The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 1) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ที่ นร ๑๐๐๘.๑ / ว ๑๒ (สาํ เนา)

สาํ นกั งาน ก.พ.
ถนนติวานนท จงั หวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐

๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕

เร่อื ง การปรับปรุงหลกั เกณฑแ ละเงือ่ นไขการเล่ือนเงนิ เดอื น

เรียน อธิบดีกรมทด่ี นิ

อางถึง ๑. หนังสอื สํานกั งาน ก.พ. ดว นทส่ี ุด ท่ี นร ๑๐๐๘.๑ / ว ๒๘ ลงวนั ท่ี ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๒
๒. หนงั สือสํานกั งาน ก.พ. ท่ี นร ๑๐๑๒ / ว ๒๐ ลงวนั ที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๒

ดวยคณะรฐั มนตรีในการประชมุ เม่ือวันท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ มมี ติเห็นชอบ
ในหลกั การใหป รบั ปรงุ หลกั เกณฑแ ละเงอ่ื นไขการเลอ่ื นเงนิ เดอื นตามหนงั สอื ทอ่ี า งถงึ สาํ นกั งาน ก.พ.
จึงขอชี้แจงแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนตั้งแตรอบการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ
ระหวางวันท่ี ๑ เมษายน ถงึ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๕ เปน ตน ไป ในกรณดี งั ตอ ไปน้ี

๑. กรณีขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไดรับมอบหมายใหไปชวยราชการหรือ
ปฏบิ ตั ริ าชการในหนว ยงานอน่ื เกนิ กวา กง่ึ หนง่ึ ของรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ ใหห วั หนา
สวนราชการหรือหนวยงานท่ีขาราชการผูน้ันไปชวยราชการหรือปฏิบัติราชการมีหนาท่ีประเมิน
ผลการปฏบิ ตั ิราชการของขาราชการดังกลา ว และนําอัตราเงนิ เดอื นของผูนน้ั ไปคํานวณรวมเปน
วงเงินการเล่ือนเงินเดือนและบริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนในสวนราชการหรือหนวยงานที่ผูน้ัน
ไปชว ยราชการหรือปฏิบัตริ าชการ แลว สง ผลการพจิ ารณาการเล่อื นเงนิ เดือนดังกลา วใหผ ูบงั คบั
บัญชาผูมีอาํ นาจส่ังเลื่อนเงนิ เดอื นเปน ผอู อกคาํ ส่งั เล่ือนเงนิ เดอื น

๒. กรณขี า ราชการพลเรือนสามญั ผใู ดโอนหรอื ยายหลังวนั ที่ ๑ มนี าคม หรอื
วันที่ ๑ กันยายน ใหผ บู งั คบั บญั ชาซ่งึ เปน ผูประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการในสวนราชการเดมิ กอน
การโอนหรือยาย เปนผูประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการของขา ราชการผูน น้ั และนําอตั ราเงนิ เดอื น
ของขาราชการดังกลาวไปคํานวณรวมเปนวงเงินการเล่ือนเงินเดือนและบริหารวงเงินการเล่ือน
เงินเดือนในสวนราชการเดิมแลวสงผลการพิจารณาการเลื่อนเงินเดือนดังกลาวใหผูบังคับบัญชา
ผูมีอํานาจสง่ั เลอ่ื นเงินเดือนเปนผูออกคําสั่งเล่อื นเงนิ เดอื น

๓. กรณีที่มกี ารกนั วงเงินไวเ พือ่ การบรหิ าร ใหผ ูบริหารวงเงนิ กําหนดวงเงินการ
เล่ือนเงินเดือน และกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขการบริหารวงเงินท่ีกันไวแลวประกาศให
ขา ราชการทราบเปน การทั่วไปกอนการมีคําสัง่ เลือ่ นเงนิ เดอื น

๙๗

๔. ใหผดู ํารงตําแหนงดงั ตอ ไปน้ีเปน ผบู ริหารวงเงินการเลือ่ นเงินเดือนเพิม่ เติม
๔.๑ หัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชา หรือรับผิดชอบ

การปฏิบัติราชการข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี บริหารวงเงินสําหรับตําแหนง
ทปี่ รึกษานายกรฐั มนตรีฝา ยขาราชการประจํา(ตาํ แหนงประเภทบริหาร)

๔.๒ หัวหนาสวนราชการระดับกระทรวงหรือเลขานุการรัฐมนตรี บริหาร
วงเงนิ สาํ หรบั ตําแหนงประเภทอํานวยการ ตาํ แหนงประเภทวิชาการ และตาํ แหนง ประเภททั่วไป
ในสํานักงานรัฐมนตรี

๕. กรณีขาราชการพลเรือนสามัญผูใดอยูในหลักเกณฑที่จะไดรับการพิจารณา
เลือ่ นเงินเดือนตามกฎ ก.พ. วา ดว ยการเล่ือนเงินเดอื น พ.ศ.๒๕๕๒ ถึงแกความตายกอ นวนั ท่ี ๑
มีนาคม หรือ วันที่ ๑ กนั ยายน ใหน ําอตั ราเงนิ เดอื นของผูนัน้ มาคํานวณรวมเปนวงเงินงบประมาณ
ในวนั ที่ ๑ มีนาคม หรอื วนั ที่ ๑ กนั ยายน แลวแตก รณี

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและถือปฏิบัตติ อ ไป

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชือ่ ) นนทิกร กาญจนะจิตรา

(นายนนทิกร กาญจนะจิตรา)
เลขาธิการ ก.พ.

โครงการปรบั ระบบคา ตอบแทนฯ
โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๑๓๖๓ ๐ ๒๕๔๗ ๑๓๗๙

๐ ๒๕๔๗ ๑๕๒๖
โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๑๓๖๒

๙๘

ที่ นร ๑๐๐๘.๑ / ๕๒๒ (สําเนา)

สํานกั งาน ก.พ.
ถนนตวิ านนท จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐

๙ ตุลาคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง ซักซอ มความเขา ใจเก่ียวกับการเลอื่ นเงินเดอื นขาราชการพลเรือนสามญั กรณขี า ราชการ
ไดร ับแตง ตั้งใหไปดํารงตาํ แหนงตา งประเภท หรอื ตางสายงาน หรือตา งระดับ

เรยี น อธิบดีกรมทีด่ นิ

อางถงึ หนังสอื สาํ นกั งาน ก.พ. ดว นทีส่ ุด ที่ นร ๑๐๐๘.๑ / ๑๔๕ ลงวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓

ตามหนงั สือที่อา งถงึ สาํ นักงาน ก.พ. ไดซ ักซอ มความเขา ใจเก่ียวกบั การเลอื่ น
เงนิ เดือนขาราชการพลเรอื นสามัญตามกฎ ก.พ. วาดวยการเลื่อนเงินเดอื น พ.ศ. ๒๕๕๒ และ
การบรหิ ารวงเงินการเล่อื นเงินเดอื น นน้ั

ดวยปรากฏวา เน้ือความของขอ ๔.๒ ของหนังสอื ดังกลา วมคี วามคลาดเคลอื่ น
เปนผลใหการส่ังเล่ือนเงินเดือนขาราชการผูไดรับการเล่ือนเงินเดือนและไดรับการแตงตั้งใหดํารง
ตําแหนงตา งประเภท หรอื ตางสายงาน หรือตา งระดับ ในวันเดยี วกันไมถกู ตอ ง สํานกั งาน ก.พ.
จึงขอแจง แนวปฏบิ ตั ิทถ่ี กู ตอ ง ดงั นี้

กรณขี าราชการผูใดไดร บั การเล่อื นเงนิ เดอื น ณ วันท่ี ๑ เมษายน หรอื ๑ ตุลาคม
และไดรบั แตง ต้งั ใหด ํารงตําแหนงตางประเภท หรือตา งสายงาน หรือตา งระดบั แลว แตก รณี
ในวนั เดยี วกัน ใหผมู อี ํานาจสงั่ เล่ือนเงนิ เดอื นส่งั เลื่อนเงนิ เดือนขาราชการดังกลา วโดยใช “ฐานใน
การคาํ นวณ” ของตาํ แหนง ประเภท สายงาน และระดับเดมิ กอนการไดรับแตงตั้งใหด ํารงตาํ แหนง
ตางประเภท ตา งสายงาน หรอื ตา งระดบั

สาํ หรบั กรณีขาราชการผูใ ดไดร บั การเลื่อนเงนิ เดอื น ณ วันท่ี ๑ เมษายน หรือ
๑ ตุลาคม ไปแลว ตอมาไดรบั คําสัง่ แตงต้ังใหไปดํารงตาํ แหนง ตางประเภท หรอื ตา งสายงาน
หรอื ตางระดับ โดยมผี ลยอ นหลังไปกอนวันท่ี ๑ เมษายน หรอื ๑ ตลุ าคม แลวแตกรณี ซ่ึงทําให
“ฐานในการคํานวณ” ที่ใชในการเลื่อนเงินเดือนของขาราชการผูน้ันเปลี่ยนไป กรณีน้ีใหถือ
ปฏิบัติตามหนังสือที่อางถึงกลาวคือ ใหผูมีอํานาจสั่งเล่ือนเงินเดือนแกไขคําส่ังเล่ือนเงินเดือน
ของขาราชการผูนั้นโดยใหนําอัตรารอยละท่ีไดรับการเล่ือนตามคําส่ังการเล่ือนเงินเดือนเดิมมา
คํานวณเงินท่จี ะไดเลื่อนโดยใช “ฐานในการคาํ นวณ” ของตําแหนงประเภท สายงาน และระดับ
ตามท่ีขาราชการผนู ั้นไดร ับแตง ตั้ง

๙๙

ในกรณที ส่ี ว นราชการออกคาํ สง่ั เลอ่ื นเงนิ เดอื นทแ่ี ตกตา งจากแนวปฏบิ ตั ขิ า งตน น้ี
ไปแลว ขอใหดาํ เนินการแกไขคําสง่ั ใหถกู ตอ งตามแนวปฏิบัติของหนังสือฉบับน้ี

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบและถอื ปฏบิ ัติตอไป
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชอื่ ) วสิ ตู ร ประสิทธ์ศิ ริ ิวงศ
(นายวิสตู ร ประสิทธิ์ศริ ิวงศ)
รองเลขาธิการ ก.พ.

ปฏบิ ัตริ าชการแทนเลขาธิการ ก.พ.

โครงการปรับระบบคา ตอบแทนฯ
โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๑๓๖๓ ๐ ๒๕๔๗ ๑๓๗๙ ๐ ๒๕๔๗ ๑๕๒๖
โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๑๓๖๒

๑๐๐

(สาํ เนา)

ที่ มท ๐๕๐๒.๒ / ว ๒๙๒๑๙
ถงึ จังหวัด ทกุ จังหวดั

ดว ยสาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยไดม หี นังสอื ที่ มท ๐๒๐๒.๕ / ว ๑๖๙
ลงวนั ท่ี ๘ ตลุ าคม ๒๕๕๕ สง สําเนาหนังสอื สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๕๐๘ / ว (ท)
๗๔๙๓ ลงวันท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๕ เรือ่ ง การปรบั ปรุงฐานขอมลู ทะเบียนฐานันดร มาใหสวน

ราชการตา งๆ ทราบและถือปฏบิ ัติรายละเอยี ดดูไดจากเว็บไซตก รมท่ีดิน www.dol.go.th
อินทราเนต็ ขาวกองการเจา หนา ที่ ขา วทะเบียนประวตั ิ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหขาราชการสังกัดกรมที่ดินทราบโดย
ท่วั กันดว ย จักขอบคณุ ยง่ิ

กรมทีด่ ิน
๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๕

กองการเจาหนา ท่ี
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๕๕
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๘๕

๑๐๑

(สําเนา)
ท่ี มท ๐๒๐๒.๕ / ว ๑๖๙
ถงึ สวนราชการระดบั กรม และหนว ยงานรัฐวิสาหกจิ ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

พรอมน้ี สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ขอสง สาํ เนาหนังสือสํานักเลขาธกิ าร
คณะรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๕๐๘/ว (ท) ๗๔๙๓ ลงวันท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๕ เรอ่ื ง การปรับปรุงฐานขอมลู
ทะเบียนฐานันดร มาเพือ่ พจิ ารณาดําเนินการในสว นที่เกี่ยวขอ งตอไป

สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
๔ ตุลาคม ๒๕๕๕

กองการเจาหนา ท่ี
กลมุ งานสวสั ดิการและประโยชนเ กื้อกลู
โทร. / โทรสาร ๐-๒๒๒๑-๐๕๖๕, ๕๐๓๗๑ (มท.)

๑๐๒

(สําเนา)

ที่ นร ๐๕๐๘ / ว(ท) ๗๔๙๓ สาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี
ทาํ เนยี บรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐

๔ ตลุ าคม ๒๕๕๕

เรื่อง การปรับปรุงฐานขอมูลทะเบียนฐานันดร

เรยี น ปลดั กระทรวงมหาดไทย

อางถึง หนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๗/ว ๒๐ ลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๔๙

สง่ิ ทสี่ งมาดว ย ๑. บัญชีรายชื่อผูไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณที่เปลี่ยนแปลง
ขอมูลฐานันดร แบบ ฐน ๑

๒. บัญชีรายชื่อผูที่รับเครื่องราชอิสริยาภรณ แบบ ฐน ๒
๓. บัญชีรายชื่อผูสงคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ แบบ ฐน ๓
๔. บัญชีรายชื่อผูชดใชเงินแทนราคาเครื่องราชอิสริยาภรณ แบบ ฐน ๔
๕. บัญชีรายชื่อผูไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณที่วายชนม แบบ ฐน ๕

ตามท่ีสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดแจงแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัด
ทําทะเบยี นประวตั ิการไดร ับพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณข องหนว ยงาน การขอรบั บริการ
ตรวจสอบขอ มลู ทะเบยี นฐานันดร และการแจงการเปลี่ยนแปลงขอ มูลรายละเอยี ดบุคคลผูไ ดร ับ
พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณใหสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีทราบตามหนังสือท่ีอางถึง
นน้ั

ขอเรียนวาสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดดําเนินการปรับปรุงฐานขอมูล
ทะเบยี นฐานนั ดรอยา งตอเน่ืองมาโดยตลอด โดยไดน าํ เลขประจาํ ตวั ประชาชนมาใชเปนขอ มูล
สาํ คญั ในการตรวจสอบความถูกตองและยนื ยนั ตวั บุคคล เพือ่ ใหการตรวจสอบและการใหบรกิ าร
ขอมูลทะเบียนฐานันดรเปนไปอยา งถูกตอง ครบถว น และมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ ดงั นนั้
จึงขอความรวมมือใหแจงหนวยงานในสังกัดถือปฏิบัติโดยเครงครัดกรณีมีการเปล่ียนแปลงขอมูล
รายละเอยี ดของผไู ดรับพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณในสงั กัด โดยแจงขอมูลท่ีเปลยี่ นแปลง
ดังกลาวใหสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีทราบตามแบบบัญชีรายชื่อตามส่ิงที่สงมาดวย ทั้งน้ี
เพ่ือประโยชนของสวนราชการและหนวยงานในการใชขอมูลประกอบการเสนอขอพระราชทาน
เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณแ ละการอางองิ ขอ มูลสวนบุคคลตอ ไป

๑๐๓

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดดําเนนิ การตอ ไปดวย จะขอบคุณยิ่ง
ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงช่ือ) สมชาย พฤฒิกัลป
(นายสมชาย พฤฒิกัลป)

รองเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ปฏิบตั ริ าชการแทน
เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี

สาํ นกั อาลักษณและเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ
โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ตอ ๔๒๕ – ๔๒๗
โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๘๖
www.cabinet.thaigov.go.th

๑๐๔

บัญชีรายชอ่ื ผูไดร บั พระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณท ่เี ปลยี่ นแปลงขอมลู ฐานันดร
กระทรวง................................................................
กรม / หนวยงาน......................................................

แบบ ฐน ๑

ลาํ ดบั ช่อื – สกลุ เลขประจําตวั ประชาชน เปลย่ี นคาํ นาํ หนา ชื่อ/ เปลี่ยนสถานภาพ การโอนสังกดั หนวยงาน หมายเหตุ
ชื่อ/ชอื่ สกลุ การสมรส (ช่อื หนว ยงานใหม)

๑๐๕ ผูล งนามรับรอง
ตองเปนหวั หนา
สวนราชการที่
รับผดิ ชอบโดย
ตรงระดบั กอง

ลงช่อื ...................................................ผูร ับรอง
( ................................................... )

บัญชรี ายชื่อผูทีร่ บั เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ
กระทรวง......................................................กรม/หนว ยงาน...................................................
ไดรบั พระราชทานเมื่อ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ........................ชัน้ เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ. .....................

แบบ ฐน ๒

ลําดบั คาํ นาํ หนา ชอ่ื / ช่อื / ชอ่ื สกุล ลําดับที่ใน ลายม่อื ชือ่ ผูที่รบั หมายเหตุ
เลขประจําตัวประชาชน ราชกิจจาฯ เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ

ผูล งนามรบั รองตอ งเปน
หวั หนาสวนราชการที่
รบั ผิดชอบโดยตรงระดบั
กอง

ลงชอื่ ...................................................ผูรับรอง
( ................................................... )

๑๐๖

บัญชีรายชือ่ ผูสงคืนเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ แบบ ฐน ๓
กระทรวง.............................................................
กรม / หนว ยงาน....................................................

