิ ไปกอ นแลวนําใบเสร็จรับเงนิ ไปเบกิ กับสว นราชการตนสังกดั ตอ มาราชวทิ ยาลยั
แพทยออรโ ธปดกิ สฯ ไดจ ดั สง เอกสารวชิ าการเกี่ยวกบั ความคุมคาและความมีประสทิ ธภิ าพของ
กลุมยากูลโคซามีนซัลเฟตในการรักษาขอเขาเสื่อมท่ีมีการตีพิมพในวารสารตางประเทศและ
ในประเทศ และผลการศกึ ษาความคมุ คาทางเศรษฐศาสตรข องกลุมยาบรรเทาอาการขอ เสอื่ ม
ใหค ณะกรรมการบริหารระบบสวสั ดกิ ารรักษาพยาบาลขาราชการพิจารณา ซ่ึงคณะกรรมการฯ
ไดพจิ ารณาแลว มคี วามเห็น ดังนี้

๑. กลุม ยากูลโคซามีน เปนยาทคี่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชยี าหลักแหงชาติ
ไมค ดั เลอื กบรรจุเขา บญั ชยี าหลักแหง ชาติ

๒๖๕

๒. เอกสารวชิ าการทรี่ าชวิทยาลยั แพทยออรโ ธปดิกสฯ จัดสงมา ไมม ีขอ มูลใหม
ท่สี ามารถหกั ลา งเอกสารงานวจิ ยั และขอ สรปุ ของคณะทาํ งานวิชาการทางการแพทย ภายใตค ณะ
กรรมการฯ ท่ีไดมีการรวบรวมและมีขอสรุปวา กลุม ยาบรรเทาอาการขอเสือ่ มมปี ระสทิ ธิผลในการ
รักษาไมชัดเจนและไมมีความคุมคาอยางเพียงพอที่จะใหเบิกจากระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล
ขา ราชการ

๓. ราชวิทยาลัยแพทยออรโ ธปดกิ สฯ ไดศ ึกษาความคุม คา ทางเศรษฐศาสตรข อง
ยากลุม กลโู คซามนี แลว มีขอสรุปวา การรกั ษาโรคขอ เขาเส่อื มดวยวิธีอนุรักษท ม่ี ีความคมุ คา ทาง
อรรถประโยชน ไดแ ก การบริหารขอเขา แอโรบกิ การรับประทานยา NSAIDS สวนการใหย ากลู โค
ซามีนซัลเฟตนั้น พบวา มีตน ทนุ อรรถประโยชนส ูงกวาสามเทา ของรายไดป ระชากรไทยตอคนตอป
จงึ ยงั ไมมคี วามคมุ คาในบรบิ ทของประเทศไทย
คณะกรรมการฯ จงึ มีมติใหย กเลกิ การผอ นคลายการเบกิ คา ยาดังกลาว

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว เหน็ วา จากเหตุผลดังกลา วขางตน จงึ เห็นสมควร
ยกเลิกการผอนคลายการเบกิ คา ยากลู โคซามีนซัลเฟต และไมใ หแ พทยผ ูร ักษาออกหนังสอื รับรอง
การใชยานอกบญั ชียาหลกั แหงชาติกลมุ ดังกลา ว เพอ่ื ใหผ มู ีสทิ ธินําไปใชเปนหลักฐานประกอบ
การเบกิ เงินจากสวนราชการตน สงั กดั โดยใหม ีผลบงั คบั ใชสําหรับการรักษาพยาบาลทเี่ กิดขน้ึ
ตัง้ แตวนั ที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ เปนตนไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจงใหผูมีสิทธิและเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของทราบ
และถอื ปฏิบัติตอ ไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงช่ือ) สภุ า ปยะจิตติ

(นางสาวสภุ า ปย ะจิตต)ิ
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หวั หนากลุมภารกิจดา นรายจายและหน้ีสนิ

กรมบัญชีกลาง
สาํ นักมาตรฐานคาตอบแทนและสวสั ดิการ
กลมุ งานสวัสดิการรกั ษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๐๐๐ ตอ ๔๔๔๑

๒๖๖

(สาํ เนา)

ท่ี นร ๐๗๐๔ / ว ๒ สํานักงบประมาณ
ถนนพระรามท่ี ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

๓ ตุลาคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง ซอมความเขาใจเกย่ี วกับการใชงบประมาณรายจา ยรายการคาใชจ ายในการเดนิ ทาง
ไปราชการตา งประเทศชว่ั คราว

เรยี น อธิบดกี รมที่ดิน

อา งถึง ๑. หนังสือสาํ นกั งบประมาณ ดว นทสี่ ดุ ที่ นร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลงวนั ที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘
๒. หนังสือสาํ นักงบประมาณ ท่ี นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๓

ตามหนังสอื ที่อา งถึง ๑ และ ๒ สํานกั งบประมาณไดเ วยี นแจง หลักการจาํ แนก
ประเภทรายจา ยตามงบประมาณใหสว นราชการและรัฐวิสาหกิจทราบและถือปฏบิ ัติ โดยกําหนด
ใหคา ใชจายในการเดนิ ทางไปราชการตางประเทศชัว่ คราวใชจา ยจากงบรายจายอื่น เน่อื งจาก
ปจจบุ ันสวนราชการและรฐั วสิ าหกิจไดมีการเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศช่ัวคราว ทง้ั ท่ีเดินทาง
ไปฝก อบรม ประชุม สัมมนา หรือดูงานในตา งประเทศ โดยมคี า ใชจายทเี่ กิดขนึ้ บางสว นเปน
คาใชจา ยภายในประเทศและบางสวนเปน คาใชจ ายในตา งประเทศ ซึ่งอาจทาํ ใหส วนราชการและ
รัฐวิสาหกิจเกิดความไมชดั เจนในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใชงบประมาณรายจายรายการคาใชจา ย
ในการเดินทางไปราชการตา งประเทศชั่วคราว นัน้

เพ่ือใหการใชงบประมาณรายจายรายการคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
ตางประเทศช่ัวคราวของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจมีความชัดเจนและเปนไปในแนวทาง
เดียวกนั สาํ นักงบประมาณจึงเหน็ สมควรซอ มความเขาใจเก่ียวกบั การใชง บประมาณรายจาย
รายการคา ใชจ า ยในการเดนิ ทางไปราชการตางประเทศชัว่ คราว ดงั น้ี

๑. การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวเกี่ยวกับการฝกอบรมหรือสัมมนา
ท่กี าํ หนดใหม ีการศึกษาดงู านในตางประเทศ ใหป ฏิบตั ดิ ังนี้

๑.๑ กรณีท่ีคาลงทะเบียนในการฝกอบรมหรือสัมมนาภายในประเทศและ
คา ใชจ า ยในการศกึ ษาดงู านตางประเทศรวมไวด ว ยกนั ใหจ า ยจากงบรายจายอ่นื

๑.๒ กรณีท่ีแยกคาใชจายในการฝกอบรมหรือสัมมนาภายในประเทศและ
คา ใชจายในการศกึ ษาดูงานในตางประเทศออกจากกนั คาลงทะเบยี นในการฝก อบรมเฉพาะสว น
ทเ่ี ปน คาใชจายในการฝก อบรมหรือสมั มนาภายในประเทศใหจ ายจากงบดาํ เนินงาน สวนคา ใช
จายในการศกึ ษาดูงานในตา งประเทศใหจ า ยจากงบรายจา ยอนื่

๒๖๗

๒. กรณคี า ใชจ า ยในการเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศชว่ั คราวซง่ึ กาํ หนดใหจ า ย
จากงบรายจา ยอื่น ตามหลักการจําแนกประเภทรายจา ยตามงบประมาณ ใหห มายความถงึ
คา ใชจา ยทเ่ี กดิ ข้ึน เนือ่ งจากการเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศโดยตรงตามกฎหมายและระเบยี บ
ที่เก่ียวขอ ง อาทิ คาเบย้ี เลี้ยง คาเชาท่ีพกั และคา พาหนะในตา งประเทศ คา บตั รโดยสารเคร่ืองบิน
คาธรรมเนียมหนงั สอื เดินทาง คา ธรรมเนียมเขาประเทศ คาเครอื่ งแตงกาย คาของท่รี ะลกึ และ
คา ใชจายอื่นท่ีเกย่ี วเนอ่ื งกบั การเดินทางไปราชการตา งประเทศโดยตรง

๓. สําหรับคาใชจายอ่ืนที่เกิดข้ึนในประเทศซึ่งมิใชคาใชจายในการเดินทางไป
ราชการตา งประเทศชั่วคราวโดยตรง อาทิ คา เบย้ี เลยี้ ง คา เชาที่พกั และคา พาหนะระหวา งการ
เดินทางภายในประเทศใหจายจากงบดาํ เนนิ งาน ตามทีก่ ําหนดไวใ นพระราชกฤษฎีกาวาดวย
คาใชจ า ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไ ขเพม่ิ เติม และกฎหมาย ระเบยี บอ่นื
ทเ่ี ก่ยี วของ

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและถอื ปฏบิ ตั ติ อ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงช่ือ) วรวทิ ย จําปร ัตน

(นายวรวทิ ย จําปรัตน)
ผอู ํานวยการสํานกั งบประมาณ

สํานักกฎหมายและระเบียบ
โทร. ๐ ๒๒๗๓ ๙๙๙๙ ตอ ๓๗๐๖
โทรสาร ๐ ๒๒๗๓ ๙๔๓๖

๒๖๘

(สําเนา)

ท่ี กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๓๙๔ กรมบัญชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๓ ตลุ าคม ๒๕๕๕

เรือ่ ง พระราชกฤษฎีกาการจา ยเงนิ เดือน เงินป บําเหน็จ บาํ นาญ และเงินอืน่ ในลกั ษณะเดียวกัน
(ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕

