The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2555 (ส่วนที่ 1) (ปี 2555)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ส่งิ ที่สงมาดว ย ๔/๔

รหสั ชอื่ บัญชีแยกประเภท ความหมาย รหสั รหสั
บญั ชีแยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔.๑.๓ บัญชรี ายไดภ าษลี ักษณะอน่ื

๔ ๑ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดคา ปรับภาษี หมายถึง รายไดจากคา ปรับและบทลงโทษที่เกย่ี วกบั

ความผิดดา นภาษีอากร เชน บทลงโทษทีเ่ กี่ยวกับการชาํ ระ

ภาษีชา กวาเวลาท่กี ําหนดหรือไมชาํ ระภาษี และการลักลอบ

นําสนิ คา เขาโดยหลกี เล่ียงพธิ ีการศลุ กากร ๘๐๓ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๙๘ บญั ชีรายไดภาษีอืน่ หมายถึง รายไดจ ากภาษีลกั ษณะอนื่ นอกจากทีร่ ะบไุ วข า งตน ๕๑๗ xx๑๙๑๐๐

๔ ๑ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บญั ชรี ายไดภาษอี ื่นจายคืน หมายถึง รายไดภาษีจากภาษีลกั ษณะอน่ื นอกจากทจี่ ัดเก็บ xx๑๙๑๐๐
xx๑๙๑๐๐
แลว และคืนใหแกผเู สยี ภาษี ๕๑๗
xx๑๙๑๐๐
๔.๑.๔ บัญชีปรบั มูลคารายไดห มวดภาษีอากร
xx๑๙๑๐๐
๔ ๑ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดจัดสรรเพ่ือชดเชย หมายถึง บัญชีเพอ่ื ปรบั มลู คา รายไดภ าษี เนื่องจากตอ งกัน xx๑๙๑๐๐

การสง ออก เงนิ ไวเพือ่ ชดเขยการสงออกตามพรบ.ชดเชยคา ภาษอี ากร xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
สนิ คา สงออกท่ผี ลิตในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๒๔ และ
xx๑๙๒๐๐
กฎหมายทีเ่ กี่ยวของ ๕๑๗ xx๑๙๒๐๐

๔ ๑ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บัญชรี ายไดจ ัดสรรใหอปท. หมายถงึ บญั ชีเพ่อื ปรับมลู คารายไดภาษี เนอ่ื งจากตอง

จัดสรรเงนิ รายไดภาษีท่จี ดั เกบ็ ไวส วนหนึ่งไปใหแ กองคกร

ปกครองสว นทอ งถิน่ ๕๑๗

๔ ๑ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บัญชรี ายไดจ ัดสรรตามพรบ. หมายถงึ บญั ชเี พ่ือปรับมลู คาเนอื่ งจากตองจดั สรรเงินรายได

ใหท อ งถ่นิ ภาษที ี่จดั เกบ็ ไดส วนหนง่ึ ไปใหแ กอปท. ตราพรบ.กําหนด

แผนและข้นั ตอนการกระจายอาํ นาจใหแกองคก รปกครอง

สว นทองถน่ิ ๕๑๗

๔ ๑ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๔ บัญชรี ายไดภ าษจี ัดสรรเปนเงิน หมายถึง บัญชเี พ่อื ปรบั มลู คา รายไดแผนดินประเภทภาษี

นอกงปม. ตามระเบียบทเ่ี กย่ี วขอ งซึง่ ระบใุ หหนวยงานหกั เงินรายได

แผน ดินประเภทภาษที เ่ี กบ็ ไดเ ปน รายไดป ระเภทเงินนอก

งบประมาณของหนว ยงาน ๕๑๗

๔ ๑ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บญั ชรี ายไดภ าษีจดั สรรเพ่ือการอนื่ หมายถงึ บญั ชเี พือ่ ปรบั มูลคา รายไดภาษี เน่ืองจากกรณีอื่นๆ

นอกจากท่รี ะบุไวข า งตน ๕๑๗

๔.๒ บญั ชรี ายไดท่ีไมใชภาษขี องแผน ดิน

๔.๒.๑ บญั ชีรายไดคาธรรมเนียมและบริการ

๔.๒.๑.๑ บัญชีรายไดภาษลี ักษณะอนญุ าต

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดคาใบอนุญาตวทิ ยุ หมายถงึ รายไดจ ากการออกใบอนญุ าตประกอบกจิ การวทิ ยุ

โทรทัศน โทรทศั น ใบแทนใบอนุญาต การตออายใุ บอนญุ าต และการ

โอนใบอนุญาตตามพรบ.วิทยุกระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทศั น

พ.ศ.๒๔๙๘ และกฎหมายท่เี ก่ยี วของ ๔๐๑

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บัญชรี ายไดค าใบอนุญาตวิทยุ หมายถงึ รายไดจากการออกใบอนุญาตประกอบกิจการวิทยุ

คมนาคม คมนาคม ใบแทน ใบอนญุ าต การตอ อายใุ บอนุญาต และ

การโอนใบอนุญาต ตามกฎหมายท่เี ก่ยี วของ ๔๐๗

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บญั ชรี ายไดค าใบอนุญาตยาง หมายถึง รายไดจ ากการออกใบอนญุ าตประกอบกจิ การยาง

ใบแทน ใบอนญุ าต การตอ อายใุ บอนญุ าต และการโอน

ใบอนุญาตตามพรบ.ควบคุมยาง พ.ศ.๒๔๘๑ และกฎหมาย

ทเี่ ก่ียวของ ๔๐๕

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๔ บญั ชรี ายไดคาใบอนญุ าตคา น หมายถงึ รายไดจ ากการออกใบอนุญาตประกอบกจิ การดา น

ปา ไม ปา ไม ใบแทนใบอนุญาต การตออายใุ บอนุญาต และ

การโอนใบอนญุ าตตามกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ ง ๔๐๔

๑๙๗

สิ่งท่สี งมาดว ย ๔/๕

รหสั ชอื่ บญั ชีแยกประเภท ความหมาย รหสั รหสั
บญั ชแี ยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บญั ชรี ายไดคา ใบอนุญาต หมายถงึ รายไดจากการออกใบอนุญาตประกอบกิจการ

การพนัน ดา นการพนัน ใบแทน ใบอนญุ าต การตอ อายใุ บอนญุ าต

และการโอนใบอนุญาต ตามพรบ.การพนนั พ.ศ.๒๔๗๘

และกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ ง ๔๐๘ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บัญชีรายไดค า ใบอนุญาต หมายถึง รายไดจ ากการออกใบอนญุ าตประกอบกจิ การดา น
xx๑๙๒๐๐
สาธารณสุข สาธารณสขุ ใบแทนใบอนุญาตการตออายุใบอนุญาต และ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
การโอนใบอนุญาต ตามพรบ.อาหาร พ.ศ.๒๕๒๒ , พรบ.ยา
xx๑๙๒๐๐
พ.ศ.๒๕๒๒ และกฎหมายทเ่ี กี่ยวของ ๔๑๑ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๗ บญั ชีรายไดค าใบอนญุ าต หมายถงึ รายไดจ ากการออกใบอนุญาตประกอบกิจการ
xx๑๙๒๐๐
อาวธุ ปน และดอกไมเพลิง อาวุธปนและดอกไมเพลิง ใบแทนใบอนุญาต การตออายุ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
ใบอนญุ าต และการโอนใบอนุญาต ตามพรบ.อาวุธปน xx๑๙๒๐๐

เครอ่ื งกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเ พลงิ และส่งิ เทยี ม

อาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐ และกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ ง ๔๐๙

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๘ บญั ชีรายไดค า ใบอนญุ าต หมายถึง รายไดจ ากการออกใบอนุญาตประกอบกิจการ

นา้ํ บาดาล นาํ้ บาดาล ใบแทนใบอนญุ าต การตออายุใบอนุญาต และ

การโอนใบอนญุ าต ตามพรบ.นาํ้ บาดาล พ.ศ.๒๕๒๐

และกฎหมายท่ีเกี่ยวของ ๔๑๒

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๐๙ บัญชรี ายไดคาใบอนญุ าตสงวน หมายถึง รายไดจากการออกใบอนญุ าตประกอบกิจการ

และคมุ ครองสตั วป า นําเขาและสงออกสัตวป าคมุ ครอง ใบแทนใบอนุญาต

การตอ อายใุ บอนุญาต และการโอนใบอนุญาต พรบ.สงวน

และคุมครองสตั วป า พ.ศ. ๒๕๓๕ และกฎหมายที่เกีย่ วของ ๔๑๓

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๑๐ บญั ชรี ายไดคา ธรรมเนยี ม หมายถึง รายไดจากการออกใบอนุญาตประกอบกจิ การ

ใบอนุญาตจดั หางานใหค นงาน จัดหางานใหค นงานทาํ งานในประเทศ ใบแทน ใบอนุญาต

ทํางานในประเทศ การตอ อายุใบอนุญาตและการโอนใบอนุญาต ตามพรบ.

จัดหางานและคมุ ครองคนหางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๗

และกฎหมายท่ีเกย่ี วของ ๖๗๓

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๑๑ บัญชีรายไดใ บอนญุ าตประมูลสรุ า หมายถงึ รายไดจากการออกใบอนุญาตประกอบกิจการ

ประมลู สุรา ใบแทนใบอนญุ าตการตออายุใบอนญุ าต และ

การโอนใบอนญุ าตตามกฎหมายที่เกย่ี วขอ ง ๔๐๒

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๑๒ บัญชีรายไดคาใบอนญุ าตตางดาว หมายถึง รายไดจ ากการออกใบสาํ คญั ประจาํ ตวั คนตา งดาว

ใบสาํ คญั แสดงถนิ่ ท่อี ยู ใบแทนใบอนญุ าต การตอ อายุ

ใบอนุญาต และการโอนใบอนุญาต ตามพรบ.การทํางาน

ของคนตางดา ว พ.ศ.๒๕๒๑ และกฎหมายที่เกย่ี วของ ๔๐๖

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๑๓ บัญชรี ายไดคา ธรรมเนยี ม หมายถึง รายไดจ ากการออกใบอนญุ าตประกอบกิจการ

ใบอนญุ าตใหคนงานเพอื่ ไป จดั หางานใหคนงานไปทํางานในตางประเทศ ใบแทน

ทํางานในตา งประเทศ ใบอนญุ าต การตออายใุ บอนญุ าต และการโอนใบอนุญาต

ตามพรบ.จดั หางานและคุมครองคนหางาน (ฉบับท๒ี่ )

พ.ศ.๒๕๓๗ และกฎหมายท่ีเก่ยี วของ ๖๗๔

๔ ๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บญั ชีรายไดคา ธรรมเนียม หมายถึง รายไดจ ากาการออกใบอนญุ าตประกอบกจิ การอื่น

ใบอนุญาตอน่ื นอกจากท่ีระบุไวข า งตน ใบแทนใบอนุญาต การตออายุ

ใบอนญุ าต และการโอนใบอนุญาตตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ ง ๔๑๐

๔.๒.๑.๒ บญั ชรี ายไดแ สตมปฤ ชากรและคาปรับ

๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๐๑ บัญชีรายไดแสตมปฤ ชากร หมายถึง รายไดจ ากการขายแสตมปฤ ชากร และ

คา ธรรมเนียม คาปรบั ของศาลตางๆ ในคดีแพง คดีอาญา

รวมทั้งคดปี กครอง ตามกฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ ง ๘๐๑

๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๐๒ บัญชรี ายไดคา ปรบั สุรา หมายถึง รายไดค า ปรับทีเ่ กี่ยวของกบั ความผดิ ดานสุรา

ตามกฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ ง ๘๐๒

๑๙๘

รหสั ชื่อบัญชีแยกประเภท ความหมาย สิง่ ท่ีสงมาดว ย ๔/๖
บัญชแี ยกประเภท รหัส รหสั
รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๐๓ บญั ชีรายไดคาปรับเปรยี บเทยี บ หมายถงึ รายไดค าปรบั ท่เี กบ็ จากผูกระทําผดิ กฎหมาย

คดี ในความผิดท่ีระบุโทษปรับซง่ึ จดั เก็บตามกฎหมายและ

ระเบยี บท่ีมีอยใู นอํานาจหนาท่ขี องหนวยงานผจู ดั เกบ็

ตามพรบ.รถยนต พรบ.การชนสง ทางบกและกฎหมาย

ทเี่ ก่ียวขอ ง ๘๐๔ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๐๔ บัญชรี ายไดป รบั จากการ หมายถึง รายไดคาปรบั ท่ีเก่ยี วขอ งกบั ความผิดดานกฎจราจร xx๑๙๒๐๐

กระทาํ ผิด พ.ร.บ.จราจรทางบก ตามกฎหมายทเ่ี กี่ยวของ ๘๐๕ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๐๕ บัญชรี ายไดจ ากการริบทรัพย หมายถึง รายไดจ ากเงินที่เรียกเกบ็ จากขา ราชการ ลกู จา ง
xx๑๙๒๐๐
และการชดเชยคา เสียหาย หรอื บคุ คลภายนอกท่ีทําทรพั ยส ินของทางราชการเสยี หาย xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
หรอื สญู หาย ตามกฎหมายท่เี กี่ยวขอ ง ๘๑๕ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๐๖ บญั ชรี ายไดเงินชดใชจ ากการ หมายถึง รายไดจากเงนิ ที่เรยี กเกบ็ จากบคุ คล หรอื ขาราชการ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
ผดิ สญั ญาการศึกษาและดงู าน ผไู ดรบั ทนุ ของทางราชการ หรือจากขา ราชการทข่ี ออนมุ ตั ลิ า
xx๑๙๒๐๐
เพอ่ื ไปศกึ ษาตอ อบรม หรือปฏิบัตกิ ารวจิ ัย ณ ตางประเทศ xx๑๙๒๐๐

แลว ไมกลับมารับราชการ หรือกลับมาแลว รบั ราชการ

ไมค รบตามสญั ญา ตามกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ ง ๘๑๖

๔ ๒ ๐๑ ๐๒ ๐๑ ๙๙ บญั ชีรายไดค าปรับอน่ื หมายถึง รายไดจ ากคา ปรับผิดสัญญารับจางหรอื การซือ้ ขาย

และอื่นๆ นอกจากทีร่ ะบุไวข า งตน ตามกฎหมายท่ีเกย่ี วของ ๘๑๐

๔.๒.๑.๓ บัญชรี ายไดภ าษีทรัพยากรธรรมชาติ

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดคา ภาคหลวงแร หมายถงึ รายไดจ ากการใหก ิจการเชา เหมืองหรือซากฟอสซลิ

ตามพรบ.พิกดั อตั ราคา ภาคหลวงแร พ.ศ.๒๕๐๙ และ

กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง ๒๒๖

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๐๒ บญั ชรี ายไดคา ภาคหลวง หมายถงึ รายไดจ ากการใหส ัมปทานในการขุดเจาะน้าํ มัน

ปโตรเลียม เพ่ือสกัดนา้ํ มันในระยะเวลาหน่ึงๆ ตามพรบ.ปโ ตรเลียม

(ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๓๒ และกฎหมายทเี่ กีย่ วของ ๒๒๗

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๐๓ บญั ชรี ายไดอ ากรการประมง หมายถึง รายไดจากการใหสทิ ธิใชป ระโยชนในพน้ื ทีน่ ้ําที่ยัง

ไมม กี ารจัดการใหเ ปน ทตี่ กปลาตามพรบ.การประมง

พ.ศ.๒๔๙๐ และฉบับแกไขเพ่มิ เตมิ ๒๒๒

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๐๔ บญั ชรี ายไดคาภาคหลวงไมส กั หมายถงึ รายไดจากการใหส มั ปทานตดั ไมสักบนพืน้ ที่ของ

รฐั บาลทีไ่ มมกี ารเพาะปลกู ตามกฎหมายท่เี กยี่ วขอ ง ๒๒๓

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๐๕ บญั ชรี ายไดคาภาคหลวงไม หมายถงึ รายไดค า เชาจากการใหสัมปทานตดั ไมก ระยาเลย

กระยาเลย บนพ้นื ท่ขี องรัฐบาลท่ไี มม ีการเพาะปลกู ตามกฎหมาย

ท่เี กยี่ วของ ๒๒๔

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๐๖ บัญชีรายไดคา ภาคหลวงฟน ถาน หมายถงึ รายไดจากการใหสมั ปทาน ตดั ไมเพื่อทาํ เปน

และของปาอืน่ เชอ้ื เพลงิ ถา นหนิ และของปา อ่นื ๆ บนเน้อื ท่ีของปาซึง่ รฐั บาล

เปน เจาของ ตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ ๒๒๕

๔ ๒ ๐๑ ๐๓ ๐๑ ๙๙ บญั ชรี ายไดภ าษที รัพยากร หมายถงึ รายไดคาเชาจากการใหเ ขา ท่ดี นิ สินทรัพยชน้ั

ธรรมชาตอิ ื่น ใตผวิ ดินและสนิ ทรัพยทเี่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ นอกจาก

ทร่ี ะบุไวขางตน ตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วของ ๒๒๕

๔.๒.๒ บญั ชีรายไดจากการขายสินคาและบรกิ ารของแผน ดนิ

๔.๒.๒.๑ บัญชรี ายไดค าธรรมเนียมบริการของแผน ดนิ

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดคาธรรมเนียมการบิน หมายถึง รายไดคาธรรมเนยี มการจดั การที่เกยี่ วขอ งกับ

การใหบริการเคร่อื งบนิ ตามกฎหมายท่เี กีย่ วขอ ง ๖๕๖

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บญั ชรี ายไดค าธรรมเนียมการใช หมายถึง รายไดคา ธรรมเนียมการจดั การที่เกยี่ วของกับ

สนามบิน การใหบรกิ ารของสนามบินตามกฎหมายท่เี กี่ยวขอ ง ๖๕๗

๑๙๙

รหัส ชือ่ บัญชแี ยกประเภท ความหมาย ส่ิงที่สงมาดวย ๔/๗
บญั ชีแยกประเภท รหสั รหสั
รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บญั ชรี ายไดค าธรรมเนียม หมายถงึ รายไดคาธรรมเนยี มการจัดการที่เกย่ี วขอ งกับการ

จดทะเบยี นการคา ใหบ รกิ ารจดทะเบยี นการคา ตามพรบ.ประกันวนิ าศภยั

พ.ศ.๒๕๓๕ พรบ.สิทธบิ ตั ร พ.ศ.๒๕๒๒ และกฎหมายท่ี

เกีย่ วของ ๖๖๓ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๔ บัญชีรายไดคาธรรมเนยี ม หมายถงึ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการทเ่ี ก่ียวของกบั
xx๑๙๒๐๐
ควบคุมโรคระบาดสัตว การควบคมุ โรคระบาดของสัตว ตามกฎหมายทีเ่ กย่ี วของ ๖๕๒ xx๑๙๒๐๐

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บญั ชีรายไดค า ธรรมเนยี มโรงงาน หมายถึง รายไดจากคา ธรรมเนยี มใบอนุญาตในการประกอบ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
กิจการโรงงาน ใบอนญุ าตขยายโรงงาน และการตออายุ xx๑๙๒๐๐

ใบอนญุ าต ตามพรบ.โรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ และกฎหมาย xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
ท่ีเก่ียวของ ๖๖๔
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บัญชีรายไดค าตอบแทนจาก หมายถงึ รายไดค าธรรมเนียมการจัดการทเ่ี กี่ยวขอ งกบั xx๑๙๒๐๐