คาํ นาํ หนาชือ่ ชอ่ื ตัว ชอ่ื สกุล เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ หมายเหตุ
ลาํ ดับ เลขประจําตัวประชาชน (ลงเลขจาํ นวนในชน้ั ท่คี นื , สว นที่ไมมกี ารคนื ใหทาํ เครอ่ื งหมาย (–)) (ระบุกรณีที่สงคืน,
รวม กรณีการโอนสงั กัด
(หากมกี ารเปลี่ยนแปลงคํานําหนาชอ่ื ม.ป.ช. ม.ว.ม. ป.ช. ป.ม. ท.ช. ท.ม. ต.ช. ต.ม. จ.ช. จ.ม. บ.ช. บ.ม.
ช่อื ตวั ชอื่ สกุล โปรดแจง ขอมลู เดมิ ) บุรุษ สตรี บรุ ษุ สตรี บรุ ุษ สตรี บรุ ษุ สตรี บรุ ุษ สตรี บุรุษ สตรี บรุ ุษ สตรี บรุ ุษ สตรี บรุ ษุ สตรี บรุ ษุ สตรี บุรษุ สตรี บุรุษ สตรี ฯลฯ)

ผลู งนามรับรองตองเปน
หัวหนาสวนราชการ
ท่รี บั ผิดชอบโดยตรง
ระดบั กอง

๑๐๗

ลงชอ่ื ...................................................ผูร ับรอง
( ................................................... )

บัญชรี ายช่ือผชู ดใชเงนิ แทนราคาเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ แบบ ฐน ๔
กระทรวง.............................................................
กรม / หนวยงาน.................................................... หมายเหตุ
รวม (ระบกุ รณที ส่ี งคืน,
คํานําหนาชือ่ ช่ือตวั ช่อื สกลุ เครื่องราชอสิ ริยาภรณ
ลาํ ดับ เลขประจําตวั ประชาชน (ระบจุ ํานวนเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณแ ละจาํ นวนเงินไวในวงเลบ็ ตอทายจาํ นวนเครื่องราชอสิ ริยาภรณ กรณกี ารโอนสงั กดั
ฯลฯ)
(หากมีการเปลยี่ นแปลงคาํ นําหนา ชอ่ื รายการใดไมม ีการชดใชเ งินใหทําเครอื่ งหมาย (–))
ผลู งนามรบั รองตองเปน
ชอื่ ตวั ชอ่ื สกลุ โปรดแจงขอมูลเดิม) ม.ป.ช. ม.ว.ม. ป.ช. ป.ม. ท.ช. ท.ม. ต.ช. ต.ม. จ.ช. จ.ม. บ.ช. บ.ม. หวั หนาสวนราชการ
ท่ีรับผิดชอบโดยตรง
ระดับกอง

๑๐๘

ลงชอื่ ...................................................ผรู ับรอง
( ................................................... )

บัญชีรายชอื่ ผไู ดร ับพระราชทานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณทว่ี ายชนม แบบ ฐน ๕
กระทรวง.............................................................
กรม / หนวยงาน....................................................

คํานาํ หนา ชือ่ ช่อื ตัว ชอื่ สกลุ วายชนม เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณที่สง คนื
ลาํ ดับ เลขประจําตวั ประชาชน
วนั /เดือน/ป สาเหตุที่วายชนม เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ เงินชดใชแ ทนราคาฯ หมายเหตุ
(หากมีการเปลี่ยนแปลงคาํ นาํ หนา ชื่อ (ระบุชื่อยอชนั้ ตราท่ี (บาท/ระบชุ ่ือยอ
ชือ่ ตัว ชือ่ สกุล โปรดแจง ขอ มูลเดิม) สง คนื แตล ะรายการ) ชนั้ ตราทสี่ ง เงนิ คนื ) – ขอใหรวบรวมสง สาํ นักเลขาธกิ าร
คณะรฐั มนตรีทราบทกุ รอบ ๔ เดือน
๑๐๙ คือในสปั ดาหแรกของเดือนเมษายน
สงิ หาคม และธนั วาคม
– ผูล งนามรับรองตองเปนหัวหนา
สว นราชการที่รับผดิ ชอบโดยตรง
ระดับกอง

ลงชอ่ื ...................................................ผูรับรอง
( ................................................... )

(สําเนา)

สวนราชการ กองการเจาหนา ที่ โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๕๖, (๑๕๙๕๖)

ท่ี มท ๐๕๐๒.๒ / ว ๑๙๑๑๒ วันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง เผยแพรเอกสารประกอบการบรรยายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี า ดวยการลา
ของขา ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ และประมวลคําถาม - คําตอบ

เรยี น หวั หนา กลุม งานคมุ ครองจริยธรรมกรมทีด่ นิ ผูต รวจราชการกรม ผูอาํ นวยการสาํ นกั
เจา พนกั งานทด่ี ินกรงุ เทพมหานคร เลขานุการกรม ผูอาํ นวยการกอง ผอู ํานวยการสํานักงาน
ผอู าํ นวยการกลุม และผูอ าํ นวยการศนู ย

ดวยกรมทด่ี นิ ไดร บั แจงจากสํานักนายกรัฐมนตรแี จงวา ไดจ ัดทาํ เอกสารประกอบ
การบรรยายชุดระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการลาของขาราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ และ
ประมวลคาํ ถาม – คาํ ตอบเก่ียวกับแนวทางปฏบิ ตั ติ ามระเบียบฯ ซึ่งจะเปน ประโยชนอยางยงิ่ ตอ
การศึกษาคน ควา หรือการนาํ ไปใชเ ปนแนวทางปฏบิ ตั ทิ ีส่ อดคลอ งกับระเบียบฯ แกเจา หนา ทีท่ ี่
เกย่ี วขอ งหรือผสู นใจทว่ั ไป โดยสามารถดขู อมูลในเรอ่ื งดงั กลา วไดท ี่ www.opm.go.th/ opminter/
mainframe.asp

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และขอไดแจงใหขาราชการในสังกัดผูรับผิดชอบ
ดําเนนิ การตามระเบยี บฯ นี้ ทราบและศกึ ษาทําความเขาใจ เพือ่ จะไดน าํ ไปใชเ ปนแนวทางปฏิบตั ิ

ไดอ ยางถกู ตองตอไป

(ลงช่ือ) สุนีย บัวใหญ
(นางสนุ ยี  บวั ใหญ)

ผูอ ํานวยการกองการเจาหนา ท่ี

๑๑๐

บญั ชีรายชือ่ หนังสือเวยี น ระเบยี บ และคําสง่ั ตางๆ
กองคลงั

ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทหี่ นังสอื เวยี น ช่ือเร่อื ง หนา
ลาํ ดับท่ี ระเบยี บ คาํ สงั่

๒. ลงวนั เดอื น ป

๑. ที่ กค ๐๔๒๐.๕ / ว ๔๒๓ การกําหนดวนั ท่แี ละวิธีการปฏบิ ตั ิงานสาํ หรับ ๑๑๗
ลว. ๒ ธ.ค. ๕๔ งบบุคลากรและเงนิ อ่นื ที่กําหนดจายส้นิ เดอื น

๒. ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๕๖ ซอ มความเขา ใจเอกสารการจดทะเบียน ๑๑๙
ลว. ๒๐ ธ.ค. ๕๔ รบั รองบุตรเพ่อื ขอใชสทิ ธิเบิกเงนิ สวัสดิการ
เกยี่ วกบั การรักษาพยาบาลและเงนิ สวัสดกิ าร
เกยี่ วกบั การศึกษาของบตุ ร

๓. ที่ มท ๐๕๐๓.๔ / ว ๗๐ การยนื่ แบบข้นึ ทะเบยี นประกนั ตน ๑๒๑
ลว. ๙ ม.ค. ๕๕

๔. ที่ กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๔ ภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดากรณีเงินชวยเหลอื ๑๖๔
ลว. ๙ ม.ค. ๕๕ ตามโครงการเกษยี ณอายุกอนกําหนด

๕. ท่ี มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๖๕๒ การปรับปรุงบญั ชแี ละยกเลกิ รายการในระบบ ๑๖๘
ลว. ๑๑ ม.ค. ๕๕ GFMIS

๖. ที่ รง ๐๖๒๓ / ว ๓๔ การลดอตั ราเงินสมทบกองทุนประกนั สังคม ๑๗๕
ลว. ๑๓ ม.ค. ๕๕ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๗. ดว นท่ีสุด ระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยการเบิกจา ย ๑๗๖
ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๒๒ เงนิ เพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวของขา ราชการ
ลว. ๒๐ ม.ค. ๕๕ และลูกจางประจาํ ของสว นราชการ (ฉบบั ท่ี ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๕

๑๑๑

บญั ชีรายช่อื หนังสือเวียน ระเบยี บ และคาํ ส่งั ตางๆ
กองคลงั

ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทีห่ นงั สือเวียน ชื่อเรอ่ื ง หนา
ลําดบั ท่ี ระเบียบ คาํ สง่ั การสงเรอื่ งขอรับบําเหน็จ บาํ นาญ ๑๘๑
บําเหนจ็ ลูกจาง และเงนิ ชวยเหลอื ตาม
๒. ลงวัน เดอื น ป โครงการเกษียณอายกุ อ นกําหนด
๘. ดวนที่สดุ

ที่ กค ๐๔๒๐.๗ / ว ๕๕
ลว. ๑๖ ก.พ. ๕๕

๙. ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๒ ซอ มความเขา ใจกรณกี ารเบิกคายาประเภท ๑๘๓
ลว. ๒๘ ก.พ. ๕๕ วิตามิน

๑๐. ดว นทส่ี ุด หลักเกณฑก ระทรวงการคลงั วาดวยการ ๑๘๔
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๖ เบิกคา พาหนะสงตอ ผูป วย
ลว. ๒๙ ก.พ. ๕๕

๑๑. ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๙ การเบิกจา ยตรงคารักษาพยาบาลทดแทนไต ๑๘๗
ลว. ๒๙ ก.พ. ๕๕ ในผูปวยไตวายเร้ือรงั ดวยวธิ ไี ตเทียม กรณี
การสงตอผปู ว ย

๑๒. ที่ มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๑๒๘๐๐ การบันทกึ รหัสรายไดจากการอนญุ าตให ๑๘๘
ลว. ๑ พ.ค. ๕๕ เอกชนดําเนนิ การติดต้งั เครอื่ งถา ยเอกสาร
ในท่ีราชพสั ดุ

๑๓. ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๖๗ หลักเกณฑก ารเบิกจา ยตรงเงินสวัสดกิ าร ๒๐๕
ลว. ๒ พ.ค. ๕๕ เกย่ี วกับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
ของทางราชการ

๑๔. ท่ี มท ๐๕๐๓.๒ / ๒๕๘๙ การแจงรายละเอียดการจายเงินเดอื นและ ๒๐๗
ลว. ๒๙ พ.ค. ๕๕ คา จา งประจาํ และหนังสอื รับรองการหกั ภาษี
ณ ที่จาย

๑๑๒

บัญชรี ายช่ือหนังสือเวยี น ระเบยี บ และคาํ สง่ั ตางๆ
กองคลงั

ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทหี่ นังสอื เวียน ชอ่ื เรือ่ ง หนา
ลาํ ดับที่ ระเบียบ คําส่งั

๒. ลงวนั เดือน ป

๑๕. ดว นที่สดุ ซอมความเขา ใจเก่ยี วกบั การใชสิทธใิ นระบบ ๒๑๙
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๕ เบิกจายตรงเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ยี วกบั การ
ลว. ๗ ม.ิ ย. ๕๕ รักษาพยาบาล

๑๖. ดวนท่ีสุด หลกั เกณฑการเบกิ คา รักษาพยาบาลกรณี ๒๒๑
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๖ เจบ็ ปวยฉุกเฉนิ วิกฤตและเจ็บปว ยฉุกเฉนิ
ลว. ๘ มิ.ย. ๕๕ เรง ดว น

๑๗. ท่ี กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๒๗๐ การตรวจสอบการเปน ขาราชการ / ๒๒๕
ลว. ๑๗ ก.ค. ๕๕ ลกู จา งประจําพรอ มกับการเปน ผรู ับเบ้ยี หวัด
หรือบาํ นาญ

๑๘. ท่ี นร ๐๗๐๔ / ว ๑๐๔ ระเบยี บวาดว ยการบริหารงบประมาณ ๒๒๗
ลว. ๑ ส.ค. ๕๕ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕

๑๙. ดว นทีส่ ดุ แนวทางปฏบิ ัติในการผอนชําระหน้ี กรณี ๒๓๐
ที่ กค ๐๔๑๐.๒ / ว ๘๑ ผรู บั เงินชวยคาครองชีพผรู บั เบ้ยี หวดั บํานาญ
ลว. ๑๐ ส.ค. ๕๕ เกนิ สิทธิเนอ่ื งจากการมสี ถานะเปนขา ราชการ
หรือลกู จา งประจาํ ของสว นราชการ

๒๐. ท่ี กค ๐๔๐๙.๓ / ว ๓๑๒ แนวปฏิบตั เิ กย่ี วกับการบนั ทึกรายการ ๒๓๕
ลว. ๒๐ ส.ค. ๕๕ เช็คขัดของผา น GFMIS Web Online

๑๑๓

บัญชีรายชื่อหนังสอื เวยี น ระเบียบ และคําสัง่ ตา งๆ
กองคลัง

ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทห่ี นงั สือเวยี น ชอ่ื เร่อื ง หนา
ลาํ ดับท่ี ระเบยี บ คําส่งั

๒. ลงวัน เดอื น ป

๒๑. ดว นมาก

ที่ กค ๐๔๒๐.๘/ว ๓๔๙๐๙ การบรกิ ารสง ขอ ความใหผมู สี ทิ ธิรับเบี้ยหวดั ๒๓๖

ลว. ๓๐ ส.ค. ๕๕ บาํ เหน็จบํานาญ และเงินอนื่ ในลักษณะ

เดยี วกนั

๒๒. ดว นทส่ี ดุ การระบุเหตุผลการใชย านอกบัญชี ๒๓๙
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๑ ยาหลกั แหงชาติเพ่อื ใชประกอบการเบกิ จา ย
ลว. ๒๔ ก.ย. ๕๕

๒๓. ที่ มท ๐๕๐๓.๒/ว ๒๗๑๙๓ การบนั ทึกขอมูลสนิ ทรพั ยถ าวรในระบบ ๒๖๑

ลว. ๒๕ ก.ย. ๕๕ GFMIS

๒๔. ดวนทีส่ ุด การลงทะเบยี นในระบบเบกิ จา ยตรงผปู ว ยนอก ๒๖๓
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๕ กับสถานพยาบาลของทางราชการกรณผี ูป ว ย
ลว. ๒ ต.ค. ๕๕ โรคเร้อื รงั

๒๕. ดว นทสี่ ุด การหามเบิกคา ยากลูโคซามีนซัลเฟต ๒๖๕
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๖
ลว. ๒ ต.ค. ๕๕

๒๖. ท่ี นร ๐๗๐๔ / ว ๒ ซอมความเขาใจเก่ียวกับการใชงบประมาณ ๒๖๗
ลว. ๓ ต.ค. ๕๕ รายจา ยรายการคา ใชจ า ยในการเดินทาง
ไปราชการตางประเทศชว่ั คราว

๑๑๔

บัญชีรายชอ่ื หนังสือเวียน ระเบียบ และคาํ สั่งตางๆ
กองคลงั

ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทห่ี นงั สอื เวยี น ชื่อเร่ือง หนา
ลําดบั ท่ี ระเบยี บ คาํ ส่งั ๒๖๙

๒. ลงวัน เดอื น ป

๒๗. ท่ี กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๓๙๔ พระราชกฤษฎกี าการจายเงินเดอื น เงนิ ป
ลว. ๓ ต.ค. ๕๕ บําเหนจ็ บํานาญ และเงินอื่น ในลกั ษณะ
เดียวกัน (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕

๒๘. ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๔๑๓ ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา ดวยคาใชจาย ๒๗๓
ลว. ๑๒ ต.ค. ๕๕ ในการฝกอบรม การจดั งาน และการประชมุ
ระหวา งประเทศ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕

๒๙. ท่ี มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๕๕๕๘ การแจง ขอ มลู ประกอบการขอเบกิ เงิน ๒๙๕
ลว. ๑๗ ต.ค. ๕๕

๓๐. ที่ กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๔๒๔ การบนั ทกึ ขอมูลการทําประกันการรบั เงนิ ๓๐๔
ลว. ๒๔ ต.ค. ๕๕ และการอายัดเบี้ยหวดั บําเหนจ็ บํานาญใน ๓๐๖
ระบบบาํ เหนจ็ บํานาญ (e – pension)
๓๑. ดว นทีส่ ุด
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๒๙ การเบิกจา ยคา ยากลูโคซามนี ซัลเฟต
ลว. ๓๑ ต.ค. ๕๕

๓๒. ดวนทสี่ ดุ การลงทะเบยี นในระบบเบกิ จา ยตรงผปู ว ยนอก ๓๐๗
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๓๐ กบั สถานพยาบาลของทางราชการกรณีผูปวย
ลว. ๓๑ ต.ค. ๕๕ โรคเรื้อรัง

๑๑๕

บัญชรี ายชือ่ หนงั สอื เวียน ระเบียบ และคาํ สงั่ ตา งๆ
กองคลัง

ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. เลขทีห่ นงั สอื เวียน ชอ่ื เรื่อง หนา
ลาํ ดบั ท่ี ระเบยี บ คําสง่ั

๒. ลงวัน เดอื น ป

๓๓. ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๔๗ แจงยกเลกิ สถานพยาบาลของเอกชนทเ่ี ขารว ม ๓๐๘
ลว. ๑๒ พ.ย. ๕๕ โครงการเบกิ จายตรงประเภทผปู ว ยใน
(DRGs)

๓๔. ดว นทีส่ ดุ การเบิกจา ยคาตอบแทนเจาหนาที่ ๓๐๙
ที่ กค ๐๔๒๗ / ว ๑๓๔ ดําเนินการสอบ
ลว. ๑๒ พ.ย. ๕๕

๓๕. ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๑๓๘ คา ตอบแทนกรรมการผอู าน ตรวจ และ ๓๑๑

ลว. ๑๖ พ.ย. ๕๕ ประเมนิ ผลงาน

๓๖. ดว นทส่ี ดุ ๓๑๔
ที่ มท ๐๕๐๓.๒/ว ๓๖๗๑๔ รหัสผูใชง านในระบบ GFMIS Web Online
ลว. ๒๘ ธ.ค. ๕๕