เรยี น อธิบดกี รมทีด่ นิ

ดว ยพระราชกฤษฎกี าการจายเงนิ เดือน เงินป บาํ เหนจ็ บาํ นาญ และเงนิ อ่ืน
ในลกั ษณะเดยี วกัน (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั กฤษฎกี า
เลม ๑๒๙ ตอนท่ี ๙๐ ก วนั ท่ี ๑๙ กนั ยายน ๒๕๕๕ โดยมีผลใชบงั คบั ต้งั แตว ันถดั จากวันประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป ท้งั นี้ กรมบัญชกี ลางไดนาํ พระราชกฤษฎีกาดงั กลาวเผยแพรทาง
ระบบสารสนเทศกฎหมายและระเบียบการคลังของกรมบัญชีกลางแลว โดยสามารถเปดดู
และดาวนโหลดไดทีเ่ วบ็ ไซต www.cgd.go.th

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและแจง ใหผ ทู ีเ่ กยี่ วของทราบและถือปฏบิ ตั ิตอไป

ขอแสดงความนับถอื

(ลงชื่อ) สุทธริ ัตน รัตนโชติ
(นางสาวสทุ ธริ ัตน รัตนโชต)ิ

ทีป่ รกึ ษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัตริ าชการแทน อธิบดกี รมบญั ชีกลาง

สาํ นักกฎหมาย
กลมุ งานกฎหมายและระเบียบดา นเงนิ เดือน คา จา ง บําเหนจ็ บาํ นาญ
โทรศพั ท ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔

๒๖๙

(สําเนา)
พระราชกฤษฎีกา
การจา ยเงนิ เดือน เงินป บาํ เหนจ็ บาํ นาญ และเงนิ อืน่
ในลกั ษณะเดยี วกนั (ฉบับท่ี ๕)
____พ_._ศ_.๒__๕_๕_๕____
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕
เปนปท ่ี ๖๗ ในรัชกาลปจจบุ ัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพ่ิมเตมิ พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยการจายเงินเดอื น เงนิ ป
บําเหนจ็ บาํ นาญ และเงนิ อ่นื ในลกั ษณะเดยี วกัน

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย
และมาตรา ๓ แหงพระราชบญั ญตั กิ ารกําหนดหลักเกณฑเก่ียวกับการจา ยเงินบางประเภทตาม
งบประมาณรายจาย พ.ศ. ๒๕๑๘ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหต ราพระราชกฤษฎกี าข้นึ ไว
ดังตอ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎกี านเ้ี รียกวา “พระราชกฤษฎกี าการจา ยเงนิ เดอื น เงินป
บาํ เหนจ็ บํานาญ และเงนิ อนื่ ในลกั ษณะเดียวกนั (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกาน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป

มาตรา ๓ ใหเ พ่มิ ความตอ ไปน้เี ปน มาตรา ๒๘/๑ แหงพระราชกฤษฎกี าการจายเงนิ
เดอื น เงินป บําเหนจ็ บาํ นาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียว พ.ศ. ๒๕๓๕

“มาตรา ๒๘/๑ ขาราชการซ่ึงลาไปชวยเหลือภริยาที่คลอดบุตรภายในสามสิบวัน
นบั แตวนั ทภี่ ริยาคลอดบตุ ร ใหไ ดรับเงินเดือนระหวางลาไดไ มเ กินสิบหาวนั ทําการ แตถ า เปนการ
ลาเมอ่ื พน สามสบิ วนั นับแตว ันทีภ่ รยิ าคลอดบตุ ร ไมใหไดร ับเงนิ เดอื นระหวางลา เวน แตผ บู ังคับ
บัญชาตั้งแตตําแหนงอธิบดีหรือตําแหนงเทียบเทาข้ึนไปเห็นสมควรจะใหจายเงินเดือนระหวางลา
นั้นก็ได แตไ มเ กนิ สิบหา วนั ทาํ การ”

มาตรา ๔ ใหเพิ่มความตอ ไปนเ้ี ปนมาตรา ๒๙/๑ แหง พระราชกฤษฎีกาการจา ย
เงินเดอื น เงนิ ป บําเหน็จ บาํ นาญ และเงนิ อนื่ ในลักษณะเดยี วกนั พ.ศ. ๒๕๓๕

“มาตรา ๒๙/๑ ขาราชการซ่ึงลากิจสวนตัวเพ่ือเลี้ยงดูบุตรตอเน่ืองจากการลาคลอด
บตุ รไมใหไดรับเงินเดอื นระหวางลา”

๒๗๐

มาตรา ๕ ใหยกเลกิ ความในมาตรา ๓๑ แหง พระราชกฤษฎกี าการจายเงนิ เดอื น
เงินป บาํ เหน็จ บํานาญ และเงนิ อื่นในลกั ษณะเดยี วกัน พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใ ชความตอ ไปน้ีแทน

“มาตรา ๓๑ ตั้งแตเ ริม่ รับราชการ ขา ราชการผใู ดยงั ไมเคยอปุ สมบทในพระพุทธ
ศาสนาหรือเคยอปุ สมบทในพระพุทธศาสนาโดยการอุปสมบทนน้ั มมี ติคณะรฐั มนตรกี ําหนดไมใ ห
ถือเปน วนั ลาของขา ราชการ หรือยังไมเคยประกอบพธิ ฮี ัจย ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอดุ ิอาระเบยี
ใหขาราชการผนู ัน้ ลาอปุ สมบท หรอื ลาไประกอบพิธฮี ัจย แลวแตก รณี โดยไดร ับเงนิ เดือนระหวา ง
ลาไดไมเกินหน่งึ รอ ยยี่สิบวัน ท้งั นี้ ตอ งรับราชการมาแลวไมน อยกวา สิบสองเดอื น”

มาตรา ๖ ใหเ พ่ิมความตอไปนีเ้ ปน มาตรา ๓๕/๑ แหงพระราชกฤษฎีกาการจาย
เงนิ เดอื น เงินป บําเหนจ็ บาํ นาญ และเงินอื่นในลักษณะเดยี วกนั พ.ศ. ๒๕๓๕

“มาตรา ๓๕/๑ ขา ราชการซง่ึ ไดร บั อนญุ าตใหล าเพื่อไปเขารับการฝก อบรมหลักสูตร
เกย่ี วกับการฟน ฟสู มรรถภาพท่จี าํ เปน ตอ การปฏบิ ัติหนา ที่ราชการ หรือทจ่ี าํ เปน ตอการประกอบ
อาชพี แลวแตกรณี ใหไดร ับเงินเดือนระหวา งลาไดต ามระยะเวลาท่ีกาํ หนดในหลักสตู ร แตไมเ กิน
สิบสองเดอื น”

มาตรา ๗ ขา ราชการซง่ึ ลาไปชว ยเหลอื ภรยิ าทค่ี ลอดบตุ รหรอื ลาไปฟน ฟสู มรรถภาพ
ดา นอาชีพต้งั แตว นั ทรี่ ะเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยการลาของขาราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕
ใชบังคับ ใหไดร บั เงินเดือนระหวางลาได ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑท บี่ ัญญัตไิ วใ นมาตรา ๒๘/๑ หรือ
มาตรา ๓๕/๑ แหงพระราชกฤษฎกี าการจายเงินเดือน เงนิ ป บาํ เหนจ็ บํานาญ และเงนิ อื่นใน
ลกั ษณะเดยี วกนั พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่งึ แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชกฤษฎีกานแ้ี ลวแตกรณี

ขาราชการซึ่งเคยอุปสมบทในพระพุทธศาสนาตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒
พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยการอปุ สมบทนัน้ ไมถอื เปนวันลาของขา ราชการ หากปรากฏวา
ไดมกี ารอุปสมบทในเวลาตอมา ใหขาราชการผนู ัน้ ไดร ับเงนิ เดือนระหวางลาอุปสมบทได ท้งั น้ี
ตามหลักเกณฑท่บี ัญญตั ิไวใ นมาตรา ๓๑ พระราชกฤษฎกี าการจายเงินเดือน เงนิ ป บําเหนจ็
บาํ นาญ และเงินอืน่ ในลักษณะเดยี วกนั พ.ศ. ๒๕๓๕ ซง่ึ แกไ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชกฤษฎีกานี้

มาตรา ๘ ใหร ฐั มนตรวี า การกระทรวงการคลงั รกั ษาการตามพระราชกฤษฎีกาน้ี

ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ
ยิง่ ลักษณ ชนิ วัตร
นายกรฐั มนตรี

๒๗๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ โดยท่รี ะเบยี บสํานัก
นายกรฐั มนตรี วา ดวยการลาของขาราชการ พ.ศ.๒๕๕๕ ไดก าํ หนดประเภทการลาขนึ้ ใหม คอื
การลาไปชว ยเหลอื ภริยาทค่ี ลอดบตุ รและการลาไปฟน ฟสู มรรถภาพดานอาชีพ ประกอบกับยัง
ไมมีการกําหนดหลักเกณฑการจายเงินเดือนระหวางลากิจสวนตัวเพื่อเล้ียงดูบุตรตอเนื่องจาก
การลาคลอดบตุ รไวอยางชดั เจน อกี ท้งั เน่ืองจากในปจจุบนั ไดม ขี า ราชการอุปสมบทในพระพุทธ
ศาสนาตามมตคิ ณะรฐั มนตรี โดยการอปุ สมบทนัน้ ไมถ ือเปนวันลาของขา ราชการ และหาก
ขา ราชการดังกลาวมกี ารลาอปุ สมบทก็จะไมมีสิทธิไดร บั เงนิ เดือนระหวา งลาอุปสมบทได สมควร
กาํ หนดหลกั เกณฑก ารจา ยเงินเดือนของขา ราชการระหวางลาในกรณีดงั กลาว และแกไ ขเพิ่มเตมิ
หลักเกณฑก ารจา ยเงินเดอื นของขาราชการซง่ึ ลาอปุ สมบทใหเ หมาะสมยงิ่ ขึน้ จึงจําเปนตองตรา
พระราชกฤษฎกี านี้

๒๗๒

(สาํ เนา)

ท่ี กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๔๑๓ กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๕

เร่อื ง ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ยคาใชจา ยในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุม
ระหวางประเทศ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕

เรยี น อธบิ ดีกรมท่ดี ิน

ดวยกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดกําหนดระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดว ยคา ใชจา ยในการฝก อบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวางประเทศ (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ.๒๕๕๕ ซึง่ ประกาศราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั ประกาศและงานท่ัวไป เลม ๑๒๙ ตอนพเิ ศษ
๑๔๑ ง วนั ที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕ โดยมผี ลใชบังคับต้งั แตวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๕

กรมบัญชีกลางเห็นสมควรแจงเวียนใหสวนราชการไดทราบและถือปฏิบัติตอไป
โดยไดนําลงเวบ็ ไซต www.cgd.go.th ในระบบสารสนเทศกฎหมาย เรยี บรอยแลว

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เก่ียวของเพื่อทราบและ
ถอื ปฏบิ ตั ิตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงช่อื ) มนสั แจม เวหา
(นายมนสั แจมเวหา)
อธบิ ดกี รมบญั ชีกลาง

สาํ นกั กฎหมาย
กลมุ งานกฎหมายและระเบยี บดานคาใชจา ยในการบรหิ าร
โทรศพั ท ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๐
www.cgd.go.th

๒๗๓

(สาํ เนา)

ระเบยี บกระทรวงการคลัง
วา ดวยคาใชจ า ยในการฝก อบรม การจดั งาน
และการประชมุ ระหวางประเทศ (ฉบบั ท่ี ๓)

พ.ศ.๒๕๕๕
________________

โดยที่เปนการสมควรแกไ ขเพิม่ เติมระเบียบกระทรวงการคลงั วา ดว ยคา ใชจ ายในการ
ฝกอบรม การจดั งาน และการประชมุ ระหวางประเทศ ใหเหมาะสมยง่ิ ข้นึ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แหงพระราชบญั ญตั ิวธิ กี ารงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๐๒ กระทรวงการคลงั โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ กาํ หนดระเบยี บไว ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชในการฝกอบรม
การจดั งาน และการประชุมระหวางประเทศ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕”

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตน ไป

ขอ ๓ ใหเพิม่ ความตอ ไปน้เี ปน วรรคสองของขอ ๖ แหง ระเบยี บกระทรวงการคลังวา
ดว ยคาใชจ า ยในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙

“การเบิกจายเงินและหลักฐานการจายซึ่งมิไดกําหนดไวในระเบียบ ใหถือปฏิบัติ
ตามทีก่ ระทรวงการคลงั กาํ หนด”

ขอ ๔ ใหยกเลิกความในขอ ๗ แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจาย
ในการฝก อบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใชความ
ตอ ไปน้แี ทน

“ขอ ๗ ในกรณที ่ีมปี ญ หาเกย่ี วกบั การปฏิบัตติ ามระเบียบนี้ ใหป ลัดกระทรวงการคลงั
เปนผูวินิจฉยั

การเบกิ จา ยคาใชจ ายในการฝกอบรม การจดั งาน และการประชุมระหวางประเทศ
นอกเหนือจากท่ีกาํ หนดไวใ นระเบยี บนี้ หรอื กาํ หนดไวแ ลวแตไ มส ามารถปฏบิ ตั ิได ใหหัวหนา
สวนราชการขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลงั ”

ขอ ๕ ใหยกเลิกความในหมวด ๒ คาใชจายในการฝกอบรม ขอ ๘ ถงึ ขอ ๒๗
แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดว ยคาใชจา ยในการฝก อบรม การจัดงาน และการประชุม
ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใ ชความตอ ไปนแี้ ทน

๒๗๔

“หมวด ๒
คาใชจา ยในการฝกอบรม

สวนที่ ๑
คาใชจ า ยของสว นราชการทีจ่ ดั การฝกอบรม

ขอ ๘ โครงการหรอื หลกั สตู รการฝก อบรมทส่ี ว นราชการจดั หรอื จดั รว มกบั หนว ยงานอน่ื
ตอ งไดร บั อนมุ ตั จิ ากหัวหนาสว นราชการ เพื่อเบกิ จายคา ใชจ า ยตามระเบยี บน้ี

ใหส ว นราชการทจ่ี ัดการฝก อบรมเบิกจายคาใชจ า ยในการฝก อบรมได ดังตอ ไปนี้
(๑) คาใชจ ายเกย่ี วกับการใชแ ละการตกแตงสถานที่ฝกอบรม
(๒) คา ใชจายในพิธีเปด – ปด การฝก อบรม
(๓) คา วัสดุ เครอ่ื งเขียนและอปุ กรณ
(๔) คา ประกาศนียบตั ร
(๕) คา ถายเอกสาร คา พิมพเ อกสารและส่ิงพิมพ
(๖) คา หนังสือสําหรับผูเขา รับการฝก อบรม
(๗) คาใชจายในการติดตอสอื่ สาร
(๘) คาเชา อุปกรณต า งๆ ในการฝก อบรม
(๙) คาอาหารวางและเครอ่ื งด่มื
(๑๐) คากระเปา หรอื สิ่งท่ใี ชบรรจุเอกสารสําหรบั ผเู ขา รับการฝกอบรม
(๑๑) คาของสมนาคณุ ในการดูงาน
(๑๒) คา สมนาคณุ วิทยากร
(๑๓) คา อาหาร
(๑๔) คาเชาทีพ่ ัก
(๑๕) คายานพาหนะ
คาใชจ ายตาม (๑) ถึง (๙) ใหเ บิกจายไดเ ทา ทีจ่ ายจริง ตามความจําเปน เหมาะสม
และประหยัด
คาใชจ า ยตาม (๑๐) ใหเ บิกจายไดเ ทาทีจ่ า ยจรงิ ไมเกินอตั ราใบละ ๓๐๐ บาท
คาใชจ า ยตาม (๑๑) ใหเ บกิ จายไดเ ทาท่จี ายจริง แหงละไมเ กนิ ๑,๕๐๐ บาท
คาใชจ ายตาม (๑๒) ถึง (๑๕) ใหเบิกจายตามหลกั เกณฑและอตั ราตามทกี่ าํ หนดไว
ในระเบียบน้ี
ขอ ๙ การฝกอบรมบคุ คลภายนอกใหจดั ไดเ ฉพาะการฝกอบรมในประเทศเทาน้ัน
ขอ ๑๐ บคุ คลท่ีจะเบิกจายคา ใชจ า ยในการฝก อบรมตามระเบียบนี้ ไดแก
(๑) ประธานในพธิ ีเปดหรอื พธิ ปี ดการฝก อบรม แขกผมู ีเกยี รติ และผูติดตาม
(๒) เจาหนาท่ี

๒๗๕

(๓) วิทยากร
(๔) ผเู ขารับการฝก อบรม
(๕) ผสู ังเกตการณ
คาใชจายตามวรรคหน่ึงใหส ว นราชการท่ีจดั การฝกอบรมเปนผูเ บิกจา ย แตถ าจะเบิก
จายจากสวนราชการตนสังกัดใหทําไดเม่ือสวนราชการที่จัดการฝกอบรมรองขอและสวนราชการ
ตน สงั กดั ตกลงยนิ ยอม
ขอ ๑๑ การเทยี บตาํ แหนง ของบคุ คลตามขอ ๑๐ (๑) (๒) (๓) และ (๕) ที่มิไดเ ปน
บคุ ลากรของรฐั เพื่อเบกิ จายคา ใชจา ยตามระเบยี บนี้ ใหส ว นราชการทจี่ ดั การฝกอบรมเทียบ
ตําแหนง ไดดงั นี้
(๑) บุคคลที่เคยเปนบุคลากรของรัฐมาแลวใหเทียบตามระดับตําแหนงหรือชั้นยศ
คร้งั สุดทายกอนออกจากราชการหรือออกจากงาน แลว แตก รณี
(๒) บคุ คลท่กี ระทรวงการคลงั ไดเ ทียบระดับตาํ แหนงไวแลว
(๓) วทิ ยากรในการฝก อบรมขาราชการประเภท ก ใหเ ทียบเทา ขาราชการตําแหนง
ประเภทบรหิ ารระดบั สูง สาํ หรับวิทยากรในการฝกอบรมขา ราชการประเภท ข และวทิ ยากรในการ
ฝกอบรมบุคคลภายนอกใหเทียบเทาขา ราชการตาํ แหนง ประเภทอํานวยการระดับตน
(๔) นอกจาก (๑) (๒) หรอื (๓) ใหห ัวหนาสวนราชการเจา ของงบประมาณพจิ ารณา
เทยี บตาํ แหนง ตามความเหมาะสม โดยถอื หลกั เกณฑเ ทยี บตาํ แหนง ของกระทรวงการคลงั ตาม (๒)
เปนเกณฑใ นการพจิ ารณา
ขอ ๑๒ การเทยี บตําแหนง ของบุคคลตามขอ ๑๐ (๔) ท่มี ไิ ดเปนบุคลากรของรัฐเพ่อื
เบิกจายคา ใชจายตามระเบียบนี้ ใหสวนราชการที่จดั การฝกอบรมเทียบตําแหนง ได ดงั น้ี
(๑) ผเู ขารบั การฝก อบรมในการฝกอบรมขา ราชการประเภท ก ใหเ ทียบไดไ มเ กนิ
สทิ ธิของขาราชการตําแหนง ประเภทบริหารระดับสูง
(๒) ผูเ ขารบั การฝกอบรมในการฝกอบรมขา ราชการประเภท ข ใหเ ทียบไดไมเกนิ
สิทธขิ องขาราชการตาํ แหนง ประเภทอํานวยการระระดับตน
ขอ ๑๓ การเบกิ จายคา พาหนะเดินทางไป – กลับระหวา งสถานทอี่ ยู ทพี่ กั หรอื ที่
ปฏบิ ตั ิราชการไปยงั สถานทจ่ี ัดฝกอบรมของบคุ คลตามขอ ๑๐ ใหอยใู นดลุ พนิ ิจของหัวหนาสวน
ราชการทีจ่ ัดการฝกอบรมหรอื สวนราชการตนสงั กัด
ขอ ๑๔ การจายคาสมนาคณุ วิทยากรใหเปน ไปตามหลักเกณฑและอตั รา ดงั น้ี
(๑) หลักเกณฑก ารจา ยคา สมนาคณุ วทิ ยากร

