The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 1) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

มาตรา ๘๔ เพื่อประโยชนในการตรวจตราและควบคุมงานอันเก่ียวกับการประกัน
สงั คม ใหน ายจา งจดั ใหม ีทะเบยี นผูป ระกันตนและใหเ กบ็ รักษาไว ณ สถานท่ที าํ งานของนายจาง
พรอ มท่ีจะใหพนกั งานเจาหนาท่ตี รวจได

ทะเบยี นผูประกนั ตนตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามแบบท่เี ลขาธกิ ารกาํ หนด
มาตรา ๘๔ ทว(ิ ๑) กําหนดเวลาตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๕
มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๗ ทวิ และมาตรา ๕๖ ถา ผูม ีหนา ทีป่ ฏิบัตติ ามกาํ หนดเวลานัน้ มไิ ดอ ยูใ น
ประเทศหรือมีเหตุจําเปนจนไมสามารถจะปฏิบตั ติ ามกําหนดเวลานน้ั ได และไดย่ืนคํารองกอ น
สิ้นกําหนดเวลานั้นเพ่อื ขอขยาย หรือเล่ือนกาํ หนดเวลาโดยแสดงเหตุแหง ความจําเปน เม่อื
เลขาธกิ ารเหน็ เปน การสมควรจะขยาย หรือเลื่อนกาํ หนดเวลาออกไปไดตามความจาํ เปน แกก รณี
แตท ้งั นีต้ อ งไมเกนิ ไปกวา หน่งึ เทาของระยะเวลาตามทกี่ าํ หนดไวในมาตราน้ันๆ การขยายเวลา
ตามทีก่ าํ หนดไวในมาตรา ๓๙ หรอื มาตรา ๔๗ ไมเ ปนเหตุใหลดหรอื งดเงินเพ่ิม

ลักษณะ ๕
การอุทธรณ
––––––––
มาตรา ๘๕(๑) นายจาง ผปู ระกนั ตน หรือบคุ คลอืน่ ใด ซึง่ ไมพอใจในคาํ ส่งั ของ
เลขาธิการหรอื ของพนกั งานเจา หนาท่ีซ่งึ สัง่ การตามพระราชบัญญตั นิ ้ี เวนแตเ ปนคาํ สั่งตาม
มาตรา ๕๐ ใหมีสิทธอิ ุทธรณเปน หนังสือตอ คณะกรรมการอุทธรณไดภ ายในสามสิบวันนบั แตวนั ที่
ไดร ับแจง คําส่งั ดังกลาว
หลกั เกณฑแ ละวิธกี ารยื่นอทุ ธรณ ใหเปน ไปตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๘๖ ใหมีคณะกรรมการอุทธรณคณะหนึ่งซึ่งรัฐมนตรีแตงต้ังประกอบ
ดว ยประธานกรรมการหน่ึงคน และกรรมการอื่นซง่ึ เปนผทู รงคณุ วฒุ ิทางกฎหมาย ผทู รงคุณวฒุ ิ
ทางการแพทย ผูท รงคณุ วฒุ ิทางระบบงานประกนั สังคม ผูทรงคุณวุฒิทางการแรงงาน ผแู ทน
นายจางสามคนและผูแทนฝายลูกจางสามคน และใหผูแทนสํานักงานเปนกรรมการและ
เลขานุการ ซ่งึ ท้งั คณะมีจํานวนรวมกนั ไมเ กนิ สบิ สามคน
มาตรา ๘๗ ใหค ณะกรรมการอทุ ธรณม ีอาํ นาจหนา ท่พี จิ ารณาวนิ ิจฉยั อทุ ธรณท ีย่ ื่น
ตามมาตรา ๘๕
เมื่อคณะกรรมการอุทธรณพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณแลวใหแจงคําวินิจฉัยน้ันเปน
หนงั สือใหผ อู ทุ ธรณท ราบ
คาํ วินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณนนั้ ถา ผูอทุ ธรณไมพ อใจ ใหมสี ทิ ธินําคดีไป
สศู าลแรงงานภายในสามสิบวนั นบั แตว นั ท่ีไดรับแจง คาํ วินจิ ฉัย แตถาไมนาํ คดีไปสูศาลแรงงาน
ภายในกําหนดระยะเวลาดังกลา ว ใหค าํ วินจิ ฉยั ของคณะกรรมการอทุ ธรณเปนทส่ี ุด

๑๔๗

มาตรา ๘๘ การอุทธรณไมเปนการทุเลาการปฏิบัติตามคําส่ังของเลขาธิการหรือ
พนกั งานเจาหนา ท่ีซง่ึ สง่ั การตามพระราชบญั ญตั ิน้ี เวน แตกรณีที่ผอู ทุ ธรณไดยืน่ คาํ รอ งตอ
เลขาธกิ ารขอใหทุเลาการปฏิบัตติ ามคําสง่ั นั้นไวกอ น ถา เลขาธิการเหน็ สมควรจะสง่ั ใหทุเลาการ
ปฏิบัตติ ามคําส่งั ดงั กลาวไวเ พอ่ื รอคาํ วนิ ิจฉัยอุทธรณก ไ็ ด

มาตรา ๘๙ คณะกรรมการอุทธรณมีอํานาจแตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อชวยเหลือ
ในการดําเนนิ การอยา งใดอยา งหน่ึงตามทมี่ อบหมายได เมอื่ คณะอนุกรรมการปฏิบัตติ ามที่ไดร ับ
มอบหมายแลวใหเ สนอความเห็นหรอื รายงานตอ คณะกรรมการอทุ ธรณ

การประชมุ ของคณะอนกุ รรมการ ใหนาํ ความในมาตรา ๑๓ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม
มาตรา ๙๐ ใหกรรมการอุทธรณอ ยูในตาํ แหนงคราวละสองป กรรมการซงึ่ พน จาก
ตาํ แหนง อาจไดรับแตง ต้งั อกี ไดแ ตจะแตง ต้ังติดตอกันเกินสองวาระไมไ ด
มาตรา ๙๑ ใหนาํ บทบญั ญัตมิ าตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๗
มาใชบงั คบั แกค ณะกรรมการอุทธรณโ ดยอนุโลม

ลักษณะ ๖
บทกาํ หนดโทษ

––––––––
มาตรา ๙๒ ผูใดไมใ หถอยคาํ หรอื ไมสง เอกสาร หลกั ฐาน หรอื ขอมูลทจี่ ําเปนตาม
คาํ สั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการการแพทย คณะกรรมการอทุ ธรณ คณะอนุกรรมการ หรือ
พนักงานเจาหนาที่ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนง่ึ เดอื น หรือปรับไมเกนิ หน่งึ หมนื่ บาท หรือทัง้ จาํ
ท้ังปรับ
มาตรา ๙๓ ผใู ดโดยเจตนาไมกรอกรายการในแบบสํารวจ กรอกรายการในแบบ
สํารวจไมครบถวน หรือไมสงแบบสํารวจคืนภายในเวลาที่กําหนดตองระวางโทษปรับไมเกิน
หา พนั บาท
มาตรา ๙๔ ผูใดกรอกขอความหรือตวั เลขในแบบสํารวจโดยรูอ ยวู าเปนเทจ็ ตอง
ระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หกเดอื น หรือปรับไมเ กินสองหม่ืนบาท หรือทง้ั จําท้ังปรับ
มาตรา ๙๕ ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๒ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับ
ไมเ กินสองหมนื่ บาท หรือท้ังจาํ ทง้ั ปรบั
มาตรา ๙๖(๑) นายจางผูใดโดยเจตนาไมย่ืนแบบรายการตอสํานักงานภายใน
กําหนดเวลาตามมาตรา ๓๔ หรือไมแจงเปนหนังสือตอสํานักงานขอเปล่ียนแปลงหรือแกไข
เพิม่ เตมิ รายการภายในกําหนดเวลาตามมาตรา ๔๔ ตองระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ หกเดือน หรอื
ปรบั ไมเ กินสองหมน่ื บาท หรือท้ังจาํ ทง้ั ปรับ
ถา การกระทําความผดิ ตามวรรคหน่งึ เปน ความผิดตอเนอ่ื ง ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษ
ปรับอีกวันละไมเ กนิ หา พันบาทตลอดระยะเวลาท่ียังฝาฝน หรือไมปฏบิ ัตติ าม

๑๔๘

มาตรา ๙๗(๒) นายจา งผูใ ดยื่นแบบรายการตามมาตรา ๓๔ หรือแจง เปน หนงั สือขอ
เปลย่ี นแปลง หรือแกไ ขเพม่ิ เตมิ รายการตามมาตรา ๔๔ โดยเจตนากรอกขอความเปน เทจ็ ในแบบ
รายการ หรือแจงการเปลย่ี นแปลงขอเทจ็ จรงิ เปนเทจ็ ในหนังสอื แจง ขอเปลี่ยนแปลงหรือแกไข
เพ่ิมเตมิ ตองระวางโทษจําคุกไมเ กินหกเดอื น หรอื ปรับไมเกินสองหมนื่ บาท หรือทัง้ จาํ ท้งั ปรบั

มาตรา ๙๘ ผูใดขัดขวางหรือไมอํานวยความสะดวกตามสมควรแกพนักงาน
เจาหนาทใ่ี นการปฏบิ ตั กิ ารตามมาตรา ๘๐ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ หน่ึงเดอื น หรือปรับไมเ กนิ
หน่งึ หมื่นบาท หรือทง้ั จาํ ทงั้ ปรบั

มาตรา ๙๙ นายจางผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๔ ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
หนึง่ เดอื น หรอื ปรับไมเ กินหนง่ึ หม่ืนบาท หรอื ทั้งจาํ ทง้ั ปรับ

มาตรา ๑๐๐ ผใู ดเปด เผยขอ เทจ็ จรงิ ใดเกย่ี วกบั กจิ การของนายจา ง อนั เปน ขอ เทจ็ จรงิ
ท่ีตามปกติวิสัยของนายจางจะพึงสงวนไวไมเปดเผยซ่ึงตนไดมาหรือลวงรูเน่ืองจากการปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กินหนึง่ เดอื น หรือปรับไมเกินสามพนั บาท หรอื ทงั้
จําท้งั ปรับ เวนแตเปนการเปดเผยในการปฏบิ ัติราชการเพอ่ื ประโยชนแหงพระราชบัญญัติน้ี หรือ
เพ่อื ประโยชนแ กการคมุ ครองแรงงาน หรอื การสอบสวนหรอื การพิจารณาคดี

มาตรา ๑๐๑ ในกรณีที่นิติบุคคลเปนผูกระทําความผิดและถูกลงโทษตามพระราช
บญั ญตั ิน้ี ใหถือวา ผแู ทนของนิตบิ คุ คล กรรมการทกุ คน และผรู ับผดิ ชอบในการดําเนนิ การของ
นติ บิ คุ คลนน้ั ตอ งระวางโทษเชน เดยี วกบั นติ บิ คุ คลนน้ั ดว ย เวน แตจ ะพสิ จู นไ ดว า ตนมไิ ดร เู หน็ เปน ใจ
ในการกระทาํ ความผิดนนั้ หรอื ไดจ ัดการตามสมควรเพื่อปองกันมิใหเกดิ ความผิดนั้นแลว

มาตรา ๑๐๒ ถาเจาพนักงานดังตอไปนี้เห็นวาผูกระทําผิดไมควรไดรับโทษถึงจําคุก
หรอื ไม ควรถูกฟองรอง สาํ หรบั ความผดิ ทม่ี ีโทษปรับสถานเดียวหรือความผดิ ท่ีมีโทษปรับหรือโทษ
จาํ คกุ ไมเกนิ หกเดือน เวนแตโ ทษตามมาตรา ๙๕ ใหมอี าํ นาจเปรยี บเทยี บดงั น้ี

(๑) เลขาธกิ ารหรอื ผซู ง่ึ ไดร บั มอบหมาย สาํ หรบั ความผดิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในกรงุ เทพมหานคร
(๒) ผูว า ราชการจงั หวัดหรอื ผูซ่งึ ผูวาราชการจงั หวดั มอบหมาย สาํ หรบั ความผิดที่
เกิดขน้ึ ในจงั หวดั อืน่
ในกรณีที่มีการสอบสวน ถาพนักงานสอบสวนพบวาบุคคลใดกระทําความผิด
ตามพระราชบัญญัติน้ีท่ีมีโทษอยูในเกณฑท่ีจะทําการเปรียบเทียบไดและบุคคลน้ันยินยอมให
เปรียบเทียบ ใหพนักงานสอบสวนสงเรื่องใหเลขาธิการหรือผูวาราชการจังหวัดแลวแตกรณี
ภายในเจ็ดวันนับแตวันท่ีบุคคลน้ันแสดงความยินยอมใหเปรียบเทียบเมื่อผูกระทําผิดไดชําระเงิน
คา ปรบั ตามจาํ นวนที่เปรียบเทียบภายในสามสบิ วันแลว ใหถือวา คดีเลิกกันตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี ิจารณาความอาญา
ถา ผูกระทาํ ผิดไมย นิ ยอมใหเ ปรียบเทยี บ หรือเมอ่ื ยินยอมแลว ไมช ําระเงนิ คาปรบั
ภายในกาํ หนดเวลาตามวรรคสาม ใหดําเนินคดตี อไป

๑๔๙

บทเฉพาะกาล
––––––––

มาตรา ๑๐๓ ใหใชพระราชบัญญัตินี้บังคับแกกิจการท่ีมีลูกจางตั้งแตย่ีสิบคน
ขึน้ ไปนบั แตว ันท่ีพระราชบัญญตั ินี้ใชบ งั คบั

เม่ือพนกําหนดระยะเวลาสามปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับใหใชพระราช
บัญญตั ิน้บี ังคับแกกจิ การที่มีลกู จา งตงั้ แตส บิ คนขึ้นไป

(๑)พระราชบัญญัติน้ีจะใชบังคับแกนายจางที่มีลูกจางนอยกวาสิบคนในทองที่ใด
และเมอื่ ใดใหตราเปน พระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๔ ใหดําเนินการจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการใหประโยชนทดแทนในกรณี
ประสบอันตรายหรือเจ็บปว ย ในกรณที ุพพลภาพ และในกรณตี าย อนั มิใชเน่อื งจากการทํางาน
และในกรณีคลอดบุตร นับแตว ันท่บี ทบญั ญัตหิ มวด ๒ ของลักษณะ ๒ ใชบงั คับ

(๒)การจดั เกบ็ เงินสมทบเพ่ือการใหประโยชนท ดแทนกรณสี งเคราะหบตุ ร และกรณี
ชราภาพจะเร่มิ ดําเนินการเม่ือใดใหต ราเปนพระราชกฤษฎกี า แตทั้งนี้ตอ งไมช า กวา วันที่ ๓๑
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑

สําหรับการจัดเก็บเงินสมทบเพ่ือการใหประโยชนทดแทนในกรณีวางงานจะเร่ิม
ดาํ เนินการเมอื่ ใด ใหต ราเปนพระราชกฤษฎกี า

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ชาติชาย ชณุ หะวณั

นายกรฐั มนตรี

๑๕๐

อตั ราคาธรรมเนยี ม ฉบับละ ๕๐ บาท
–––––––– ฉบับละ ๕๐ บาท

(๑) ใบแทนหนังสือสําคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม
(๒) ใบแทนบตั รประกันสงั คม