๑๑๖

ที่ กค ๐๔๒๐.๕ / ว ๔๒๓ (สาํ เนา)

กรมบัญชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒ ธันวาคม ๒๕๕๔

เรอ่ื ง การกําหนดวนั ท่แี ละวิธกี ารปฏบิ ตั ิงานสําหรับงบบคุ ลากรและเงนิ อ่ืนท่ีกําหนดจา ยสิ้นเดอื น
เรียน อธิบดีกรมทดี่ ิน
ส่ิงทสี่ ง มาดว ย ตารางกาํ หนดวนั ดําเนินการและมผี ลเขา บญั ชีสาํ หรบั งบบคุ ลากร และเงินอ่ืน

ทก่ี าํ หนดจา ยสิ้นเดือน (KO)

ดว ยกรมบัญชีกลาง ในฐานะหนว ยงานกลาง ไดกาํ หนดตารางวันทีแ่ ละวิธีการ
ปฏบิ ตั ิงานสาํ หรบั รายการขอเบกิ งบบคุ ลากรและเงินอืน่ ท่กี าํ หนดจา ยสนิ้ เดือน (KO) ตัง้ แตเ ดือน
มกราคม – ธันวาคม ๒๕๕๕ เพ่ือใหการส่ังจายเงินเปนไปตามระยะเวลาที่กําหนดและมี
ประสทิ ธิภาพเรียบรอ ยแลว ตามส่ิงทส่ี ง มาดวย

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดแจง ใหเ จา หนา ที่ทเ่ี กยี่ วขอ งทราบ และถือปฏบิ ตั ติ อไป อน่ึง
ทานสามารถ Download ขอ มลู ไดจ ากเว็บไซตก รมบัญชีกลาง www.cgd.go.th

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) ณพงศ ศริ ขิ ันตยกุล

(นายณพงศ ศิริขันตยกลุ )
รองอธบิ ดี ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธิบดกี รมบญั ชีกลาง

สาํ นกั บริหารการรบั – จายเงนิ ภาครัฐ
กลุมงานบริหารการจายเงิน
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๓๒๐
โทรสาร ๐-๒๑๒๗-๗๑๕๒

๑๑๗

เอกสารแนบ

กําหนดวันดาํ เนินการและมผี ลเขา บญั ชีสําหรบั งบบุคลากรและเงินอน่ื ท่ีกําหนดจา ยส้ินเดือน (KO)
ผานระบบ GFMIS ประจาํ เดือนมกราคม – ธนั วาคม ๒๕๕๕

}}วัน การดาํ เนนิ การ/ผลการดําเนินการ เดือน
ม.ค.๕๕ ก.พ.๕๕ ม.ี ค.๕๕ เม.ย.๕๕ พ.ค.๕๕ มิ.ย.๕๕ ก.ค.๕๕ ส.ค.๕๕ ก.ย.๕๕ ต.ค.๕๕ พ.ย.๕๕ ธ.ค.๕๕
(ทาํ การ)
วันท่ี วนั ท่ี วนั ท่ี วันท่ี วนั ท่ี วันที่ วันท่ี วันที่ วนั ท่ี วันท่ี วนั ท่ี วนั ท่ี
ต้งั แต
๑๑๘ ตน เดอื น สว นราชการ บันทกึ รายการใหเ สรจ็ ภายใน
เปน ตน ไป วันที่ ๑๕ ของทกุ เดือนโดยกาํ หนดวนั ทฐี่ าน
และวนั ที่ผานรายการใหเ ปน วนั ท่ีมีผลเขา
๙ บญั ชธี นาคารของสว นราชการ หรือวนั ทาํ การ
๘ ท่ี ๖ นับถดั จากวันทําการสุดทายของเดือน

กรมบญั ชีกลาง ๑๘ ๑๖ ๑๙ ๑๗ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๗ ๑๗ ๑๙ ๑๗

สรา งคําส่ังโอน (Gen Text File) ๑๙ ๑๗ ๒๐ ๑๘ ๒๑ ๑๙ ๑๙ ๒๑ ๑๘ ๑๘ ๒๐ ๑๘

๗ ๒๐ ๒๐ ๒๑ ๑๙ ๒๒ ๒๐ ๒๐ ๒๒ ๑๙ ๑๙ ๒๑ ๑๙

๖ มีผลเขา บัญชีธนาคารฯ ของสว นราชการ ๒๓ ๒๑ ๒๒ ๒๐ ๒๓ ๒๑ ๒๓ ๒๓ ๒๐ ๒๒ ๒๒ ๒๐

๕ สว นราชการ แจง กรมบัญชีกลาง ๒๔ ๒๒ ๒๓ ๒๓ ๒๔ ๒๒ ๒๔ ๒๔ ๒๑ ๒๔ ๒๓ ๒๑

๔ กรณีท่ไี มไ ดร ับเงนิ เทา น้นั ๒๕ ๒๓ ๒๖ ๒๔ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๗ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๔

๓ เงนิ เขา บญั ชีของขา ราชการและลกู จา งฯ ๒๖ ๒๔ ๒๗ ๒๕ ๒๘ ๒๖ ๒๖ ๒๘ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๕

๒– ๒๗ ๒๗ ๒๘ ๒๖ ๒๙ ๒๗ ๒๗ ๒๙ ๒๖ ๒๙ ๒๘ ๒๖

๑– ๓๐ ๒๘ ๒๙ ๒๗ ๓๐ ๒๘ ๓๐ ๓๐ ๒๗ ๓๐ ๒๙ ๒๗

– วันทาํ การสดุ ทา ยของเดือน ๓๑ ๒๙ ๓๐ ๓๐ ๓๑ ๒๙ ๓๑ ๓๑ ๒๘ ๓๑ ๓๐ ๒๘

ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๕๖ (สาํ เนา)

กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔

เร่ือง ซอมความเขาใจเอกสารการจดทะเบยี นรับรองบตุ รเพือ่ ขอใชสิทธิเบิกเงินสวสั ดิการเก่ยี วกับ
การรักษาพยาบาลและเงินสวัสดกิ ารเกีย่ วกับการศึกษาของบุตร

เรยี น อธบิ ดีกรมทดี่ นิ

ดว ยปรากฏวา มสี ว นราชการขอหารอื และขอทาํ ความตกลง เพอ่ื ขอใชส ทิ ธเิ บกิ เงนิ
สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลและเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การศกึ ษาของบตุ ร ณ สว นราชการ
ตน สังกัด กรณีท่ีบิดามิไดส มรสกับมารดาโดยแสดงเอกสารการจดทะเบียนรบั รองบตุ รตามแบบ
คร.๑๑ ท่ีนายทะเบยี น ณ ท่ีวาการอําเภอหรือสาํ นกั งานเขตจดทะเบียนรบั รองบตุ รให ซึ่งในการ
จดทะเบียนรับรองบตุ รน้นั บตุ รหรอื มารดาคนใดคนหนึ่ง มิไดไปใหความยนิ ยอมดว ยตนเองตอ
หนา นายทะเบียน ณ ทว่ี า การอําเภอหรือสาํ นกั งานเขต

กรมบญั ชีกลางพิจารณาแลว ขอเรยี นวา การจดทะเบียนรบั รองบตุ รเปนวธิ กี าร
ท่ีจะทําใหบุตรนอกสมรสเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของบิดาได ซ่ึงวิธีการนี้บิดาสามารถ
จดทะเบียนรับรองบุตรได โดยไมตองจดทะเบียนสมรสกับมารดา และเนื่องจากประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๔๘ วรรคหนงึ่ และพระราชบญั ญตั จิ ดทะเบียนครอบครัว
พ.ศ. ๒๔๗๘ มาตรา ๑๙ วรรคหน่ึง ไดบัญญัติหลักเกณฑในการจะจดทะเบยี นรบั เดก็ เปน บตุ ร
โดยชอบดว ยกฎหมาย คือ บิดาจะจดทะเบยี นรับรองบตุ รไดนนั้ จะตองไดร บั ความยินยอมจากทัง้
เดก็ และมารดาเดก็ และตอ งใหค วามยนิ ยอมดว ยตนเองตอหนา นายทะเบยี น นอกจากนี้ ประมวล
กฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๑๕๔๘ บญั ญัตไิ วถงึ กรณที ่ีเดก็ หรือมารดาเด็กคัดคาน หรอื
ไมใหความยินยอม หรือไมอาจใหความยินยอมได การจดทะเบียนรับรองบุตรจะตองมี
คําพพิ ากษาของศาล โดยรอ งตอ ศาลใหมคี ําพพิ ากษาใหบ ดิ าจดทะเบียนรับเด็กเปน บตุ รได และ
ใหบิดานําคําพิพากษา ไปขอจดทะเบียนตอนายทะเบียน เพื่อใหนายทะเบียนดําเนินการ
จดทะเบียนให ดังนนั้ การจดทะเบยี นรบั รองบตุ รท่ีไมไดดาํ เนินการตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ยแ ละพระราชบัญญัติจดทะเบยี นครอบครัว พ.ศ.๒๔๗๘ ดังกลา ว จงึ ใชเ ปนเอกสาร
หลักฐานแสดงการจดทะเบียนรับรองบุตรเพ่ือขอใชสิทธิเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษา
พยาบาลและเงินสวสั ดิการเกย่ี วกบั การศึกษาของบุตรไมได

๑๑๙

จึงเรียนมาเพ่ือทราบและขอใหแจงผูมีสิทธิและเจาหนาท่ีที่เก่ียวของทราบเพ่ือถือ
ปฏบิ ตั ิตอไป

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชอ่ื ) รังสรรค ศรีวรศาสตร

(นายรังสรรค ศรวี รศาสตร)
อธบิ ดกี รมบัญชกี ลาง

สํานกั มาตรฐานคา ตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดกิ ารรกั ษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๑๒๐

(สาํ เนา)

สว นราชการ กองคลงั ฝายตรวจสอบใบสาํ คญั และวางฎกี า โทร. ๐๒ ๑๔๑๕๙๗๘ ภายใน ๑๕๙๗๘

ท่ี มท ๐๕๐๓.๔/ว ๗๐ วันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง การยืน่ แบบข้ึนทะเบียนประกนั ตน

เรียน ผตู รวจราชการกรม ผอู าํ นวยการสาํ นัก เจาพนักงานที่ดินกรงุ เทพมหานคร เลขานุการกรม
ผอู ํานวยการกอง ผูอาํ นวยการสาํ นักงาน และผูอ าํ นวยการกลมุ

กองคลัง ขอสงสําเนาหนงั สือ ท่ี มท ๐๕๐๓.๔/๖๑๑๑ ลงวันที่ ๒๐ ธนั วาคม
๒๕๕๔ ซง่ึ อธิบดี (นายมณเฑียร ทองนติ ย รองอธิบดี ปฏิบัตริ าชการแทน) เห็นชอบใหดาํ เนินการ
ในการยื่นแบบขึ้นทะเบียนประกันตนของพนักงานราชการและลูกจางชั่วคราวรายเดือนภายใน
เวลาที่กําหนด เพื่อไมใหเสียสิทธิประโยชนท่ีพึงจะไดรับจากสํานักงานประกันสังคม มาเพ่ือ
โปรดทราบ และแจงใหเจา หนา ทที่ ีเ่ ก่ียวของทราบและถือปฏบิ ัติตอ ไป

(ลงช่ือ) ทศั ณี ทศั ธนะสริ ิกลุ
(นางสาวทัศณี ทศั ธนะสริ กิ ุล)
ผูอาํ นวยการกองคลัง

๑๒๑

บัญชสี ง หนงั สือเวียนกอง
บนั ทึกกองคลัง ท่ี มท ๐๕๐๓. /ว..................ลงวนั ท.่ี ........เดือน.........................พ.ศ. .............
เร่อื ง.......................................................................................................................................

ลาํ ดับที่ สวนราชการ ผูรบั จํานวน หมายเหตุ
ช่อื ตัวบรรจง ลายมอื ชือ่

๑ อธบิ ดี (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๑

๒ ทป่ี รกึ ษาดานประสทิ ธภิ าพ (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๑

๓ ที่ปรกึ ษาดานวศิ วกรรมสํารวจ (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๑

๔ รองอธบิ ดี (นายบุญเชดิ คิดเหน็ ) (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๑
๕ สล.
๕ รองอธิบดี (นายมณเฑียร ทองนติ ย) (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๖ กจ.
๕ คล.
๖ รองอธบิ ดี (นายวิศษิ ฎ ลิมปธ รี ะกลุ ) (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๕ กพ.
๕ นก.
๗ รองอธิบดี (นายธรรมศกั ดิ์ ชนะ) (มท ๐๕๐๑.๒/.......) ๕ กผ.
๖ ฝอ.
๘ สาํ นกั งานเลขานุการกรม (มท ๐๕๐๑/...........) ๕ พด.
๓ สชอ.
๙ กองการเจา หนาที่ (มท ๐๕๐๒/...........) ๑๙ ส.กทม.
๕ สจร.
๑๐ กองคลัง (มท ๐๕๐๓/...........) ๕ สทผ.
๕ สทส.
๑๑ กองการพมิ พ (มท ๐๕๐๔/...........) ๕ สมส.
๕ สมท.
๑๒ กองนิติการ (มท ๐๕๐๕/...........) ๑๐ สนส.
๕ สสธ.
๑๓ กองแผนงาน (มท ๐๕๐๖/...........) ๑๓ สผต.
๑ ศสป.
๑๔ กองฝกอบรม (มท ๐๕๐๗/...........) ๕ ตภ.
๕ สพร.
๑๕ กองพัสดุ (มท ๐๕๐๘/...........)
๑ สพส.
๑๖ สาํ นักงานคณะกรรมการชา งรังวดั เอกชน (มท ๐๕๐๙/...........) ๑ สตร.
๑ ศรช.
๑๗ สาํ นักงานที่ดินกรงุ เทพมหานคร (มท ๐๕๑๐/...........) ๑ คจ.

๑๘ สํานกั จดั การทด่ี ินของรัฐ (มท ๐๕๑๑/...........)

๑๙ สาํ นักเทคโนโลยที ําแผนที่ (มท ๐๕๑๒/...........)

๒๐ สํานกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ (มท ๐๕๑๓/...........)

๒๑ สาํ นกั มาตรฐานและสงเสริมการรังวัด (มท ๐๕๑๔/...........)

๒๒ สาํ นักมาตรฐานการทะเบยี นทด่ี นิ (มท ๐๕๑๕/...........)

๒๓ สํานกั มาตรฐานการออกหนงั สือสาํ คัญ (มท ๐๕๑๖/...........)

๒๔ สํานักสง เสริมธุรกจิ อสงั หารมิ ทรพั ย (มท ๐๕๑๗/...........)

๒๕ สํานกั ผูตรวจราชการกรมทด่ี นิ (มท ๐๕๑๘/...........)

๒๖ ศนู ยส ง เสริมประสิทธภิ าพกรมท่ดี นิ (มท ๐๕๑๙/...........)

๒๗ หนว ยตรวจสอบภายใน (มท ๐๕๒๐/...........)

๒๘ สาํ นักงานบรหิ ารโครงการพัฒนากรมทด่ี นิ (มท ๐๕๒๑/...........)

และเรงรดั การออกโฉนดที่ดินท่วั ประเทศ

๒๙ สาํ นกั งานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน (มท ๐๕๒๓/...........)

๓๐ สํานักงานตรวจราชการ (มท ๐๕๒๔/...........)

๓๑ ศนู ยร วบรวมขอ มูลแผนที่แปลงที่ดินแหง ชาติ (มท ๐๕๒๕/...........)

๓๒ กลมุ งานคุมครองจรยิ ธรรมกรมท่ีดิน (มท ๐๕๒๖/...........)