การใชค วามถีว่ ิทยุ การใชคล่นื ความถ่ที างวทิ ยุ ตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ๘๒๖ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๗ บัญชรี ายไดคา ธรรมเนียม หมายถึง รายไดค าธรรมเนยี มการจดั การท่ีเก่ยี วของกับ
xx๑๙๒๐๐
วิเคราะหปยุ การใหบริการเก่ียวกบั ปยุ ตามพรบ.ปยุ พ.ศ.๒๕๑๘
xx๑๙๒๐๐
และกฎหมายที่เกีย่ วของ ๖๖๗
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๘ บัญชรี ายไดค า ธรรมเนียม หมายถงึ รายไดคาธรรมเนยี มการจัดการท่ีเกีย่ วของกบั
xx๑๙๒๐๐
การประมง การใหบริการการประมง ตามกฎหมายท่ีเกย่ี วของ ๖๕๔

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๐๙ บัญชรี ายไดคา ธรรมเนยี ม หมายถงึ รายไดคาธรรมเนียมการจดั การทเ่ี กย่ี วของกบั

บาํ รงุ ปา การใหบ ริการปา ไม ตามกฎหมายท่ีเก่ียวขอ ง ๖๕๕

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๐ บัญชีรายไดคา ธรรมเนียม หมายถงึ รายไดคา ธรรมเนียมการจัดการทเ่ี กีย่ วขอ งกับ

น้าํ บาดาล การใหบริการใชนํา้ จากบอบาดาล ตามพรบ.นา้ํ บาดาล

พ.ศ.๒๕๒๐ และกฎหมายที่เกี่ยวของ ๖๖๘

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๑ บญั ชีรายไดคา ธรรมเนียม หมายถงึ รายไดค า ธรรมเนยี มการจัดการทเ่ี ก่ยี วของกบั

กรรมสิทธ์ิทดี่ นิ การออกโฉนดทด่ี ิน ตามกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ ง ๖๖๙

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๒ บญั ชรี ายไดค าธรรมเนียม หมายถงึ รายไดค าธรรมเนียมการจดั การท่เี กีย่ วของกบั

การขนสงทางบก การใหบ ริการขนสง ทางบก ตามพรบ.การขนสง พ.ศ.๒๕๒๒

ตามกฎหมายท่เี กี่ยวขอ ง ๖๕๘

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๓ บัญชีรายไดค าธรรมเนยี มทด่ี นิ หมายถึง รายไดคา ธรรมเนยี มการจัดการทเี่ กย่ี วของกบั

และคา จดทะเบยี นอสงั หารมิ ทรพั ย การใหบรกิ ารจดั รูปทดี่ นิ ตามกฎหมายที่เกีย่ วของ ๖๕๐

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๔ บญั ชีรายไดคาธรรมเนียมแร หมายถึง รายไดค าธรรมเนยี มการจดั การที่เกี่ยวของกบั

การทาํ เหมืองแร ตามพรบ.แร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๑๖

และกฎหมายทเ่ี กี่ยวของ ๖๖๒

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๕ บัญชีรายไดคา ธรรมเนยี ม หมายถึง รายไดคา ธรรมเนยี มการจดั การทเ่ี กี่ยวของกบั

ปโตรเลยี ม การใหบ ริการปโ ตรเลียม ตามกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ ๖๖๐

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๖ บัญชีรายไดคา ธรรมเนียมประตนู ้ํา หมายถงึ รายไดค า ธรรมเนียมการจัดการทเ่ี กี่ยวของกับ

การใหบริการประตูนาํ้ ตามพรบ.การชลประทานหลวง

(ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๐๗ และกฎหมายท่เี กย่ี วของ ๖๕๓

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๗ บญั ชรี ายไดค า ธรรมเนียม หมายถงึ รายไดค าธรรมเนียมการจดั การทเ่ี ก่ียวขอ งกบั

การขนสง ทางนาํ้ การใหบ รกิ ารขนสงทางนํ้า พรบ.การเดินเรือในนา นนํ้าไทย

และกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ ง ๖๕๙

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๑๘ บญั ชีรายไดค า ธรรมเนยี ม หมายถงึ รายไดคา ธรรมเนยี มการจัดการท่เี กี่ยวของกบั

ประกอบอาชพี คนตา งดาว การออกใบอนุญาตใหค นตางดาวทํางาน พรบ.การทํางาน

ของคนตา งดา ว พ.ศ.๒๕๒๑ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ ง ๖๖๖

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๒๑ บญั ชรี ายไดค า ธรรมเนยี ม หมายถงึ รายไดคา ธรรมเนยี มการตรวจลงตราหนังสือ

การกงสลุ เดินทาง คาธรรมเนยี มออกหนังสอื เดนิ ทาง และ

คา ธรรมเนียมนติ กิ รณ ตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ ง ๖๖๗

๒๐๐

สิง่ ทส่ี งมาดว ย ๔/๘

รหสั ชือ่ บัญชีแยกประเภท ความหมาย รหัส รหสั
บญั ชแี ยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๒๒ บญั ชรี ายไดคา ธรรมเนยี ม หมายถึง รายไดคา ธรรมเนียมการจดั การทเี่ ก่ียวขอ งกับการ

สัมปทาน ใหส ัมปทาน ตามกฎหมายที่เกยี่ วขอ ง ๖๖๕ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๒๔ บัญชรี ายไดคาตรวจสอบคุณภาพ หมายถึง รายไดค าธรรมเนียมการจดั การที่เก่ียวของกบั
xx๑๙๒๐๐
ชวี ภัณฑ การตรวจสอบคุณภาพชวี ภัณฑ ตามกฎหมายท่เี กย่ี วของ ๖๒๗ xx๑๙๒๐๐

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๒๕ บัญชีรายไดค าธรรมเนยี ม หมายถงึ รายไดคา ธรรมเนียมการตรวจลงตราหนังสอื xx๑๙๒๐๐

การกงสลุ -หนว ยงานใน เดนิ ทาง คาธรรมเนียมออกหนงั สือเดนิ ทางและคา ธรรมเนยี ม xx๑๙๒๐๐

ตางประเทศ นติ กิ รณท ี่หนว ยงานในตา งประเทศเปนผูจ ัดเกบ็ และนาํ สง xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
บญั ชีน้ถี อื เปนบญั ชรี ะหวางกัน (BP) กบั บญั ชคี า ใชจายนาํ สง
xx๑๙๒๐๐
รายไดแผน ดิน-หนว ยงานในตา งประเทศ รหสั บัญชี ๖๖๗ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๒๖ บญั ชรี ายไดค า ธรรมเนียม หมายถึง รายไดจากคาธรรมเนียมปลอ ยเรือ และ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
ศลุ กากร คาธรรมเนยี มประภาคาร ตามพรบ.ศุลกากร พรบ.การ xx๑๙๒๐๐

เดนิ เรือในนานนา้ํ ไทยและกฎหมายที่เก่ียวของ ๖๕๑ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๒๗ บัญชรี ายไดจากการใหบรกิ าร หมายถงึ รายไดทีเ่ กิดจากการใหบ ริการโทรคมนาคมท่ี

โทรคมนาคม ไมต อ งเสยี ภาษีสรรพสามติ ซึง่ เกิดจากมตคิ รม.เรื่องการ

จัดเกบ็ ภาษีสรรพสามิตจากบริการ โทรคมนาคม

(ใชเฉพาะ สคร.) ๖๖๑

๔ ๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บญั ชีรายไดคา ธรรมเนยี มการ หมายถงึ รายไดของแผนดนิ จากคา ธรรมเนยี มและการให

บรกิ ารอืน่ บริการอ่ืนๆ นอกจากทีร่ ะบุไวขางตน เชน คา ธรรมเนยี ม

สอบแขง ขนั เพอ่ื บรรจุ บุคคลเขา รบั ราชการ เปน ตน

ตามกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ ง ๖๗๐

๔.๒.๒.๒ บญั ชรี ายไดคา เชาของแผนดนิ

๔ ๒ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดคาเชาอสงั หารมิ ทรัพย หมายถงึ รายไดของแผนดินจากการใหเ ชา อสังหารมิ ทรัพย

–หนว ยงานของรัฐ รวมถงึ การใหเ ชาสิทธติ ามใบอนญุ าตตางๆ แกห นว ยงาน

ภาครัฐ บัญชีน้ีถือเปน บัญชีระหวา งกนั (BP) กบั บัญชคี าเชา

อสังหาริมทรพั ย–หนว ยงานภาครัฐ รหสั บัญชี

๕๑๐๔๐๓๐๒๐๙ ๖๗๑

๔ ๒ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๒ บัญชรี ายไดคาเชา อสังหารมิ ทรพั ย หมายถงึ รายไดของแผน ดนิ จากการใหเ ชา อสงั หารมิ ทรพั ย

–บคุ คลภายนอก รวมถงึ การใหเ ชาสทิ ธติ ามใบอนุญาตตา งๆ แกบคุ คล

ภายนอก ๖๗๑

๔ ๒ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๓ บญั ชีรายไดคา เชาเบด็ เตลด็ – หมายถึง รายไดข องแผนดนิ จากการใหเ ชา สนิ ทรัพยประเภท

หนว ยงานภาครฐั เคร่อื งจักร อปุ กรณ หรอื อ่นื ๆ ซึ่งไมไ ดจ ดั เปนการใหเชา

อสงั หารมิ ทรัพยตามทร่ี ะบุไวข างตน ใหแกหนว ยงานภาครัฐ

บัญชนี ถี้ อื เปนบัญชีระหวา งกนั (BP) กบั บญั ชีคาเชา

เบ็ดเตล็ด–หนว ยงานภาครฐั รหสั บญั ชี ๕๑ ๖๗๒

๔ ๒ ๐๒ ๐๒ ๐๑ ๐๔ บญั ชีรายไดคา เชา เบด็ เตล็ด– หมายถงึ รายไดข องแผนดินจากการใหเชาสนิ ทรพั ยประเภท

บุคคลภายนอก เครือ่ งจักร อปุ กรณ หรืออน่ื ๆ ซึง่ ไมไ ดจัดเปนการใหเ ชา

อสังหาริมทรัพยตามที่ระบุไวขางตนใหแ กบ คุ คลภายนอก ๖๗๒

๔.๒.๒.๓ บัญชรี ายไดจ ากการขายสง่ิ ของแผนดิน

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ บญั ชีรายไดค า ขายนํา้ มนั หมายถึง รายไดของแผนดนิ คาขายน้ํามนั ๖๑๑

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๒ บญั ชีรายไดค า ขายไม หมายถงึ รายไดข องแผนดินคา ขายไม ๖๑๒

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๓ บญั ชรี ายไดค าขายหนงั สือราชการ หมายถงึ รายไดจากการขายหนงั สือราชการ ๖๓๑

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๔ บญั ชรี ายไดคาขายของกลาง หมายถึง รายไดของแผนดินคา ขายของกลาง ๖๔๑

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๕ บญั ชีรายไดค าขายของเบ็ดเตล็ด หมายถึง รายไดข องแผนดนิ จากคา ขายของเกา ชํารุดท่ที าง

ราชการเลิกใช คาขายแบบแปลนการกอ สรา งและตอเตมิ

อาคารสถานที่ของทางราชการ และคาขายสนิ คาและสง่ิ ของ

อยางอื่น นอกจากสินทรัพยถ าวร ๖๔๒

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๖ บัญชีรายไดคาขายผลติ ผลจาก หมายถึง รายไดของแผน ดินคา ขายผลติ ผลจากการวิจยั

การวจิ ยั ๖๔๓

๒๐๑

ส่ิงทส่ี ง มาดวย ๔/๙

รหสั ชื่อบัญชแี ยกประเภท ความหมาย รหสั รหสั
บัญชีแยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๗ บญั ชีรายไดค าจาํ หนา ยขอ มลู หมายถงึ รายไดข องแผน ดนิ คา จําหนายขอ มลู ดาวเทยี ม

ดาวเทยี ม ๖๗๕ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๒ ๐๓ ๐๑ ๐๘ บญั ชีรายไดจากการขายขาว หมายถงึ รายไดข องแผนดนิ จากการขายขา วใหรฐั บาล xx๑๙๔๐๐
xx๑๙๔๐๐
ใหร ฐั บาลตางประเทศ ตา งประเทศ ๘๒๓ xx๑๙๔๐๐
xx๑๙๔๐๐
๔.๒.๓ บัญชีรายไดดอกเบีย้ ของแผน ดนิ xx๑๙๔๐๐
xx๑๙๔๐๐
๔ ๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บัญชรี ายไดดอกเบีย้ เงนิ ฝาก หมายถึง คาตอบแทนทห่ี นว ยงานไดรบั จากการนําเงนิ ไป xx๑๙๓๐๐
xx๑๙๓๐๐
ทสี่ ถาบนั การเงิน ฝากไวทสี่ ถาบันการเงนิ ๘๒๑ xx๑๙๓๐๐
xx๑๙๓๐๐
๔ ๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บัญชีรายไดดอกเบ้ียเงินใหก ู หมายถงึ คาตอบแทนทห่ี นว ยงานไดรบั จากการนาํ เงนิ ไปให
xx๑๙๓๐๐
กับบุคคลอื่นกู ๘๒๑ xx๑๙๓๐๐
xx๑๙๓๐๐
๔ ๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บญั ชีรายไดด อกเบี้ยจากการ หมายถงึ คาตอบแทนที่หนว ยงานไดรับจากการลงทุนใน
xx๑๙๓๐๐
ลงทนุ ในหลกั ทรัพยของรฐั บาลไทย หลกั ทรพั ยของรฐั บาลไทย รวมถงึ พนั ธบัตรรัฐบาลและ
xx๑๙๓๐๐
หนุ กรู ฐั บาล ๘๒๑

๔ ๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บญั ชรี ายไดดอกเบยี้ จากการลงทนุ หมายถงึ คา ตอบแทนทีห่ นว ยงานไดร ับจากการลงทุนใน

ในหลกั ทรัพย– บคุ คลภายนอก หลกั ทรัพยข องบุคคลภายนอก ๘๒๑

๔ ๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๐๙ บญั ชรี ายไดจ ากดอกเบีย้ หนุ กดู อ ย หมายถงึ คา ตอบแทนทห่ี นว ยงานไดร บั จากหนุ กดู อ ยสิทธิ

สิทธติ ามโครงการชวยเพิม่ เงนิ ของสถาบนั การเงินท่เี ขารว มโครงการชวยเพิ่มเงินกองทุน

กองทุนขั้นที่ ๒ ขัน้ ท่ี ๒ ๘๒๑

๔ ๒ ๐๓ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บัญชรี ายไดด อกเบยี้ อืน่ หมายถึง คา ตอบแทนที่หนว ยงานไดรับจากการใหผูอื่น

ใชประโยชนจากเงินหรอื เงินทุนในกรณอี ื่นนอกจากทรี่ ะบุไว

ขา งตน ๘๒๑

๔.๒.๔ บญั ชีรายไดเงนิ ปน ผลของแผนดนิ

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บัญชรี ายไดจ ากโรงงานยาสบู หมายถงึ รายไดข องแผน ดินจากการจดั สรรกําไรเปนรายได

นาํ สงรัฐของโรงงานยาสูบ ๗๐๘

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บัญชรี ายไดจากสาํ นักงาน หมายถึง รายไดของแผนดินจากการจําหนา ยสลากกินแบง

สลากกินแบงรัฐบาล และอ่นื ๆ ของสาํ นักงานสลากกนิ แบง รฐั บาล ๗๐๙

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๗ บัญชรี ายไดพเิ ศษจากรัฐวสิ าหกิจ หมายถงึ รายไดของแผน ดนิ จากการจัดสรรกาํ ไรเปน รายได

นําสงรฐั ตามทีร่ ัฐบาลกาํ หนดของรฐั วิสาหกจิ ทไี่ มไ ดจ ัดอยใู น

สาขาที่กําหนดเพ่ือการนาํ สง รายไดแผน ดิน ๗๑๐

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๘ บัญชีรายไดจากเงินปน ผลตาม หมายถงึ คา ตอบแทนท่ีหนว ยงานไดรบั จากเงินปน ผล

โครงการชว ยเพิม่ เงนิ กองทนุ หนุ สามัญ และหุน บุรมิ สิทธขิ องสถาบนั การเงนิ ทเี่ ขารว ม

ข้ันที่ ๑ โครงการชว ยเพิ่มเงนิ กองทุนขั้นท่ี ๑ ๗๐๗

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๐๙ บญั ชีรายไดจ ากองคการของรัฐ หมายถึง รายไดข องแผนดินจากการจัดสรรกําไรเปน รายได

สาขาบรกิ ารสาธารณปู โภค นําสงรฐั ตามทร่ี ฐั บาลกําหนดของรัฐวิสาหกจิ สาขาบริการ

สาธารณูปโภค เชน การไฟฟา การประปา การเคหะแหงชาติ

เปน ตน ๗๐๒

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๑๐ บญั ชรี ายไดจากองคการของรัฐ หมายถึง รายไดของแผน ดินจากการจดั สรรกําไรเปน รายได

สาขาคมนาคมและขนสง นําสง รัฐตามทร่ี ฐั บาลกําหนดของรฐั วสิ าหกิจสาขา

คมนาคมและขนสง เขน การทางพิเศษ การทาเรอื เปนตน ๗๐๓

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๑๑ บัญชีรายไดจากองคก ารของรัฐ หมายถงึ รายไดของแผนดนิ จากการจดั สรรกําไรเปน รายได

สาขาอุตสาหกรรม นาํ สง รัฐตามท่ีรฐั บาลกําหนดของรฐั วสิ าหกจิ สาขา

อุตสาหกรรม เชน องคการเภสัชกรรม องคการสุรา เปนตน ๗๐๔

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๑๒ บัญชรี ายไดจ ากองคก ารของรัฐ หมายถงึ รายไดของแผน ดนิ จากการจัดสรรกาํ ไรเปนรายได

สาขาเกษตรกรรม นําสง รัฐตามทรี่ ฐั บาลกําหนดของรัฐวสิ าหกิจสาขา

เกษตรกรรม เชน องคการสวนยาง องคก ารอุตสาหกรรม

ปาไม เปนตน ๗๐๕

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๑๓ บัญชรี ายไดจ ากองคก ารของรฐั หมายถงึ รายไดข องแผน ดินจากการจดั สรรกําไรเปน รายได

สาขาพาณิชยกรรมและบริการ นําสง รฐั ตามทร่ี ัฐบาลกําหนดของรฐั วสิ าหกจิ สาขา

พาณชิ ยกรรมและบริการ เชน องคก ารสะพานปลา

องคการสวนสัตว เปนตน ๗๐๖
๒๐๒

สิง่ ท่สี งมาดวย ๔/๑๐

รหัส ชือ่ บญั ชีแยกประเภท ความหมาย รหัส รหสั
บญั ชแี ยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๔ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บัญชรี ายไดเงนิ ปน ผลอ่นื หมายถึง คา ตอบแทนท่หี นวยงานไดร ับจากเงนิ ปนผล