**อัตราเงนิ สมทบทายพระราชบญั ญตั ิอตั ราเงนิ สมทบ

ผูออกเงนิ สมทบ อัตราเงินสมทบเปน รอยละ
ของคา จา งของผูป ระกนั ตน
๑. เงนิ สมทบเพอ่ื การจายประโยชนท ดแทนกรณีประสบ
อนั ตรายหรอื เจบ็ ปว ย ทุพพลภาพ ตาย และคลอดบตุ ร ๑.๕
(๑) รฐั บาล ๑.๕
(๒) นายจา ง ๑.๕
(๓) ผปู ระกนั ตน

๒. เงนิ สมทบเพอ่ื การจายประโยชนท ดแทนกรณสี งเคราะห ๓
บุตรและชราภาพ ๓
(๑) รัฐบาล
(๒) นายจาง ๕
(๓) ผปู ระกันตน ๕

๓. เงินสมทบเพือ่ การจายประโยชนทดแทนกรณีวางงาน
(๑) รัฐบาล
(๒) นายจา ง
(๓) ผูป ระกนั ตน

๑๕๑

หมายเหตุ:- เหตผุ ลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบบั น้ี คอื เนื่องจากไดมปี ระกาศใชพ ระราช
บัญญตั ิประกนั สังคม พ.ศ.๒๔๙๗ มาเปน เวลานานแลวแตใ นขณะนน้ั สภาพทางเศรษฐกิจและ
สงั คมยงั ไมอ าํ นวยใหนาํ กฎหมายนัน้ มาใชบงั คับ ปจ จบุ นั น้กี ารพัฒนาในดานเศรษฐกิจและสังคม
ไดก าวหนาไปมาก สมควรสรา งหลักประกนั ใหแ กล กู จา งและบุคคลอน่ื โดยจดั ตัง้ กองทนุ ประกนั
สงั คมข้นึ เพื่อใหก ารสงเคราะหแ กล ูกจางและบคุ คลอน่ื ซ่ึงประสบอันตราย เจ็บปวย ทพุ พลภาพ
หรือตาย อันมิใชเนอื่ งจากการทํางาน รวมท้ังกรณีคลอดบตุ ร กรณสี งเคราะหบ ตุ ร กรณีชราภาพ
และสําหรับกรณีวางงานซ่งึ ใหห ลักประกันเฉพาะลูกจา ง จงึ จาํ เปน ตอ งตราพระราชบัญญัตนิ ี้

[ความในมาตรา ๑ ถงึ มาตรา ๓๗ แหง พระราชบัญญตั ปิ ระกนั สงั คม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๗ ปรากฏอยใู นพระราชบัญญัติประกนั สังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ แลว]

พระราชบญั ญัติประกนั สงั คม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๓๘ ผูใดมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนจากกองทุนในฐานะผูประกันตนกอน

หรอื ในวนั ทพ่ี ระราชบัญญตั ิน้ใี ชบ งั คับอยูเพยี งใด ก็ใหม สี ทิ ธิไดร บั ประโยชนทดแทนน้ันตอ ไปจน
ครบตามสิทธิ

มาตรา ๓๙ ลูกจา งชวั่ คราวของราชการสวนกลาง ราชการสว นภมู ิภาคและราชการ
สว นทองถ่ินทีส่ นิ้ สภาพการเปน ผปู ระกนั ตนตามพระราชบญั ญัติน้ี ไมวา จะไดส ง เงินสมทบมาแลว
เทา ใด ใหลูกจางชัว่ คราวน้นั มสี ิทธไิ ดร ับประโยชนท ดแทนตามบทบัญญตั ิในหมวด ๒ หมวด ๓
หมวด ๔ และหมวด ๕ ของลกั ษณะ ๓ แหง พระราชบญั ญัติประกนั สังคม พ.ศ.๒๕๓๓ ตอ ไปอกี
หกเดอื นนับแตวนั ท่ีพระราชบัญญัตินม้ี ีผลใชบ ังคับ

ใหนาํ ความในมาตรา ๓๙ แหง พระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สังคม พ.ศ.๒๕๓๓ ซึ่งแกไ ข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี มาใชบ งั คบั กบั ลูกจา งช่ัวคราวทส่ี ้นิ สภาพการเปนผปู ระกันตนตาม
วรรคหนึง่ โดยอนโุ ลม

มาตรา ๔๐ เพ่ือประโยชนในการคํานวณระยะเวลาการสงเงินสมทบตามพระราช
บัญญตั ินี้ เงนิ สมทบของแตล ะเดอื นไมว าจะมจี ํานวนก่วี ันและไมว าจะไดห กั ไวแ ละไดนาํ สงเดอื น
ละกคี่ ร้ังก็ตาม ถา ไดส ง หรอื ไดถือวาสงเขากองทนุ แลวกอนวนั ทพี่ ระราชบญั ญัตินใ้ี ชบงั คบั ใหถ ือ
วา มีระยะเวลาในการจา ยเงนิ สมทบเทากับหนึ่งเดอื น

มาตรา ๔๑ บรรดาเงินที่นายจางหรือผูประกันตนมีสิทธิเรียกคืนกอนวันที่พระราช
บัญญตั ินีใ้ ชบ งั คับ ถา ไมม ผี ใู ดมายืน่ คําขอตอ สาํ นักงานเพือ่ ขอเงนิ ดังกลาวคืนภายในหนึ่งปนับ
แตวนั ท่ีพระราชบัญญตั นิ ้ใี ชบงั คับ ใหตกเปน ของกองทุน

๑๕๒

มาตรา ๔๒ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม รักษาการ
ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลีกภัย
นายกรฐั มนตรี

หมายเหต:ุ - เหตผุ ลในการประกาศใชพระราชบัญญตั ิฉบบั นี้ คือ เน่ืองจากพระราชบัญญตั ิ
ประกันสงั คม พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่ใชบงั คบั อยูในปจ จุบันมขี อขดั ของและมีปญ หาในทางปฏิบัตเิ กิด
ข้ึนหลายประการ ทําใหผูประกันตนไมไดรับสิทธิประโยชนสมตามเจตนารมณของกฎหมาย
นอกจากนั้น วิธปี ฏิบัติบางเรอ่ื งในพระราชบัญญัตดิ ังกลาวยงั มีข้นั ตอนการปฏิบัตทิ ยี่ งุ ยาก สลับ
ซบั ซอ น เกดิ ภาระแกน ายจา ง และไมเ อ้อื อาํ นวยประโยชนและการใหบริการแกน ายจา งและ
ผูป ระกนั ตน สมควรแกไ ขใหเ หมาะสมกบั สภาพการณใ นปจจบุ ัน จงึ จําเปนตองตราพระราช
บญั ญัตินี้

*[รก.๒๕๓๗ / ๖๓ก / ๓ / ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๗]

๑๕๓



๑๕๔

ไมม บี ุตร




๑๕๕

๑๕๖

๑๕๗

๑๕๘

๑๕๙

๑๖๐

(คาํ แนะนาํ ในการกรอกแบบดูดานหลัง)

๑๖๑

ใหก รอกรายละเอียดขอมูลเดมิ ของผปู ระกันตน แลว กรอกขอ มูลที่เปล่ยี นแปลงเปนปจ จบุ นั ในชอ งขอ มลู ทีเ่ ปลี่ยนแปลง
และแจง เปลยี่ นแปลงสถานภาพ


๑๖๒

๑๖๓

ที่ กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๔ (สาํ เนา)

กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๙ มกราคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง ภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดากรณีเงนิ ชว ยเหลอื ตามโครงการเกษยี ณอายุกอ นกาํ หนด
เรยี น อธิบดีกรมท่ดี นิ
ส่ิงทส่ี งมาดว ย สาํ เนาหนงั สอื กรมสรรพากร ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๗๐๒/๙๗๔๐ ลงวนั ที่ ๙ ธนั วาคม

๒๕๕๔

ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ในคราวประชมุ เม่อื วันท่ี ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๕๐ เห็นชอบ
กรอบระยะเวลาดําเนนิ การมาตรการปรับปรุงอัตรากําลังของสว นราชการ (โครงการเกษียณกอน
กําหนด) ไมเ กนิ ๕ ปง บประมาณ ต้ังแตป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ออกจากราชการ วันท่ี ๑
ตลุ าคม ๒๕๕๑) ถึงปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ (ออกจากราชการวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕) โดย
ตราพระราชกฤษฎีกาเงินชวยเหลือผูซ่ึงออกจากราชการตามมาตราการปรับปรุงอัตรากําลังของ
สว นราชการ พ.ศ.๒๕๕๑ และพระราชกฤษฎกี าเงินชว ยเหลอื ผซู งึ่ ออกจากราชการตามมาตรการ
ปรับปรงุ อตั รากําลงั ของสวนราชการ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๓ เพอื่ เบกิ จา ยเงนิ ชวยเหลือแกผเู ขา
รวมโครงการฯ และออกกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒๗๒ (พ.ศ.๒๕๕๒) ออกตามความในประมวล
รษั ฎากรวา ดวยการยกเวน รษั ฎากร ณ วันท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๒ เพื่อยกเวนไมตองนาํ เงิน
ชว ยเหลือดังกลา วรวมคาํ นวณเพื่อเสียภาษีสาํ หรับเงินไดพงึ ประเมินประจําป พ.ศ.๒๕๕๑ ถงึ
พ.ศ.๒๕๕๕ ซึง่ กรมสรรพากรไดแจง ใหท ราบ ดงั นี้

๑. ผูมีเงินไดท่ีออกจากราชการตามมาตรการฯ ดังกลาวไดรับเงินชวยเหลือใน
ระหวา งวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๑ ถึงวนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๕ เงนิ ชว ยเหลอื ดงั กลา วเปน เงนิ ได
พงึ ประเมินทีไ่ ดร ับยกเวนไมตอ งนํามารวมคํานวณเพ่อื เสยี ภาษีเงนิ ไดบ ุคคลธรรมดา ตามมาตรา
๔๒ (๑๗) แหงประมวลรัษฎากร ประกอบกบั กฏกระทรวง ฉบับท่ี ๒๗๒ (พ.ศ.๒๕๕๒)ฯ

๒. หากผูมีเงินไดท่ีออกจากราชการตามมาตรการฯ ดังกลาวไดรับเงินชวยเหลือ
ตัง้ แตวนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๖ เปนตน ไป ซ่ึงเปนเงนิ ไดพงึ ประเมนิ ประจาํ ป พ.ศ.๒๕๕๖ เปน ตน ไป
ไมเขาหลักเกณฑตามมาตรา ๔๒ (๑๗) แหงประมวลรษั ฎากร ประกอบกบั ขอ ๒ ของกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๒๗๒ (พ.ศ.๒๕๕๒) ฯ ผมู ีเงินไดจ ึงตองนาํ เงนิ ชวยเหลือดงั กลา วมาคาํ นวณเพือ่ เสยี ภาษี
เงนิ ไดบุคคลธรรมดา แตอ ยา งไรก็ดี เน่ืองจากเงินชวยเหลอื ดังกลาวเขา ลกั ษณะเปนเงินไดที่
นายจางจายใหครัง้ เดยี วเพราะเหตุออกจากงาน ตามขอ ๑ (ง) ของประกาศอธบิ ดีกรมสรรพากร
เกย่ี วกบั ภาษเี งนิ ได (ฉบับท่ี ๔๕) เรือ่ ง กําหนดหลักเกณฑ วธิ กี ารและเง่ือนไขของเงินไดพ งึ ประเมนิ
ตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) แหง ประมวลรษั ฎากร ซึง่ นายจางจายใหค ร้งั เดียวเพราะเหตุ

๑๖๔

ออกจากงาน ตามมาตรา ๔๘ (๕) และมาตรา ๕๐ (๑) แหงประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๒๔ กันยายน
๒๕๓๕ ผมู ีเงนิ ไดจ ึงมีสิทธิเลอื กเสยี ภาษโี ดยไมต อ งนําไปรวมคํานวณภาษีกบั เงนิ ไดอ ยางอ่นื ตาม
มาตรา ๔๘ (๕) แหงประมวลรัษฎากร
ความละเอยี ดแจงตามสิง่ ทีส่ งมาดวย น้ัน

กรมบัญชีกลางขอเรียนวา เพ่ือใหการเบิกจา ยเงินดงั กลาวไดรับการยกเวน ภาษี
เงินไดบ คุ คลธรรมดาตามกรณขี า งตน จงึ ขอใหสว นราชการเรงดําเนินการย่ืนขอรบั เงนิ และขอเบิก
เงินชว ยเหลอื ตามมาตรการปรับปรุงอัตรากําลงั ของสวนราชการ (โครงการเกษยี ณกอ นกําหนด)
ในระบบบาํ เหน็จบํานาญ (e – pension) ใหเสรจ็ สน้ิ ภายในรอบการจายเงินท่ี ๓ ของเดือนธนั วาคม
๒๕๕๕ ดงั น้ี

๑. มาตรการฯ ท่ียงั ไมไ ดเ บิกจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๒ (ออกจาก
ราชการ วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑) ถึงปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ (ออกจากราชการ วันที่ ๑ ตลุ าคม
๒๕๕๔)

๒. มาตรการฯ ทจ่ี ะเบกิ จา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ (ออกจากราชการ
วนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕)

ท้ังนห้ี ากสว นราชการย่นื ขอเบกิ เงนิ หลงั กาํ หนดเวลาดังกลาว กรมบัญชีกลางจะ
หกั ภาษเี งนิ ไดบ ุคคลธรรมดา ณ ทจี่ าย สําหรับเงินดังกลา ว

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและถือปฏิบตั ติ ามกรณีขางตน หากมขี อสงสยั โปรด
สอบถามรายละเอยี ดไดท ่ี

๑. สว นบรหิ ารการจายเงิน ๑ โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๑ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๔
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๕

๒. สว นบรหิ ารการจา ยเงิน ๒ โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๔๖ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๔๔
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๗

๓. สว นบริหารการจา ยเงิน ๓ โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๕๔ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๕๘
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๕๖

๔. สวนบรหิ ารการจายเงิน ๔ โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๗๕ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๖๘
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๔๕

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) ณพงศ ศิรขิ ันตยกลุ

(นายณพงศ ศริ ิขันตยกลุ )
รองอธบิ ดี ปฏบิ ตั ริ าชการแทน

อธบิ ดีกรมบญั ชกี ลาง
สํานกั บรหิ ารการรบั – จายเงนิ ภาครัฐ
โทรศพั ท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๐๘
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๘๐

๑๖๕

ดว นทสี่ ดุ (สําเนา)

สวนราชการ กรมสรรพากร สํานกั กฎหมาย กลมุ กฎหมาย ๒ โทร. ๐-๒๒๗๒-๘๒๘๗-๘

ท่ี กค ๐๗๐๒ / ๙๗๔๐ วนั ที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๔

เรอื่ ง ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา กรณีเงินชว ยเหลอื ตามโครงการเกษียณอายกุ อ นกําหนด

เรยี น อธบิ ดีกรมบัญชกี ลาง

ตามบันทกึ ดวนทีส่ ุดที่ กค ๐๔๒๐.๑/๓๕๙๔๔ ลงวันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๔
กรมบัญชกี ลางแจง วา ตามมติคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมอื่ วนั ท่ี ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๐ เห็น
ชอบกรอบระยะเวลาดําเนินการมาตรการปรับปรุงอตั รากําลงั ของสว นราชการ (โครงการเกษียณ
อายุกอนกาํ หนด) ไมเ กิน ๕ ปงบประมาณ ต้ังแตปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ออกจากราชการ
วนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑) ถึงปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ (ออกจากราชการวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕)
โดยไดตราพระราชกฤษฎีกาเงินชวยเหลือผูซึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรากําลัง
ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และพระราชกฤษฎีกาเงินชวยเหลือผูซ่ึงออกจากราชการตาม
มาตรการปรับปรุงอตั รากําลงั ของสวนราชการ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อเบกิ จายเงินชว ยเหลือ
แกผ ูเขา รวมโครงการเกษียณอายุกอ นกาํ หนด และกระทรวงการคลงั ไดออกกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี
๒๗๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒) ออกตามความในประมวลรษั ฏากร วาดว ยการยกเวน รษั ฎากร เพ่อื ยกเวนไม
ตองนําเงนิ ชว ยเหลือดังกลาวมารวมคาํ นวณเพ่อื เสยี ภาษสี ําหรบั เงนิ ไดพงึ ประเมินประจาํ ป พ.ศ.
๒๕๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๕ กรมบญั ชกี ลางจึงหารือวา