๑๒๒

(สําเนา)

สว นราชการ กองคลงั ฝายตรวจสอบใบสาํ คญั และวางฎกี า โทร. ๐๒-๑๔๑-๕๙๕๘ ภายใน ๑๕๙๕๘

ที่ มท ๐๕๐๓.๔/๖๑๑๑ วนั ที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๔

เรือ่ ง การยื่นแบบขน้ึ ทะเบยี นประกนั ตน

เรียน อธบิ ดี

๑. เรื่องเดิม
กรมท่ีดินไดรวบรวมแบบข้ึนทะเบียนผูประกันตน เพื่อนําสงและยื่นตอ

สํานักงานประกันสังคม ตามที่มีคําส่ังจัดจางพนักงานราชการและลูกจางช่ัวคราวรายเดือน
เพือ่ ใหเปนไปตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกันสงั คม พ.ศ.๒๕๓๓ และที่แกไ ขเพมิ่ เตมิ ซงึ่ กาํ หนดให
ลกู จางซง่ึ มีอายุไมต า่ํ กวา สบิ หา ปบ รบิ รู ณ และไมเ กินหกสิบปบ ริบรู ณเ ปน ผูป ระกนั ตน และให
นายจางยื่นแบบรายการแสดงรายช่ือผูประกันตนอัตราคาจางตอสํานักงานประกันสังคมภายใน
สามสบิ วันนับแตว ันทีล่ กู จางเปนผปู ระกันตนและเมอ่ื ผปู ระกนั ตน (ลกู จาง) ตายหรือส้ินสภาพการ
เปนลกู จา งใหแ จง ตอ สาํ นกั งานประกันสงั คมภายในวันท่ี ๑๕ ของเดือนถดั ไป

๒. ขอเท็จจริง
สํานกั /กอง ทก่ี รมท่ีดินไดม สี ญั ญาจา งเปน พนักงานราชการหรือมคี าํ ส่งั จาง

เปนลูกจางชัว่ คราว รายเดอื น ไมไดย น่ื แบบขึน้ ทะเบยี นผูประกนั ตนภายในกาํ หนดและไดยื่นแบบ
ขน้ึ ทะเบยี นผูป ระกนั ตนลา ชาเกนิ กําหนดระยะเวลา ทาํ ใหก องคลังไมสามารถสงแบบขน้ึ ทะเบยี น
ผปู ระกนั ตนใหกบั สํานกั งานประกันสังคมไดภ ายในระยะเวลาที่กําหนดไว ทาํ ใหพ นักงานราชการ
หรอื ลกู จางชั่วคราวรายเดอื นเสยี สิทธปิ ระโยชนทพี่ ึงไดรับจํานวนมาก

๓. ระเบยี บ
พระราชบญั ญัตปิ ระกนั สังคม พ.ศ.๒๕๓๓ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหตรา

พระราชบัญญัตไิ วด งั นี้
ฯลฯ

มาตรา ๓๓ ใหลูกจางซ่ึงมีอายุไมตํ่ากวาสิบหาปบริบูรณและไมเกินหกสิบป
บรบิ ูรณเ ปน ผปู ระกนั ตน

มาตรา ๓๔ ใหน ายจา งซึง่ มลี กู จา งท่ีเปนผปู ระกันตนตามมาตรา ๓๓ ย่นื
แบบรายการแสดงรายชอ่ื ผปู ระกนั ตน อัตราคา จาง และขอ ความอน่ื ตามแบบท่ีเลขาธิการกาํ หนด
ตอสาํ นักงานภายในสามสิบวนั นบั แตว ันท่ลี ูกจา งน้นั เปน ผูประกันตน

มาตรา ๓๗ ในกรณีท่คี วามปรากฏแกสํานกั งานหรอื จากคํารอ ง ของลูกจาง
วานายจางไมย นื่ แบบรายการตามมาตรา ๓๔ หรือยน่ื แบบรายการแลว แตไมม ชี อ่ื ลกู จางบางคน
ซง่ึ เปนผปู ระกันตนตามมาตรา ๓๓ ในแบบรายการน้ัน ใหสาํ นักงานมีอํานาจบนั ทกึ รายละเอียด

๑๒๓

ในแบบรายการตามมาตรา ๓๔ โดยพจิ ารณาจากหลักฐานทเ่ี กี่ยวขอ ง แลว ออกหนงั สือสําคัญ
แสดงการข้นึ ทะเบียนประกันสังคมใหแ กน ายจาง และหรือออกบัตรประกันสงั คมใหแ กล กู จาง
ตามมาตรา ๓๖ แลว แตกรณี

ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการหรือผูซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
จะดําเนนิ การสอบสวนกอ นกไ็ ด

มาตรา ๔๔ ในกรณีท่ีขอเท็จจริงเกี่ยวกับขอความในแบบรายการท่ีไดย่ืนไว
ตอ สาํ นักงานเปลี่ยนแปลงไป ใหนายจางแจง เปนหนังสอื ตอสํานักงาน ตามระเบยี บท่เี ลขาธกิ าร
กาํ หนด เพื่อขอเปล่ยี นแปลงหรอื แกไ ขเพ่มิ เติมรายการ ภายในวนั ทส่ี ิบหาของเดอื นถดั จากเดอื นที่
มีการเปลยี่ นแปลงดังกลาว

มาตรา ๙๖ นายจางผูใดโดยเจตนาไมยื่นแบบรายการตอสํานักงานภายใน
กาํ หนดเวลาตามมาตรา ๓๔ หรือไมแ จง เปน หนังสือตอ สํานักงานขอเปลี่ยนแปลงหรือแกไ ขเพมิ่
เตมิ รายการภายในกําหนดเวลาตามมาตรา ๔๔ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเ กินหกเดือน หรอื ปรบั ไม
เกนิ สองหมน่ื บาทหรือทั้งจาํ ท้ังปรบั

ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิดตอเนื่อง ผูกระทําตอง
ระวางโทษปรบั อกี วันละ ไมเ กินหา พันบาทตลอดระยะเวลาท่ียงั ฝาฝน หรือไมป ฏิบัตติ าม

๔. ขอพิจารณา
กองคลงั พจิ ารณาแลวเห็นวา เพ่อื ใหก ารยนื่ แบบข้ึนทะเบยี นผปู ระกนั ตนของ

พนกั งานราชการและลูกจา งช่วั คราวรายเดือน ของสํานัก/กอง ท่ไี ดมสี ัญญาจา งหรือคาํ สง่ั จาง
เปน ไปตามพระราชบญั ญตั ิประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ กาํ หนดไว จงึ เหน็ ควรแจง ใหสาํ นัก/กอง
แจงใหพนักงานราชการและลูกจางชั่วคราวรายเดือน ที่อยูในสังกัดยื่นแบบผานสํานัก/กอง
เพอ่ื ไมใ หเ สียสทิ ธปิ ระโยชนทีพ่ ึงจะไดร ับจากสํานักงานประกันสงั คม ถงึ กองคลงั ภายใน ๑๐ วนั
นับตั้งแตวันที่ลูกจางชั่วคราวรายเดือน พนักงานราชการ เขาปฏิบัติราชการตามคําสั่งจาง
สัญญาจา ง ลาออก หรือเปลยี่ นแปลงขอ เท็จจรงิ ดงั น้ี

๑. ย่ืนแบบ สปส. ๑–๐๓ กรณเี ขาปฏบิ ตั ิงานตามคําสง่ั จาง/สัญญาจา ง
๒. ยื่นแบบ สปส. ๐–๐๓/๑ กรณีเคยเปน ผูประกันตนมาแลว
๓. ย่ืนแบบ สปส. ๖–๐๙ กรณลี าออกจากงาน
๔. ยื่นแบบ สปส. ๖–๑๐ กรณีทเ่ี ปลย่ี นแปลงขอ เท็จจรงิ
๕. ยนื่ แบบ สปส. ๖–๐๒ กรณีขอเปล่ยี นสถานพยาบาล
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา หากเห็นชอบ จะไดแจงใหสํานัก/กอง เพื่อ
ดําเนนิ การตอไป

(ลงช่ือ) ทศั ณี ทศั ธนะสริ ิกลุ
(นางสาวทัศณี ทศั ธนะสิรกิ ลุ )
ผูอ ํานวยการกองคลงั

๑๒๔

(สาํ เนา)

พระราชบญั ญัตปิ ระกนั สงั คม
พ.ศ.๒๕๓๓

––––––––––––
ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วันที่ ๑๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๓
เปน ปท่ี ๔๕ ในรชั กาลปจ จบุ ัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายวาดว ยการประกันสังคม
จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ิขนึ้ ไวโ ดยคําแนะนํา และ
ยินยอมของรฐั สภา ดังตอ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ินเี้ รยี กวา พระราชบัญญัตปิ ระกนั สังคม พ.ศ.๒๕๓๓
มาตรา ๒(๑) พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป เวน แตบทบญั ญตั ิหมวด ๒ ของลกั ษณะ ๒ ใหใ ชบงั คบั เม่อื พน กาํ หนดระยะ
เวลาหนงึ่ รอยแปดสิบวนั นบั แตวันทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ใ้ี ชบ งั คบั และบทบญั ญตั มิ าตรา ๔๐ ใหใ ช
บงั คบั ภายในส่ีปนบั แตวันทีพ่ ระราชบญั ญัตินี้ใชบังคบั
มาตรา ๓ ใหย กเลกิ พระราชบัญญตั ปิ ระกันสังคม พ.ศ.๒๔๙๗
บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับอืน่ ในสวนที่มีบญั ญตั ิไวแลวในพระราชบญั ญัตนิ ้ี
หรือซ่ึงขดั หรือแยง กับบทแหง พระราชบัญญัตนิ ี้ ใหใ ช พระราชบญั ญตั ินีแ้ ทน
มาตรา ๔ พระราชบัญญัตนิ ้ไี มใ ชบ งั คบั แก
(๑)(๒) ขาราชการ ลกู จางประจาํ ลกู จา งชวั่ คราวรายวนั และลกู จางช่ัวคราว
รายชว่ั โมง ของราชการสวนกลาง ราชการสวนภมู ภิ าค และราชการสว นทอ งถิน่ ยกเวน ลูกจาง
ช่วั คราวรายเดอื น
(๒) ลกู จา งของรฐั บาลตางประเทศหรือองคก ารระหวา งประเทศ
(๓) ลกู จา งของนายจา งทม่ี สี าํ นกั งานในประเทศ และไปประจาํ ทาํ งานในตา งประเทศ
(๔) ครูหรอื ครูใหญข องโรงเรยี นเอกชนตามกฎหมายวา ดว ยโรงเรียนเอกชน
(๕) นักเรยี น นกั เรยี นพยาบาล นิสิตหรือนกั ศกึ ษา หรือแพทยฝก หดั ซงึ่ เปนลูกจา ง
ของโรงเรียน มหาวิทยาลยั หรือ โรงพยาบาล
(๖) กจิ การหรือลูกจางอ่นื ตามทีก่ าํ หนดในพระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๕ ในพระราชบัญญตั ินี้

๑๒๕

ลกู จาง หมายความวา ผซู ง่ึ ทํางานใหน ายจา งโดยรับคาจา งไมวาจะเรียกชื่ออยางไร
แตไ มร วมถึงลูกจางซึ่งทาํ งานเกี่ยวกบั งานบา นอนั มิไดม กี ารประกอบธรุ กิจรวมอยูดว ย

นายจา ง หมายความวา ผูซง่ึ รบั ลูกจา งเขาทาํ งานโดยจา ยคาจา ง และใหหมายความ
รวมถึงผูซึ่งไดร บั มอบหมายใหท าํ งานแทนนายจาง ในกรณีท่ีนายจา งเปนนิติบคุ คลใหหมายความ
รวมถึงผูม อี ํานาจกระทําการแทนนิตบิ ุคคล และผซู ึ่งไดร ับมอบหมายจากผมู ีอํานาจกระทําการ
แทนนติ ิบคุ คลใหท าํ การแทนดวย

คา จาง หมายความวา เงินทุกประเภททนี่ ายจางจายใหแกลูกจาง เปน คาตอบแทน
การทํางานในวนั และเวลาทํางานปกติไมว า จะคํานวณตามระยะเวลา หรอื คาํ นวณตามผลงานท่ี
ลกู จา งทาํ ได และใหห มายความรวมถงึ เงนิ ที่ นายจา งจายใหในวนั หยดุ และวนั ลาซงึ่ ลูกจา งไมไ ด
ทํางานดวย ทงั้ นี้ ไมวาจะกําหนดคํานวณหรอื จายในลกั ษณะใดหรือโดยวิธกี ารใด และไมว า จะ
เรียกชื่ออยา งไร

วนั ทาํ งาน หมายความวา วนั ทกี่ าํ หนดใหลกู จา งทาํ งานตามปกติ
ผปู ระกนั ตน หมายความวา ผูซึ่งจายเงินสมทบอันกอ ใหเกิดสทิ ธไิ ดรับประโยชน
ทดแทนตามพระราชบญั ญตั ินี้
การคลอดบตุ ร หมายความวา การทที่ ารกออกจากครรภมารดา ซึ่งมีระยะเวลา
ตั้งครรภไ มน อยกวา ย่สี บิ แปดสปั ดาหไ มวา ทารกจะมชี ีวิตรอดอยหู รอื ไม
ทพุ พลภาพ หมายความวา การสญู เสียอวยั วะหรอื สูญเสียสมรรถภาพ ของอวยั วะ
หรือของรา งกาย หรือสูญเสียสภาวะปกตขิ องจิตใจ จนไมสามารถทาํ งานได ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑ
ท่คี ณะกรรมการการแพทยก ําหนด
วา งงาน หมายความวา การที่ผปู ระกนั ตนตอ งหยดุ งานเนอ่ื งจาก นติ สิ ัมพนั ธระหวา ง
นายจางและลูกจางตามสญั ญาจางแรงงานสิน้ สดุ ลง
กองทนุ หมายความวา กองทุนประกันสังคม
สํานกั งาน หมายความวา สํานักงานประกันสงั คม
คณะกรรมการ หมายความวา คณะกรรมการประกนั สังคม
กรรมการ หมายความวา กรรมการประกันสงั คม
พนกั งานเจา หนาที่ หมายความวา ผูซ ่งึ รฐั มนตรีแตง ตั้งใหป ฏิบตั กิ าร ตามพระราช
บัญญัติน้ี
เลขาธิการ หมายความวา เลขาธกิ ารสํานกั งานประกนั สงั คม
รัฐมนตรี หมายความวา รัฐมนตรผี รู ักษาการตามพระราชบัญญตั ินี้
มาตรา ๖(๑) ในการคํานวณคาจางเพอ่ื การออกเงินสมทบ ใหถ ือเอาคาจางท่คี ดิ เปน
รายเดือนเปน เกณฑค ํานวณ
ในการคํานวณคาจา งทมี่ ิใชค า จางรายเดอื นใหเปนคา จางรายเดือน ใหถอื วา คาจา ง
ท่ลี กู จา งไดรับจริงในเดือนใดเปน คาจางรายเดือนของเดือนนนั้

๑๒๖

เพ่ือประโยชนในการนับระยะเวลาการสงเงินสมทบของผูประกันตนใหถือวาเงิน
สมทบท่ีหักจากคา จางที่จายใหล กู จางในเดอื นใดเปน การจายเงินสมบทของเดือนนน้ั และไมว า
เงนิ สมทบน้ันจะไดห ักไวหรอื นําสง เดอื นละกีค่ รัง้ ใหถือวา มีระยะเวลาในการจายเงนิ สมทบเทา กับ
หนงึ่ เดือน

มาตรา ๗ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และใหมีอาํ นาจแตงต้งั พนกั งานเจา หนา ทีก่ ับออกกฎกระทรวง กําหนดคา ธรรมเนยี มไมเ กนิ อัตรา
ในบัญชที า ยพระราชบัญญตั ิน้ี ยกเวน คาธรรมเนยี มและกําหนดกจิ การอื่นเพื่อปฏิบัตกิ ารตาม
พระราชบัญญตั ินี้

กฎกระทรวงน้ัน เมอ่ื ไดประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว ใหใชบ ังคับได

ลกั ษณะ ๑
บททว่ั ไป
––––––––
หมวด ๑
คณะกรรมการประกันสังคม
––––––––
มาตรา ๘(๑) ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกวา คณะกรรมการประกันสังคม
ประกอบดวย ปลัดกระทรวงแรงงานและสวสั ดกิ ารสังคมเปน ประธานกรรมการ ผแู ทนกระทรวง
การคลัง ผูแทนกระทรวงสาธารณสุข และผูแทนสาํ นกั งบประมาณเปนกรรมการ กับผแู ทนฝาย
นายจา งและผแู ทนฝายลูกจางฝายละหา คน ซง่ึ รฐั มนตรแี ตงตง้ั เปนกรรมการ และเลขาธกิ ารเปน
กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการจะแตงตง้ั บุคคลใดเปน ผชู ว ยเลขานุการคณะกรรมการก็ได
รัฐมนตรีจะแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิอีกไมเกินหาคนใหเปนท่ีปรึกษาของคณะกรรมการ
กไ็ ด ซ่งึ ในจาํ นวนน้ีอยางนอยตองเปนผทู รงคุณวุฒทิ างระบบงาน ประกนั สังคม ผทู รงคณุ วุฒิ
ทางการแรงงาน ผทู รงคุณวฒุ ิทางการแพทย ผทู รงคุณวฒุ ทิ างกฎหมาย และผูทรงคณุ วุฒอิ ่นื
มาตรา ๙ คณะกรรมการมีอาํ นาจหนาทีด่ ังตอไปน้ี
(๑) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบายและมาตรการในการประกันสังคม
ตามพระราชบัญญัตนิ ี้
(๒) พิจารณาใหความเห็นตอรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกาการออก
กฎกระทรวง และระเบยี บตา งๆ เพือ่ ดาํ เนนิ การตามพระราชบัญญัตินี้
(๓) วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับ การรับเงิน
การจา ยเงินและการเก็บรักษาเงินของกองทุน

๑๒๗

(๔) วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเก่ียวกับ การจัดหา
ผลประโยชนข องกองทุน

(๕) พจิ ารณางบดลุ และรายงานการรับจายเงินของกองทุนและ รายงานผลการ
ปฏิบัตงิ านประจําปข องสํานกั งานในสว นทเ่ี กย่ี วกับการประกนั สงั คมตามพระราชบัญญตั ินี้

(๖) ใหคาํ ปรกึ ษาและแนะนําแกคณะกรรมการอนื่ หรอื สํานักงาน
(๗) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืนบัญญัติใหเปนอํานาจ
หนา ท่ขี องคณะกรรมการ หรือตามทีร่ ฐั มนตรมี อบหมาย
ในการปฏิบตั หิ นา ท่ตี ามวรรคหนงึ่ คณะกรรมการอาจมอบหมายให สํานกั งานเปน
ผปู ฏิบัติเพ่ือเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาดาํ เนนิ การตอไปก็ได
มาตรา ๑๐ กรรมการหรือที่ปรึกษาซ่ึงรัฐมนตรีแตงตั้งใหอยูในตําแหนงคราวละ
สองป
กรรมการหรือทปี่ รกึ ษาซึง่ พน จากตาํ แหนง อาจไดรับการแตงต้ังอกี ได แตจะแตงตง้ั
ตดิ ตอ กนั เกนิ สองวาระไมไ ด
มาตรา ๑๑ นอกจากการพนจากตําแหนง ตามวาระตามมาตรา ๑๐ กรรมการหรอื ท่ี
ปรึกษาซึ่งรัฐมนตรีแตงต้งั พน จากตําแหนง เมือ่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรใี หออก
(๔) เปนบุคคลลมละลาย
(๕) วิกลจริตหรอื จติ ฟนเฟอ น ไมสมประกอบ
(๖) ไดร บั โทษจําคกุ โดยคาํ พพิ ากษาถึงทส่ี ดุ ใหจําคกุ เวน แตเ ปน โทษสาํ หรบั ความผิด
ทไี่ ดกระทําโดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ
ในกรณีท่ีกรรมการซ่ึงรฐั มนตรีแตง ตง้ั พนจากตําแหนง กอนวาระ ใหร ัฐมนตรแี ตงตั้ง
บคุ คลในประเภทเดียวกนั ตามมาตรา ๘ เปน กรรมการแทน และ ใหผ ูท่ไี ดรบั แตงตง้ั อยูในตําแหนง
เทากบั วาระทเ่ี หลืออยขู องกรรมการซึ่งตนแทน
ในกรณีท่ีรัฐมนตรีแตงตั้งที่ปรึกษาเพิ่มข้ึนในระหวางที่ท่ีปรึกษาซึ่งแตงต้ังไวแลวยัง
มวี าระอยูในตําแหนง ใหผทู ไี่ ดร ับแตงต้งั ใหเ ปน ที่ปรึกษาเพ่ิมข้ึนน้นั อยูในตําแหนงเทากบั วาระ
ทีเ่ หลืออยูข องท่ปี รกึ ษาท่ไี ดรบั แตง ตง้ั ไวแ ลว
มาตรา ๑๒ ในกรณีที่กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงต้ังดํารงตําแหนงครบตามวาระแลว
แตยงั มไิ ดมีการแตง ตงั้ คณะกรรมการขน้ึ ใหม ใหก รรมการท่ีพน จากตาํ แหนงตามวาระปฏิบัติ
หนาที่ไปพลางกอ น จนกวา กรรมการทไ่ี ดร ับแตงตง้ั ใหมจ ะเขารบั หนา ที่