นอกจากทร่ี ะบไุ วข า งตนรวมท้ังจากกจิ การทรี่ ัฐเขาไปถอื หนุ

ตํ่ากวารอยละ ๕๐ ๗๐๗ xx๑๙๓๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔.๒.๕ บัญชรี ายไดจ ากการขายสินทรัพยข องแผนดนิ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บัญชีรายรบั จากการขาย หมายถงึ รายรบั จากการขายเงินลงทนุ ทกุ ประเภท xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
เงนิ ลงทนุ ๖๒๑ xx๑๙๒๐๐
xx๑๙๒๐๐
๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บญั ชรี ายรบั จากการขายที่ดนิ หมายถึง รายรบั จากการขายท่ีดนิ ทุกประเภท ๖๐๒
xx๑๙๔๐๐
๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๐๔ บัญชรี ายรบั จากการขายอาคาร หมายถึง รายรับจากการขายอาคารและสิ่งปลูกสรางทกุ
xx๑๙๔๐๐
และส่งิ ปลกู สรา ง ประเภท ๖๐๒
xx๑๙๔๐๐
๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๑๐ บญั ชรี ายรับจากการขายครุภัณฑ หมายถึง รายรบั จากการขายครภุ ณั ฑทุกประเภท ๖๔๙ xx๑๙๔๐๐
xx๑๙๔๐๐
๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๒๘ บัญชีรายรับจากการขายสินทรัพย หมายถึง รายรับจากการขายสินทรัพยไมมีตวั ตนทกุ
xx๑๙๔๐๐
ไมม ตี ัวตน ประเภท ๖๔๙ xx๑๙๔๐๐
xx๑๙๔๐๐
๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๓๓ บญั ชีรายไดจากการขายหุนตาม หมายถึง รายรบั จากการขายหุนตามโครงการชว ยเพิ่ม
xx๑๙๔๐๐
โครงการชวยเพม่ิ เงนิ กองทุนขั้นที่ ๒ เงนิ กองทนุ ขั้นท่ี ๒ ๖๒๒

๔ ๒ ๐๕ ๐๑ ๐๑ ๔๓ บัญชีรายไดจากการขายหนุ กองทุน หมายถงึ รายรับจากการขายหนุ กองทุนรวมวายภุ ักษ

รวมวายุภกั ษ ๖๗๖

๔.๒.๖ บัญชรี ายไดอนื่ ของแผนดนิ

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บญั ชกี าํ ไรจากการทาํ เหรยี ญ หมายถงึ รายไดข องแผน ดนิ จากการผลิตและจา ยแลก

กษาปณ เหรยี ญกษาปณ โดยเก็บจากผลตา งระหวา งราคาที่

จําหนายจา ยแลกกับตนทนุ การผลิตทก่ี รมธนารกั ษป ระมาณ

ขึ้นและไดร ับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังแลว ๘๒๒

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บัญชีรายไดเงนิ เหลือจายปเ กา หมายถงึ เงินงบประมาณทหี่ นว ยงานเบกิ จากคลงั ไปแลว

ในปกอ นและไมไ ดจา ยหรือจา ยไมห มดใหแกเ จา หนหี้ รือ

ผูม สี ิทธิรบั เงินในปป จ จุบันจนพนระยะเวลาทก่ี าํ หนด หรอื

จา ยแลว ไดรบั คนื กลบั มาเน่ืองจากผรู บั เงินไมมีสิทธิหรอื

มสี ทิ ธิไมครบและไมม หี น้ีผูกพันทพี่ งึ ตอง ๘๑๑

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๕ บัญชกี าํ ไรที่เกิดข้นึ จรงิ จากสญั ญา หมายถึง รายไดข องแผนดนิ จากกําไรท่เี กิดจากผลตา ง

กยู ืม ระหวางราคาตลาดและราคาตามบญั ชขี องสญั ญาการให

กูยมื ทม่ี ีการยกเลิกสัญญากยู ืมระหวางงวด ซ่งึ ไมร วมกาํ ไร

จากอตั ราแลกเปลี่ยน ๘๘๙

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๖ บญั ชีหนี้สูญไดร บั คืน หมายถึง รายไดข องแผนดนิ ทเ่ี กดิ จากยอดลูกหนท้ี ่ี

หนวยงานตัดเปนหน้สี ูญไปแลวในงวดบญั ชีกอนๆ

แตไ ดร บั ชาํ ระคืนในงวดปจ จบุ ัน ๘๒๐

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๗ บัญชีเงนิ กาํ ไรจากโครงการ หมายถึง รายรับจากเงินกาํ ไรจากโครงการสาํ รวจขา ว

สาํ รวจขา ว ๘๒๙

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๘ บัญชีรายไดท ไ่ี มใชภาษอี ่ืน– หมายถึง รายไดเ บด็ เตลด็ ของแผนดินจากผลประโยชน

หนว ยงานในตา งประเทศ เบ็ดเตล็ดอนื่ ๆ ท่ีหนวยงานในตา งประเทศจดั เกบ็ และนาํ สง

บญั ชนี ้ีถือเปนบญั ชรี ะหวา งกัน (BP) กับบัญชีคา ใชจา ย

นาํ สงรายไดแ ผน ดนิ -หนวยงานในตางประเทศ รหสั บัญชี

๕๑๐๗๐๓๐๑๓๐ ๘๓๐

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๐๙ บัญชรี ายไดจากการแปรรูป หมายถงึ รายไดข องแผน ดนิ ที่เกิดจากการแปรรูป

รัฐวสิ าหกจิ รัฐวสิ าหกจิ ๘๓๑

๔ ๒ ๐๖ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บญั ชีรายไดที่ไมใชภาษอี น่ื หมายถึง รายไดเบ็ดเตลด็ ของแผนดินจากผลประโยชน

เบ็ดเตล็ดอ่ืนๆ นอกจากท่ีระบไุ วขา งตน ๘๓๐

๔.๒.๗ บัญชีปรับมลู คา รายไดท ีไ่ มใ ชภาษี

๔ ๒ ๐๗ ๐๑ ๐๑ ๐๑ บัญชรี ายไดท่ไี มใ ชภาษจี ดั สรร หมายถึง บัญชเี พ่ือปรบั มูลคา รายไดแผนดินทไี่ มใ ชภาษี

เปน เงินนอกงปม. ตามระเบยี บท่ีเก่ียวขอ ง ซง่ึ ระบุใหห นว ยงานหกั เงินรายได

แผน ดนิ ท่เี กบ็ ไดเปนรายไดป ระเภทเงินนอกงบประมาณ

ของหนว ยงาน ๘๓๐

๒๐๓

สิง่ ที่สง มาดวย ๔/๑๑

รหสั ชือ่ บญั ชีแยกประเภท ความหมาย รหัส รหสั
บญั ชแี ยกประเภท รายได แหลง ของเงนิ

๔ ๒ ๐๗ ๐๑ ๐๑ ๐๒ บญั ชีรายไดท ีไ่ มใ ชภ าษีจายคนื หมายถงึ รายไดแ ผนดินที่ไมใชภ าษที ่หี นว ยงานจดั เกบ็ และ

นาํ สง แลวแตขอถอนคืนจากคลงั เพ่ือจา ยใหแ กผมู สี ิทธิ เปน

บัญชีปรบั มูลคา รายไดแ ผน ดนิ ทีไ่ มใชภาษี ๘๓๐ xx๑๙๔๐๐

๔ ๒ ๐๗ ๐๑ ๐๑ ๐๓ บัญชรี ายไดท ไ่ี มใชภ าษจี ัดสรร หมายถึง บัญชีเพือ่ ปรับมลู คา รายไดแ ผน ดนิ ท่ไี มใ ชภาษี
ให อปท.
เน่อื งจากตอ งจดั สรรเงนิ รายไดท จี่ ดั เก็บไวส ว นหน่งึ ไปใหแ ก

องคกรปกครองสว นทองถิ่น ๘๓๐ xx๑๙๔๐๐

๔ ๒ ๐๗ ๐๑ ๐๑ ๙๙ บัญชรี ายไดที่ไมใชภาษีจดั สรร หมายถึง บญั ชเี พื่อปรบั มูลคารายไดแผนดนิ ที่ไมใ ชภาษี

เพือ่ การอ่นื เนือ่ งจากกรณอี ื่นๆ นอกจากท่ีระบุไวข างตน ๘๓๐ xx๑๙๔๐๐

๒๐๔

(สําเนา)

ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๖๗ กรมบัญชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เรื่อง หลกั เกณฑก ารเบิกจายตรงเงินสวัสดกิ ารเกีย่ วกบั การรกั ษาพยาบาลในสถานพยาบาล
ของทางราชการ

เรียน อธิบดกี รมท่ดี ิน

อา งถึง ๑. หนงั สือกระทรวงการคลัง ดว นที่สดุ ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๘๔ ลงวนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน ๒๕๔๙
๒. หนังสอื กรมบัญชกี ลาง ดวนท่ีสดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๓๗๙ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓

ดวยกรมบัญชีกลางไดรับขอหารือจากสถานพยาบาลของทางราชการเก่ียวกับ
การลงทะเบียนในระบบเบิกจายตรงกรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวประสงคจะมีผูรับยาแทน
สถานพยาบาลจะตอ งเรยี กเอกสารทางราชการอะไรบา งเพอ่ื ประกอบการตรวจสอบ เน่อื งจาก
แนวทางปฏิบัติตามหนงั สอื ทีอ่ า งถงึ กําหนดเพยี งขน้ั ตอนการสแกนลายนว้ิ มือผรู ับยาแทนเทานน้ั
ซง่ึ ปจ จบุ นั สถานพยาบาลหลายแหง ไดก าํ หนดมาตรการควบคมุ ภายในเพอ่ื ยนื ยนั ตวั บคุ คลทช่ี ดั เจน
วาผูใดจะเปนผูรับยาแทนและเปนมาตรการเสริมเพ่ือปองกันการสวมสิทธิในระบบเบิกจายตรง
ซ่ึงในบางครั้งเกิดความไมเขาใจกันระหวางสถานพยาบาลกับผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวได
จึงขอหารอื แนวทางปฏิบัตทิ ช่ี ัดเจนเพอื่ ใหส ถานพยาบาลดําเนนิ การไปในแนวทางเดียวกัน

กรมบญั ชกี ลางพิจารณาแลว อาศยั อํานาจตามความในขอ ๕ ขอ ๑๒ ขอ ๑๓
ขอ ๑๔ ขอ ๑๖ ขอ ๑๘ ขอ ๑๙ ขอ ๒๒ ขอ ๒๓ ขอ ๒๗ และ ขอ ๒๙ ของหลกั เกณฑก ระทรวง
การคลังวาดว ยวิธกี ารเบกิ จายเงินสวัสดิการเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ เหน็ ควร
กําหนดแนวทางปฏบิ ัติในการลงทะเบยี นในระบบเบกิ จายตรงเพมิ่ เติม กรณผี มู สี ิทธิหรอื บุคคลใน
ครอบครวั ประสงคจ ะมีผูรับยาแทน ใหผ ูมีสิทธแิ ละสถานพยาบาลของทางราชการ ถือปฏบิ ัติดังนี้

ผมู สี ทิ ธิ
๑. กรณผี รู บั ยาแทนเปนผูม ีสิทธหิ รอื บคุ คลในครอบครวั ตามพระราชกฤษฎกี า
เงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ใหบุคคลดังกลา วแสดงตนตอเจา หนาท่ี
สถานพยาบาล และแสดงบัตรประจาํ ตวั ประชาชนเพอ่ื ตรวจสอบจากฐานขอ มลู บุคลากรภาครัฐ
ผานทาง www.cgd.go.th หากพบสถานะวา “มีสทิ ธิ” ใหด าํ เนินการลงทะเบยี นในระบบเบกิ จาย
ตรงได ในกรณีท่ี “ไมม ีสทิ ธิ” ใหถ ือปฏิบัติเชนเดยี วกับกรณตี ามขอ ๒

๒๐๕

๒. กรณีผูรับยาแทนเปนบุคคลอื่นที่มิใชผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว ตาม
พระราชกฤษฎกี าเงินสวสั ดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ใหบ คุ คลดงั กลา วแสดง
ตนตอ เจา หนา ทีส่ ถานพยาบาล พรอมกับแสดงบตั รประจาํ ตัวประชาชน และใหมอบสําเนาบตั ร
ประจําตัวประชาชนและรบั รองสาํ เนาถูกตอง เพอ่ื ใชเ ปน เอกสารประกอบการมผี รู บั ยาแทน

๓. ผูรับยาแทนจะตองแสดงตนพรอมกับการลงทะเบียนสมัครเขาสูระบบเบิก
จา ยตรงของผมู สี ทิ ธิหรือบคุ คลในครอบครวั และตอ งลงลายมอื ชอ่ื ในใบสมัครระบบเบกิ จายตรง
ตามหนงั สือทีอ่ างถงึ ๑ ดวย

สถานพยาบาลของทางราชการ
๑. กรณผี รู ับยาแทนเปน ผูมสี ทิ ธิหรอื บคุ คลในครอบครัว ตามพระราชกฤษฎกี า
เงินสวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ แสดงตนตอเจา หนาท่ีสถานพยาบาล
พรอมแสดงบตั รประจําตวั ประชาชนใหดําเนนิ การตรวจสอบขอมลู ผานทาง www.cgd.go.th โดย
ใชเลขประจาํ ตัวประชาชนของบคุ คลดงั กลา ว หากขึ้นสถานะวา “มสี ทิ ธ”ิ สถานพยาบาลสามารถ
สแกนลายนว้ิ มอื โดยไมตองเรียกเอกสารทางราชการใดๆ และในกรณีท่ี “ไมมสี ทิ ธิ” ใหถ อื ปฏิบัติ
เชน เดียวกบั กรณีตามขอ ๒
๒. กรณีผูรับยาแทนเปนบุคคลอ่ืนที่มิใชผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว ตาม
พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดกิ ารเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ใหสถานพยาบาลเรียก
บัตรประจําตัวประชาชนพรอมกับสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนซ่ึงรับรองความถูกตองแลวของ
บุคคลดงั กลา ว เปน เอกสารประกอบการเปน ผรู บั ยาแทนดว ย
๓. การมผี รู บั ยาแทนทั้ง ๒ กรณี ผรู ับยาแทนตอ งลงลายมอื ช่ือในใบสมคั รระบบ
เบิกจา ยตรงตามหนังสอื ทอี่ า งถงึ ๑ ดว ย

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดแจงใหผ มู ีสทิ ธิ และเจาหนาท่ีที่เกีย่ วของทราบและถือปฏบิ ตั ิ
ตอ ไปดวย จกั ขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชื่อ) รงั สรรค ศรวี รศาสตร
(นายรงั สรรค ศรวี รศาสตร)
อธิบดกี รมบญั ชีกลาง

สาํ นักมาตรฐานคา ตอบแทนและสวัสดิการ
กลุม งานสวัสดกิ ารรกั ษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๕๔๑

๒๐๖

(สาํ เนา)
บนั ทกึ ขอความ

สวนราชการ กองคลงั ฝายบญั ชี โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๖๕

ที่ มท ๐๕๐๓.๒ / ๒๕๘๙ วันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เร่ือง การแจง รายละเอยี ดการจายเงินเดอื นและคาจางประจํา และหนังสือรับรองการหกั ภาษี
ณ ท่ีจาย

เรียน อธบิ ดี

๑. เร่ืองเดมิ
กรมทด่ี ินไดเ ขารว มโครงการจายตรงเงนิ เดอื นและคาจา งประจํา ต้งั แตวนั ท่ี

๑ สงิ หาคม ๒๕๔๘ เปนตน ไป

๒. ขอ เทจ็ จริง
๒.๑ กองคลังไดจัดสงรายละเอียดการจายเงินเดือนและคาจางประจําประจํา

เดือน จากรายงานในระบบจา ยตรงฯ ดังน้ี
๒.๑.๑ จดั สง ใบรบั รองการจา ยเงนิ เดอื นและเงนิ อน่ื ซง่ึ แสดงรายละเอยี ด

การจา ยเงินรายบุคคลใหแ กทานอธิบดี ทปี่ รึกษา รองอธบิ ดี และผูต รวจราชการกรมท่ีดิน (เอกสาร
หมายเลข ๑)

๒.๑.๒ จดั สงรายละเอยี ดการจายเงนิ เดือน (จัดเรียงตามบญั ชีถอื จาย)
และรายละเอยี ดการจายคา จางประจาํ (จัดเรียงตามบัญชีถอื จา ย) ซึง่ แสดงรายละเอียดการ
จา ยเงนิ รายหนวยงานเรยี งตามบญั ชถี ือจายใหส าํ นกั กอง และสาํ นักงานท่ดี ินจงั หวัดทุกจังหวัด
(เอกสารหมายเลข ๒) โดยใหห นว ยงานตรวจสอบขอ มูลดงั น้ี

(๑) หนวยงานและผูรับเงินตรวจสอบขอมูลเกี่ยวกับเลขท่ีบัญชี
เงนิ ฝากธนาคาร จํานวนเงนิ เดือนและคาจา งประจาํ เงินเพ่มิ เงนิ หัก และการเปน สมาชิก กบข.
กสจ.