(ก) ช่ัวโมงการฝกอบรมท่ีมีลักษณะเปนการบรรยาย ใหจายคาสมนาคุณ
วทิ ยากรไดไมเ กิน ๑ คน

๒๗๖

(ข) ช่ัวโมงการฝกอบรมที่มีลักษณะเปนการอภิปรายหรือสัมมนาเปนคณะ
ใหจ า ยคา สมนาคณุ วิทยากรไดไมเกิน ๕ คน โดยรวมถึงผดู ําเนนิ การอภิปรายหรอื สัมมนาท่ีทาํ
หนาท่เี ชนเดยี วกบั วิทยากรดว ย

(ค) ชั่วโมงการฝก อบรมทีม่ ลี กั ษณะเปน การแบงกลุมฝก ภาคปฏบิ ตั ิ แบงกลุม
อภิปรายหรอื สัมมนา หรอื แบง กลุมทาํ กิจกรรม ซึ่งไดกาํ หนดไวใ นโครงการหรือหลกั สตู รการฝก
อบรมและจาํ เปน ตอ งมีวทิ ยากรประจํากลมุ ใหจายคาสมนาคณุ วทิ ยากรไดไ มเกินกลุม ละ ๒ คน

(ง) ชว่ั โมงการฝก อบรมใดมวี ิทยากรเกนิ กวาจํานวนท่กี าํ หนดไวต าม (ก) (ข)
หรือ (ค) ใหเ ฉลี่ยจายคาสมนาคุณวิทยากรไมเ กินภายในจาํ นวนเงนิ ท่จี า ยไดต ามหลักเกณฑ

(จ) การนับช่ัวโมงการฝกอบรมใหนับตามเวลาท่ีกําหนดในตารางการฝกอบรม
โดยไมตองหักเวลาที่พักรับประทานอาหารวางและเคร่ืองด่ืม แตละชั่วโมงการฝกอบรมตองมี
กาํ หนดเวลาการฝก อบรมไมน อยกวา หา สบิ นาที กรณกี าํ หนดเวลาการฝก อบรมไมถึงหาสิบนาที
แตไ มนอยกวา ยี่สิบหา นาที ใหจา ยคา สมนาคุณวทิ ยากรไดก ึง่ หนง่ึ

(๒) อัตราคา สมนาคณุ วิทยากร
(ก) วิทยากรท่ีเปนบุคลากรของรัฐไมวาจะสังกัดสวนราชการที่จัดการฝกอบรม

หรือไมก ต็ าม ใหไดรับคา สมนาคุณสาํ หรับการฝกอบรมขา ราชการประเภท ก ไมเกินชวั่ โมงละ
๘๐๐ บาท สว นการฝก อบรมขาราชการประเภท ข และการฝกอบรมบุคลภายนอก ใหไ ดร ับคา
สมนาคุณไมเ กินช่วั โมงละ ๖๐๐ บาท

(ข) วทิ ยากรทีม่ ิใชบคุ คลตาม (ก) ใหไ ดรบั คาสมนาคณุ สําหรับการฝก อบรม
ขา ราชการประเภท ก ไมเกินชั่วโมงละ ๑,๖๐๐ บาท สวนการฝกอบรมขา ราชการประเภท ข และ
การฝกอบรมบุคคลภายนอก ใหไดรับคาสมนาคุณไมเ กนิ ชว่ั โมงละ ๑,๒๐๐ บาท

(ค) กรณที ีจ่ าํ เปน ตอ งใชวิทยากรที่มคี วามรู ความสามารถ และประสบการณ
เปน พิเศษเพอ่ื ประโยชนใ นการฝก อบรมตามโครงการหรือหลักสูตรท่กี ําหนด จะใหว ิทยากรไดร ับ
คา สมนาคณุ สงู กวาอัตราทก่ี ําหนดตาม (ก) หรอื (ข) กไ็ ด โดยใหอ ยูในดลุ พินิจของหวั หนา สวน
ราชการเจาของงบประมาณ

(ง) การฝกอบรมทสี่ ว นราชการจดั หรอื จัดรว มกับหนว ยงานอนื่ ถาวิทยากรได
รับคาสมนาคณุ จากหนวยงานอ่นื แลว ใหสวนราชการทีจ่ ัดการฝก อบรมงดเบิกคา สมนาคณุ จาก
สว นราชการทจ่ี ดั การฝกอบรม เวนแตจ ะทาํ ความตกลงกบั กระทรวงการคลงั เปนอยางอืน่

(๓) การจายคาสมนาคุณวิทยากรใหใชแบบใบสําคัญรับเงินสําหรับวิทยากรเอกสาร
หมายเลข ๑ ทา ยระเบยี บนี้ เปน หลกั ฐานการจา ย

ขอ ๑๕ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมที่มีการจัดอาหารใหแกบุคคลตาม
ขอ ๑๐ ใหสวนราชการท่จี ัดการฝกอบรมเบิกจายคา อาหารไดเทา ที่จายจริง แตไมเกนิ อตั ราคา
อาหารตามบญั ชีหมายเลข ๑ ทายระเบยี บน้ี

๒๗๗

ขอ ๑๖ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมที่มีการจัดท่ีพักหรือออกคาเชาที่พัก
ใหแกบคุ คลตามขอ ๑๐ ใหสวนราชการทจี่ ัดการฝก อบรมเบิกจา ยคาเชา ที่พักไดเ ทาท่ีจายจริง
แตไ มเกินอตั ราคาเชา ทพี่ ักตามบัญชหี มายเลข ๒ และบญั ชีหมายเลข ๓ ทายระเบยี บน้ี และตาม
หลกั เกณฑ ดงั น้ี

(๑) การจดั ท่ีพกั ใหแ กผ ูเขารบั การฝกอบรม สําหรับฝกอบรมขา ราชการประเภท ข
และการฝกอบรมบคุ คลภายนอก ใหพ กั รวมกนั ตัง้ แตสองคนข้นึ ไปโดยใหพักหอ งคู เวน แตเปน
กรณที ี่ไมเหมาะสมหรอื มเี หตุจาํ เปน ไมอ าจพักรวมกับผูอน่ื ได หวั หนาสว นราชการท่จี ดั การฝก
อบรมอาจจัดใหพ กั หอ งพกั คนเดยี วได

(๒) การจัดท่ีพักใหแกผูสังเกตการณหรือเจาหนาที่ตําแหนงประเภทอํานวยการ
ระดบั ตนตําแหนง ประเภทวชิ าการระดบั ปฏบิ ตั ิการ ระดบั ชํานาญการ ระดบั ชํานาญการพเิ ศษ
และตาํ แหนง ประเภททั่วไประดบั ปฏบิ ัติงาน ระดบั ชํานาญงาน ระดับอาวโุ ส ใหพ กั รวมกนั
ตัง้ แตสองคนขึน้ ไปโดยใหพ ักหองพักคู เวนแตเปนกรณีทไี่ มเหมาะสมหรือมเี หตจุ ําเปนไมอาจ
พักรวมกบั ผอู ืน่ ได หวั หนา สว นราชการที่จัดการฝก อบรมอาจจดั ใหพกั หอ งพักคนเดยี วได สว นผู
สังเกตการณหรือเจา หนา ที่ตําแหนง ประเภทบรหิ ารระดับตน ระดับสูง หรือตาํ แหนง ท่เี ทียบเทา
ตาํ แหนงประเภทอํานวยการระดับสงู ตําแหนง ประเภทวิชาการระดับเชย่ี วชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ
และตําแหนง ประเภททัว่ ไประดับทักษะพิเศษ จะจัดใหพ กั หอ งพักคนเดยี วกไ็ ด

(๓) การจัดท่พี กั ใหแกประธานในพธิ เี ปดหรือพธิ ปี ดการฝก อบรม แขกผูม เี กยี รติ
และผูติดตาม หรอื วิทยากร ใหพ ักหอ งพกั คนเดียวหรอื พักหองพกั คูกไ็ ด และเบกิ จายคา เชาที่พัก
ไดเ ทา ท่ีจายจรงิ

ขอ ๑๗ การจัดการฝกอบรมที่สวนราชการที่จัดการฝกอบรมจัดยานพาหนะใหหรือ
รบั ผิดชอบคา ยานพาหนะสําหรบั บุคคลตามขอ ๑๐ ใหส วนราชการดําเนินการตามหลกั เกณฑ
ดังน้ี

(๑) กรณใี ชย านพาหนะของสวนราชการที่จดั ฝก อบรม หรือกรณยี ืมยานพาหนะ
จากสวนราชการหรอื หนวยงานอน่ื ใหเบิกจา ยคาเช้อื เพลงิ ไดเทา ทจ่ี า ยจริง

(๒) กรณีใชยานพาหนะประจาํ ทางหรอื เชา เหมายานพาหนะ ใหจ ัดยานพาหนะ
ตามระดบั ของการฝก อบรมตามสทิ ธขิ องขา ราชการตามพระราชกฤษฎกี าคา ใชจ า ยในการเดนิ ทาง
ไปราชการโดยอนโุ ลม ดังนี้

(ก) การฝกอบรมขาราชการประเภท ก ใหจัดยานพาหนะตามสิทธิของ
ขาราชการตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง เวนแตกรณีเดินทางโดยเครื่องบินใหใชช้ันธุรกิจ
แตถา ไมส ามารถเดนิ ทางโดยชั้นธุรกิจไดใ หเ ดินทางโดยชั้นหน่งึ

(ข) การฝกอบรมขาราชการประเภท ข ใหจัดยานพาหนะตามสิทธิของ
ขาราชการตาํ แหนง ประเภททว่ั ไประดบั ชํานาญงาน

๒๗๘

(ค) การฝกอบรมบุคคลภายนอกใหจัดยานพาหนะตามสิทธิของขาราชการ
ตาํ แหนงประเภททั่วไประดบั ปฏบิ ัติงาน