๑๒๘

มาตรา ๑๓ การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหน่ึง
ของจาํ นวนกรรมการทง้ั หมด จงึ เปน องคป ระชุม

ในการประชมุ คราวใด ถา ประธานกรรมการไมอ ยูในทป่ี ระชมุ หรอื ไมส ามารถปฏบิ ัติ
หนาท่ีได ใหก รรมการท่มี าประชมุ เลอื กกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในท่ีประชุม

มตใิ นที่ประชุมใหถ ือเสียงขา งมาก กรรมการคนหนงึ่ มีเสียงหน่งึ ในการลงคะแนน
ถาคะแนนเสยี งเทากัน ใหประธานในทปี่ ระชมุ ออกเสียงเพ่ิมข้ึนอกี เสียงหนึง่ เปน เสยี งชี้ขาด

มาตรา ๑๔(๑) ใหมีคณะกรรมการการแพทยคณะหนึ่ง ประกอบดวยประธาน
กรรมการและกรรมการอน่ื มีจาํ นวนรวมกันไมเ กินสิบหกคน ซงึ่ รฐั มนตรแี ตงต้ังและผูแ ทน
สํานกั งาน เปนกรรมการและเลขานกุ าร

ประธานกรรมการและกรรมการอ่ืนตามวรรคหน่ึงใหแตงต้ังจากผูทรงคุณวุฒิใน
วชิ าชีพเวชกรรมสาขาตา งๆ และใหอ ยูในตําแหนงคราวละสองป

ใหนาํ มาตรา ๑๐ วรรคสอง มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ และ มาตรา ๑๓ มาใชบ งั คับ
โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๕ คณะกรรมการการแพทยม ีอํานาจหนา ที่ ดังตอไปน้ี
(๑) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการเกี่ยวกับการดําเนินงานในการใหบริการทาง
การแพทย
(๒) กําหนดหลักเกณฑและอัตราสําหรับประโยชนทดแทนในการรับบริการทาง
การแพทยของผปู ระกันตนตามมาตรา ๕๙ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๖ มาตรา ๖๘ มาตรา ๗๐ และ
มาตรา ๗๒
(๓) เสนอความเหน็ ตอคณะกรรมการเกี่ยวกบั การออกกฎกระทรวง ตามมาตรา ๖๔
(๔) ใหคาํ ปรึกษาและแนะนาํ ในทางการแพทยแกค ณะกรรมการ คณะกรรมการ
อทุ ธรณ และสาํ นักงาน
(๕) ปฏิบัติการอื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของ
คณะกรรมการการแพทย หรอื ตามที่รฐั มนตรีหรือคณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๑๖ คณะกรรมการหรือคณะกรรมการการแพทยจะแตงตั้งคณะอนุกรรม
การเพอ่ื พจิ ารณาหรือปฏบิ ตั กิ ารอยางใดอยางหน่งึ ตามที่คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการการ
แพทยม อบหมายก็ได
การประชุมของคณะอนกุ รรมการ ใหน าํ มาตรา ๑๓ มาใชบ ังคับโดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการ คณะกรรมการการแพทย และคณะอนกุ รรมการมี
อํานาจสง่ั ใหบคุ คลใดบุคคลหน่งึ สง เอกสารหรอื ขอมูลทีจ่ าํ เปนมาพจิ ารณาได ในการน้จี ะสงั่ ให
บคุ คลทเ่ี กยี่ วของมาชี้แจงดว ยกไ็ ด

๑๒๙

มาตรา ๑๘ กรรมการ ท่ีปรึกษา กรรมการการแพทย กรรมการอุทธรณแ ละ
อนุกรรมการ อาจไดร ับเบ้ยี ประชมุ คาพาหนะ คา เบ้ยี เลยี้ ง คาเชา ที่พกั และคา ใชจ ายอยา งอนื่
ในการปฏบิ ัติหนาทต่ี ามพระราชบัญญตั นิ ี้ ตามระเบียบทร่ี ฐั มนตรีกําหนดโดยความเหน็ ชอบของ
กระทรวงการคลงั

หมวด ๒
สาํ นักงานประกนั สงั คม

––––––––
มาตรา ๑๙ ใหจ ดั ตง้ั สาํ นกั งานประกนั สงั คมขน้ึ ในกระทรวงมหาดไทยมอี าํ นาจหนา ที่
ดังตอไปน้ี
(๑) ปฏบิ ัติงานธุรการของคณะกรรมการ คณะกรรมการอน่ื และคณะอนุกรรมการ
ตามพระราชบญั ญัติน้ี
(๒) เกบ็ รวบรวม และวเิ คราะห ขอมลู เก่ยี วกับการประกนั สงั คม
(๓) จดั ทําทะเบียนนายจางและผปู ระกันตนซึง่ ตองสง เงนิ สมทบเขากองทนุ
(๔) ปฏิบัติการตามท่ีพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืนบัญญัติใหเปนอํานาจหนาท่ี
ของสาํ นักงาน
(๕) กระทํากจิ การอยางอนื่ ตามท่ีรฐั มนตรี คณะกรรมการ คณะกรรมการอน่ื หรอื
คณะอนกุ รรมการมอบหมาย
มาตรา ๒๐ ใหเลขาธิการมีหนาท่ีควบคมุ ดแู ลโดยท่ัวไปซ่ึงราชการ ของสาํ นักงาน
และเปน ผูบังคับบญั ชาขา ราชการในสํานกั งาน เพือ่ การนใ้ี หม รี องเลขาธกิ ารคนหนงึ่ หรอื หลายคน
เปนผชู วยสง่ั และปฏิบัตริ าชการ
ใหเลขาธิการและรองเลขาธกิ ารเปนขาราชการพลเรือนสามัญ

หมวด ๓
กองทนุ ประกนั สงั คม

––––––––
มาตรา ๒๑ ใหจัดต้ังกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานประกันสังคมเรียกวา
กองทุนประกนั สังคม เพ่ือเปนทุนใชจ ายใหผ ปู ระกนั ตนไดร บั ประโยชนทดแทนตามท่บี ัญญัติไวใน
ลกั ษณะ ๓ และเปนคา ใชจ ายตามมาตรา ๒๔ วรรคสอง
มาตรา ๒๒(๑) กองทนุ ประกอบดวย
(๑) เงนิ สมทบจากรฐั บาล นายจาง และผูป ระกันตนตามมาตรา ๔๐ และ
มาตรา ๔๖

๑๓๐

(๒) เงนิ เพมิ่ ตามมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๓
(๓) ผลประโยชนข องกองทนุ ตามมาตรา ๒๖
(๔) เงินคาธรรมเนียมตามมาตรา ๔๕
(๕) เงนิ ท่ีไดร บั จากการบรจิ าคหรือเงินอุดหนนุ
(๖) เงนิ ท่ตี กเปน ของกองทนุ ตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๗ ทวิ มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๓
และมาตรา ๕๖
(๗) เงินอุดหนุนหรือเงินทดรองราชการทร่ี ัฐบาลจา ยตามมาตรา ๒๔ วรรคสาม
(๘) เงนิ คา ปรบั ทไ่ี ดจ ากการเปรียบเทียบตามมาตรา ๑๐๒
(๙) รายไดอ่ืน
มาตรา ๒๓ เงินกองทุนตามมาตรา ๒๒ ใหเปนของสํานักงานและไมตองนําสง
กระทรวงการคลงั เปนรายไดแผนดิน
มาตรา ๒๔ เงินกองทนุ ใหจา ยเปน ประโยชนท ดแทนตามพระราชบัญญตั นิ ี้
คณะกรรมการอาจจดั สรรเงินกองทุนไมเกินรอยละสิบของเงินสมทบของแตละปเพื่อ
จายตามมาตรา ๑๘ และเปนคา ใชจ ายในการบริหารงานของสาํ นักงาน
ในกรณที เ่ี งนิ กองทนุ ไมพ อจา ยตามวรรคหนง่ึ หรอื วรรคสอง ใหร ฐั บาลจา ยเงนิ อดุ หนนุ
หรอื เงนิ ทดรองราชการใหต ามความจาํ เปน
มาตรา ๒๕ การรบั เงิน การจายเงนิ และการเก็บรกั ษาเงนิ กองทนุ ใหเ ปน ไปตาม
ระเบยี บท่ีคณะกรรมการกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง
มาตรา ๒๖ การจดั หาผลประโยชนข องกองทนุ ใหเ ปน ไปตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการ
กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั
มาตรา ๒๗(๑) ภายในหกเดอื นนบั แตว ันส้ินปปฏทิ นิ ใหคณะกรรมการเสนองบดุล
และรายงานการรับจายเงินของกองทุนในปที่ลวงมาแลวตอสํานักงานตรวจเงินแผนดินเพ่ือ
ตรวจสอบรับรองกอนเสนอตอรฐั มนตรี
งบดุลและรายงานการรับจา ยเงินดังกลา วใหร ัฐมนตรีเสนอนายกรัฐมนตรี เพื่อนํา
เสนอรัฐสภาเพอื่ ทราบ และจัดใหมกี ารประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๔
การสํารวจการประกันสงั คม

––––––––
มาตรา ๒๘ เพื่อประโยชนแกการประกันสังคมตามพระราชบัญญัติน้ีจะตรา
พระราชกฤษฎกี าเพอ่ื สํารวจปญหาและขอ มลู ดานแรงงานกไ็ ด
ในพระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนง่ึ อยา งนอยใหระบุ

๑๓๑

(๑) วัตถปุ ระสงคในการสาํ รวจ
(๒) เจาหนาทีห่ รอื พนกั งานเจาหนา ทที่ ี่จะทําการสาํ รวจ
(๓) กาํ หนดเวลาการใชบงั คบั พระราชกฤษฎกี าซ่ึงจะตองไมเกินสองป
มาตรา ๒๙ เมื่อไดต ราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๒๘ แลว ใหเลขาธกิ ารประกาศ
กาํ หนด
(๑) แบบสาํ รวจ
(๒) ระยะเวลาท่เี จาหนา ทห่ี รอื พนักงานเจา หนา ทจ่ี ะสงแบบสํารวจใหแ กน ายจา ง
(๓) กําหนดเวลาไมนอยกวาสามสิบวันใหนายจางตองสงคืนแบบสํารวจท่ีไดกรอก
รายการแลว แกเจาหนา ท่ีหรือพนกั งานเจา หนา ท่ี ซ่ึงตองระบไุ วใ นแบบสํารวจดว ย
การประกาศตามมาตรานใี้ หประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓๐ แบบสํารวจตามมาตรา ๒๙(๑) ท่จี ะตองสง ไปยังนายจา งใหสง โดยทาง
ไปรษณียล งทะเบียนตอบรับ หรือใหเจาหนาทห่ี รอื พนกั งานเจา หนา ท่ีนําไปสง ณ ภมู ิลําเนา หรือ
ถ่นิ ทอ่ี ยู หรอื สํานกั งานของนายจางในระหวา งเวลาพระอาทิตยขน้ึ ถงึ พระอาทติ ยตก หรือในเวลา
ทําการของนายจา ง ถาไมพบนายจาง ณ ภูมิลาํ เนา หรอื ถ่นิ ท่ีอยู หรือสาํ นักงานของนายจางจะ
สง ใหแกบ ุคคลใดซึ่งบรรลนุ ติ ิภาวะแลว และอยหู รือทาํ งานในบาน หรอื สํานักงานทป่ี รากฏวา เปน
ของนายจา งน้นั ก็ได
ถาไมสามารถสงตามวิธีในวรรคหนึ่งได ใหใ ชว ธิ ปี ด แบบสํารวจไวในทซ่ี ง่ึ เหน็ ไดง าย
ทีส่ าํ นักงานของนายจา ง เม่อื ไดดาํ เนนิ การดงั กลา วและเวลาไดลว งพนไปเกินสบิ หาวนั แลว ใหถ ือ
วา นายจางไดร ับแบบสํารวจนั้นแลว
มาตรา ๓๑ เมื่อนายจางไดรับแบบสํารวจแลว ใหนายจางกรอกรายการในแบบ
สํารวจทุกขอตามความเปนจริง แลวสงแบบสํารวจท่ีไดกรอกรายการน้ันคืนใหเจาหนาที่หรือ
พนักงานเจา หนาทภี่ ายในกําหนดเวลาตามมาตรา ๒๙(๓)
มาตรา ๓๒ บรรดาขอ ความหรอื ตวั เลขทไ่ี ดก รอกไวใ นแบบสาํ รวจใหถ อื เปน ความลบั
หา มมิใหผซู ่งึ มีหนา ที่ปฏิบัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ีเ้ ปดเผยขอ ความหรือตัวเลขนน้ั แกบคุ คล
ซึ่งไมมหี นา ท่ีปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ เวนแตมคี วามจําเปน เพ่อื ประโยชนแ กการประกัน
สังคม หรือการคุมครองแรงงาน หรอื เพอ่ื ประโยชนแ กก ารสอบสวนหรอื การพิจารณาคดี

ลักษณะ ๒
การประกันสังคม

––––––––
หมวด ๑
การเปน ผูประกนั ตน
––––––––

๑๓๒

มาตรา ๓๓(๑) ใหล กู จา งซง่ึ มอี ายไุ มต า่ํ กวา สบิ หา ปบ รบิ รู ณแ ละไมเ กนิ หกสบิ ปบ รบิ รู ณ
เปน ผปู ระกนั ตน

ลูกจางซึ่งเปนผูประกันตนอยูแลวตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปบริบูรณ
และยงั เปน ลูกจา งของนายจางซึ่งอยภู ายใตบังคับแหง พระราชบญั ญัตนิ ้ี ใหถ อื วาลูกจางนั้นเปน
ผปู ระกันตนตอ ไป

มาตรา ๓๔ ใหนายจางซึ่งมีลูกจางท่ีเปนผูประกันตนตามมาตรา ๓๓ ย่ืนแบบ
รายการแสดงรายชื่อผปู ระกนั ตน อัตราคา จา ง และขอ ความอื่นตามแบบทเี่ ลขาธกิ ารกําหนด
ตอ สาํ นกั งานภายในสามสิบวนั นับแตวนั ท่ีลกู จางนั้นเปน ผปู ระกันตน

มาตรา ๓๕ ในกรณีท่ีผูประกอบกิจการไดวาจางโดยวิธีเหมาคาแรงมอบใหแก
บุคคลหน่ึงบุคคลใดรับชวงไปควบคุมดูแลการทํางานและรับผิดชอบจายคาจางใหแกลูกจางอีก
ทอดหนง่ึ ก็ดี มอบหมายใหบ คุ คลหน่งึ บคุ คลใดเปนผูจดั หา ลูกจางมาทํางานอนั มิใชการประกอบ
ธุรกิจจดั หางานกด็ ี โดยการทาํ งานนั้นเปนสวนหนึ่งสวนใดในกระบวนการผลติ หรือธรุ กิจซง่ึ กระทาํ
ในสถานประกอบกิจการหรือสถานที่ทํางานของผูประกอบกิจการและเคร่ืองมือท่ีสําคัญสําหรับใช
ทํางานน้นั ผูประกอบกจิ การเปน ผจู ัดหา กรณีเชนวาน้ผี ปู ระกอบกิจการยอมอยูในฐานะนายจาง
ซ่งึ มีหนา ทตี่ องปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญัติน้ี

(๑)ในกรณีท่ีผูรับเหมาคาแรงตามวรรคหนึ่งเปนผูย่ืนแบบรายการตอสํานักงาน
ตามมาตรา ๓๔ ในฐานะนายจาง ใหผูรับเหมาคาแรงมีหนาท่ีปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี
เชน เดียวกบั นายจา ง ในกรณีเชนวานีใ้ หผปู ระกอบกจิ การหลดุ พนจากความรบั ผิดในหนเี้ งนิ สมทบ
และเงินเพิ่มเพียงเทาทผี่ ูรับเหมาคาแรงไดนําสงสํานกั งาน

มาตรา ๓๖ เมอ่ื นายจา งยืน่ แบบรายการตามมาตรา ๓๔ แลว ใหส าํ นักงานออก
หนังสือสําคัญแสดงการข้ึนทะเบียนประกันสังคมใหแกนายจางและออกบัตรประกันสังคมใหแก
ลกู จา ง ทั้งน้ี ตามแบบ หลักเกณฑ และวิธกี ารทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๓๗ ในกรณีท่ีความปรากฏแกสํานักงานหรือจากคํารองของลูกจางวา
นายจา งไมย ่ืนแบบรายการตามมาตรา ๓๔ หรอื ยืน่ แบบรายการแลว แตไมม ชี ื่อลกู จา งบางคน
ซง่ึ เปนผปู ระกนั ตนตามมาตรา ๓๓ ในแบบรายการน้ัน ใหสํานกั งานมอี ํานาจบนั ทกึ รายละเอยี ด
ในแบบรายการ ตามมาตรา ๓๔ โดยพจิ ารณาจากหลักฐานท่ีเกยี่ วของ แลวออกหนังสือสําคัญ
แสดงการขน้ึ ทะเบียนประกนั สังคมใหแกนายจาง และหรอื ออกบตั รประกนั สังคมใหแ กล ูกจาง
ตามมาตรา ๓๖ แลวแตกรณี