๒.๒ กองคลังไดร ับ E–mail จาํ นวน ๕ ฉบับ เสนอแนะใหกองคลังจดั สง สลปิ
เงนิ เดือนรายบคุ คล (เอกสารหมายเลข ๓) ซึง่ กองคลังไมส ามารถจดั สงใบรบั รองการจา ยเงิน ตาม
ขอ ๒.๑.๑ ใหแกข าราชการและลกู จา งประจํารายบคุ คลในแตล ะเดือนประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน ได
เน่อื งจากมขี อ จาํ กัดในการดําเนินงาน ดังนี้

๒.๒.๑ กองคลงั มอี ตั รากาํ ลงั จาํ กดั การพิมพรายละเอยี ดการจา ยเงิน
รายหนว ยงานตามขอ ๒.๑.๒ ท่ที าํ อยูปจ จบุ ันใชเ วลาในการจัดทาํ และสง ใหส าํ นกั / กอง และ
สาํ นกั งานที่ดนิ จังหวดั ประมาณ ๕ วันทาํ การ

๒๐๗

๒.๒.๒ การพิมพรายละเอียดการจายเงินรายบุคคลทุกเดือนจะเพิ่ม
ภาระคาใชจ ายทางดานงบประมาณจํานวนมาก

๒.๒.๓ การจัดสงรายละเอียดการจายเงินเดือนและคาจางประจําสงให
ตามหนวยงานทส่ี ังกัดตามบญั ชถี ือจาย ในขณะทกี่ ารบนั ทกึ ฐานขอ มลู คําสง่ั โยกยายขาราชการ
ไมเ ปน ปจจุบนั และมีขา ราชการบางสว นชวยราชการตา งสงั กัด

๒.๓ กองคลงั ไดจ ัดสงหนังสอื รับรองการหกั ภาษี ณ ทจ่ี าย ประจําป โดยพิมพ
ขอมลู จากระบบจา ยตรงฯ สง ใหสํานกั /กอง และสาํ นกั งานท่ดี นิ จังหวดั ตามสงั กัดในบัญชีถือจาย
โดยมหี นวยงานหลายแหง ไดสงคืนหนังสอื รับรองการหักภาษี ณ ท่ีจา ย เน่ืองจากไมไ ดปฏิบตั งิ าน
อยูทางหนว ยงานท่สี งั กัดทาํ ใหเพมิ่ ข้ันตอนและคาใชจ า ยในการจดั สงทางไปรษณีย

๒.๔ กองคลังไดประสานและไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากสํานัก
เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศใหสอดคลองกับความตองการและขอ
เสนอแนะ โดยการพิจารณาชอ งทางระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สในการนําเขา ขอ มลู รายละเอียดการจา ย
เงินเดอื นและคา จา งประจํารายบุคคลและขอ มูลการหักภาษี ณ ท่จี า ย ทางเว็บไซตกรมทีด่ นิ ซ่งึ
ขณะน้ไี ดดาํ เนินการเสร็จเรียบรอ ยแลว สรุปไดด ังน้ี

๒.๔.๑ สาํ นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศไดพัฒนาระบบ Web Application
เพอื่ ใหขา ราชการและลกู จางประจําสามารถเขาสบื คน ขอมูลของตนเองผา นทางเว็บไซตก รมทด่ี นิ

๒.๔.๒ กําหนดหวั ขอการเขา เวบ็ ไซตกรมที่ดนิ หนาแรก ชือ่ “สบื คน การ
จา ยเงนิ เดอื นรายบคุ คล” หรือ พิมพ http://www.dol.go.th/dol/index.php?option=com_payroll

๒.๔.๓ สามารถสืบคนขอ มูลได ๒ ประเภท คอื
(๑) รายละเอียดการจายเงินเดือน – คาจางประจําและเงินอื่น

ประจาํ เดอื น โดยสามารถดูขอมูลยอนหลงั ได ๖ เดือน (เอกสารหมายเลข ๔)
(๒) หนังสอื รับรองการหักภาษี ณ ที่จา ย (เอกสารหมายเลข ๕)

๒.๔.๔ กําหนดสิทธิสําหรับผูใชงานในการสืบคนขอมูลในระบบ
ประกอบดวย

(๑) Username ใชรหัสเลขประจาํ ตัวประชาชน ๑๓ หลัก
(๒) Password ใชรหัสเลขที่บัญชีเงินฝากธนาคารที่แจงการ
ขอรับเงนิ เดอื นและคา จา งประจําไวก ับกองคลัง
โดยมขี น้ั ตอนการเขา ใชง านโปรแกรมสบื คน รายละเอยี ดการจา ยเงนิ เดอื น
และคา จางประจําประจําเดือน และหนังสอื รับรองการหักภาษี ณ ท่จี า ยประจาํ ป สําหรบั ผูใ ชงาน
(เอกสารหมายเลข ๖)
๒.๕ การบริหารจัดการขอ มลู ในระบบผเู ขาใชงานตอ งมี Username และ
Password และกําหนดขอมลู ทีต่ อ งบริหารจัดการ ๔ รายการ (เอกสารหมายเลข ๗) ประกอบดวย

๒๐๘

๒.๕.๑ การนาํ เขาขอมูลรายละเอยี ดการจายเงินเดือนและคา จางประจํา
๒.๕.๒ การเปลย่ี นรหสั ผา นกรณขี า ราชการและลกู จา งประจาํ เปลย่ี นรหสั ใหม
และจํารหสั ไมได
๒.๕.๓ การนาํ เขา ขอ มลู รายละเอยี ดหนงั สอื รบั รองการหกั ภาษี ณ ทจ่ี า ย
๒.๕.๔ การอพั โหลดภาพลายเซน็ ตส าํ หรบั หนงั สอื รบั รองการหกั ภาษี ณ ทจ่ี า ย
๓. ระเบยี บ
พระราชบัญญตั ิขอ มลู ขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ บัญญตั ิวา
มาตรา ๒๔ หนวยงานของรัฐจะเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลท่ีอยู
ในความควบคุมดแู ลของตนตอ หนว ยงานของรัฐอ่ืนหรอื ผอู ่นื โดยปราศจากความยินยอมเปน
หนงั สือของเจา ของขอมลู ทไ่ี หไวลว งหนา หรอื ในขณะนัน้ มไิ ด เวน แตเปนการเปดเผยดงั ตอ ไปนี้
(๑) ตอ เจาหนาที่ของรัฐในหนว ยงานของตน เพื่อการนําไปใชตามอาํ นาจ
หนา ที่ของหนว ยงานของรฐั นัน้

ฯลฯ
๔. ความเหน็

กองคลงั พจิ ารณาแลว เพื่อใหขาราชการและลูกจางประจําสามารถสืบคน
รายละเอียดการจายเงินเดือนและคาจางประจําประจําเดือน และหนังสือรับรองการหักภาษี
ณ ทจ่ี ายประจาํ ป ของตนเองได และหนว ยงานมขี อมลู การเบกิ จา ยเงินเดอื นและคาจางประจาํ
ประจาํ เดือนไวเปนขอมูลในการบรหิ ารงานบุคคล การตรวจสอบขอมูลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู
ขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๒๔ (๑) เหน็ ควรดาํ เนินการ ดงั น้ี

๔.๑ กาํ หนดการสืบคนรายละเอียดการจา ยเงินเดอื นและคา จางประจาํ และ
หนังสือรับรองการหกั ภาษี ณ ทีจ่ ายไวท ีเ่ ว็บไซตกรมที่ดิน เพือ่ ใหขาราชการและลูกจา งประจาํ
สบื คนขอ มูลของตนเองได

๔.๒ ใหกองคลังกําหนดเจาหนา ทท่ี ําการบรหิ ารจดั การขอ มูลในระบบ ตาม
ขอ ๒.๕

๔.๓ ใหก องคลงั สงรายละเอยี ดการจายเงินเดอื น (จัดเรียงตามบัญชถี ือจา ย)
และรายละเอียดการจายคา จางประจาํ (จัดเรียงตามบัญชีถอื จาย) ใหส าํ นัก กอง และสาํ นักงาน
ที่ดนิ จงั หวดั ทกุ จังหวดั เปนเอกสารลับ เพ่อื ใชเ ปนขอ มลู ในการบรหิ ารงานบุคคล การตรวจสอบ
และรายงานขอมลู ใหกรมท่ดี นิ (กองคลงั ) ตามขอ ๒.๑.๒ (๑) และ (๒)

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณา หากเหน็ ชอบขอไดโ ปรดลงนามในหนงั สอื ถงึ จงั หวดั
ทแี่ นบมาพรอมน้ี ท้ังนีก้ องคลงั จะไดแจงใหน ว ยงานในสวนกลางทราบตอ ไป

(ลงชอื่ ) ทัศณี ทศั ธนะสิริกุล
(นางสาวทศั ณี ทศั ธนะสริ ิกลุ )
ผูอ าํ นวยการกองคลัง

๒๐๙

การใชงานโปรแกรมสบื คน รายละเอยี ดการจายเงินเดอื นและคา จา งประจํา
และหนงั สือรบั รองการหกั ภาษี ณ ที่จาย
สําหรับผูใชง าน

การเขา สรู ะบบ
๑. ขาราชการและลกู จา งประจํา สามารถเขาใชงานได โดยเขาเว็บไซตกรมทด่ี นิ (www.dol.go.th)

แลวคลิกที่ banner. สืบคนการจายเงินเดอื นรายบุคคล หรอื พมิ พ URL :
http://www.dol.go.th/dol/index.php?option=com_payroll

๒๑๐

๒. พมิ พ เลขประจาํ ตัวประชาชน และ รหัสผาน
รหัสผาน คอื เลขทบ่ี ัญชธี นาคาร (เดือนลา สดุ )

๒๑๑

๒๑๒

๒๑๓

๒๑๔

๒๑๕

๒๑๖

๒๑๗

๒๑๘

ดว นท่สี ดุ (สําเนา)
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๕
กระทรวงการคลงั
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๕

เรื่อง ซอ มความเขา ใจเกยี่ วกบั การใชสทิ ธิในระบบเบกิ จา ยตรงเงินสวัสดิการเกย่ี วกบั การรักษา
พยาบาล

เรียน อธิบดีกรมท่ดี ิน

ดวยกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดดําเนินการตรวจสอบขอมูลคาใช
จายในระบบเบกิ จา ยตรงเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล พบวา ผูมีสทิ ธิหรอื บคุ คลใน
ครอบครัวเขารับบริการทางการแพทยในสถานพยาบาลของทางราชการหลายแหงและเวลาใกล
เคยี งกนั จนมีปรมิ าณยาสะสมเปน จํานวนมาก และเชื่อไดว า ยาท่ไี ดร ับไปมไิ ดนาํ ไปใชส าํ หรับ
ตนเอง นอกจากนี้ พบกรณีมีการเบิกจายยาโดยไมปรากฏขอมูลวา ผมู ีสทิ ธหิ รอื บุคคลในครอบครัว
มารับบริการทส่ี ถานพยาบาลแตอ ยางใด

กระทรวงการคลงั พจิ ารณาแลว ขอเรยี นวา เพอ่ื ใหเ กดิ ความโปรง ใสในระบบราชการ
ในกรณีกรมบญั ชกี ลางตรวจสอบพบขอเท็จจรงิ ขา งตน กระทรวงการคลงั โดยกรมบัญชกี ลางจะ
ดําเนินการ ดังน้ี

๑. กรณีขา ราชการ ลกู จา งประจํา มีพฤตกิ รรมดังกลาว จะดาํ เนนิ การแจง ให
สว นราชการตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ หากปรากฏขอ เทจ็ จรงิ ตอ สว นราชการวา ขา ราชการ ลกู จา งประจาํ
มเี จตนาทุจรติ ขอใหด าํ เนินการในเร่อื งวนิ ยั รายแรงแกบ คุ คลดังกลา ว

๒. กรณีบคุ คลในครอบครวั ของขาราชการ ลกู จา งประจาํ มพี ฤตกิ รรมดงั กลาว
จะดําเนินการแจงใหสว นราชการตรวจสอบขอเท็จจรงิ หากปรากฏขอเท็จจริงตอ สวนราชการวา
ขาราชการ ลกู จา งประจาํ รเู หน็ และมีเิ จตนาทจุ ริต ขอใหด าํ เนนิ การในเรือ่ งวนิ ยั รายแรงแกบุคคล
ดังกลา ว และจะดําเนนิ การระงับการใชสทิ ธิในระบบเบกิ จายตรง

๓. กรณีท่ีสถานพยาบาลของทางราชการเบิกจายคารักษาพยาบาลในระบบ
เบิกจายตรงโดยไมปรากฏขอมูลในเอกสารวาผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวมารับบริการจริง
จะดําเนินการแจงใหหวั หนาสว นราชการตนสังกดั ตรวจสอบขอ เท็จจรงิ หากปรากฏขอ เท็จจริง
วา มีเจา หนาท่ขี องรฐั รายใดมพี ฤตกิ รรมทจุ รติ ใชร ะบบเบกิ จา ยตรงแสวงหาผลประโยชน ขอให
ดาํ เนนิ การในเรอื่ งวินัยรา ยแรงแกบคุ คลดงั กลา ว

๒๑๙

ท้งั น้ี เม่อื ดําเนนิ การตามขอ หนึง่ ขอ ใดแลว เสรจ็ โปรดแจง ใหกรมบัญชีกลางทราบ
ซ่งึ กรณขี อเทจ็ จริงใดท่เี ขาขายการกระทาํ ความผดิ อาญา กระทรวงการคลงั โดยกรมบญั ชกี ลาง
จะดาํ เนินการตามข้ันตอนของกฎหมายตอ ไป นอกเหนือจากการเรียกเงนิ คา รักษาพยาบาลคืน
จากบุคคลดงั กลา ว

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชอ่ื ) สุภา ปยะจิตติ
(นางสาวสภุ า ปยะจติ ต)ิ
รองปลัดกระทรวงการคลงั

หวั หนากลุมภารกิจดา นรายจา ยและหนสี้ ิน

กรมบัญชีกลาง
สํานักมาตรฐานคา ตอบแทนและสวสั ดกิ าร
กลุมงานสวสั ดกิ ารรักษาพยาบาลขา ราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๒๒๐

ดว นท่สี ดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๖
กระทรวงการคลงั
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕

เร่ือง หลกั เกณฑก ารเบิกคา รกั ษาพยาบาลกรณีเจ็บปว ยฉุกเฉนิ วิกฤตและเจ็บปวยฉกุ เฉินเรง ดวน
เรียน อธิบดกี รมที่ดนิ
อา งถึง หนังสือกรมบัญชกี ลาง ดว นท่สี ุด ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๓๗๙ ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓
ส่ิงท่ีสง มาดว ย ประกาศกระทรวงการคลัง เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ ละอตั ราคารกั ษาพยาบาลประเภท

ผูปว ยในสถานพยาบาลของเอกชน กรณปี ระสบอุบัตเิ หตุ อบุ ตั ิภัย หรอื มี
ความจาํ เปนเรง ดวน (ฉบบั ที่ ๒)

ดวยรัฐบาลมีนโยบายใหประชาชนสามารถเขาถึงระบบบริการสาธารณสุขท่ี
มคี ุณภาพประกอบกับการพฒั นาระบบบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉิน เปน ส่งิ สําคญั และจาํ เปน เพอื่
สามารถใหบรกิ ารทางการแพทยก ับผปู วยฉกุ เฉนิ ดว ยความรวดเร็ว เขา ถึงได โดยปราศจาก
เงอ่ื นไขตางๆ

กระทรวงการคลงั พิจารณาแลว เพอ่ื ใหส อดรับกบั นโยบายของรัฐบาลดงั กลาว
จึงเหน็ ควรยกเลกิ ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง หลักเกณฑและอตั ราคารักษาพยาบาลประเภท
ผูปวยในสถานพยาบาลเอกชน กรณีประสบอุบตั ิเหตุ อบุ ตั ิภัย หรือมเี หตจุ ําเปน เรงดวน ตาม
หนงั สอื ทอ่ี า งถงึ และอาศัยอาํ นาจตามความในขอ ๕ ขอ ๑๒ ขอ ๑๓ ขอ ๑๔ ขอ ๑๖ ขอ ๑๘
ขอ ๑๙ ขอ ๒๒ ขอ ๒๓ ขอ ๒๗ และขอ ๒๙ ของหลักเกณฑกระทรวงการคลงั วาดว ยวิธีการ
เบกิ จา ยเงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓ เหน็ ควรกําหนดแนวทางปฏบิ ตั ิ
การเบกิ จายเงินคารกั ษาพยาบาลสาํ หรบั กรณที ีส่ ถาบนั การแพทยฉุกเฉิน แพทยห รือผูป ฏบิ ัตกิ าร
ฉุกเฉนิ ไดป ระเมนิ ระดบั ความรนุ แรงของการเจ็บปว ยฉกุ เฉนิ วาเปนผูป วยฉุกเฉินวกิ ฤต หรอื ผูปวย
ฉกุ เฉินเรง ดวนตามกฎหมายวา ดวยการแพทยฉ ุกเฉนิ ใหผมู สีิ ทิ ธิ สวนราชการตน สังกัด สถาน
พยาบาลของทางราชการ และสถานพยาบาลของเอกชน ถอื ปฏิบัตดิ ังนี้

๑. ผมู ีสิทธิ
๑.๑ ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวสามารถเขารับการรักษาพยาบาลใน

สถานพยาบาลของทางราชการและสถานพยาบาลของเอกชนได โดยไมต อ งทดรองจา ยเงินให
สถานพยาบาลกอน

๑.๒ กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษาพยาบาลในสถาน
พยาบาลของเอกชน การใชสิทธิใหถือปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการขอรับคาใชจายเพ่ือ
การบริการสาธารณสุขตามนโยบายบูรณาการ ๓ กองทนุ กรณีอบุ ัติเหตฉุ ุกเฉนิ ของสํานกั งาน
หลกั ประกนั สขุ ภาพแหงชาติ (สปสช.)

๒๒๑

๑.๓ ภายหลังจากผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษาพยาบาล
หากปรากฏวา ยังไมไดจดั ทาํ ฐานขอมลู บุคลากรภาครัฐ ใหผมู สี ิทธิหรอื บุคคลในครอบครวั จดั ทาํ
ฐานขอมูลใหสมบรู ณ ทง้ั นี้ เพ่อื มิใหเ กดิ ปญหาขัดขอ งในการใชสิทธริ กั ษาพยาบาล

๒. สว นราชการตน สังกดั
กรณผี มู สี ทิ ธนิ าํ ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา รกั ษาพยาบาลประเภทผปู ว ยใน สถานพยาบาล

ของเอกชน กรณีประสบอุบัตเิ หตุ อบุ ัตภิ ัย หรอื มเี หตุจาํ เปน เรงดว นซ่งึ หากมิไดรบั การรกั ษา
พยาบาลในทันทีทันใดอาจเปนอันตรายตอชีวิตของบุคคลดังกลาว ตามพระราชกฤษฎีกาเงิน
สวสั ดิการเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓ มายื่นขอเบิกเงินจากทางราชการ ใหอนุมตั เิ บิก
คา รักษาพยาบาลไดเฉพาะกรณีที่ผูป ว ยเขา รับการรกั ษาพยาบาลกอนวนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๕๕

๓. สถานพยาบาลของทางราชการ
๓.๑ กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษาพยาบาลประเภท

ผปู ว ยนอก หากฐานขอ มูลสมบูรณ ใหข อเลขอนมุ ัตแิ มผ ูปวยไมไดอ ยูใ นระบบเบิกจา ยตรง โดย
ระบุเปนการสมคั รขอใชสิทธิฉกุ เฉินเชนเดยี วกบั กรณีอุทกภยั

๓.๒ กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษาพยาบาลประเภทผู
ปวยใน ใหข อเลขอนมุ ัติหรือขอหนงั สอื รบั รองการมสี ทิ ธริ บั เงนิ คารกั ษาพยาบาล ตามหลักเกณฑ
กระทรวงการคลงั วา ดวยวธิ กี ารเบิกจา ยเงินสวัสดิการเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓

๓.๓ การสง ขอมูลเพอ่ื ขอเบกิ เงินคา รกั ษาพยาบาลใหถ อื ปฏิบตั เิ ชนเดิม
๔. สถานพยาบาลของเอกชน

ใหถือปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการขอรับคาใชจายเพ่ือการบริการ
สาธารณสขุ ตามนโยบายบูรณาการ ๓ กองทุน กรณีอบุ ัตเิ หตุฉุกเฉิน ของสํานกั งานหลกั ประกัน
สุขภาพแหง ชาติ (สปสช.) สาํ หรับแนวทางปฏิบตั ใิ นการขอรับคาใชจ ายเพื่อการบรกิ ารสาธารณสขุ
ตามนโยบายบรู ณาการ ๓ กองทุน กรณอี ุบัติเหตุฉกุ เฉนิ และอัตราคา บรกิ ารสาธารณสขุ เพื่อ
ใชสําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลกรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษา
พยาบาลในสถานพยาบาลของอกชน กรณีอบุ ัติเหตุฉุกเฉนิ เหน็ ควรแจง ใหสวนราชการตา งๆ และ
สถานพยาบาลของเอกชนดาวนโ หลด (download) ไดท่ี www.nhso.go.th หรือ www.cgd.go.th

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดแจงใหผมู ีิสทิ ธิ และเจา หนา ทีท่ ่เี ก่ียวของทราบและถอื ปฏบิ ัติ
ตอ ไปดว ย จกั ขอบคณุ ย่ิง

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชือ่ ) สภุ า ปย ะจิตติ

(นางสาวสุภา ปย ะจติ ต)ิ
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หวั หนา กลุมภารกิจดา นรายจายและหนี้สิน
กรมบญั ชีกลาง สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวสั ดกิ าร
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขา ราชการ โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๖๑๔