๑. เงนิ ชว ยเหลอื ตามโครงการดงั กลา วตง้ั แตป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๖
ซง่ึ มีผอู อกจากราชการ ณ วนั ที่ ๑ ตุลาคมของปงบประมาณ เริม่ ปแ รก ณ วนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๑
ปสุดทา ยของโครงการคือ วันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ในแตล ะปจะมีการทยอยจา ยเงนิ ชว ยเหลอื
ดังกลาว ดงั นน้ั หากมีการโอนเงินชว ยเหลอื เขา บัญชเี งนิ ฝากธนาคารของผมู ีสทิ ธริ ับเงนิ ในระหวาง
วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึงวนั ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ ถอื วาไดร บั เงินไดทอ่ี ยภู ายในปภ าษีที่ไดรบั
ยกเวนการเสียภาษเี งินไดบคุ คลธรรมดาใชหรือไม

๒. จากขอ ๑ หากมีการโอนเงินชวยเหลือเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของผูมี
สทิ ธิรับเงนิ ต้งั แตวันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๖ เปนตนไป ถอื วา ไดรบั เงนิ ไดใ นปภาษี พ.ศ. ๒๕๕๖
เปน ตนไป จะตองนํามารวมกับเงินไดอ นื่ ๆ เพือ่ คาํ นวณเสยี ภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดา โดยไมไดร ับ
ยกเวน ภาษีเงินไดบ คุ คลธรรมดาใชห รือไม ดังความละเอียดแจง แลว นัน้

กรมสรรพากรขอเรยี นวา กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๒๗๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒)ฯ กําหนด
ยกเวนไมตองนําเงินชวยเหลือผูซ่ึงออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรากําลังของสวน
ราชการตามพระราชกฤษฎีกาเงินชวยเหลือผูซึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรา
กาํ ลงั ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ มารวมคาํ นวณเสียภาษีเงนิ ไดบุคคลธรรมดา ท้ังนี้ สําหรบั
เงินไดพ ึงประเมินประจําป พ.ศ. ๒๕๕๑ ถงึ พ.ศ. ๒๕๕๕ ดังนนั้

๑๖๖

๑. กรณีตาม ๑. หากผมู ีเงินไดท ี่ออกจากราชการตามโครงการฯ ดงั กลา วไดรับ
เงนิ ชว ยเหลอื ในระหวา งวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๑ ถึงวันที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๕ เงนิ ชวยเหลือ
ดังกลาวเปนเงินไดพึงประเมินท่ีไดรับยกเวนไมตองนํามารวมคํานวณเพ่ือเสียภาษีเงินไดบุคคล
ธรรมดา ตามมาตรา ๔๒ (๑๗) แหง ประมวลรัษฎากร ประกอบกับกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒๗๒
(พ.ศ.๒๕๕๒)ฯ

๒. กรณีตาม ๒. หากผูม เี งนิ ไดที่ออกจากราชการตามโครงการฯ ดงั กลาวไดร บั
เงนิ ชว ยเหลอื ตง้ั แตว นั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๖ เปน ตน ไป ซง่ึ เปน เงนิ ไดพ งึ ประเมนิ ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๖
เปนตน ไป กรณีจงึ ไมเ ขา หลกั เกณฑต ามมาตรา ๔๒ (๑๗) แหง ประมวลรษั ฎากร ประกอบกบั
ขอ ๒ ของกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๒๗๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒)ฯ ผมู เี งนิ ไดจงึ ตองนาํ เงินชวยเหลือดงั กลา ว
มาคํานวณเพือ่ เสยี ภาษเี งินไดบ ุคคลธรรมดา แตอ ยา งไรกด็ ี เนือ่ งจากเงนิ ชว ยเหลือดังกลาวเขา
ลักษณะเปนเงินไดท่นี ายจางจายใหคร้ังเดยี วเพราะเหตอุ อกจากงาน ตามขอ ๑ (ง) ของประกาศ
อธิบดกี รมสรรพากร เกยี่ วกับภาษีเงินได (ฉบับที่ ๔๕) เรื่อง กําหนดหลกั เกณฑ วธิ กี าร และ
เงอื่ นไขของเงินไดพ งึ ประเมนิ ตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) แหง ประมวลรัษฎากร ซงึ่ นายจา ง
จายใหค รง้ั เดยี วเพราะเหตุออกจากงาน ตามมาตรา ๔๘ (๕) และมาตรา ๕๐ (๑) แหงประมวล
รัษฎากร ลงวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ผูม เี งนิ ไดจงึ มีสทิ ธิเลอื กเสยี ภาษโี ดยไมตองนําไปรวม
คาํ นวณภาษกี ับเงินไดอ ยางอ่ืน ตามมาตรา ๔๘ (๕) แหงประมวลรษั ฎากร

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ
(ลงชื่อ) จาํ รสั แหยมสรอ ยทอง
(นางสาวจาํ รัส แหยมสรอยทอง)
รองอธบิ ดี ปฏิบตั ริ าชการแทน
อธิบดกี รมสรรพากร

๑๖๗

ที่ มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๖๕๒ (สาํ เนา)
กรมท่ดี นิ
ศูนยราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ถนนแจง วัฒนะ
แขวงทุงสองหอง เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๑ มกราคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง การปรบั ปรุงบญั ชีและยกเลกิ รายการในระบบ GFMIS

เรียน ผูวาราชการจังหวดั ทกุ จงั หวัด
อา งถึง ๑. หนงั สอื กรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๕๐๓.๒/ว ๑๒๙๕๙ ลงวนั ท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๕๓

๒. หนังสอื กรมบัญชกี ลาง ดว นที่สดุ ท่ี กค ๐๔๒๓.๓/ว ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๕๔
สง่ิ ทีส่ งมาดว ย ๑. รายละเอยี ดสิทธิในการปรบั ปรงุ บญั ชีและยกเลิกรายการในระบบ GFMIS

๒. แบบฟอรมรายละเอยี ดขอมูลท่ีขอปรับปรุงรายการทางบัญชใี นระบบ GFMIS
๓. แบบฟอรมรายละเอยี ดขอมูลทข่ี อยกเลิกรายการทางบัญชใี นระบบ GFMIS

ตามหนงั สือทอี่ า งถงึ ๑ กรมที่ดนิ ไดก าํ หนดแบบฟอรมการขอปรับปรงุ บญั ชแี ละ
ยกเลิกรายการในระบบ GFMIS ที่ผดิ พลาดคลาดเคล่อื นในสทิ ธิการทํางานของกรมท่ดี ิน หรือ
สงตอ ใหก รมบญั ชกี ลางในสิทธกิ ารทาํ งานของกรมบญั ชกี ลาง นั้น

กรมทด่ี ินไดรบั แจงจากจงั หวัดหลายจังหวัด ใหกรมทีด่ ินทาํ การปรับปรุงบญั ชี
หรอื ยกเลกิ รายการในระบบ GFMIS ในสิทธิการทํางานของสํานกั งานท่ดี ินจังหวัด สาํ นักงานที่ดิน
จงั หวัด สาขาผูเ บิก และสํานกั งานคลงั จงั หวดั ซงึ่ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ กรมบัญชีกลาง
ไดกาํ หนดมาตรการการปด งวดบญั ชี โดยในระหวา งปกรมบัญชกี ลางจะปด งวดทกุ เดือนภายใน
ส้ินเดอื นถดั ไป ตามหนงั สอื ท่อี างถงึ ๒ ดงั นั้น เพือ่ ใหก ารปฏิบตั งิ านดงั กลาวสามารถดาํ เนนิ การได
ภายในระยะเวลาท่กี รมบญั ชีกลางกําหนด มีความรวดเร็ว และลดขนั้ ตอนการจัดทาํ หนังสอื ของ
สาํ นักงานที่ดินจงั หวดั กรมท่ีดนิ จึงขอสง รายละเอียดสทิ ธิในการปรับปรุงบัญชแี ละยกเลิกรายการ
ในระบบ GFMIS รวมท้ังแบบฟอรม การปรับปรุงบัญชีและยกเลกิ รายการซง่ึ ไดป รับปรงุ ใหม เพ่ือ
ใหส าํ นกั งานท่ดี ินใชเปนแนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน

จึงเรียนมาเพอื่ โปรดแจงใหสาํ นักงานท่ดี นิ จงั หวัดทราบและดําเนินการตอไป

ขอแสดงความนับถือ

กองคลัง โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๖๙ (ลงช่อื ) มณเฑียร ทองนติ ย
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๙๒ (นายมณเฑียร ทองนิตย)

รองอธบิ ดี ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
อธิบดกี รมทีด่ ิน

๑๖๘

๑๖๙

หมายเหตุ การปรบั ปรบุ บญั ชขี องสํานกั งานท่ีดินจังหวัด หรือสาขาผเู บิก ใชแบบฟอรมและประเภทเอกสาร ดังนี้
1. การปรับปรุงบัญชขี อ 1, 3 และขอ 4 ใชแบบ บช.01 ประเภทเอกสาร JV
2. การปรับปรงุ บญั ชีเงินสดและเทยี บเทาเงนิ สด ใชแ บบ บช.01 ประเภทเอกสาร JR
3. การปรับปรงุ บญั ชวี สั ดคุ งคลงั ใชแ บบ บช.01 ประเภทเอกสาร JM

๑๗๐

๑๗๑

๑๗๒

๑๗๓

ท.ี่ ................................. ศาลากลางจงั หวดั .................
ถนน....................................

วันท.ี่ ..............................

เรอื่ ง ขอแจงรายการที่บันทกึ ขอมลู ผิดพลาดในระบบ GFMIS

เรียน อธบิ ดกี รมทดี่ นิ

ส่ิงทสี่ ง มาดวย ๑. บญั ชรี ายละเอยี ดขอมูลท่ีบนั ทึกผดิ พลาดในระบบ GFMIS
๒. สาํ เนารายงาน SAP R/๓

ดวยจังหวัดไดตรวจพบขอผิดพลาดรายการทบี่ นั ทกึ ขอ มูลในระบบ GFMIS ของ
สาํ นักงานท่ดี ิน............................................................

จงั หวัดจงึ มคี วามประสงคจะขอใหกรมทีด่ ินแกไขรายการทีบ่ ันทึกขอมูลผิดพลาด

ของสํานักงานท่ดี ินดงั กลา ว ดงั นี้

ขอปรบั ปรงุ รายการทางบญั ชี จาํ นวน..................รายการ

ขอยกเลกิ รายการทางบัญช จํานวน..................รายการ

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณาดาํ เนินการตอ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื

()
เจา พนักงานที่ดินจังหวัด................ปฏบิ ัตริ าชการแทน

ผูวา ราชการจงั หวัด........................

สํานักงานทดี่ นิ จงั หวดั ..............
โทร.......................
โทรสาร..................

๑๗๔

ที่ รง ๐๖๒๓ / ว ๓๔ (สาํ เนา) สาํ นกั งานประกันสงั คมเขตพ้นื ท่ี ๒
ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐

๑๓ มกราคม ๒๕๕๕

เรอื่ ง การลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกนั สงั คม ป พ.ศ. ๒๕๕๕

เรยี น นายจางทอ่ี ยูในขายบงั คบั ตามพระราชบญั ญัตปิ ระกันสงั คม

ดว ยกฎกระทรวง กาํ หนดอตั ราเงินสมทบกองทนุ ประกนั สังคม พ.ศ.๒๕๕๕ ฉบบั
ลงวนั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๕ ใชบังคบั ต้งั แตว ันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ กาํ หนดใหล ดอัตราเงินสมทบ
นายจา งและผปู ระกันตนจากเดิมในอตั รารอ ยละ ๕ เปน ดังน้ี

๑. งวดคาจางเดอื นมกราคม – มถิ นุ ายน ๒๕๕๕ ในอัตราฝา ยละ รอยละ ๓
ของคาจาง ดังนี้

– เงินสมทบเพ่ือการจายประโยชนทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวย
กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ และกรณตี าย ใหจายฝา ยละ รอยละ ๐.๕ ของคาจา ง

– เงินสมทบเพื่อการจายประโยชนทดแทนกรณีสงเคราะหบุตร และกรณี
ชราภาพ ใหจา ยในอตั ราฝายละ รอยละ ๒.๐ ของคา จา ง

– เงนิ สมทบเพอ่ื การจายประโยชนท ดแทนกรณีวางงาน ใหจา ยในอตั ราเดมิ
คือ ฝา ยละ รอ ยละ ๐.๕ ของคาจาง

๒. งวดคา จา งเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๕ – ธนั วาคม ๒๕๕๕ ในอตั ราฝายละ
รอยละ ๔ ของคา จา ง ดงั น้ี

– เงินสมทบเพ่ือการจายประโยชนทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวย
กรณีคลอดบตุ ร กรณที ุพพลภาพ และกรณีตาย ใหจายฝา ยละ รอยละ ๐.๕ ของคา จา ง

– เงินสมทบเพื่อการจายประโยชนทดแทนกรณีสงเคราะหบุตร และกรณี
ชราภาพ ใหจา ยในอตั ราเดมิ คอื ฝายละ รอ ยละ ๓.๐ ของคา จาง

– เงนิ สมทบเพอ่ื การจา ยประโยชนทดแทนกรณีวา งงาน ใหจ า ยในอัตราเดมิ
คือ ฝา ยละ รอ ยละ ๐.๕ ของคา จาง

ทัง้ นี้ การนาํ สง เงนิ สมทบกองทุนประกันสังคม ตั้งแตงวดคา จา ง เดือนมกราคม
๒๕๕๖ เปน ตนไป ใหนําสง ในอตั ราฝายละ รอ ยละ ๕ ของคาจา ง ดังเดมิ

จงึ เรียนมาเพ่ือทราบ
ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงช่อื ) อารมย พรหมสามพราน
(นางอารมย พรหมสามพราน)

ผูอ ํานวยการสํานกั งานประกันสังคมเขตพน้ื ที่ ๒
สว นงานเงนิ สมทบและการตรวจสอบ
โทร. ๐๒-๙๕๔๒๕๗๗ ตอ ๑๔๑-๑๕๑ โทรสาร. ๐๒-๙๕๔๒๕๗๗ ตอ ๑๖๐

๑๗๕

(สาํ เนา)

ดวนทส่ี ุด กรมบญั ชกี ลาง
ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๒๒ ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๐ มกราคม ๒๕๕๕

เรื่อง ระเบยี บกระทรวงการคลังวาดว ยการเบกิ จายเงินเพิ่มการครองชีพช่วั คราวของขาราชการ
และลกู จา งประจาํ ของสวนราชการ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕

เรียน อธิบดกี รมทด่ี ิน

ดวยกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดกําหนดระเบียบกระทรวงการคลังวา
ดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ฉบบั ประกาศและงานท่ัวไป ประเภท ง.
เลม ๑๒๙ ตอนพิเศษ ๑๘ ง วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๕ มีผลใชบงั คบั ต้ังแตวันที่ ๑๙ มกราคม
๒๕๕๕

กรมบัญชีกลางเห็นสมควรแจงเวียนใหสวนราชการไดทราบและถือปฏิบัติตอไป
โดยไดนาํ ลงเวบ็ ไซต www.cgd.go.th ในระบบสารสนเทศกฎหมาย เรยี บรอยแลว

ปฏบิ ตั ิตอไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของเพ่ือทราบและถือ

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงช่ือ) รังสรรค ศรวี รศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธบิ ดกี รมบญั ชีกลาง

สํานกั กฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานคา ใชจ า ยในการบรหิ าร
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๐-๒
www.cgd.go.th

๑๗๖

(สาํ เนา)
ระเบยี บกระทรวงการคลัง
วา ดว ยการเบิกจา ยเงินเพิม่ การครองชพี ชว่ั คราว
ของขาราชการและลกู จางประจาํ ของสว นราชการ (ฉบบั ที่ ๕)

พ.ศ. ๒๕๕๕
_______________
โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจาย
เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘
เพ่ือใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีเม่อื วนั ท่ี ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ที่เหน็ ชอบใหปรับบัญชี
เงินเดือน คาจาง และคาตอบแทนรายเดือนของบคุ ลากรภาครัฐ และใหปรบั อัตราเงนิ เดอื น หรอื
คา จางขั้นตํา่ และขนั้ สูงของผมู ีสิทธิไดรบั เงนิ เพิ่มการครองชพี ช่วั คราวในสัดสวนรอยละหา และ
มตคิ ณะรัฐมนตรีเมอื่ วันท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๕๔ ที่เหน็ ชอบใหป รับเงินเพ่ิมการครองชพี ชัว่ คราว
ของขาราชการ ลกู จางประจํา และลูกจางชัว่ คราว ท่ีบรรจุ หรอื แตงตั้งใหด าํ รงตําแหนงทก่ี าํ หนด
คุณสมบัติเฉพาะสาํ หรับตาํ แหนงสาํ หรับผูสําเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป หรือระดบั ต่าํ
กวา ระดบั ปรญิ ญาตรี รวมทง้ั ทหารกองประจาํ การ เพอ่ื ใหบ คุ ลากรภาครฐั ดงั กลา วมรี ายไดเ พยี งพอ
ในการดาํ รงชพี ตามภาวะเศรษฐกจิ ที่ปรับสงู ขึ้น
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แหง พระราชบญั ญตั วิ ธิ กี ารงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๐๒ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี จงึ ออกระเบยี บไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ระเบยี บน้เี รยี กวา “ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ยการเบิกจา ยเงินเพ่ิม
การครองชีพชั่วคราวของขา ราชการและลูกจางประจาํ ของสวนราชการ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕”
ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน ตนไป เวน แต
(๑) ขอ ๕ และขอ ๘ ใหใ ชบ ังคบั ตง้ั แตวนั ที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ จนถงึ วนั ที่
๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔
(๒) ขอ ๖ และขอ ๙ ใหใชบ ังคบั ตง้ั แตว ันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕ เปนตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลกิ ความในบทนยิ ามคาํ วา “ขาราชการ” ในขอ ๕ ของระเบยี บ
กระทรวงการคลัง วา ดวยการเบิกจา ยเงินเพิ่มการครองชีพชว่ั คราวของขา ราชการและลกู จาง
ประจาํ ของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึง่ แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยการ
เบกิ จา ยเงนิ เพม่ิ การครองชพี ชว่ั คราวของขา ราชการและลกู จา งประจาํ ของสว นราชการ (ฉบบั ท่ี ๔)
พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชค วามตอ ไปน้แี ทน
“ “ขา ราชการ” หมายความวา ขาราชการพลเรือนตามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บ
ขาราชการพลเรอื น ขาราชการทหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการทหาร (ไมรวมถงึ
นกั เรียนในสงั กัดกระทรวงกลาโหม) ขา ราชการตํารวจตามกฎหมายวาดว ยตาํ รวจแหง ชาติ (ไม

๑๗๗

รวมถึงพลตํารวจสํารอง) ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บ
ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ขาราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศกึ ษาตามกฎหมาย
วาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาและขาราชการรัฐสภาสามัญตาม
กฎหมายวา ดว ยระเบียบขาราชการรัฐสภา”

ขอ ๔ ใหเ พม่ิ บทนยิ ามคําวา “ลกู จา งชั่วคราว” ระหวางบทนิยามคาํ วา “ลกู จา ง
ประจํา” และคาํ วา “ทหารกองประจาํ การ” ในขอ ๕ ของระเบียบกระทรวงการคลงั วา ดวยการเบกิ
จายเงินเพ่ิมการครองชพี ชัว่ คราวของขาราชการและลกู จา งประจาํ ของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘
ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราว
ของขา ราชการและลูกจา งประจาํ ของสว นราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๕๒

“ “ลูกจางชั่วคราว” หมายความวา ลกู จา งชว่ั คราวตามระเบียบวาดว ยการจาย
คาจา งลกู จา งของสว นราชการ”

ขอ ๕ ใหยกเลกิ ความในขอ ๖ ของระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดวยการเบกิ จา ย
เงินเพมิ่ การครองชพี ชวั่ คราวของขาราชการและลกู จา งประจําของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซ่ึง
แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของ
ขา ราชการและลกู จางประจาํ ของสวนราชการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๑ และใหใ ชค วามตอไปน้ี
แทน

“ขอ ๖ ขาราชการและลูกจางประจําซึ่งไดรับเงินเดือนหรือคาจางไมถึงเดือนละ
หนงึ่ หมื่นสองพันสองรอ ยแปดสบิ หาบาท ใหไ ดรับเงินเพมิ่ การครองชีพช่ัวคราวเดือนละหน่งึ พัน
หารอยบาท แตเมอ่ื รวมกับเงินเดือนหรอื คา จางแลวตองไมเ กินเดือนละหนงึ่ หมน่ื สองพันสองรอย
แปดสบิ หาบาท

กรณีจํานวนเงินที่ไดรับตามวรรคหนึ่งรวมกันแลวไมถึงเดือนละแปดพันหกรอย
สบิ บาท ใหข า ราชการและลกู จา งประจาํ นน้ั ไดร บั เงนิ เพม่ิ การครองชพี ชว่ั คราวเพม่ิ ขน้ึ จากเงนิ เดอื น
หรือคาจา งอกี จนถงึ เดือนละแปดพันหกรอ ยสบิ บาท”

ขอ ๖ ใหเ พม่ิ ความตอ ไปนี้เปนขอ ๖/๑ ขอ ๖/๒ และขอ ๖/๓ ของระเบยี บ
กระทรวงการคลงั วา ดว ยการเบกิ จา ยเงนิ เพม่ิ การครองชพี ชว่ั คราวของขา ราชการและลกู จา งประจาํ
ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘

“ขอ ๖/๑ ในกรณีทตี่ าํ แหนง ของขา ราชการ ลูกจางประจาํ และลูกจางช่วั คราว
ท่ีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลกลางของขาราชการแตละประเภทกําหนด หรือท่ีกระทรวง
การคลังกําหนด ไดกําหนดใหคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้นตองใชวุฒิการศึกษาระดับ
ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป ใหข า ราชการ ลกู จา งประจํา และลกู จา งชวั่ คราว ซ่ึงบรรจหุ รอื แตง ต้งั ใหด าํ รง
ตําแหนงดังกลาวท่ีมีเงินเดือนหรือคาจางไมถึงเดือนละหนึ่งหมื่นหาพันบาท ไดรับเงินเพ่ิมการ
ครองชีพช่วั คราวเพิ่มข้นึ จากเงินเดือนหรือคา จางอกี จนถงึ เดือนละหนึ่งหม่ืนหาพันบาท

“ขอ ๖/๒ ในกรณีที่ตําแหนงของขาราชการและลูกจางประจําที่คณะกรรมการ
บริหารงานบุคคลกลางของขาราชการแตละประเภทกําหนด หรือที่กระทรวงการคลังกําหนด

๑๗๘

ไดกําหนดใหคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้นตองใชวุฒิการศึกษาระดับตํ่ากวาปริญญาตรี
ใหข า ราชการและลกู จา งประจาํ ซง่ึ บรรจหุ รอื แตง ตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนง ดงั กลา วทม่ี เี งนิ เดอื นหรอื คา จา ง
ไมถึงเดือนละหนึ่งหมื่นสองพันสองรอยแปดสิบหาบาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว
เดอื นละหน่ึงพันหารอยบาท แตเ มือ่ รวมกับเงนิ เดือนหรอื คาจางแลว ตอ งไมเกินเดือนละหน่งึ หมื่น
สองพนั สองรอยแปดสบิ หาบาท

กรณีจํานวนเงินที่ไดรับตามวรรคหนึ่งรวมกันแลวไมถึงเดือนละเกาพันบาท
ใหขาราชการและลูกจางประจํานั้นไดรับเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวเพ่ิมข้ึนจากเงินเดือนหรือ
คาจางอกี จนถงึ เดือนละเกา พันบาท

ขอ ๖/๓ ในกรณีที่ตําแหนงของลูกจางช่ัวคราวท่ีคณะกรรมการบริหารงาน
บคุ คลกลางของขา ราชการแตล ะประเภทกําหนด หรอื ท่กี ระทรวงการคลังกําหนด ไดก าํ หนดให
คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้นตองใชวุฒิการศึกษาระดับตํ่ากวาปริญญาตรี ใหลูกจาง
ชัว่ คราวซ่งึ บรรจุหรือแตง ต้งั ใหดํารงตาํ แหนง ดังกลา วท่มี คี า จา งไมถ งึ เดือนละเกาพันบาท ไดร ับ
เงินเพม่ิ การครองชีพชั่วคราวเพิม่ ขึน้ จากคา จางอกี จนถงึ เดอื นละเกาพันบาท”

ขอ ๗ ใหย กเลกิ ขอ ๗ ของระเบียบกระทรวงการคลงั วา ดวยการเบิกจายเงนิ เพม่ิ
การครองชพี ชว่ั คราวของขา ราชการและลกู จา งประจาํ ของสว นราชการ พ.ศ.๒๕๔๘ ซง่ึ แกไ ขเพม่ิ เตมิ
โดยระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพ่ิมการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและ
ลูกจา งประจําของสวนราชการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑

ขอ ๘ ใหย กเลกิ ความในขอ ๗/๑ ของระเบยี บกระทรวงการคลังวาดว ยการเบกิ
จา ยเงินเพมิ่ การครองชพี ชว่ั คราวของขาราชการและลูกจางประจาํ ของสวนราชการ พ.ศ.๒๕๔๘
ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวของ
ขา ราชการและลูกจา งประจําของสวนราชการ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ.๒๕๕๒ และใหใ ชค วามตอ ไปน้ี
แทน

“ขอ ๗/๑ ทหารกองประจําการซ่งึ ไดรับเงนิ เดอื นในระดบั พ.๑ กรณที เี่ งินเดือน
รวมกับเบี้ยเล้ยี งประจําตามขอบงั คบั กระทรวงกลาโหมวาดว ยการนั้นแลว มีจํานวนไมถงึ เดอื นละ
แปดพนั หกรอ ยสบิ บาท ใหไดรบั เงนิ เพม่ิ การครองชีพชัว่ คราวเพิม่ ข้นึ ตามอัตราทก่ี ระทรวงกลาโหม
กําหนด ซ่ึงเม่อื รวมกับเงนิ เดือนและเบีย้ เลย้ี งประจําตามขอ บังคบั กระทรวงกลาโหมดงั กลา วแลว
ตอ งไมเ กินเดอื นละแปดพันหกรอยสบิ บาท

ใหนําความในขอ ๘ ขอ ๙ และขอ ๑๒ มาใชบ ังคบั กับการจายเงินเพม่ิ
การครองชพี ชวั่ คราวใหแกท หารกองประจาํ การดว ยโดยอนโุ ลม”

ขอ ๙ ใหเพมิ่ ความตอ ไปน้เี ปนขอ ๗/๒ ของระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ย
การเบิกจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๘

“ขอ ๗/๒ ทหารกองประจาํ การซง่ึ ไดรบั เงนิ เดอื นในระดบั พ.๑ กรณีท่เี งนิ เดอื น
รวมกบั เบีย้ เลี้ยงประจาํ ตามขอบงั คับกระทรวงกลาโหมวาดว ยการน้ันแลว มจี าํ นวนไมถ งึ เดือนละ

๑๗๙

เกา พันบาท ใหไ ดร ับเงินเพิ่มการครองชพี ชัว่ คราวเพมิ่ ขนึ้ ตามอตั ราทก่ี ระทรวงกลาโหมกาํ หนด
ซึ่งเม่ือรวมกับเงินเดือนและเบี้ยเลี้ยงประจําตามขอบังคับกระทรวงกลาโหมดังกลาวแลวตองไม
เกนิ เดอื นละเกา พนั บาท

ใหน าํ ความในขอ ๘ ขอ ๙ และขอ ๑๒ มาใชบ ังคับกับการจา ยเงินเพ่มิ
การครองชีพชวั่ คราวใหแกท หารกองประจาํ การดว ยโดยอนุโลม”

ขอ ๑๐ ใหยกลกิ ความในขอ ๙ ของระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยการเบกิ
จา ยเงินเพิม่ การครองชีพชวั่ คราวของขา ราชการและลกู จา งประจาํ ของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘
และใหใ ชค วามตอ ไปน้ีแทน

“ขอ ๙ ใหสวนราชการออกคําสั่งการไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวและให
สวนราชการผูเบกิ สง คาํ ขอเบิกเงนิ ซึง่ ตรวจสอบถกู ตองแลวมายังกรมบญั ชกี ลาง หรอื สํานกั งาน
คลังจังหวัด โดยไมตองสง สําเนาคําสั่งประกอบคาํ ขอเบกิ เงนิ ”

ขอ ๑๑ ใหยกเลิกขอ ๑๐ ของระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจาย
เงนิ เพิ่มการครองชีพชวั่ คราวของขา ราชการและลกู จา งประจาํ ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘

ขอ ๑๒ ใหยกเลิกความในขอ ๑๒ ของระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย
การเบิกจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใชความตอ ไปน้ีแทน

“ขอ ๑๒ วิธีปฏิบัติเก่ียวกับการจายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวและหลักฐาน
การจา ยใหถอื ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจา ยเงินเดือน เงนิ ป บําเหนจ็
บํานาญ เงนิ ประจําตําแหนง เงนิ เพมิ่ และเงนิ อื่นในลกั ษณะเดียวกนั หรอื ระเบียบกระทรวง
การคลังวาดว ยการจายคาจางลกู จางของสวนราชการ แลว แตก รณี โดยอนโุ ลม และใหเกบ็
หลกั ฐานการจายไวท่ีสวนราชการเพื่อใหสาํ นกั งานการตรวจเงินแผน ดนิ ตรวจสอบ”

ขอ ๑๓ ใหเ พ่ิมความตอไปนเ้ี ปนขอ ๑๒/๑ และขอ ๑๒/๒ ของระเบยี บกระทรวง
การคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพ่ิมการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและลูกจางประจําของ
สว นราชการ พ.ศ.๒๕๔๘