ทัง้ น้ี ใหเบกิ จายคาพาหนะไดเ ทา ที่จายจริงตามความจาํ เปน เหมาะสม และ
ประหยดั

(๓) กรณีวิทยากรมีถน่ิ ทอี่ ยูในทอ งทีเ่ ดียวกบั สถานทีจ่ ัดการฝก อบรม สว นราชการที่
จดั การฝก อบรมจะเบกิ จา ยเงนิ คาพาหนะรบั จา งไป – กลบั ใหแกวิทยากรแทนการจดั รถรับสง
วทิ ยากรไดโดยใหใ ชแบบใบสาํ คัญรบั เงินสําหรับวิทยากรเอกสารหมายเลข ๑ ทายระเบยี บน้ี เปน
หลักฐานการจา ย

ขอ ๑๘ การจัดการฝกอบรมที่สว นราชการท่ีจดั การฝก อบรมไมจ ดั อาหาร ทีพ่ กั หรอื
ยานพาหนะ ทง้ั หมดหรือจัดใหบางสว น ใหสวนราชการท่ีจัดการฝกอบรมเบิกจา ยคาใชจ า ย
ท้ังหมดหรือสวนท่ีขาดใหแกบุคคลตามขอ ๑๐ แตถาบคุ คลตามขอ ๑๐ (๔) หรอื (๕) เปนบุคลากร
ของรฐั ใหเ บิกจา ยจากตนสงั กัด ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑและวิธกี ารทก่ี าํ หนดไวใ นพระราชกฤษฎีกา
คาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการ ยกเวน

(๑) คาเชา ทพี่ กั ใหเบกิ จายตามหลักเกณฑและอตั ราตามขอ ๑๖
(๒) คาเบ้ียเลย้ี งเดินทาง ใหคํานวณเวลาเพ่ือเบกิ จา ยเบยี้ เล้ยี งเดินทางโดยใหนบั
ตงั้ แตเ วลาทีเ่ ดินทางออกจากสถานที่อยูหรอื สถานท่ปี ฏบิ ตั ริ าชการตามปกติ จนกลบั ถึงสถานท่ี
อยูหรอื สถานทีป่ ฏิบตั ิราชการตามปกติ แลว แตก รณี โดยใหนับยีส่ ิบสีช่ วั่ โมงเปน หน่ึงวัน ถาไม
ถึงยี่สิบส่ีช่ัวโมงหรือเกินย่ีสิบสี่ช่ัวโมงและสวนท่ีไมถึงยี่สิบสี่ช่ัวโมงหรือเกินยี่สิบสี่ช่ัวโมงน้ันเกิน
กวาสิบสองช่ัวโมงใหถือเปนหนึ่งวันแลวนําจํานวนวันทั้งหมดมาคูณกับอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ในกรณีท่ีผูจัดการฝกอบรมจัดอาหารบางมื้อในระหวางการฝกอบรม ใหหักเบ้ียเล้ียงเดินทางท่ี
คํานวณไดใ นอตั รามื้อละ ๑ ใน ๓ ของอัตราเบย้ี เลี้ยงเดินทางตอวัน
ขอ ๑๙ การจดั การฝก อบรมบคุ คลภายนอก ถา สว นราชการท่จี ัดการฝกอบรมไมจัด
อาหาร ท่พี กั หรอื ยานพาหนะ ทัง้ หมดหรือจัดใหบางสวน ใหส วนราชการที่จัดการฝกอบรมเบิก
จายคาใชจายใหแกผูเขารับการฝกอบรมที่เปนบุคลากรของรัฐตามหลักเกณฑท่ีกําหนดไวในขอ
๑๘ และใหส วนราชการทจ่ี ัดการฝก อบรมเบิกจายคาใชจ า ยทัง้ หมดหรือสว นท่ีขาดใหแ กผ เู ขารับ
การฝกอบรมทมี่ ิไดเปน บุคลากรของรฐั ตามหลักเกณฑ ดังน้ี
(๑) คา อาหาร

(ก) การฝก อบรมทจ่ี ดั อาหารให ๒ มอ้ื ใหเ บกิ จา ยคา อาหารในลกั ษณะเหมาจา ย
ไดไ มเ กินคนละ ๘๐ บาท ตอวนั

(ข) การฝก อบรมทจ่ี ดั อาหารให ๑ มอ้ื ใหเ บกิ จา ยคา อาหารในลกั ษณะเหมาจา ย
ไดไ มเ กิน คนละ ๑๖๐ บาท ตอ วนั

(ค) การฝก อบรมท่ีไมจ ดั อาหารใหท งั้ ๓ มือ้ ใหเ บิกจายคา อาหารในลกั ษณะ
เหมาจายไดไ มเ กินคนละ ๒๔๐ บาท ตอวัน

๒๗๙

(๒) คาเชา ทพี่ กั ใหเบิกจา ยในลกั ษณะเหมาจา ยไมเ กินคนละ ๕๐๐ บาท ตอวนั
(๓) คาพาหนะเดินทาง ใหเบิกจายไดตามสิทธิของขาราชการตําแหนงประเภท
ทั่วไประดับปฏิบตั ิงาน
การเบิกจายคา ใชจา ยตามขอนี้ ใหใชแ บบใบสาํ คญั รบั เงินคา ใชจายในการฝก อบรม
บคุ คลภายนอก เอกสารหมายเลข ๒ ทา ยระเบียบน้ี เปนหลักฐานการจา ย
ขอ ๒๐ การเบกิ คาเครื่องแตง ตวั ในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศ ใหเบิก
จา ยไดเ ฉพาะผูเขา รับการฝก อบรมทเ่ี ปนบคุ ลากรของรัฐหรือเจาหนา ที่ ตามบัญชีหมายเลข ๔
ทา ยระเบียบน้ี
ขอ ๒๑ โครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมที่สวนราชการท่ีจัดการฝกอบรมไดรับ
ความชวยเหลอื คา ใชจายทั้งหมดจากหนวยงานภายในประเทศ ตางประเทศ หรอื ระหวางประเทศ
ใหงดเบกิ จายคา ใชจา ย สวนกรณที ่ีสวนราชการทจ่ี ัดการฝกอบรมไดร บั ความชวยเหลือคา ใชจาย
บางสวน ใหเ บกิ จายคาใชจา ยสมทบในสวนทไี่ มไดรับความชว ยเหลอื ตามหลกั เกณฑแ ละอตั ราที่
กําหนดไวใ นระเบียบน้ี
ขอ ๒๒ กรณีสวนราชการท่ีจัดการฝกอบรมประสงคจะจางจัดฝกอบรมในโครงการ
หรอื หลักสูตรการฝก อบรมไมว า ทง้ั หมดหรือบางสวน ใหดําเนนิ การไดต ามหลกั เกณฑแ ละอตั รา
คาใชจ า ยตามระเบียบนี้ และถา ใชเครอ่ื งบนิ โดยสารเปนยานพาหนะในการเดนิ ทางไปฝกอบรม
ในตางประเทศใหปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีและหนังสือกระทรวงการคลังท่ีกําหนดในเรื่อง
ดงั กลา วดวย
การจายเงินคาใชจายตามวรรคหน่งึ ใหใ ชใบเสร็จรับเงินของผูรบั จางเปน หลกั ฐาน
การจายแตถ า เปนการจา ยเงินโดยกรมบัญชกี ลางเพอ่ื เขา บญั ชใี หก ับผรู บั จาง หรอื ผมู สี ิทธิรบั เงนิ
โดยตรงใหใชร ายงานในระบบตามท่ีกระทรวงการคลงั กําหนดเปนหลักฐานการจาย
ขอ ๒๓ ใหม ีการประเมนิ ผลการฝกอบรม และรายงานตอหวั หนา สวนราชการที่
จัดการฝกอบรมภายใน ๖๐ วนั นับแตว นั สิ้นสดุ การฝก อบรม

สวนที่ ๒
คาใชจา ยของผเู ขา รับการฝกอบรม

ขอ ๒๔ ในการสงบคุ ลากรเขา รับการฝกอบรม ใหสว นราชการตนสังกดั พจิ ารณา
อนุมัติเฉพาะผูท่ีปฏิบัติหนาท่ีที่เก่ียวของหรือเปนประโยชนตอสวนราชการน้ันตามจํานวนที่เห็น
สมควร โดยคาํ นึงถึงความจําเปน และเหมาะสมในการปฏิบัติงาน

ขอ ๒๕ คาใชจายที่เปนคาลงทะเบยี น คา ธรรมเนยี ม หรอื คาใชจา ยทํานองเดียวกนั
ที่เรยี กชื่ออยา งอนื่ ใหผูเขารับการฝก อบรมเบิกเทาที่จา ยจริง แตไมเกนิ อัตราทส่ี วนราชการหรอื
หนวยงานที่จัดการฝกอบรมเรียกเก็บ

๒๘๐

ขอ ๒๖ กรณีคา ใชจ ายตามขอ ๒๕ ไดร วมคา อาหาร คาเชา ทีพ่ ัก หรอื คา พาหนะ
ของผูเขารับการฝกอบรมหรอื ผสู งั เกตการณไวทัง้ หมด หรือสวนราชการหรือหนวยงานทจ่ี ัดการ
ฝก อบรมไดร ับผดิ ชอบคาใชจา ยเกีย่ วกบั คาอาหาร คา เชา ที่พกั หรือคา พาหนะทั้งหมดใหแกผเู ขา
รบั การฝกอบรมหรือผูส ังเกตการณ ใหผเู ขา รับการฝก อบรมหรอื ผูสงั เกตการณงดเบิกคาใชจาย
ดังกลาว