๒๒๒

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงการคลงั
เร่ือง หลักเกณฑแ ละอัตราคา รกั ษาพยาบาลประเภทผปู วยใน สถานพยาบาลของเอกชน
กรณปี ระสบอุบตั เิ หตุ อบุ ัติภยั หรอื มีเหตจุ ําเปน เรงดว น (ฉบบั ที่ ๒)
––––––––––––––––––
โดยที่รัฐบาลมีนโยบายใหป ระชาชนสามารถเขา ถงึ ระบบบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉนิ
โดยปราศจากเง่อื นไขตางๆ ที่ไมต อ งมกี ารถามสทิ ธแิ ละเรยี กเกบ็ เงนิ จากผปู ว ย
อาศยั อํานาจตามมาตรา ๘ วรรคแรก (๓) และวรรคสอง แหง พระราชกฤษฎกี า
เงนิ สวสั ดิการเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓ กรมบัญชกี ลางโดยไดร บั มอบหมายจาก
กระทรวงการคลังเห็นสมควรกําหนดหลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยใน
สถานพยาบาลของเอกชน กรณเี ปน ผูปว ยฉกุ เฉินวิกฤติหรือผปู วยฉุกเฉนิ เรง ดวนตามกฎหมายวา
ดว ยการแพทยฉุกเฉิน ดงั นี้
ขอ ๑ ประกาศนเี้ รยี กวา ประกาศกระทรวงการคลัง “เรอื่ ง หลักเกณฑแ ละอัตรา
คารกั ษาพยาบาลประเภทผปู ว ยใน สถานพยาบาลของเอกชนกรณีประสบอุบัติเหตุ อุบัตภิ ยั หรือ
มเี หตุจาํ เปน เรงดวน (ฉบบั ที่ ๒)”
ขอ ๒ ประกาศนีใ้ หใชบังคับตงั้ แตวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ เปนตน ไป
ขอ ๓ ใหย กเลิกความในขอ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง เรอ่ื ง หลกั เกณฑ
และอัตราคา รักษาพยาบาลประเภทผูป ว ยใน สถานพยาบาลของเอกชน กรณปี ระสบอุบตั เิ หตุ
อุบตั ภิ ยั หรือมเี หตุจําเปนเรง ดว น ลงวันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๓ และใหใชความตอไปนีแ้ ทน
“ขอ ๓ การเบิกจายคารักษาพยาบาลกรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว
เขา รับการรกั ษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชน กรณีเปน ผูปวยฉุกเฉินวกิ ฤตหรือผูป ว ย
ฉุกเฉนิ เรง ดว นตามกฎหมายวาดว ยการแพทยฉ กุ เฉนิ ใหเบกิ คา รักษาพยาบาลได ดงั นี้
(ก) คา หอ งและคา อาหาร ใหเ บิกจา ยไดต ามประกาศกระทรวง
การคลงั เร่อื ง อัตราคา บริการสาธารณสุขเพื่อใชสาํ หรบั การเบกิ จายคา รกั ษาพยาบาลในสถาน
พยาบาลของทางราชการ
(ข) คา อวยั วะเทยี มและอปุ กรณท ใ่ี ชใ นการบาํ บดั รกั ษาโรค ใหเ บกิ
จา ยไดต ามรายการและอตั ราทแี่ นบทา ยประกาศฯ นี้
(ค) คา รกั ษาพยาบาลประเภทอน่ื ๆ ใหเ บิกจา ยไดต ามแนวทาง
ปฏิบตั ใิ นการขอรับคาใชจ ายเพ่อื การบริการสาธารณสขุ ตามนโยบายบรู ณาการ ๓ กองทนุ กรณี
อบุ ัติเหตุฉุกเฉนิ ของสํานักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหงชาต”ิ
ขอ ๔ กรณีที่ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวที่เขารับการรักษาพยาบาลประเภท
ผปู ว ยในสถานพยาบาลของเอกชน กรณีประสบอบุ ัตเิ หตุ อุบัตภิ ยั หรือมคี วามจาํ เปน เรงดว น
ซึ่งหากมิไดรับการรักษาพยาบาลในทันทีทันใดอาจเปนอันตรายตอชีวิตของบุคคลดังกลาว

๒๒๓

กอนวนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๕๕ และการรกั ษาพยาบาลยงั ไมส ิน้ สดุ ลง ใหผูม ีสทิ ธมิ ีสทิ ธิไดรับเงิน
สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสําหรับตนเองหรือบุคคลในครอบครัว สําหรับการรักษา
พยาบาลในคราวนนั้ โดยใหนาํ ประกาศกระทรวงการคลงั เรอ่ื ง หลักเกณฑแ ละอัตราคารกั ษา
พยาบาลประเภทผูปวยใน สถานพยาบาลของเอกชน กรณปี ระสบอบุ ตั เิ หตุ อบุ ัติภยั หรือมีเหตุ
จําเปนเรง ดว น ลงวันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๓ มาใชบงั คับสาํ หรบั การเบกิ เงินสวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การ
รกั ษาพยาบาลโดยอนโุ ลม

ประกาศ ณ วันท่ี ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕
(ลงชอื่ ) รังสรรค ศรีวรศาสตร
(นายรังสรรค ศรวี รศาสตร)
อธบิ ดกี รมบญั ชีกลาง
ปฏบิ ัตริ าชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลงั

๒๒๔

ที่ กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๒๗๐ (สาํ เนา) กรมบัญชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕

เรื่อง การตรวจสอบการเปนขา ราชการ/ลกู จา งประจาํ พรอมกบั การเปน ผูรบั เบ้ยี หวัดหรอื บํานาญ

เรยี น อธบิ ดีกรมที่ดนิ

อางถงึ ๑. พระราชบญั ญตั ิบําเหนจ็ บํานาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ และท่ีแกไ ขเพม่ิ เติม
๒. พระราชบญั ญัติกองทุนบําเหนจ็ บาํ นาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ และทแี่ กไขเพ่มิ เติม
๓. พระราชกฤษฎีกาเงนิ ชว ยคาครองชีพผรู ับเบ้ียหวัดบํานาญ พ.ศ. ๒๕๒๑ และทแี่ กไข
เพิ่มเติม
๔. ขอ บังคบั กระทรวงกลาโหมวาดวยเงนิ เบ้ยี หวดั พ.ศ. ๒๔๙๕

ตามพระราชบญั ญตั บิ าํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ
พระราชบญั ญตั ิกองทนุ บาํ เหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ และทแี่ กไขเพมิ่ เติม และพระราช
กฤษฎกี าเงนิ ชวยคาครองชพี ผรู บั เบีย้ หวัดบํานาญ พ.ศ.๒๕๒๑ และทแ่ี กไขเพม่ิ เติม บัญญัตไิ ว
โดยสรปุ ดังนี้

๑. ผไู ดร บั หรอื มีสทิ ธไิ ดรบั เบย้ี หวดั หรือบํานาญตามกฎหมายท่ีอา งถึง ๑ และ ๒
ไมมสี ิทธิไดร ับเงินชว ยคา ครองชีพผูร บั เบีย้ หวดั บํานาญ (ชคบ.) ตามกฎหมายทีอ่ า งถึง ๓ ถาเขา
รับราชการหรือกลับเขารับราชการหรือเขาทํางานหรือกลับเขาทํางานสังกัดราชการสวนกลาง
ราชการสว นภมู ภิ าคหรอื ราชการสว นทอ งถน่ิ และตามขอ บงั คบั กระทรวงกลาโหมวา ดว ยเงนิ เบย้ี หวดั
พ.ศ.๒๔๙๕ หมวด ๔ ขอ ๘ (๓) ระบวุ า ทหารซ่ึงไดรบั เบย้ี หวดั อยแู ลว ใหงดเบย้ี หวัดในกรณเี ขา
รับราชการในตําแหนงซึ่งมีสิทธิจะไดรับบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญ
ขา ราชการ ตามท่อี างถึง ๔

๒. ขา ราชการซง่ึ ไดร บั หรอื มสี ทิ ธไิ ดร บั บาํ นาญปกตแิ ลว ถา กลบั เขา รบั ราชการใหม
จะนบั เวลาราชการตอเนื่องไดใ หง ดจายบํานาญปกติตลอดเวลาที่กลบั เขา รบั ราชการใหม แตถ า
ผนู ัน้ ประสงคจ ะรบั บาํ นาญตอไป จะตองมหี นังสือแจงความประสงค กรณีรับบํานาญตอ ไปถา
เงนิ เดือนทีไ่ ดร ับใหมเทา หรือสูงกวาเงนิ เดอื นเดิม ใหงดจายบาํ นาญ แตถ าเงนิ เดอื นใหมน อ ยกวา
เงินเดอื นเดิมใหร บั บาํ นาญเทากับผลตางของเงินเดือนใหมแ ละเงนิ เดอื นเดมิ ตามกฎหมายท่อี าง
ถึง ๑ – ๒
ดังนน้ั ผูไดรบั หรอื มสี ิทธิไดรับเบี้ยหวัด บาํ นาญ บาํ นาญพิเศษเพราะเหตทุ ุพพลภาพหรอื ในฐานะ
ทายาทหรอื ผอู ุปการะหรอื ผูอยใู นอปุ การะ ถา เขารับราชการหรือกลับเขา รบั ราชการหรือเขา ทํางาน

๒๒๕

หรอื กลับเขาทาํ งานเปนขาราชการหรือลกู จางประจํา จะไมมีสิทธริ ับเงิน ชคบ. ลดหรอื งดรับ
เบี้ยหวดั หรอื บาํ นาญ แลว แตกรณี

กรมบัญชีกลางพจิ ารณาแลว ขอเรยี นวา เพือ่ ปอ งกนั มิใหม ีการจา ยเงนิ กรณี
ดงั กลา วเกนิ สิทธิ จงึ ใครขอความรว มมือในการตรวจสอบวา ขา ราชการหรอื ลูกจางประจําใน
สังกัดรายใดหรือผูท่ีจะเขารับราชการหรือกลับเขารับราชการผูใดเปนผูไดรับหรือมีสิทธิไดรับ
เบย้ี หวัด บํานาญ บาํ นาญพเิ ศษเพราะเหตทุ ุพพลภาพหรอื ในฐานะทายาทหรอื ผูอปุ การะหรือผูอ ยู
ในอุปการะ หากปรากฏวา พบบุคคลที่เขา ขา ยกรณีขางตน โปรดแจงช่ือ–นามสกุล เลขประจําตัว
ประชาชน พรอมสําเนาคําสงั่ กรณีบรรจุหรอื บรรจุกลับเขา รับราชการใหกรมบญั ชีกลางทราบโดย
ดว น เพือ่ กรมบญั ชีกลางจะไดดําเนินการในสว นทเ่ี กี่ยวขอ งตอ ไป

อนง่ึ หากมขี อ สงสยั กรณขี า งตน โปรดประสานงานกบั หนว ยงานของกรมบญั ชกี ลาง
ดังนี้

๑. สวนบริหารการจายเงิน ๑ โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๒๙ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๑
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๔ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๓๕–๖

๒. สว นบรหิ ารการจายเงนิ ๒ โทรศพั ท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๔๗ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๔๖
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๔๒

๓. สวนบริหารการจายเงนิ ๓ โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๕๔ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๕๗
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๕๘
๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๖๒๐๓ ๖๒๐๗
และ ๖๒๐๙

๔. สว นบริหารการจา ยเงนิ ๔ โทรศพั ท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๗๖ ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๗๓
๐ ๒๑๒๗ ๗๓๗๑
๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๒๑๓ ๔๒๑๐
๔๓๔๐

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดสาํ รวจกรณขี า งตน และแจง กรมบญั ชกี ลางทราบโดยดว นดว ย
จะขอบคุณมาก

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชือ่ ) ณพงศ ศิรขิ ันตยกลุ

(นายณพงศ ศิรขิ นั ตยกลุ )
รองอธบิ ดี ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธบิ ดีกรมบัญชีกลาง

สาํ นักบริหารการรับ–จายเงนิ ภาครฐั
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๐๘
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๘๐

๒๒๖

(สาํ เนา)

ที่ นร ๐๗๐๔ / ว ๑๐๔ สํานักงบประมาณ
ถนนพระรามท่ี ๖ กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐

๑ สิงหาคม ๒๕๕๕

เรื่อง ระเบยี บวา ดว ยการบริหารงบประมาณ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
เรียน อธบิ ดกี รมที่ดิน
สงิ่ ทสี่ งมาดวย ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕ จาํ นวน ๑ ฉบับ

ตามที่สํานักงบประมาณไดกําหนดระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๔๘ และท่ีแกไ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๒ และ (ฉบับท่ี ๔)
พ.ศ.๒๕๕๔ เพ่อื ใหส อดคลอ งกบั ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยทุ ธศาสตร และการ
แกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินที่กําหนดใหจังหวัดและกลุมจังหวัด
เปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณแลว น้นั

เพ่ือใหการใชจายตามงบประมาณรายจายงบบุคลากรของสวนราชการ
รฐั วสิ าหกจิ และจังหวดั เปน ไปอยา งเหมาะสม คุม คา และเกิดประโยชนส ูงสุดตอผลสัมฤทธ์ิ
ในการปฏบิ ัตภิ ารกิจยิง่ ขึ้น อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗ แหง พระราช
บัญญตั วิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ มาตรา ๑๙ แหงพระราชบญั ญตั ิวธิ ีการงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๐๒ ซึ่งแกไขเพ่ิมเตมิ โดยมาตรา ๔ แหงพระราชบญั ญตั วิ ธิ กี ารงบประมาณ (ฉบบั ท่ี ๖)
พ.ศ. ๒๕๔๓ และมาตรา ๒๐ แหงพระราชบญั ญตั ิวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ ผอู ํานวยการ
สาํ นักงบประมาณจงึ กําหนดระเบยี บวาดวยการบริหารงบประมาณ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้นึ ไว
โดยมรี ายละเอยี ดตามส่ิงท่ีสง มาดว ย ทั้งน้ี ไดน าํ ลงเผยแพรในเวบ็ ไซตของสํานักงบประมาณดวย
แลว โดยสามารถเปด ดไู ดที่ http://www.bb.go.th

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและถือปฏิบัตติ อไป

สาํ นกั กฎหมายและระเบียบ ขอแสดงความนับถอื
โทร. ๐ ๒๒๗๓ ๙๐๒๗ ตอ ๓๗๔๖ (ลงชอื่ ) วรวทิ ย จาํ ปรัตน
โทรสาร ๐ ๒๒๗๓ ๙๔๓๖
(นายวรวทิ ย จําปรตั น)
ผูอํานวยการสาํ นักงบประมาณ

๒๒๗

(สําเนา)

ระเบียบวา ดว ยการบริหารงบประมาณ
(ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๕

––––––––––––––––––

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงการบริหารงบประมาณรายจายในงบบุคลากรให
เปน ไปอยางเหมาะสม คมุ คา และเกดิ ประโยชนส งู สุดตอ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการปฏิบตั ภิ ารกจิ ของสว น
ราชการและรฐั วสิ าหกจิ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ มาตรา ๗ แหงพระราชบญั ญัตวิ ิธีการ
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ มาตรา ๑๙ แหงพระราชบัญญัตวิ ิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ ซ่งึ
แกไ ขเพ่ิมเติมโดยมาตรา ๔ แหงพระราชบญั ญตั ิวธิ ีการงบประมาณ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๔๓ และ
มาตรา ๒๐ แหงพระราชบญั ญตั วิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ ผอู าํ นวยการสาํ นักงบประมาณ
จึงกาํ หนดระเบียบขึ้นไวด ังตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบยี บวา ดวยการบรหิ ารงบประมาณ (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๕”

ขอ ๒ ระเบยี บน้ใี หใ ชบังคบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวันประกาศเปนตนไป
ขอ ๓ ใหย กเลิกความในขอ ๒๕ ของระเบียบวา ดว ยการบรหิ ารงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ซง่ึ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยระเบียบวา ดวยการบริหารงบประมาณ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔
และใหใชความตอ ไปน้ีแทน
“ขอ ๒๕ หัวหนาสวนราชการหรือหัวหนารัฐวิสาหกิจมีอํานาจโอนและหรือ
เปล่ียนแปลงรายการงบประมาณรายจายในงบรายจายใดๆ ยกเวนงบบุคลากร ภายใตแ ผนงาน
เดยี วกนั ทเี่ หลอื จา ยจากการดาํ เนินงานบรรลุวตั ถปุ ระสงคและเปา หมายผลผลติ หรอื โครงการ
ตามท่ีไดรบั การจดั สรรงบประมาณ หรือจากการจดั ซอื้ จัดจา งแลว ไปใชจ ายเปนรายจา ยใดๆ ได
แตม ใิ หน ําไปใชจ ายเปน รายการอัตราบุคลากรต้ังใหม รายการคาทีด่ นิ หรือรายการกอหน้ีผูกพนั
ขามปงบประมาณ และมิใหนําไปใชจ ายหรอื สมทบจา ยเปน คา ใชจ ายในการเดินทางไปราชการ
ตางประเทศช่ัวคราวท่ีไมไดกําหนดไวในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณท่ี
ไดรับความเหน็ ชอบจากสาํ นักงบประมาณแลว ในกรณีทีม่ หี น้ีคาสาธารณปู โภคคา งชําระ หรือ
คาใชจายท่ีจําเปนตองจายตามขอผูกพันสัญญาคางชําระ ใหโอนไปชําระเปนลําดับแรกกอน
ตามลําดับ
การโอนหรือเปลยี่ นแปลงรายการงบประมาณรายจายตามวรรคหน่ึง เพ่ือจดั หา
ครุภณั ฑหรือสงิ่ กอ สรา ง จะตองมีวงเงินตอ หนวยต่ํากวา หน่งึ ลานบาทและต่าํ กวาสิบลานบาท

๒๒๘

ตามลาํ ดบั และการโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจา ยเพื่อเปน คา จดั หาครภุ ณั ฑ
ยานพาหนะตองเปน การจัดหาเฉพาะเพือ่ ทดแทนครุภัณฑยานพาหนะเดมิ

สํานักงบประมาณอาจกําหนดหลักเกณฑหรือวิธีปฏิบัติเพื่อกําหนดขอบเขตหรือ
ขอ จาํ กัดการใชงบประมาณเหลือจายตามวรรคหนึง่ และวรรคสองไดตามความจําเปน ”

ประกาศ ณ วันท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
(ลงชอื่ ) วรวทิ ย จําปร ัตน
(นายวรวทิ ย จาํ ปร ตั น)
ผอู าํ นวยการสาํ นักงบประมาณ

๒๒๙

ดว นท่ีสดุ (สําเนา)
ท่ี กค ๐๔๑๐.๒ / ว ๘๑
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕

เรือ่ ง แนวทางปฏิบตั ิในการผอนชาํ ระหนี้ กรณผี ูร ับเงนิ ชวยคา ครองชีพผรู บั เบย้ี หวดั บาํ นาญเกินสิทธิ
เนื่องจากการมสี ถานะเปนขาราชการหรอื ลกู จางประจําของสวนราชการ

เรยี น อธิบดกี รมทดี่ นิ
อางถงึ พระราชกฤษฎีกาเงินชวยคาครองชีพผูรับเบีย้ หวัดบํานาญ พ.ศ. ๒๕๒๑ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ
สงิ่ ท่ีสง มาดวย แบบหนังสือรับสภาพหน้ีและสญั ญาผอนชําระหนี้