“ขอ ๑๒/๑ ในกรณที ส่ี ว นราชการมปี ญ หาในการปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บน้ี ใหก ระทรวง
การคลังเปนผูวินิจฉัย และในกรณีท่ีสวนราชการไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดในระเบียบนี้
ใหสว นราชการขอทาํ ความตกลงกับกระทรวงการคลัง

ขอ ๑๒/๒ การไดรับเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวตามระเบียบน้ีมิใหใชบังคับ
กับผูที่มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมวาดวยเงินเพ่ิมสําหรับ
ตําแหนงพนักงานสอบสวนคดพี เิ ศษและเจา หนาทีค่ ดพี เิ ศษ และผูท่มี สี ทิ ธไิ ดร ับเงนิ เพิ่มสําหรับ
ตาํ แหนง ตามระเบยี บคณะกรรมการกฤษฎกี าวา ดว ยการกําหนดตําแหนงนกั กฎหมายกฤษฎกี า”

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕
ธรี ะชัย ภวู นาถนรานุบาล

รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย
๑๘๐

ดว นที่สดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๐.๗ / ว ๕๕
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๑๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๕

เรื่อง การสงเร่อื งขอรับบําเหนจ็ บํานาญ บาํ เหน็จลูกจา ง และเงินชวยเหลอื ตามโครงการ
เกษยี ณอายกุ อนกาํ หนด

เรยี น อธิบดกี รมทด่ี ิน

อา งถึง ๑. ระเบียบกระทรวงการคลังวา ดวยการขอรบั และการจา ยบาํ เหน็จบาํ นาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๕๒๗ และท่ีแกไขเพิ่มเติม

๒. หนงั สอื กระทรวงการคลงั ดวนท่ีสดุ ท่ี กค ๐๔๒๐.๙/ว ๕๓ ลงวนั ที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๒
๓. หนงั สือกรมบญั ชีกลาง ที่ กค ๐๔๒๐.๑/ว๔ ลงวนั ท่ี ๙ มกราคม ๒๕๕๕

ตามระเบียบกระทรวงการคลงั ทีอ่ างถึง ๑ ขอ ๖ กาํ หนดใหข าราชการทพี่ นจาก
ราชการเพราะเกษียณอายุ ใหย นื่ คําขอรบั บําเหน็จบํานาญตอ สว นราชการเจาสงั กดั ลวงหนาได
เปนเวลา ๘ เดือนกอ นวันครบเกษียณอายุ ตามหลักเกณฑท ีก่ รมบญั ชีกลางกําหนด และขอ ๑๖
ใหเ จา หนาท่ีผูรบั ผิดชอบกรอกขอ ความในแบบคาํ ขอรับบําเหน็จบาํ นาญใหครบถว น และรวบรวม
หลกั ฐานเกย่ี วกบั การขอรบั บาํ เหนจ็ บาํ นาญ แลว เสนอหวั หนา สว นราชการหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั
แลว แตก รณี ลงนามในแบบคําขอแลวสง ไปยังสาํ นักบรหิ ารการเบกิ จา ยเงนิ กรมบญั ชีกลาง หรือ
สํานักงานคลังเขตในกรณีหนวยงานท่ีตั้งอยูในสวนภูมิภาคภายในสามสิบวันนับแตวันรับเรื่อง
พรอ มท้ังสง ขอ มลู ท่บี ันทึกและแบบคาํ ขอรบั เงินดังกลา วผานระบบบาํ เหน็จบาํ นาญ ตามหนังสือท่ี
อางถึง ๒ นน้ั

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา การสงเรอ่ื งการขอรับเงนิ บําเหนจ็
บาํ นาญ บําเหนจ็ ลกู จา ง ของผทู ีเ่ กษยี ณอายหุ รือเงนิ ชวยเหลอื ผูซ งึ่ ออกจากราชการตามมาตรการ
ปรบั ปรงุ อัตรากําลงั ของสว นราชการ (โครงการเกษียณอายุกอนกําหนด) สวนราชการสว นใหญ
จะสง ในชวงส้ินปง บประมาณ เน่ืองจากรอคําส่งั เล่ือนขัน้ เงนิ เดือนหรือเลื่อนเงนิ เดือนหรือเลอื่ น
คาจาง ณ วันที่ ๑ เมษายน หรอื วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ของปท่พี น จากราชการเพราะเกษยี ณอายุ
หรือเพราะออกจากราชการตามโครงการเกษียณอายกุ อนกําหนด สง ผลใหผูรับบําเหน็จบาํ นาญ
และบาํ เหนจ็ ลกู จา ง ไดร ับความเดอื ดรอ นจากการไมไ ดร ับเงินตอ เนือ่ งหลงั จากทเี่ กษียณอายุ
หรือออกจากราชการฯ รวมทั้งเกดิ ผลเสียตอสิทธิประโยชนตา งๆ เชน การไมสามารถใชส ทิ ธิเบกิ
เงนิ คา รกั ษาพยาบาลตอ เน่อื งได เปน ตน และทส่ี าํ คญั สําหรับผูท ี่ออกจากราชการตามโครงการ
เกษยี ณอายกุ อ นกาํ หนด ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ (วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕) หากสงเร่ืองการ
ขอรบั เงินชวยเหลือตามโครงการเกษียณอายกุ อนกาํ หนดลา ชา เปนเหตใุ หสว นราชการตองยืน่ ขอ
เบิกเงินหลังจากรอบการจา ยเงนิ ที่ ๓ ของเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ กรมบญั ชกี ลางจะหักภาษีเงนิ ได
บคุ คลธรรมดา ณ ที่จา ย สําหรับเงนิ ดังกลาวตามหนงั สือท่ีอางถึง ๓

๑๘๑

ดังน้ัน เพ่ือมิใหเกิดความเดือดรอนแกบุคคลดังกลาว จึงขอใหสวนราชการ
ดําเนนิ การ ดังนี้

๑. การสง เรอื่ งขอรับเงิน
๑.๑ บําเหนจ็ บํานาญปกตแิ ละบําเหนจ็ ลูกจา ง
ใหส วนราชการบันทกึ ขอมูลและสงแบบคาํ ขอรับเงินดังกลาว ผานระบบ

บาํ เหน็จบาํ นาญ พรอ มหลกั ฐานที่เกยี่ วขอ ง ตามหนังสอื ทอ่ี างถงึ ๒ ใหก รมบญั ชกี ลาง สํานกั
บริหารการรบั – จา ยเงนิ ภาครัฐ หรอื สํานกั งานคลังเขต แลวแตกรณี ลวงหนา ตงั้ แตเ ดือน
กุมภาพันธ แตอ ยางชาไมเกินเดือนกรกฎาคมของปท ี่พน จากราชการเพราะเกษียณอายุ

๑.๒ บําเหน็จบํานาญปกติและเงินชวยเหลือผูซึ่งออกจากราชการตาม
มาตรการปรบั ปรุงอตั รากําลงั ของสวนราชการ (โครงการเกษยี ณอายกุ อ นกาํ หนด)

ใหส วนราชการบนั ทกึ ขอมลู และสงแบบคําขอรับเงินดงั กลาวผา นระบบ
บาํ เหน็จบํานาญ พรอ มหลกั ฐานทีเ่ ก่ยี วขอ ง ตามหนังสือท่ีอา งถงึ ๒ ใหก รมบัญชีกลาง สาํ นัก
บรหิ ารการรบั –จายเงนิ ภาครฐั หรือสํานกั งานคลงั เขต แลวแตก รณี ลวงหนา ไดต ั้งแตเดอื น
กรกฎาคมของปทีอ่ อกจากราชการตามโครงการเกษยี ณอายกุ อ นกําหนด เปนตนไป

๒. กรณีไมสามารถสงสําเนาคําสั่งเล่ือนข้ันเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือนหรือเลื่อน
คา จา งเพ่อื ประโยชนในการคํานวณบําเหนจ็ บํานาญ ตามทร่ี ะบใุ นหนังสือท่อี างถงึ ๒ ใหส ว น
ราชการบนั ทึกขอ มลู เกีย่ วกับเงินเดือนเดอื นสุดทา ยหรอื เงนิ เดือนเฉล่ยี หกสบิ เดอื นสุดทา ย ตาม
อัตราเงินเดือนลาสุดท่ีสวนราชการบันทึกในสมุดประวัติหรือแฟมประวัติหรือคาจางเดือนสุดทาย
ตามบัตรลูกจา งประจาํ รายช่อื แลวแตก รณี เพอ่ื ใหกรมบัญชีกลาง (สํานกั บริหารการรับ – จา ยเงิน
ภาครัฐหรอื สาํ นกั งานคลงั เขต) สงั่ จา ยตามอตั ราเงินเดือน หรอื อัตราคา จา งดงั กลา วไปพลางกอน

ทั้งนี้ เมอ่ื สวนราชการออกคาํ ส่งั เล่ือนขน้ั เงนิ เดือนหรอื เล่ือนเงนิ เดอื นหรอื เล่ือน
คา จา ง ณ วันที่ ๑ เมษายน หรือวันที่ ๓๐ กันยายน ของปท ่ีพนจากราชการเพราะเกษียณอายหุ รือ
ปท่ีออกจากราชการตามโครงการเกษยี ณอายกุ อนกําหนดเสรจ็ เรยี บรอยแลว ใหบ นั ทกึ ขอมูลและ
ยื่นเรื่องขอรับเงินเพิ่มโดยแนบสําเนาคําสั่งเลื่อนข้ันเงินเดือนหรือเล่ือนเงินเดือนหรือเล่ือนคาจาง
ดังกลาว พรอมแบบคําขอรบั เงิน (แบบ ๕๓๑๖) เพ่ือกรมบัญชกี ลาง สาํ นกั บริหารการรับ – จายเงนิ
ภาครฐั หรอื สํานักงานคลงั เขต จะไดสง่ั จายเงนิ เพม่ิ ใหแ กผูมสี ิทธิรายนัน้ ตอ ไป

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ และแจงใหเ จา หนา ทผี่ รู ับผิดชอบถือปฏิบัติตอ ไปดว ย

ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงช่ือ) ณพงศ ศิรขิ นั ตยกุล

(นายณพงศ ศริ ขิ ันตยกลุ )
รองอธิบดี ปฏบิ ตั ิราชการแทน

อธบิ ดีกรมบญั ชกี ลาง
สาํ นักบริหารการรับ – จายเงนิ ภาครัฐ
สว นบรหิ ารการจายเงิน ๒
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๐๐๐ ตอ ๔๒๔๘ ๔๒๕๐ ๔๒๕๑
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๑๓๓

๑๘๒

ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๒ (สาํ เนา)

กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕

เร่ือง ซอมความเขาใจกรณีการเบกิ คายาประเภทวิตามิน
เรยี น อธบิ ดกี รมทีด่ นิ
อา งถงึ หนงั สอื กระทรวงการคลงั ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๔๕ ลงวนั ท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๕๒

ตามหนังสอื ท่อี า งถงึ กระทรวงการคลังไดเวียนแจงแนวทางการปฏิบัตแิ ละซอ ม
ความเขา ใจในการเบิกจา ยเงนิ สวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขาราชการ ซ่ึงไดก าํ หนดแนวทางการเบกิ
คายาประเภทวติ ามิน (Vitamins) นั้น

กรมบญั ชกี ลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา เนอ่ื งจากไดร บั ขอหารอื จากสว นราชการ
เกย่ี วกบั การเบิกจา ยคายาประเภทวติ ามิน (Vitamins) วา สามารถเบิกเปนคา รกั ษาพยาบาล
จากทางราชการไดหรือไม เชน วติ ามนิ รวม เปนตน จงึ เห็นควรซอ มความเขา ใจวา การเบกิ จา ย
คายาประเภทวิตามนิ (Vitamins)ใหเ บกิ จา ยไดเ ฉพาะวติ ามนิ ท่ีไดร บั การข้นึ ทะเบยี นเปน ยาจาก
สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และมีคณุ สมบัติในการบาํ บดั รักษาโรค โดยให
เบิกจา ยตามรายการและเงอ่ื นไขที่กําหนดในบัญชยี าหลักแหง ชาติเทานน้ั ทง้ั นี้ ใหถ ือปฏิบตั ิตาม
หนงั สือกระทรวงการคลงั ท่ีอา งถงึ ดงั กลา วโดยเครงครัด

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) รังสรรค ศรวี รศาสตร
(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธบิ ดีกรมบญั ชกี ลาง

สาํ นักมาตรฐานคา ตอบแทนและสวสั ดกิ าร
กลุมงานสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๑๘๓

ดว นท่ีสดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๖
กรมบัญชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๕

เรื่อง หลกั เกณฑกระทรวงการคลังวา ดว ยการเบกิ คา พาหนะสงตอผปู วย
เรียน อธบิ ดีกรมท่ดี ิน
อางถงึ หนงั สือกรมบัญชีกลาง ดว นท่ีสดุ ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๓๒ ลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕
สิ่งท่สี งมาดว ย หลกั เกณฑก ระทรวงการคลงั วา ดวยการเบกิ คา พาหนะสงตอ ผูป วย

ตามหนังสอื ท่ีอา งถงึ กรมบญั ชีกลางไดก ําหนดหลกั เกณฑก ารเบกิ คาพาหนะสง
ตอผปู วย เพ่อื ใชใ นการเบิกจายเงินสวสั ดิการเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาล นั้น

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว เห็นสมควรปรบั ปรุงหลักเกณฑกระทรวงการคลัง
วาดว ยการเบิกคา พาหนะสง ตอผูป วย เพอ่ื ใหเกดิ ความชัดเจนยิง่ ขึ้น จงึ ใหยกเลกิ หนงั สือกรมบัญชี
กลางท่อี างถงึ และถือปฏิบัติตามหลักเกณฑการเบิกคา พาหนะสงตอผูปวยทส่ี งมาดว ยน้ี

ทง้ั นี้ ใหมผี ลใชบ งั คับตงั้ แตวันที่ ๑ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๕ เปนตนไป

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ และแจง ใหเ จาหนา ทท่ี เ่ี ก่ยี วขอ งทราบและถอื ปฏบิ ัติ
ตอ ไปดวย จักขอบคุณย่งิ

ขอแสดงความนับถอื

(ลงชือ่ ) รังสรรค ศรีวรศาสตร
(นายรงั สรรค ศรีวรศาสตร)
อธบิ ดีกรมบัญชกี ลาง

สาํ นกั มาตรฐานคาตอบแทนและสวสั ดกิ าร
กลุม งานสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๑๘๔

หลักเกณฑก ระทรวงการคลัง
วาดว ยการเบิกคาพาหนะสง ตอผูปว ย

____________________
โดยท่ีเปนการสมควรกําหนดหลักเกณฑการเบิกคาพาหนะสงตอผูปวย อาศัย
อํานาจตามความในมาตรา ๔ (๘) แหงพระราชกฤษฎกี าเงนิ สวสั ดกิ ารเกีย่ วกบั การรักษาพยาบาล
พ.ศ. ๒๕๕๓ กรมบัญชีกลางโดยไดร ับมอบอํานาจจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลงั จึงกาํ หนด
หลกั เกณฑไ ว ดงั ตอ ไปน้ี
ขอ ๑ หลักเกณฑนี้เรียกวา “หลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกคา
พาหนะสงตอ ผปู วย”
ขอ ๒ หลักเกณฑน ใ้ี หใ ชบงั คับตั้งแตว นั ที่ ๑ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๕ เปนตน ไป
ขอ ๓ ในหลกั เกณฑนี้

“ผมู ีสทิ ธิ” หมายความถึง ผูม ีสทิ ธแิ ละบุคคลในครอบครัว ตามพระราช
กฤษฎกี าเงินสวสั ดกิ ารเก่ยี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓

“สถานพยาบาล” หมายความวา สถานพยาบาลของทางราชการตาม
พระราชกฤษฎกี าเงินสวสั ดิการเก่ียวกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓

“พาหนะสง ตอ ผูปวย” หมายความวา รถพยาบาลของสถานพยาบาล
เทา นน้ั ไมร วมถึงรถสวนตัวหรือรถสาธารณะ

“สถานพยาบาลผเู บิก” หมายความวา สถานพยาบาลทนี่ ําพาหนะไปสง
ผูปว ย (สถานพยาบาลตน ทาง) หรือสถานพยาบาลทไ่ี ปรับผปู ว ย (สถานพยาบาลปลายทาง)

ขอ ๔ เง่ือนไขการเบกิ คา พาหนะสงตอ ผปู ว ย
๔.๑ ผูปวยตองอยูระหวางรับการรักษาพยาบาลที่สถานพยาบาลตนทาง

ประเภทผปู ว ยในหรอื ผปู ว ยนอกเฉพาะกรณีอบุ ตั ิเหตุหรือฉุกเฉิน ซง่ึ อยใู นภาวะวิกฤติหรอื เปน
อันตรายตอ ชวี ิต

๔.๒ สถานพยาบาลปลายทางตองรับไวเปนผูปวยในหรือสังเกตอาการ
(ยกเวน กรณเี สยี ชีวติ ระหวา งสงตอ ) หรอื สถานพยาบาลปลายทางรับไวเปน ผปู วยใน แลวทําการ
รักษาจนพนภาวะวกิ ฤติ เหน็ ควรสงกลับเพอื่ ไปพักฟน หรือไปรกั ษาตอยังสถานพยาบาลตน ทาง
ท่ที าํ การสงตอ

๔.๓ เปน การสงตอผปู ว ยจากสถานพยาบาลหนง่ึ ไปยังสถานพยาบาลอืน่
เนื่องจากไมสามารถทําการรักษาได แตไมร วมถึง กรณกี ารรบั ผูปว ยจากบา นหรอื ท่เี กดิ เหตุ
การสงไปตรวจทางหองทดลองหรือเอ็กซเรยยังสถานพยาบาลอ่ืนเนื่องจากสถานพยาบาลน้ันไม
อาจใหก ารตรวจทางหองทดลองหรือเอก็ ซเรยแกผูเ ขารับการรกั ษาได

๔.๔ ในกรณีท่ีพาหนะสงตอผูปวยเปนของสถานพยาบาลอื่นนอกจาก
สถานพยาบาลตนทางหรือปลายทาง หรือเปนพาหนะสงตอ ของสถานพยาบาลเอกชน ใหส ถาน

๑๘๕

พยาบาลตนทางหรือปลายทางทเ่ี ปน “ผูขอใชพาหนะ” เปน ผเู บิกจา ยใหกับสถานพยาบาลเจาของ
พาหนะ

ขอ ๕ การคิดระยะทางในการสง ตอ ผูปวย ใหค ิดจากสถานพยาบาลตน ทางไป
ยังสถานพยาบาลปลายทางตามพกิ ดั GPS ดว ยโปรแกรมทสี่ าํ นักงานกลางสารสนเทศบรกิ าร
สขุ ภาพ (สกส.) ไดจดั ทาํ ไว ตามหลกั เกณฑด งั ตอ ไปน้ี

๕.๑ กรณีท่มี กี ารสง ตอ ผูปวยสถานพยาบาลหลายแหง จะคิดระยะทาง
จากสถานพยาบาลตน ทาง ถงึ สถานพยาบาลปลายทางที่รบั ตวั ผปู วยไวเ พ่ือทําการรกั ษาเทา นน้ั

๕.๒ เศษของระยะทางที่ตา่ํ กวา ๕ กิโลเมตร จะปดขึ้นเปน จาํ นวนเตม็ ที่
หารดว ย ๕ ลงตวั

ขอ ๖ อัตราการเบิกคาพาหนะสงตอผูปวยใหเบิกไดในอัตรา ๕๐๐ บาท
บวกดวยอัตราตามระยะทางจากสถานพยาบาลตนทางถึงสถานพยาบาลปลายทาง (กิโลเมตร)
คณู ๒ (ไป – กลบั ) คณู อัตรา ๔ บาทตอกิโลเมตร

ขอ ๗ คา บรกิ ารพาหนะสง ตอ ผปู ว ย ไมถือรวมเปน คา รกั ษาพยาบาลประเภท
ผูปวยนอกทเ่ี กดิ ข้นึ กอนรบั ผมู สี ทิ ธเิ ปน ผปู วยใน ๒๔ ชวั่ โมง ทจี่ ะตอ งนาํ มาคาํ นวณตามเกณฑ
กลมุ วนิ จิ ฉยั โรครว ม (DRG) ตามหนังสอื กรมบญั ชีกลาง ดวนท่ีสดุ ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๑๑๒
ลงวนั ที่ ๒๔ มนี าคม ๒๕๕๔

ขอ ๘ วธิ กี ารเบิกคา พาหนะสง ตอผปู วย
๘.๑ ใหสถานพยาบาลทีท่ าํ การสงตอ ผปู ว ยบันทกึ ขอมูลใน “แบบขอเบิก

คารถสงตอ ผปู ว ย” ในโปรแกรมเบิกคา รถสง ตอ ที่ http;//cs๑.chi.or.th/ambtrcs และพมิ พแบบขอ
เบกิ ดงั กลาวใหเ จา หนาทีผ่ ูสง ตอ ลงลายมือช่ือนําไปพรอมกับการสงตอผปู วย (หรอื อาจจะกรอก
ขอ มลู ในแบบขอเบกิ คา รถสง ตอท่ีจัดพมิ พไวล วงหนา แลว กไ็ ด)

๘.๒ ใหเจาหนาที่สถานพยาบาลปลายทางลงลายมือชื่อรับการสงตอ
และใหสถานพยาบาลผูเบิกนําขอมูลการบันทึกในแบบขอเบิกคารถสงตอผูปวยกลับมาบันทึกใน
โปรแกรมเบกิ คารถสงตอใหค รบถว น ท้ังนีส้ ถานพยาบาลทข่ี อเบิกตอ งเกบ็ เอกสาร “แบบขอเบิก
คา รถสงตอผปู วย” ไวเ ปน หลกั ฐานสําหรับการตรวจสอบ

๘.๓ เม่ือฝายการเงินของสถานพยาบาลตรวจสอบแลววาขอมูลการสง
ตอ ผูปวยรายนัน้ ถกู ตองครบถวน ใหท ําการบันทึกเปนไฟล สงมาใหส ํานกั งานกลางสารสนเทศ
บรกิ ารสขุ ภาพ (สกส.) ที่ [email protected] โดยสาํ นักงานกลางสารสนเทศบรกิ ารสุขภาพ
(สกส.) จะแจงผลการตรวจสอบและเอกสารท่ีตอบรบั ทาง mailbox ของสถานพยาบาลไวเปน
หลกั ฐาน

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๕
(ลงชื่อ) รังสรรค ศรีวรศาสตร
(นายรงั สรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

๑๘๖

ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๙ (สาํ เนา)

กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๕

เรอ่ื ง การเบิกจายตรงคารักษาพยาบาลทดแทนไตในผูปวยไตวายเรือ้ รังดวยวธิ ไี ตเทียม
กรณกี ารสงตอ ผปู วย

เรยี น อธบิ ดีกรมท่ีดนิ

ตามทก่ี รมบัญชีกลาง ไดก ําหนดหลักเกณฑและอตั ราการเบิกจา ยคารักษา
พยาบาลทดแทนไตในผปู ว ยไตวายเรื้อรังดว ยวิธไี ตเทยี ม โดยใหส ถานพยาบาลของเอกชนเปน
ผูเบกิ จา ยโดยตรงกบั กรมบัญชกี ลาง และไดม กี ารประกาศใหส ถานพยาบาลของเอกชนเขารวม
โครงการทั้งสนิ้ ๒๐๒ แหง รายชื่อปรากฏในเวบ็ ไซตกรมบญั ชกี ลาง น้นั

กรมบญั ชีกลางพจิ ารณาแลว ขอเรยี นวา บัดน้ี สถานพยาบาลของเอกชนทีเ่ ขา
รวมโครงการเพ่ิมเติม ๑ แหง ไดแ ก โรงพยาบาลจุฬารัตนส ุวรรณภมู ิ จงั หวัดสมุทรปราการ โดยให
ดาํ เนนิ การในระบบเบกิ จา ยตรงได ตงั้ แตว ันจันทรท่ี ๕ มนี าคม ๒๕๕๕ เปน ตนไป

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ และแจง ใหเ จา หนาท่ีทเ่ี ก่ยี วขอ งทราบและถอื ปฏิบตั ิ
ตอ ไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงช่อื ) รังสรรค ศรวี รศาสตร
(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธบิ ดกี รมบญั ชกี ลาง

สาํ นักมาตรฐานคา ตอบแทนและสวัสดกิ าร
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๖
www.cgd.go.th

๑๘๗

ท่ี มท ๐๕๐๓.๒ / ว ๑๒๘๐๐ (สําเนา)
กรมที่ดิน
ศูนยร าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ถนนแจง วัฒนะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เรื่อง การบันทกึ รหัสรายไดจากการอนญุ าตใหเอกชนดําเนินการติดต้ังเครอื่ งถายเอกสาร
ในท่รี าชพัสดุ

เรยี น ผูว า ราชการจงั หวัดทุกจังหวดั

ส่ิงทสี่ งมาดว ย ๑. สาํ เนาหนังสอื กรมธนารักษ ท่ี กค ๐๓๑๑/๔๗๓๐ ลงวันท่ี ๓๐ มนี าคม ๒๕๕๕
๒. รายละเอยี ดประกอบการปรับปรงุ บญั ชแี ยกประเภทการจดั เกบ็ รายได

ดวยกรมท่ีดินไดแจงใหกรมธนารักษพิจารณาการบันทึกรหัสรายไดจากการ
อนุญาตใหเอกชนดําเนินการติดตั้งเคร่ืองถายเอกสารในที่ราชพัสดุ โดยหนวยเบิกจายในสังกัด
กรมท่ีดินมกี ารบนั ทกึ รายได จาํ นวน ๒ รหัส ไดแก รหัสรายได ๖๗๑ และรหัสรายได ๘๓๐ เพื่อ
ใหการบันทึกรหัสรายไดของหนวยงานในสังกัดกรมท่ีดินมีความถูกตองและเปนไปในแนวทาง
เดยี วกัน

กรมที่ดนิ ขอเรยี นวา กรมธนารักษไดแ จงผลการพิจารณาการบนั ทึกรหัสรายได
ดงั กลา วใหใชร หสั รายได ๘๓๐ บญั ชแี ยกประเภท บญั ชีรายไดท ่ีไมใชภ าษอี ื่น รหัสบัญชี
๔๒๐๖๐๑๐๑๙๙ โดยมรี หัสแหลงของเงิน xx๑๙๔๐๐ รายละเอียดปรากฏตามสาํ เนาหนังสือที่สง
มาดวย ๑ ท้งั นี้ กรมทดี่ นิ ไดแจงใหกรมธนารกั ษป รบั ปรงุ บัญชแี ยกประเภทท่ีบนั ทึกรหสั บญั ชีผดิ
ตง้ั แตเ ดือนตุลาคม ๒๕๕๔ ถงึ เดอื นเมษายน ๒๕๕๕ ตามสิ่งทส่ี ง มาดวย ๒ ดว ยแลว

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดแจงใหสํานักงานที่ดินจงั หวัดทราบและถอื ปฏิบัติ

ขอแสดงความนบั ถือ

กองคลงั (ลงช่อื ) มณเฑยี ร ทองนิตย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๖๙ (นายมณเฑยี ร ทองนิตย)
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๙๑-๙๒
รองอธบิ ดี ปฏบิ ัติราชการแทน
อธบิ ดีกรมทด่ี ิน

๑๘๘

(สําเนา)

ท่ี มท ๐๓๑๑ / ๔๗๓๐ กรมธนารักษ
ถนนพระรามที่ ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

๓๐ มีนาคม ๒๕๕๕

เร่อื ง การบนั ทึกรหัสรายไดจากการอนุญาตใหเ อกชนดําเนนิ การตดิ ตัง้ เคร่อื งถา ยเอกสาร
ในทีร่ าชพสั ดุ

เรยี น อธบิ ดกี รมท่ีดนิ

อางถงึ หนังสือกรมทีด่ นิ ที่ มท ๐๕๐๓.๒/๓๒๖๐๕ ลงวนั ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

สงิ่ ที่สง มาดวย ๑. สาํ เนาหนังสอื กรมบัญชีกลาง ดวนท่สี ดุ ที่ กค ๐๔๐๙.๒/ว ๗๔ ลงวันท่ี ๒๖
กุมภาพนั ธ ๒๕๕๑

๒. สําเนาหนังสอื กรมธนารกั ษ ท่ี กค ๐๔๑๙/ว ๑๓๕ ลงวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑

ตามหนังสือท่อี า งถงึ แจงวา กรมที่ดนิ ไดตรวจสอบขอ มลู การบันทึกรหสั รายได
คาตอบแทนการใชประโยชนในที่ราชพัสดุจากการอนุญาตใหเอกชนดําเนินการติดตั้งเครื่องถาย
เอกสารในท่รี าชพัสดุของหนว ยเบิกจา ยในสงั กดั กรมท่ีดนิ มีการบนั ทกึ รายไดจ ํานวน ๒ รหสั คอื
รหสั รายได ๖๗๑ และรหัสรายได ๘๓๐ และเหน็ วา รายได ๒ รหสั ไดใ หค วามหมายทส่ี ามารถ
บันทกึ รายการทางบัญชจี ากการรบั เงินคา ตอบแทนฯ จากการอนุญาตใหเ อกชนดําเนนิ การติดต้งั
เคร่อื งถายเอกสารในทรี่ าชพสั ดุได จงึ ขอใหก รมธนารักษพิจารณาการบนั ทกึ รหสั รายไดดงั กลาว
เพื่อใหการบันทึกรหัสรายไดของหนวยงานในสังกัดกรมท่ีดินมีความถูกตองและเปนไปใน
แนวทางเดยี วกัน นน้ั

กรมธนารักษพิจารณาแลวขอเรียนวา กรมบัญชีกลางไดก ําหนดใหส ว นราชการ
ใชรหัสรายได ๖๗๑ กับบญั ชแี ยกประเภท บัญชีรายไดค า เชาอสงั หารมิ ทรพั ย และรหสั รายได
๘๓๐ ใชกับบัญชีแยกประเภท บัญชรี ายไดท่ีไมใชภ าษีอน่ื หมายถึง รายไดเบด็ เตลด็ ของแผนดิน
จากผลประโยชนเ บด็ เตลด็ อน่ื ๆ นอกจากทร่ี ะบไุ ว รายละเอยี ดตามสง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑ ซง่ึ กรมธนารกั ษ
ไดพิจารณาตามนัยหนังสอื ท่ี กค ๐๔๑๙/ว ๑๓๕ ลงวนั ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑ แลววา กรณีการ
อนุญาตใหเ อกชนดาํ เนนิ การติดต้งั เครื่องถายเอกสารในทร่ี าชพัสดุ ไมถอื วาเปนการจดั ใหเ ชา
และใหนําสง คาตอบแทนการใชป ระโยชนท ่ีราชพสั ดุเปนรายไดก รมธนารักษ รหัสรายได ๘๓๐
รายละเอยี ดตามสง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๒ ดงั นน้ั จงึ ขอใหก รมทด่ี นิ ดาํ เนนิ การบนั ทกึ รหสั รายไดค า ตอบแทน