ในการดําเนินการตามวรรคหน่ึง เลขาธิการหรือผูซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
จะดําเนินการสอบสวนกอ นก็ได

มาตรา ๓๘ ความเปน ผปู ระกันตนตามมาตรา ๓๓ สนิ้ สดุ ลงเมื่อผปู ระกันตนนน้ั
(๑) ตาย

๑๓๓

(๒) สิ้นสภาพการเปนลกู จาง
(๒)ในกรณีที่ผปู ระกันตนทส่ี นิ้ สภาพการเปนลูกจา งตาม (๒) ไดส ง เงนิ สมทบครบตาม
เงอ่ื นเวลาทจ่ี ะกอ ใหเ กดิ สทิ ธติ ามบทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๓ แลว ใหผ นู น้ั มสี ทิ ธติ ามบทบญั ญตั ิ ใน
หมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๔ และหมวด ๕ ตอ ไป อกี หกเดอื นนบั แตว นั ทีส่ ิน้ สภาพการเปน ลูกจาง
มาตรา ๓๙(๓) ผูใดเคยเปนผปู ระกนั ตนตามมาตรา ๓๓ โดยจายเงินสมทบมาแลว
ไมน อ ยกวา สบิ สองเดอื น และตอมาความเปน ผูประกนั ตนไดส้นิ สุดลงตามมาตรา ๓๘(๒) ถา ผนู ัน้
ประสงคจะเปน ผูป ระกนั ตนตอ ไป ใหแ สดงความจํานงตอสาํ นักงานตามระเบยี บทเ่ี ลขาธิการ
กําหนดภายในหกเดอื นนับแตว นั สิ้นสุดความเปนผปู ระกนั ตน จาํ นวนเงนิ ทีใ่ ชเ ปนฐานในการ
คาํ นวณเงินสมทบทผี่ ูป ระกนั ตนตามวรรคหนึ่ง ตองสง เขากองทุนตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง
ใหเ ปนไปตามอัตราทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง ทง้ั น้ี โดยใหคาํ นึงถึงความเหมาะสมกบั สภาพทาง
เศรษฐกิจในขณะนน้ั ดว ย
ใหผูประกันตนตามวรรคหนึ่งนําสงเงินสมทบเขากองทุนเดือนละคร้ังภายในวันท่ี
สิบหา ของเดอื นถดั ไป
ผูประกันตนตามวรรคหน่ึงซึ่งไมสงเงินสมทบหรือสงไมครบจํานวนภายในเวลาท่ี
กําหนดตามวรรคสาม ตองจายเงนิ เพ่มิ ในอตั รารอ ยละสองตอเดอื นของจาํ นวนเงินสมทบทย่ี งั มิได
นําสง หรอื ของจํานวนเงินสมทบท่ียังขาดอยนู ับแตว นั ถัดจากวนั ท่ีตอ งนาํ สงเงนิ สมทบ สาํ หรบั เศษ
ของเดือนถาถงึ สบิ หา วนั หรอื กวานนั้ ใหนบั เปนหนึ่งเดือน ถานอ ยกวานน้ั ใหปดท้ิง
มาตรา ๔๐ บคุ คลอ่ืนใดซ่ึงมใิ ชลกู จา งตามมาตรา ๓๓ จะสมัครเขา เปน ผูป ระกันตน
ตามพระราชบัญญตั ินีก้ ไ็ ด โดยใหแ สดงความจาํ นงตอ สํานกั งาน
หลกั เกณฑแ ละอัตราการจายเงินสมทบ ประเภทของประโยชนทดแทนท่ีจะไดรับ
ตามมาตรา ๕๔ ตลอดจนหลกั เกณฑแ ละเงือ่ นไขแหงสิทธใิ นการรับประโยชนทดแทนใหตราเปน
พระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๔๑(๑) ความเปนผปู ระกันตนตามมาตรา ๓๙ สิน้ สุดลงเม่ือผูประกนั ตนนนั้
(๑) ตาย
(๒) ไดเ ปน ผูป ระกนั ตนตามมาตรา ๓๓ อกี
(๓) ลาออกจากความเปนผปู ระกันตนโดยการแสดงความจาํ นงตอ สํานักงาน
(๔) ไมส งเงินสมทบสามเดอื นติดตอกัน
(๕) ภายในระยะเวลาสิบสองเดือนสงเงนิ สมทบมาแลว ไมครบเกา เดอื น
การสนิ้ สุดความเปนผูประกันตนตาม (๔) สนิ้ สดุ ลงตง้ั แตเ ดือนแรกทไ่ี มส ง เงนิ สมทบ
และการสน้ิ สุดความเปนผปู ระกนั ตนตาม (๕) ส้นิ สดุ ลงในเดอื นทส่ี งเงนิ สมทบไมค รบเกา เดือน
ใหน าํ ความในมาตรา ๓๘ วรรคสองมาใชบ งั คบั แกผปู ระกนั ตนทส่ี น้ิ สดุ ความเปน
ผปู ระกันตนตาม (๓) (๔) และ (๕) โดยอนุโลม

๑๓๔

มาตรา ๔๒ เพื่อกอสิทธิแกผูประกันตนในการขอรับประโยชนทดแทนตาม
บทบัญญตั ิลกั ษณะ ๓ ใหนบั ระยะเวลาประกนั ตนตามมาตรา ๓๓ และหรอื มาตรา ๓๙ ทกุ ชว ง
เขาดวยกนั

มาตรา ๔๓ กจิ การใดทอ่ี ยูภายใตบ ังคับพระราชบัญญตั ิ แมว าภายหลังกจิ การนน้ั
จะมจี ํานวนลูกจา งลดลงเหลอื นอ ยกวาจาํ นวนที่กําหนดไวก ต็ าม ใหก ิจการดงั กลา วอยูภ ายใต
บังคบั พระราชบัญญตั ิน้ีตอ ไปจนกวา จะเลกิ กจิ การ และใหลูกจางทีเ่ หลอื อยเู ปน ผูประกันตนตอ ไป
ในกรณที ี่กจิ การนน้ั ไดรบั ลกู จางใหมเ ขาทํางาน ใหล ูกจางใหมน น้ั เปน ผูป ระกนั ตนตามพระราช
บญั ญัตินี้ดว ย แมว า จาํ นวนลูกจางรวมทั้งสิ้นจะไมถงึ จํานวนทก่ี ําหนดไวกต็ าม

มาตรา ๔๔(๒) ในกรณีท่ีขอเท็จจริงเก่ียวกับขอความในแบบรายการท่ีไดยื่นไวตอ
สาํ นกั งานเปล่ยี นแปลงไป ใหน ายจางแจงเปน หนงั สือตอสํานกั งาน ตามระเบยี บท่ีเลขาธกิ าร
กําหนด เพอื่ ขอเปลีย่ นแปลงหรอื แกไ ขเพ่ิมเติมรายการภายในวันทส่ี บิ หา ของเดอื นถดั จากเดอื นท่ี
มกี ารเปลย่ี นแปลงดงั กลาว

ใหน าํ ความในมาตรา ๓๗ มาใชบ ังคับแกกรณที ีน่ ายจา งไมป ฏิบัติตามมาตรานโ้ี ดย
อนโุ ลม

มาตรา ๔๕ ในกรณีท่ีหนังสือสําคัญแสดงการข้ึนทะเบียนประกันสังคมหรือบัตร
ประกันสงั คมสญู หาย ถูกทาํ ลาย หรอื ชํารดุ ในสาระสําคญั ใหน ายจา งหรือผปู ระกนั ตนยื่น
คําขอรับใบแทนหนังสือสําคัญแสดงการข้ึนทะเบียนประกันสังคมหรือใบแทนบัตรประกันสังคม
แลวแตก รณีตอ สํานกั งานภายในสิบหาวันนบั แตวนั ทีไ่ ดท ราบถงึ การสญู หาย ถูกทาํ ลายหรือชาํ รุด
ดงั กลาว ทั้งนีต้ ามระเบียบท่เี ลขาธิการกาํ หนด

หมวด ๒
เงนิ สมทบ
––––––––
มาตรา ๔๖ ใหรัฐบาล นายจางและผูประกนั ตนตามมาตรา ๓๓ ออกเงินสมทบ
เขากองทุนฝายละเทากันตามอัตราท่ีกําหนดในกฎกระทรวงแตตองไมเกินอัตราเงินสมทบทาย
พระราชบญั ญตั นิ ี้
สาํ หรับการประกันตนตามมาตรา ๓๙ ใหรัฐบาลและผปู ระกันตน ออกเงินสมทบ
เขา กองทนุ โดยรัฐบาลออกหน่ึงเทาและผูป ระกนั ตนออกสองเทาของอตั ราเงนิ สมทบที่แตล ะฝาย
ตองออกตามท่กี ําหนดในวรรคหน่ึง
การกําหนดอัตราเงนิ สมทบตามวรรคหนงึ่ ใหก ําหนดโดยคํานึงถงึ ประโยชนท ดแทน
และคาใชจา ยในการบรหิ ารงานของสาํ นักงานตามมาตรา ๒๔

๑๓๕

(๑)คาจางข้ันตํ่าและขั้นสูงที่ใชเปนฐานในการคํานวณเงินสมทบของผูประกันตน
ตามมาตรา ๓๓ แตละคน ใหเปน ไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงในการคาํ นวณเงนิ สมทบของ
ผปู ระกันตนแตละคน สาํ หรบั เศษของเงินสมทบทีม่ ีจาํ นวนตัง้ แตห า สบิ สตางคข ึน้ ไป ใหนับเปน
หน่ึงบาท ถานอยกวา นัน้ ใหป ด ทิ้งในกรณที ผี่ ปู ระกันตนทํางานกับนายจา งหลายรายใหคํานวณ
เงินสมทบจากคา จา งท่ไี ดร บั จากนายจางแตละราย

มาตรา ๔๗(๒) ทุกครั้งท่ีมีการจา ยคาจาง ใหน ายจางหกั คา จา งของผูป ระกนั ตนตาม
จํานวนทตี่ องนําสงเปน เงนิ สมทบในสวนของผปู ระกันตนตามมาตรา ๔๖ และเมอ่ื นายจา งได
ดําเนนิ การดงั กลา วแลวใหถอื วา ผปู ระกนั ตน ไดจ า ยเงินสมทบแลว ตง้ั แตวนั ท่ีนายจางหกั คาจาง

ใหนายจางนําเงินสมทบในสวนของผูประกันตนท่ีไดหักไวตามวรรคหนึ่ง และ
เงนิ สมทบในสวนของนายจาง สงใหแกสํานกั งานภายในวันทีส่ บิ หา ของเดือน ถดั จากเดอื นท่มี ีการ
หกั เงนิ สมทบไว พรอมท้งั ยนื่ รายการแสดงการสงเงนิ สมทบ ตามแบบท่ีเลขาธกิ ารกาํ หนด

ถานายจางไมจายคาจางตามกําหนดเวลาที่ตองจาย ใหนายจางมีหนาท่ีนําสง
เงนิ สมทบตามท่ีบัญญตั ไิ วใ นวรรคสอง โดยถือเสมือนวามกี ารจา ยคา จางแลว

ในกรณีที่นายจางนําเงินสมทบในสวนของผูประกันตนหรือเงินสมทบในสวนของ
นายจา งสงใหแกสาํ นกั งานเกินจํานวนที่ตองชําระ ใหนายจา งหรอื ผูประกันตนยื่นคาํ รอ งขอรบั เงิน
ในสวนท่เี กนิ คืนไดต ามระเบยี บทีเ่ ลขาธิการกําหนด ถานายจา งหรอื ผูประกันตนมไิ ดเรียกเอาเงิน
ดังกลาวคืนภายในหนึ่งปน ับแตว ันท่นี ําสงเงนิ สมทบ หรือไมม ารับเงินคืนภายในหนงึ่ ปน ับแตว ันท่ี
ไดร บั แจงใหม ารับเงิน ใหเงินนนั้ ตกเปนของกองทุน

มาตรา ๔๗ ทวิ(๓) ในกรณีทนี่ ายจา งไมนําสงเงนิ สมทบหรอื นาํ สงไมครบตามกําหนด
เวลาในมาตรา ๔๗ วรรคสอง ใหพ นักงานเจาหนาท่มี ีคําเตอื นเปน หนงั สือใหนายจางนาํ เงนิ สมทบ
ทค่ี างชาํ ระและเงนิ เพ่ิมมาชําระภายในกาํ หนด ไมน อ ยกวาสามสบิ วนั นับแตวนั ทีไ่ ดรับหนงั สอื น้นั
ถา นายจา งไดร บั คาํ เตอื นดงั กลา วแลว แตย งั ไมน าํ เงนิ สมทบทค่ี า งชาํ ระและเงนิ เพม่ิ มาชาํ ระภายใน
กําหนด ใหพนักงานเจา หนา ทม่ี ีอํานาจประเมินเงนิ สมทบและแจง เปนหนงั สือใหนายจา งนําสง ได
ดงั น้ี

(๑) ถานายจางเคยนาํ สง เงนิ สมทบมาแลว ใหถือวา จาํ นวนเงนิ สมทบท่นี ายจางมี
หนาท่ีนําสงในเดือนตอมาแตละเดือนมีจํานวนเทากับจํานวนเงินสมทบในเดือนที่นายจางไดนํา
สง แลวเดอื นสุดทา ยเต็มเดอื น

(๒) ถานายจางซึ่งมีหนาท่ีตามพระราชบัญญัติน้ีแตไมย่ืนแบบรายการตาม
มาตรา ๓๔ หรอื ยื่นแบบรายการตามมาตรา ๓๔ แลว แตไมเ คยนาํ สงเงนิ สมทบ หรอื ยืน่ แบบ
รายการตามมาตรา ๓๔ โดยแจงจํานวนและรายชื่อลูกจางนอยกวาจํานวนลูกจางท่ีมีอยูจริง
ใหป ระเมินเงินสมทบจากแบบรายการที่นายจา งเคยยื่นไว หรือจากจาํ นวนลูกจา งทพ่ี นกั งาน
เจาหนาท่ีตรวจสอบ แลวแตก รณี โดยถอื วา ลูกจางแตละคนไดร ับคา จางเปน รายเดือนในอตั ราท่ี

๑๓๖

ไดเ คยมกี ารย่ืนแบบรายการไว แตถ าไมเ คยมีการย่นื แบบรายการหรอื ยน่ื แบบรายการไมค รบถวน
ใหถือวาลูกจางแตละคนไดรับคาจางรายเดือนไมนอยกวาอัตราคาจางข้ันต่ํารายวันตามกฎหมาย
วา ดว ยการคมุ ครองแรงงานท่ีใชบังคับอยูในทอ งท่นี ้นั คณู ดวยสามสบิ

ในกรณีท่ีมีการพิสูจนไดภายในสองปนับแตวันท่ีมีการแจงการประเมินเงินสมทบ
ตามวรรคหนึ่งวาจํานวนเงินสมทบที่แทจริงที่นายจางมีหนาที่ตองนําสงมีจํานวนมากกวาหรือนอย
กวา จาํ นวนเงนิ สมทบทีพ่ นักงานเจา หนา ทป่ี ระเมินไว ตาม (๑) หรือ (๒) ใหส ํานักงานมหี นังสอื แจง
ผลการพิสูจนใ หน ายจางทราบ ภายในสามสิบวนั นบั แตวนั ทีท่ ราบผลการพิสูจน เพ่ือใหนายจา ง
นาํ สงเงนิ สมทบเพ่มิ เติมภายในสามสิบวนั นับแตว นั ทีไ่ ดร ับแจง หรอื ย่นื คําขอตอสาํ นกั งานเพอื่ ขอ
ใหค นื เงินสมทบ ถานายจางไมม ารบั เงนิ ดังกลาวคนื ภายในหนง่ึ ปนบั แตวันที่ทราบผลการพิสจู น
ใหเงนิ นั้นตกเปน ของกองทุน

การนําสงคาํ เตือน การแจง จํานวนเงนิ สมทบท่ปี ระเมินได และการแจงผลการพสิ จู น
ใหน าํ ความในมาตรา ๓๐ มาใชบังคบั โดยอนุโลม

มาตรา ๔๘ ในกรณที ่ีผปู ระกันตนทํางานกบั นายจางหลายราย ใหน ายจางทุกรายมี
หนา ทปี่ ฏบิ ัตติ ามมาตรา ๔๖ และมาตรา ๔๗

มาตรา ๔๙ นายจา งซง่ึ ไมน าํ สง เงนิ สมทบในสว นของตนหรอื ในสว นของผปู ระกนั ตน
หรือสงไมครบจํานวนภายในเวลาทก่ี าํ หนดตามมาตรา ๔๗ ตองจา ยเงินเพม่ิ ในอตั รารอยละสอง
ตอเดือนของจํานวนเงินสมทบท่ีนายจางยังมิไดนําสง หรือของจํานวนเงินสมทบที่ยังขาดอยู
นบั แตว ันถัดจากวนั ท่ตี องนําสง เงินสมทบ สําหรบั เศษของเดือนถา ถงึ สิบหา วนั หรือกวานัน้ ใหนบั
เปนหน่งึ เดือน ถานอ ยกวานนั้ ใหป ดท้ิง

ในกรณีทนี่ ายจางมิไดหักคาจางของผปู ระกนั ตน เพ่ือสงเปน เงินสมทบหรอื หักไวแ ลว
แตยงั ไมค รบจาํ นวนตามมาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง ใหนายจางรบั ผิดใชเงนิ ท่ีตอ งสงเปน เงินสมทบใน
สวนของผูประกนั ตนเตม็ จาํ นวน และตองจายเงนิ เพิ่มในเงนิ จํานวนน้ตี ามวรรคหน่ึงนบั แตวนั ถดั
จากวันท่ีตอ งนําสงเงนิ สมทบ และในกรณเี ชน วาน้สี ทิ ธทิ ีผ่ ูประกนั ตนพงึ ไดรับคงมีเสมือนหนงึ่ วา
ผปู ระกนั ตนไดส ง เงินสมทบแลว