ดวยตามพระราชกฤษฎีกาเงนิ ชวยคา ครองชพี ผรู บั เบี้ยหวดั บาํ นาญ พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๕ บัญญตั ิวา “ผูไดร บั หรอื มสี ทิ ธิไดร ับเบีย้ หวัดหรอื บาํ นาญ ไมมีสทิ ธิไดร บั ช.ค.บ.
ตามมาตรา ๓ หรอื มาตรา ๔ ถาเขารับราชการ หรือกลับเขารบั ราชการ หรอื เขา ทํางาน หรือ
กลับเขาทาํ งาน สังกัดราชการสวนกลาง ราชการสว นภูมภิ าค หรือราชการสวนทอ งถนิ่ ” ตอ มา
กรมบญั ชกี ลางไดตรวจสอบฐานขอ มูลการเบิกจา ยในระบบบาํ เหน็จบาํ นาญแลวพบวา มผี รู บั
บํานาญพเิ ศษเพราะเหตทุ ุพพลภาพ หรอื ในฐานะทายาท หรอื ผูอุปการะ หรอื ผูอยูใ นอปุ การะ
มสี ถานะเปนขา ราชการหรอื ลูกจางประจาํ ของสว นราชการ ซง่ึ ไมมสี ทิ ธิไดร ับเงนิ ชว ยคาครองชีพ
ผรู บั เบ้ียหวัดบํานาญ (ช.ค.บ.) ไดร ับเงิน ช.ค.บ. ไปเกนิ สทิ ธิ จงึ ไดส ่ังงดเบิกเงิน ช.ค.บ. กรณี
ดังกลาวแลวต้ังแตเ ดือนเมษายน ๒๕๕๔ เปน ตน มา พรอมทงั้ ขอใหสว นราชการเจา สงั กัดแจงให
ผรู ับเงินเกินสทิ ธิคืนเงนิ ตามจํานวนท่ีไดร ับเกินไปใหแ กทางราชการแลว

กระทรวงการคลงั พจิ ารณาแลว ขอเรยี นวา การรบั เงนิ ช.ค.บ. เกนิ สทิ ธกิ รณดี งั กลา ว
สาเหตมุ ไิ ดเ กดิ จากผรู บั เบย้ี หวดั บาํ นาญโดยตรง แตก ารเบกิ จา ยคลาดเคลอ่ื นเนอ่ื งมาจากสว นราชการ
ไมสามารถตรวจสอบขอมูลการกลบั เขา รบั ราชการหรอื เขาทาํ งานในสว นราชการของผรู บั เงิน
ช.ค.บ. ซง่ึ มีผลทําใหบุคคลน้นั ไมมีสทิ ธไิ ดร บั เงิน ช.ค.บ. ในกรณดี งั กลา วอกี ตอไป ดังนนั้ เพอื่
เปนการผอ นผนั ใหผ ูร บั เงิน ช.ค.บ. เกินสทิ ธใิ นกรณนี ้ี ซึง่ มีเจตนาท่ีจะชาํ ระเงินคนื ใหแกท าง
ราชการเตม็ จํานวน แตตดิ ขดั ภาระดานคา ใชจา ยในการดํารงชีพ ไมส ามารถชําระเงินทั้งหมด
คืนไดใ นคราวเดยี ว จงึ เหน็ สมควรกาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการผอนชําระหนี้ กรณีผูร ับเบย้ี หวดั
บํานาญไดร ับเงนิ ช.ค.บ. เกนิ สทิ ธิ เน่ืองจากการเขา รบั ราชการหรือกลบั เขารบั ราชการ เขาทาํ งาน
หรอื กลบั เขาทํางาน ในสว นราชการสวนกลาง ราชการสว นภูมภิ าค และราชการสว นทองถ่นิ
ภายใตเ งอื่ นไข ดงั นี้

๒๓๐

๑. ใหผ อนชําระเงิน ช.ค.บ. ท่ไี ดร บั เกนิ สทิ ธิคืนแกท างราชการ ในอัตราไมน อย
กวา รอ ยละ ๑๐ ของจาํ นวนเงนิ เดือน คาจาง เบ้ยี หวดั บาํ นาญ และหรือบาํ นาญพิเศษ แลว แต
กรณีทีไ่ ดร บั อยใู นปจจุบนั โดยใหหักจากเงินเดือน คา จาง เบย้ี หวดั บํานาญ และหรอื บํานาญ
พิเศษ ท่ีไดร บั ในแตล ะเดือนตามวงเงนิ และระยะเวลาดังนี้

(๑) วงเงินไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ใหผอนชาํ ระภายในกําหนดเวลาไมเ กนิ
๕ ป

(๒) วงเงินเกินกวา ๒๐๐,๐๐๐ บาท ใหผ อนชาํ ระภายในกาํ หนดเวลาไมเ กนิ
๑๐ ป

๒. สาํ หรับดอกเบ้ยี ระหวา งการผอนชําระ เน่ืองจากการรับเงิน ช.ค.บ. เกนิ สทิ ธิ
กรณีน้ีมิไดเกิดจากผูร บั เงินเกนิ สิทธิดังกลาวโดยตรง แตเกิดจากการเบกิ จา ยคลาดเคลอื่ น จึงให
งดดอกเบีย้ ระหวา งการผอนชําระสําหรับผยู นิ ยอมผอนชําระตามเง่ือนไขทกี่ าํ หนด

๓. กรณผี ทู ่ีไดรบั เงนิ ช.ค.บ. เกินสทิ ธิซึ่งปจจบุ ันอยูระหวางรับราชการหรอื ทํางาน
ในราชการสวนกลาง ราชการสวนภมู ภิ าค หรือราชการสวนทอ งถน่ิ พนจากราชการและมีสิทธิ
ไดร บั เบี้ยหวดั บําเหน็จบํานาญหรือเงนิ อืน่ ใดจากทางราชการ ตองยนิ ยอมใหท างราชการหกั เงนิ
ดงั กลา วชดใชหนีต้ ามสัญญาท่ีเหลอื อยูใหค รบถว น

๔. กรณีผูรบั เงิน ช.ค.บ.เกินสิทธิเสียชีวติ ลงระหวางการผอ นชาํ ระ ใหส วนราชการ
ทาํ ความตกลงกบั ทายาทซง่ึ เปน ผมู สี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ บาํ เหนจ็ ตกทอดของผตู าย ยนิ ยอมใหท างราชการ
หักเงนิ บาํ เหนจ็ ตกทอดชดใชหนตี้ ามสัญญาทีเ่ หลืออยูใหครบถวน

ทั้งน้ี ใหจัดทําหนังสือรับสภาพหน้ีและสัญญาผอนชําระหนี้ตามแบบที่สงมา
พรอมน้ี

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและแจงใหหนวยงานในสังกัดถือเปนแนวทางปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถอื

(ลงชอื่ ) สุภา ปยะจิตติ
(นางสาวสุภา ปย ะจิตต)ิ
รองปลัดกระทรวงการคลัง

หัวหนา กลมุ ภารกจิ ดานรายจา ยและหนีส้ ิน

กรมบัญชีกลาง
สํานกั ความรับผดิ ทางแพง
กลุม งานพัฒนาและบรหิ ารงานละเมดิ และแพง
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๙๒

๒๓๑

สัญญาผอ นชาํ ระหนี้

กรณีผูรบั เงินชวยคา ครอบชพี ผูรับเบี้ยหวดั บาํ นาญ (ช.ค.บ.) เกนิ สทิ ธิ
เนอ่ื งจากการมีสถานะเปน ขาราชการหรือลกู จา งประจําของสวนราชการ

เลขที.่ ................/.................

ทําท่ี..............................................
.....................................................

วันที.่ ........................................

ขา พเจา......................................................................................อาย.ุ .............ป
อาชีพ........................................ตาํ แหนง......................................สังกัด.................................
อยบู า นเลขท่ี.......................หมู. ..........ถนน..............................ตาํ บล/แขวง............................
อาํ เภอ/เขต..............................................จังหวัด..............................................

ขอทาํ สัญญาผอ นชาํ ระหน้ีฉบับน้ีไวใ หแ ก. ........................................................
โดย........................................................................................................................เปน ผูแทน
ดงั มีขอ ความตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ขาพเจาตกลงยินยอมคนื เงนิ ช.ค.บ. ที่ไดรับไปเกนิ สทิ ธิ เปนเงนิ รวมท้ังสน้ิ
..........................บาท (......................................) ตามหนังสือรบั สภาพหน้ีเลขที่.........../...........
ลงวันท.่ี ...........เดอื น..................................พ.ศ. ..............โดยจะชําระงวดทหี่ นึง่ เปน เงนิ จาํ นวน
..........................บาท (.......................................) ภายในวนั ท.ี่ ...............................................
สวนทเ่ี หลอื จํานวน.....................................บาท (..................................................................)
ขอผอ นชําระเปน รายเดอื นใหแ ลวเสรจ็ ภายในกาํ หนดเวลา...............ป. ............เดอื น ตามตาราง
รายละเอียดการผอนชําระหนี้แนบทา ยสัญญานี้

ขอ ๒ จํานวนเงินที่เหลือตามขอ ๑ ขาพเจาขอผอนชําระเปนรายเดือน ในอัตรา
เดอื นละ........................บาท (....................................) จนกวาจะครบจํานวนที่ตอ งชดใช และ
ขอรบั รองวา จะไมเ รยี กรอ งเพอ่ื ระงบั หรอื งดเวน การชาํ ระหนร้ี ายนเ้ี ปน อนั ขาด ทง้ั น้ี จะเรม่ิ ผอ นชาํ ระ
ต้ังแตเดือน...................................พ.ศ. .................เปนตนไป

ขอ ๓ ขาพเจา ยินยอมใหเจา หนา ทผี่ ูจายเงินหักเงินเดือน คา จาง เบยี้ หวัด บํานาญ
และหรือบํานาญพเิ ศษ ของขาพเจา ณ ท่ีจา ยเปนรายเดอื น ทุกๆ เดอื นจนกวาจะครบ

๒๓๒

ขอ ๔ กรณขี า พเจาอยรู ะหวางรับราชการหรือทาํ งานในราชการสว นกลาง ราชการ
สวนภูมิภาค หรือราชการสว นทอ งถ่นิ พน จากราชการและมีสิทธไิ ดร บั เบยี้ หวดั บาํ เหน็จ บํานาญ
หรอื เงินอน่ื ใดจากทางราชการ ขา พเจา ยินยอมใหท างราชการหกั เงินดงั กลาวชดใชห นตี้ ามสญั ญา
ที่เหลืออยูใหครบถวน

ขอ ๕ หากตอ งเสยี คา ธรรมเนยี มในการสงเงนิ ขา พเจา ยินยอมออกคา ใชจา ยเอง
ทงั้ สน้ิ

สญั ญาผอ นชําระหนน้ี ี้ทําขึน้ ....................ฉบบั ขอ ความตรงกัน ขา พเจาไดอ า นและ
มีความเขาใจในสัญญาผอนชําระหนี้ฉบับนี้ดวยดีโดยตลอดแลวเห็นวาถูกตองตรงตาม
เจตนารมณข องขาพเจา จึงไดล งลายมือช่ือไวเปน หลักฐานตอหนาพยาน

ลงชอื่ .......................................ผใู หสัญญา
(.......................................)

ลงชอ่ื .......................................ผูร ับสญั ญา*
(.......................................)

ลงชื่อ.......................................พยาน
(.......................................)

ลงชอื่ .......................................พยาน
(.......................................)

*หมายเหตุ ผูร ับสญั ญา คอื ผรู ับมอบอาํ นาจจากสวนราชการซ่ึงเปน นติ บิ คุ คล

๒๓๓

หนังสือรบั สภาพหนี้
กรณผี ูรับเงินชว ยคา ครอบชพี ผรู ับเบ้ียหวัดบาํ นาญ (ช.ค.บ.) เกินสิทธิ
เนื่องจากการมสี ถานะเปนขา ราชการหรือลกู จา งประจําของสว นราชการ

เลขท.่ี ................/.................
ทําที่..............................................
.....................................................
วันท.่ี ........................................
โดยหนังสือฉบบั น้ีขาพเจา ............................................................อายุ..............ป
อาชีพ........................................ตาํ แหนง ......................................สงั กดั .................................
อยบู า นเลขที่.......................หม.ู ..........ถนน..............................ตําบล/แขวง............................
อําเภอ/เขต..............................................จังหวดั ..............................................
ขอทําหนงั สือฉบบั นไี้ วใ หแก. ...............................................................................
ตั้งอยูเลขที่.........................หม.ู ..........ถนน..............................ตําบล/แขวง.............................
อาํ เภอ/เขต..............................................จังหวดั ..............................................
เพอ่ื เปนหลักฐานแสดงวา ขาพเจา ตกลงยนิ ยอมคนื เงิน ช.ค.บ. ท่ไี ดร บั ไปเกินสิทธิ
เปน เงนิ รวมทง้ั สิน้ .........................................บาท (................................................................)
โดยขาพเจาตกลงที่จะทําการชําระหน้ีดังกลาวโดยมีกําหนดเวลาในการชําระหนี้
ดงั น้ี
งวดทหี่ นึ่ง ชาํ ระเปนเงินจํานวน..........................บาท (........................................)
ภายในวันที่...............................................
สว นท่เี หลอื ขอผอนชําระเปน เงนิ รายเดอื นใหแลว เสร็จภายในกําหนดเวลา............ป
...................เดอื น ตามสัญญาผอ นชาํ ระหน้ี เลขที่............../................
หนังสือรบั สภาพหน้นี ีท้ ําข้นึ .........................ฉบบั ขา พเจา ไดอานและมคี วามเขาใจ
ในหนังสือรับสภาพหน้ีฉบับนี้ดวยดีโดยตลอดแลวเห็นวาถูกตองตรงตามเจตนารมณของขาพเจา
จงึ ไดล งลายมอื ชอื่ ไวเ ปนหลกั ฐานตอ หนาพยาน
ลงชอ่ื .......................................ผูรบั สภาพหน้ี
(.......................................)
ลงชื่อ.......................................พยาน
(.......................................)
ลงชื่อ.......................................พยาน
(.......................................)

๒๓๔

(สําเนา)

ที่ กค ๐๔๐๙.๓ / ว ๓๑๒ กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๕

เร่ือง แนวปฏิบตั เิ กยี่ วกับการบันทกึ รายการเช็คขดั ขอ งผาน GFMIS Web Online

เรยี น อธบิ ดีกรมทด่ี ิน

อา งถึง หนังสือกรมบญั ชกี ลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๓ / ว ๒๓๙ ลงวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓

สิง่ ทสี่ ง มาดว ย แนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการบนั ทกึ รายการเช็คขัดขอ งผา น GFMIS Web Online
จํานวน ๑ ชุด (สามารถดาวนโหลดไฟลไดจ ากเว็บไซตข องกรมบญั ชกี ลาง
www.cgd.go.th)

ตามหนังสือทอี่ างถึง กรมบัญชกี ลางไดจ ดั ทําคูมอื การปฏิบตั ิงานระบบรับและนาํ
สง ผาน GFMIS Web Online ซง่ึ มีกระบวนงานเก่ยี วกบั การบนั ทึกรายการรบั และนําสงเงินรายได
แผนดนิ และเงนิ นอกงบประมาณใหหนว ยงานใชเปนแนวทางในการปฏิบตั งิ าน น้ัน

กรมบัญชกี ลาง ขอเรยี นวา ไดพฒั นาระบบงานในสวนที่เกยี่ วขอ งกับการบนั ทกึ
รายการเช็คขัดของเพ่ิมเติม จึงจัดทําแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกรายการเช็คขัดของผาน
GFMIS Web Online รายละเอียดปรากฏตามส่ิงท่สี งมาดวย

จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดทราบ และแจงใหเ จา หนา ทท่ี เี่ ก่ียวขอ งถือปฏบิ ัตติ อไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) กติ ติมา นวลทวี

(นางกติ ติมา นวลทว)ี
รองอธบิ ดี ปฏบิ ตั ริ าชการแทน

อธิบดกี รมบญั ชีกลาง

สํานักกํากับและพฒั นาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส
กลุมงานกาํ กบั และพฒั นาระบบงาน
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๖๕๒๖
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๐๗

๒๓๕

(สําเนา)

ดว นมาก กรมบัญชกี ลาง
ท่ี กค ๐๔๒๐.๘ / ว ๓๔๙๐๙ ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๓๐ สงิ หาคม ๒๕๕๕

เรื่อง การบริการสงขอความใหผ มู ีสิทธิรับเบ้ียหวัด บําเหน็จบาํ นาญ และเงินอ่นื ในลักษณะ
เดียวกนั

เรียน อธิบดกี รมทด่ี ิน

สิ่งทสี่ งมาดว ย ๑. แบบแจงการขอรบั /ยกเลิกบรกิ ารการสง ขอ ความ
๒. วธิ ีการขอรับ/ยกเลกิ บรกิ ารการสง ขอ ความ

ดวยกรมบัญชีกลางเพิ่มชองทางการอํานวยความสะดวกใหผูรับเบ้ียหวัด
บําเหน็จบาํ นาญ และเงนิ อืน่ ในลกั ษณะเดยี วกันของกรมบัญชกี ลาง ดวยการบริการสง ขอ ความ
ผา นโทรศัพทม อื ถอื (sms) และผานระบบ Internet (e–mail) เพอ่ื ใหร ับทราบวนั ทีอ่ นุมตั หิ นังสือ
สง่ั จายเงิน วันที่ส่งั จา ยเงิน และวันที่โอนเงินเขาบญั ชเี งินฝากธนาคารในคร้งั แรก รวมท้งั ขอ มลู
ขาวสารอ่นื ๆ ท่คี วรทราบ โดยจะเริ่มทดลองใหบริการต้ังแตเดือนกนั ยายน ๒๕๕๕ เปน ตนไป

กรมบัญชีกลางจึงใครขอความรวมมือหนวยงานของทานประชาสัมพันธใหผูมี
สทิ ธริ บั เบย้ี หวดั บาํ เหนจ็ บาํ นาญ และเงนิ อน่ื ในลกั ษณะเดยี วกนั รบั ทราบ และหากมคี วามประสงค
จะรับบรกิ ารขอความดังกลา ว ขอใหกรอกแบบแจง การขอรบั /ยกเลิกบริการการสง ขอความ ตาม
แบบและวิธีการท่กี ําหนด (สิ่งทีส่ ง มาดว ย ๑ และ ๒)

จึงเรียนมาเพื่อโปรดประชาสัมพันธใหผูมีสิทธิและเจาหนาที่ที่เก่ียวของทราบ
เพ่อื ดาํ เนนิ การตอไปดว ย จะขอบคณุ มาก

ขอแสดงความนบั ถอื

สํานักบรหิ ารการรบั –จา ยเงินภาครฐั (ลงชอื่ ) ณพงศ ศริ ิขันตยกุล
สว นบรหิ ารการจายเงิน ๓ (นายณพงศ ศิรขิ ันตยกลุ )
โทรศพั ท ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๖๒๐๓
รองอธบิ ดี ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
อธิบดีกรมบัญชกี ลาง

๒๓๖

สงิ่ ที่สงมาดว ย ๑
แบบแจง การขอรับ/ยกเลกิ บริการการสง ขอ ความ
ผา นโทรศัพทมอื ถอื (SMS) หรอื ผา นระบบ Internet (e–mail)

วนั ท.่ี ....................................