๑๘๙

การใชประโยชนในที่ราชพัสดุจากการอนุญาตใหเอกชนดําเนินการติดต้ังเครื่องถายเอกสารใน
ทร่ี าชพสั ดุ ในรหัสรายได ๘๓๐ ตามนัยหนังสือดงั กลาวตอไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ
ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงชือ่ ) วัฒนา เชาวสกู
(นายวฒั นา เชาวสก)ู

ท่ีปรึกษาดานพัฒนาอสังหารมิ ทรพั ย รกั ษาราชการแทน
รองอธบิ ดี ปฏิบตั ริ าชการแทน
อธบิ ดีกรมธนารกั ษ

สํานักบริหารทร่ี าชพัสดกุ รงุ เทพมหานคร
โทรศพั ท ๐ ๒๒๗๘ ๒๔๒๖
โทรสาร ๐ ๒๒๗๙ ๘๔๑๐

๑๙๐

(สําเนา)

ที่ มท ๐๔๑๙ / ว ๑๓๕ กรมธนารกั ษ
ถนนพระรามท่ี ๖ กท. ๑๐๔๐๐

๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑

เร่ือง ขอตัง้ เครอ่ื งถา ยเอกสาร

เรียน
ดวยกรมธนารักษไดรับเร่ืองการขออนุญาตดําเนินการตั้งเครื่องถายเอกสารจาก

สว นราชการตา งๆ ท่คี รอบครองใชประโยชนใ นที่ราชพัสดุอยเู ปน ประจาํ และไดม ีการอนญุ าตไป
แลว บางสว น ซงึ่ ตามเงื่อนไขที่กรมธนารักษกําหนดไวเดิมอาจไมไ ดรับความสะดวกและคลอ งตวั
ในการปฏบิ ตั ิงาน

กรมธนารักษพิจารณาแลว เพือ่ เปนการอาํ นายความสะดวกแกบ คุ คลท่วั ไปและ
เพ่ือความสะดวกรวดเร็ว คลองตวั ในการอนุญาตใหมีการตง้ั เคร่ืองถา ยเอกสารในสถานทร่ี าชการ
ใหเ ปนไปในแนวทางเดียวกนั ดังน้ัน กรมธนารกั ษจ งึ ไมขดั ขอ งทจ่ี ะใหสวนราชการท่ีครอบครอง
ใชประโยชนในท่ีราชพัสดุเปนผูพิจารณาอนุญาตใหเอกชนดําเนินการต้ังเครื่องถายเอกสารใน
ท่ีราชพสั ดุไดตามความจําเปนและเหมาะสม โดยไมถือวา เปน การจัดใหเ ชา และขอใหดาํ เนินการ
ดังนี้

๑. กรณีท่ีสวนราชการไดอนุญาตใหเอกชนตั้งเครื่องถายเอกสารตามเง่ืองไขที่
กรมธนารักษกาํ หนดไวเดิม ใหปฏิบตั ติ ามเงอื่ นไขเดิมจนกวา จะสิน้ สุดระยะเวลาการเชา

๒. เมื่อส้ินสุดระยะเวลาการเชาหรืออนุญาตใหมีการต้ังเครื่องถายเอกสารใหม
ใหเ รยี กเก็บคาตอบแทนการใชป ระโยชนในทร่ี าชพสั ดุ ในอัตราเคร่อื งละ ๕๐๐ บาทตอเดือน
โดยเอกชนตอ งติดตง้ั มเิ ตอรไฟฟาแยกตางหากและเปน ผชู ําระคาไฟฟาเอง

๓. ใหน าํ สง คา ตอบแทนการใชป ระโยชนใ นทร่ี าชพสั ดเุ ปน รายไดข องกรมธนารกั ษ
รหัสหนว ยงาน ๐๓๐๓๐ รหสั รายได ๘๓๐ เม่อื ดําเนนิ การแลว โปรดสง สําเนาใบนาํ สง เงนิ ไป
ประกอบเร่อื งไวท ีก่ รมธนารกั ษ

อนึง่ เมื่อไดม หี รือยกเลกิ การอนุญาตขอไดโ ปรดแจง ใหก รมธนารักษทราบภายใน
๓๐ วันนบั แตวันทไ่ี ดม หี รอื ยกเลิกการอนุญาต

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหสวนราชการในสังกัดถือปฏิบัติตอไปดวย
จะขอบคุณย่งิ

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชือ่ ) ปยพันธุ นมิ มานเหมินท

(นายปย พันธุ นิมมานเหมินท)
รองอธิบดี รักษาราชการแทน

อธบิ ดกี รมธนารกั ษ
สํานกั บรหิ ารทรี่ าชพสั ดุ ๑
โทร. ๒๗๘๒๔๒๖ โทรสาร ๒๗๙๘๔๑๐

๑๙๑

ดวนทีส่ ุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๙.๒ / ว ๗๔
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๖ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑

เรอ่ื ง การปฏบิ ัติเกี่ยวกบั ระบบรบั และนําเงินสง คลงั ในระบบ GFMIS

เรยี น ปลดั กระทรวง อธบิ ดี อธิการบดี เลขาธกิ าร ผอู าํ นวยการ ผูบัญชาการ
ผวู า การตรวจเงนิ แผน ดนิ ผวู าราชการจังหวดั

สิ่งที่สงมาดวย ๑. ขอ มลู ที่ตอ งบนั ทึกเพิม่ เติมในรายการรับและนาํ เงินสงคลงั
๒. แบบเอกสารการรบั และนาํ เงินสงคลงั
๓. แบบใบนําฝากเงิน (Pay-in Slip) และใบรบั เงนิ (Deposit Slip)
๔. ตารางเปรียบเทียบรหสั บญั ชีแยกประเภท รหัสรายได และรหสั แหลง ของเงิน
๕. การบนั ทกึ บญั ชีรับและนําสง เงนิ ของหนวยงาน

ดว ยกรมบญั ชกี ลางไดพ ฒั นาระบบรบั และนาํ เงนิ สง คลงั ในระบบ GFMIS ขน้ึ ใหม
เพื่อใหระบบสามารถบันทึกขอมูลประเภทของเงินที่นําสงพรอมกับการสงเงินที่ธนาคารกรุงไทย
จํากดั (มหาชน) มีผลทาํ ใหกระบวนการปฏิบตั งิ าน แบบเอกสารตางๆ ท่ใี ชใ นการปฏิบตั ิงาน
ตลอดจนชอ่ื บัญชีไดปรับเปล่ียนใหม ท้ังน้ี หนวยงานผเู บิกตองทาํ การกระทบยอดเงนิ ท่ีนําสง กับ
ขอ มลู ที่บนั ทกึ เขาระบบคร้งั แรก

เพื่อใหสวนราชการเขาใจและสามารถปฏิบัติงานในเรื่องดังกลาวไดอยางถูกตอง
กรมบัญชกี ลางจงึ ขอเรียนดงั นี้

๑. การบันทึกรายการในระบบรับและนําเงินสงคลัง ตองบันทึกรหัสรายได
(๓ หลกั ) ไมวาจะบันทึกผาน GFMIS Terminal หรือ Excel Loader เพ่อื ใหม ีขอ มูลประเภทของ
เงนิ ทนั ทีท่ีหนวยงานนาํ สงเงินทธ่ี นาคารกรุงไทยฯ สาํ หรบั ขอ มูลที่ตอ งบนั ทึกเพม่ิ เติมปรากฏตาม
สงิ่ ที่สงมาดว ย ๑

๒. การปรับปรงุ แบบเอกสร (Excel Form) เกยี่ วกบั การรับและนําเงนิ สง คลังผาน
Excel Loader ใหสามารถบนั ทึกขอ มลู การนําสงเงิน (นส.๐๒-๑และ นส.๐๒-๒) เพื่อใหระบบ
ทราบวาเปน เอกสารผานรายการหรือเอกสารพกั รายการ และปรบั ชองในแบบเอกสารใหร องรับ
การบนั ทกึ ขอมลู รหัสรายได (๓ หลกั ) โดยหนวยงานสามารถ Download แบบเอกสารใหมไดจ าก
Web Report (http://gfmisreport.mygfmis.com) รายละเอียดปรากฏตามสง่ิ ท่สี ง มาดวย ๒

๑๙๒

สําหรบั การปฏิบัติงานผา น GFMIS Terminal ขอมูลรหสั รายได (๓ หลกั )
ไดก าํ หนดใหบ นั ทึกในชอ ง (Field) “คียอ างองิ ๑”

๓. แบบใบนําฝากเงิน (Pay-in Slip) ที่ใชนาํ สงเงินท่ธี นาคารกรงุ ไทยฯ ไดป รบั ปรุง
ใหมเพื่อใหห นว ยงานระบปุ ระเภทของเงินทีน่ าํ สง โดยหนว ยงานสามารถ Download แบบเอกสาร
ใหมไดจ าก Web Report พรอ มนธ้ี นาคารกรุงไทยฯ ไดป รับแบบใบรบั เงิน (Deposit Slip) ใหม
ใหสอดคลอ งกับใบนาํ ฝากเงินรายละเอียดปรากฏตามส่งิ ทสี่ ง มาดว ย ๓

๔. การนําขอ มลู การนาํ สง เงนิ ที่ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เขาระบบ
GFMIS จะปรากฏชือ่ บญั ชี “บัญชีพักเงินนาํ สงคลัง” (๑๑๐๑๐๑๐๑๑๒) ในหนว ยงานผูนําสง
โดยหนวยงานตองเรงบันทึกขอมูลการนําสงเงินเขาระบบเพ่ือปรับปรุงลางบัญชีพักเงินนําสงคลัง
นนั้ ออกไป ทงั้ น้ี ไดกําหนดรหสั บญั ชีแยกประเภท รหัสรายได และรหัสแหลง ของเงินเพอื่ ใหงายตอ
การปฏบิ ัติ รายละเอยี ดปรากฏตามสิ่งท่สี ง มาดวย ๔

๕. การปฏบิ ตั กิ ารรับและนาํ สงตลอดจนวิธกี ารทางบญั ชีในระบบ GFMIS กรณี
การบนั ทกึ รับและนาํ สงเงนิ ของหนวยงาน การบันทกึ รบั และนําสงเงนิ แทนกนั การนาํ สง เชค็
ขัดของ การนาํ สง เงิน เบิกเกินสง คืน ปรากฏตามสง่ิ ทีส่ ง มาดว ย ๕

อน่ึง การปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกนําสงคืนวงเงินทดรองราชการท่ีหนวยงาน
แจงสงคืน เน่ืองจากไมมีความจําเปนใชเงินทดรองหรือตองการลดยอดวงเงินทดรองท่ีเคยไดรับ
กรมบญั ชีกลางจะแจงแนวปฏบิ ตั ิใหท ราบตอไป

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ และแจงใหเจา หนาท่ที เี่ กีย่ วของทราบและถอื ปฏิบตั ิ
ตงั้ แตวนั ที่ ๑ มนี าคม ๒๕๕๑ เปน ตนไป อนึง่ ทานสามารถเปดดหู นังสือนไี้ ดท เ่ี ว็บไซตของ
กรมบญั ชกี ลาง www.cgd.go.th และสามารถ Download คมู อื การปฏบิ ตั งิ านไดจ าก Web Report

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) อุไร รม โพธิหยก

(นางอุไร รมโพธหิ ยก)
รองอธบิ ดี ปฏบิ ัตริ าชการแทน

อธิบดกี รมบัญชีกลาง

สํานักกํากบั และพฒั นาระบบการบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส
กลมุ งานวิเคราะหขอมูลและรายงาน
โทร. ๐-๒๒๗๐-๐๓๙๙
โทรสาร ๐- ๒๒๗๑-๒๙๒๐
www.cgd.go.th

๑๙๓

สง่ิ ท่สี งมาดว ย ๔/๑
ตารางเปรียบเทยี บรหสั บัญชีแยกประเภท รหัสรายได และรหสั แหลง ของเงนิ

รหัส ช่อื บญั ชีแยกประเภท ความหมาย รหสั รหสั
บัญชแี ยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔. บัญชีรายได

๔.๑ บัญชีรายไดภาษี

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชรี ายไดภาษีเงินได หมายถึง รายไดภ าษอี ากรทีเ่ รียกเกบ็ จากผูมีหนาท่ีเสยี

บคุ คลธรรมดา ภาษเี งนิ ไดบ ุคคลธรรมดา ซ่งึ มเี งินไดพึงประเมนิ เขา

หลกั เกณฑท ี่จะตองเสยี ภาษีเงนิ ไดบ คุ คลธรรมดาตาม

ประมวลรัษฎากร ๐๐๑ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บญั ชีรายไดภาษีเงนิ ได หมายถงึ รายไดภ าษเี งินไดบุคคลธรรมดาหัก ณ ท่จี าย xx๑๙๑๐๐

บุคคลธรรมดา ภงด.๑ จากเงนิ ไดจากการจางแรงงาน ตามประมวลรัษฎากร ๐๐๑ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บัญชรี ายไดภาษเี งินได หมายถึง รายไดภาษีเงินไดบ ุคคลธรรมดาทจ่ี ัดเกบ็ แลว xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
บคุ คลธรรมดาจา ยคืน และคืนใหแ กผ เู สยี ภาษี เปนบัญชีปรบั มลู คา รายได xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ๐๐๑ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บญั ชีรายไดภ าษเี งินไดน ิตบิ ุคคล หมายถึง รายไดภาษอี ากรท่ีเรยี กเก็บจากกาํ ไรสุทธิหรือ
xx๑๙๑๐๐
รายไดข องบรษิ ัทจาํ กดั หา งหุน สวนจํากัด หา งหนุ สวน
xx๑๙๑๐๐
สามัญ จดทะเบยี น และนติ บิ คุ คลประเภทอืน่ ที่มลี ักษณะ xx๑๙๑๐๐

และเขาหลกั เกณฑท ต่ี อ งมีหนา ทีเ่ สยี ภาษีเงนิ ไดน ิตบิ คุ คล

ตามประมวลรัษฎากร ๐๐๒

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บญั ชรี ายไดภาษีเงินได หมายถึง รายไดภ าษเี งินไดนติ บิ คุ คลทจ่ี ดั เกบ็ แลว และ

นติ บิ ุคคลจา ยคืน คนื ใหแกผูเ สียภาษี เปน บัญชีปรบั มูลคารายไดภาษี

เงนิ ไดนติ บิ คุ คล ๐๐๒

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๗ บญั ชีรายไดภ าษีเงนิ ไดป โ ตรเลยี ม- หมายถงึ รายไดภาษีท่จี ดั เกบ็ จากรายไดสุทธขิ องบรษิ ทั

หนวยงานภาครฐั เอกชนและนติ บิ ุคคลอืน่ ตาม พรบ.ภาษีเงินไดปโ ตรเลยี ม

พ.ศ.๒๕๑๔ และกฎ ๐๐๓

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๘ บัญชรี ายไดภ าษเี งนิ ไดปโ ตรเลียม- หมายถึง รายไดภ าษีทจ่ี ดั เก็บจากรายไดส ทุ ธขิ องบรษิ ัท

บุคคลภายนอก เอกชนและนิติบคุ คลอ่นื ตามพรบ.ภาษเี งินไดปโตเลียม

พ.ศ.๒๕๑๔ และกฎหมายท่ีเก่ยี วของ ๐๐๓

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๙ บญั ชีรายไดภ าษีการเดนิ ทาง หมายถงึ รายไดท ่ีจัดเปน ภาษกี ารเดินทางตามการจดั