มาตรา ๕๐ เลขาธิการมีอาํ นาจออกคําสง่ั เปนหนงั สอื ใหย ดึ อายดั และขายทอด
ตลาดทรัพยสินของนายจา งซงึ่ ไมนําสง เงนิ สมทบและ หรือเงนิ เพ่มิ หรือนาํ สง ไมค รบจํานวนตาม
มาตรา ๔๙ ทัง้ น้ี เพียงเทา ท่ีจําเปน เพ่ือใหไ ดร บั เงนิ ทีค่ า งชาํ ระ

การมีคาํ ส่ังใหย ึด อายัด หรอื ขายทอดตลาดทรัพยส ินตามวรรคหนึ่ง จะกระทาํ ได
ตอเม่ือไดสงคําเตือนเปนหนังสือใหนายจางนําเงินสมทบและหรือเงินเพ่ิมท่ีคางมาชําระภายใน
กําหนดไมนอยกวาสามสิบวนั นับแตว นั ทไ่ี ดรบั หนงั สือน้ันและนายจางไมชําระภายในกาํ หนด

หลกั เกณฑและวธิ ีการยึด อายดั และขายทอดตลาดทรพั ยสินตามวรรคหนง่ึ ให
เปนไปตามระเบยี บทรี่ ฐั มนตรีกาํ หนด ท้งั น้ี ใหนาํ หลักเกณฑแ ละวิธีการตามประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความแพง มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

๑๓๗

เงินท่ีไดจ ากการขายทอดตลาดดงั กลาวใหห ักไวเปน คา ใชจายในการยึด อายดั และ
ขายทอดตลาด และชาํ ระเงินสมทบและเงนิ เพมิ่ ท่คี า งชําระ ถามเี งินเหลือใหค นื แกนายจา งโดยเรว็
ถานายจางมิไดเ รยี กเอาเงินทเี่ หลือคืนภายในหาปใ หต กเปน ของกองทนุ

มาตรา ๕๑ หนี้ท่ีเกิดจากการไมชําระเงินสมทบและหรือเงินเพิ่มใหสํานักงาน
มีบุริมสิทธิเหนือทรัพยสินท้ังหมดของนายจางซ่ึงเปนลูกหนี้ในลําดับเดียวกับบุริมสิทธิในมูลคา
ภาษอี ากรตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย

มาตรา ๕๒ ในกรณีทีน่ ายจา งเปน ผูร บั เหมาชวง ใหผ รู บั เหมาชวงถัดข้ึนไปหากมี
ตลอดสายจนถึงผูรับเหมาช้ันตนรวมรับผิดกับผูรับเหมาชวงซึ่งเปนนายจางในเงินสมทบซ่ึง
นายจางมหี นาที่ตอ งจา ยตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๕๓(๑) ใหน ําบทบัญญัติมาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ และมาตรา ๕๑ มาใชบงั คับ
โดยอนุโลมแกผ ูรบั เหมาชว งตามมาตรา ๕๒ ซ่งึ ไมน าํ สง เงินสมทบ หรือสง ไมครบจํานวนภายใน
เวลาท่ีกาํ หนด

ลกั ษณะ ๓
ประโยชนทดแทน

––––––––
หมวด ๑
ทวั่ ไป
––––––––
มาตรา ๕๔ ผูประกนั ตนหรอื บคุ คลตามมาตรา ๗๓ มีสิทธไิ ดรบั ประโยชนท ดแทน
จากกองทนุ ดังตอไปนี้
(๑) ประโยชนท ดแทนในกรณปี ระสบอันตรายหรือเจบ็ ปวย
(๒) ประโยชนทดแทนในกรณีคลอดบุตร
(๓) ประโยชนทดแทนในกรณที ุพพลภาพ
(๔) ประโยชนทดแทนในกรณีตาย
(๕) ประโยชนทดแทนในกรณีสงเคราะหบ ุตร
(๖) ประโยชนทดแทนในกรณชี ราภาพ
(๗) ประโยชนท ดแทนในกรณวี างงาน ยกเวนผูประกนั ตนตามมาตรา ๓๙
มาตรา ๕๕ ในกรณีที่นายจางไดจดั สวัสดกิ ารเก่ียวกบั กรณปี ระสบอันตราย หรอื
เจบ็ ปว ย หรอื กรณีทพุ พลภาพ หรือกรณีตายอันมใิ ชเนอ่ื งจากการทาํ งาน หรอื กรณีคลอดบุตร
หรือกรณสี งเคราะหบุตร หรือกรณีชราภาพ หรือกรณวี างงาน กอ นวันท่ีพระราชบญั ญัตนิ ้ใี ชบ งั คบั
ใหแ กลกู จางซึ่งเปน ผปู ระกนั ตน ตามมาตรา ๓๓ ท่เี ขาทํางานกอนวันท่พี ระราชบญั ญตั นิ ีใ้ ชบังคับ
ถาสวัสดิการนั้นมีกรณีใดที่จายในอัตราสูงกวาประโยชนทดแทนตามพระราชบัญญัติน้ี ให
นายจางนั้นนาํ ระเบียบขอบงั คบั เกยี่ วกบั การทํางาน สญั ญาจา งแรงงานหรอื ขอตกลงเก่ียวกับ

๑๓๘

สภาพการจา ง ซง่ึ กําหนดสวสั ดิการท่วี า น้นั มาแสดงตอคณะกรรมการเพือ่ ขอลดสวนอัตราเงนิ
สมทบในประเภทประโยชนท ดแทนทน่ี ายจา งไดจ ดั สวสั ดกิ ารใหแ ลว จากอตั ราเงนิ สมทบทผ่ี ปู ระกนั ตน
และนายจา งนนั้ ตองจา ยเขา กองทนุ ตามมาตรา ๔๖ และใหน ายจางใชอัตราเงินสมทบในสว น
ทเ่ี หลอื ภายหลงั คดิ สว นลดดงั กลา วแลว มาคาํ นวณเงนิ สมทบในสว นของผปู ระกนั ตน และเงนิ สมทบ
ในสว นของนายจางที่ยังมีหนาทตี่ อ งสงเขา กองทุนเพ่อื การจายประโยชนทดแทนในสวนอื่นตอ ไป

การขอลดสว นอัตราเงนิ สมทบและการพจิ ารณาหกั สว นลดอัตราเงนิ สมทบ ตาม
วรรคหนึง่ ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ วิธกี าร และเง่อื นไขท่คี ณะกรรมการกําหนด

มาตรา ๕๖(๑) ผปู ระกนั ตนหรือบุคคลอืน่ ใดเหน็ วาตนมีสทิ ธไิ ดร ับประโยชน ทดแทน
ในกรณใี ดตามทบี่ ัญญตั ิไวในมาตรา ๕๔ และประสงคจะขอรับประโยชนท ดแทนนนั้ ใหยน่ื คาํ ขอ
รบั ประโยชนทดแทนตอ สํานกั งานตามระเบียบทเี่ ลขาธิการกําหนด ภายในหน่งึ ปนับแตว ันท่มี ี
สทิ ธขิ อรับประโยชนท ดแทนนน้ั และใหเ ลขาธิการหรือผูซึ่งเลขาธิการมอบหมายพจิ ารณาสง่ั การ
โดยเรว็

ประโยชนท ดแทนตามวรรคหน่งึ ท่เี ปน ตัวเงนิ ถา ผูประกันตนหรอื บคุ คลซึ่งมสี ิทธิไม
มารับภายในสองปน ับแตว ันท่ไี ดรบั แจง จากสํานักงาน ใหเ งินนั้นตกเปนของกองทนุ

มาตรา ๕๗(๒) การคํานวณคาจางรายวันในการจายเงินทดแทนการขาดรายไดให
แกผ ปู ระกนั ตนตามมาตรา ๓๓ ใหค ํานวณโดยนาํ คาจา งสามเดอื นแรกของคาจางท่ใี ชเปน ฐาน
ในการคํานวณเงนิ สมทบทนี่ ายจา งนาํ สง สํานักงานแลว ยอ นหลงั เกาเดือน หารดวยเกา สิบ แต
ถาผูประกันตนมีหลักฐานพิสูจนไดวาถานําคาจางของสามเดือนอื่นในระยะเวลาเกาเดือนนั้นมา
คํานวณแลว จะมีจํานวนสงู กวา ก็ใหนําคาจางสามเดือนนนั้ หารดวยเกาสิบ หรอื ในกรณีทผ่ี ปู ระกนั
ตนยงั สงเงินสมทบไมค รบเกาเดือน ใหน ําคา จางสามเดือนสดุ ทาย ท่ีใชเ ปนฐานในการคาํ นวณเงิน
สมทบท่ีนายจางไดนําสงสาํ นกั งานแลวหารดวยเกาสิบเปน เกณฑคาํ นวณ

สาํ หรบั การคาํ นวณคา จา งรายวนั ในการจา ยเงนิ ทดแทนการขาดรายไดใ หแ กผ ปู ระกนั ตน
ตามมาตรา ๓๙ นน้ั ใหค าํ นวณโดยเฉลย่ี จากจาํ นวนเงนิ ทใ่ี ชเ ปน หลกั ฐานในการคาํ นวณเงนิ สมทบ
ตามมาตรา ๓๙ วรรคสอง

มาตรา ๕๘ การรับประโยชนทดแทนตามพระราชบัญญัตินี้ในกรณีที่เปนบริการ
ทางการแพทย ผปู ระกนั ตนหรอื คูส มรสของผูประกันตนจะตองรบั บริการทางการแพทยจากสถาน
พยาบาลตามมาตรา ๕๙

รายละเอียดและเงื่อนไขเก่ียวกับบริการทางการแพทยที่ผูประกันตนหรือคูสมรส
ของผูป ระกันตนจะไดร บั ใหเปนไปตามระเบยี บทเี่ ลขาธิการกําหนดโดยความเห็นชอบของคณะ
กรรมการ

มาตรา ๕๙ ใหเลขาธิการประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดเขตทองที่และชื่อ
สถานพยาบาลที่ผูป ระกันตนหรือคสู มรสของผูประกนั ตนมีสทิ ธไิ ปรบั บริการทางการแพทยได

๑๓๙

ผปู ระกนั ตนหรอื คสู มรสของผปู ระกนั ตนซง่ึ มสี ทิ ธไิ ดร บั บรกิ ารทางการแพทย ถา ทาํ งาน
หรือมีภูมิลําเนาอยูในเขตทองท่ีใดใหไปรับบริการทางการแพทยจากสถานพยาบาลตามวรรคหน่ึง
ที่อยใู นเขตทองทีน่ ้นั เวน แตใ นกรณที ใ่ี นเขตทองทนี่ ้นั ไมม สี ถานพยาบาลตามวรรคหนงึ่ หรือมีแต
ผูประกันตนหรือคูสมรสของผูประกันตนมีเหตุผลสมควรที่ไมสามารถไปรับบริการทางการแพทย
จากสถานพยาบาลดงั กลาวได ก็ใหไปรับบริการทางการแพทยจ ากสถานพยาบาล ตามวรรคหนึง่
ทอ่ี ยูในเขตทอ งทีอ่ น่ื ได

ในกรณีที่ผูประกันตนหรือคูสมรสของผูประกันตนไปรับบริการทางการแพทย
จากสถานพยาบาลอนื่ นอกจากทีก่ าํ หนดไวในวรรคสอง ใหผ ูประกนั ตนมสี ทิ ธไิ ดร ับเงินทดแทน
คาบริการทางการแพทยท่ีตองจายใหแกสถานพยาบาลอ่ืนนั้นตามจํานวนท่ีสํานักงานกําหนด
โดยคํานึงถงึ สภาพของการประสบอันตราย หรอื เจบ็ ปวย การคลอดบุตร สภาพทางเศรษฐกจิ ของ
แตละเขตทอ งท่ี และลกั ษณะของการบรกิ ารทางการแพทยทไ่ี ดร ับ ท้งั น้ี จะตองไมเ กินอัตราท่ี
คณะกรรมการการแพทยก ําหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ

มาตรา ๖๐ ในกรณที ผ่ี ปู ระกนั ตนหรอื คสู มรสของผปู ระกนั ตนไปรบั บรกิ ารทางการแพทย
จากสถานพยาบาลแลว ละเลยหรือไมปฏบิ ัติตามคาํ แนะนาํ หรือคําสัง่ ของแพทยโดยไมม ีเหตุผล
อันสมควร เลขาธกิ ารหรือผซู ง่ึ เลขาธกิ าร มอบหมายจะส่ังลดประโยชนทดแทนกไ็ ด ท้งั น้ี โดย
ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการแพทย

มาตรา ๖๑(๑) ผูป ระกันตนหรือบุคคลตามมาตรา ๓๘ วรรคสอง มาตรา ๗๓ หรอื
มาตรา ๗๓ ทวิ ไมมีสิทธไิ ดร บั ประโยชนท ดแทนเม่อื ปรากฏวา การประสบอนั ตราย หรอื เจ็บปว ย
หรือการทพุ พลภาพ หรอื การตายนั้นเกดิ ขึ้นเพราะเหตทุ บี่ คุ คลดังกลาวจงใจกอใหเกิดขน้ึ หรือ
ยินยอมใหผ ูอนื่ กอ ใหเกดิ ขึน้

มาตรา ๖๑ ทว(ิ ๒) ในกรณีทีผ่ ูประกันตนมีสทิ ธิไดรับเงนิ ทดแทนการขาดรายไดตาม
มาตรา ๖๔ และมาตรา ๗๑ หรือเงนิ สงเคราะหก ารหยดุ งานเพอ่ื การคลอดบุตรตามมาตรา ๖๗
ในเวลาเดยี วกัน ใหม สี ทิ ธิขอรับเงินทดแทนการขาดรายไดห รือเงนิ สงเคราะหก ารหยดุ งานเพื่อการ
คลอดบุตรในประเภทใดประเภทหนงึ่ ไดเพียงประเภทเดียว โดยใหแสดงความจํานงตามแบบที่
เลขาธิการกําหนด

หมวด ๒
ประโยชนทดแทนในกรณีประสบอนั ตรายหรือเจ็บปวย

––––––––
มาตรา ๖๒(๓) ผูป ระกันตนมสี ทิ ธิไดร บั ประโยชนท ดแทนในกรณปี ระสบอันตราย
หรอื เจ็บปว ย อนั มิใชเ นอ่ื งจากการทาํ งาน ตอ เมือ่ ภายในระยะเวลาสิบหา เดือนกอนวนั รับบรกิ าร
ทางการแพทย ผูประกนั ตนไดจ า ยเงนิ สมทบมาแลวไมนอยกวา สามเดือน

๑๔๐

มาตรา ๖๓ ประโยชนทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวยอันมิใชเนื่องจาก
การทํางาน ไดแ ก

(๑) คาตรวจวนิ ิจฉัยโรค
(๒) คาบาํ บัดทางการแพทย
(๓) คากนิ อยแู ละรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
(๔) คา ยาและคา เวชภณั ฑ
(๕) คารถพยาบาลหรอื คา พาหนะรับสง ผปู ว ย
(๖) คา บรกิ ารอนื่ ทีจ่ ําเปน
ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑแ ละอตั ราทค่ี ณะกรรมการการแพทยก าํ หนด โดยความเหน็ ชอบ
ของคณะกรรมการ
ผปู ระกันตนท่ีตอ งหยุดงานเพอ่ื การรกั ษาพยาบาลตามคําส่งั ของแพทย ใหไ ดร บั เงิน
ทดแทนการขาดรายไดต ามเกณฑทีก่ าํ หนดไวในมาตรา ๖๔ ดวย
มาตรา ๖๔ ในกรณีท่ีผูประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บปวยอันมิใชเน่ืองจากการ
ทาํ งาน ใหผ ปู ระกันตนมสี ิทธิไดร บั เงนิ ทดแทนการขาดรายไดใ นอัตรารอยละหา สิบของคาจาง
ตามมาตรา ๕๗ สาํ หรับการที่ผปู ระกันตนตองหยุดงานเพ่ือการรักษาพยาบาลตามคาํ ส่ังของ
แพทยคร้งั หนง่ึ ไมเ กนิ เกา สิบวัน และในระยะเวลาหนึง่ ปป ฏทิ นิ ตองไมเ กินหนง่ึ รอยแปดสบิ วนั
เวนแตก ารเจ็บปว ยดวยโรคเรือ้ รังตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง กใ็ หม ีสิทธิไดรับเงินทดแทนการ
ขาดรายไดเ กนิ หนึ่งรอยแปดสิบวันแตไมเกินสามรอ ยหกสิบหาวัน
ระยะเวลาไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดใหเริ่มนับแตวันแรกท่ีตองหยุดงานตาม
คําสัง่ ของแพทยจ นถึงวนั สุดทา ยท่ีแพทยกาํ หนดใหหยดุ งาน หรือจนถึงวันสุดทา ยทห่ี ยดุ งาน
ในกรณผี ปู ระกนั ตนกลบั เขาทาํ งานกอ นครบกําหนดเวลา ตามคาํ สั่งของแพทยแ ตไมเ กินระยะ
เวลาทก่ี ําหนดในวรรคหนึ่ง
ในกรณีท่ีผูประกันตนมีสิทธิไดรับคาจางจากนายจางในระหวางหยุดงานเพื่อการ
รกั ษาพยาบาลตามกฎหมายวา ดว ยการคมุ ครองแรงงาน หรอื มสี ทิ ธติ ามระเบยี บขอ บงั คบั เกย่ี วกบั
การทาํ งาน สญั ญาจา งแรงงาน หรือขอ ตกลงเกยี่ วกบั สภาพการจา ง แลวแตกรณี ผปู ระกนั ตนไมม ี
สิทธไิ ดร บั เงนิ ทดแทนตามวรรคหน่ึงจนกวา สิทธไิ ดรับเงนิ คาจางนน้ั ไดส ิ้นสุดลงจึงจะมีสิทธไิ ดรบั
เงินทดแทนดังกลาวเทาระยะเวลาทค่ี งเหลอื และถา เงนิ คา จา งทีไ่ ดร ับจากนายจา งในกรณใี ดนอ ย
กวาเงินทดแทนการขาดรายไดจากกองทนุ ผูป ระกนั ตนมีสิทธิไดร บั เงินทดแทนจากกองทุนในสว น
ที่ขาดดวย