เรียน ...............................................................(หวั หนา สว นราชการทยี่ ่ืนเรอื่ งขอรับเงิน)

ขา พเจา (ระบคุ าํ นําหนา )....................................นามสกุล...............................
เลขประจําตัวประชาชน...........................................................................................................
สงั กดั สว นราชการ (ทีย่ น่ื เร่อื งขอรบั เงนิ )....................................................................................
เปน ผูมสี ทิ ธิรบั เงิน

● เบย้ี หวดั
● บาํ เหน็จปกตขิ า ราชการ
● บาํ นาญปกติ
● บําเหน็จปกตลิ ูกจา งประจาํ
● บําเหนจ็ รายเดือน
● บาํ เหนจ็ ตกทอด
● อ่นื ๆ (โปรดระบุ).............................................................

มีความประสงค

■ ขอรบั บริการการสงขอ ความผานทาง ◆ โทรศพั ทม อื ถอื หมายเลข.......................

(เลอื กอยางใดอยา งหน่ึง) ◆ e–mail address : [email protected]

■ ขอยกเลิกบรกิ ารการสง ขอความผานทาง ◆ โทรศพั ทม อื ถอื หมายเลข.......................
◆ e–mail address : [email protected]

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดแจงนายทะเบียนบําเหน็จบํานาญบันทึกขอมูลในระบบบําเหน็จ
บาํ นาญ (e–pension) ตอ ไปดวย จะขอบคณุ มาก

ลงชือ่ ................................................(ผขู อรับบรกิ าร)
( ................................................ )

๒๓๗

ส่งิ ท่สี งมาดว ย ๒

วิธกี ารขอรบั /ยกเลกิ บริการการสงขอความ

ผูม ีสิทธริ บั เบย้ี หวัด บาํ เหนจ็ บํานาญ และเงินอ่นื ในลักษณะเดียวกนั ท่มี คี วาม
ประสงคจะรับบริการการสงขอความโดยใชชองทางการบริการของกรมบัญชีกลาง ดวยวิธี
สงขอ ความผา นโทรศัพทม ือถือ (sms) หรือผานระบบ Internet (e–mail) เพือ่ ใหแ จงวันทอ่ี นุมัติ
หนังสอื สัง่ จายเงนิ วันท่สี ่ังจา ยเงนิ และวนั ท่โี อนเงินเขาบญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร รวมทง้ั ขอ มูล
ขาวสารอืน่ ๆ ทค่ี วรทราบ สามารถดาํ เนนิ การได ดังน้ี

กรณเี ปน ผขู อรับเงนิ คร้ังแรก (ตงั้ แตเ ดือนกันยายน ๒๕๕๕ เปนตนไป)
สําหรบั ผมู สี ทิ ธิรับเงนิ (ทุกประเภท) ที่ประสงคจะขอรบั ทราบขอความผาน

ชอ งทางบรกิ ารของกรมบญั ชีกลาง ใหระบุหมายเลขโทรศัพทม อื ถือ หรือ e–mail address
อยางใดอยางหน่ึงที่สะดวกในการตดิ ตอ ไวในชองรายการ “ที่อยผู ูขอ” ในแบบขอรับเงินแตล ะ
ประเภท

กรณเี ปนผูรบั เบ้ยี หวดั บํานาญ หรอื เงินอน่ื ในลกั ษณะเดยี วกัน ซ่งึ รบั เงนิ เปน รายเดือน
อยูกอนมีชอ งทางการบริการสง ขอความฯ หรอื ตองการเปลย่ี นแปลงความประสงคใ นการ
ขอรบั ขอความ จากกรมบัญชกี ลาง

กรอกขอ มลู ในแบบแจง การขอรบั /ยกเลกิ บรกิ ารการสง ขอ ความ (สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑)
ยื่นตอหนว ยงานทส่ี งั กัด ซึ่งมหี นา ท่ีในบนั ทกึ แบบขอรบั เงินฯ (สว นราชการผขู อ)

เมื่อหนว ยงานท่ีไดรบั แจง การขอรบั /ยกเลกิ บริการการสงขอความ (ทง้ั ๒ กรณ)ี รับเอกสาร
และตรวจสอบเรียบรอยแลว ใหแจงไปยงั นายทะเบยี นบาํ เหนจ็ บํานาญ ท่ดี แู ลทะเบยี น
ประวตั ิของผมู สี ทิ ธิรบั เงินนน้ั ๆ เพือ่ ดาํ เนินการบันทึกขอ มลู ตามความประสงคผานระบบ
บาํ เหน็จบาํ นาญ (e–pension) ตอไป

๒๓๘

ดวนทีส่ ุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๑
กระทรวงการคลงั
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๔ กนั ยายน ๒๕๕๕

เรื่อง การระบุเหตุผลการใชยานอกบญั ชียาหลกั แหงชาตเิ พอื่ ใชป ระกอบการเบกิ จา ย

เรียน อธิบดีกรมทด่ี นิ

อางถงึ ๑. หนังสือกระทรวงการคลงั ดว นทสี่ ดุ ที่ กค ๐๕๒๖.๕/ว ๖๕ ลงวนั ที่ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๔๒
๒. หนงั สือกระทรวงการคลงั ดว นทสี่ ดุ ท่ี กค ๐๕๒๖.๕/ว ๖๖ ลงวันท่ี ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๔๒
๓. หนังสือกระทรวงการคลัง ดว นทส่ี ุด ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๘๔ ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙
๔. หนังสอื กรมบญั ชีกลาง ดว นทส่ี ุด ท่ี กค ๐๔๑๗/ว ๑๗๗ ลงวนั ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
๕. หนังสือกรมบญั ชกี ลาง ดวนที่สดุ ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๑๔๓ ลงวนั ท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๕๓

สิ่งท่สี ง มาดวย ๑. หลกั การแนวคดิ ของการจดั ทาํ บัญชียาหลกั แหงชาติ
๒. คมู ือการแสดงเหตุผลการใชย านอกบัญชยี าหลกั แหง ชาติ (สาํ หรับผปู วย
เฉพาะราย)

ตามหนังสอื ทีอ่ า งถงึ ๑ – ๕ กระทรวงการคลังไดกําหนดหลกั เกณฑการเบิก
คา ยานอกบัญชยี าหลักแหงชาติ กรณที ีผ่ ูปว ยมคี วามจาํ เปน ตองใชย านอกบัญชยี าหลักแหงชาติ
ใหคณะกรรมการแพทยที่ผูอํานวยการสถานพยาบาลของทางราชการแตงตั้งเปนผูวินิจฉัยและ
ออกหนังสือรบั รองประกอบการเบิกจา ย เวน แตการเบิกในระบบเบกิ จา ยตรง และอยใู นบัญชี
ยาของสถานพยาบาล ใหแ พทยผูทาํ การรักษาเปน ผวู นิ ิจฉัยและออกหนงั สือรบั รองแทนคณะ
กรรมการแพทยข องสถานพยาบาล ทั้งน้ี การเบกิ คา ยาขา งตน ใหเ บิกไดแ ตเ ฉพาะรายการยาทีม่ ี
การข้นึ ทะเบยี นกับสาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อจําหนา ยในประเทศ การใช
ยาตอ งเปน ไปตามขอบงชท้ี ่ี อย. กําหนด และตองระบเุ หตผุ ลทีไ่ มสามารถใชยาในบญั ชียาหลัก
แหงชาติได นั้น

กระทรวงการคลงั พจิ ารณาแลว ขอเรียนวา จากการตรวจสอบการเบกิ จา ยคา
รกั ษาพยาบาลทผี่ านมาพบวา มกี ารใชยานอกบญั ชยี าหลักแหง ชาตอิ ยางไมส มเหตุผล และไม
ถูกตอง โดยมกี ารเบิกคา ยานอกบญั ชียาหลกั แหงชาติเปนยาขนานแรก ไมมกี ารระบเุ หตุผลทไ่ี ม
สามารถใชยาในบญั ชยี าหลักแหง ชาตไิ ด หรอื ระบุเหตุผลท่ีไมสอดคลอ งกับขอเท็จจรงิ ตามขอ มูล
ทางการแพทย ทาํ ใหรายจายคา รักษาพยาบาลโดยเฉพาะคา ยานอกบญั ชียาหลักแหงชาติมอี ตั รา
เพม่ิ สงู ขน้ึ มาก กระทรวงการคลังจึงเห็นควรดําเนนิ การดังนี้

๒๓๙

๑. ใหยกเลกิ หลักเกณฑการเบกิ คา ยานอกบญั ชยี าหลกั แหงชาติ
๑.๑ หนงั สอื กระทรวงการคลัง ดวนทีส่ ุด ที่ กค ๐๕๒๖.๕/ว ๖๕ ลงวนั ท่ี ๓๐

สงิ หาคม ๒๕๔๒
๑.๒ หนังสอื กระทรวงการคลัง ดว นทส่ี ุด ที่ กค ๐๕๒๖.๕/ว ๖๖ ลงวนั ท่ี ๓๐

สิงหาคม ๒๕๔๒
๑.๓ หนังสือกระทรวงการคลงั ดวนทสี่ ุด ท่ี กค ๐๔๑๗/ว ๘๔ ลงวนั ที่ ๒๘

กนั ยายน ๒๕๔๙ เฉพาะขอ ข สถานพยาบาล รายการ ๒.๒.๓
๑.๔ หนังสอื กรมบญั ชีกลาง ดว นทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๑๗/ว ๑๗๗ ลงวนั ที่ ๒๔

พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙ หมวดท่ี ๓ คายาและสารอาหารทางเสนเลอื ด เฉพาะรายการคายาทีเ่ บกิ ได
๑.๕ หนังสือกรมบัญชกี ลาง ดวนท่สี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๑๔๓ ลงวันที่ ๑๙

เมษายน ๒๕๕๓
๒. ใหสถานพยาบาลและสวนราชการเบกิ คายาโดยถอื ปฏิบัตดิ ังนี้
๒.๑ คายาท่ีเบกิ ไดค ือยาในบัญชียาหลกั แหงชาติ ซงึ่ ตอ งเปน ไปตามเง่อื นไข

ในบญั ชยี าหลกั แหง ชาตใิ นขณะนน้ั ๆ และตอ งเปน ไปตามขอ บง ชท้ี ส่ี าํ นกั งานคณะกรรมการอาหาร
และยา (อย.) กําหนด

๒.๒ คา ยานอกบญั ชยี าหลักแหง ชาติ ใหเบกิ ในกรณที ่ไี มสามารถใชย าใน
บัญชยี าหลักแหงชาติไดเ นือ่ งจากรา งกายของแตล ะบุคคลมคี วามจําเพาะ ซง่ึ เปนขอ จาํ กดั ทเี่ ปน
เหตผุ ลทางการแพทยโดยตรง มใิ ชเ พ่ืออาํ นวยความสะดวกใหแ กผ ปู วย ตามเงื่อนไขดงั น้ี

(๑) ใหแ พทยผ ทู าํ การรกั ษาเปน ผวู นิ จิ ฉยั และออกใบรบั รองในการสง่ั ใชย านอก
บัญชียาหลักแหง ชาติ เพ่ือประกอบการเบิกจา ยทั้งในระบบเบิกจา ยตรงและระบบใบเสรจ็ รบั เงิน
ตามเหตุผลดงั นี้

A. เกิดอาการไมพึงประสงคจากยาหรือแพยาท่ีสามารถใชไดใน
บญั ชยี าหลกั แหงชาติ

เกดิ อาการไมพ ึงประสงคจ ากยา หมายถึง อาการไมพึงประสงคชนดิ
ที่ทาํ ใหผปู ว ยไมส ามารถใชยาเดิมไดต อ ไป

แพย า หมายถึง มีประวตั แิ พยาในบัญชยี าหลกั แหงชาติหรอื เกิด
อาการแพย า หลงั จากใชย าในบญั ชยี าหลกั แหง ชาตแิ ละไมม กี ลมุ ยาอน่ื ใดในบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ
ใหเลอื กใชอกี โดยเชื่อไดว ายานอกบญั ชยี าหลักแหง ชาตทิ ่เี ลือกใชจ ะชว ยใหผ ูท่ใี ชย า ใชย าไดตอ
ไปอยา งปลอดภยั

B. ผลการรักษาไมบรรลุเปาหมายแมวาไดใชยาในบัญชียาหลัก
แหงชาตคิ รบตามมาตรฐานการรักษาแลว

ผปู ว ยไดร บั ยาทใ่ี ชร กั ษาโรคหรอื อาการดงั กลา วในบญั ชยี าหลกั แหง ชาติ
ครบตามมาตรฐานการรักษามากอนแลวยังไมส ามารถใหผลการรกั ษาที่ตองการ และมหี ลกั ฐาน
เชิงประจักษที่เชื่อไดวายานอกบัญชียาหลักแหงชาติที่เลือกใช มีประสิทธิภาพท่ีชวยใหบรรลุ
เปาหมายการรักษาไดด ีกวา ยาเดมิ

๒๔๐

C. ไมมีกลุมยาในบัญชียาหลักแหงชาติใหใช แตผูปวยมีความ
จําเปนในการใชยาน้ีตามขอบงใชท่ีไดขึ้นทะเบียนไวกับสํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา

การใชยานอกบัญชียาหลักตามเหตุผลน้ี แพทยไดพิจารณาองค
ประกอบสําคญั ในการใชยาอยางสมเหตผุ ลอยา งครบถว นแลว ไดแก หลักฐานเชงิ ประจกั ษที่
สนบั สนนุ ประสทิ ธิผล ความปลอดภยั ของยา ลักษณะและความรุนแรงของโรค และหลักฐานดา น
ความคมุ คาของยาในบรบิ ทของสงั คมไทย

D. ผปู ว ยมภี าวะหรอื โรคทห่ี า มใชย าในบญั ชอี ยา งสมั บรู ณ (absolute
contraindication) หรือมขี อ หา มการใชย าในบญั ชรี ว มกบั ยาอน่ื (contraindicated/serious
/major drug interaction) ทผ่ี ูปว ยจาํ เปน ตอ งใชอ ยางหลีกเลย่ี งไมได

ไมม กี ลมุ ยาในบญั ชยี าหลกั แหง ชาตทิ ใ่ี ชร กั ษาหรอื บรรเทาอาการของ
โรคใหก บั ผปู วยได เนอื่ งจากผูปวยมีภาวะหรือโรคท่หี ามใชย าในบญั ชีอยา งสมั บรู ณ (absolute
contraindication) หรอื มขี อ หา มการใชย าในบญั ชรี วมกับยาอนื่ ทผี่ ปู ว ยจําเปนตองใชอยางยิง่
serious drug interaction)

E. ยาในบัญชียาหลักแหง ชาตมิ รี าคาแพงกวา (ในเชงิ ความคมุ คา )
ราคาแพงกวา หมายถงึ คาใชจ า ยตอ คอรส ของการรักษา หรอื

คา ใชจ า ยตอ วัน (หากเปน โรคทตี่ อ งใชย าอยางตอเนื่อง) ของยานอกบญั ชยี าหลักแหงชาติมีราคา
ถูกกวา ยาในบญั ชียาหลักแหงชาติทุกชนดิ ทีใ่ ชใ นการรักษาโรคหรอื อาการเดยี วกัน โดยใชร าคา
ยาในบัญชียาหลกั แหง ชาติทเี่ ปนยาช่อื สามญั เปน ตวั เปรียบเทยี บ

F. ผูปวยแสดงความจาํ นงตอ งการ (เบิกไมได)
แพทยมคี วามประสงคท จ่ี ะส่งั ยาในบญั ชยี าหลกั แหงชาติ แตผปู วยมี

เหตุผลสว นตัวบางประการที่ตอ งการใชย านอกบัญชยี าหลกั แหงชาติ แมว าแพทยจะไดอธบิ าย
แลววาสามารถใชยาในบัญชียาหลักแหงชาติเพ่ือรักษาโรคหรืออาการของผูปวยไดอยางมี
ประสทิ ธิผลและปลอดภยั ผปู ว ยตองรับภาระคา ใชจ ายเอง ท้งั น้ี ใหแ พทยผูร ักษาระบกุ ารวินิจฉัย
โรค รายละเอยี ดการใชย าในบัญชียาหลักแหงชาติ ลกั ษณะทางคลินิกของผปู ว ยที่เปน สาเหตใุ ห
ไมสามารถใชยาในบญั ชยี าหลักแหงชาตไิ ด และระบุเหตุผลการใชย านอกบัญชียาหลักแหงชาติ
ไวห ลังชอื่ ยานอกบญั ชยี าหลกั แหงชาตแิ ตล ะชือ่ (ระบเุ ฉพาะอักษร A ถึง F) ในเวชระเบียนและ
ใบสง่ั ยาใหช ดั เจนเพ่ือประโยชนใ นการตรวจสอบ

(๒) เปนยาท่มี กี ารขึน้ ทะเบยี นกบั อย. เพื่อจาํ หนายในประเทศ ท้งั น้ี ยาที่
นาํ เขา โดยกระทรวง ทบวง กรม ในหนา ทปี่ อ งกนั หรอื บาํ บัดโรค สภากาชาดไทย และองคก าร
เภสัชกรรม ไมส ามารถเบกิ ได

(๓) กรณีท่ีสถานพยาบาลแจงเหตุผลการใชยานอกบัญชียาหลักแหงชาติ
ดวยเหตุยาในบัญชียาหลกั แหง ชาติ ยาหลกั แหงชาตริ าคาแพงกวา ใหสถานพยาบาลแจงรายการ
ยาในบัญชียาหลักแหงชาติท่ีมีราคาแพงน้ันใหกรมบัญชีกลางทราบเพื่อสงใหคณะอนุกรรมการ

๒๔๑

พัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติพิจารณา แจงเหตุที่ยาในบัญชียาหลักแหงชาติมีราคาแพงกวา
ยานอกบัญชยี าหลกั แหง ชาติ เพ่อื จะไดใ ชเปน ขอ มลู พจิ ารณากาํ หนดหลักเกณฑก ารเบกิ คายาที่
เหมาะสมตอ ไป

๒.๓ การเบิกคายาท่ีกระทรวงการคลังและ/หรือกรมบัญชีกลางไดกําหนด
หลกั เกณฑก ารเบกิ จายเงินไวเ ปน การเฉพาะ เชน คา ยาวติ ามนิ คา ยาสมนุ ไพร คา ยาบรรเทา
อาการขอเขาเสอื่ ม คา ยามะเรง็ ท่ีมีคา ใชจา ยสูง ๖ ชนิด คายาชวี วตั ถสุ ําหรับผปู ว ยโรครูมาตกิ และ
โรคสะเกด็ เงิน ใหถือปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑน น้ั ตอไป

๒.๔ ใหสวนราชการตรวจสอบคําขอเบิกคารักษาพยาบาลใหถูกตองตาม
หลักเกณฑแ ละเง่ือนไขที่กระทรวงการคลงั กําหนดอยางเครงครดั