ประเภทรายไดแ ผน ดนิ ของกรมบญั ชกี ลาง ๐๐๔

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๑๐ บัญชีรายไดภาษที รพั ยส นิ หมายถึง รายไดท ี่จัดเปนภาษที รัพยสินตามการจัด

ประเภทรายไดแ ผนดินของกรมบัญชกี ลาง ๐๖๐

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๑๑ บัญชรี ายไดภาษีมรดก หมายถงึ รายไดท จ่ี ดั เปนภาษีมรดก ตามการจดั ประเภท

รายไดแ ผน ดินของกรมบัญชีกลาง ๐๗๐

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๙๘ บญั ชรี ายไดภ าษเี งินไดอ น่ื หมายถึง รายไดภ าษีจากภาษีทางตรงอ่ืนๆ นอกจากที่

ระบุไวข างตน ๐๘๐

๔ ๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บัญชีรายไดภ าษเี งนิ ไดอนื่ จายคืน หมายถงึ รายไดภ าษีทางตรงอ่ืนทีจ่ ดั เก็บแลว

และคืนใหแ กผเู สยี ภาษเี ปนบัญชปี รบั มูลคารายไดภ าษี

ทางตรงอืน่ นอกจากรายไดภ าษีเงนิ ไดบ คุ คลธรรมดา

และรายไดภาษีเงนิ ไดนิตบิ ุคคล ๐๘๐

๔.๑.๒ บญั ชรี ายไดภาษที างออม

๔.๑.๒.๑ บญั ชีรายไดภ าษกี ารขายทั่วไป

๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดภาษีมูลคา เพ่มิ หมายถงึ รายไดภ าษีอากรทีจ่ ดั เก็บจากมลู คา ทเี่ พิม่ ขน้ึ

ของสินคาและบรกิ ารทกุ ทอดทีม่ ีการจําหนายและ

ใหบริการ ซ่ึงเกบ็ จากผูผลิต ผขู ายสง ผูขายปลกี ผูสงออก

ผูใหบ รกิ าร และผูนําเขาทีเ่ ขา ลักษณะและหลกั เกณฑท ี่

ตอ งเสยี ภาษีมลู คาเพมิ่ ตามประมวลรษั ฎากร ๑๐๒

๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บญั ชรี ายไดภาษมี ูลคา เพ่ิมจายคืน หมายถงึ รายไดภ าษีมลู คาเพม่ิ ที่จัดเกบ็ แลว และคืนให

แกผเู สยี ภาษเี ปน บัญชปี รบั มูลคารายไดภาษมี ลู คา เพ่มิ ๑๐๒

๑๙๔

ส่ิงทส่ี ง มาดว ย ๔/๒

รหสั ชื่อบัญชแี ยกประเภท ความหมาย รหัส รหสั
บัญชีแยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๔ บัญชีรายไดภ าษีธุรกิจเฉพาะ หมายถึง รายไดภ าษอี ากรทจี่ ัดเกบ็ จากรายไดจ ากการ

ประกอบธุรกิจบางประเภท จากผูประกอบการท่ีเขา

ลักษณะและหลกั เกณฑที่ตอ งเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตาม

ประมวลรษั ฎากร ๑๐๓ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บัญชีรายไดภ าษธี รุ กจิ เฉพาะ หมายถงึ รายไดภาษธี ุรกจิ เฉพาะทีจ่ ัดเก็บแลว และคืนให
xx๑๙๑๐๐
จา ยคนื แกผเู สยี ภาษี เปนบญั ชีปรับมลู คารายไดภ าษีธรุ กิจเฉพาะ ๑๐๓
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บญั ชรี ายไดอ ากรแสตมป หมายถึง รายไดภ าษอี ากรทเี่ รียกเก็บจากผกู ระทาํ xx๑๙๑๐๐

นติ กิ รรมสญั ญา ซงึ่ ตอ งทาํ ตราสารท่ีมีลกั ษณะตา งๆ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
ตามทก่ี ําหนดไวในบญั ชีอัตราอากรแสตมป เชน xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
ผูเ ชาท่ีดิน โรงเรอื นและสงิ่ ปลูกสราง เปน ตน โดยอาศยั xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
อาํ นาจจัดเกบ็ ตามประมวลรัษฎากร ๑๐๔ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๙๘ บญั ชีรายไดภาษกี ารขายทว่ั ไปอน่ื หมายถงึ รายไดภ าษกี ารขายทว่ั ไปอ่ืนทีจ่ ดั เก็บแลว และ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
จายคนื คืนใหแ กผูเสยี ภาษี เปนบญั ชปี รับมลู คารายไดภาษกี าร xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
ขายทวั่ ไปอื่น นอกจากรายไดภาษมี ูลคา เพ่ิม และรายได

ภาษธี ุรกจิ เฉพาะ ๑๐๕

๔ ๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บญั ชรี ายไดภาษกี ารขายท่วั ไปอ่นื หมายถงึ รายไดภ าษีจากภาษกี ารขายทัว่ ไปอื่นๆ

นอกจากท่รี ะบุไวขางตน ๑๐๕

๔.๑.๒.๒ บัญชรี ายไดภาษีการขายเฉพาะ

๔.๑.๒.๒.๑ บญั ชรี ายไดภาษสี รรพสามิต

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ บัญชรี ายไดภ าษสี รรพสามิต หมายถงึ รายไดภ าษีทจี่ ัดเกบ็ จากการนาํ เขา ผลติ ภณั ฑ

จากการนาํ เขา บางประเภทหรอื จากกลมุ ของผลติ ภณั ฑบ างประเภท

ตาม พรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ ง ๒๑๑

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๒ บัญชีรายไดภาษีรถจักรยานยนต หมายถงึ รายได ภาษีทีจ่ ัดเก็บจากผลติ ภัณฑ

รถจกั รยานยนต ตาม พรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และ

กฎหมายที่เกี่ยวของ ๒๐๑

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๓ บัญชรี ายไดภ าษีสรุ าและ หมายถงึ รายไดภาษีท่จี ัดเก็บจากผลิตภัณฑส ุรา

แสตมปส ุรา ตาม พรบ.สุรา พ.ศ.๒๔๙๓ และกฎหมายท่ีเกีย่ วขอ ง ๒๐๓

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๔ บญั ชีรายไดภ าษีเบียร หมายถึง รายไดภ าษีท่ีจดั เกบ็ จากผลิตภัณฑเบียร

ตาม พรบ.สรุ า พ.ศ.๒๔๙๓ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ ง ๒๐๔

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๕ บญั ชรี ายไดภ าษเี ครอื่ งดมื่ ไมม ี หมายถึง รายไดภ าษที จี่ ัดเก็บจากผลติ ภัณฑเครือ่ งดมื่ ท่ี

แอลกอฮอล ไมมีแอลกอฮอล ตาม พรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗

และกฎหมายท่เี กี่ยวของ ๒๐๕

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๖ บญั ชรี ายไดภาษยี าสบู และ หมายถงึ รายไดภ าษที จี่ ัดเก็บจากผลิตภัณฑย าสบู

แสตมปย าสบู ตาม พรบ.ยาสูบ พ.ศ.๒๕๐๙ และกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ ง ๒๐๗

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๗ บญั ชรี ายไดภ าษนี า้ํ มนั และ หมายถึง รายไดภ าษีทีจ่ ัดเก็บจากผลติ ภณั ฑปโ ตรเลยี ม

ผลิตภณั ฑน ํา้ มนั ตามพรบ.สรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ ๒๑๐

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๘ บัญชีรายไดภ าษเี ครอ่ื งไฟฟา หมายถงึ รายไดภาษีทจ่ี ัดเกบ็ จากอุปกรณเครอื่ งใชไ ฟฟา

ตามพรบ.สรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายท่เี ก่ียวของ ๒๑๒

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๙ บัญชรี ายไดภาษีรถยนต หมายถึง รายไดภาษที ีจ่ ัดเก็บจากรถยนต ตาม

พรบ.สรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายที่เก่ยี วขอ ง ๒๑๔

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๐ บัญชีราไดภาษแี บตเตอรี่ หมายถงึ รายไดภ าษีท่ีจัดเก็บจากผลติ ภัณฑแ บตเตอร่ี

ตามพรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายทเ่ี กย่ี วของ ๒๕๐

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๑ บัญชรี ายไดภ าษีผลติ ภัณฑ หมายถงึ รายไดภาษที ่ีจดั เก็บจากผลิตภณั ฑนํา้ หอมและ

เครอื่ งหอมและเคร่อื งสาํ อางค เคร่อื งสาํ อางคตามพรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และ

กฎหมายที่เกย่ี วขอ ง ๒๑๖

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๒ บญั ชรี ายไดภาษาแกว และ หมายถึง รายไดภาษที ีจ่ ดั เก็บจากผลิตภัณฑแกวและ

เคร่ืองแกว เครือ่ งแกว ตามพรบ.สรรพสามิตพ.ศ.๒๕๒๗ และ

กฎหมายท่ีเกยี่ วของ ๒๑๓

๑๙๕

ส่งิ ทีส่ งมาดวย ๔/๓

รหสั ชือ่ บัญชแี ยกประเภท ความหมาย รหัส รหสั
บัญชีแยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๓ บญั ชรี ายไดภาษเี รือ หมายถึง รายไดภาษีท่จี ดั เก็บจากเรอื ยอชต ตามพรบ.

สรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายที่เกย่ี วขอ ง ๒๑๕ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๔ บัญชีรายไดค า ธรรมเนียมประทบั หมายถงึ รายไดภาษที ี่จัดเกบ็ จากผลิตภณั ฑไ พ ตามพรบ.ไพ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
ตราไพ พ.ศ.๒๔๘๖ และกฎหมายทีเ่ ก่ยี วของ ๒๑๘
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๕ บัญชีรายไดภ าษพี รมและส่ิงทอ หมายถงึ รายไดภาษีทจ่ี ัดเกบ็ จากผลิตภณั ฑพ รมและสิ่งทอ
xx๑๙๑๐๐
ปูพื้นอืน่ ๆ ปูพื้นอืน่ ๆ ตามพรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมาย
xx๑๙๑๐๐
ทเี่ ก่ียวของ ๒๑๙ xx๑๙๑๐๐

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๗ บัญชีรายไดภ าษสี รรพสามิต หมายถึง รายไดภ าษธี รุ กิจสรรพสามิตท่ีจัดเกบ็ แลว และ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
จา ยคืน คนื ใหแกผ ูเสียภาษี เปน บญั ชปี รบั มลู คารายไดภ าษี xx๑๙๑๐๐

สรรพสามิต ๔๐๓ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๑๙ บญั ชรี ายไดภาษีสาํ หรบั สนิ คา หมายถึง รายไดภาษีท่ีจัดเก็บเฉพาะผลติ ภัณฑบางประเภท xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
สารทาํ ลายช้นั บรรยากาศโอโซนฯ หรือจากกลุมของผลิตภณั ฑบ างประเภท บัญชีน้คี รอบคลมุ

ภาษสี รรพสามิตท่ีจัดเก็บจากสนิ คาสารทําลายช้ันบรรยากาศ

โอโซน ประเภทอนุพนั ธฮ าโลเจเนเต็ดของไฮโดรคารบ อน

ตาม พรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายทเี่ กี่ยวของ ๔๐๓

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๙๙ บญั ชรี ายไดภ าษสี รรพสามิตอนื่ หมายถงึ รายไดภาษที ีจ่ ดั เก็บเฉพาะผลติ ภัณฑบางประเภท

หรือจากกลมุ ของผลิตภณั ฑบางประเภท บัญชีน้คี รอบคลุม

ภาษีสรรพสามิตทจ่ี ัดเก็บจากผลิตภณั ฑอ ่นื ๆ นอกจากทร่ี ะบุ

ไวขางตน ตามพรบ.สรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมาย

ทเี่ กยี่ วขอ ง ๔๐๓

๔.๑.๒.๒.๒ บญั ชรี ายไดภ าษีบรกิ ารเฉพาะ

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๒ ๐๑ บญั ชีรายไดภ าษีสถานบริการ หมายถึง รายไดภาษที จี่ ดั เก็บจากรายได คาบริการของ

เฉพาะใหความบันเทิง สถานบรกิ ารใหความบันเทิง เชน ไนตค ลับ และดิสโกเ ธค

เปน ตน ตามพรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมาย

ทเ่ี กยี่ วขอ ง ๒๑๗

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๒ ๐๒ บญั ชีรายไดภ าษีบรกิ ารเฉพาะ หมายถงึ รายไดภ าษีบรกิ ารเฉพาะท่ีจดั เกบ็ แลว และคืนให

จายคนื แกผเู สยี ภาษี เปน บัญชปี รบั มูลคารายไดภาษีบริการเฉพาะ ๒๑๗

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๒ ๐๓ บัญชีรายไดภาษกี จิ การ หมายถงึ รายได ภาษที ่จี ัดเก็บจากรายรับของกิจการ

โทรคมนาคม โทรคมนาคม เชน กิจการโทรศัพทพน้ื ฐาน กิจการโทรศพั ท

เคล่อื นท่ี หรือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลาร เปนตน

ตามพรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายท่ีเก่ยี วขอ ง ๒๐๒

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๒ ๐๔ บัญชรี ายไดภาษีสถานบรกิ ารอ่นื หมายถึง รายไดภ าษที ี่จดั เกบ็ จากสถานบริการประเภทอน่ื

เชน สนามมา สนามกอลฟ สถานอาบอบนวด เปน ตน

ตามพรบ.สรรพสามติ พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมายที่เกี่ยวขอ ง ๒๐๒

๔ ๑ ๐๒ ๐๒ ๐๒ ๙๙ บัญชีรายไดภ าษีบรกิ ารเฉพาะอ่ืน หมายถงึ รายไดภ าษีบรกิ ารเฉพาะอ่นื นอกจากทีร่ ะบุไว

ขางตน ตามพรบ.สรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗ และกฎหมาย

ทีเ่ กี่ยวของ ๒๐๒

๔.๑.๒.๓ บญั ชรี ายไดภาษสี นิ คา เขา -ออก

๔ ๑ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ บัญชีรายไดอ ากรขาเขา หมายถงึ รายไดภาษีอากรทจี่ ดั เก็บจากสนิ คาทน่ี ําเขา มา

ในประเทศ ตามพระราชกําหนดพกิ ดั อตั ราศุลกากร

พ.ศ.๒๕๓๐ และทแ่ี กไขเพ่มิ เตมิ ๓๐๒

๔ ๑ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๒ บญั ชรี ายไดอ ากรขาออก หมายถึง รายไดภ าษีอากรที่จัดเกบ็ จากสินคา ท่ีสงออก

ตามพระราชกําหนดพิกดั อัตราศลุ กากร พ.ศ.๒๕๓๐ และ

ทีแ่ กไขเพิ่มเติม ๓๐๑

๔ ๑ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๓ บัญชีรายไดอ ากรขาเขา จายคืน หมายถึง รายไดอ ากรขาเขาทีจ่ ดั เก็บแลว และคนื ใหแ ก

ผูเสยี ภาษเี ปน บญั ชีปรับมูลคารายไดอ ากรขาเขา ๓๐๒

๔ ๑ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๔ บญั ชีรายไดอากรขาออกจายคนื หมายถงึ รายไดอ ากรขาออกท่ีจดั เก็บแลว และคืนใหแ ก

ผเู สยี ภาษีเปนบญั ชปี รับมูลคา รายไดอากรขาออก ๓๐๑

๑๙๖


Click to View FlipBook Version