กรณีคาใชจายตามขอ ๒๕ ไมร วมคาอาหาร คา เชา ท่ีพัก หรือคา พาหนะ หรือรวมไว
บางสวนหรือสว นราชการหรือหนว ยงานท่จี ดั การฝก อบรมไมรบั ผิดชอบคา อาหาร คาเชาท่ีพัก หรือ
คาพาหนะ ทัง้ หมดหรือรับผดิ ชอบใหบางสวน ใหผเู ขารบั การฝกอบรมหรอื ผูสงั เกตการณเบกิ คา
ใชจ ายทั้งหมดหรือเฉพาะสว นท่ีขาด หรือสว นทส่ี ว นราชการหรือหนว ยงานท่จี ัดการฝก อบรมมิได
รบั ผิดชอบนนั้ ไดต ามหลักเกณฑทีก่ ําหนดไวใ นขอ ๑๘

ขอ ๒๗ กรณีท่ีบุคลากรของรัฐไดรับอนุมัติใหเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศ
โดยไดร บั ความชว ยเหลือคา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปฝก อบรมทง้ั หมด ใหงดเบิกคา ใชจาย แตถ า
ไดรบั ความชวยเหลือคา ใชจา ยในการเดินทางไปฝกอบรมบางสวน ใหเบกิ คาใชจ า ยสมทบในสวน
ทไี่ มไดรบั ความชว ยเหลอื ไดต ามพระราชกฤษฎกี าใชจ ายในการเดินทางไปราชการ แตต อ งไมเ กิน
วงเงนิ ที่ไดรบั ความชวยเหลอื ภายใตเ ง่ือนไข ดงั นี้

(๑) กรณีไดร บั ความชว ยเหลอื คาโดยสารเครื่องบินไป – กลับ แลว แมจ ะต่าํ กวาสทิ ธิ
ไดรับก็ใหงดเบกิ คา โดยสารเครือ่ งบิน แตถ าไดรับความชว ยเหลอื คา โดยสารเครื่องบนิ เพยี งเทีย่ ว
เดยี ว ใหเ บิกคา โดยสารเครอ่ื งบินอีกหน่ึงเทีย่ วในชัน้ เดียวกับที่ไดร บั ความชวยเหลือ แตต องไมสูง
กวา สิทธทิ พ่ี งึ ไดรบั

(๒) กรณีมีการจดั ที่พกั ให ใหงดเบิกคา เชา ที่พกั แตถา ไดร บั ความชวยเหลอื คาเชา
ท่ีพักต่ํากวา สิทธิท่พี งึ ไดรบั ใหเ บิกคา เชา ทีพ่ ักสมทบเฉพาะสว นทข่ี าดตามทีจ่ ายจริง แตเมื่อรวม
กบั คาเชา ทพ่ี ักทีไ่ ดร ับความชว ยเหลือแลว จะตองไมเ กินสิทธิทพี่ ึงไดร ับ

(๓) กรณีไดรบั ความชวยเหลอื คา เบย้ี เลีย้ งเดนิ ทางต่าํ กวาสิทธิทีพ่ ึงไดร บั ใหเบิกคา
เบีย้ เลยี้ งเดินทางสมทบเฉพาะสว นท่ขี าด แตถ ามีการจดั อาหารในระหวา งการฝก อบรม การเบิก
คาเบี้ยเลี้ยงเดนิ ทางใหเ ปนไปตามหลักเกณฑท กี่ ําหนดไวในขอ ๑๘

การเบกิ คา ใชจ า ยตามวรรคหนง่ึ ใหจ ดั ทาํ รายละเอยี ดคา ใชจ า ยตามแบบรายละเอยี ด
คาใชจ ายกรณไี ดร บั ความชวยเหลือ ตามเอกสารหมายเลข ๓ ทา ยระเบียบนี้ พรอ มแนบสําเนา
หนังสือของสวนราชการหรือหนวยงานท่ีใหความชวยเหลือเพื่อเปนหลักฐานประกอบการเบิกจาย
แตถ า หนวยงานทใี่ หค วามชวยเหลอื ไมไดระบวุ งเงนิ ใหความชว ยเหลือไว ใหคาํ นวณเงินคาใชจ า ย
ท่ีไดร ับความชว ยเหลอื ตามอตั ราคาใชจ า ยตามระเบยี บนี้

ขอ ๒๘ ใหผูเขารับการฝกอบรมหรือผูสังเกตการณท่ีเขารับการฝกอบรมที่สวน
ราชการหรือหนวยงานอืน่ จัดการฝก อบรม จัดทํารายงานผลการเขา รบั การฝก อบรมเสนอหวั หนา
สว นราชการตน สงั กัดภายใน ๖๐ วันนับแตว นั เดนิ ทางกลบั ถึงสถานทปี่ ฏบิ ตั ริ าชการ”

๒๘๑

ขอ ๖ ใหยกเลกิ ความในหมวด ๓ คาใชจา ยในการจดั งาน ขอ ๒๘ ถึงขอ ๒๙
แหงระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยคา ใชจ ายในการฝก อบรม การจดั งาน และการประชมุ
ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใชความตอไปน้แี ทน

“หมวด ๓
คา ใชจ ายในการจดั งาน
ขอ ๒๙ การจัดงานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติหรือตามนโยบายของ
ทางราชการใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาอนุมัติการเบิกจายคาใชจายในการจัดงานไดเทาที่
จา ยจรงิ ตามความจาํ เปน เหมาะสม และประหยัด
กรณสี ว นราชการทีจ่ ัดงานจัดอาหาร ที่พัก หรอื ยานพาหนะ ใหแกป ระธานในพิธี
แขกผูมเี กยี รตผิ ตู ดิ ตาม เจา หนา ทห่ี รอื ผูเขา รวมงาน ใหน ําความในขอ ๑๕ ขอ ๑๖ และขอ ๑๗ มา
ใชบงั คับแตถ าสว นราชการท่จี ดั งานไมจ ดั อาหาร ท่ีพกั หรอื ยานพาหนะ ใหนาํ ความในขอ ๑๘ มา
ใชบังคับและถาสว นราชการประสงคจ ะจางดาํ เนนิ การดงั กลาว ใหน ําความในขอ ๒๒ วรรคสอง
มาใชบงั คบั ดว ย”
ขอ ๗ ใหยกเลิกความในขอ ๓๙ แหง ระเบยี บกระทรวงการคลังวา ดว ยคา ใชจา ย
ในการฝก อบรมการจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และใหใ ชค วามตอไปน้ี
แทน
“ขอ ๓๙ กรณีสวนราชการที่จัดการประชุมระหวางประเทศประสงคจะจางจัด
ประชมุ ระหวา งประเทศไมวา ทงั้ หมดหรอื บางสวน ใหดาํ เนินการไดภายใตหลกั เกณฑแ ละอัตรา
ตามขอ ๓๑ ถึงขอ ๓๖ โดยใหน าํ ความในขอ ๒๒ วรรคสอง มาใชบงั คบั ดวย”
ขอ ๘ คาใชจายในการฝกอบรมหรือคาใชจายในการจัดงานใดที่ไดดําเนินการ
ตามระเบยี บทใี่ ชบ งั คบั อยูในวันกอ นวันท่รี ะเบยี บน้ใี ชบังคบั หรอื ที่ไดรบั อนุมตั ิจากกระทรวงการ
คลงั ในวันกอ นวนั ทร่ี ะเบียบนใี้ ชบ งั คบั ใหดาํ เนนิ การตามระเบยี บหรือหลกั เกณฑห รอื ตามทไี่ ดร บั
อนุมัตจิ ากกระทรวงการคลังตอ ไปจนแลวเสรจ็

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
กิตติรตั น ณ ระนอง

รฐั มนตรวี าการกระทรวงการคลัง

๒๘๒

บญั ชีหมายเลข ๑

อตั ราคา อาหารในการฝกอบรม
(บาท : วนั : คน)

การฝก อบรมในสถานทข่ี องสว นราชการ รฐั วสิ าหกิจ การฝกอบรมในสถานทข่ี องเอกชน
หรอื หนว ยงานอืน่ ของรัฐ
ระดบั การฝก อบรม
ในประเทศ ในตา งประเทศ ในประเทศ
จัดครบทกุ มอื้ จดั ไมครบทุกม้ือ ในตา งประเทศ
จัดครบทุกมอ้ื จดั ไมค รบทกุ มอื้

๑. การฝก อบรมขาราชการ ไมเ กนิ ๗๐๐ ไมเ กิน ๕๐๐ ไมเกิน ๒,๕๐๐ ไมเกนิ ๑,๐๐๐ ไมเกนิ ๗๐๐ ไมเ กนิ ๒,๕๐๐
ประเภท ก
๒๘๓

๒. การฝก อบรมขา ราชการ ไมเกนิ ๕๐๐ ไมเกนิ ๓๐๐ ไมเกิน ๒,๕๐๐ ไมเ กนิ ๘๐๐ ไมเกนิ ๖๐๐ ไมเ กนิ ๒,๕๐๐
ประเภท ข และการฝก อบรม
บคุ คลภายนอก

บัญชหี มายเลข ๒

อตั ราคาเชาทพ่ี ักในการฝก อบรมในประเทศ
(บาท : วนั : คน)

ระดับการฝก อบรม คาเชาหองพักคนเดยี ว คาเชาหอ งพกั คู
ไมเกนิ ๒,๐๐๐ บาท ไมเกนิ ๑,๑๐๐ บาท
๑. การฝก อบรมขาราชการ
ประเภท ก

๒. การฝก อบรมขา ราชการ ไมเกิน ๑,๒๐๐ บาท ไมเ กนิ ๗๕๐ บาท
ประเภท ข และการฝกอบรม
บคุ คลภายนอก

หมายเหตุ : คา เชาหอ งพกั คนเดียว หมายความวา คาใชจ า ยในการเชาหอ งพกั หนงึ่ หองที่
สถานท่พี กั แรมเรียกเก็บกรณีทผ่ี เู ชาเขาพักคนเดยี ว

คาเชาหองพกั คู หมายความวา คา ใชจา ยในการเชา หองพักทีส่ ถานทพ่ี กั แรม
เรยี กเกบ็ กรณีที่ผเู ชา เขา พักรวมกันตงั้ แตสองคนขึ้นไป

๒๘๔

บัญชหี มายเลข ๓

อตั ราคาเชา ท่พี กั ในการฝกอบรมในตางประเทศ
(บาท : วัน : คน)

ระดบั การฝกอบรม ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค.