๒.๕ กรณีตรวจสอบพบวา สถานพยาบาลไมปฏิบัติตามหลักเกณฑและ
เงอื่ นไขท่กี ําหนด กระทรวงการคลังจะดําเนินการเรียกเงินคืนท้งั หมดของรายการยานนั้ ๆ ทีม่ ีการ
เบกิ จา ย
ท้ังนี้ ใหมีผลใชบังคบั สําหรบั การรักษาพยาบาลตั้งแตวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ เปนตนไป
สําหรับคารกั ษาพยาบาลท่เี กิดกอนวนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ ใหถือปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑเดิม
พรอ มนี้ กระทรวงการคลงั ไดจัดทําหลักการแนวคิดของการจดั ทําบญั ชียาหลกั แหงชาติและคมู อื
การแสดงเหตุผลการใชยานอกบญั ชียาหลักแหงชาติ (สําหรบั ผูปวยเฉพาะราย) รายละเอียด
ปรากฏตามสิ่งทสี่ ง มาดวย ๑ และ ๒

จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ และแจง ผเู ก่ยี วของทราบเพ่ือถือปฏิบตั ิอยา งเครง ครัด
ดว ย จะขอบคุณยง่ิ

ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชอื่ ) สุภา ปยะจติ ติ

(นางสาวสภุ า ปยะจิตติ)
รองปลดั กระทรวงการคลัง
หวั หนากลุม ภารกจิ ดานรายจายและหน้สี นิ

กรมบัญชีกลาง
สํานกั มาตรฐานคาตอบแทนและสวสั ดิการ
กลุมงานสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขา ราชการ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๓๙๕-๘

๒๔๒

สง่ิ ทีส่ ง มาดวย ๑

หลกั การแนวคดิ ของการจัดทาํ บัญชยี าหลักแหงชาติ

บัญชียาหลกั แหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ มเี ปาประสงคเพ่อื สรางเสรมิ ระบบการใช
ยาอยา งสมเหตผุ ล๑ โดยมุงสรา ง “บัญชียาแหงชาติ” เพือ่ ใชเ ปนกลไกหนง่ึ ในการสง เสริมระบบ
การใชยาของประเทศ ใหสอดคลอ งกบั หลักปรชั ญาวถิ ีชวี ิตพอเพียง โดยใหม ีรายการยาที่มคี วาม
จาํ เปนในการปอ งกนั และแกไขปญ หาสุขภาพของคนไทย ดวยกระบวนการคัดเลอื กยาท่ีโปรงใส
และการมสี วนรว มจากทกุ ฝา ยท่เี กี่ยวขอ ง

ยาท่ีไดรับการคัดเลือกตองเปนยาที่มีประสิทธิภาพจริง สนับสนุนดวยหลักฐาน
เชงิ ประจักษ มปี ระโยชนเหนอื ความเส่ยี งจากการใชย าอยา งชดั เจน มคี วามคมุ คาตามหลัก
เศรษฐศาสตรส าธารณสขุ สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและความสามารถในการจายของสงั คม
โดยจดั ใหม ีกลไกกลางกาํ กบั สาํ หรบั ผูป วยท่ีมีความจําเปน จาํ เพาะใหส ามารถเขา ถงึ ยาได

บัญชียาหลกั แหงชาตฉิ บับน้ี มีคุณสมบตั ิเปนบัญชียายงั ผล (effective list) เพือ่
ใหร ะบบประกันสุขภาพแหงชาติ ระบบประกันสังคม ระบบสวสั ดิการรักษาพยาบาลขา ราชการ
พนกั งานองคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ และระบบสวัดสิการอ่ืนๆ สามารถอางองิ เปนสทิ ธปิ ระโยชน
ดานยา (pharmaceutical benefit scheme) โดยเกิดเสถียรภาพและเปน ธรรมในระบบบริการ
สาธารณสขุ ของประเทศ

หลักการ
๑. บญั ชียาหลกั แหง ชาตนิ ้ี จะไดรบั การปรบั ปรุงเพ่มิ เติมและแกเ ปนระยะๆ อยาง

ตอ เนอื่ งทันเหตุการณ และจดั พิมพร วมเลมเปนบัญชยี าหลักฯ ประจําปท ุกป โดยพิจารณาจาก
ขอ มลู หลักฐานทางวิชาการดา นความปลอดภยั ประสิทธิผล ประสิทธภิ าพ และมุง หวงั ใหเกดิ
ความเปนธรรม ระหวา งประชาชนกลุมตา งๆ โดยใหเ หมาะสมกับบรบิ ทของระบบสขุ ภาพ สงั คม
และเศรษฐกิจของประเทศไทย

๑การใชยาอยา งสมเหตผุ ล หมายถงึ การใชย าโดยมีขอ บง ช้ี เปน ยาทม่ี ีคณุ ภาพ มีประสทิ ธิผลจรงิ
สนบั สนนุ ดว ยหลกั ฐานทเ่ี ชอ่ื ถอื ได ใหป ระโยชนท างคลนิ กิ เหนอื กวา ความเสย่ี งจากการใชย าอยา งชดั เจน
มรี าคาเหมาะสม คมุ คา ตามหลกั เศรษฐศาสตรส าธารณสุข ไมเปน การใชย าอยางซํ้าซอ น คาํ นึงถึง
ปญหาเช้ือด้อื ยา เปน การใชย าในกรอบบญั ชียายังผลอยา งเปน ขนั้ ตอนตามแนวทางพจิ ารณาการใชย า
โดยใชย าในขนาดที่พอเหมาะกบั ผูป วยในแตล ะกรณี ดวยวิธกี ารใชยาและความถ่ใี นการใหย าทถี่ กู ตอง
ตามหลักเภสัชวทิ ยาคลนิ ิก ดวยระยะเวลาท่เี หมาะสม ผปู วยใหการยอมรบั และสามารถใชย าดงั กลา วได
อยางถกู ตองและตอเนอ่ื ง กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรอื ระบบสวสั ดิการสามารถใหเบกิ จา ยคายา
นน้ั ไดอยางยัง่ ยืน เปน การใชย าทไ่ี มเลอื กปฏิบตั ิเพื่อใหผ ูปวยทุกคนสามารถใชย าน้นั ไดอ ยางเทาเทยี ม
และไมถ กู ปฏเิ สธยาที่ควรไดร บั

๒๔๓

๒. การปรบั ปรงุ บญั ชยี าหลักแหงชาติ ทุกคร้งั จกั ดาํ เนนิ การจัดทาํ โดยกระบวนการ
ทโี่ ปรง ใส มีสวนรวม มหี ลักฐานเชิงประจักษ มีเหตผุ ลและเปนปจจุบันสามารถอธิบายชแ้ี จงหรอื
เผยแพรตอผูเก่ียวของและสาธารณชนได ตลอดจนเปดโอกาสใหผูท่ีมีสวนรวมในสังคมแสดง
ความเหน็ ในระหวางขั้นตอนการคดั เลือกยา และตรวจสอบได ตามความเหมาะสม ตลอดจน
เผยแพรห ลกั ฐานเชิงประจกั ษในการพิจารณาในบัญชียาหลักแหง ชาติ

๓. บญั ชยี าหลกั แหง ชาติ สามารถนาํ ไปใชใ หเ กดิ ประโยชนท ง้ั ตอ ประชาชนผสู ง่ั ใชย า
ระบบบรหิ ารเวชภณั ฑ ผูบ ริหารสถานพยาบาล ระบบการเบิกจาย และระบบเศรษฐกิจของชาติ
โดยสามารถ

๓.๑ ใชเปนแนวทางในการเลอื กใชย าตามขนั้ ตอนอยา งสมเหตุผล
๓.๒ สงเสรมิ การใชยาดว ยความพอดี
๓.๓ สง เสรมิ การใชย าใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการใชต น ทุน (maximization
of cost–effectiveness) ควบคูก ับการเพม่ิ คุณภาพการรักษา โดยเปด โอกาสใหก ารเขาถึงยาทมี่ ี
คาใชจา ยสงู เมอื่ มีความจาํ เปนตอ งใช

เกณฑก ารพิจารณาคัดเลือกยา
๑. ระบบการคัดเลือกยาตองเปนไปตามความจําเปนในการปองกันและแกไข

ปญ หาดานสขุ ภาพของประเทศไทยเปน หลกั
๒. ระบบการคัดเลือกตองแสดงขอมูลเชิงประจักษท่ีละเอียดพอ เอ้ือใหเกิด

การใชข อมูลครบถว นในการตดั สนิ ใจ มขี อ มลู และเหตุผลชดั เจนทกุ ขัน้ ตอน และอธบิ ายตอ
สาธารณชนได (explicit information) การตดั สนิ ใจคดั เลอื กยาใชหลักฐานวชิ าการเชงิ ประจักษ
(evidence–based literature) หรอื การใหคะแนนทมี่ ปี ระสิทธผิ ลเปน หลกั ในการคดั เลอื กรว มกับ
ความเห็นของผเู ชย่ี วชาญทางการแพทย/เภสชั ศาสตร/เศรษฐศาสตรส าธารณสขุ และความเห็น
เชงิ นโยบายของผบู รหิ ารในหนว ยงานหลายฝา ยท่เี กย่ี วขอ ง รวมทั้งหลกั ฐานและความเหน็ ทไี่ ดร ับ
จากผูท ีม่ ีสวนรว มในสงั คมในระหวางข้ันตอนการคัดเลือกยา

๓. การคัดเลอื กและแสดงรายการยา ใหใ ชชอื่ สามัญของยา รูปแบบยา ความแรง
ขนาดบรรจุ ยกเวน ในกรณที ี่ไมระบุจึงใชค วามแรงและขนาดบรรจุอืน่ ได ทั้งนีใ้ หร ะบเุ งอ่ื นไข
การสัง่ ใชย าหรือจดั หายาตามความเหมาะสม รวมทัง้ ขอมูลอน่ื ๆ ทีจ่ ําเปน ไดแก คําเตือน และ
หมายเหตุ (คาํ แนะนาํ ขอ สงั เกต ขอควรระวงั คําอธบิ าย)

หมายเหตุ การพิจารณายาชีววัตถุท่ีแมมีช่ือสามัญทางยาเดียวกันแตมีขอมูล
ชัดเจนทช่ี ้วี า ตํารับทต่ี างกนั สง ผลใหม ขี นาดยาแตกตางกันใหพ ิจารณายาเปน รายตาํ รบั ดวย

๔. ตองคํานึงถึงขอมูลเก่ียวกับคุณภาพยา เชน รูปแบบยา การเก็บรักษา
ความคงตัวของยา ขนาดบรรจุ วนั หมดอายุ เปนตน ตลอดจนขอมูลอืน่ เก่ยี วกบั ยา เชน
ประสทิ ธภิ าพในการบริหารยาและการยอมรบั ในการใชย าของผปู ว ย (compliance) เปน ตน

๒๔๔

๕. ตองคํานึงถึงขอมูลเชิงเศรษฐศาสตรดานคาใชจายท่ีเกิดข้ึน ราคายา
ความสามารถในการจา ยทง้ั ของ ระบบประกันสขุ ภาพตา งๆ สังคมและประชาชน ตลอดจนฐานะ
เศรษฐกิจของประเทศ

๖. ในกรณีทีค่ ณะอนุกรรมการฯ พจิ ารณาแลวเหน็ วายานั้นมีความสําคัญแตอ าจ
มีผลกระทบตอความสามารถ และภาระในการจา ยทัง้ ของระบบประกนั สขุ ภาพตางๆ สังคมและ
ผปู วย จะตองจัดใหมรี ะบบการประเมิน ความคุมคา และผลกระทบทางการเงนิ ตามคมู อื การ
ประเมินเทคโนโลยีดานสุขภาพสําหรับประเทศไทยที่คณะอนุกรรมการไดใหความเห็นชอบไวแลว
โดยมอบหมายใหคณะทํางานดา นเศรษฐศาสตรสาธารณสขุ เปน ผดู ําเนินการ และเสนอผลการ
พจิ ารณาตอคณะอนุกรรมการประกอบการตดั สนิ ใจคดั เลอื กยา

๗. ในกรณีทยี่ ามคี ุณสมบตั ิครบตามเกณฑการพิจารณา แตไ มมีการขึ้นทะเบยี น
ตาํ รบั ยา หรอื ไมมจี าํ หนายในประเทศ ใหกาํ หนดรายการยาดังกลา วไวในบญั ชียาหลักแหง ชาติ
และเสนอเปนยากาํ พรา ๒ เพ่อื เปนแนวทางในการกาํ หนดนโยบายและมาตรการในการแกป ญหา
การเขาถงึ ยาดังกลา วตอไป

๘. กรณยี าทีอ่ ยรู ะหวา งการติดตามความปลอดภยั (Safety Monitoring Program
: SMP) และขอ บงใชของยาที่นอกเหนอื จากทีร่ ะบุไวใ นเอกสารกาํ กบั ยา (off–label indication)
ใหด าํ เนินการคดั เลอื กตามเกณฑดงั น้ี

๘.๑ ยาในบัญชียาหลักแหงชาติตองมิใชยาท่ีอยูระหวางการติดตามความ
ปลอดภัย (Safety Monitoring Program : SMP) เวน แต

ก) เปน ยาในบัญชี จ (๑) ซ่ึงมรี ะบบกํากบั ดูแลท่เี ขม งวดกวา ระบบ SMP
ข) เปนยาบางรายการที่สามารถชวยเพิ่มการแขงขันหรือลดการผูกขาด
หรือทําใหร าคายาหรอื คา ใชจ า ยในการรักษาลดลงอยา งชัดเจน หรอื ชว ยเพ่มิ กรอบรายการยาใน
ขอบง ใชท ่ีพิจารณาใหส ามารถครอบคลมุ ยาท่มี ปี ระสทิ ธิภาพดกี วาอยางชัดเจน หรอื เปน ยาจาํ เปน
ตองใชเน่ืองจากไมม ีวิธกี ารรักษาอ่นื ทดแทนได โดยยานน้ั ตอ งมีประโยชนเ หนอื ความเสี่ยงอยาง
ชดั เจน
๘.๒ เนื่องจากการใชยาในขอบงใชท่ีนอกเหนือจากท่ีระบุไวในเอกสารกํากับยา
(off-label indication) นน้ั มคี วามจําเปนในบางกรณีและเปนการคุมครองผูป ว ยใหส ามารถเขา
ถึงบริการไดและเปนมาตรฐานใหผูประกอบวิชาชีพในการใหบริการไดใหดําเนินการคัดเลือกตาม
เกณฑด งั นี้

๒ยากาํ พรา หมายถึง “ยาท่มี คี วามจําเปนตองใชเพ่อื วินจิ ฉัย บรรเทา บําบดั ปองกนั หรอื รักษาโรคท่ีพบ
ไดนอ ย หรือโรคที่เปน อันตรายรา ยแรง หรอื โรคที่กอใหเกดิ ความทพุ พลภาพอยา งตอเนือ่ ง หรอื ยาทีอ่ ัตรา
การใชตาํ่ โดยไมม ยี าอ่นื มาใชทดแทนได และมีปญ หาการขาดแคลน”

๒๔๕

ก) ขอความรว มมอื สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาพจิ ารณาประสาน
กบั ผปู ระกอบการเพ่ือใหมาข้นึ ทะเบียนขอ บง ใชใหมเพ่มิ เติมใหเ รยี บรอ ย

ข) ในกรณที ี่ไมส ามารถดําเนนิ การไดต ามขอ ก หรืออยูระหวางดําเนินการ
คณะกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติกําหนดเกณฑดังตอไปน้ีในการพิจารณาขอบงใชที่
ไมไดขนึ้ ทะเบียน โดยตอ งมคี ณุ สมบตั ิตรงตามเกณฑตอ ไปน้ีทกุ ขอ

๑) มีหลักฐานสนับสนุนประโยชนของยาในขอบงใชดังกลาวอยาง
ชดั เจน

๒) เปนขอบงใชท่ีเปนท่ียอมรับในระดับสากลแตไมไดย่ืนจดทะเบียน
ในประเทศไทย ซ่ึงคณะอนกุ รรมการพัฒนาบญั ชยี าหลักแหงชาตใิ หความเห็นชอบ

ค) ขอความรวมมือสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการติดตาม
ขอมลู ในการใชย าเปนพเิ ศษ

๙. ควรเปน ยาเดย่ี ว หากจาํ เปน ตอ งเปน ยาผสมจะตอ งมขี อ มลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ไดท แ่ี สดงวา
ยาผสมมีขอดีกวาหรือเทาเทียมกับยาเด่ียวในดานความปลอดภัย ประโยชนและคาใชจาย
นอกจากน้ยี าผสมจะตองมขี อ ดีกวายาเดยี่ ว ในประเดน็ ของ compliance และ/หรอื การชะลอหรือ
ปอ งกันการดอื้ ยาของเชื้อกอ โรค

๑๐. หากเปน ยาทม่ี หี ลายขอ บง ใช แตม คี วามเหมาะสมทจี่ ะใชเ พยี งบางขอ บง ใช
ใหร ะบขุ อ บง ใช และเงอ่ื นไขการสง่ั ใชย าเพอ่ื ใหก ารใชย าดงั กลา วเปน ไปตามขน้ั ตอนอยา งเหมาะสม
เงื่อนไขการส่งั ใชต องมคี วามชัดเจน เอือ้ ตอการใชย าเปน ขน้ั ตอนตามระบบบญั ชียอ ย ซึง่ แบงเปน
บญั ชียอ ย ก ข ค ง และ จ

บัญชี ก หมายถึง รายการยาสาํ หรับสถานพยาบาลทุกระดบั เปน รายการ
ยามาตรฐานท่ีใชใ นการปอ งกันและแกไ ขปญ หาสขุ ภาพทพี่ บบอ ย มีหลกั ฐานชัดเจนท่สี นับสนุน
การใช มีประสบการณการใชในประเทศไทยอยา งพอเพยี ง และเปนยาทคี่ วรไดร ับการเลอื กใชเปน
อันดบั แรกตามขอ บง ใชของยานั้น

บญั ชี ข หมายถึง รายการยาที่ใชสาํ หรบั ขอ บงใชห รือโรคบางชนดิ ทีใ่ ชย าใน
บญั ชี ก ไมได หรอื ไมไดผล หรือใชเ ปนยาแทนยาในบัญชี ก ตามความจําเปน

บญั ชี ค หมายถงึ รายการยาท่ีตอ งใชใ นโรคเฉพาะทาง โดยผชู าํ นาญ หรอื
ผทู ่ีไดรบั มอบหมายจาก ผูอ าํ นวยการของสถานพยาบาลนั้นๆ โดยมมี าตรการกาํ กบั การใช ซ่ึง
สถาน พยาบาลทใ่ี ชจะตองมคี วามพรอมตงั้ แตก ารวินิจฉัยจนถึงการตดิ ตามผลการักษา เนอ่ื งจาก
ยากลมุ นเ้ี ปนยาทถี่ าใชไมถ ูกตอ ง อาจเกิดพิษหรอื เปนอันตรายตอผปู วยหรือเปน สาเหตุใหเกดิ เช้อื
ดอื้ ยาไดงาย หรอื เปนยาทม่ี แี นวโนมในการใชไ มตรงตามขอบงชี้หรอื ไมคุมคาหรอื มกี ารนาํ ไปใช
ในทางทผ่ี ดิ หรอื มีหลกั ฐานสนับสนนุ การใชที่จํากดั หรอื มีประสบการณก ารใชใ นประเทศอยาง
จํากดั หรอื มรี าคาแพงกวายาอน่ื ในกลุมเดยี วกนั

๒๔๖


Click to View FlipBook Version