๑๔๑

หมวด ๓
ประโยชนท ดแทนในกรณีคลอดบุตร

––––––––
มาตรา ๖๕(๑) ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีคลอดบุตรสําหรับ
ตนเองหรอื ภรยิ า หรอื สําหรบั หญิงซึ่งอยกู นิ ดว ยกนั ฉนั สามภี ริยากับผูประกนั ตน โดยเปด เผยตาม
ระเบียบทเ่ี ลขาธิการกําหนด ถา ผูประกนั ตนไมมีภรยิ า ท้ังน้ี ตอเม่ือภายในระยะเวลาสิบหาเดอื น
กอ นวันรบั บริการทางการแพทย ผูประกันตนไดจ า ยเงินสมทบมาแลวไมนอ ยกวา เจด็ เดือน
ประโยชนท ดแทนในกรณคี ลอดบตุ ร ใหผ ปู ระกันตนแตล ะคนมีสทิ ธิไดรับสาํ หรบั การ
คลอดบตุ รไมเกนิ สองคร้งั
มาตรา ๖๖ ประโยชนทดแทนในกรณคี ลอดบุตร ไดแก
(๑) คาตรวจและรับฝากครรภ
(๒) คา บาํ บัดทางการแพทย
(๓) คายาและคาเวชภัณฑ
(๔) คา ทาํ คลอด
(๕) คากินอยแู ละรกั ษาพยาบาลในสถานพยาบาล
(๖) คา บริบาลและคา รักษาพยาบาลทารกแรกเกิด
(๗) คารถพยาบาลหรอื คาพาหนะรบั สง ผูปว ย
(๘) คาบรกิ ารอน่ื ท่จี ําเปน
ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑแ ละอัตราที่คณะกรรมการการแพทยกําหนดโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการ
(๒)ผปู ระกนั ตนซง่ึ ตอ งหยดุ งานเพอ่ื การคลอดบตุ ร ใหไ ดร บั เงนิ สงเคราะหก ารหยดุ งาน
เพ่อื การคลอดบตุ รตามเกณฑทก่ี ําหนดไวในมาตรา ๖๗ ดว ย
มาตรา ๖๗(๓) ในกรณีท่ีผูป ระกนั ตนตอ งหยดุ งานเพอื่ การคลอดบุตร ใหผูประกันตน
มีสทิ ธไิ ดร ับเงนิ สงเคราะหการหยดุ งานเพ่ือการคลอดบตุ รไมเ กนิ สองครง้ั เปนการเหมาจายใน
อตั ราครงั้ ละรอ ยละหาสบิ ของคา จางตามมาตรา ๕๗ เปนเวลาเกาสบิ วัน
มาตรา ๖๘ ในกรณีที่ผูประกันตนหรือคูสมรสของผูประกันตน ไมสามารถรับ
ประโยชนทดแทนตามมาตรา ๖๖ ได เนอื่ งจากผปู ระกันตนหรอื คูส มรสของผปู ระกันตนไมไ ด
คลอดบุตรในสถานพยาบาลตามมาตรา ๕๙ ใหผ ปู ระกนั ตนไดร ับประโยชนท ดแทนการคลอดบุตร
ตามหลักเกณฑแ ละอัตราทีค่ ณะกรรมการการแพทยกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ

๑๔๒

หมวด ๔
ประโยชนทดแทนในกรณีทพุ พลภาพ

––––––––
มาตรา ๖๙(๑) ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีทุพพลภาพอันมิใช
เนือ่ งจากการทาํ งาน ตอ เมือ่ ภายในระยะเวลาสบิ หาเดือนกอ นทุพพลภาพ ผปู ระกนั ตนไดจายเงิน
สมทบมาแลวไมนอ ยกวา สามเดอื น
มาตรา ๗๐ ประโยชนทดแทนในกรณที ุพพลภาพ ไดแก
(๑) คาตรวจวินจิ ฉยั โรค
(๒) คาบาํ บดั ทางการแพทย
(๓) คา ยาและคาเวชภัณฑ
(๔) คา กนิ อยูแ ละรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
(๕) คา รถพยาบาลหรือคาพาหนะรบั สงผทู พุ พลภาพ
(๖) คา ฟน ฟูสมรรถภาพทางรางกาย จติ ใจและอาชีพ
(๗) คาบรกิ ารอืน่ ที่จําเปน
ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑและอตั ราทค่ี ณะกรรมการการแพทยกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบ
ของคณะกรรมการ
มาตรา ๗๑(๒) ในกรณที ผ่ี ปู ระกนั ตนทพุ พลภาพอนั มใิ ชเ นอ่ื งจากการทาํ งาน ใหม สี ทิ ธิ
ไดรับเงนิ ทดแทนการขาดรายไดใ นอัตรารอ ยละหา สิบของคาจาง ตามมาตรา ๕๗ ตลอดชีวิต
มาตรา ๗๒ ในกรณีท่ีคณะกรรมการการแพทยวินิจฉัยวาการทุพพลภาพของ
ผูประกันตนไดรับการฟนฟูตามมาตรา ๗๐(๖) จนมีสภาพดีข้ึนแลว ใหเลขาธิการหรือผูซึ่ง
เลขาธิการมอบหมายพจิ ารณาสัง่ ลดเงินทดแทนการขาดรายได เน่ืองจากการทพุ พลภาพไดต าม
หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการการแพทยก ําหนด โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ
(๓)ในกรณีที่ไดมีการลดเงินทดแทนการขาดรายไดตามวรรคหน่ึงไปแลวตอมาใน
ภายหลังปรากฏวา เหตุทพุ พลภาพน้ันมสี ภาพเสื่อมลง ถา คณะกรรมการ การแพทยวินิจฉยั วาการ
ทพุ พลภาพนน้ั เสอ่ื มลงไปจากทเ่ี คยวนิ จิ ฉยั ไวต ามวรรคหนง่ึ ใหเ ลขาธกิ ารพจิ ารณาเพม่ิ เงนิ ทดแทน
การขาดรายไดน ั้นได

หมวด ๕
ประโยชนท ดแทนในกรณตี าย

––––––––
มาตรา ๗๓(๑) ในกรณที ผ่ี ปู ระกนั ตนถึงแกค วามตายโดยมิใชป ระสบอันตราย หรอื
เจ็บปวยเนอื่ งจากการทํางาน ถา ภายในระยะเวลาหกเดือนกอ นถงึ แกค วามตายผูป ระกันตนได
จายเงินสมทบมาแลวไมนอยกวา หนึง่ เดอื น ใหจา ยประโยชนทดแทนในกรณตี าย ดังน้ี

๑๔๓

(๑) เงนิ คาทาํ ศพตามอตั ราที่กําหนดในกฎกระทรวง แตตอ งไมนอยกวา หน่ึงรอ ยเทา
ของอตั ราสงู สุดของคาจางข้นั ต่าํ รายวันตามกฎหมายวา ดว ยการคมุ ครองแรงงาน ใหจายใหแ ก
บคุ คลตามลาํ ดับ ดังนี้

(ก) บคุ คลซง่ึ ผปู ระกนั ตนทาํ หนงั สอื ระบใุ หเ ปน ผจู ดั การศพและไดเ ปน ผจู ดั การศพ
ผปู ระกนั ตน

(ข) สามภี รยิ า บิดามารดา หรอื บุตรของผูประกันตนซึ่งมหี ลกั ฐานแสดงวา เปน
ผูจ ัดการศพผปู ระกันตน

(ค) บคุ คลอน่ื ซง่ึ มหี ลกั ฐานแสดงวาเปนผูจัดการศพผูป ระกันตน
(๒) เงนิ สงเคราะหก รณที ผ่ี ปู ระกนั ตนถงึ แกค วามตาย ใหจ า ยแกบ คุ คลซง่ึ ผปู ระกนั ตน
ทาํ หนังสือระบใุ หเ ปน ผมู ีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหนัน้ แตถ า ผูประกนั ตนมไิ ดม หี นังสอื ระบไุ วก็ให
นํามาเฉล่ยี จายใหแกสามีภริยา บิดามารดา หรอื บตุ รของผปู ระกนั ตนในจาํ นวนที่เทา กัน ดงั นี้

(ก) ถา กอ นถงึ แกค วามตายผปู ระกนั ตนไดส ง เงนิ สมทบมาแลว ตง้ั แตส ามสบิ หก
เดอื นขึ้นไป แตไ มถ งึ สิบป ใหจ า ยเงินสงเคราะหเ ปนจํานวนเทา กบั รอ ยละหาสบิ ของคา จางราย
เดือนท่คี ํานวณไดตามมาตรา ๕๗ คูณดวยสาม

(ข) ถา กอ นถงึ แกค วามตายผปู ระกนั ตนไดส ง เงนิ สมทบมาแลว ตง้ั แตส บิ ปข น้ึ ไป
ใหจายเงินสงเคราะหเปนจํานวนเทากับรอยละหาสิบของคาจางรายเดือนท่ีคํานวณไดตาม
มาตรา ๕๗ คณู ดวยสบิ

มาตรา ๗๓ ทวิ(๒) ในกรณีท่ีผูประกันตนที่ทุพพลภาพตามมาตรา ๗๑ ถึงแก
ความตาย ใหน ําความในมาตรา ๗๓ มาใชบ งั คบั โดยอนุโลม โดยใหนาํ เงิน ทดแทนการขาด
รายไดทีผ่ ปู ระกนั ตนไดร บั ในเดือนสุดทา ยกอนถึงแกค วามตายมาเปน เกณฑใ นการคํานวณ

ในกรณีท่ีผูประกันตนท่ีทุพพลภาพน้ันอยูในขายที่จะไดรับเงินคาทําศพและเงิน
สงเคราะหกรณีที่ผูประกันตนถึงแกความตายในฐานะที่เปนผูประกันตน และในฐานะท่ีเปน
ผูประกันตนท่ีทุพพลภาพตามวรรคหน่ึง ในเวลาเดียวกัน ใหมีสิทธิไดรับเงินคาทําศพและเงิน
สงเคราะหก รณที ่ผี ูประกนั ตนถงึ แกความตายตามมาตรา ๗๓ เพียงทางเดียว

หมวด ๖
ประโยชนท ดแทนในกรณีสงเคราะหบุตร

––––––––
มาตรา ๗๔ ผูป ระกนั ตนมสี ิทธิไดรบั ประโยชนทดแทนในกรณีสงเคราะหบ ตุ รตอเมือ่
ผูประกันตนไดจายเงินสมทบมาแลวไมนอยกวาหน่ึงปและไดรับสงเคราะหในจํานวนบุตรไมเกิน
สองคน
มาตรา ๗๕ ประโยชนทดแทนในกรณสี งเคราะหบุตร ไดแ ก

๑๔๔

(๑) คา สงเคราะหค วามเปน อยขู องบุตร
(๒) คา เลา เรียนบตุ ร
(๓) คา รกั ษาพยาบาลบตุ ร
(๔) คา สงเคราะหอ น่ื ท่จี ําเปน
ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑแ ละอัตราท่กี ําหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๗
ประโยชนท ดแทนในกรณีชราภาพ

––––––––
มาตรา ๗๖ ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีชราภาพตอเมื่อ
ผูประกันตนไดจายเงินสมทบมาแลวไมนอยกวาสิบหาปไมวาระยะเวลาสิบหาปนั้นจะติดตอกัน
หรือไมกต็ าม และผูประกนั ตนนน้ั ตองมีอายุครบหา สบิ หาปบริบรู ณข้นึ ไป
มาตรา ๗๗ ประโยชนทดแทนในกรณีชราภาพใหจายโดยคํานวณตามสวนแหง
จํานวนและระยะเวลาการสง เงนิ สมทบ ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑท ีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๘
ประโยชนทดแทนในกรณีวา งงาน

––––––––
มาตรา ๗๘ ลูกจางซึ่งเปนผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีวางงาน
ตอเม่ือผูประกันตนไดจายเงินสมทบมาแลวไมนอยกวาหกเดือนและตองอยูภายในระยะเวลา
สิบหา เดือนกอ นการวางงานและจะตอ งเปน ผูที่อยใู นเง่อื นไขดงั ตอ ไปนี้
(๑) เปน ผูมีความสามารถในการทาํ งาน พรอ มทจี่ ะทํางานที่เหมาะสมตามท่ีจัดหา
ใหหรือตองไมป ฏิเสธการฝกงานและไดข้นึ ทะเบยี นไวท ่ีสาํ นักจดั หางานของรฐั โดยตองไปรายงาน
ตวั ไมนอยกวา เดือนละหนงึ่ ครัง้
(๒) การท่ีผูประกันตนวางงานตองมิใชถูกเลิกจางเนื่องจากทุจริตตอหนาท่ีหรือ
กระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแกนายจาง หรอื จงใจทาํ ใหนายจางไดร ับความเสยี หายหรือ
ฝา ฝนขอบังคับ หรือระเบยี บเกี่ยวกับการทํางานหรือคาํ ส่ังอนั ชอบดว ยกฎหมายในกรณีรายแรง
หรอื ละทิง้ หนา ที่เปนเวลาเจด็ วันทาํ งานติดตอ กนั โดยไมมีเหตอุ ันสมควร หรือประมาทเลนิ เลอเปน
เหตใุ หน ายจางไดรบั ความเสียหายอยางรายแรง หรือไดร บั โทษจาํ คกุ ตามคําพพิ ากษาถึงทส่ี ดุ
ใหจําคุก เวน แตเปน โทษสาํ หรับความผดิ ท่ีไดกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(๓) ตองมิใชผูมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีชราภาพตามหมวด ๗
ในลกั ษณะน้ี

๑๔๕

มาตรา ๗๙ ใหผ ปู ระกนั ตนมสี ทิ ธไิ ดร บั ประโยชนท ดแทนการวา งงาน ตง้ั แตว นั ทแ่ี ปด
นบั แตว นั วางงานจากการทาํ งานกบั นายจา งรายสดุ ทาย ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑแ ละอัตราทก่ี าํ หนด
ในกฎกระทรวง

ลักษณะ ๔
พนักงานเจาหนาทแี่ ละการตรวจตราและควบคุม

––––––––
มาตรา ๘๐ ในการปฏิบตั กิ ารตามหนา ท่ี ใหพ นกั งานเจาหนา ทีม่ อี ํานาจดงั ตอ ไปนี้
(๑) เขาไปในสถานประกอบการหรอื สาํ นักงานของนายจาง สถานท่ีทํางานของ
ลกู จา งในระหวา งเวลาพระอาทติ ยข น้ึ ถงึ พระอาทติ ยต กหรอื ในระหวา งเวลาทาํ การ เพอ่ื ตรวจสอบ
หรอื สอบถามขอ เทจ็ จริง ตรวจสอบทรพั ยส ินหรือเอกสาร หลกั ฐานอน่ื ถายภาพ ถายสําเนา
เอกสารที่เกย่ี วกับการจางการจายคา จาง ทะเบียนลกู จาง การจายเงินสมทบ และเอกสารอ่ืนที่
เกี่ยวของหรอื นําเอกสารหลกั ฐานท่เี กยี่ วของไปตรวจสอบ หรอื กระทาํ การอยา งอ่นื ตามสมควร
เพอื่ ใหไดข อเทจ็ จรงิ ในอนั ท่จี ะปฏบิ ัตกิ ารใหเปนไปตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
(๒) คน สถานทห่ี รือยานพาหนะใดๆ ทม่ี ขี อสงสัยโดยมเี หตอุ นั ควรเชือ่ วามที รัพยส นิ
ของนายจา งซง่ึ ไมนําสง เงินสมทบและหรือเงินเพิ่ม หรือนําสง ไมครบจํานวน โดยใหกระทาํ ใน
ระหวางเวลาทําการหรือในระหวา งเวลาพระอาทิตยข ้ึนถึงพระอาทิตยตก เวนแตก ารคนในระหวา ง
เวลาดังกลา วยงั ไมแ ลว เสร็จจะกระทําตอ ไปก็ได
(๓) มหี นงั สอื สอบถามหรือเรียกบคุ คลใดมาใหถอ ยคาํ หรอื ใหสงเอกสารหลกั ฐานที่
เกย่ี วขอ ง หรอื สิ่งอื่นทจ่ี ําเปนมาเพื่อประกอบการพิจารณา ทง้ั น้ี ใหน าํ ความในมาตรา ๓๐ มาใช
บังคับโดยอนโุ ลม
(๔) ยึดหรืออายัดทรัพยสินของนายจางตามคําส่ังของเลขาธิการตามมาตรา ๕๐
ในกรณีท่ีนายจางไมน าํ สงเงนิ สมทบและหรือเงินเพ่ิม หรอื นาํ สง ไมครบจํานวน
ในการปฏิบัติตามวรรคหน่ึง พนักงานเจาหนาที่จะนําขาราชการหรือลูกจางใน
สาํ นกั งานไปชวยปฏิบตั ิงานดว ยกไ็ ด
มาตรา ๘๑ ในการปฏิบัติหนา ทขี่ องพนักงานเจาหนา ทีต่ ามมาตรา ๘๐ ใหบคุ คลซงึ่
เกี่ยวขอ งอาํ นวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา ๘๒ ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ี พนกั งานเจา หนาทต่ี องแสดงบัตรประจาํ ตัว
บตั รประจาํ ตัวพนักงานเจา หนาที่ ใหเ ปน ไปตามแบบทีร่ ฐั มนตรีกาํ หนด
มาตรา ๘๓ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทีต่ ามพระราชบญั ญตั ินี้ ใหพนกั งานเจาหนาทีเ่ ปน
เจาพนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา

๑๔๖


Click to View FlipBook Version