๑. การฝก อบรมขา ราชการ คาเชา หองพกั คา เชา หอ งพักคู คา เชา หองพกั คา เชา หอ งพกั คู คาเชา หองพกั คา เชาหองพักคู
ประเภท ก คนเดยี ว คนเดยี ว คนเดียว

ไมเ กนิ ๘,๐๐๐ ไมเกิน ๕,๖๐๐ ไมเ กิน ๕,๖๐๐ ไมเ กนิ ๓,๙๐๐ ไมเกิน ๓,๖๐๐ ไมเกนิ ๒,๕๐๐

๒๘๕

๒. การฝก อบรมขาราชการ ไมเกิน ๖,๐๐๐ ไมเ กิน ๔,๒๐๐ ไมเกนิ ๔,๐๐๐ ไมเกิน ๒,๘๐๐ ไมเ กิน ๒,๔๐๐ ไมเ กนิ ๑,๗๐๐
ประเภท ข และการฝก อบรม
บุคคลภายนอก

หมายเหตุ : (๑) คา เชาหองพักคนเดยี ว หมายความวา คา ใชจา ยในการเชา หอ งพกั หน่งึ หองทีส่ ถานท่ีพักแรมเรยี กเก็บกรณีที่ผูเชาเขา พักคนเดยี ว
(๒) คา เชา หอ งพกั คู หมายความวา คา ใชจ ายในการเชาหองพกั ทสี่ ถานทพ่ี กั แรมเรยี กเก็บกรณที ่ีผเู ชาเขาพกั รวมกนั ตงั้ แตสองคนข้ึนไป
(๓) ประเภท ก ประเภท ข และ ประเภท ค หมายถึง ประเทศ รฐั เมอื ง ตามบัญชแี นบทา ยบัญชนี ี้

บญั ชปี ระเทศจาํ แนกตามประเภท ก. ประเภท ข. และประเภท ค. แนบทา ยบญั ชหี มายเลข ๓
ประเภท ก ไดแ ก ประเทศ รัฐ เมือง ดงั นี้

๑. ญปี่ นุ
๒. สาธารณรฐั ฝร่ังเศส
๓. สหพันธรัฐรัสเซีย
๔. สมาพันธรัฐสวิส
๕. สาธารณรัฐอิตาลี
๖. ราชอาณาจกั รเบลเย่ยี ม
๗. ราชอาณาจกั รสเปน
๘. สหพันธส าธารณรฐั เยอรมนี
๙. สหรฐั อเมริกา
๑๐. สหราชอาณาจักรบรเิ ตนใหญแ ละไอรแ ลนดเ หนอื
๑๑. สาธารณรฐั โปรตุเกส
๑๒. สาธารณรฐั สงิ คโปร
๑๓. แคนาดา
๑๔. เครอื รฐั ออสเตรเลยี
๑๕. ไตหวัน
๑๖. เตริ ก เมนสิ ถาน
๑๗. นิวซีแลนด
๑๘. บอสเนียและเฮอรเ ซโกวนี า
๑๙. ปาปว นิวกีนี
๒๐. มาเลเซยี
๒๑. ราชรัฐโมนาโก
๒๒. ราชรัฐลกั เซมเบิรก
๒๓. ราชรฐั อนั ดอรรา
๒๔. ราชอาณาจกั รกมั พชู า
๒๕. ราชอาณาจักรเดนมารก
๒๖. ราชอาณาจกั รนอรเวย
๒๗. ราชอาณาจกั รเนเธอรแ ลนด
๒๘. ราชอาณาจักรโมร็อกโก
๒๙. ราชอาณาจกั รสวาซิแลนด
๓๐. ราชอาณาจกั รสวเี ดน
๓๑. รฐั สลุ ตา นโอมาน

๒๘๖

๓๒. โรมาเนยี
๓๓. สหพนั ธส าธารณรฐั บราซลิ
๓๔. สหพนั ธสาธารณรัฐยูโกสลาเวยี
๓๕. สหรัฐอาหรับอิมิเรตส
๓๖. สาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ต)
๓๗. สาธารณรัฐโครเอเชยี
๓๘. สาธารณรฐั ชิลี
๓๙. สาธารณรฐั เช็ก
๔๐. สาธารณรัฐตุรกี
๔๑. สาธารณรฐั บัลแกเรีย
๔๒. สาธารณรฐั ประชาชนจนี
๔๓. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจเี รยี
๔๔. สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยตมิ อร – เลสเต
๔๕. สาธารณรฐั เปรู
๔๖. สาธารณรัฐโปแลนด
๔๗. สาธารณรฐั ฟนแลนด
๔๘. สาธารณรฐั ฟลปิ ปน ส
๔๙. สาธารณรัฐมอริเซยี ส
๕๐. สาธารณรัฐมอลตา
๕๑. สาธารณรัฐโมซัมบิก
๕๒. สาธารณรฐั เยเมน
๕๓. สาธารณรฐั ลิทัวเนยี
๕๔. สาธารณรัฐสโลวกั
๕๕. สาธารณรฐั สโลวีเนยี
๕๖. สาธารณรัฐออสเตรยี
๕๗. สาธารณรฐั อาเซอรไบจาน
๕๘. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
๕๙. สาธารณรัฐอินเดยี
๖๐. สาธารณรัฐเอสโตเนีย
๖๑. สาธารณรฐั แอฟริกาใต
๖๒. สาธารณรัฐไอซแลนด
๖๓. สาธารณรัฐไอรแ ลนด
๖๔. สาธารณรฐั ฮงั การี
๖๕. สาธารณรฐั เฮลเลนกิ (กรซี )
๖๖. ฮองกง

๒๘๗

ประเภท ข ไดแ ก ประเทศ รฐั เมือง ดังนี้

๑. เครอื รัฐบาฮามาส
๒. จอรเจยี
๓. จาเมกา
๔. เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม
๕. มาซิโดเนยี
๖. ยูเครน
๗. รฐั กาตาร
๘. รัฐคเู วต
๙. รฐั บาหเ รน
๑๐. รัฐอสิ ราเอล
๑๑. ราชอาณาจักรซาอดุ ิอาระเบยี
๑๒. ราชอาณาจักรตองกา
๑๓. สาธารณรฐั เนปาล
๑๔. ราชอาณาจกั รฮัซไมตจ อรแดน
๑๕. สหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี
๑๖. สหภาพพมา
๑๗. สหรัฐเม็กซโิ ก
๑๘. สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย
๑๙. สาธารณรัฐกานา
๒๐. สาธารณรัฐแกมเบีย
๒๑. สาธารณรัฐโกตดิววั ร (ไอเวอรโ่ี คส)
๒๒. สาธารณรัฐคอสตารกิ า
๒๓. สาธารณรัฐคีรก ิซ
๒๔. สาธารณรฐั เคนยา
๒๕. สาธารณรฐั แคเมอรูน
๒๖. สาธารณรัฐคาซัคสถาน
๒๗. สาธารณรัฐจบิ ูตี
๒๘. สาธารณรัฐชาด
๒๙. สาธารณรฐั ซมิ บับเว
๓๐. สาธารณรัฐเซเนกลั

๒๘๘

๓๑. สาธารณรฐั แซมเบีย
๓๒. สาธารณรฐั เซียรราลโี อน
๓๓. สาธารณรฐั ไซปรัส
๓๔. สาธารณรัฐตรินแิ ดดและโตเบโก
๓๕. สาธารณรฐั ตนู เิ ซยี
๓๖. สาธารณรัฐทาจกิ สิ ถาน
๓๗. สาธารณรฐั ไนเจอร
๓๘. สาธารณรฐั บุรุนดี
๓๙. สาธารณรฐั เบนนิ
๔๐. สาธารณรฐั เบลารสุ
๔๑. สาธารณรฐั ประชาชนบังกลาเทศ
๔๒. สาธารณรัฐปานามา
๔๓. สาธารณรัฐมอลโดวา
๔๔. สาธารณรัฐมาลี
๔๕. สาธารณรฐั ยกู นั ดา
๔๖. สาธารณรัฐลัตเวยี
๔๗. สาธารณรัฐสงั คมนยิ มประชาธิปไตยศรีลงั กา
๔๘. สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม
๔๙. สาธารณรัฐอารเจนตินา
๕๐. สาธารณรัฐอารเมเนีย
๕๑. สาธารณรฐั อาหรบั ซเี รีย
๕๒. สาธารณรฐั อาหรับอียปิ ต
๕๓. สาธารณรัฐอิรัก
๕๔. สาธารณรัฐอิสลามปากสี ถาน
๕๕. สาธารณรัฐอสิ ลามมอรเิ ตเนีย
๕๖. สาธารณรฐั อสิ ลามอหิ รา น
๕๗. สาธารณรฐั อซุ เบกสิ ถาน
๕๘. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

ประเภท ค ไดแก ประเทศ รัฐ เมืองอื่นๆ นอกจากที่กาํ หนดในประเภท ก.
และประเภท ข.

๒๘๙

บญั ชหี มายเลข ๔

คาเครอ่ื งแตง ตวั ในการเดินทางไปฝก อบรม
ในตา งประเทศ

____________________

๑. รายช่ือประเทศที่ไมสามารถเบิกคาเคร่ืองแตงตัวในการเดินทางไปฝกอบรมใน
ตา งประเทศ

(๑) สหภาพพมา
(๒) เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม
(๓) สาธารณรฐั อินโดนีเซีย
(๔) ราชอาณาจกั รกมั พชู า
(๕) สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
(๖) มาเลเซีย
(๗) สาธารณรัฐฟล ิปปน ส
(๘) สาธารณรัฐสงิ คโปร
(๙) สาธารณรฐั สังคมนยิ มประชาธิปไตยศรีสงั กา
(๑๐) สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม
(๑๑) สาธารณรัฐหมเู กาะฟจิ
(๑๒) ปาปว นวิ กินี
(๑๓) รัฐเอกราชซามวั
(๑๔) สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร – เลสเต
๒. คา เครือ่ งแตง ตวั ใหเบกิ ในลกั ษณะเหมาจายไมเกินอัตรา ดงั น้ี
๒.๑ คนละ ๗,๕๐๐ บาท ไดแก

(๑) ขาราชการตาํ แหนง ประเภทท่ัวไป ระดบั ปฏบิ ตั ิงาน
(๒) ขาราชการตาํ แหนง ประเภทวิชาการ ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร
๒.๒ คนละ ๙,๐๐๐ บาท ไดแก
(๑) ขาราชการตําแหนง ประเภททว่ั ไป ระดบั ชาํ นาญงาน ระดบั อาวุโส
ระดับทกั ษะพิเศษ
(๒) ขา ราชการตาํ แหนง ประเภทวิชาการ ระดบั ชาํ นาญการ ระดับชํานาญ
การพเิ ศษ ระดับเชยี วชาญ ระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ
(๓) ขา ราชการตําแหนงประเภทอาํ นวยการ ระดับตน ระดับสูง
(๔) ขาราชการตาํ แหนง ประเภทบรหิ าร ระดบั ตน ระดบั สูง

๒๙๐

๓. ผูที่เคยไดรับคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศมาแลว
หรือเคยไดร ับคาเคร่อื งแตงตัวจากสว นราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหนว ยงานอืน่ ของรัฐตามกฎหมาย
หรอื ระเบียบอืน่ ใดไมวา จะเบิกจายจากเงินงบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ หรอื เคยไดร ับ
ความชว ยเหลือจากหนว ยงานใดๆ ทงั้ ในประเทศและตา งประเทศ ถา ตองเดนิ ทางไปฝกอบรม
ในตางประเทศ ใหมีสทิ ธเิ บิกคาเครอ่ื งแตงตวั ไดอีกเม่ือการเดนิ ทางคร้งั ใหมมีระยะหา งจากการ
เดินทางไปตางประเทศครงั้ สดุ ทา ยทไ่ี ดร บั คาเครอื่ งแตง ตัวเกิน ๒ ป นับแตว นั ทเ่ี ดนิ ทางออกจาก
ประเทศไทย หรอื มีระยะเวลาเกินกวา ๒ ป นบั แตวนั ท่ีเดินทางกลับถึงประเทศไทยสาํ หรับผทู ี่
รบั ราชการประจําในตา งประเทศ”

๒๙๑

เอกสารหมายเลข ๑

ใบสาํ คัญรบั เงิน
สาํ หรับวทิ ยากร

ชือ่ สว นราชการผูจดั ฝกอบรม............................................................................................
โครงการ/หลักสูตร...........................................................................................................

วันท.่ี .......เดือน...................พ.ศ. ...........
ขา พเจา................................................................................อยูบา นเลขที่.......................
ตาํ บล/แขวง...................................อาํ เภอ/เขต....................................จงั หวดั ................................
ไดร ับเงินจาก......................................................................................ดังรายการตอ ไปนี้

รายการ จํานวนเงิน

บาท

จาํ นวนเงิน ( )

(ลงชือ่ )..............................................................ผูร ับเงิน

(ลงชือ่ ) ............................................................. ผจู ายเงิน

๒๙๒

เอกสารหมายเลข ๒

แบบใบสําคญั รับเงนิ คา ใชจา ยในการฝก อบรมบคุ คลภายนอก

ชอ่ื สว นราชการผจู ดั ฝกอบรม..................................................................................โครงการ/หลักสูตร.........................................................................
วันท.่ี ........เดอื น..................พ.ศ. ...........ถึงวนั ท.่ี ........เดอื น..................พ.ศ. ...........จํานวนผูเ ขา รับการฝก อบรม/ผสู ังเกตการณ รวมท้งั ส้ิน...............คน
ผเู ขา รบั การฝกอบรม/ผสู ังเกตการณ ไดร บั เงนิ จากกรม........................................................................กระทรวง...........................................................
ปรากฏรายละเอยี ดดงั น้ี

ลําดบั ท่ี ช่อื – สกลุ ทอ่ี ยู คา อาหาร คา เชา ที่พกั คา พาหนะ รวมเปน เงิน วัน เดือน ป ลายมือช่อื
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ทรี่ ับเงิน ผูรบั เงิน

๒๙๓

รวมเปน เงินทั้งส้นิ

ลงช่ือ ............................................................. ผรู ับเงิน
( ............................................................. )

ตาํ แหนง ..............................................................

เอกสารหมายเลข ๓
แบบรายละเอียดคา ใชจา ยกรณที ีไ่ ดร บั ความชวยเหลอื

โครงการ/หลักสตู ร...................................................ณ ประเทศ...............................................
ต้ังแตวันที่.............................................ถงึ วนั ท่.ี .........................................

ชื่อ.........................................................................................................................................
ตําแหนง ......................................ระดับ......................................กอง.....................................
หนวยงานท่ใี หความชว ยเหลอื .................................................................................................

คา ใชจายท่ีไดรบั ความชว ยเหลอื
๑. คา โดยสารเครอ่ื งบิน เสน ทาง........................................ ในวงเงนิ ...................บาท
๒. คา เชา ที่พัก อตั ราวนั ละ............บาท จาํ นวน.............วนั ในวงเงนิ ...................บาท
๓. คาเบยี้ เลยี้ ง อตั ราวนั ละ...........บาท จํานวน.............วนั ในวงเงนิ ...................บาท
๔. .................................................................................. ในวงเงิน...................บาท
๕. .................................................................................. ในวงเงนิ ...................บาท
๖. .................................................................................. ในวงเงนิ ...................บาท

รวมเปนเงิน ............................... บาท

คา ใชจ ายที่ขอเบกิ สมทบ

๑. คาโดยสารเคร่ืองบนิ เสนทาง........................................ ในวงเงิน...................บาท

๒. คา เชาทพี่ กั อัตราวนั ละ............บาท จาํ นวน.............วนั ในวงเงิน...................บาท

๓. คา เบ้ยี เลย้ี ง อตั ราวนั ละ...........บาท จาํ นวน.............วัน ในวงเงิน...................บาท

๔. คาเครอื่ งแตงตัว ในวงเงิน...................บาท

๕. คาพาหนะรบั จางระหวางบานพกั ถงึ สนามบินในประเทศ ในวงเงิน...................บาท

๖. คา ธรรมเนยี มสนามบนิ ในประเทศ ในวงเงนิ ...................บาท

๗. คา ธรรมเนียมสนามบนิ ในตางประเทศ ในวงเงนิ ...................บาท

๘. คา ธรรมเนยี มวซี า ในวงเงิน...................บาท

รวมเปนเงนิ ............................... บาท

ขอรบั รองวา ขอความขา งตน เปน จริง

ลงชือ่ ................................................ผูเดินทาง

( ................................................)

............./................../..............

๒๙๔

(สําเนา)

สว นราชการ กองคลัง ฝา ยบัญชี โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๖๙

ท่ี มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๕๕๕๘ วันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕

เร่ือง การแจง ขอ มูลประกอบการขอเบกิ เงิน

เรียน หัวหนากลมุ งานคมุ ครองจรยิ ธรรมกรมท่ดี ิน ผตู รวจราชการกรม ผูอ าํ นวยการสํานัก
เจาพนกั งานท่ดี นิ กรงุ เทพมหานคร เลขานกุ ารกรม ผูอาํ นวยการกอง ผูอาํ นวยการสาํ นกั งาน
ผอู าํ นวยการกลุม และผอู าํ นวยการศูนย

กองคลงั ขอสงเอกสารประกอบการแจงขอเบิกเงิน ดงั น้ี
๑. แบบแจง ขอ มลู ประกอบการขอเบิกเงิน
๒. ช่อื ยอ สาํ นกั /กอง และรหัสศนู ยตนทุน
๓. ตารางความสัมพันธของรหัสงบประมาณ รหสั กิจกรรมหลัก รหัสกจิ กรรมยอ ย
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖
โดยการขอเบิกเงนิ ใหหนว ยงานแจง ขอมูลเงนิ ทข่ี อเบกิ ตามฟอรม ขอ ๑. สง กอง
พัสดแุ ละกองคลัง เพือ่ การบันทกึ ขอ มลู การเบิกเงินในระบบ GFMIS ใหถ กู ตอ ง ครบถวน ทง้ั น้ี รหสั
กิจกรรมยอย เปนรหสั ท่ใี ชบ นั ทึกขอมูลในระบบ GFMIS ไดต อ เนื่องไปทกุ ปงบประมาณ

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบและดําเนินการตอ ไป

(ลงชื่อ) สธุ รี  ญาณชโลทร
(นางสาวสุธีร ญาณชโลทร)

นกั วิชาการเงนิ และบัญชชี ํานาญการพิเศษ รกั ษาราชการแทน
ผูอาํ นวยการกองคลัง

๒๙๕

แบบแจง ขอ มูลประกอบการขอเบกิ เงนิ

การขอเบิกเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ และเงินงบกลาง ใหแจง
ขอมูลประกอบการขอเบิกเงิน ดังนี้

ชื่อยอ สํานัก/กอง..........................................
รหัสศูนยตนทุน.............................................
รหัสผลผลิตหลัก............................................
รหัสกิจกรรมหลัก...........................................
รหัสกิจกรรมยอย...........................................

หมายเหตุ
๑. การขอเบิกเงินงบประมาณ ใหระบุรหัสผลผลิตหลักและรหัสกิจกรรมหลักตามที่

สํานักงบประมาณกําหนดแตละปงบประมาณ
๒. การขอเบิกเงินนอกงบประมาณและเงินงบกลาง ชองรหัสผลผลิตหลักและรหัส

กิจกรรมหลักใหวางไว
๓. การขอเบิกเงินงบประมาณกรณีกรมที่ดินเบิกแทนหนวยงานอื่น เชน กรมชลประทาน

กรมทางหลวง ชองรหัสผลผลิตหลัก รหัสกิจกรรมหลัก และรหัสกิจกรรมยอย ใหวางไว

๒๙๖


Click to View FlipBook Version